The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ร่างหลักสูตร51ประถมศึกษาบ้านกุดน้ำใส(ปรับ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by smaendindaeng, 2022-09-07 22:24:44

ร่างหลักสูตร51ประถมศึกษาบ้านกุดน้ำใส(ปรับ

ร่างหลักสูตร51ประถมศึกษาบ้านกุดน้ำใส(ปรับ

คำอธิบายรายวชิ าพนื้ ฐาน กลมุ่ สาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและ
ส ๑๔๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนาฯ๔ เวลา ๘๐ ช่วั โมง
วฒั นธรรม
ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๔

คำอธิบายรายวิชา
สงั เกต ศกึ ษาคน้ ควา้ อภิปราย ซักถาม แสดงความคดิ เห็น รวบรวมข้อมลู สืบค้น ขอ้ มลู สรปุ ใจความสำคญั
เกย่ี วกับความสำคญั ทางศาสนา และศาสดาของศาสนาพทุ ธ คัมภีรท์ างศาสนาท่ตี นนับถือ หลกั ธรรมของ
ศาสนา การบริหารจิตและเจริญปญั ญา ชน่ื ชมการทำความดีของบคุ ลากรในสังคม แปลความหมายในคมั ภีร์
ศาสนาที่ตนนับถอื เสนอแนวทางการกระทำของตนเองและผอู้ ่ืนในฐานะพลเมืองดขี องสงั คม สิทธิเด็ก เพือ่
ป้องกนั ตวั เองและสงั คม เปรียบเทยี บความแตกต่างของวฒั นธรรมในท้องถน่ิ การยอมรับคณุ ค่าของกันและกนั
การรวมกลมุ่ ทง้ั ภาครฐั และเอกชน ช่ืนชมการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษัตรยิ เ์ ปน็ ประมขุ
การรวมกลมุ่ ภาครัฐและเอกชนเพือ่ พฒั นาท้องถนิ่ อำนาจอธปิ ไตย ปฏบิ ัติตามกฎหมายในชวี ิตประจำวนั
วิเคราะห์ ผ้ผู ลติ ผู้บริโภค วธิ กี ารของเศรษฐกจิ การหารายได้ การออม การลงทุน ผลผลิตทางดา้ นเศรษฐกิจ
การตลาด การธนาคาร สถาบนั การเงินอน่ื ๆ ภาษที ่ีเก่ยี วขอ้ งในชวี ติ ประจำวัน การพึง่ พา การแข่งขันทางด้าน
เศรษฐกิจ ปรากฏการณต์ ่าง ๆ แผนท่แี ละเครอื่ งมือทางภมู ิศาสตร์ ความแตกต่างของสง่ิ แวดลอ้ มทางธรรมชาติ
โดยใชก้ ระบวนการปฏบิ ัติ กระบวนการคดิ วิเคราะห์ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการเผชญิ สถานการณ์และ
แกป้ ัญหา

เพ่อื ให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถนำไปปฏิบัตใิ นการดำเนินชวี ิต มีคุณธรรม จริยธรรม มี
คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ในดา้ นรกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ซื่อสตั ย์ มีวนิ ยั ใฝเ่ รยี นรู้ รกั ความเปน็ ไทย มจี ิต
สาธารณะ สามารถดำเนนิ ชีวิตอย่างสันติสขุ ในสังคมไทย และสังคมโลก สามารถนำความรไู้ ปใช้ให้เกิด
ประโยชน์โดยใชห้ ลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถนำไปประยกุ ต์ใชก้ ับชวี ิตประจำวนั ไดอ้ ยา่ ง
ถกู ต้องเหมาะสม
มาตรฐาน/ตัวชี้วดั

ส ๑.๑ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓ , ป.๔/๔ , ป.๔/๕ , ป.๔/๖ , ป.๔/๗, ป.๔/๘
ส ๑.๒ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓
ส ๒.๑ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓ , ป.๔/๔ , ป.๔/๕
ส ๒.๒ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓
ส ๓.๑ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓
ส ๓.๒ ป.๔/๑ , ป.๔/๒
ส ๕.๑ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓
ส ๕.๒ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓
รวม ๘ มาตรฐาน ๓๐ ตัวช้ีวัด

คำอธิบายรายวิชาพน้ื ฐาน กลมุ่ สาระการเรียนร้สู งั คมศึกษา ศาสนาและ
ส ๑๕๑๐๑ สังคมศกึ ษา ศาสนาฯ๕ เวลา ๘๐ ชัว่ โมง
วัฒนธรรม
ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี ๕

