47
ภาพกิจกรรม
ครูนานกั ศกึ ษารว่ มทาความสะอาดบรเิ วณ นกั ศกึ ษานาวสั ดทุ เ่ี หลอื ใช้ นามาใชใ้ หเ้ กดิ
วดั ในชมุ ชน เพ่อื ปลกู จติ สานึก มที ศั นคติ ประโยชน์ มกี ารชว่ ยเหลอื สามคั คี รูจ้ กั
และ พฤติกรรมท่ดี ี เห็นคณุ คา่ ของการ พอประมาณ เกดิ การเรยี นรูใ้ นการนา
ชว่ ยเหลอื และการแบง่ ปัน สิ่งของเหลือใชม้ าใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์
นกั ศกึ ษารบั ประทานอาหารกลางวนั ดว้ ยกนั การนอ้ มนาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
มีการแบง่ ปัน อาหารท่ปี รุงมารบั ประทาน มาปรบั ใชใ้ นชีวิตประจาวนั ทาใหน้ กั ศกึ ษา
สว่ นใหญ่เป็นพชื ผกั ท่นี กั ศกึ ษาปลกู ไวก้ นิ ใน สามารถพงึ่ พาตนเองได้ ไมป่ ระมาทในชวี ติ
ครวั เรอื นเพ่อื เป็นการใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ กดิ ไม่ใชจ้ า่ ยฟ่มุ เฟือย ใชส้ ่งิ ของใหเ้ กดิ ประโยชน์
ประโยชน์ และเป็นการประหยดั เงนิ รวมถงึ รูจ้ กั ชว่ ยเหลอื และแบง่ ปัน ใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ กดิ
ผกั ท่ปี ลกู เป็นผกั ปลอดสารพิษ เพ่อื เป็นการ ประโยชน์ และเรยี นรูส้ ่ิงใหมๆ่ ทาใหก้ ารดาเนนิ
ดแู ลสขุ ภาพตนเอง ชวี ิตมีความสขุ
48
1.12 ชื่อ-สกลุ นางสาวพัชรินทร์ คุณคำ ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบลศรีพนมมาศ
มีวิธีการอย่างไรในการสอดแทรกเน้ือหา/บูรณาการในรูปแบบกระบวนการในข้ันนำ ข้ันสอน
ข้ันสรุป หรอื การทำโครงการ/โครงงานหรอื ในวถิ ชี วี ติ
- มีการจัดกระบวนการเรียนรตู้ ามแนวปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียงให้กับนักศึกษา และมี
การประเมินผลของนักศึกษาจากการปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ส่งเสริม สนับสนุน ให้
นักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมอบรมในช่วงวกฤตโควิด-19 ที่เกิดขึ้น สร้างบทเรียนและทำให้หลายๆ คนได้หัน
กลับมาวเิ คราะหแ์ ละมองหาถงึ หนทางรอด โดยในโลกออนไลนไ์ ดม้ ีการพูดถึงหลักการเศรษฐกิจพอเพียงของใน
หลวงรัชกาลที่ 9 และยังมีประขาชนหลายกลุ่มที่นำเสนอภาครัฐให้บริหารจัดการแนวคิดน้ีอย่างเป็นระบบเพื่อ
สร้างความมั่นคงทางอาหารและสร้างหนทางรอดให้กับประชาชนในชุมชน “ความพออยู่พอกิน เกิดจากการ
พึง่ พาตัวเอง”
1.ลดคา่ ใชจ้ า่ ยโดยไม่จำเปน็
2.ปลกู ผกั สวนครวั ไว้บริโภคเองในบา้ น
3.นำของทใี่ ชแ้ ลว้ กลับมาใช้ใหม่
4.แปลงขยะรไี ซเคลิ มาเป็นสนิ ค้าประดิษฐ์
5.การแบ่งปัน
