หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นกดุ นำ้ ใส
พทุ ธศกั ราช 2564
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551
(ฉบบั ปรบั ปรุง พทุ ธศกั ราช 2563)
ระดบั ประถมศึกษา
สำนักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาขอนแก่น เขต 4
สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ
ประกาศโรงเรียนบ้านกดุ นำ้ ใส
เร่อื ง ใหใ้ ชห้ ลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านกุดนำ้ ใส พทุ ธศักราช 2564
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551
(ฉบับปรับปรุง พุทธศกั ราช2561)
...........................................................
ตามทก่ี ระทรวงศึกษาธกิ ารได้มคี ำสงั่ ที่สพฐ.1239/2560 ลงวนั ท่ี7 สิงหาคม2560 เร่อื งให้ใช้มาตรฐาน
การเรยี นรูแ้ ละตวั ชี้วดั กลมุ่ สาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และสาระภูมศิ าสตร์ในกลุ่มสาระการ
เรียนรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม (ฉบบั ปรบั ปรุงพ.ศ.2560) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้
พนื้ ฐานพุทะศักราช2551 และ สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐานไดม้ ีคำสัง่ ท่3ี 0/2561 ลงวนั ที่ 5
มกราคม 2561 เรือ่ งใหเ้ ปล่ยี นแปลงมาตรฐานการเรียนร้แู ละตัวช้วี ดั กลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตรแ์ ละ
วทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรุงพ.ศ.2560) และได้แจ้งใหส้ ถานศึกษาพัฒนาปรับปรุงหลกั สูตรสถานศึกษา เพ่ือให้
สถานศกึ ษานำมาตรฐานการเรียนรูแ้ ละตวั ชวี้ ดั ไปสู่การปฏบิ ตั ิในการจัดการเรียนการสอนในช้ันเรียนไดอ้ ย่างมี
ประสิทธิภาพ มคี วามยดื หย่นุ เหมาะสมกบั บริบท จดุ เน้นของสถานศกึ ษาและศักยภาพผู้เรยี น ใหส้ อดคลอ้ งกบั
การเปลย่ี นแปลงทางเศรษฐกจิ สงั คม วัฒนธรรม สภาพแวดลอ้ ม และความรทู้ างวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีท่ี
เจรญิ กา้ วหนา้ อย่างรวดเรว็ เพอ่ื พฒั นาและเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพคนของชาติให้สามารถเพิม่ ขีดความสามารถใน
การแข่งขนั ของประเทศ โดยการยกระดบั คณุ ภาพการศึกษาและการเรียนรูใ้ หม้ ีคณุ ภาพและมาตรฐานระดบั
สากล สอดคล้องกับประเทศไทย 4.0 และโลกในศตวรรษท่ี 21นน้ั โรงเรยี นบ้านกุดน้ำใสจึงได้มกี ารทบทวน
ปรับปรงุ พัฒนาหลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นกดุ นำ้ ใส พทุ ธศกั ราช 2564 ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาข้นั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ พทุ ธศกั ราช 2564) ขนึ้ ในกลมุ่ สาระการเรียนรู้
คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ ในกล่มุ สาระการเรยี นรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ในทกุ ระดบั ชน้ั และพรอ้ มกนั น้ี ไดม้ กี ารตรวจสอบทบทวนปรับปรุงเอกสาร
หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นกุดนำ้ ใส พุทธศักราช 2564 ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรงุ พุทธศกั ราช 2560) ทุกรายการใหม้ ีความทนั สมัย ครบถว้ น ถูกต้องสมบูรณ์
ทกุ รายการโดยการมีสว่ นร่วมของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวชิ าการสถานศึกษาขนั้ พ้ืนฐานเพ่อื
ประกาศใชใ้ นโรงเรยี นบา้ นกดุ นำ้ ใสในปกี ารศึกษา 2561 เปน็ ตน้ ไปทง้ั น้ีหลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นกุด
น้ำใส พุทธศกั ราช 2564 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ
พุทธศักราช 2560) ได้รับความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพื้นฐาน โรงเรยี นบา้ นกุดน้ำใส แลว้
เมือ่ วนั ที่ วนั ที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 จงึ ประกาศให้ใช้หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านกดุ น้ำใส ตง้ั แต่บัดน้ีเปน็
ต้นไป
ประกาศ ณ วนั ท่ี 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2561
(ลงช่ือ) (ลงชือ่ )
(นายรังสรรค์ ทองโคตร ) (นายสชุ าติ แมน้ ดนิ แดง)
ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพืน้ ฐาน ผู้อำนวยการโรงเรยี นบา้ นกุดนำ้ ใส
คำนำ
ตามทก่ี ระทรวงศกึ ษาธกิ ารได้มคี ำส่งั ที่สพฐ.1239/2560 ลงวนั ที่7 สิงหาคม2560 เร่อื งให้ใชม้ าตรฐาน
การเรยี นรูแ้ ละตวั ชวี้ ดั กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการ
เรยี นร้สู ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.2560) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้น
พืน้ ฐานพทุ ะศักราช2551 และ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐานได้มีคำสั่งที่30/2561 ลงวนั ท่ี 5
มกราคม 2561 เรอื่ งใหเ้ ปลี่ยนแปลงมาตรฐานการเรียนรแู้ ละตัวช้ีวัดกล่มุ สาระการเรยี นร้คู ณิตศาสตร์และ
วทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.2560) และไดแ้ จ้งใหส้ ถานศกึ ษาพัฒนาปรับปรงุ หลกั สูตรสถานศกึ ษาในทุก
ระดับช้ันนั้นโรงเรยี นบ้านกุดน้ำใส จึงได้มีการทบทวน ปรับปรงุ พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านกุด
นำ้ ใส ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พุทธศักราช 2560) ข้ึน
และประกาศใชใ้ นปกี ารศกึ ษา 2561 เป็นตน้ ไป และเพือ่ ใหก้ ารนำหลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี น... ไปสกู่ าร
ปฏิบัติและใช้พฒั นานักเรยี นในทุกระดับ เพอื่ พฒั นาคา่ นิยม ทักษะ และคุณลักษณะอนั พึงประสงคข์ องผเู้ รยี น
ท่จี ะนำไปสู่การเปล่ียนแปลงพฤตกิ รรมใหเ้ ปน็ พลเมอื งดขี องสงั คมไทย ทมี่ ีการปกครองระบอบประชาธิปไตย
อันมีพระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมขุ ให้มปี ระสทิ ธภิ าพตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธกิ าร
โรงเรยี นบา้ นกดุ นำ้ ใส ขอขอบคุณ ผู้ทรงคุณวุฒิ ศกึ ษานิเทศก์ และคณะทำงานทกุ คนที่มีส่วน
เกี่ยวขอ้ งในการจดั ทำเอกสารฉบับน้ใี ห้สำเรจ็ ลุล่วง และหวังเปน็ อย่างยิ่งว่าเอกสารหลักสูตรสถานศึกษาฉบบั น้ี
จะเปน็ ประโยชนต์ อ่ การจัดการเรยี นรใู้ นทุกระดับช้ัน
โรงเรียนบา้ นกุดน้ำใส
สารบญั
เรอื่ ง หนา้
ประกาศโรงเรียนบา้ นกุดนำ้ ใส เรื่องใหใ้ ชห้ ลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นกดุ น้ำใส
พุทธศักราช 2564 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551
(ฉบับปรับปรุง 2560)
คำนำ ก
สารบัญ ข
สว่ นท่ี 1 สว่ นนำ
ส่วนท่ี 2 โครงสร้างหลักสูตรสถานศกึ ษา
สว่ นท่ี 3 สาระการเรยี นรู้หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านกดุ นำ้ ใส
- กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย
- กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์
- กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์
- กลมุ่ สาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม
- กลุ่มสาระการเรยี นรู้สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา
- กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
- กลมุ่ สาระการเรียนรกู้ ารงานอาชพี และเทคโนโลยี
- กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาต่างประเทศ
- รายวชิ าเพิ่มเติม ...................................
- รายวิชาเพ่ิมเติม ...................................
ส่วนท่ี 4 กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี นตามหลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นกุดนำ้ ใส
สว่ นที่ 5 เกณฑก์ ารจบการศึกษา
เอกสารอา้ งองิ
ภาคผนวก
- หนงั สือสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน
- คำส่งั แต่งตั้งคณะกรรมการบริหารหลักสตู รและงานวชิ าการโรงเรยี น...
- คำส่ังแต่งต้งั คณะกรรมการจดั ทำหลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียน...
สว่ นที่ 1
สว่ นนำ
ความหมาย
ตามท่กี ระทรวงศกึ ษาธิการได้มคี ำสง่ั ท่สี พฐ.1239/2560 ลงวนั ท่ี7 สิงหาคม2560 เร่อื งให้ใช้มาตรฐาน
การเรียนรู้และตวั ช้วี ดั กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และสาระภูมศิ าสตร์ในกลุ่มสาระการ
เรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (ฉบับปรบั ปรุงพ.ศ.2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั
พน้ื ฐานพทุ ะศักราช2551 และ สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐานได้มีคำสัง่
ท่ี30/2561 ลงวนั ท่ี 5 มกราคม 2561 เรอื่ งใหเ้ ปลี่ยนแปลงมาตรฐานการเรียนรแู้ ละตัวช้วี ดั กล่มุ สาระ
การเรียนรู้คณิตศาสตรแ์ ละวิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.2560) และได้แจ้งใหส้ ถานศกึ ษาพัฒนาปรับปรงุ
หลักสตู รสถานศกึ ษา ในทกุ ระดบั ชนั้ นั้นโรงเรียนบา้ นกุดน้ำใสจงึ ไดม้ ีการทบทวน ปรบั ปรุง พัฒนาหลักสตู ร
สถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านกดุ น้ำใส ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั
ปรับปรงุ พุทธศกั ราช 2560) ขนึ้ และประกาศใชใ้ นปีการศึกษา 2561 เป็นตน้ ไป และเพ่ือใหก้ ารนำหลกั สูตร
สถานศึกษาโรงเรียนบา้ นกุดน้ำใส ไปสู่การปฏบิ ัติและใช้พฒั นานกั เรียนในทกุ ระดบั เพื่อพฒั นาคา่ นิยม ทักษะ
และคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงคข์ องผ้เู รยี นทจ่ี ะนำไปสกู่ ารเปลยี่ นแปลงพฤติกรรมให้เป็นพลเมอื งดีของ
สงั คมไทย ทมี่ ีการปกครอง ระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมขุ
หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านกุดนำ้ ใส .พทุ ธศักราช 2561 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ัน
พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พทุ ธศักราช2560) ประกอบดว้ ยสาระสำคญั ของหลักสูตรแกนกลาง
สาระความรูท้ เ่ี กีย่ วข้องกับชุมชนทอ้ งถ่ิน และสาระสำคญั ที่สถานศกึ ษาพฒั นาเพ่มิ เตมิ โดยจัดเป็นสาระการ
เรยี นรู้รายวชิ าพืน้ ฐานตามมาตรฐานการเรียนรูแ้ ละตวั ชีว้ ัด และสาระการเรยี นร้รู ายวชิ าเพิ่มเติม จัดกจิ กรรม
พัฒนาผู้เรียนเป็นรายปีในระดบั ประถมศกึ ษา และกำหนดคุณลักษณะ อันพงึ ประสงค์ของสถานศึกษาตาม
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ความสำคญั
หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นกดุ นำ้ ใส . พทุ ธศักราช 2564 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษา
ขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรงุ พทุ ธศักราช 2560) มีความสำคญั ในการพฒั นาผเู้ รียน ใหม้ ี
คุณภาพตามมาตรฐานการเรยี นรู้ ตวั ชว้ี ดั และคุณลักษณะอนั พึงประสงคต์ ามท่ีกำหนดไว้เป็นแนวทางให้
ผูบ้ รหิ ารสถานศึกษา ครู อาจารย์ ตลอดจนผู้เกี่ยวขอ้ งกับการจดั การศกึ ษาของสถานศึกษา ในการจดั มวล
ประสบการณใ์ ห้แก่ผเู้ รียนไดพ้ ฒั นาให้บรรลุถงึ คณุ ภาพตามมาตรฐานในการพฒั นาเยาวชนของชาติ
นอกเหนอื จากการใช้เป็นแนวทาง หรือข้อกำหนดในการจดั การศึกษาของสถานศึกษาให้บรรลุตามจุดหมาย
ของการจดั การศึกษาแลว้ หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นกุดนำ้ ใส พทุ ธศักราช 2564 ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พุทธศกั ราช 2560) ที่พัฒนาขึน้
ยงั เปน็ หลักสูตรทมี่ จี ุดมงุ่ หมายให้ครอบครัว ชมุ ชน องค์กรในท้องถิ่น ทัง้ ภาครัฐและเอกชนเข้าร่วม จดั
การศึกษาของสถานศกึ ษาโดยมีแนวทางสำคัญที่สถานศึกษากำหนดไวใ้ นหลักสูตรสถานศึกษา
ลักษณะของหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นกุดนำ้ ใส พุทธศกั ราช 2561 ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ พทุ ธศกั ราช 2560)
หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านกดุ นำ้ ใส พุทธศักราช 2561 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พุทธศกั ราช 2560) เป็นหลกั สตู รที่สถานศกึ ษาไดพ้ ัฒนาขึน้
เพอื่ พฒั นาผูเ้ รยี นในระดับ.อนบุ าล ถึง ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี6 โดยยึดองค์ประกอบหลกั สำคัญ 3 ส่วน คอื
หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 สาระการเรยี นรทู้ ้องถิ่น และสาระสำคัญที่
สถานศึกษาพฒั นาเพม่ิ เติม เปน็ กรอบในการจัดทำรายละเอยี ดเพือ่ ให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาขน้ั
พ้ืนฐานที่กำหนด เหมาะสมกบั สภาพชมุ ชนและท้องถน่ิ และจุดเนน้ ของสถานศึกษา โดยหลกั สูตรสถานศกึ ษา
โรงเรียนบ้านกุดน้ำใส พุทธศักราช 2561 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษา
ข้ันพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ พุทธศกั ราช 2560) ท่พี ฒั นาข้นึ มีลักษณะของหลักสูตร ดังนี้