คำอธิบายรายวชิ า
สงั เกต ศกึ ษาค้นคว้า วเิ คราะห์ อภปิ ราย สนทนาซักถาม แสดงความคิดเหน็ รวบรวมขอ้ มลู สบื คน้ ขอ้ มลู สรปุ
ใจความสำคญั เกี่ยวกบั เรื่องราวพ้ืนฐานเกย่ี วกับประวตั ิศาสตร์ความสำคญั ของศาสนา ศาสดา และคัมภรี ท์ าง
ศาสนาท่ีตนนบั ถอื หลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ เพอื่ เข้าใจในการพฒั นาตนและสงั คม ความหมาย การ
บรหิ ารจติ และเจริญปัญญา ชืน่ ชมการทำความดีของตนเองและบคุ คลในสงั คม และแนวปฏบิ ัติในการชน่ื
ชม การทำความดีของบคุ คลสำคญั กลมุ่ เพอ่ื น ประโยชนข์ องการบรหิ ารจติ และเจรญิ ปัญญาของศาสนาทีต่ น
นับถือ กระบวนการประชาธิปไตยในการทำงานรว่ มกนั ในครอบครัว โรงเรยี น ชมุ ชน การปฏบิ ตั ิตน ตามสิทธิ
หนา้ ท่ี เสรีภาพในฐานะพลเมอื งดขี องประเทศ การดำเนนิ ชีวติ ความแตกตา่ งของวฒั นธรรมในกลุ่มคนใน
ภูมภิ าค การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษัตริย์เป็นประมขุ โครงสรา้ งการปกครองประเทศ
ซึง่ มที งั้ สว่ นกลาง สว่ นภูมิภาค และส่วนทอ้ งถ่ิน เพ่ือเชื่อมโยงความสัมพนั ธ์ระหวา่ ง คนกับการปกครอง
ประเทศ ความสำคญั ในกฎหมายในชวี ติ ประจำวนั หนา้ ทข่ี องผูผ้ ลติ และผู้บรโิ ภค ความหมายของระบบสนิ เชื่อ
ผลดีผลเสยี ต่อภาวะ การเงนิ การเลอื กของผู้บรโิ ภค ผลกระทบตอ่ ทรพั ยากรทม่ี ีอยู่ ระบบสหกรณ์ การบริหาร
ทางดา้ นเศรษฐกิจ บทบาทการใช้เงินในท้องถ่ินการบริการตา่ งๆ ของธนาคารและสถาบนั การเงนิ ใน
ตา่ งประเทศ ผู้บริโภค ผู้ยืมและนักธุรกจิ การจัดหาแหลง่ รายไดข้ องรฐั ความเชย่ี วชาญ ชำนาญดา้ นจำนวน
ปริมาณสนิ ค้ารวมทัง้ ทผ่ี ลิตการซอื้ มาทางเศรษฐกจิ การใช้แผนท่ีในท้องถิน่ ต่างๆ ลกั ษณะความแตกตา่ ง
ผลกระทบของสง่ิ แวดลอ้ มทางสงั คม วัฒนธรรม วถิ ีชวี ิตในภูมภิ าคต่าง ๆ ของไทยกับส่งิ แวดลอ้ มทาง
ธรรมชาติ ผลกระทบจากการกระทำของมนุษย์ที่มีต่อสง่ิ แวดล้อม การอนุรักษ์ทรพั ยากรธรรมชาติ และ
รักษาสมดลุ ในระบบนเิ วศน์ โดยใชก้ ระบวนการปฏิบัติ กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการกลุ่ม
กระบวนการเผชิญสถานการณ์และแกป้ ัญหา

เพ่อื ใหเ้ กดิ ความรู้ ความเข้าใจ สามารถนำไปปฏิบัตใิ นการดำเนินชีวติ มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม มี
คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ในดา้ นรักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ ซื่อสตั ย์ มีวินยั ใฝ่เรียนรู้ รกั ความเป็นไทย มจี ติ
สาธารณะ สามารถดำเนินชีวติ อย่างสนั ตสิ ุขในสังคมไทย และสังคมโลก สามารถนำความรไู้ ปใช้ให้เกดิ
ประโยชนโ์ ดยใชห้ ลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและสามารถนำไปประยกุ ตใ์ ช้กับชวี ติ ประจำวันได้อย่าง
ถูกต้องเหมาะสม

มาตรฐาน/ตัวชี้วดั
ส ๑.๑ ป.๕/๑ , ป.๕/๒ , ป.๕/๓ , ป.๕/๔ , ป.๕/๕ , ป.๕/๖ , ป.๕/๗
ส ๑.๒ ป.๕/๑ , ป.๕/๒ , ป.๕/๓

ส ๒.๑ ป.๕/๑ , ป.๕/๒ , ป.๕/๓ , ป. ๕/๔
ส ๒.๒ ป.๕/๑ , ป.๕/๒ , ป.๕/๓
ส.๓.๑ ป.๕/๑ , ป.๕/๒ , ป.๕/๓
ส ๓.๒ ป.๕/๑ , ป.๕/๒
ส ๕.๑ ป.๕/๑ , ป.๕/๒ , ป.๕/๓
ส ๕.๒ ป.๕/๑ , ป.๕/๒ , ป.๕/๓
รวม ๘ มาตรฐาน ๒๘ ตัวช้วี ัด

คำอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน

ส ๑๖๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนาฯ๖ กลมุ่ สาระการเรียนร้สู ังคมศกึ ษา ศาสนาและ

วฒั นธรรม

ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๖ เวลา ๘๐ ชั่วโมง

คำอธิบายรายวชิ า

สงั เกต ศึกษาคน้ คว้า วิเคราะห์ อภิปราย สนทนา ซักถาม แสดงความคดิ เห็น รวบรวมขอ้ มูลสืบค้น ข้อมูล

ความสำคัญหลักธรรมพระรตั นตรัย ไตรสกิ ขา หลักธรรมโอวาท ๓ การทำความดีของบคุ คลในประเทศ การ

สวดมนต์ แผ่เมตตาของศาสนาทต่ี นนับถือ สรปุ ใจความสำคญั เก่ยี วกับพทุ ธประวัตติ งั้ แต่ปลงอายุสงั ขารจนถึง

สังเวชนียสถาน ประวัติศาสดา ขอ้ คดิ จากประวตั สิ าวก ชาดก เรอื่ งเล่า ศาสนิกชนตวั อยา่ ง ศาสนพธิ ี สถานท่ี