พ้ืนฐานของวัฒนธรรมไทย เป็นแนวทางการพัฒนาท่ีต้ังบนพื้นฐานของทางสายกลาง และความไม่
ประมาท คำนึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันในตัวเอง ตลอดจนใช้ความรู้และ
คุณธรรมเปน็ พ้ืนฐานในการดำรงชวี ิตที่สำคญั ต้องมี “สตปิ ัญญาและความเพียร” ซึ่งจะนำไปสู่ “ความสุข” ใน
การดำเนินชีวิตอย่างแท้จริง ซึ่งเป็นกระบวนการจัดการเรียนรู้ท่ีเชื่อมโยงศาสตร์และเนื้อหาสาระท่ีมีความ
เก่ียวข้องสัมพันธ์กันเข้ามาผสมผสานเข้าเพ่ือให้เกิดความรู้ที่หลากหลาย เป็นการเรียนรู้อย่างมีความหมาย มี
ลกั ษณะเนอื้ หาท่ีเปน็ องคร์ วมตลอดจนสามารถนำไปใช้ในชวี ิตจริงได้
หัวหน้า กศน.ตำบลศรีพนมมาศ อธิบายในหัวข้อเศรษฐกิจพอเพียง ปลูกทุกอย่างที่กิน กินทุกอย่างท่ี
ปลูก และเชิญวิทยากร นายอนันต์ มีรัตน์ เป็นผู้ท่ีมีความรู้ความสามารถและประสบความสำเร็จในการทำ
เกษตรในบริเวณรอบบ้านโดยปลูกทุกอย่างที่กิน กินทุกอย่างท่ีปลูกมาเป็นระยะเวลาหลายปี จนทำให้เพ่ือน
บา้ นในชุมชนยอมรบั
มีเคร่ืองมือช่วยสร้างการเรียนรู้ของผู้เรียนอะไรบ้าง เช่น ใบงาน ชุดคำถาม การทบทวน การ
ทำงานหลงั การปฏิบตั ิ การถอดบทเรยี นความสำเร็จ/ลม้ เหลว ผงั มโนทศั น์หรืออืน่ ๆ
เน้อื หาถอดบเรียนความสำเรจ็ เร่ืองเศรษฐกจิ พอเพียง ปลกู ทุกอยา่ งทีก่ ิน กินทุกอย่างท่ีปลูก
49
มวี ิธีตรวจสอบและวดั ผล/ประเมินผลอย่างไร จึงทำใหค้ รูม่ันใจวา่ นกั เรียนได้เรียนรู้แลว้ เข้าใจและ
นำไปใชจ้ ริงได้
หัวหน้า กศน.ตำบลศรีพนมมาศ มีวิธีการตรวจสอบ วัดผล และประเมินผลเชิงประจักษ์ โดย
นายอนันต์ มีรัตน์ นำความรู้ท่ีได้รับไปใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวัน สามารถพ่ึงพาตัวเองได้ รวมถึงการ
พัฒนาให้ดีย่ิงข้ึน จนเกิดความย่ังยืน มีความต้ังใจและมุ่งม่ัน อาศัยความเพียรและอดทน วางแผนใช้พ้ืนท่ีรอบ
บริเวณบ้านปลูกพืชผักสวนครัวรั้วกินได้ทุกชนิดที่ใช้สำหรับประกอบอาหารได้ เพ่ือใช้เป็นอาหารประจำวัน
สำหรับครอบครัวใหเ้ พยี งพอตลอดปี เพือ่ ตดั ค่าใช้จา่ ยและสามารถพ่ึงตนเองได้ ส่วนทีเ่ หลอื จากบริโภคสามารถ
จำหน่ายเพื่อเพิ่มรายได้ให้แก่ครอบครัว พื้นที่ส่วนท่ี 3 ปลูกไม้ผล ไม้ยืนต้น พืชผัก พืชไร่ พืชสมุนไพร ฯลฯ
เพื่อใช้เป็นอาหารประจำวัน หากเหลือบริโภคก็นำไปจำหน่าย ซึ่งจากการประเมินดังกล่าว นายอนันต์ มีรตั น์
ไดน้ ำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเปน็ แนวทางในการดำเนินชีวิตและทำการเกษตรอินทรียท์ ฤษฎีใหม่