1. เปน็ หลกั สูตรเฉพาะของสถานศึกษาโรงเรียนบ้านกุดนำ้ ใส สำหรบั จัดการศกึ ษาในหลักสตู ร
แกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน จัดระดบั การศึกษาเป็น ระดบั ประถมศกึ ษา (ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 1– 6)
วิสัยทศั น์
โรงเรียนบ้านกุดน้ำใส มงุ่ จัดการศกึ ษา ใหผ้ ู้เรยี นมีคณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา สง่ เสริมพัฒนา
ผู้เรียน มคี ุณธรรมนำความรู้ อยู่อย่างพอพียง อนรุ ักษศ์ ลิ ปวัฒนธรรมไทย โดยการมีสว่ นร่วมของครมู ืออาชพี
และชมุ ชน
พนั ธกิจโรงเรียนโรงเรยี นบา้ นกุดนำ้ ใส
1. ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรยี นให้มีคณุ ภาพการศึกษาตามหลกั สตู รสถานศึกษา
2. ส่งเสรมิ และพฒั นาผเู้ รยี นให้เปน็ บุคคลที่มีความรู้คู่คณุ ธรรมและดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียง
3. ปรับปรงุ และพัฒนาอาคารสถานท่ีและสงิ่ แวดล้อม ให้นา่ ดู นา่ อยู่ น่าเรยี น
4. สง่ เสริมและพัฒนาผเู้ รยี นให้มคี วามสามารถทางเทคโนโลยีเพือ่ เป็นเคร่อื งมือในการ
เรียนรู้
5. ประสานความร่วมมอื กบั ชมุ ชน หนว่ ยงานและองคก์ รต่างๆ เพือ่ พฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา
เป้าหมายโรงเรยี นบ้านกดุ น้ำใส
1. นกั เรียนทกุ คนได้รับการสง่ เสริมและพฒั นาใหม้ ีคณุ ภาพการศกึ ษาตามหลักสูตร
สถานศึกษา
2. นักเรียนทุกคนไดร้ ับส่งเสรมิ และพัฒนาให้เป็นบคุ คลที่มีความรคู้ ู่คุณธรรมและดำเนินชีวติ
ตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง
3. อาคารสถานท่ี และสงิ่ แวดล้อม น่าดู นา่ อยู่ นา่ เรียน
4. นกั เรียนทกุ คนไดร้ บั การส่งเสริมและพฒั นาให้มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยเี พือ่ เปน็
เคร่อื งมอื ในการเรยี นรู้
5. คณะกรรมการสถานศึกษา ชมุ ชน หนว่ ยงานและองค์กรต่างๆ ใหก้ ารส่งเสริมสนบั สนุน
และรว่ มมอื ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
อตั ลักษณ์
อยู่อย่างพอเพียง
เอกลักษณ์ของสถานศึกษา
สถานศึกษาพอเพยี ง
หลกั การ
หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนบ้านกุดน้ำใส พุทธศกั ราช 2561 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษา
ขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับปรบั ปรงุ พทุ ธศักราช2560) มหี ลกั การที่สำคญั ตามหลกั สูตรแกนกลาง
การศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 มหี ลกั การท่ีสำคญั ดงั นี้
1. เป็นหลักสูตรการศกึ ษาเพอื่ ความเป็นเอกภาพของชาติ มีจดุ หมายและมาตรฐานการเรยี นรเู้ ป็นเปา้ หมาย
สำหรบั พฒั นาเดก็ และเยาวชนใหม้ ีความรู้ ทกั ษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพน้ื ฐานของความเป็นไทยควบคกู่ บั
ความเป็นสากล
2. เป็นหลกั สตู รการศึกษาเพ่ือปวงชน ที่ประชาชนทกุ คนมโี อกาสได้รับการศึกษาอยา่ งเสมอภาค และมี
คณุ ภาพ
3. เปน็ หลกั สูตรการศกึ ษาทีส่ นองการกระจายอำนาจ ให้สงั คมมีส่วนรว่ มในการจัดการศกึ ษาให้
สอดคลอ้ งกับสภาพและความตอ้ งการของท้องถ่ิน
4. เปน็ หลกั สูตรการศกึ ษาทมี่ ีโครงสร้างยืดหยุ่นท้งั ดา้ นสาระการเรียนรู้ เวลาและการจัด การ
เรียนรู้
5. เป็นหลักสูตรการศกึ ษาท่เี น้นผู้เรยี นเป็นสำคญั
6. เป็นหลกั สตู รการศึกษาสำหรบั การศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศยั ครอบคลมุ ทกุ
กลมุ่ เปา้ หมาย สามารถเทียบโอนผลการเรียนรู้ และประสบการณ์
จุดมุง่ หมาย
หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านกดุ น้ำใส พุทธศกั ราช 2561 ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษา ข้ันพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรงุ พทุ ธศกั ราช2560) ม่งุ พัฒนาผ้เู รียนใหเ้ ปน็ คนดี มี
ปญั ญา มคี วามสขุ มีศักยภาพในการศึกษาตอ่ และประกอบอาชีพ จงึ กำหนดเปน็ จดุ มุง่ หมายให้เกิดกบั ผเู้ รยี น
เมอ่ื จบการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน ดงั น้ี
1. มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และค่านิยมพึงประสงค์ เหน็ คณุ ค่าของตนเอง มวี ินัยและปฏบิ ตั ิตน
ตามหลักธรรมของพุทธศาสนา หรือศาสนาทตี่ นนับถือ ยดึ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
2. มีความรู้ความสามารถในการสื่อสาร การคิดการแกป้ ญั หา การใชเ้ ทคโนโลยี และ มี
ทกั ษะชีวิต
3. มสี ุขภาพกายและสขุ ภาพจิตท่ีดี มสี ุขนสิ ยั และรักการออกกำลังกาย
4. มคี วามรักชาติ มจี ิตสำนึกในความเปน็ พลเมอื งไทยและพลเมอื งโลก ยดึ มัน่ ใน วถิ ีชีวิตและ
การปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมขุ
5. มจี ิตสำนกึ ในการอนุรกั ษ์วัฒนธรรมและภูมปิ ัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาสงิ่ แวดลอ้ ม มี
จติ สาธารณะทีม่ งุ่ ทำประโยชน์และสรา้ งส่ิงท่ดี ีงามในสงั คม และอยรู่ วมกนั ในสงั คมได้ อยา่ งมคี วามสุข
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
โรงเรยี นบ้านกดุ น้ำใส มุง่ พัฒนาผู้เรยี นใหม้ ีคณุ ภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ ซงึ่ การพฒั นา
ผเู้ รียนใหบ้ รรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้ที่กำหนดนน้ั จะช่วยใหผ้ เู้ รยี นเกิดสมรรถนะสำคัญ 5 ประการ ดงั น้ี
1. ความสามารถในการสือ่ สาร เปน็ ความสามารถในการรบั และสง่ สารมีวฒั นธรรม ใน
การใช้ภาษา ถ่ายทอดความคดิ ความรคู้ วามเข้าใจ ความรสู้ ึก และทัศนคตขิ องตนเองเพ่อื แลกเปลี่ยนข้อมูล
ข่าวสาร และประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ตอ่ การพฒั นาตนเองและสงั คมรวมท้ังการเจรจาตอ่ รองเพอื่ ขจัด
หรือลดปัญหาการขัดแยง้ ต่างๆ การเลือกรับ หรอื ไมร่ บั ข้อมูลขา่ วสารดว้ ยหลักเหตุผลและความถกู ต้อง
ตลอดจนการเลอื กใชว้ ธิ กี ารส่อื สารที่มีประสิทธภิ าพโดยคำนึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเองและสงั คม
2. ความสามารถในการคิด เปน็ ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคดิ
อย่างสร้างสรรค์ การคดิ อย่างมวี จิ ารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนำไปส่กู ารสร้างองคค์ วามรู้หรอื สรา้ ง
สารสนเทศเพอื่ การตดั สนิ ใจ เก่ยี วกับตนเองและสงั คมได้อยา่ งมีความสุข
3. ความสามารถในการแก้ปญั หา เป็นความสามารถในการแก้ปญั หาและอุปสรรคตา่ งๆ ท่ี
เผชญิ ได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพน้ื ฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมขอ้ มลู สารสนเทศ เข้าใจความสัมพนั ธ์และ
การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ตา่ งๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยกุ ต์ความรมู้ าใช้ในการป้องกันและแกไ้ ข
ปญั หา และมกี ารตัดสินใจทมี่ ีประสทิ ธิภาพโดยคำนงึ ผลกระทบท่ีเกดิ ขึน้ ตอ่ ตนเอง สงั คม และส่งิ แวดล้อม
4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต เป็นความสามารถในการนำกระบวนการต่างๆ ไปใช้ใน
การดำเนินชีวติ ประจำวนั การเรยี นรูด้ ว้ ยตนเอง การเรียนรอู้ ยา่ งตอ่ เนือ่ ง การทำงาน และการอยู่รวมกันใน
สงั คม ด้วยการสรา้ งเสริมความสัมพันธอ์ ันดีระหวา่ งบุคคล การจัดปญั หาและความขัดแย้งต่างๆ อย่าง
เหมาะสมการปรับตัวให้ทันกับการเปลย่ี นแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการร้จู กั เลย่ี งพฤติกรรมท่ไี ม่
พึงประสงค์ ทีส่ ง่ ผลกระทบกบั ตนเองและผอู้ ่ืน
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลอื กใชเ้ ทคโนโลยี ด้าน
ตา่ งๆ และมที กั ษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรยี นรู้ การส่อื สาร
การทำงาน การแกป้ ัญหาอย่างสรา้ งสรรค์ ถกู ต้องเหมาะสมและมคี ุณธรรม
คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์
โรงเรียนบ้านกดุ น้ำใส ม่งุ พฒั นาผเู้ รยี นให้มีคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ เพอื่ ใหส้ ามารถอยู่
รว่ มกบั ผู้อืน่ ในสังคมไดอ้ ยา่ งมีความสขุ ในฐานะเป็นพลเมอื งไทยและพลเมอื งโลก ดังนี้
1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์
2. ซ่ือสัตย์ สุจรติ
3. มีวนิ ัย
4. ใฝเ่ รยี นรู้
5. อยู่อย่างเพียงพอ
6. ม่งุ มัน่ ในการทำงาน
7. รักความเป็นไทย
8. มจี ติ สาธารณะ
9. มีความกตัญญูกตเวที
คา่ นิยมหลกั ของคนไทย 12 ประการ
1. มีความรกั ชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์
2. ซอ่ื สตั ย์ เสียสละ อดทน มีอดุ มการณใ์ นสง่ิ ทีด่ ีงามเพอ่ื ส่วนรวม
3. กตัญญูตอ่ พ่อแม่ ผู้ปกครอง ครูบาอาจารย์
4. ใฝห่ าความรู้ หมั่นศกึ ษาเล่าเรียนท้งั ทางตรง และทางอ้อม
5. รกั ษาวฒั นธรรมประเพณไี ทยอันงดงาม
6. มีศลี ธรรม รักษาความสตั ย์ หวังดีต่อผูอ้ น่ื เผอ่ื แผ่และแบง่ ปัน
7. เขา้ ใจเรยี นรกู้ ารเป็นประชาธปิ ไตย อนั มพี ระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมุขท่ีถูกต้อง
8. มรี ะเบียบวินัย เคารพกฎหมาย ผนู้ อ้ ยรจู้ ักการเคารพผูใ้ หญ่
9. มสี ตริ ตู้ วั รคู้ ิด รทู้ ำ ร้ปู ฏิบตั ิตามพระราชดำรสั ของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอย่หู วั
10. รูจ้ กั ดำรงตนอยโู่ ดยใชห้ ลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดำรสั ของ
พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัว รูจ้ ักอดออมไว้ใชเ้ ม่ือยามจำเปน็ มไี ว้พอกินพอใช้ ถา้ เหลือก็แจกจ่ายจำหนา่ ย
และพรอ้ มที่จะขยายกจิ การเมอื่ มคี วามพร้อม เม่อื มภี ูมิคมุ้ กันทีด่ ี
11. มคี วามเข้มแข็งท้ังรา่ งกาย และจิตใจ ไมย่ อมแพ้ต่ออำนาจฝ่ายต่ำ หรือกิเลส มีความละอาย
เกรงกลัวต่อบาปตามหลักของศาสนา
12. คำนงึ ถงึ ผลประโยชน์ของสว่ นรวม และของชาตมิ ากกวา่ ผลประโยชน์ของตนเอง
ส่วนที่ 2
โครงสรา้ งหลักสูตรสถานศกึ ษา
โครงสรา้ งหลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นกดุ นำ้ ใส
หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านกดุ น้ำใส .พทุ ธศักราช 2564ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั
พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พทุ ธศกั ราช 2560) ได้กำหนดโครงสรา้ งของหลกั สูตรสถานศึกษา
เพอื่ ใหผ้ ู้สอน และผู้ท่ีเกีย่ วข้องในการจดั การเรียนรตู้ ามหลกั สูตรของสถานศึกษา มีแนวปฏิบตั ิ ดงั นี้
1. ระดบั การศึกษา กำหนดหลกั สตู รเป็น 2 ระดับ ตามโครงสรา้ งของหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษา
ข้นั พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 และตามภารกจิ หลกั ของการจัดการเรียนการสอนในระดบั ประถมศกึ ษา ดงั น้ี
1.1 ระดับปฐมวัย (อนบุ าล 1 - 2 ) เป็นการจดั การศกึ ษาเพ่ือเตรยี มความพร้อม ใน
ดา้ นร่างกาย อารมณ์จติ ใจ สังคม และสติปญั ญา
1.2 ระดับประถมศึกษา (ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 1 – 6) การศึกษาระดับนี้ เป็นช่วงแรกของ
การศึกษาภาคบงั คบั มุ่งเนน้ ทักษะพน้ื ฐานด้านการอ่าน การเขียน การคดิ คำนวณ ทักษะการคิดพ้ืนฐาน การ
ตดิ ต่อสอื่ สาร กระบวนการเรยี นร้ทู างสงั คม และพนื้ ฐานความเป็นมนุษย์ การพัฒนาคุณภาพชวี ิตอยา่ ง
สมบูรณแ์ ละสมดุลทงั้ ในด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สงั คม และวฒั นธรรม โดยเนน้ จดั การเรยี นรแู้ บบ
บูรณาการ
2. สาระการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้ในหลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นกดุ นำ้ ใส พุทธศักราช 2564 ตาม
หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พทุ ธศกั ราช 2560) ได้กำหนด
ไว้ในหลักสูตร ประกอบดว้ ยองค์ความรู้ ทักษะหรือกระบวนการเรียนรู้ และคุณลกั ษณะหรือค่านยิ ม คุณธรรม
จริยธรรมของผูเ้ รยี น 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ได้แก่
2.1 ภาษาไทย
2.2 คณิตศาสตร์
2.3 วิทยาศาสตร์
2.4 สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม
2.5 สุขศึกษาและพลศึกษา
2.6 ศลิ ปะ
2.7 การงานอาชพี และเทคโนโลยี
2.8 ภาษาองั กฤษ
3. กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียน กิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น ม่งุ ใหผ้ เู้ รยี นไดพ้ ฒั นาตนเองตามศักยภาพ พฒั นาอยา่ งรอบ
ดา้ นเพ่ือความเปน็ มนษุ ยท์ สี่ มบูรณ์ ทง้ั รา่ งกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม เสริมสร้างให้เป็นผู้มีศีลธรรม
จริยธรรม มีระเบยี บวนิ ยั ปลูกฝงั และสรา้ งจิตสำนกึ ของการทำประโยชนเ์ พอ่ื สงั คม สามารถจดั การตนเองได้
และอยู่รว่ มกบั ผู้อื่นอย่างมคี วามสขุ แบ่งเปน็ 3 ลักษณะ ดงั นี้
3.1 กิจกรรมแนะแนว เปน็ กจิ กรรมท่สี ง่ เสริมและพฒั นาผเู้ รียนให้รูจ้ ักตนเอง รู้รักษส์ ง่ิ แวดลอ้ ม