ในศาสนสถาน ศาสนิกชนที่ดี ประโยชน์ของการเข้ารว่ มในศาสนพธิ ี พธิ ีกรรม กจิ กรรมในวนั สำคัญทางศาสนา

การบรหิ ารจิตและเจริญปัญญาวนั สำคญั ทางศาสนา การกระทำท่ีแสดงถงึ คุณลักษณะของการเปน็ พลเมืองดี

ในสังคมประชาธิปไตย สทิ ธิเดก็ ที่พึงได้รับการคุ้มครองตามสิทธมิ นษุ ยชน บทบาทหนา้ ทค่ี วามรบั ผิดชอบของ

ตนเอง บรรทดั ฐานทางสังคมและวฒั นธรรม สญั ลกั ษณ์ เอกลักษณ์ ค่านิยม ประเพณี วฒั นธรรมในท้องถ่ิน

อำนาจอธปิ ไตยและการมีสว่ นร่วมในการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย กฎหมายในชวี ิตประจำวนั การ

เลอื กใช้ทรพั ยากรทมี่ ีผลกระทบ ต่อสงิ่ แวดล้อม การเพม่ิ รายไดเ้ งนิ ออมจากการลงทุน สิทธิและการคุ้มครอง

ผ้บู รโิ ภค เศรษฐกจิ พอเพียง ระบบสหกรณ์ การบริหาร ด้านการผลติ และการพ่งึ พาทางเศรษฐกจิ บทบาท

การใช้เงนิ และการบรกิ ารด้านการเงนิ ต่างประเทศ การจัดเกบ็ ภาษี การกู้ยมื เงนิ จากต่างประเทศ แผนทีช่ นดิ

ต่างๆ การกระทำทีส่ ่งผลดแี ละผลเสยี ตอ่ สง่ิ แวดล้อมทางสงั คม วฒั นธรรม รวมทง้ั ผลกระทบจากการท่มี นุษย์

เปลยี่ นแปลงสิ่งแวดล้อมในด้านบวกและด้านลบ การกระทำที่มสี ่วนชว่ ยแกป้ ญั หา และเสรมิ สภาพแวดล้อมใน

ทอ้ งถิน่ โดยใช้กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการกลมุ่ กระบวนการเผชิญ

สถานการณแ์ ละแกป้ ญั หา

เพอ่ื ให้เกดิ ความรู้ ความเข้าใจ สามารถนำไปปฏบิ ัตใิ นการดำเนินชวี ติ มีคุณธรรม จรยิ ธรรม มี

คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านรกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ซือ่ สัตย์ มีวินยั ใฝเ่ รยี นรู้ รกั ความเป็นไทย มจี ิต

สาธารณะ สามารถดำเนินชวี ติ อยา่ งสนั ติสุขในสังคมไทย และสังคมโลก สามารถนำความรไู้ ปใชใ้ ห้เกดิ

ประโยชน์โดยใช้หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและสามารถนำไปประยกุ ต์ใช้กบั ชีวติ ประจำวนั ได้อยา่ ง
ถูกต้องเหมาะสม

มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด
ส ๑.๑ ป.๖/๑ , ป.๖/๒ , ป.๖/๓ , ป.๖/๔ , ป.๖/๕ , ป.๖/๖ , ป.๖/๗ , ป.๖/๘ , ป.๖/๙

ส ๑.๒ ป.๖/๑ , ป.๖/๒ , ป.๖/๓ , ป.๖/๔
ส ๒.๑ ป.๖/๑ , ป.๖/๒ , ป.๖/๓ , ป.๖/๔ , ป.๖/๕
ส ๒.๒ ป.๖/๑ , ป.๖/๒ , ป.๖/๓
ส ๓.๑ ป.๖/๑ , ป.๖/๒ , ป.๖/๓
ส ๓.๒ ป.๖/๑ , ป.๖/๒
ส ๕.๑ ป.๖/๑ , ป.๖/๒
ส ๕.๒ ป.๖/๑ , ป.๖/๒ , ป.๖/๓
รวม ๘ มาตรฐาน ๓๑ ตัวช้ีวัด

คำอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน กล่มุ สาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษา ศาสนาและ
ส ๑๑๑๐๒ ประวัติศาสตร์๑ เวลา ๔๐ ชวั่ โมง
วฒั นธรรม
ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๑

คำอธิบายรายวชิ า
ศึกษาและใช้ปฏทิ นิ ในการบอกวัน เดือน ปี ทีใ่ ช้ในชีวิตประจำวนั ซ่งึ มที ้งั ระบบสุรยิ คตแิ ละจันทรคติ คำทแ่ี สดง
ชว่ งเวลาเพอื่ ใชเ้ ลา่ เหตกุ ารณ์ปจั จุบนั วนั น้ี เดือนน้ี ตอนเชา้ ตอนกลางวัน ตอนเยน็ ตอนค่ำ และเรียงลำดบั
เหตกุ ารณ์ในชีวิตประจำวนั ตามวันเวลาทเี่ กิดขน้ึ โดยใชท้ กั ษะการสงั เกต การบอกเล่า การเชอื่ มโยง เพ่ือให้
สามารถใช้เวลาตามปฏิทินแสดงเหตุการณใ์ นปจั จุบันและใชค้ ำแสดงชว่ งเวลาเรยี งลำดับเหตกุ ารณ์ที่เกิดข้นึ ได้