โดยแบง่ พ้ืนทท่ี ำการเกษตรเปน็ สดั สว่ น ซึ่งเปน็ การจัดแบง่ แปลงทด่ี นิ เพ่ือใหเ้ กดิ ประโยชนส์ ูงสุดตามสภาพความ
เหมาะสมของพืน้ ท่ี ดนิ ปริมาณน้ำฝนและสภาพแวดล้อม เป็นระบบการผลติ แบบพอเพียง ท่เี กษตรกรสามารถ
เลี้ยงตัวเองได้ในระดับที่ประหยัดก่อน เพ่ือลดค่าใช้จ่าย หากเหลือจากอุปโภคบริโภคก็สามารถนำไปจำหน่าย
เพ่ือเพิ่มรายได้ให้กับครอบครัว เพื่อยดึ หลักพง่ึ ตนเองได้อย่างอิสรภาพ นำไปสู่การทำเกษตรที่ยั่งยืนและเกษตร
ธรรมชาติ ซ่ึงเป็นการดำเนินชีวิตแบบทางสายกลาง โดยตั้งอยู่บนหลักสำคัญสามประการ คือ ความ
พอประมาณ ความมเี หตผุ ล และการมภี มู ิคุ้มกันท่ีดี
ภาพประกอบ
50
1.13 ชอ่ื -สกลุ นางสาววารุณี บญุ เพง็ ตำแหนง่ ครู ศรช.เทศบาลศรพี นมมาศ
มีวิธีการอย่างไรในการสอดแทรกเนื้อหา/บูรณาการในรูปแบบกระบวนการในข้ันนำ ข้ัน
สอน ขน้ั สรปุ หรือการทำโครงการ/โครงงานหรือในวิถชี วี ิต
- วิธีการดำเนินการ ด้วยการสอดแทรกในเนื้อหาการจัดกระบวนการเรียนรู้โดยการนำมา
บูรณาการใหเ้ ข้ากับเน้ือหาสาระในรายวชิ าต่างๆ เช่น การสอดแทรกในเนื้อหาวิชาสงั คมศกึ ษา โดยใหน้ ักศึกษา
หาความหมายของหลักเศรษฐศาสตร์ ในหลกั ของการบรหิ ารทรัพยากรใหเ้ กดิ ความคุ้มคา่
มีเครื่องมือช่วยสร้างการเรียนรู้ของผู้เรียนอะไรบ้าง เช่น ใบงาน ชุดคำถาม การทบทวน
การทำงานหลงั การปฏิบตั ิ การถอดบทเรยี นความสำเรจ็ /ล้มเหลว ผงั มโนทศั น์หรอื อ่นื ๆ
มีเครื่องมือช่วยสร้างการเรียนรู้ของผู้เรียน เช่น ชุดคำถาม หากนักศึกษามีพื้นท่ีจำนวน..........ไร่
นักศึกษาจะบรหิ ารจดั การพ้ืนที่ตามหลักเศรษฐศาสตร์ เพ่อื ทำเศรษฐกิจพอเพียงในพน้ื ท่ีของตนเองอย่างไร
- ใบงาน ใบความรู้ แบบทดสอบก่อนเรียน แบบทดสอบหลังเรียน คลิปวีดีโอเก่ียวกับการนำ
หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาปรบั ใช้ในชีวิตประจำวัน
มีวิธีตรวจสอบและวัดผล/ประเมินผลอย่างไร จึงทำให้ครูม่ันใจว่านักเรียนได้เรียนรู้แล้ว
เข้าใจและนำไปใช้จริงได้
- นักศึกษาแต่ละคนมีแผนในการบริหารจัดการพื้นท่ีตามกลัดเศรษฐศาสตร์ในการทำ
เศรษฐกจิ พอเพยี งในพ้ืนทข่ี องตนเอง
นางสาววารณุ ี บุญเพง็ ตำแหน่ง ครู ศรช.เทศบาลศรพี นมมาศ จัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยการบูรณา
การและสอดแทรกแนวคดิ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ไดน้ ำนักศกึ ษากศน. เขา้ อบรมโครงการ
เศรษฐกิจพอเพยี ง ณ กศน.ตำบลไผล่ อ้ ม อ.ลับแล จ.อุตรดติ ถ์
51
1.14 ชือ่ -สกลุ นางสุพร มานอ้ ยตำแหนง่ ครอู าสาสมคั ร กศน.