สามารถคิดตดั สินใจ คิดแกป้ ัญหา กำหนดเป้าหมาย วางแผนชวี ติ ท้ังด้านการเรียน และอาชีพ สามารถปรับตน
ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม นอกจากน้ยี ังชว่ ยให้ครรู ูจ้ ักและเขา้ ใจผูเ้ รยี น ทัง้ ยังเป็นกจิ กรรมทีช่ ว่ ยเหลอื และให้คำปรึกษา
แกผ่ ู้ปกครองในการมสี ่วนร่วมพัฒนาผเู้ รียน
3.2 กจิ กรรมนกั เรียน เปน็ กิจกรรมท่ีมงุ่ พฒั นาความมีระเบยี บวินยั ความเปน็ ผนู้ ำผู้ตาม ท่ีดี ความ
รับผดิ ชอบ การทำงานรว่ มกัน การรจู้ กั แก้ปญั หา การตัดสินใจท่เี หมาะสม ความมีเหตุผล การช่วยเหลอื
แบง่ ปนั กนั เอือ้ อาทร และสมานฉนั ท์ โดยจัดให้สอดคล้องกบั ความสามารถ ความถนัด และความสนใจของ
ผเู้ รยี น ใหไ้ ด้ปฏิบัติด้วยตนเองในทกุ ขัน้ ตอน ได้แก่ การศึกษาวเิ คราะหว์ างแผน ปฏิบัติตามแผน ประเมนิ และ
ปรบั ปรุงการทำงาน เนน้ การทำงานร่วมกันเป็นกลมุ่ ตามความเหมาะสมและสอดคล้องกบั วฒุ ภิ าวะของผเู้ รยี น
บรบิ ทของสถานศึกษาและทอ้ งถ่ิน กจิ กรรมนักเรียน ในหลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านกดุ นำ้ ใส
พุทธศักราช 2564 ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พทุ ธศักราช
2560) ประกอบด้วย
3.2.1 กจิ กรรมลกู เสอื - เนตรนารี
3.2.2 กิจกรรมกลมุ่ สนใจ
3.3 กจิ กรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณประโยชน์ เปน็ กจิ กรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรยี นบำเพญ็ ตนให้เป็น
ประโยชน์ตอ่ สังคม ชุมชน และท้องถนิ่ ตามความสนใจในลกั ษณะอาสาสมัคร เพื่อแสดงถึง ความรบั ผดิ ชอบ
ความดงี าม ความเสยี สละต่อสงั คม มีจติ สาธารณะ
4. เวลาเรยี น หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านกดุ น้ำใส พุทธศักราช 2564 ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พุทธศกั ราช 2560) ไดก้ ำหนดกรอบโครงสร้างเวลา
เรียนข้ันตำ่ สำหรบั กล่มุ สาระการเรียนรู้ 8 กล่มุ และกิจกรรมพัฒนาผ้เู รยี น ซง่ึ ผ้สู อนสามารถเพมิ่ เตมิ ไดต้ ามความ
พรอ้ มและจดุ เน้นของสถานศกึ ษา โดยสามารถปรบั ใหเ้ หมาะสมตามบริบทของสถานศึกษาและสภาพของผเู้ รยี น
ดงั น้ี
5. ระดับช้ันประถมศึกษา (ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 1 – 6) ให้จัดเวลาเรียนเป็นรายปี โดยมีเวลาเรยี นวันละ ไม่
น้อยกวา่ 5 ชวั่ โมง
โครงสรา้ งและอตั ราเวลาการจัดการเรยี นรหู้ ลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านกุดนำ้ ใส พทุ ธศกั ราช 2564
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรงั ปรุงพุทธศกั ราช 2560)
ระดับประถมศกึ ษา
กลมุ่ สาระการเรียนรู/้ เวลาเรียน
กจิ กรรม ระดับประถมศกึ ษา
ป. 1 ป. 2 ป. 3 ป. 4 ป. 5 ป.6
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้
ภาษาไทย 240 240 240 200 200 200
คณติ ศาสตร์ 200 200 200 160 160 160
วทิ ยาศาสตร์ 80 80 80 80 80 80
สงั คมศกึ ษา ศาสนา
และวัฒนธรรม 80 80 80 80 80 80
ประวัตศิ าสตร์ 40 40 40 40 40 40
สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา 80 80 80 80 80 80
ศลิ ปะ 80 80 80 80 80 80
การงานอาชีพและ
เทคโนโลยี 80 80 80 80 80 80
ภาษาตา่ งประเทศ 200 200 200 160 160 160
รวมเวลาเรยี น (พ้นื ฐาน) 1080 1080 1080 1080 1080 1080
กิจกรรมพฒั นาผ้เู รยี น
1. กิจกรรมแนะแนว 40 40 40 40 40 40
2. ลกู เสอื – เนตรนารี 30 30 30 30 30 30
3. กลมุ่ สนใจ(ชมุ นุม) 40 40 40 40 40 40
4. กิจกรรมเพอ่ื สงั คม และ 10* 10* 10* 10* 10* 10*
สาธารณประโยชน์
รวมเวลาเรยี นกิจกรรมพัฒนา 120 120 120 120 120 120
ผู้เรียน
รายวชิ าเพ่ิมเติม
รวมเวลาเรยี นท้งั หมด 1,200 1,200 1,200 1,200 1,200 1,200
หมายเหตุ กิจกรรมเพือ่ สังคมและสาธารณประโยชนบ์ ูรณาการในกิจกรรมลูกเสอื – เนตรนารี
โครงสร้างหลกั สูตรระดบั ช้นั เวลาเรียน (ชม./ป)ี
โครงสร้างหลกั สตู รสถานศกึ ษา ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 1 1080
หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนบ้านกดุ น้ำใส พุทธศกั ราช 2564 240
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 200
(ฉบบั ปรับปรุง พทุ ธศกั ราช 2560) 80
รายวชิ า/กจิ กรรม 80
40
รายวิชาพ้ืนฐาน 80
80
ท 11101 ภาษาไทย 1 80
ค 11101 คณติ ศาสตร์ 1 200
ว 11101 วิทยาศาสตร์ 1
ส 11101 สังคมศึกษา 1
ส 11102 ประวตั ิศาสตร์ 1
พ 11101 สุขศึกษาและ พลศึกษา 1
ศ 11101 ศิลปะ 1
ง 11101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1
อ 11101 ภาษาอังกฤษ
รายวชิ าเพม่ิ เตมิ
กิจกรรมพฒั นาผู้เรียน 120
1. แนะแนว 40
2. ลกู เสือ-เนตรนารี 30
3. กิจกรรมกลุ่มสนใจ(ชมุ นุมคมพิวเตอร์) 40
4. กิจกรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณประโยชน์ 10
รวมเวลาเรียน 1200
หมายเหตุ 1. กิจกรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณประโยชนบ์ รู ณาการในกิจกรรมลูกเสอื - เนตรนารี
โครงสรา้ งหลกั สูตรสถานศกึ ษา ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 2 เวลาเรยี น (ชม./ป)ี
หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นกุดน้ำใส พทุ ธศกั ราช 2564 1080
ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551
(ฉบับปรับปรงุ พทุ ธศกั ราช 2560) 240
รายวิชา/กจิ กรรม 200
80
รายวชิ าพื้นฐาน 80
40
ท 12101 ภาษาไทย 2 80
ค 12101 คณิตศาสตร์ 2 80
ว 12101 วทิ ยาศาสตร์ 2 80
ส 12101 สังคมศึกษา 2 200
ส 12102 ประวัติศาสตร์2
พ 12101 สุขศึกษาและ พลศกึ ษา 2
ศ 12101 ศิลปะ 2
ง 12101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 2
อ 12101 ภาษาองั กฤษ 2
รายวิชาเพ่ิมเตมิ
กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น 120
1. แนะแนว 40
2. ลกู เสอื -เนตรนารี 30
3. กิจกรรมกลุ่มสนใจ(ชมุ นมุ คอมพิวเตอร)์ 40
4. กจิ กรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์ 10
รวมเวลาเรยี น 1,200
หมายเหตุ 1. กิจกรรมเพือ่ สังคมและสาธารณประโยชนบ์ ูรณาการในกจิ กรรมลูกเสือ - เนตรนารี
โครงสร้างหลกั สูตรสถานศกึ ษา ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 เวลาเรียน (ชม./ป)ี
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านกดุ นำ้ ใส พทุ ธศักราช 2564 1080
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551
(ฉบับปรบั ปรุง พทุ ธศักราช 2560) 240
รายวชิ า/กจิ กรรม 200
80
รายวิชาพื้นฐาน 80
40
ท 13101 ภาษาไทย 3 80
ค 13101 คณติ ศาสตร์ 3 80
ว 13101 วิทยาศาสตร์ 3 80
ส 13101 สังคมศกึ ษาฯ 3 200
ส 13102 ประวตั ิศาสตร์ 3
พ 13101 สุขศกึ ษาและ พลศึกษา 3
ศ 13101 ศิลปะ 3
ง 13101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 3
อ 13101 อังกฤษ 3
รายวิชาเพ่มิ เติม
กิจกรรมพฒั นาผูเ้ รียน 120
1. แนะแนว 40
2. ลูกเสอื -เนตรนารี 30
3. กิจกรรมกลมุ่ สนใจ(ชุมนุมคอมพิวเตอร์) 40
4. กจิ กรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณประโยชน์ 10
รวมเวลาเรียน 1,200
หมายเหตุ 1. กิจกรรมเพอื่ สงั คมและสาธารณประโยชนแ์ ทรกอยู่ในกิจกรรมลกู เสือ - เนตรนารี
โครงสรา้ งหลกั สตู รสถานศึกษา ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 4 เวลาเรียน (ชม./ป)ี
1080
หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านกดุ นำ้ ใส พทุ ธศักราช 2564
ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 200
(ฉบับปรับปรงุ พทุ ธศกั ราช 2560) 160
รายวิชา/กจิ กรรม 80
รายวชิ าพื้นฐาน 80
40
ท 14101 ภาษาไทย 4 80
ค 14101 คณติ ศาสตร์ 4 80
ว 14101 วิทยาศาสตร์ 4 80
ส 14101 สงั คมศกึ ษา ฯ 4 160
ส 14102 ประวัติศาสตร์ 4
พ 14101 สุขศกึ ษาและ พลศึกษา 4
ศ 14101 ศิลปะ 4
ง 14101 การงานอาชพี และเทคโนโลยี 4
อ 14101 ภาษาอังกฤษ 4
รายวิชาเพม่ิ เติม
กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน 120
1. แนะแนว 40
2. ลกู เสือ-เนตรนารี 30
3. กิจกรรมกลุ่มสนใจ(ชุมนุมคอมพวิ เตอร)์ 40
4. กจิ กรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ 10
รวมเวลาเรียน 1,200
หมายเหตุ 1. กจิ กรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชนบ์ รู ณาการในกจิ กรรมลกู เสอื - เนตรนารี
โครงสรา้ งหลักสตู รสถานศึกษา ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 5 เวลาเรียน (ชม./ป)ี
1080
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นกดุ น้ำใส พทุ ธศักราช 2564
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 200
(ฉบบั ปรับปรุง พทุ ธศกั ราช 2560) 160
รายวิชา/กจิ กรรม 80
รายวชิ าพื้นฐาน 80
40
ท 15101 ภาษาไทย 5 80
ค 15101 คณติ ศาสตร์ 5 80
ว 15101 วิทยาศาสตร์ 5 80
ส 15101 สงั คมศกึ ษา ฯ 5 160
ส 15102 ประวัตศิ าสตร์ 5
พ 15101 สุขศึกษาและพลศกึ ษา 5
ศ 15101 ศิลปะ 5
ง 15101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 5
อ 15101 ภาษาอังกฤษ 5
รายวชิ าเพ่มิ เติม
กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น 120
1. แนะแนว 40
2. ลกู เสอื -เนตรนารี 30
3. กิจกรรมกลมุ่ สนใจ(ชุมนมุ คอมพวิ เตอร)์ 40
4. กจิ กรรมเพ่อื สงั คมและสาธารณประโยชน์ 10
รวมเวลาเรียน 1,200
หมายเหตุ 1. กิจกรรมเพอื่ สงั คมและสาธารณประโยชน์บรู ณาการในกิจกรรมลูกเสือ - เนตรนารี
โครงสร้างหลักสูตรสถานศกึ ษา ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 6 เวลาเรยี น (ชม./ป)ี
1080
หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นกดุ น้ำใส พทุ ธศักราช 2564
ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 200
(ฉบบั ปรบั ปรุง พุทธศักราช 2560) 160
รายวิชา/กจิ กรรม 80
รายวชิ าพ้นื ฐาน 80
40
ท 16101 ภาษาไทย 6 80
ค 16101 คณิตศาสตร์ 6 80
ว 16101 วิทยาศาสตร์ 6 80
ส 16101 สงั คมศึกษา ฯ 6 160
ส 16102 ประวัตศิ าสตร์ 6
พ 16101 สุขศกึ ษาและ พลศกึ ษา 6
ศ 16101 ศิลปะ 6
ง 16101 การงานอาชพี และเทคโนโลยี 6
อ 16101 ภาษาองั กฤษ 6
รายวิชาเพิ่มเตมิ
กจิ กรรมพัฒนาผ้เู รยี น 120
1. แนะแนว 40
2. ลกู เสือ-เนตรนารี 30
3. กิจกรรมกลุ่มสนใจ 40
4. กิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ 10
รวมเวลาเรียน 1,200
หมายเหตุ 1. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชนบ์ ูรณาการในกิจกรรมลกู เสือ - เนตรนารี
รายวิชาเพิม่ เติมในระดับชั้นประถมศึกษา เวลาเรยี น (ชม./ปี)
หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านกดุ น้ำใส พทุ ธศักราช 2564
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 เวลาเรยี น (ชม./ป)ี
(ฉบบั ปรบั ปรุง พทุ ธศกั ราช 2560) เวลาเรียน (ชม./ปี)
เวลาเรยี น (ชม./ป)ี
ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 1 เวลาเรียน (ชม./ป)ี
รายวิชาเพม่ิ เตมิ
เวลาเรียน (ชม./ปี)
ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 2
รายวชิ าเพม่ิ เติม
ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 3
รายวิชาเพิ่มเติม
ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 4
รายวิชาเพิ่มเติม
ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 5
รายวชิ าเพ่มิ เตมิ
ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 6
รายวิชาเพิ่มเติม
รายวชิ าพน้ื ฐาน
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านกดุ นำ้ ใส พทุ ธศกั ราช 2564
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551
(ฉบบั ปรบั ปรุง พทุ ธศกั ราช 2560)
รายวิชาพน้ื ฐานกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย
ท 11101 ภาษาไทย 1 จำนวน 240 ชั่วโมง
ท 12101 ภาษาไทย 2 จำนวน 240 ชว่ั โมง
ท 13101 ภาษาไทย 3 จำนวน 240 ชว่ั โมง
ท 14101 ภาษาไทย 4 จำนวน 200 ชว่ั โมง
ท 15101 ภาษาไทย 5 จำนวน 200 ชว่ั โมง
ท 16101 ภาษาไทย 6 จำนวน 200 ชั่วโมง
รายวชิ าพื้นฐาน กลุม่ สาระการเรยี นรูค้ ณติ ศาสตร์ จำนวน 200 ชั่วโมง
ค 11101 คณิตศาสตร์ 1 จำนวน 200 ชั่วโมง
ค 12101 คณิตศาสตร์ 2 จำนวน 200 ชว่ั โมง
ค 13101 คณติ ศาสตร์ 3 จำนวน 160 ชั่วโมง
ค 14101 คณติ ศาสตร์ 4 จำนวน 160 ชัว่ โมง
ค 15101 คณิตศาสตร์ 5 จำนวน 160 ชว่ั โมง
ค 16101 คณิตศาสตร์ 6
รายวิชาพน้ื ฐาน กลุม่ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ จำนวน 80 ชว่ั โมง
ว 11101 วทิ ยาศาสตร์ 1 จำนวน 80 ชวั่ โมง
ว 12101 วิทยาศาสตร์ 2 จำนวน 80 ชั่วโมง
ว 13101 วทิ ยาศาสตร์ 3 จำนวน 80 ชว่ั โมง
ว 14101 วทิ ยาศาสตร์ 4 จำนวน 80 ชว่ั โมง
ว 15101 วทิ ยาศาสตร์ 5 จำนวน 80 ชว่ั โมง
ว 16101 วิทยาศาสตร์ 6
รายวชิ าพน้ื ฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ส 11101 สังคมศกึ ษาฯ 1 จำนวน 80 ชั่วโมง