รวู้ ธิ สี บื ค้นประวัติความเปน็ มาของตนเองและครอบครวั อย่างงา่ ยๆโดยสอบถามผ้เู กีย่ วข้องและการ
บอกเลา่ เรอ่ื งราวทสี่ ืบค้นได้ โดยใชท้ ักษะการสอบถาม การรวบรวมขอ้ มูล การสรุปความ การเลา่ เรื่อง เพ่อื ฝึก
ทกั ษะพ้นื ฐานของวิธีการทางประวัตศิ าสตร์ในการสืบคน้ เร่อื งราวจากแหลง่ ข้อมูล(เช่นบุคคล)และบอกเลา่
ขอ้ เทจ็ จรงิ ทีค่ น้ พบไดอ้ ย่างน่าสนใจ

ศกึ ษาการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอ้ มส่ิงของเครอื่ งใช้หรอื การดำเนนิ ชวี ิตของตนเองในสมยั
ปัจจุบัน กบั สมัยของพ่อแม่ ปู่ยา่ ตายายทีเ่ ปน็ รูปธรรมและใกล้ตวั ผ้เู รยี น เตารีด (การรดี ผา้ ด้วยเตาถ่านกบั เตา
ไฟฟ้า) หมอ้ หงุ ขา้ ว (การหงุ ข้าวทีเ่ ช็ดนำ้ ด้วยฟนื หรือถา่ นกบั หม้อหงุ ขา้ วไฟฟ้า) เกวียนกับรถยนต์ (การเดินทาง)
ถนน บา้ นเรอื น การใช้ควายไถนากับรถไถนา รวมทง้ั เหตุการณ์สำคญั ของครอบครวั ท่ีเกิดขึ้นในอดตี ที่มี
ผลกระทบตอ่ ตนเองในปัจจุบัน ( การย้ายบ้าน การย้ายโรงเรียน การเลือ่ นชั้นเรยี น การไดร้ ับรางวลั การ

สญู เสยี บุคคลสำคัญของครอบครัว) โดยใชท้ ักษะการสังเกต การใช้เหตุผล การเปรียบเทียบ การแยกแยะ การ
ยกตวั อยา่ ง และการบอกเลา่ เพอ่ื ใหเ้ ข้าใจการเปล่ียนแปลงตามกาลเวลาและความสำคัญของอดีตท่ีมตี ่อ
ปจั จบุ ันและอนาคต สามารถปรบั ตัวใหเ้ ขา้ กับวิถชี ีวิตปจั จบุ นั ไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ

ศกึ ษาความหมายและความสำคญั ของสญั ลกั ษณข์ องชาตไิ ทย ได้แก่ ธงชาติ เพลงชาติ เพลงสรรเสริญ
พระบารมี ภาษาไทย อักษรไทย มารยาทไทย อาหารไทย การแต่งกายแบบไทย วฒั นธรรมและ
ขนบธรรมเนียมประเพณีไทย และการปฏบิ ัตติ นไดถ้ ูกตอ้ งตามกาลเทศะ รวมท้ังรจู้ กั สถานท่สี ำคญั ซง่ึ เปน็ แหลง่
วัฒนธรรมในชมุ ชน ศาสนสถาน ตลาด พพิ ิธภัณฑ์ และสิง่ ท่ีเป็นความภาคภมู ใิ จในทอ้ งถ่ิน ท่ีใกล้ตัวผู้เรยี นและ
เหน็ เปน็ รูปธรรม โดยใช้ทักษะการสงั เกต การแสดงความคดิ เหน็ อย่างมีเหตุผล การอธบิ าย การปฏิบัติตนอยา่ ง
ถกู ต้อง เพือ่ กอ่ ให้เกิดความรกั และความภาคภูมิใจในความเปน็ ไทย ทอ้ งถิน่ และประเทศชาติ ภมู ิใจในสถาบัน
ชาติ ศาสนา และพระมหากษตั รยิ ์ ตระหนกั และเห็นคุณคา่ ท่จี ะธำรงรักษาและสืบทอดตอ่ ไป

มาตรฐานการเรียนร้/ู ระดับชั้น/ตัวชี้วัด
ส ๔.๑ ป ๑/๑ , ป ๑/๒ , ป ๑/๓
ส ๔.๒ ป ๑/๑ , ป ๑/๒
ส ๔.๓ ป ๑/๑ , ป ๑/๒ , ป ๑/๓
รวม ๓ มาตรฐาน ๘ ตัวชีว้ ัด

คำอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน กลุ่มสาระการเรยี นร้สู งั คมศกึ ษา ศาสนาและ
ส ๑๒๑๐๒ ประวัติศาสตร์๒ เวลา ๔๐ ชว่ั โมง
วฒั นธรรม
ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๒