มีวิธีการอย่างไรในการสอดแทรกเน้ือหา/บูรณาการในรูปแบบกระบวนการในข้ันนำ ขั้นสอน ขั้น
สรุป หรือการทำโครงการ/โครงงานหรือในวิถชี วี ิต
- มีการจัดกระบวนการเรียนการสอนส่งเสริมการรู้หนังสือไทย ให้กับผ้ไู ม่รู้หนังสอื ผู้ลืมหนังสือและได้
สอดแทรกเน้ือหาการดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีการใช้วิถีชีวิตแบบพอเพียง
ประหยัด และอดออม มีการใช้จ่ายเงินอย่างพอเพียงและประหยัด ถ้ามีเงินเหลือ ก็แบ่งเก็บออมไว้บางส่วน มี
การปลูกฝัง สร้าง และกระตุ้น ให้เกิดการใช้จ่ายอย่าเกินตัว สิ่งไหนท่ีไม่จำเป็น ก็อย่าใช้จ่าย มีความพอดีที่ไม่
น้อยเกินไปและมากเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น มีการตัดสินใจอย่างมีเหตุและผล โดยคำนึงผลที่
จะเกิดขึน้ และได้นำเทคโนโลยมี า ส่งเสริม สนับสนุน ให้นักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมในการจัดกจิ กรรม สามารถ
นำเอาความรู้ท่ีไดร้ บั ไปใชใ้ นการดำเนินชวี ติ ประจำวนั ได้ ทำใหผ้ เู้ รียนมีคณุ ภาพชวี ิตทด่ี ีขึ้น และมคี วามสขุ
มีเครื่องมือช่วยสร้างการเรียนรู้ของผู้เรียนอะไรบ้าง เช่น ใบงาน ชุดคำถาม การทบทวน การทำงาน
หลังการปฏบิ ัติ การถอดบทเรียนความสำเรจ็ /ลม้ เหลว ผังมโนทัศนห์ รืออนื่ ๆ
- ,มีส่ือหนังสือแบบเรียน มีใบงาน ใบความรู้ แบบทดสอบก่อนเรียน แบบทดสอบหลังเรียน ให้กับ
ผเู้ รยี น และมีโครงการจดั การศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงให้กับผู้เรยี นไดเ้ รียนรู้อยา่ งต่อเนื่อง
เพอื่ พฒั นาตนเองอยู่เสมอ
มีวิธีตรวจสอบและวัดผล/ประเมินผลอย่างไร จึงทำใหค้ รมู ั่นใจว่านักเรียนได้เรียนรู้แลว้ เข้าใจและ
นำไปใชจ้ รงิ ได้
- ประเมนิ โดยการสงั เกต และการดำเนินชวี ิตตามสภาพความเป็นอยู่ นักศกึ ษาสามารถนำหลักปรชั ญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้จริง โดยสามารถดำเนินชีวิตต้ังอยู่บนความพอประมาณ
เรียบง่ายประหยัด อดออม ดำเนินชีวิตอยู่บนความมีเหตุผล การคิดอย่างมีเหตุมีผลเตรียมตัวพร้อมรับ
ผลกระทบ และการเปลีย่ นแปลงดา้ นต่างๆท่คี าดว่าจะเกดิ ขนึ้ ในอนาคตทั้งใกลแ้ ละไกล
52
7.3 เรอ่ื งเลา่ ของนกั ศกึ ษาแกนนำ (มาจากขอ้ 4.3.6)
53
1.ชื่อ-สกุลนางแกว้ หลง เฮยี งก่อ นกั ศกึ ษาระดับ มัธยมศึกษาตอนตน้ กศน.ตำบลนานกกก
การใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวติ ประจำวัน หรือการเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดข้ึนจากการนำ
ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้
ขา้ พเจา้ ไดน้ ้อมนำหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจำวัน ไดเ้ ข้าร่วม
โครงการขับเคลื่อนหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ของ กศน.อำเภอลบั แล ทำใหข้ ้าพเจ้าไดเ้ ปดิ มุมมองใหม่ๆ
จากการเข้าร่วมกิจกรรมการขับเคลอื่ นหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง จากการถอดหลัก 3 หว่ ง 2 เงื่อนไข