ชว่ั โมง
ส 12101 สังคมศกึ ษาฯ 2 จำนวน 80 ชวั่ โมง
ส 13101 สังคมศกึ ษาฯ 3 จำนวน 80
ส 14101 สงั คมศึกษา ฯ 4 จำนวน 80 ชั่วโมง
ส 15101 สังคมศึกษา ฯ 5 จำนวน 80 ชั่วโมง
ส 16101 สงั คมศึกษา ฯ 6 จำนวน 80 ชว่ั โมง
ส 15101 สงั คมศกึ ษา ฯ 5 จำนวน 80 ชว่ั โมง
ส 11102 ประวตั ศิ าสตร์ 1 จำนวน 40 ชว่ั โมง
ชั่วโมง
ส 12102 ประวัติศาสตร์ 2 จำนวน 40 ชั่วโมง
ชว่ั โมง
ส 13102 ประวัตศิ าสตร์ 3 จำนวน 40 ช่วั โมง
ชั่วโมง
ส 14102 ประวัตศิ าสตร์ 4 จำนวน 40
ชว่ั โมง
ส 15102 ประวัติศาสตร์ 5 จำนวน 40 ชั่วโมง
ชั่วโมง
ส 16102 ประวตั ศิ าสตร์ 6 จำนวน 40 ชว่ั โมง
ชว่ั โมง
รายวิชาพื้นฐาน กลุม่ สาระการเรียนรูส้ ขุ ศกึ ษาและ พลศึกษา ชั่วโมง
พ 11101 สุขศึกษาและ พลศกึ ษา 1 จำนวน 80 ชว่ั โมง
ชว่ั โมง
พ 12101 สุขศึกษาและ พลศกึ ษา 2 จำนวน 80 ชว่ั โมง
ชั่วโมง
พ 13101 สุขศึกษาและ พลศึกษา 3 จำนวน 80 ชั่วโมง
ชว่ั โมง
พ 14101 สุขศกึ ษาและ พลศกึ ษา 4 จำนวน 80
พ 15101 สุขศึกษาและพลศกึ ษา 5 จำนวน 80
พ 16101 สุขศึกษาและ พลศึกษา 6 จำนวน 80
รายวชิ าพ้ืนฐาน กลุ่มสาระการเรยี นรู้ศิลปะ
ศ 11101 ศิลปะ 1 จำนวน 80
ศ 12101 ศิลปะ 2 จำนวน 80
ศ 13101 ศิลปะ 3 จำนวน 80
ศ 14101 ศลิ ปะ 4 จำนวน 80
ศ 15101 ศลิ ปะ 5 จำนวน 80
ศ 16101 ศลิ ปะ 6 จำนวน 80
รายวิชาพืน้ ฐาน กลุม่ สาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชพี จำนวน 80 ชว่ั โมง
ง 11101 การงานอาชพี และเทคโนโลยี 1 จำนวน 80 ชว่ั โมง
ง 12101 การงานอาชพี และเทคโนโลยี 2 จำนวน 80 ชั่วโมง
ง 13101 การงานอาชพี และเทคโนโลยี 3 จำนวน 80 ชั่วโมง
ง 14101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 4 จำนวน 80 ชว่ั โมง
ง 15101 การงานอาชพี และเทคโนโลยี 5 จำนวน 80 ชว่ั โมง
ง 16101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 6
รายวิชาพน้ื ฐาน กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ)
อ 11101 ภาษาอังกฤษ 1 จำนวน 200 ชั่วโมง
ชว่ั โมง
อ 12101 ภาษาอังกฤษ 2 จำนวน 200 ชวั่ โมง
ช่วั โมง
อ 13101 ภาษาอังกฤษ 3 จำนวน 200 ชั่วโมง
ชั่วโมง
อ 14101 ภาษาองั กฤษ 4 จำนวน 160
อ 15101 ภาษาอังกฤษ 5 จำนวน 160
อ 16101 ภาษาอังกฤษ 6 จำนวน 160
รายวชิ าเพิม่ เตมิ
หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านกุดนำ้ ใส
พุทธศกั ราช 2564
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551
(ฉบบั ปรบั ปรงุ พทุ ธศกั ราช 2560)
ส่วนท่ี 3
สาระการเรียนรูห้ ลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนบ้านกุดน้ำใส
สาระการเรียนรู้ ประกอบดว้ ย องค์ความรู้ ทกั ษะหรอื กระบวนการเรยี นรแู้ ละคณุ ลักษณะ
อนั พึงประสงค์ ซ่ึงกำหนดใหผ้ เู้ รียนทุกคนในระดับการศึกษาขัน้ พื้นฐานจำเป็นต้องเรียนรู้ โดยแบง่ เปน็ 8
กลุ่มสาระการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ภาษาไทยเปน็ เอกลกั ษณข์ องชาตเิ ปน็ สมบัติทางวฒั นธรรมอันกอ่ ให้เกดิ ความเปน็ เอกภาพ และ
เสริมสรา้ งบคุ ลิกภาพของคนในชาติให้มีความเป็นไทย เป็นเครอื่ งมือในการตดิ ตอ่ สอื่ สาร เพื่อสรา้ ง
ความเข้าใจและความสมั พันธ์ที่ดตี อ่ กนั ทำให้สามารถประกอบกจิ ธุระ การงาน และดำรงชวี ิตร่วมกนั ในสงั คม
ประชาธปิ ไตยได้อยา่ งสันติสุข และเปน็ เครอ่ื งมือในการแสวงหาความรูป้ ระสบการณ์ จากแหล่งขอ้ มูล
สารสนเทศตา่ ง ๆ เพือ่ พฒั นาความรู้ พฒั นากระบวนการคดิ วิเคราะห์ วิจารณ์ และสรา้ งสรรค์ให้ทนั ตอ่
การเปล่ียนแปลงทางสงั คม และความก้าวหนา้ ทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ตลอดจนนำไปใช้ในการพัฒนา
อาชีพใหม้ ีความมั่นคงทางเศรษฐกจิ นอกจากนย้ี ังเป็นสือ่ แสดงภมู ิปัญญาของบรรพบุรษุ ดา้ นวฒั นธรรม
ประเพณี และสุนทรียภาพ เป็นสมบัตลิ ้ำคา่ ควรแก่การเรยี นรู้ อนรุ กั ษ์ และสืบสานให้คงอยคู่ ชู่ าตไิ ทย
ตลอดไปและสามารถนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยกุ ตใ์ ช้ในชีวติ ประจำวันได้
สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้
สาระที่ 1 การอา่ น
มาตรฐาน ท 1.1 ใชก้ ระบวนการอ่านสร้างความรูแ้ ละความคดิ เพ่อื นำไปใช้ตัดสนิ ใจ แก้ปญั หาในการ
ดำเนนิ ชวี ิตและมนี ิสัยรกั การอ่าน
สาระที่ 2 การเขยี น
มาตรฐาน ท 2.1 ใชก้ ระบวนการเขยี นเขียนสื่อสาร เขยี นเรียงความ ย่อความ และเขยี นเรื่องราวในรูปแบบ
ต่าง ๆ เขียนรายงานขอ้ มลู สารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นควา้ อย่างมี
ประสทิ ธิภาพ
สาระท่ี 3 การฟงั การดู และการพดู
มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลอื กฟงั และดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคดิ และ
ความรู้สึกในโอกาสต่างๆ อยา่ งมวี ิจารณญาณและสร้างสรรค์
สาระที่ 4 หลักการใช้ภาษาไทย
มาตรฐาน ท 4.1 เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลงั
ของภาษา ภมู ิปญั ญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ้ ปน็ สมบัตขิ องชาติ
สาระท่ี 5 วรรณคดแี ละวรรณกรรม
มาตรฐาน ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเหน็ วิจารณว์ รรณคดีและวรรณกรรมไทยอยา่ งเห็น
คณุ ค่าและนำมาประยกุ ต์ใช้ในชวี ติ จรงิ
คำอธิบายรายวิชา
ท11101 ภาษาไทย 1
รายวชิ าพืน้ ฐาน กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 1
เวลา 240 ช่วั โมง
อา่ นออกเสียงคำ บอกความหมายของคำ และเขียนสอื่ สารด้วยคำและประโยคง่าย ๆ ของคำคลอ้ ง
จอง คำท่มี ีรูปวรรณยกุ ต์และไมม่ รี ูปวรรณยกุ ต์ เลขไทย คำที่มีตัวสะกดตรงตามมาตรา และไม่ตรง
ตามมาตรา คำที่มพี ยญั ชนะควบกลำ้ คำท่ีมีอักษรนำ และคำพนื้ ฐานไมน่ อ้ ยกวา่ 600 คำ
อภิปราย เล่าเรอ่ื งย่อ และคาดคะเนเหตกุ ารณ์จากการอา่ น ฟงั และ/ หรอื ดูจาก นิทาน เร่ืองสั้น บทรอ้ ง
เล่น และบทเพลง ผญา
อา่ นหนังสอื ตามความสนใจ นำมาพดู แสดงความคิดเห็น บอกขอ้ คิดและแสดงความรสู้ ึกจากเรอ่ื งท่ีอา่ น ฟัง
และดู เรอ่ื งเล่าสารคดีสำหรับเด็ก นทิ าน การต์ นู เร่อื งขบขัน บทร้องเลน่ วรรณคดี และวรรณกรรมใน
บทเรียน
อา่ น เขยี น คัดลายมอื และบอกความหมายของเคร่อื งหมายหรือสญั ลกั ษณส์ ำคญั ทพี่ บเหน็ ใน
ชีวิตประจำวันของเคร่อื งหมายแสดงความปลอดภัยและแสดงอันตราย
พูดสื่อสารตามวตั ถปุ ระสงค์ และท่องบทอาขยานตามทก่ี ำหนดและตามความสนใจ
มีมารยาทในการอา่ น เขยี น ฟงั ดู และพูด มนี สิ ยั รักการอ่าน และความคิดจากส่ิงทีอ่ ่านสามารถนำความรู้
ขอ้ คิดท่ไี ด้ไปใชใ้ นชีวิตจรงิ ได้ จนเกิดความภาคภูมใิ จในภาษาไทย และนำหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
ไปประยกุ ต์ใช้ในวิถีชีวิตของตนเองและครอบครัว
มาตรฐานการเรียนรู้และตวั ชีว้ ัด
ท1.1 ป1/1 , ป1/2 , ป1/3 , ป1/4 , ป1/5 , ป1/6 , ป1/7 , ป1/8
ท2.1 ป1/1 , ป1/2 , ป1/3
ท3.1 ป1/1 , ป1/2 , ป1/3 , ป1/4 , ป1/5
ท4.1 ป1/1 , ป1/2 , ป1/3 , ป1/4
ท5.1 ป1/1 , ป1/2
รวมท้ังหมด 5 มาตรฐาน 22 ตัวชี้วัด
คำอธบิ ายรายวิชา
ท12101 ภาษาไทย 2
รายวิชาพื้นฐาน กล่มุ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทยชน้ั
ประถมศึกษาปที ี่ 2
เวลา 240 ชว่ั โมง
การอ่านคำพนื้ ฐานที่เปน็ คำใชใ้ นชีวิตประจำวัน เพม่ิ อกี ไม่นอ้ ยกวา่ 800 คำ การอา่ นแจกลูกและ
สะกดคำในมาตราแม่ ก กา แม่กง กน กม เกย เกอว กก กด และแมก่ บทัง้ คำท่ีสะกด ตรงตาม
มาตราตัวสะกดและไม่ตรงตามมาตราตัวสะกด คำทมี่ ีตัวการันต์ อกั ษรควบ อักษรนำ การผันวรรณยุกต์คำทีม่ ี
พยญั ชนะตน้ เป็น อักษรกลาง อกั ษรตำ่ อักษรสูง คำทมี่ อี ักษรนำ คำทม่ี ี รร การอ่านในใจ การจับ
ใจความของเรื่องทอ่ี า่ น โดยหาความสำคญั อ่านออกเสียงรอ้ ยแก้วและร้อยกรองถกู ต้องตามอกั ขรวิธีและ
ลักษณะคำประพนั ธ์ อ่านทำนองเสนาะ ท่องจำบทอาขยาน บทรอ้ ยกรอง และบทประพันธ์
เขยี นคำยากทม่ี ีความหมายทส่ี ะกดตามมาตราตวั สะกดต่าง ๆ คำที่สะกดไม่ตรงตามมาตรา และคำที่ใช้ใน
ชวี ิตประจำวนั คำที่มีตัวการันต์ คัดลายมอื ตัวบรรจงเต็มบรรทดั และการเขยี นตามคำบอก การเขยี นเลขไทย
คำคลอ้ งจองและแต่งคำประพันธอ์ ย่างง่าย ๆ เขยี นเรอ่ื งสัน้ เก่ยี วกับประสบการณ์ และจนิ ตนาการ
การเลอื กฟัง เลอื กดู สงิ่ ที่เปน็ ความรแู้ ละความบันเทิง เขา้ ใจเนือ้ เรื่อง การจบั ใจความ จากถอ้ ยคำ
นำ้ เสียง และกิรยิ าท่าทางของผพู้ ดู การพดู แสดงความคดิ เหน็ เกี่ยวกับส่ิงทีฟ่ งั สง่ิ ทด่ี ู การพูดยอมรบั และการ
ปฏิเสธโดยใชภ้ าษาทส่ี ุภาพ การสนทนาแสดงความคดิ เหน็ การเลา่ เรือ่ งถ่ายทอดความรู้ ความคดิ ความรสู้ ึก
และประสบการณ์ การพูดสอ่ื สารชัดเจนตรงตามวัตถุประสงค์ ใชถ้ ้อยคำเหมาะ แก่เร่อื ง ใชภ้ าษาที่สุภาพ
เหมาะสมแก่บุคคลและโอกาส
การสะกดคำตามมาตราตัวสะกด โดยนำเสยี งพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ มาประสมคำ ใช้หลกั การอ่าน
และการเขยี นสะกดคำตามมาตรามา ก.กา และมาตราตัวสะกด การเลอื กใช้คำ การเรยี งลำดับคำใน
ประโยคได้ถกู ตอ้ งและตรงตามความหมาย ลำดบั ความคดิ และการเว้นวรรคตอน การสะกดคำอักษรควบและ
อักษรนำ อ่านและเขียน การผันอักษรกลาง อักษรสงู อกั ษรตำ่ อักษรควบ อกั ษรนำ การใช้ภาษาไทย
มาตรฐานและภาษาถน่ิ (ผญา) ในการอา่ นและการเขียน การใชห้ ลักการ แต่งคำคลอ้ งจองและคำประพันธ์
การเลน่ ปริศนาคำทายและบทรอ้ งเลน่ ในทอ้ งถิ่น การใชท้ ักษะทางภาษาและเทคโนโลยีการสอ่ื สารด้านวิทยุ
โทรทศั น์ วดี ิทัศน์ ในการพัฒนาการเรยี น การใช้ทักษะทางภาษาเปน็ เคร่ืองมอื ในการแสวงหาความรู้จากแหล่ง
เรยี นรู้
การอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมประเภท นิทาน เรื่องส้ันง่าย ๆ สารคดีสั้น ๆ บทความส้นั ๆ สำหรับเด็ก
ปริศนาคำทาย บทรอ้ งเลน่ ในทอ้ งถิ่นและบทร้อยกรองประเภทให้ความร้แู ละความบนั เทงิ ต่าง ๆ ทีเ่ หมาะแกว่ ยั
ของเด็ก การนำขอ้ คดิ ทีไ่ ด้จากการอ่านไปใชใ้ นชวี ิตจริง
มมี ารยาทในการอ่านหนังสือ การฟงั การดู การถนอมรกั ษาหนงั สือ มนี สิ ัยรกั การอ่าน มี
สุขลกั ษณะในการอ่านหนังสือ มมี ารยาทการเขียนอยา่ งเป็นระเบียบ สะอาด ลายมอื สวยงาม อ่านง่าย
การใช้ภาษาทีส่ ภุ าพ มนี ิสยั รกั การเขียน การจดบันทกึ ความรู้ และประสบการณแ์ ละนำหลกั ปรชั ญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี งไปประยุกต์ใชใ้ นวถิ ีชวี ิตของตนเองและครอบครัว
มาตรฐานการเรยี นรู้และตวั ช้ีวัด
ท1.1 ป2/1 , ป2/2 , ป2/3 , ป2/4 , ป2/5 ,ป2/6 , ป2/7 ,ป2/8
ท2.1 ป2/1 , ป2/2 , ป2/3 , ป2/4
ท3.1 ป2/1 , ป2/2 , ป2/3 , ป2/4 , ป2/5 , ป2/6 , ป2/7
ท4.1 ป2/1 , ป2/2 , ป2/3 , ป2/4 , ป2/5
ท5.1 ป2/1 , ป2/2 , ป2/3
รวมทงั้ หมด 5 มาตรฐาน 27 ตวั ชี้วัด
คำอธิบายรายวชิ า
ท13101 ภาษาไทย 3
รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 3 เวลา 240 ชั่วโมง
อ่านออกเสยี งคำ อธบิ ายความหมายของคำที่เป็นคำพนื้ ฐานเพมิ่ ขึน้ อีกไมน่ อ้ ยกวา่ 1,200 คำ เขยี น
บรรยาย คำ ข้อความ เรื่องสั้นๆและบทรอ้ ยกรอง คำคลอ้ งจอง คำทมี่ ีตัวการันต์ คำที่มีตัว รร คำท่ีมี
พยัญชนะและสระไม่ออกเสียง คำพ้อง และคำพิเศษอ่ืนๆ เช่น คำที่ใช้ ฑ ฤ ฤๅ รวมทั้งเขียนบรรยาย
ลกั ษณะของส่งิ ต่างๆ
อภิปราย เลา่ เร่ืองย่อ ลำดับเหตุการณ์คาดคะเนเหตกุ ารณ์และสรปุ ข้อคิดเห็นจากเรอ่ื งท่ีอา่ น ฟัง หรือดจู าก
นทิ าน เรอื่ งส้นั บทรอ้ ยกรอง บทเพลง ข่าวและเหตุการณใ์ นชวี ติ ประจำวัน
อ่าน ฟงั ดู เร่ืองทส่ี นใจ เหมาะสมกบั วยั ตามทค่ี รูและนกั เรยี นกำหนดรว่ มกัน แล้วจับใจความและพูดแสดง
ความคิดเห็นตามความรู้สกึ ทงั้ ท่เี ปน็ ความรู้และความบันเทงิ เช่น นทิ าน การ์ตนู เรอื่ งขบขนั ป้าย
โฆษณา ประกาศ และคำขวญั
เขยี นบรรยาย เขียนบนั ทึกประจำวัน เขยี นจดหมายเขียนเรอ่ื งตามจินตนาการ จากคำ ภาพและหัวข้อที่
กำหนด ระบุขอ้ คดิ ทไ่ี ดจ้ ากการอา่ น
พูดสือ่ สารตามวตั ถปุ ระสงค์ แสดงความคิดเห็น บอกลักษณะเพลงพน้ื บ้าน (หมอลำ,ผญา) และท่องบท
อาขยานตามทกี่ ำหนดและตามความสนใจ
มมี ารยาทในการอา่ น เขยี น ฟงั ดู และพูด มีนิสัยรกั การอา่ น และความคดิ สรา้ งสรรค์จากส่งิ ท่ีอา่ นสามารถนำ
ความรู้ขอ้ คิดท่ไี ดไ้ ปใช้ในชีวิตจรงิ ได้ จนเกิดความภาคภูมใิ จในภาษาไทย และนำหลกั ปรชั ญาของ
เศรษฐกิจพอเพยี งไปประยุกตใ์ ช้ในวิถชี วี ติ ของตนเองและครอบครวั
มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตัวชวี้ ัด
ท1.1 ป3/1 , ป3/2 , ป3/3 , ป3/4 , ป3/5 , ป3/6 , ป3/7 , ป3/8 , ป3/9
ท2.1 ป3/1 , ป3/2 , ป3/3 , ป3/4 , ป3/5 , ป3/6
ท3.1 ป3/1 , ป3/2 , ป3/3 , ป3/4 , ป3/5 , ป3/6
ท4.1 ป3/1 , ป3/2 , ป3/3 , ป3/4 , ป3/5 , ป3/6
ท5.1 ป3/1 , ป3/2 , ป3/3 , ป3/4
รวมทง้ั หมด 5 มาตรฐาน 32 ตัวชีว้ ดั
คำอธบิ ายรายวิชา
ท14101 ภาษาไทย 4
รายวชิ าพ้นื ฐาน กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย
ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 4
เวลา 200 ช่ัวโมง
ศกึ ษาและฝึกการอา่ น การเขยี น การฟัง การดู การพดู วรรณกรรม คำทมี่ อี ักษรนำ อกั ษรควบ ตัว
การนั ต์ การผนั วรรณยกุ ต์ อกั ษรย่อ เครื่องหมายวรรคตอน ประโยคและขอ้ ความ สำนวน คำพังเพย
สภุ าษิต ปริศนาคำทาย โวหาร การบรรยาย การพรรณนา และการเปรียบเทียบ อ่านในใจ อา่ นออกเสยี ง
รอ้ ยแก้วและร้อยกรองทอ่ งจำบทอาขยาน บทร้อยแกว้ และบทรอ้ ยกรองทีไ่ พเราะมีความงดงามมคี ณุ คา่ ทาง
ภาษา เขียนสะกดคำ วางสระ วรรณยุกตต์ ามหลักการเขยี นคำไทย เขยี นตามคำบอก เรยี งความ ยอ่ ความ
เขียนจดหมายสว่ นตัว บันทึกต่างๆ เขียนรายงาน กรอกรายการตา่ ง ๆ เขยี นคำคล้องจองและแตง่ คำ
ประพันธ์ คำขวญั ใชแ้ ผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคดิ พัฒนางานเขยี น พูดแสดงความคดิ เห็นจาก
เรอ่ื งท่ฟี ัง ทด่ี ู วเิ คราะห์ แยกแยะขอ้ เท็จจรงิ และข้อคิดเห็น สรปุ ความเรื่อง ทฟ่ี ังเร่อื งทดี่ เู ขา้ ใจจุดประสงค์
ของเร่ืองและของผู้พดู
เขียนสะกดคำท่ีเปน็ วงคำศัพท์ทยี่ ากข้ึน ชนิดและหนา้ ที่ของกลุม่ คำ หลักการใช้ประโยค คำ
ราชาศัพท์ ลักษณะคำไทยและคำภาษาต่างประเทศ ทีใ่ ช้ในภาษาไทยหลกั การแตง่ คำคลอ้ งจอง และคำ
ประพันธ์ การแตง่ ผญา การใช้ทกั ษะทางภาษาและเทคโนโลยกี ารส่อื สารพฒั นาความรู้ การใชเ้ ลขไทย การ
ใชพ้ จนานุกรม และประเภทของนทิ านพ้นื บา้ น เรอ่ื งสัน้ สารคดี บทความ บทละคร บทโฆษณา ขา่ วและ
เหตกุ ารณป์ ระจำวนั
เพื่อใหส้ ามารถอ่านคำพื้นฐานท่ีใช้ในชวี ติ ประจำวนั ประมาณ 1,400 คำ นำความรู้ท่ไี ด้ จากการอา่ นไป
คน้ คว้าหาความร้เู พิม่ เติมจากแหลง่ เรียนรู้ตา่ งๆได้ เขียนอย่างสร้างสรรค์ สะกดคำ วางสระวรรณยกุ ต์ตาม
หลักการเขยี นคำไทย เขียนตามคำบอก เรยี งความ ย่อความ เขยี นจดหมายส่วนตัว บันทกึ ต่างๆ
รายงาน กรอกรายการต่าง ๆคัดลายมอื พดู แสดงความรู้ ความคิดเหน็ พดู รายงาน การฟงั และดู การจับ
ใจความแยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเหน็ การวเิ คราะห์และแสดงความคิดเห็น ถกู ต้องตามหลักเกณฑ์ร้องเลน่
ถา่ ยทอดรวบรวมเผยแพร่นิทานพน้ื บา้ น
มีมารยาท และมีนสิ ัยรกั การอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด โดยใช้กระบวนการ สร้างความ
ตระหนกั กระบวนการคดิ อย่างมีวจิ ารณญาณ กระบวนการเรียนภาษา กระบวนการปฏบิ ัติ กระบวนการ
สรา้ งความคดิ รวบยอด และกระบวนการกลมุ่ และนำหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นวิถี
ชวี ติ ของตนเองและครอบครวั
มาตรฐานการเรยี นรู้และตัวช้ีวัด
ท1.1 ป4/1 , ป4/2 , ป4/3 , ป4/4 , ป4/5 , ป4/6 , ป4/7 , ป4/8
ท2.1 ป4/1 , ป4/2 , ป4/3 , ป4/4 , ป4/5 , ป4/6 , ป4/7 , ป4/8
ท3.1 ป4/1 , ป4/2 , ป4/3 , ป4/4 , ป4/5 , ป4/6
ท4.1 ป4/1 , ป4/2 , ป4/3 , ป4/4 , ป4/5 , ป4/6 , ป4/7
ท5.1 ป4/1 , ป4/2 , ป4/3 , ป4/4
รวมทงั้ หมด 5 มาตรฐาน 33 ตวั ชี้วดั
คำอธบิ ายรายวชิ า
ท15101 ภาษาไทย 5
รายวิชาพนื้ ฐาน กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย
ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 5
เวลา 200 ช่ัวโมง
ศกึ ษาและฝกึ อา่ น การเขยี น การฟัง การดู การพูด หลักการใช้ภาษา วรรณคดี และวรรณกรรม
คำใหม่และคำยาก คำท่มี อี กั ษรนำ อกั ษรควบ ตัวการนั ต์ และผนั วรรณยุกต์ อกั ษรย่อ เครอ่ื งหมาย วรรคตอน
สำนวนโวหาร บรรยาย พรรณนาและเปรียบเทียบใชบ้ รบิ ทชว่ ย ถ้อยคำ สำนวน ประโยค คน้ คว้าจากหนังสอื
ห้องสมุด และแหลง่ การเรียนร้ตู า่ งๆ อ่านในใจ อ่านออกเสยี งร้อยแก้ว รอ้ ยกรองและอา่ นทำนองเสนาะ ได้
คล่องและถูกต้องตามลักษณะคำประพันธ์ อธิบายความหมาย ท่องจำ บทอาขยาน บทรอ้ ยแก้ว บทรอ้ ย
กรองได้ เขยี นสะกดคำได้ถกู ต้อง วางสระ และวรรณยุกต์ได้ถูกต้องตามหลักการเขยี นคำไทย เขียนตามคำ
บอก ยอ่ ความ จดหมาย รายงาน เรยี งความ เร่ืองจากจินตนาการ กรอกรายการ จดบนั ทกึ ขอ้ มลู ต่างๆ การ
ใช้เลขไทย และการสังเกต
พูดวิเคราะห์เรอ่ื งราว การฟังและการดโู ดยสังเกตและเปรยี บเทยี บ พูดสนทนาโต้ตอบ พดู แสดง
ความรู้ ความคดิ ความตอ้ งการ พดู วิเคราะหเ์ รือ่ งราว พูดต่อหนา้ ชมุ ชน การใช้คำ กล่มุ คำ ตามชนิดและ
หน้าท่ี หลักการใชป้ ระโยค คำราชาศพั ทแ์ ละคำสภุ าพ การแต่งคำประพันธ์ การใชพ้ จนานกุ รม การใชภ้ าษา
พูดและภาษาเขยี นสารสนเทศ สื่อส่งิ พิมพแ์ ละส่ืออิเลก็ ทรอนิกส์ การใช้เลขไทย การใชพ้ จนานกุ รมและ
ประเภทของนทิ านพ้ืนบ้าน เรอ่ื งสั้น สารคดี บทความ บทละคร บทร้อยกรอง เลา่ นิทานพ้นื บา้ น และ
ตำนานพืน้ บ้าน (ผญา)
เพ่ือให้สามารถอา่ นคำพื้นฐาน คำใหมแ่ ละคำยากท่ใี ช้ในชีวิตประจำวนั นำความรู้ท่ีไดจ้ ากการอา่ นไปค้นควา้
หาความรเู้ พ่มิ เตมิ จากแหลง่ เรียนร้ตู า่ ง ๆ ได้ ถ่ายทอดความคดิ จากเรอื่ งทอ่ี า่ นได้ เขียนอยา่ งสร้างสรรค์
เขียนสะกดคำ วางสระวรรณยกุ ตต์ ามหลกั การเขยี นคำไทย เขยี นตามคำบอก เรยี งความ ยอ่ ความ เขียน
จดหมายสว่ นตัว บนั ทกึ ต่างๆ รายงาน กรอกรายการต่าง ๆ คัดลายมือ เขียนเลขไทย พูดแสดงความรู้ ความ
คดิ เหน็ พูดรายงาน การฟังและดู พูดตอ่ หนา้ ชมุ ชน การจับใจความแยกขอ้ เท็จจรงิ และขอ้ คิดเห็น การ
วิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นถกู ตอ้ งตามหลักเกณฑ์ รอ้ งเลน่ ถ่ายทอดรวบรวมเผยแพร่นิทานพนื้ บ้าน
มีมารยาท และมีนสิ ัยรกั การอ่าน การเขยี น การฟงั การดู และการพูด โดยใชก้ ระบวนการ สร้างความ
ตระหนัก กระบวนการคดิ อยา่ งมวี ิจารณญาณ กระบวนการเรยี นภาษา กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการ
สรา้ งความคิดรวบยอด และกระบวนการกลุ่ม และนำหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปประยกุ ต์ใชใ้ นวิถี
ชวี ติ ของตนเองและครอบครัว
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชวี้ ัด
ท1.1 ป5/1 , ป5/2 , ป5/3 , ป5/4 , ป5/5 , ป5/6 , ป5/7 , ป5/8
ท2.1 ป5/1 , ป5/2 , ป5/3 , ป5/4 , ป5/5 , ป5/6 , ป5/7 , ป5/8 , ป5/9
ท3.1 ป5/1 , ป5/2 , ป5/3 , ป5/4 , ป5/5
ท4.1 ป5/1 , ป5/2 , ป5/3 , ป5/4 , ป5/5 , ป5/6 , ป5/7
ท5.1 ป5/1 , ป5/2 , ป5/3 , ป5/4
รวมท้ังหมด 5 มาตรฐาน 33 ตัวช้วี ดั
คำอธบิ ายรายวชิ า
ท16101 ภาษาไทย 6
รายวชิ าพ้ืนฐาน กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 6
เวลา 200 ชั่วโมง
ศกึ ษาการอา่ นออกเสียงบทร้อยแกว้ และบทร้อยกรอง พรอ้ มท้ังอธิบายความหมายของคำ ประโยค และ
ขอ้ ความทเ่ี ป็นโวหาร อา่ นจับใจความเรอื่ งอยา่ งหลากหลายจากสือ่ ต่างๆ โดยจับเวลา แล้วถามเกี่ยวกับเร่อื งท่ี
อ่าน แยกขอ้ เท็จจรงิ และขอ้ คิดเหน็ อธิบายการนำความรู้และความคิดจากเรือ่ ง ทอ่ี ่านไปตดั สนิ ใจแก้ปญั หาใน
การดำเนนิ ชีวิต อ่านงานเขียนเชงิ อธบิ าย คำส่ังข้อแนะนำและปฏบิ ตั ติ าม อ่านข้อมูลจากแผนผัง แผนท่ี
แผนภมู ิ และกราฟ อ่านหนังสือตามความสนใจและอธิบายคณุ คา่ ทไ่ี ดร้ บั และมีมารยาทในการอา่ น คดั
ลายมือตวั บรรจงเต็มบรรทดั และครง่ึ บรรทัดตามรูปแบบการเขียน ตวั อกั ษรไทย เขยี นคำขวญั คำอวย
พร และประกาศ โดยใช้คำได้ถกู ต้อง ชัดเจน และเหมาะสม เขียนแผนภาพโครงเร่อื งและแผนภาพความคดิ
เพอื่ ใชพ้ ัฒนางานเขยี น เขียนเรยี งความ ยอ่ ความ จดหมายส่วนตวั กรอกแบบรายการ ไดแ้ ก่ แบบคำรอ้ ง ใบ
สมัครศกึ ษาต่อ แบบฝากส่งพสั ดุ และไปรษณยี ภัณฑ์ เขยี นเรือ่ งตามจนิ ตนาการและสร้างสรรค์ และ
มีมารยาทในการเขยี น
พดู แสดงความรู้ ความเขา้ ใจจุดประสงค์ของเร่อื งท่ีฟงั และดู ตง้ั คำถาม และตอบคำถาม เชิงเหตุผลจาก
เรื่องทฟ่ี งั และดู วเิ คราะห์ความน่าเชื่อถอื จากการฟงั และดูสือ่ โฆษณาอยา่ งมีเหตุผล พดู รายงานเรื่อง หรือ
ประเด็นทีศ่ ึกษาคน้ ควา้ จากการฟงั การดู และการสนทนา พูดโน้มน้าว อย่างมีเหตผุ ล และนา่ เชอ่ื ถอื
และมีมารยาทในการฟัง การดู และการพดู วเิ คราะห์ชนิด และหน้าท่ีของคำในประโยค ใช้คำไดเ้ หมาะสม
กบั กาลเทศะและบคุ คล ทัง้ คำราชาศพั ท์ ระดบั ภาษา และภาษาถ่ิน รวบรวม และบอกความหมายของคำ
ภาษาตา่ งประเทศท่ใี ช้ในภาษาไทย ระบลุ กั ษณะของประโยคสามัญ ประโยครวม ประโยคซอ้ น รวมท้งั กลมุ่ คำ
หรือวลี แต่กลอนสุภาพ และวิเคราะห์ เปรยี บเทยี บ สำนวน ทีเ่ ปน็ คำพงั เพย และสุภาษิต เล่านิทาน
พ้นื บา้ นทอ้ งถน่ิ ตนเองตำนานพน้ื บ้าน (ผญา)และนทิ านพ้ืนบา้ นของท้องถน่ิ อน่ื แสดงความคิดเห็นและอธิบาย
คณุ ค่าของวรรณคดี และวรรณกรรมท่ีอ่าน และนำไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตจริง และทอ่ งจำบท
อาขยานตามทก่ี ำหนด และบทร้อยกรองที่มคี ุณค่า ตามความสนใจ โดยใชก้ ระบวนการทางภาษา ได้แก่
กระบวนการอา่ น กระบวนการเขยี น กระบวนการฟัง กระบวนการพดู การดู และการคดิ เพือ่ ใหเ้ กดิ ความรู้
ความคดิ ความเข้าใจท่คี งทน เกิดทักษะ ในการใชภ้ าษาเพ่ือการสื่อสาร สามารถนำไปใชใ้ น
ชีวิตประจำวนั ได้ มคี วามช่ืนชม เหน็ คุณค่าภมู ิปญั ญาไทย และภมู ิใจในภาษาประจำชาตแิ ละนำหลกั ปรชั ญา
ของเศรษฐกจิ พอเพียงไปประยกุ ต์ใช้ในวถิ ชี ีวติ ของตนเองและครอบครวั
มาตรฐานการเรียนร้แู ละตัวช้ีวัด
ท1.1 ป6/1 , ป6/2 , ป6/3 , ป6/4 , ป6/5 , ป6/6 , ป6/7 , ป6/8 , ป6/9
ท2.1 ป6/1 , ป6/2 , ป6/3 , ป6/4 , ป6/5 , ป6/6 , ป6/7 , ป6/8 , ป6/9
ท3.1 ป6/1 , ป6/2 , ป6/3 , ป6/4 , ป6/5 , ป6/6
ท4.1 ป6/1 , ป6/2 , ป6/3 , ป6/4 , ป6/5 , ป6/6
ท5.1 ป6/1 , ป6/2 , ป6/3 , ป6/4
รวมทงั้ หมด 5 มาตรฐาน 34 ตวั ชว้ี ดั
กลมุ่ สาระการเรยี นรูค้ ณิตศาสตร์ (ใช้หลกั สตู รฉบับปรับปรงุ พ.ศ.2560) กลมุ่ สาระการเรยี นรู้
คำอธิบายรายวิชาพน้ื ฐาน เวลา ๒๐๐ ชั่วโมง
ค ๑๑๑๐๑ คณิตศาสตร์๑
คณิตศาสตร์
ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๑
คำอธบิ ายรายวชิ า
ศกึ ษา ฝึกทักษะการคิดคำนวณและฝกึ แก้ปัญหา จำนวนนับ ๑ ถงึ ๑๐๐ และ ๐ บอกและแสดง
จำนวนส่ิงตา่ ง ๆ ตามจำนวนทกี่ ำหนด อา่ นและเขียนตวั เลขฮินดอู ารบกิ ตัวเลขไทย การบอกอนั ดับทห่ี ลัก ค่า
ของเลขโดดในแต่ละหลัก และเขยี นแสดงจำนวนในรูปกระจาย เปรยี บเทียบจำนวนนบั ไม่เกิน ๑๐๐ และ ๐
โดยใชเ้ ครอื่ งหมาย = ≠ > < เรียงลำดบั จำนวนตง้ั แต่ ๓ ถงึ ๕ จำนวน และหาค่าของตัวไม่ทราบค่าใน
ประโยคสญั ลักษณ์แสดงการบวก การลบ การแก้โจทย์ปญั หาการบวก การลบ ของจำนวนนับไม่เกนิ ๑๐๐
และ ๐ ความยาวและน้ำหนกั
สร้างโจทย์ปัญหาพรอ้ มทั้งแสดงวธิ ีหาคำตอบของโจทย์ปญั หาการบวก การลบ ของจำนวนนบั ไมเ่ กนิ
๑๐๐ และ ๐ ระบุจำนวนทห่ี ายไปในแบบรูปของจำนวนทีเ่ พมิ่ ขึน้ หรอื ลดลงทลี ะ๑ ทีละ ๑๐ รูปที่หายไปใน
แบบรปู ซำ้ ของรูปเรขาคณติ และรปู อนื่ ๆ ทส่ี มาชิกใน แตล่ ะชดุ ท่ีซำ้ มี ๒ รูป วัดและเปรียบเทียบความยาว
เปน็ เซนตเิ มตร เป็นเมตร นำ้ หนักเป็นกโิ ลกรัมเปน็ ขีด และใชห้ นว่ ยที่ไมใ่ ชห่ นว่ ยมาตรฐาน จำแนกรูป
สามเหลย่ี ม รปู สี่เหลี่ยม วงกลม วงรี ทรงสีเ่ หล่ียมมุมฉาก ทรงกลม ทรงกระบอก และกรวย ใช้ข้อมูลจาก
แผนภูมริ ูปภาพในการหาคำตอบของโจทยป์ ัญหา เมือ่ กำหนดรูป ๑ รูปแทน ๑ หนว่ ย
มาตรฐาน/ตัวชี้วัด
ค ๑.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓ , ป.๑/๔ , ป.๑/๕
ค ๑.๒ ป.๑/๑
ค ๒.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒
ค ๒.๒ ป.๑/๑
ค ๓.๑ ป.๑/๑
รวมทง้ั หมด ๑๐ ตวั ชี้วดั
คำอธบิ ายรายวิชาพนื้ ฐาน กลุ่มสาระการเรยี นรู้
ค ๑๒๑๐๑ คณิตศาสตร์๒ เวลา ๒๐๐ ช่ัวโมง
คณติ ศาสตร์
ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๒
คำอธบิ ายรายวิชา
ศกึ ษา ฝกึ ทักษะการคดิ คำนวณและฝึกแก้ปญั หา จำนวนนบั ๑ ถึง ๑,๐๐๐ และ ๐ บอกและแสดง
จำนวนสิ่งตา่ ง ๆ ตามจำนวนทกี่ ำหนด อา่ นและเขียนตวั เลขฮนิ ดอู ารบิก ตัวเลขไทย การบอกอนั ดับทหี่ ลัก คา่
ของเลขโดดในแต่ละหลัก และเขยี นแสดงจำนวนในรปู กระจาย เปรยี บเทียบจำนวนนับไมเ่ กนิ ๑,๐๐๐ และ ๐
โดยใช้เคร่อื งหมาย = ≠ > < เรยี งลำดับจำนวนนบั ไม่เกนิ ๑,๐๐๐ และ ๐ ตัง้ แต่ ๓ ถงึ ๕ จำนวน และหา
ค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสญั ลกั ษณ์
แสดงการบวก การลบ การแกโ้ จทย์ปัญหาการบวก การลบของจำนวนนับไมเ่ กนิ ๑,๐๐๐ และ ๐
หาคา่ ของตวั ไมท่ ราบค่าในประโยคสญั ลักษณ์แสดงการคณู ของจำนวน ๑ หลักกบั จำนวนไม่เกิน ๒ หลัก และ
ประโยคสญั ลกั ษณแ์ สดงการหารท่ตี ัวตงั้ ไมเ่ กิน ๒ หลัก ตวั หาร ๑ หลกั โดยทีผ่ ลหารมี ๑ หลัก ทั้งหารลงตัว
และหารไม่ลงตวั หาผลลพั ธก์ ารบวก ลบ คูณ หารระคนของจำนวนนบั ไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ แสดงวิธีหา
คำตอบของโจทยป์ ัญหา ๒ ขั้นตอนของจำนวนนับไม่เกนิ ๑,๐๐๐ และ ๐ แสดงวิธีหาคำตอบของโจทยป์ ัญหา
เกย่ี วกับเวลาทมี่ ีหน่วยเดีย่ วและเป็นหน่วยเดียว วดั และเปรยี บเทยี บความยาวเปน็ เมตรและเซนติเมตร พรอ้ ม