คำอธบิ ายรายวชิ า
รู้จักวนั เวลาตามระบบสุรยิ คติและจนั ทรคตทิ ี่ปรากฏในปฏิทินที่แสดงเหตกุ ารณ์สำคัญในอดีตและปัจจุบัน
รวมทงั้ การใช้คำท่ีแสดงช่วงเวลาในอดตี ปัจจุบนั และอนาคต วนั น้ี เม่อื วานนี้ พรงุ่ น,ี้ เดือนน้ี เดอื นกอ่ น
เดอื นหนา้ , ปีน้ี ปกี อ่ น ปหี น้า ในการอธิบายเหตกุ ารณ์ทเ่ี กิดขึ้น โดยใช้ทักษะการสังเกต การสอบถาม เชือ่ มโยง
เรยี งลำดับ การเลา่ เรือ่ ง การรวบรวมขอ้ มูล การอธิบาย เพอื่ ให้สามารถใช้วันเวลาเรยี งลำดับเหตุการณ์
สำคญั ได้ถูกต้อง ว่าเหตกุ ารณใ์ ดเกดิ ก่อน เหตกุ ารณ์ใดเกดิ หลงั
รวู้ ิธีสืบค้นเหตุการณ์ท่ีเกิดขนึ้ ในครอบครัวโดยใชห้ ลกั ฐานที่เกย่ี วขอ้ ง ไดแ้ ก่ ภาพถา่ ย สูตบิ ัตร ทะเบียนบา้ น
เคร่อื งมือเครอื่ งใช้ มาอธิบายเรือ่ งราวต่าง ๆ และวธิ ีสบื ค้นขอ้ มูลในชมุ ชนอยา่ งง่าย ๆ ในเร่ืองเก่ยี วกับการ
เปลยี่ นแปลงในวถิ ีชีวิตของคนในชมุ ชนในดา้ นต่างๆ จากอดีตถงึ ปัจจบุ นั ทางด้านการประกอบอาชีพ การแตง่
กาย การส่อื สาร ขนบธรรมเนยี มประเพณใี นชมุ ชน เข้าใจสาเหตุและผลกระทบของการเปล่ียนแปลงทีม่ ตี ่อ
วิถีชีวติ ของคนในชมุ ชน สามารถเรียงลำดบั เหตกุ ารณท์ ีส่ ืบคน้ ได้โดยใช้เส้นเวลา ฝึกทกั ษะการสอบถาม การ

สงั เกต การวิเคราะห์ การอธิบายอย่างมีเหตุมีผล ทำผังความคดิ และการจดั นิทรรศการ เพอ่ื ให้เข้าใจวธิ กี าร
ทางประวัติศาสตร์ใน เรอื่ งเกยี่ วกับการใชห้ ลักฐานทางประวัติศาสตร์สืบค้นเร่อื งราวในอดีต และเขา้ ใจการ
เปลยี่ นแปลงที่เกดิ ขึ้นตามกาลเวลา อยา่ งต่อเนอ่ื ง มคี วามเขา้ ใจชมุ ชนทมี่ คี วามแตกตา่ งและสามารถปรับตัว
อย่ใู นชวี ติ ประจำวันไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
ศกึ ษา สืบคน้ ประวตั แิ ละผลงานของบุคคลทที่ ำประโยชน์ตอ่ ท้องถน่ิ หรือประเทศชาติ ในด้านการสรา้ งสรรค์
วฒั นธรรม /การสรา้ งความเจรญิ รุง่ เรอื งและความม่ันคงโดยสังเขป รวมทงั้ วัฒนธรรมไทย ประเพณไี ทย และ
ภมู ปิ ญั ญาไทยท่ีภาคภมู ิใจและควรอนรุ ักษ์ไว้ การทำความเคารพแบบไทย ประเพณีไทย ศิลปะไทย ดนตรี
ไทย โดยใช้ทกั ษะการสบื คน้ การสงั เกต การอา่ น การรวบรวมข้อมูล การวเิ คราะห์ การใช้เหตุผล การอธบิ าย
และการนำเสนอ เพ่ือให้เห็นคณุ ค่าและแบบอยา่ งการกระทำความดขี องบรรพบรุ ุษท่ีได้สรา้ งประโยชน์ให้
ทอ้ งถิ่นและประเทศ เกิดความรัก และความภาคภมู ใิ จในความเป็นไทย วัฒนธรรมไทย ภูมิปัญญาไทย และ
ธำรงความเปน็ ไทย

มาตรฐานการเรียนรู้/ระดับช้นั /ตัวชี้วัด
ส ๔.๑ ป ๒/๑ , ป ๒/๒
ส ๔.๒ ป ๒/๑ , ป ๒/๒
ส ๔.๓ ป ๒/๑ , ป ๒/๒

รวม ๓ มาตรฐาน ๖ ตัวช้วี ัด

คำอธบิ ายรายวิชาพนื้ ฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและ
ส ๑๓๑๐๒ ประวัติศาสตร์๓ เวลา ๔๐ ชวั่ โมง
วฒั นธรรม
ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๓