ลงสู่ 4 มิติ ทำใหข้ ้าพเจา้ มีความรู้ ความเขา้ ใจมากยิง่ ขึ้น และรูว้ า่ ความพอพยี งนั้นไม่ไดเ้ กี่ยวกับแค่ทำ
การเกษตรหรอื การออมเงนิ เพียงเทา่ น้นั แตเ่ ราสามารถนำมาใชไ้ ดก้ บั ทุกๆเรื่อง
ขา้ พเจ้าได้ถ่ายทอดใหก้ ับคนในครอบครัวและเพื่อนบา้ น ทำให้ความสมั พันธ์ของคนในครอบครัว
ใกล้ชดิ มากข้นึ ไม่ตอ้ งพึง่ พาใครสามารถพ่ึงตนเองได้โดยการปลกู ผลไม้ตามฤดูกาล ผักสวนครัวไวร้ บั ประทาน
ในครอบครวั ทำให้ประหยดั ค่าใช้จา่ ย ไมใ่ ช้จา่ ยเกนิ ตวั ลดความฟมุ่ เฟอื ยในการดำรงชพี ไมเ่ บียดเบยี นผู้อืน่ มี
ความขวนขวายหาความรู้ให้กับตนเองสมำ่ เสมอเพือ่ นำไปช่วยเหลือ ผทู้ ่ลี ำบาก นอกจากนีย้ งั ประหยัดค่าใชจ้ ่าย
ในการไปจ่ายตลาด สามารถแบ่งปันเพ่ือนบา้ น สร้างสัมพนั ธท์ ่ีดีในชุมชน ต้นไมใ้ หญย่ ังให้รม่ เงากบั ตัวบา้ น ทำ
ให้อากาศในบา้ นไม่ร้อน นอกจากนน้ั ขา้ พเจา้ ได้มโี อกาสแลกเปลยี่ นความรแู้ ละประสบการณ์กบั คนในชุมชน
และรว่ มทำกิจกรรมต่างๆกบั ชุมชน โดยข้าพเจา้ ได้เป็นจิตอาสา และชว่ ยเหลืองานสว่ นรวมอ่นื ๆในชุมชนอกี
ด้วย
ภาพประกอบ
54
2.ชื่อ-สกุล นายเสรมิ ปาคา นกั ศกึ ษาระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย กศน.ตำบลดา่ นแมค่ ำมัน
การใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวติ ประจำวัน หรือการเปล่ียนแปลงที่เกิดขึ้นจากการนำ
ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาใช้
จากการที่ได้นำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจำวันทำให้ ไม่ต้องพึ่งพาใครสามารถ
พ่ึงตนเองได้โดยการปลูกผักสวนครัวไว้กินเองประหยัด ค่าใช้จ่าย ไม่ใช้จ่ายเกินตัว ลดความฟุ่มเฟือยในการ
ดำรงชีพ ไม่เบียดเบียนผู้อ่ืน และไม่ลงทุนเกินขนาด ก่อนท่ีจะลงทุนทำอะไรคิดและวางแผนอย่างรอบคอบ ใน
การลงทุนประกอบอาชีพโดยข้าพเจ้าได้นำผักและผลไม้ท่ีปลูกไว้ในบ้านจากท่ีเหลือกิน ก็นำไปแปรรูปปและ
นำไปขาย ทำให้มรี ายได้เลีย้ งตนเอง และครอบครัวได้อยา่ งพอเพียง และเมอื่ มีชาวบา้ นทส่ี นใจท่ีอยากประกอบ
อาชพี การทำผลไมแ้ ปรรูปข้าพเจา้ ได้เปน็ ผ้แู นะนำ และอบรมใหค้ วามรใู้ นการทำเกตรผสมผสาน ให้กับผูท้ ีส่ นใจ
อีกดว้ ย
55
2.ชื่อ-สกลุ นางละเอียด ปานเรอื ง นักศกึ ษาระดับ ประถมศกึ ษา กศน.ตำบลทุ่งย้ัง
ข้าพเจ้านางละเอียด ปานเรือง นักศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น กศน.ตำบลทุ่งย้ัง กศน.อำเภอลับแล ได้
เข้าร่วมเรียนรู้ในโครงการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัญาของเศรษฐกิจพอเพียง กศน.ตำบลทุ่งยั้งทำให้ดิฉัน
ได้เรียนรู้จนเกิดหลักคิด และสามารถสร้างองค์ความรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงได้ ทุกคร้ังที่มีอะไรที่
ตอ้ งตัดสินใจ จะต้องมาผ่านกระบวนการคิดตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงทุกคร้งั โดยแยกตามหลกั การ 3
ห่วง 2 เง่ือนไขคือการคิดตามหลักความพอประมาณ ความมีเหตุผล และความมีภูมิคุ้มกัน อีกท้ังในการ
ตัดสนิ ใจทุกครั้งเราจำเปน็ จะต้องมีความรู้ควบคู่ไปกบั ความมคี ุณธรรม โดยหลงั จากท่ไี ดเ้ รียนรู้สิ่งเหลา่ น้แี ล้วนั้น