ท้งั แสดงวธิ ีการหาคำตอบของโจทย์ปญั หาการบวก การลบความยาวทม่ี ีหน่วยเปน็ เมตรและเซนตเิ มตร วัดและ
เปรียบเทียบนำ้ หนักเปน็ กโิ ลกรมั และกรัม กโิ ลกรมั และขีด พรอ้ มท้ังแสดงวิธกี ารหาคำตอบของโจทย์ปัญหา
การบวกการลบเก่ียวกับน้ำหนกั ทมี่ หี น่วยเป็นกิโลกรัมและกรมั กโิ ลกรมั และขีด วัดและเปรียบเทียบปรมิ าตร
และความจุเป็นลติ ร จำแนกและบอกลกั ษณะของรปู หลายเหล่ยี มและวงกลม ใช้ขอ้ มลู จากแผนภมู ริ ูปภาพใน
การหาคำตอบของโจทยป์ ัญหา เม่อื กำหนดรปู ๑ รปู แทน ๒ หน่วย ๕ หนว่ ยหรอื ๑๐ หน่วย
มาตรฐาน/ตัวช้ีวดั
ค ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗, ป.๒/๘
ค ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖
ค ๒.๒ ป.๒/๑
ค ๓.๑ ป.๒/๑
รวม ๑๖ ตัวช้ีวัด
คำอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน กลุม่ สาระการเรียนรู้
ค ๑๓๑๐๑ คณิตศาสตร์๓ เวลา ๒๐๐ ช่วั โมง
คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๓
คำอธบิ ายรายวชิ า
อ่านและเขยี น ตวั เลขฮนิ ดอู ารบกิ ตัวเลขไทย และตวั หนงั สอื แสดงจำนวนนับไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐
เปรียบเทียบและเรียงลำดบั จำนวนนับไมเ่ กนิ ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ จากสถานการณ์ต่าง ๆ บอก อา่ นและเขียน
เศษส่วนทแ่ี สดงปริมาณส่ิงต่าง ๆ และแสดงส่ิงตา่ ง ๆ ตามเศษสว่ นท่ีกำหนด เปรียบเทียบเศษสว่ นท่ีตัวเศษ
เท่ากัน โดยที่ตวั เศษนอ้ ยกว่าหรอื เท่ากับตวั ส่วน หาค่าของตวั ไม่ทราบค่าในประโยคสัญลกั ษณ์แสดงการบวก
และการลบของจำนวนนับไมเ่ กิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ หาค่าของตวั ไมท่ ราบคา่ ในประโยคสัญลักษณ์
แสดงการคูณของจำนวน ๑ หลกั กับจำนวนไม่เกิน ๔ หลักและจำนวน ๒ หลักกับจำนวน ๒ หลกั หาค่า
ของตวั ไม่ทราบคา่ ในประโยคสัญลกั ษณ์แสดงการหารที่ตวั ตัง้ ไมเ่ กนิ ๔ หลัก ตวั หาร ๑ หลัก และหาผลลัพธ์
การบวก ลบ คณู หารระคนและแสดงวธิ กี ารหาคำตอบของโจทยป์ ัญหา ๒ ขัน้ ตอนของจำนวนนับไม่เกิน
๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ หาผลบวกและแสดงวธิ ีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาการบวกของเศษสว่ นทีม่ ีตวั สว่ นเทา่ กัน
และผลบวกไมเ่ กนิ ๑ และหาผลลบพรอ้ มท้ังแสดงวธิ หี าคำตอบของโจทยป์ ัญหารการลบของเสษส่วนที่มตี ัว
สว่ นเทา่ กัน ระบจุ ำนวนท่หี ายไปในแบบรปู ของจำนวนท่เี พม่ิ ขนึ้ หรอื ลดลงทลี ะเท่า ๆ กนั แสดงวธิ หี าคำตอบ
ของโจทย์ปญั หาเก่ียวกบั เงนิ เวลาและระยะเวลา เลือกใช้เครื่องมอื ความยาวทีเ่ หมาะสม วดั และบอกความยาว
ของสงิ่ ตา่ ง ๆ เปน็ เซนติเมตรและมลิ ลเิ มตร เมตรและเซนติเมตร คาดคะเนความยาวเปน็ เมตรและเป็น
เซนติเมตร เปรยี บเทยี บความยาวและแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเก่ยี วกบั ระหวา่ งเซนตเิ มตรกบั
มิลลิเมตร เมตรกบั เซนติเมตร กิโลเมตรกับเมตร จากสถานการณ์ต่าง ๆ เลอื กใช้เครื่องช่งั ที่เหมาะสม วัดและ
บอกน้ำหนกั เปน็ กิโลกรัมและขดี กโิ ลกรมั และกรัม คาดคะเนนำ้ หนักเปน็ กิโลกรมั และเปน็ ขีด เปรยี บเทยี บ
นำ้ หนกั และแสดงวธิ ีหาคำตอบของโจทยป์ ญั หาเก่ียวกับน้ำหนักทม่ี ีหน่วยเป็นกิโลกรมั กบั กรมั เมตริกตนั กับ
กิโลกรัม จากสถานการณต์ ่าง ๆ เลอื กใช้เครื่องตวงที่เหมาะสม วัดและเปรียบเทียบปรมิ าตร ความจุเปน็ ลิตร
และมลิ ลิลติ ร คาดคะเนและแสดงวธิ ีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกีย่ วกบั ปรมิ าตรและความจเุ ปน็ ลิตรและ
มิลลเิ มตร ระบุรปู เรขาคณิตสองมติ ทิ ี่มีแกนสมมาตรและจำนวนแกนสมมาตร เขียนแผนภมู ริ ูปภาพและใช้
ขอ้ มูลจากแผนภูมริ ูปภาพในการหาคำตอบของโจทยป์ ญั หา เขียนตารางทางเดยี วจากข้อมูลท่ีเป็นจำนวนนับ
และใชข้ อ้ มูลจากตารางทางเดยี วในการหาคำตอบของโจทย์ปญั หา
มาตรฐาน/ตวั ช้ีวัด
ค ๑.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘, ป.๓/๙, ป.๓/๑๐ , ป.๓/
๑๑
ค ๑.๒ ป.๓/๑
ค ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘, ป.๓/๙, ป.๓/๑๐, ป.๓/
๑๑,
ป.๓/๑๒, ป.๓/๑๓
ค ๒.๒ ป.๓/๑
ค ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒
รวม ๒๘ ตัวชี้วดั
คำอธิบายรายวชิ าพน้ื ฐาน กลมุ่ สาระการเรยี นรู้
ค ๑๔๑๐๑ คณิตศาสตร์๔ เวลา ๑๖๐ ชั่วโมง
คณิตศาสตร์
ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี ๔
คำอธิบายรายวิชา
ศกึ ษา ฝกึ ทักษะการอา่ นและเขยี นตวั เลขฮินดอู ารบกิ ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจำนวนนับท่ี
มากกวา่ ๑๐๐,๐๐๐ พร้อมทัง้ เปรียบเทียบและเรียงลำดับจำนวนนบั ท่ีมากกว่า ๑๐๐,๐๐๐ จากสถานการณ์
ตา่ ง ๆ บอก อ่านและเขียนเศษส่วน จำนวนคละแสดงปริมาณสิง่ ต่าง ๆ และแสดงสิ่งตา่ ง ๆ ตามเศษส่วน
จำนวนคละที่กำหนด เปรยี บเทยี บ เรียงลำดับเศษส่วนและจำนวนคละท่ีตวั ส่วนตัวหน่ึงเป็นพหคู ณู ของอกี ตัว
หนึ่ง อา่ นและเขยี นทศนิยมไม่เกนิ ๓ ตำแหนง่ แสดงปริมาณของสิง่ ตา่ ง ๆ ตามทศนิยมท่ีกำหนด เปรยี บเทยี บ
และเรยี งลำดับทศนิยมไมเ่ กนิ ๓ ตำแหนง่ และประมาณผลลพั ธข์ องการบวก การลบการคูณ การหาร จาก
สถานการณ์ต่าง ๆ อย่างสมเหตุสมผล หาค่าของตัวไมท่ ราบค่าในประโยคสัญลักษณ์ แสดงการบวก การลบ
ของจำนวนนับท่ีมากกว่า ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ แสดงการคณู ของจำนวนหลายหลัก ๒ จำนวน ทมี่ ีผลคณู ไมเ่ กนิ
๖ หลัก และแสดงการหารท่ีตวั ต้ังไม่เกนิ ๖ หลัก ตวั หารไมเ่ กิน ๒ หลัก หาผลลพั ธ์การบวก ลบ คูณ หารระคน
ของจำนวนนับ และ ๐ แสดงวิธีหาคำตอบของโจทยป์ ัญหา ๒ ขนั้ ตอนของจำนวนนับที่มากกวา่ ๑๐๐,๐๐๐
และ ๐ สร้างโจทย์ปญั หา ๒ ข้นั ตอนของจำนวนนับ และ ๐ พร้อมทงั้ หาคำตอบ หาคำตอบและแสดงวิธหี า
คำตอบของโจทยป์ ัญหาการบวก การลบของเศษส่วนและจำนวนคละที่ตวั ส่วนตัวหนึ่งเปน็ พหูคณู ของอีกตัว
หนึ่ง หาผลบวก ผลลบของทศนิยมไมเ่ กิน ๓ ตำแหน่ง และแสดงวิธหี าคำตอบของโจทยป์ ัญหาการบวก การลบ
๒ ขั้นตอนของทศนิยมไม่เกนิ ๓ ตำแหน่ง
แสดงวิธีหาคำตอบของโจทยป์ ญั หาเก่ยี วกับเวลา วัดและสรา้ งมุมโดยใช้โพรแทรกเตอร์ แสดงวิธหี า
คำตอบของโจทย์ปัญหาเกยี่ วกบั ความยาวรอบรูปและพื้นทข่ี องรปู สี่เหลีย่ มมมุ ฉาก จำแนกชนิดของมุม บอกช่อื
มมุ ส่วนประกอบของมุมและเขียนสญั ลักษณ์แสดงมมุ สร้างรปู สีเ่ หลย่ี มมมุ ฉากเมื่อกำหนดความยาวของดา้ น
และใช้ข้อมูลจากแผนภูมิแท่ง ตารางสองทางในการหาคำตอบของโจทยป์ ัญหา
มาตรฐาน/ตวั ช้ีวัด
ค ๑.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘, ป.๔/๙, ป.๔/๑๐, ป.๔/
๑๑, ป.๔/๑๒, ป.๔/๑๓, ป.๔/๑๔, ป.๔/๑๕, ป.๔/๑๖
ค ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
ค ๒.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒
ค ๓.๑ ป.๔/๑
รวม ๒๒ ตัวช้ีวดั
คำอธบิ ายรายวชิ าพนื้ ฐาน กล่มุ สาระการเรยี นรู้
ค ๑๕๑๐๑ คณิตศาสตร์๕ เวลา ๑๖๐ ชั่วโมง
คณติ ศาสตร์
ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๕
คำอธบิ ายรายวิชา
เขยี นเศษส่วนทม่ี ตี วั สว่ นเป็นตัวประกอบของ ๑๐ หรอื ๑๐๐ หรือ ๑,๐๐๐ ในรูปทศนยิ ม แสดงวิธีหา
คำตอบของโจทย์ปัญหาโดยใชบ้ ญั ญตั ไิ ตรยางศ์ หาผลบวก ผลลบ ผลคูณ ผลหารของเศษสว่ นและจำนวนคละ
แสดงวธิ หี าคำตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน ๒ ข้นั ตอน หาผลคูณของ
ทศนิยม ท่ีผลคูณเปน็ ทศนยิ มไมเ่ กนิ ๓ ตำแหนง่ หาผลหารที่ตัวตง้ั เปน็ จำนวนนบั หรือทศนิยมไมเ่ กนิ ๓
ตำแหน่ง และตัวหารเป็นจำนวนนบั ผลหารเป็นทศนยิ มไม่เกิน ๓ ตำแหนง่ แสดงวธิ หี าคำตอบของโจทยป์ ญั หา
การบวก การลบ การคูณ การหารทศนยิ ม ๒ ขนั้ ตอน และแสดงวิธหี าคำตอบของโจทย์ปญั หารอ้ ยละไม่เกนิ ๒
ขั้นตอน
แสดงวธิ หี าคำตอบของโจทยป์ ญั หาเกยี่ วกับความยาว นำ้ หนัก ท่มี ีการเปลี่ยนหนว่ ยและเขยี นในรูป
ทศนยิ ม แสดงวธิ ีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกยี่ วกับปริมาตรของทรงสเ่ี หลี่ยมมุมฉากและความจุของภาชนะ
ทรงสีเ่ หลยี่ มมุมฉาก ความยาวรอบรูปของรูปส่ีเหล่ียมและพื้นทีข่ องรปู สเ่ี หลี่ยมดา้ นขนานและรปู สเี่ หล่ียมขนม
เปยี กปนู สร้างเสน้ ตรงหรอื สว่ นของเสน้ ตรงใหข้ นานกับเสน้ ตรงหรือสว่ นของเสน้ ตรงท่กี ำหนดให้ จำแนกรปู
สี่เหลย่ี มโดยพจิ ารณาจากสมบัตขิ องรูป สร้างรูปส่ีเหลี่ยมชนดิ ต่าง ๆ เมื่อกำหนดความยาวของดา้ นและขนาด
ของมมุ หรือเมือ่ กำหนดความยาวของเส้นทแยงมมุ และบอกลักษณะของปรซิ มึ
ใชข้ ้อมลู จากกราฟเส้นในการหาคำตอบของโจทย์ปญั หา และเขียนแผนภมู แิ ท่งจากข้อมลู ทเี่ ป็น
จำนวนนบั
มาตรฐาน/ตวั ช้ีวดั
ค ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔ , ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘, ป.๕/๙
ค ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
ค ๒.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
ค ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒
รวม ๑๙ ตวั ช้ีวดั
คำอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน กลมุ่ สาระการเรียนรู้
ค ๑๖๑๐๑ คณิตศาสตร์๖ เวลา ๑๖๐ ช่ัวโมง
คณิตศาสตร์
ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี ๖
คำอธบิ ายรายวิชา
เปรียบเทียบ เรยี งลำดับ เศษสว่ นและจำนวนคละจากสถานการณต์ า่ ง ๆ เขยี นอัตราส่วนแสดงการ
เปรยี บเทียบปรมิ าณ ๒ ปรมิ าณจากข้อความหรือสถานการณ์ โดยที่ปรมิ าณแต่ละปริมาณเปน็ จำนวนนบั หา
อัตราส่วนท่ีเท่ากับอตั ราส่วนทก่ี ำหนดให้ หา ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของจำนวนนับไม่เกิน ๓ จำนวน แสดงวิธีหา
คำตอบของโจทยป์ ัญหาโดยใชค้ วามรู้เกี่ยวกับ ห.ร.ม. และ ค.ร.น. หาผลลัพธข์ องการบวก ลบ คูณ หารระคน
ของเศษสว่ นและจำนวนคละ แสดงวธิ หี าคำตอบของโจทย์ปัญหาเศษสว่ นและจำนวนคละ ๒ – ๓ ขั้นตอน หา
ผลหารของทศนิยมที่ตวั หารและผลหารเป็นทศนยิ มไมเ่ กิน ๓ ตำแหนง่ แสดงวธิ หี าคำตอบของโจทย์ปญั หาการ
บวก การลบ การคูณ การหารทศนยิ ม ๓ ข้นั ตอน แสดงวิธหี าคำตอบของโจทย์ปญั หาอัตราสว่ น ปญั หาร้อยละ
๒ – ๓ ขั้นตอน แสดงวธิ ีคดิ และหาคำตอบของปญั หาเกย่ี วกบั แบบรปู
แสดงวิธหี าคำตอบของโจทยป์ ัญหาเกยี่ วกับปริมาตรของรูปเรขาคณติ สามมติ ิท่ปี ระกอบด้วยทรงสเี่ หล่ยี ม
มมุ ฉาก และแสดงวธิ ีหาคำตอบของโจทยป์ ญั หาเก่ียวกับความยาวรอบรปู และพน้ื ท่ีของรปู หลายเหลี่ยม ความ
ยาวรอบรูปและพน้ื ทีข่ องวงกลม จำแนกรูปสามเหลีย่ มโดยพจิ ารณาจากสมบัตขิ องรปู สรา้ งรปู สามเหล่ียมเม่อื
กำหนดความยาวของดา้ นและขนาดของมมุ บอกลกั ษณะของรูปเรขาคณิตสามมติ ิชนิดต่าง ๆ ระบุรปู
เรขาคณิตสามมิตทิ ี่ประกอบจากรปู คลี่และระบรุ ปู คลีข่ องรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใชข้ ้อมลู จากแผนภมู ริ ูปวงกลมในการหาคำตอบของโจทยป์ ญั หา
มาตรฐาน/ตัวชี้วดั
ค ๑.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙, ป.๖/๑๐, ป.๖/๑๑
ค ๑.๒ ป.๖/๑
ค ๒.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓
ค ๒.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔
ค ๓.๑ ป.๖/๑
รวม ๒๐ ตัวชว้ี ัด
กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ (ใชฉ้ บบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.2560)
คำอธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน
ว๑๑๑๐๑ วิทยาศาสตร์๑ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้
วิทยาศาสตร์
ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ เวลา 8๐ ชว่ั โมง
คำอธิบายรายวิชา
ศึกษา บอก ระบุชอื่ พืชและสัตว์ รวมท้ังสภาพแวดลอ้ มทีเ่ หมาะสมกบั การดำรงชีวิต ระบุช่อื บรรยาย
ลักษณะหน้าท่ีของส่วนต่างๆของมนุษย์ สตั ว์ และพืช ตระหนักถึงความสำคญั ของสว่ นต่างๆของรา่ งกายตลอดจน
การดแู ลรักษาความสะอาด สามารถอธบิ ายสมบัตทิ ี่สังเกตได้ของวัสดุ ระบชุ นดิ และจัดกลมุ่ ของวัสดุตามสมบัตทิ ี่
สงั เกตได้ บรรยายการเกดิ เสยี งและทิศทางการเคลอ่ื นท่ขี องเสียง ระบุดาวท่ปี รากฏบนทอ้ งฟา้ ในเวลากลางวันและ
กลางคนื พรอ้ มทงั้ อธบิ ายสาเหตทุ ีม่ องไม่เห็นดาวสว่ นใหญใ่ นเวลากลางวนั สามารถอธบิ ายลักษณะภายนอกของหนิ
จากลกั ษณะเฉพาะตัวที่สงั เกตได้ มีการแกป้ ญั หาและแสดงลำดบั ข้นั ตอนของการแก้ปญั หาอย่างง่ายโดยใชภ้ าพ
สัญลกั ษณ์ หรอื ข้อความ สามารถเขียนโปรแกรมอยา่ งง่าย โดยใชซ้ อฟแวรห์ รอื สอ่ื ใชเ้ ทคโนโลยใี นการสรา้ ง
จัดเกบ็ เรยี กใชข้ อ้ มูลตามวัตถุประสงค์อย่างเหมาะสมและปลอดภัย
โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแกป้ ญั หาโดยต้ังคำถามเกีย่ วกับเรอ่ื งทจี่ ะศกึ ษา
ตามท่ีกำหนดให้หรือตามความสนใจ วางแผนการสงั เกต สำรวจตรวจสอบ ศกึ ษาคน้ ควา้ โดยใช้ความคิดของตนเอง
และของครู ใช้วสั ดุอปุ กรณใ์ นการสำรวจตรวจสอบและบันทกึ ผลด้วยวิธี