คำอธิบายรายวิชา
ศกึ ษาความหมายและท่มี าของศักราชท่ีปรากฏในปฏทิ นิ ไดแ้ ก่ พุทธศักราช ครสิ ต์ศักราช
(ถ้าเป็นชาวมุสลิม ใหศ้ กึ ษาฮิจเราะห์ศักราชด้วย) วธิ กี ารเทียบคริสต์ศกั ราชกบั พุทธศกั ราช และใช้ศกั ราชใน
การบนั ทกึ เหตุการณ์สำคัญทีเ่ ก่ียวขอ้ งกบั ตนเองและครอบครวั ปเี กิดของผ้เู รยี น เหตกุ ารณ์สำคัญของตนเอง
และครอบครัว โดยใช้ทกั ษะการเปรียบเทียบ การคำนวณ การเช่อื มโยง การอธิบาย เพ่ือใหม้ พี ้ืนฐานใน
การศึกษาเอกสารท่ีแสดงเหตุการณ์ตามกาลเวลา สามารถเรียง ลำดับเหตุการณไ์ ดถ้ กู ต้อง วา่ เหตุการณใ์ ดเกิด
ก่อน เหตกุ ารณใ์ ดเกดิ หลังอนั เปน็ ทักษะท่จี ำเปน็ ในการศกึ ษาประวตั ิศาสตร์
ร้วู ธิ ีสบื คน้ เหตกุ ารณ์สำคัญของโรงเรียนและชมุ ชนโดยใช้หลักฐานและแหล่งขอ้ มลู ที่เกีย่ วข้อง รปู ภาพ แผนผัง
โรงเรียน แผนทีช่ มุ ชน ห้องสมุดโรงเรียน แหลง่ โบราณคดี – ประวัติศาสตรใ์ นทอ้ งถน่ิ สามารถใชเ้ สน้ เวลา
(Timeline) ลำดับเหตุการณท์ ี่เกิดขนึ้ ในโรงเรยี นและชมุ ชน โดยใช้ทกั ษะการสำรวจ การสงั เกต การ
สอบถาม การอ่าน การฟัง การเล่าเร่ือง การสรุปความ เพอ่ื ฝึกทักษะพ้ืนฐานของวิธีการทางประวัติศาสตร์
ในการสืบคน้ เร่อื งราวรอบตัวอยา่ งงา่ ย ๆ โดยการใชห้ ลกั ฐานและแหล่งขอ้ มูลทเ่ี ก่ียวข้อง สามารถนำเสนอ
เรอ่ื งราวที่คน้ พบไดต้ ามลำดับเวลา
ศึกษาปัจจัยท่ีมอี ทิ ธพิ ลตอ่ การตง้ั ถน่ิ ฐานและพฒั นาการของชุมชน ปัจจัยท่ที ำใหเ้ กิดวัฒนธรรมและประเพณใี น
ชุมชน ซ่งึ ประกอบด้วย ปัจจยั ทางภมู ิศาสตร์( ภูมิประเทศ ภมู ิอากาศ ทรพั ยากร) และปัจจัยทางสังคม (ความ
เจรญิ ทางเทคโนโลยี เชอื้ ชาติ ศาสนา ความเชื่อ การคมนาคม ความปลอดภัย ) ศึกษาและเปรียบเทียบความ
เหมือนและความแตกต่าง ของขนบธรรมเนียมประเพณีและวฒั นธรรมของชมุ ชนตนเอง และชุมชนใกลเ้ คยี ง
ในเรอื่ งความเชอ่ื และการนบั ถือศาสนา อาหาร ภาษาถิ่น การแต่งกาย โดยใชท้ กั ษะการอา่ น การสอบถาม การ
สงั เกต การสำรวจ การฟงั การสรปุ ความ เพ่อื ใหเ้ กดิ ความเข้าใจและภมู ใิ จในชมุ ชนของตนเอง ยอมรับความ
แตกตา่ งทางวฒั นธรรม เขา้ ใจพัฒนาการของชุมชน สามารถดำเนินชวี ติ อยรู่ ว่ มกันในสังคมได้อย่างสันติสขุ ร่วม
อนรุ กั ษ์สืบสานขนบธรรมเนยี มประเพณี และวัฒนธรรมไทย
ศึกษาพระราชประวตั แิ ละพระราชกรณยี กจิ โดยสังเขปของพระมหากษัตริยผ์ ้สู ถาปนาอาณาจกั รสุโขทยั
อยุธยา ธนบุรี และรตั นโกสินทร์ ตามลำดับ ได้แก่ พ่อขุนศรีอินทราทิตย์ สมเดจ็ พระรามาธบิ ดที ี่ ๑ (พระเจ้าอู่
ทอง) สมเดจ็ พระเจ้าตากสินมหาราช และพระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ศกึ ษาพระราช
ประวัติและพระราชกรณยี กิจของพระบาทสมเด็จพระเจ้าหวั อย่ภู ูมิพลอดลุ ยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าสริ กิ ิต์ิ
พระบรมราชินนี าถโดยสังเขป และศึกษาวรี กรรมของบรรพบรุ ษุ ไทยท่ีมีสว่ นปกปอ้ งประเทศชาติ ได้แก่ สมเด็จ
พระนเรศวรมหาราช ท้าวเทพกระษตั รี – ทา้ วศรีสนุ ทร ชาวบ้านบางระจนั พระยาพิชยั ดาบหกั ทา้ วสุรนารี

เปน็ ต้น โดยใช้ทกั ษะการอ่าน และสอบถาม การฟงั การสรปุ ความ การเขียน การเลา่ เร่ือง เพอื่ ให้เข้าใจความ
เป็นมาของชาตไิ ทย เกิดความรัก ความภมู ใิ จและเหน็ แบบอย่างการเสียสละเพอ่ื ชาติ และธำรงความเปน็ ไทย

มาตรฐานการเรียนร/ู้ ระดับชนั้ /ตวั ช้ีวัด
ส ๔.๑ ป ๓/๑, ป ๓/๒, ป ๓/๓
ส ๔.๒ ป ๓/๑, ป ๓/๒

ส ๔.๓ ป ๓/๑, ป ๓/๒, ป ๓/๓ รวม ๓ มาตรฐาน ๘ ตัวชว้ี ัด

คำอธิบายรายวชิ าพน้ื ฐาน กลุ่มสาระการเรียนรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและ
ส ๑๔๑๐๒ ประวัติศาสตร์๔ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง
วฒั นธรรม
ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๔