การจะทำอะไรแต่ละคร้ังจะมีการคิดที่รอบคอบมากข้ึน มีการทำงานท่ีเป็นระบบเป็นข้ันตอนมากย่ิงขึ้น ซ่ึงใน
ฐานะที่ดิฉันเป็นนักศึกษาต้นแบบ ในการน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาใช้ในการประกอบ
อาชีพ และปรับใช้ในชีวิตประจำวันและ ขบั เคล่ือนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดิฉันได้มีการจัดทำฐาน
การเรียนรู้ให้กับนักศึกษาและประชาชนท่ัวไป ได้เรียนรู้และเข้าใจในเรื่องของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
และยังสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ นอกจากน้ียังได้ขยายผลสู่ชุมชนโดยจัดกิจกรรมที่สามารถเรียนรู้
จากการปฏบิ ัติ เพอื่ ให้สามารถนำความรู้และประสบการณท์ ่ีได้รบั ไปใชไ้ ดใ้ นชีวิตจริง และในครอบครัวไดม้ ีการ
แลกเปลี่ยนความคิดเห็นของคำว่าเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือให้คนในครอบครัวได้มองคำว่า หลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงในมุมมองท่กี ว้างข้นึ และสามารถนำไปใชไ้ ดอ้ ย่างถูกต้องตามกระบวนการของหลกั เศรษฐกิจ
พอเพียง ปัจจุบัน ได้ทำการเกษตรบนพ้ืนที่น้อยแบบผสมผสานสามารถแก้จน ปลูกผักสวนครัวร้ัวกินได้ เพื่อลด
รายจ่ายในครวั เรือน
ภาพประกอบ
๕๖
แผน่ พบั ประชาสัมพนั ธ์การบริการจดั การสถานศกึ ษาพอเพียง ดา้ นการศกึ ษา ประจำปี 2564
ของ กศน.อำเภอลบั แล
๕๗
แผน่ พบั ประชาสัมพนั ธ์การบริการจดั การสถานศกึ ษาพอเพียง ดา้ นการศกึ ษา ประจำปี 2564
ของ กศน.อำเภอลบั แล
๕๘
แผน่ พบั ประชาสัมพนั ธ์การบริการจดั การสถานศกึ ษาพอเพียง ดา้ นการศกึ ษา ประจำปี 2564
ของ กศน.อำเภอลบั แล
๕๙
แผน่ พบั ประชาสัมพนั ธ์การบริการจดั การสถานศกึ ษาพอเพียง ดา้ นการศกึ ษา ประจำปี 2564
ของ กศน.อำเภอลบั แล
๖๐
คณะผ้จู ดั ทำ
ที่ปรึกษำ นายอานาจ อนิ มนั่ คง ผอ.กศน.อาเภอลบั แล
นางสาวนงคน์ ุช ยะราช เจา้ พนกั งานหอ้ งสมดุ ชานาญงาน
1. นายประยงค์ อทุ ธสิ นิ ธุ์ ครู
2. นายหฤษฏ์ ประมาณ ครผู ชู้ ว่ ย
3.
4.
ผ้สู นับสนุนข้อมลู มาน้อย ครู อาสาฯ
พมุ่ จนี ครู อาสาฯ
2. นางสุพร มง่ิ นัน ครู กศน. ตาบล นานกกก
3. นางนุชภาวรรณ เพช็ รมนั่ ครู กศน. ตาบล ฝายหลวง
4. นางจารุวรรณ อนิ ขา ครู กศน. ตาบล ชยั จุมพล
5. นางสาวศริ ลิ กั ษณ์ กลนิ่ เกตุ ครู กศน. ตาบล ทุ่งยงั้
6. นางอชริ ญาณ์ แกว้ ทองมา ครู กศน. ตาบล ดา่ นแม่คามนั
7. นางพมิ พา นวลแบน ครู กศน. ตาบล แมพ่ ลู
8. นายนพดล คณุ คา ครู กศน. ตาบล ศรพี นมมาศ
9. นางอารยิ า โพธศิ์ รี ครู กศน.ตาบล ไผล่ อ้ ม
10. นางสาวพชั รนิ ทร์ บุญเพง็ ครู ศรช. เทศบาลหวั ดง
11. นายชาตรี เมอื งชา ครู ศรช.ตาบลชยั จุมพล
12. นางสาววารณุ ี ชพี กจิ เจา้ หน้าทบ่ี นั ทกึ ขอ้ มลู
13. นางสาวกรรณภรรท
14. นางสาวสพุ ชิ ญญ์ า
ผ้สู รปุ /จดั ทำต้นฉบบั /จดั พิมพ์ อทุ ธสิ นิ ธุ์ ครู
1. นายประยงค์ ประมาณ ครผู ชู้ ว่ ย
2. นายหฤษฏ์ เมอื งชา ครู ศรช.ตาบลชยั จุมพล
3. นางสาวกรรณภรรท
๖๑