งา่ ย ๆ จัดกลุ่มขอ้ มลู ทีไ่ ด้จากการสำรวจตรวจสอบและนำเสนอผล แสดงความคิดเห็นในการสำรวจ ตรวจสอบ บนั ทึก
และอธบิ ายผลการสังเกตโดยเขียนภาพหรือข้อความสัน้ ๆ และนำเสนอผลงานดว้ ยวาจาใหผ้ อู้ นื่ เข้าใจ
เพอื่ ใหผ้ เู้ รียนตระหนกั และเหน็ คุณค่าของวิชาวิทยาศาสตร์ มกี ระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการค้นหาความรู้ด้วย
ตนเอง ผู้เรยี นสามารถคิดวเิ คราะห์ คิดตัดสินใจ และสามารถสือ่ สารเปน็ ท่ีเขา้ ใจ
ตรงกันรวมท้งั มีจติ วทิ ยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คุณธรรม และคา่ นิยมที่เหมาะสม ตลอดจนเชอ่ื มโยงความร้แู ละนำความรู้
ไปใช้ในชีวิตประจำวนั ได้
รหสั ตัวช้ีวัด
ว 1.1 ป.1/1, ป.1/2 ว 1.2 ป.1/1, ป.1/2
ว 2.1 ป.1/1, ป.1/2 ว 2.3 ป.1/1
ว 3.1 ป.1/1, ป.1/2 ว 3.2 ป.1/1
ว 8.2 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3, ป.1/4, ป.1/5
รวมทั้งหมด 15 ตัวช้ีวัด
คำอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน กลุม่ สาระการเรียนรู้
ว๑๒๑๐๑ วิทยาศาสตร์๒ เวลา 8๐ ชัว่ โมง
วทิ ยาศาสตร์
ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๒
คำอธบิ ายรายวิชา
ระบวุ ่าพชื ต้องการแสงและน้ำเพ่ือการเจรญิ เติบโตโดยใชข้ อ้ มูลจากหลักฐานเชงิ ประจกั ษต์ ระหนกั ถงึ
ความจำเป็นท่ีพืชตอ้ งการไดร้ ับน้ำและแสงเพ่อื การเจรญิ เตบิ โตโดยดแู ลพืชให้ไดร้ ับสิ่งดงั กลา่ วอย่างเหมาะสม
สรา้ งแบบจำลองทีบ่ รรยายวฏั จกั รชวี ิตของพืชดอก เปรียบเทยี บลักษณะส่ิงมชี ีวติ และสิง่ ไม่มีชีวติ จากข้อมูลที่
รวบรวมได้ เปรยี บเทียบสมบัตกิ ารดูดซบั น้ำของวัสดุไปประยกุ ตใ์ ช้ในการทำวัสดใุ นชวี ิตประจำวนั อธบิ าย
สมบัติทนี่ ำวัสดมุ าผสมกนั โดยใชห้ ลักฐานเชิงประจักษ์การนำมาทำเป็นวสั ดใุ นการใช้งานการนำกลับมาใช้ใหม่
ตระหนักถงึ ประโยชน์ของการนำวสั ดทุ ใ่ี ชแ้ ลว้ กลับมาใชใ้ หม่ บรรยายแนวทางการเคล่อื นทขี่ องแสงจาก
แหลง่ กำเนิดแสงและอธิบายการมองเหน็ วัตถุจากหลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ ตระหนักในการเหน็ คณุ ค่าของความรู้
ของการมองเหน็ โดยเสนอแนะแนวทางการป้องกนั อนั ตรายจากการมองเหน็ วัตถใุ นท่มี ีแสงสว่างไมเ่ หมาะสม
ระบสุ ่วนประกอบของดนิ และจำแนกชนดิ ของดนิ โดยใช้ลกั ษณะเนือ้ ดนิ และการจับตวั เปน็ เกณฑ์ อธบิ ายการใช้
ประโยชนจ์ ากดนิ จากข้อมลู ทีร่ วบรวมได้
มาตรฐาน/ตัวชี้วดั
ว ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓
ว ๑.๓ ป.๒/๑
ว ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔
ว ๒.๓ ป.๒/๑, ป.๒/๒
ว ๓.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒
ว ๘.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔
รวมท้ังหมด ๑๖ ตวั ช้ีวัด
คำอธิบายรายวชิ าพน้ื ฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้
ว๑๓๑๐๑ วิทยาศาสตร๓์ เวลา 8๐ ชว่ั โมง
วิทยาศาสตร์
ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี ๓
คำอธบิ ายรายวชิ า
บรรยายสง่ิ ทจี่ ำเปน็ ต่อการดำรงชวี ิตและการเจรญิ เติบโตโดยใชข้ ้อมูลจากที่รวบรวมได้ ตระหนักถงึ
ประโยชน์ของอาหาร นำ้ และอากาศโดยการดูแลตนเองและสัตว์ใหไ้ ด้รับสิ่งเหล่าน้อี ย่างเหมาะสม สร้าง
แบบจำลองท่ีบรรยายวฏั จกั รชวี ติ ของสัตว์และเปรียบเทยี บวฏั จักรชีวติ ของสตั วบ์ างชนิดคุณค่าของชีวติ สัตว์
โดยไม่ทำใหว้ ฏั จกั รชวี ติ ของสัตวเ์ ปลี่ยนแปลง อธิบายวา่ วตั ถปุ ระกอบกันเป็นวัตถชุ ้ินใหม่ได้โดยใช้หลกั ฐานเชิง
ประจกั ษ์ อธบิ ายการเปล่ยี นแปลงของวสั ดเุ มื่อทำให้รอ้ นขน้ึ หรือทำให้เย็นลงโดยใชห้ ลักฐานเชงิ ประจกั ษร์ ะบุ
ผลของแรงเปล่ยี นแปลงการเคลอ่ื นท่ขี องวตั ถุจากหลักฐานเชิงประจกั ษ์ เปรียบเทยี บและยกตวั อย่างแรงสมั ผสั
และแรงสัมผัสทม่ี ีผลต่อการเคล่อื นที่การจำแนกวัตถุโดยใชก้ ารดึงดดู กบั แม่เหล็กเปน็ เกณฑ์ระบขุ วั้ แมเ่ หลก็ และ
พยากรณ์ผลที่เกิดขึน้ ระหวา่ งขั้วแม่เหล็กเมื่อนำมาเขา้ ใกลก้ ันจากหลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ ยกตัวอย่างการเปลย่ี น
พลังงานหนง่ึ ไปเปน็ อีกพลงั งานหน่ึง การทำงานของเครื่องกำเนิดไฟฟ้าและระบุแหลง่ พลงั งานในการผลิตไฟฟ้า
ประโยชนข์ องไฟฟ้าโดยการนำเสนอวิธีการใช้อย่างประหยดั และปลอดภยั
อธิบายแบบรูปเสน้ ทางการขน้ึ ละตกของดวงอาทิตย์การเกิดกลางวนั กลางคนื และการกำหนดทศิ โดยใช้
แบบจำลองตระหนกั ถึงความสำคัญของดวงอาทิตย์ประโยชนข์ องดวงอาทติ ย์ตอ่ สิ่งมีชวี ิต
รหสั ตวั ชี้วัด
ว ๑.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔
ว ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒
ว ๒.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔
ว ๒.๓ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓
ว ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓
ว ๓.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔
ว ๘.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕
รวมทง้ั หมด ๒๕ ตวั ช้ีวดั
คำอธิบายรายวชิ าพนื้ ฐาน กล่มุ สาระการเรียนรู้
ว๑๔๑๐๑ วทิ ยาศาสตร๔์ เวลา ๘๐ ชั่วโมง
วทิ ยาศาสตร์
ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๔
คำอธิบายรายวิชา
ศกึ ษา รวบรวมขอ้ มูลและอธิบายหนา้ ที่ของสว่ นต่างๆของพืชดอก จำแนกสิง่ มีชีวติ โดยใชค้ วาม
เหมือนและความตา่ งของลักษณะของส่งิ มชี ีวิต จำแนกพชื โดยใช้การมีดอกเป็นเกณฑ์ จำแนกสัตว์โดยใช้
กระดกู สันหลังเป็นเกณฑ์ บรรยายลกั ษณะเฉพาะท่ีสงั เกตไดข้ องสตั ว์มกี ระดูกสนั หลัง ทดลองเพอื่
เปรียบเทยี บสมบตั ิทางกายภาพ การนำความรอ้ นและการนำไฟฟา้ ของวัสดุ เปรียบเทียบสมบตั ิของสสารและ
ใช้เคร่อื งมือเพื่อวัดมวลและปริมาตรของสสารท้งั 3 สถานะ ระบุผลของแรงโนม้ ถ่วงทม่ี ตี อ่ วตั ถุ วดั นำ้ หนกั ของ
วัตถโุ ดยใช้เคร่ืองช่งั สปริงได้ บรรยายมวลของวัตถุท่ีมผี ลตอ่ การเปลย่ี นแปลงการเคล่อื นทีข่ องวตั ถุ สามารถ
จำแนกวตั ถจุ ากลักษณะการมองเห็นสิ่งตา่ งๆผ่านวตั ถนุ ้ันเปน็ เกณฑ์ อธิบายรูปแบบเสน้ ทางการข้นึ และตกของ
ดวงจันทร์ สร้างแบบจำลองเพ่อื อธิบายการเปลยี่ นแปลงและพยากรณร์ ูปรา่ งปรากฏของดวงจันทร์ สรา้ ง
แบบจำลองแสดงองคป์ ระกอบของระบบสุรยิ ะ และอธิบายคาบการโคจรของดาวเคราะห์ตา่ งๆจาก
แบบจำลอง สามารถออกแบบและเขียนโปรแกรมอยา่ งงา่ ยโดยใชซ้ อฟทแ์ วรห์ รอื สื่อ ใชอ้ นิ เตอรเ์ น็ตในการหา
ความรู้ รวบรวม ประเมนิ นำเสนอขอ้ มูลและสารสนเทศโดยใช้ซอฟแวรท์ ี่หลากหลายเพื่อแกป้ ัญหาใน
ชีวติ ประจำวัน
โดยใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแกป้ ญั หา โดยตง้ั คำถามเกี่ยวกบั
ประเด็น หรอื เร่อื ง หรือสถานการณ์ท่ีจะศึกษาตามทกี่ ำหนดให้และตามความสนใจ วางแผน สังเกต เสนอวิธี
สำรวจตรวจสอบ หรอื ศึกษาคน้ คว้า และคาดการณ์สง่ิ ทีพ่ บ เลือกใช้อุปกรณ์ท่ถี ูกต้องเหมาะสมในการสำรวจ
ตรวจสอบ ทดลอง และบันทกึ ข้อมูลในเชิงปรมิ าณ นำเสนอผล สรุปผล สรา้ งคำถามใหมเ่ พอื่ การสำรวจ
ตรวจสอบตอ่ ไป แสดงความคิดเหน็ และสรุปสงิ่ ท่ไี ดเ้ รยี นรู้ บนั ทึกและอธิบายผลการสำรวจตรวจสอบอย่าง
ตรงไปตรงมา นำเสนอ จัดแสดงผลงานโดยอธบิ ายด้วยวาจา หรือเขยี นอธิบายกระบวนการและผลของงานให้
ผูอ้ ่นื เขา้ ใจ
เพอ่ื ใหผ้ ้เู รยี นตระหนกั และเหน็ คุณค่าของวิชาวทิ ยาศาสตร์ มีกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
ในการคน้ หาความรดู้ ้วยตนเอง ผ้เู รียนสามารถคิดวเิ คราะห์ คดิ ตดั สินใจ และสามารถส่ือสารเป็นทเี่ ข้าใจตรงกนั
รวมท้ังมีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม ตลอดจนเชอ่ื มโยงความรแู้ ละนำความรู้
ไปใช้ในชีวิตประจำวนั ได้
มาตรฐาน/ตวั ชี้วัด
ว ๑.๒ ป.๔/๑
ว ๑.๓ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔
ว ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔
ว ๒.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
ว ๒.๓ ป.๔/๑
ว ๓.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
ว ๘.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕
รวมท้งั หมด 21 ตัวชี้วัด
คำอธิบายรายวิชาพน้ื ฐาน กลุม่ สาระการเรียนรู้
ว๑๕๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์๕ เวลา ๘๐ ช่ัวโมง
วิทยาศาสตร์
ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๕
คำอธิบายรายวิชา
บรรยายโครงสรา้ งและลักษณะของสิง่ มีชีวิตท่ีเหมาะสมกับการดำรงชีวิตซงึ่ เปน็ ผลมาจากการปรบั ตัว
ของส่ิงมีชวี ติ ในแตล่ ะแหล่งทอี่ ยู่ อธิบายความสมั พนั ธ์ระหวา่ งสิ่งมชี ีวติ กับสิง่ มชี วี ิตและความสมั พนั ธร์ ะหว่าง
สงิ่ มชี วี ิตกบั ส่งิ ไมม่ ีชวี ิตเพอื่ ประโยชน์ตอ่ การดำรงชวี ิต เขียนโซ่อาหารและระบุบทบาทหนา้ ที่ของสงิ่ สิ่งมชี ีวิตท่ี
เป็นผู้ผลิตและผู้บรโิ ภคในโซอ่ าหาร ตระหนักในคุณค่าของสิง่ แวดล้อมท่มี ีตอ่ การดำรงชีวติ ของสงิ่ มชี วี ติ โดยมี
ส่วนร่วมในการดแู ลรกั ษาส่ิงแวดล้อม อธิบายลกั ษณะทางพันธุกรรมทม่ี ีการถ่ายทอดจากพ่อแมส่ ู่ลูกของ พืช
สตั ว์ และ มนุษย์ แสดงความอยากรู้อยากเหน็ โดยการถามคำถามเกย่ี วกับลักษณะท่คี ล้ายคลึงกนั ของตนเอง
กบั พ่อแม่ อธิบายการเปลีย่ นสถานะของสสารเม่อื ทำให้สสารร้อนข้ึนหรอื เย็นลง โดยใช้หลกั ฐานเชิงประจักษ์
อธบิ ายการละลายของสารในน้ำ โดยใช้หลกั ฐานเชิงประจักษ์ วิเคราะห์การเปล่ียนแปลงของสารเมื่อเกดิ การ
เปลย่ี นแปลงทางเคมี โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ วิเคราะหแ์ ละระบกุ ารเปลยี่ นแปลงทีผ่ ันกลับไดแ้ ละการ
เปลีย่ นแปลงที่ผันกลบั ไม่ได้ อธบิ ายวธิ ีการหาแรงลพั ธข์ องแรงหลายแรงในแนวเดียวกนั ทกี่ ระทำตอ่ วตั ถใุ น
กรณีทว่ี ัตถุอย่นู ิ่งจากหลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ เขียนแผนภาพแสดงแรงที่กระทำตอ่ วตั ถทุ ่อี ยู่ในแนวเดียวกันและ
แรงลัพธท์ ่ีกระทำตอ่ วตั ถุ ใช้เคร่ืองชั่งสปรงิ ในการวัดแรงท่ีกระทำตอ่ วตั ถุ ระบผุ ลของแรงเสียดทานท่ีมตี ่อการ
เปลี่ยนแปลงการเคลอื่ นท่ีของวัตถจุ ากหลกั ฐานเชิงประจักษ์ เขยี นแผนภาพแสดงแรงเสยี ดทานและแรงทอ่ี ยใู่ น
แนวเดียวกันที่กระทำต่อวัตถุ อธบิ ายการได้ยนิ เสียงผ่านตวั กลางจากหลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ ระบุตัวแปรทดลอง
และอธบิ ายลักษณะและการเกิดเสียงสงู เสียงตำ่ ออกแบบการทดลองและอธิบายลักษณะและการเกดิ เสียงดัง
เสียงคอ่ ย วดั ระดบั เสยี งโดยใช้เคร่ืองมอื วดั ระดบั เสยี ง ตระหนักในคณุ คา่ ของความรู้เร่ืองระดับเสียงโดย
เสนอแนะแนวทางในการหลีกเล่ียงและลดมลพิษทางเสยี ง เปรยี บเทยี บความแตกตา่ งของดาวเคราะหแ์ ละดาว
ฤกษจ์ ากแบบจำลอง ใชแ้ ผนทดี่ าวระบตุ ำแหน่งและเส้นทางการขึน้ และตกของกล่มุ ดาวฤกษ์บนท้องฟา้ และ
อธิบายแบบรูปเส้นทางการขึ้นและตกของกล่มุ ดาวฤกษบ์ นทอ้ งฟา้ ในรอบปี เปรียบเทยี บปรมิ าณนำ้ ในแตล่ ะ
แหล่งและระบปุ รมิ าณน้ำทีม่ นษุ ยส์ ามารถนำมาใช้ประโยชนไ์ ดจ้ ากขอ้ มูลที่รวบรวมได้ ตระหนักถงึ คณุ คา่ ของ
น้ำโดยนำเสนอแนวทางการใชน้ ำ้ อยา่ งประหยดั และการอนรุ ักษน์ ำ้ สร้างแบบจำลองทอี่ ธบิ ายการหมุนเวียน
ของนำ้ ในวฏั จักรน้ำ เปรยี บเทียบกระบวนการเกิดเมฆ หมอก นำ้ ค้าง และนำ้ ค้างแข็ง จากแบบจำลอง
เปรยี บเทียบกระบวนการเกดิ ฝน หิมะ และลกู เห็บ จากข้อมูลท่ีรวบรวมได้
มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด
ว ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
ว ๑.๓ ป.๕/๑, ป.๕/๒
ว ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
ว ๒.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕
ว ๒.๓ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕
ว ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒
ว ๓.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕
ว ๘.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕
รวมท้งั หมด ๓๒ ตวั ช้ีวดั
คำอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน กลุ่มสาระการเรยี นรู้
ว๑๖๑๐๑ วทิ ยาศาสตร๖์ เวลา ๘๐ ช่ัวโมง
วทิ ยาศาสตร์
ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๖
คำอธิบายรายวิชา
ระบสุ ารอาหารและบอกประโยชนข์ องสารอาหารแต่ละประเภทจากอาหารที่ตนเองรบั ประทานบอก
แนวทางในการเลอื กรบั ประทานอาหารให้ได้สารอาหารครบถ้วนในสดั สว่ นที่เหมาะสมกบั เพศและวัย รวมทงั้
ความปลอดภยั ตอ่ สขุ ภาพ ตระหนักถึงความสำคัญของสารอาหาร โดยการเลอื กรบั ประทานอาหารทีม่ ี
สารอาหารครบถว้ นในสดั สว่ นทเ่ี หมาะสมกบั เพศและวยั รวมท้ังความปลอดภัยต่อสุขภาพ สรา้ งแบบจำลอง
ระบบยอ่ ยอาหารและบรรยายหนา้ ท่ีของอวยั วะในระบบย่อยอาหาร รวมท้ังอธบิ ายการย่อยอาหารและการดดู