คำอธบิ ายรายวชิ า
ศกึ ษาความหมาย วธิ กี ารนบั และการใช้ชว่ งเวลาเปน็ ทศวรรษ ศตวรรษ และสหสั วรรษ เกณฑ์การแบง่ ยคุ
สมัยในทางประวัติศาสตร์ของมนุษยชาตทิ แ่ี บง่ เป็นสมยั กอ่ นประวัติศาสตรแ์ ละสมัยประวัติศาสตร์ รวมท้ังช่วง
สมยั ในการศึกษาประวตั ิศาสตร์ไทย สมัยกอ่ นสโุ ขทัย สมยั สโุ ขทยั สมัยอยธุ ยา สมยั ธนบุรี และสมยั
รัตนโกสินทร์ ตวั อย่างการใชช้ ่วงเวลาในเอกสารต่าง ๆ โดยใชท้ กั ษะการอ่าน การสำรวจ การวเิ คราะห์
การคำนวณ เพือ่ ให้ใช้ชว่ งเวลาในการบอกเล่าเรือ่ งราวได้ถูกต้อง และเขา้ ใจเหตุการณ์ทีเ่ กดิ ขนึ้ ตามช่วงเวลาที่
ปรากฏในเอกสารทางประวตั ิศาสตร์
ศกึ ษาลักษณะสำคญั และเกณฑ์การจำแนกหลักฐานทางประวตั ิศาสตรท์ ี่ใช้ในการศึกษาความเปน็ มาของ
ท้องถิ่น อย่างงา่ ย ๆ ตัวอย่างของหลกั ฐานทพี่ บในทอ้ งถิน่ ทั้ง หลักฐานชัน้ ต้นกบั ชั้นรอง หลักฐานท่ีเปน็ ลาย
ลกั ษณ์อักษร กับไม่เปน็ ลายลักษณ์อักษร โดยใช้ทักษะการสำรวจ การวเิ คราะห์ การตรวจสอบข้อมลู การ
จำแนก การตีความ เพอ่ื ฝึกทกั ษะการสบื ค้นขอ้ มูลด้วยวิธกี ารทางประวัตศิ าสตร์
ใชห้ ลักฐานทางประวตั ิศาสตรใ์ นการศึกษาปัจจยั การตง้ั ถน่ิ ฐานและพฒั นาการของมนษุ ยชาตใิ นสมัยกอ่ น
ประวัติศาสตร์ และสมยั ประวตั ิศาสตร์ในดินแดนไทยโดยสังเขป การก่อตัง้ อาณาจักรโบราณในดินแดนไทย
ได้แก่ ทวารวดี ศรีวิชัย ตามพรลงิ ค์ เปน็ ตน้ โดยใช้ทกั ษะการสำรวจ การวเิ คราะห์ การตคี วาม การสรปุ ความ
เพื่อใหเ้ ขา้ ใจพัฒนาการของมนษุ ยชาติทมี่ ีการเปล่ียนแปลงอย่างตอ่ เนื่องจากอดตี จนถึงปจั จุบนั
ศกึ ษาประวตั ศิ าสตรเ์ ป็นมาของชาติไทยในสมัยสุโขทยั โดยสงั เขป ในเรื่องเกี่ยวกับการสถาปนาอาณาจักร
พฒั นาการทางการเมืองการปกครอง เศรษฐกจิ ประวตั ิและผลงานของบคุ คลสำคญั ได้แก่ พอ่ ขุนศรอี ินทรา
ทติ ย์ พอ่ ขนุ รามคำแหงมหาราช พระมหาธรรมราชาที่ ๑ (พระยาลิไทย) และภูมิปัญญาไทยในสมยั สุโขทัยที่น่า
ภาคภูมิใจ ซงึ่ เปน็ ผลให้อทุ ยานประวตั ิศาสตรใ์ นสุโขทัยและศรีสัชนาลัยไดร้ ับการยกย่องเปน็ มรดกโลก โดยใช้
ทกั ษะการอ่าน การสำรวจ การสบื ค้น การวเิ คราะห์การตีความ เพ่อื เขา้ ใจความเปน็ มาของชาตไิ ทยในสมัย
สุโขทยั รวมทงั้ วฒั นธรรมไทย ภูมปิ ญั ญาไทย และบคุ คลสำคญั ในสมัยสุโขทยั เกดิ ความรักและความภูมใิ จ
ในความเปน็ ไทย ตระหนกั ถงึ ความพากเพียรพยายามของบรรพบรุ ษุ ไทยทไ่ี ด้ปกปอ้ ง และสร้างสรรค์ความ
เจริญให้บ้านเมือง ตกทอดเป็นมรดกทางวฒั นธรรมสืบตอ่ ถงึ ปจั จุบัน
มาตรฐานการเรียนร/ู้ ระดับช้นั /ตวั ช้วี ัด
ส ๔.๑ ป ๔/๑, ป ๔/๒, ป ๔/๓
ส ๔.๒ ป ๔/๑, ป ๔/๒
ส ๔.๓ ป ๔/๑, ป ๔/๒, ป ๔/๓
รวม ๓ มาตรฐาน ๘ ตัวช้ีวัด

คำอธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน กลมุ่ สาระการเรียนร้สู ังคมศึกษา ศาสนาและ
ส ๑๕๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์๕ เวลา ๔๐ ชวั่ โมง
วัฒนธรรม
ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ ๕