ซึมสารอาหาร ตระหนกั ถึงความสำคญั ของระบบย่อยอาหาร โดยการบอก แนวทางในการดแู ลรักษาอวยั วะ
ในระบบย่อยอาหารให้ทำงานเปน็ ปกติ อธบิ ายและเปรยี บเทียบการแยกสารผสมโดยการหยบิ ออก การร่อน
การใชแ้ มเ่ หล็กดงึ ดดู การรินออก การกรอง และการตกตะกอน โดยใชห้ ลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ รวมท้ังระบวุ ิธี
แกป้ ัญหาในชวี ติ ประจำวันเกย่ี วกับการแยกสาร อธบิ ายการเกิดและผลของแรงไฟฟ้าซึง่ เกิดจากวัตถทุ ี่ผา่ นการ
ขดั ถโู ดยใช้หลกั ฐานเชิงประจักษ์ ระบสุ ่วนประกอบและบรรยายหนา้ ทข่ี องแต่ละส่วนประกอบของวงจรไฟฟา้
อย่างง่ายจากหลักฐานเชิงประจกั ษ์ เขียนแผนภาพและต่อวงจรไฟฟ้าอยา่ งง่าย ออกแบบการทดลองด้วยวิธที ี่
เหมาะสมในการอธิบายวิธีการและผลของการต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนกุ รม ตระหนกั ถึงประโยชนข์ องความรู้ของ
การต่อเซลลไ์ ฟฟ้าแบบอนุกรมโดยบอกประโยชน์และการประยุกต์ใช้ในชวี ิตประจำวนั ออกแบบการทดลอง
และทดลองด้วยวธิ ีท่เี หมาะสมในการอธิบายการต่อหลอดไฟฟ้าแบบอนกุ รมและแบบขนาน ตระหนกั ถงึ
ประโยชนข์ องความรู้ของการตอ่ ไฟฟ้าแบบอนกุ รม แบบขนาน อธิบายการเกิดเงามืดเงามวั จากหลักฐานเชิง
ประจกั ษ์ เขยี นแผนภาพรงั สขี องแสงแสดงการเกิดเงามดื เงามัว สร้างแบบจำลองทอ่ี ธบิ ายการเกดิ และ
เปรียบเทียบปรากฏการณ์สรุ ิยปุ ราคาและจนั ทรปุ ราคา อธบิ ายพฒั นาการของเทคโนโลยอี วกาศ และการใช้
ประโยชน์ในชีวติ ประจำวนั จากข้อมูลทร่ี วบรวมได้ เปรียบเทียบกระบวนการเกิดหนิ อัคนี หนิ ตะกอน และหนิ
แปร สรา้ งแบบจำลองทอ่ี ธบิ ายการเกดิ ซากดึกดำบรรพ์และคาดคะเนสภาพแวดล้อมในอดีตของซากดกึ ดำ
บรรพ์ การเกิดลมบก ลมทะเล มรสุมรวมทั้งอธิบายผลทม่ี ีต่อสง่ิ มชี วี ิตและส่ิงแวดลอ้ มจากแบบจำลอง อธิบาย
ผลของมรสุมตอ่ การเกิดฤดูของประเทศไทย จากข้อมลู ท่รี วบรวม บรรยายลกั ษณะและผลกระทบของนำ้ ท่วม
การกดั เซาะชายฝง่ั ดนิ ถล่ม แผ่นดนิ ไหว ตระหนักถึงผลกระทบของภยั ธรรมชาติและธรณพี ิบัตภิ ยั โดย
นำเสนอแนวทางในการเฝา้ ระวงั และปฏบิ ัตติ นให้ปลอดภยั จากภัยธรรมชาติและธรณีพิบัติภัย ท่ีอาจเกิดใน
ท้องถนิ่ อธิบายการเกดิ ปรากฏการณ์เรอื นกระจกและผลของปรากฏการณ์เรอื นกระจกตอ่ สิ่งมีชีวติ ตระหนัก
ถึงผลกระทบองปรากฏการณ์เรอื นกระจกโดยนำเสนอแนวทางการปฏบิ ัตติ นเพอ่ื ลดกิจกรรมท่ีกอ่ ให้เกดิ แก็ส
เรอื นกระจก
มาตรฐาน/ตัวชี้วดั
ว ๑.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕
ว ๒.๑ ป.๖/๑ ว ๒.๒ ป.๖/๑
ว ๒.๓ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๕, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘
ว ๓.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒
ว ๓.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๕, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙
ว ๘.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔
รวมทัง้ หมด ๓๗ ตวั ชี้วัด
กลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม (ใช้ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.2560)
คำอธิบายรายวชิ า
กลมุ่ สาระการเรียนรูส้ ังคมศึกษา
ศาสนาและวัฒนธรรม
คำอธิบายรายวชิ าพนื้ ฐาน กลุ่มสาระการเรยี นรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
ส ๑๑๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนาฯ๑ เวลา ๘๐ ช่ัวโมง
ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑
คำอธบิ ายรายวิชา
สงั เกต ศึกษาค้นควา้ รวบรวมข้อมลู อภิปราย ความหมาย ความสำคัญ องค์ประกอบเบ้อื งตน้ ของ
ศาสนา ประโยชน์ ประวัติ ศาสดาของศาสนา สรุปใจความสำคัญของคัมภรี ์ ความคิดหลกั ของศาสนา สรุป
หลักจรยิ ธรรม การบำเพ็ญประโยชน์ วธิ ปี ฏบิ ตั ิ การใชภ้ าษาเกย่ี วกับศาสนพธิ ี พิธีกรรมในวนั สำคัญ ฝกึ
ปฏิบตั ิการบรหิ ารจิต การเจริญปญั ญาเบอ้ื งต้น เปรียบเทียบ การทำความดี ปฏิบตั ิตนตามคำแนะนำ รวบรวม
ขนั้ ตอน ของศาสนพธิ ี คณุ ลกั ษณะของการเป็นพลเมอื งดีในสงั คมประชาธิปไตยมคี วามรบั ผิดชอบ ความ
ซือ่ สัตย์ ความกลา้ หาญ ความเสียสละ การเคารพสทิ ธแิ ละหนา้ ที่ วัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิน่ การแก้ปัญหา
ความขัดแย้งในครอบครัว กฎ กติกา ความหมาย ความสำคญั ของรัฐธรรมนูญ ประโยชน์ของรายรบั -รายจ่าย
ตน้ ทนุ ผลประโยชนท์ ี่ได้รับทรัพยากรในทอ้ งถน่ิ ระบบเศรษฐกจิ พอเพียง อาชีพของครอบครวั และชุมชน การ
ซ้ือขายแลกเปลีย่ นสนิ คา้ และบรกิ าร ในชวี ิตประจำวัน ลักษณะทางกายภาพของบา้ น โรงเรียน และชุมชน
องคป์ ระกอบของ แผนผัง การเขยี นแผนที่เบ้อื งต้นอยา่ งง่าย ทรพั ยากรธรรมชาติ การพึง่ พาอาศยั ซึง่ กนั และ
กนั ผลเสยี การทำลายทรัพยากรธรรมชาติ ส่ิงแวดลอ้ มทางสังคม การสร้างสรรค์ ส่ิงแวดลอ้ ม การอนุรกั ษ์
ส่งิ แวดล้อมทางธรรมชาติ และทางสงั คม โดยใชก้ ระบวนการทางสังคม กระบวนการสืบค้น กระบวนการกล่มุ
และกระบวนการแกป้ ญั หา
เพอื่ ให้เกดิ ความรู้ ความเขา้ ใจ สามารถนำไปปฏิบตั ใิ นการดำเนินชีวิต มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม มคี ุณลกั ษณะอัน
พึงประสงค์ในด้านรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซ่ือสัตย์ มวี นิ ยั ใฝ่เรียนรู้ รกั ความเปน็ ไทย มจี ติ สาธารณะ สามารถ
ดำเนินชีวิตอย่างสันตสิ ขุ ในสังคมไทย และสงั คมโลก สามารถนำความรู้ไปใช้ใหเ้ กิดประโยชนโ์ ดยใช้หลัก
ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและสามารถนำไปประยกุ ตใ์ ช้กับชวี ิตประจำวันไดอ้ ย่างถกู ต้องเหมาะสม
มาตรฐาน/ตัวชี้วัด
ส ๑.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓ , ป.๑/๔
ส ๑.๒ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓
ส ๒.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒
ส ๒.๒ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓
ส ๓.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓
ส ๓.๒ ป.๑/๑
ส ๕.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓ , ป.๑/๔ , ป.๑/๕
ส ๕.๒ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓
รวม ๘ มาตรฐาน ๒๔ ตัวช้ีวดั
คำอธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน กลมุ่ สาระการเรียนร้สู ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ส ๑๒๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนาฯ๒ เวลา ๘๐ ชั่วโมง
ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๒
คำอธบิ ายรายวิชา
สังเกต ศกึ ษาค้นควา้ การรวบรวมข้อมลู อภิปราย ความหมาย ความสำคญั องคป์ ระกอบเบื้องตน้ ของ
ศาสนา ประวัติศาสนา ศาสดาของศาสนา คมั ภรี ์ และการใช้ภาษาของศาสนา รวบรวมหลกั จรยิ ธรรม การ
บำเพ็ญประโยชน์ตอ่ ครอบครัว โรงเรยี น และชุมชน หลักปฏบิ ตั กิ ารอยรู่ ว่ มกนั อยา่ งเปน็ สขุ ศาสนพิธี และ
พธิ กี รรมในวนั สำคัญของศาสนา การบรหิ ารจติ การเจรญิ ปัญญาเบอื้ งต้น การทำความดีของบคุ คลใน
ครอบครวั และโรงเรียน การปฏิบัติตนตามคำแนะนำเกยี่ วกับศีลธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยมท่ดี ีงาม การเป็น
พลเมอื งดี ในสงั คมประชาธิปไตย การยอมรับ การเคารพสทิ ธิ และหนา้ ทข่ี องตนเอง เป็นสมาชกิ ที่ดีของ
ครอบครัว สิทธขิ องบุคคลทพ่ี ึงได้รับการคมุ้ ครอง การขัดเกลาของสงั คม คา่ นิยม ความเช่ือ ประเพณี
วฒั นธรรม และภมู ปิ ัญญาของท้องถ่ิน ความสัมพนั ธข์ องสมาชกิ ในครอบครวั บทบาทหนา้ ทีข่ องตนเอง การ
แกป้ ญั หาความขัดแยง้ ข้อตกลง กฎ กติกา ระเบยี บในโรงเรียน ความหมาย และความสำคญั ของรฐั ธรรมนญู
ประโยชน์ของรายรบั –รายจา่ ยของครอบครวั ตัดสินใจเลอื กอย่างเหมาะสม เศรษฐกิจพอเพยี ง อาชีพของ
ชมุ ชน การซือ้ ขาย แลกเปล่ียนสินค้าและบรกิ าร ประโยชนข์ องธนาคาร ภาษที ่ีเกีย่ วขอ้ งในชีวติ ประจำวนั
ลกั ษณะทางกายภาพ องค์ประกอบของแผนผังแผนที่ ตำแหน่ง ระยะทิศทาง ทรพั ยากรธรรมชาติรคู้ ุณคา่ ของ
ธรรมชาติ การสรา้ งสรรคส์ ิ่งแวดล้อมทางสงั คม การเปรียบเทียบประชากรกับส่ิงแวดล้อม การฝกึ สังเกตสง่ิ
ต่างๆรอบตัว โดยใช้กระบวนการสงั คม กระบวนการสืบค้น กระบวนการกลุม่ กระบวนการแก้ปญั หา
เพอ่ื ให้เกิดความรู้ ความเขา้ ใจ สามารถนำไปปฏิบตั ใิ นการดำเนนิ ชีวติ มีคุณธรรม จริยธรรม มี
คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ในดา้ นรกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ ซอื่ สัตย์ มวี ินยั ใฝ่เรียนรู้ รักความเป็นไทย มจี ติ
สาธารณะ สามารถดำเนนิ ชีวิตอยา่ งสนั ติสขุ ในสงั คมไทย และสงั คมโลก สามารถนำความรู้ไปใช้ให้เกดิ
ประโยชนโ์ ดยใชห้ ลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและสามารถนำไปประยกุ ต์ใชก้ บั ชีวติ ประจำวนั ไดอ้ ยา่ ง
ถกู ตอ้ งเหมาะสม
มาตรฐาน/ตัวชี้วดั
ส ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗
ส ๑.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒
ส ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔
ส ๒.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒
ส ๓.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔
ส ๓.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒
ส ๕.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓
ส ๕.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔
รวม ๘ มาตรฐาน ๒๘ ตวั ชี้วัด
คำอธบิ ายรายวิชาพนื้ ฐาน กลุ่มสาระการเรียนรูส้ ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
ส ๑๓๑๐๑ สังคมศกึ ษา ศาสนาฯ๓ เวลา ๘๐ ชั่วโมง
ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๓
คำอธิบายรายวิชา
สังเกต ศกึ ษาค้นควา้ รวบรวมข้อมูล อภิปราย แสดงความคดิ เหน็ สรปุ ใจความสำคัญความหมาย ความสำคัญ
องค์ประกอบของศาสนา ประโยชน์ ประวตั ิศาสดาของศาสนา ภาษา ทใี่ ชใ้ นคัมภรี ์ของศาสนาทตี่ นนบั ถอื
หลกั จรยิ ธรรมในการพัฒนาตน การบำเพญ็ ประโยชน์ตอ่ ครอบครวั โรงเรียน วธิ ปี ฏิบตั ิเกี่ยวกับ ศาสนพิธี
พิธีกรรมในวนั สำคัญของศาสนา การบริหารจิต การเจริญปญั ญา สติ สัมปชญั ญะ ความรำลึกได้ ความรู้ตวั ชืน่
ชมการทำความดขี องบุคคลในครอบครัว และโรงเรียน ศลี ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยมท่ดี ีงาม การเปน็ พลเมืองดี
ในสังคม ประชาธิปไตย การเคารพสทิ ธิและหน้าท่ีของ ตนเอง บทบาทสทิ ธิ เสรภี าพ หน้าที่ สถานภาพ สิทธิ
ของบุคคลท่ีพึงไดร้ ับการคุม้ ครอง การขัดเกลาของสงั คม คา่ นิยม ความเชอื่ ประเพณี การอนรุ กั ษว์ ฒั นธรรม
และภูมปิ ัญญา ของท้องถิ่น การสรา้ งความดี การแก้ปญั หาความขัดแยง้ กฎ กติกา ระเบียบใน
ชมุ ชน ความสำคญั ของกฎหมายรัฐธรรมนูญ รายรับ–รายจ่าย ผลประโยชน์ทผี่ ู้บรโิ ภคได้รับการตัดสินใจเลือก
อย่างเหมาะสม ระบบเศรษฐกิจพอเพียง อาชพี ในชุมชนการแลกเปลีย่ น สนิ ค้าและบริการความสำคัญของ
ธนาคาร ภาษีทเี่ ก่ียวข้องในชีวติ ประจำวัน องค์ประกอบทางกายภาพ ลักษณะ ความเก่ียวข้องแผนผัง แผนที่
ตำแหนง่ ระยะทิศทาง เครอ่ื งมอื ทางภมู ิศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติ การพง่ึ พาอาศยั กัน สิง่ แวดล้อมทาง
สังคม การอนรุ ักษ์ การใช้พลงั งาน การดแู ลรกั ษาสง่ิ แวดลอ้ ม การรูจ้ กั สงั เกตสง่ิ ต่างๆรอบตวั โดยใช้
กระบวนการปฏิบตั ิ กระบวนการคดิ วเิ คราะห์ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการเผชิญสถานการณ์และ
แกป้ ญั หา
เพอื่ ใหเ้ กดิ ความรู้ ความเข้าใจ สามารถนำไปปฏิบัตใิ นการดำเนนิ ชีวิต มีคุณธรรม จรยิ ธรรม มี
คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงคใ์ นดา้ นรักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ ซ่ือสัตย์ มีวินยั ใฝ่เรียนรู้ รกั ความเป็นไทย มีจิต
สาธารณะ สามารถดำเนินชีวติ อยา่ งสนั ตสิ ขุ ในสงั คมไทย และสังคมโลก สามารถนำความรไู้ ปใชใ้ ห้เกิด
ประโยชนโ์ ดยใช้หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและสามารถนำไปประยกุ ต์ใช้กบั ชวี ิตประจำวนั ได้อยา่ ง
ถกู ตอ้ งเหมาะสม
มาตรฐาน/ตวั ชี้วดั
ส ๑.๑ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓ , ป.๓/๔ , ป.๓/๕ , ป.๓/๖ , ป.๓/๗
ส ๑.๒ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓
ส ๒.๑ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓ , ป.๓/๔
ส ๒.๒ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓
ส ๓.๑ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓
ส ๓.๒ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓
ส ๕.๑ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓
ส ๕.๒ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓ , ป.๓/๔ , ป.๓/๕ , ป.๓/๖
รวม ๘ มาตรฐาน ๓๑ ตวั ช้ีวดั