สบื ค้นความเป็นมาของทอ้ งถนิ่ โดยใช้หลักฐานหลากหลาย ด้วยการต้ังประเด็นคำถามทางประวัติศาสตร์ท่ี
เกี่ยวขอ้ งกับท้องถนิ่ ความเปน็ มาของช่ือหมบู่ ้าน ชื่อตำบล ชอื่ ถนน ความเปน็ มาของสถานท่ีสำคัญ ความ
เปน็ มาของขนบธรรมเนยี มประเพณีในทอ้ งถิน่ รจู้ กั แหล่งขอ้ มูลหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ทอ่ี ยู่ในทอ้ งถ่นิ
สามารถรวบรวมข้อมูลจากหลกั ฐานท่เี กีย่ วข้อง รู้จกั วิเคราะห์ตรวจสอบขอ้ มลู อยา่ งง่ายๆ เข้าใจความ
แตกต่างระหวา่ งความจรงิ กับข้อเทจ็ จรงิ ท่ีปรากฏในขอ้ มลู จากหลักฐานต่าง ๆ แยกแยะความคิดเหน็ กับ
ขอ้ เทจ็ จริงทอ่ี ย่ใู นข้อมลู ได้ โดยใช้ทกั ษะการสงั เกต การสอบถาม การสำรวจ การเปรยี บเทยี บ การ
วิเคราะห์ การเช่ือมโยง และการสังเคราะหอ์ ยา่ งง่าย ๆ เพ่ือฝึกฝนทกั ษะวธิ กี ารทางประวัตศิ าสตรว์ ิเคราะห์
เหตกุ ารณท์ ี่เกิดขึ้นในทอ้ งถิน่ อย่างเปน็ ระบบ สามารถใชข้ ้อมูลขา่ วสารไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ
ศึกษาการเขา้ มาและอทิ ธิพลของอารยธรรมอินเดยี และจนี ในดินแดนไทยและภมู ภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียง
ใต้โดยสงั เขป ได้แก่ การปกครอง การนับถือศาสนา ความเช่ือ วัฒนธรรม ประเพณี ภาษา อาหาร และ
การแตง่ กาย ศกึ ษาอิทธิพลของวฒั นธรรมต่างชาติ ท้ังตะวนั ตกและตะวันออกทม่ี ตี ่อสงั คมไทยในปจั จุบนั
โดยสังเขป โดยใช้ทกั ษะการอ่าน การสืบค้นขอ้ มูล การสงั เกต การเปรียบเทียบ การวิเคราะห์ การ
เชอ่ื มโยง เพ่อื ให้เกิดความเข้าใจในวัฒนธรรมไทยในสังคมปัจจุบัน และวัฒนธรรมของประเทศเพื่อนบ้านใน
ภูมิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใตท้ ่มี ที ้งั ความคลา้ ยคลึงและความแตกต่าง เพอ่ื ให้เกดิ การยอมรบั ในความ
แตกต่างทางวฒั นธรรมและอย่รู ว่ มกันได้อย่างสันติสุข
ศึกษาพัฒนาการของอาณาจักรอยุธยา และธนบรุ ี ในเรือ่ งเก่ยี วกบั การสถาปนาอาณาจักร ปจั จยั ที่ส่งเสริม
ความเจรญิ รงุ่ เรอื งทางเศรษฐกิจและการปกครอง พฒั นาการทางการเมอื งการปกครอง และเศรษฐกจิ
โดยสงั เขป ประวตั แิ ละผลงานบุคคลสำคัญในสมัยอยธุ ยาและธนบรุ ี ไดแ้ ก่ สมเด็จพระรามาธบิ ดีท่ี ๑ สมเด็จ
พระบรมไตรโลกนาถ สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช สมเด็จพระนารายณ์มหาราช ชาวบ้านบางระจัน สมเดจ็
พระเจา้ ตากสินมหาราช และภูมิปัญญาไทยในสมัยอยธุ ยา และธนบุรี ทน่ี า่ ภาคภูมิใจ ควรคา่ แก่การอนุรักษ์ไว้
ซงึ่ เป็นผลให้พระนครศรีอยธุ ยาไดร้ ับการยกยอ่ งเปน็ มรดกโลก ไดแ้ ก่ ทางด้าน ศิลปกรรม วรรณกรรม และ
การค้า โดยใช้ทักษะการอา่ น การสืบค้นขอ้ มูล การเชื่อมโยง การวเิ คราะห์ การอธิบาย การสรุปความ การ
เรียงความ เพ่ือใหเ้ กดิ ความรกั และภาคภูมิใจในความเป็นชาติไทย ตระหนักและเหน็ ความสำคัญที่จะธำรง
รกั ษาความเป็นไทยสืบต่อไป

มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ระดับชนั้ /ตวั ชวี้ ัด
ส ๔.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓

ส ๔.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒
ส ๔.๓ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป ๕/๓, ป.๕/๔
รวม ๓ มาตรฐาน ๙ ตัวชีว้ ัด

คำอธบิ ายรายวิชาพนื้ ฐาน กลมุ่ สาระการเรยี นรูส้ ังคมศึกษา ศาสนาและ
ส ๑๖๑๐๒ ประวัติศาสตร์๖ เวลา ๔๐ ชว่ั โมง
วฒั นธรรม
ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี ๖

คำอธิบายรายวิชา
ศึกษาความหมายและความสำคญั ของวิธีการทางประวตั ศิ าสตร์อย่างงา่ ย ๆ และใชว้ ิธีการทาง

ประวตั ิศาสตร์ในการศึกษาเร่ืองราว หรอื เหตุการณ์สำคญั ตามลำดับขัน้ ตอนอย่างเปน็ ระบบ ได้แก่ การต้ัง
ประเดน็ ศกึ ษาเรอ่ื งราวทตี่ นสนใจ การสำรวจแหลง่ ขอ้ มูลท่ีเกย่ี วขอ้ ง การรวบรวมข้อมลู จากหลักฐานท่ี
หลากหลาย การวเิ คราะหค์ วามน่าเช่ือถอื ของข้อมูล การตีความ การเรยี บเรยี งและนำเสนอความรทู้ ่ีคน้ พบ
ได้อย่างนา่ สนใจ โดยใชท้ ักษะ การสำรวจ การอา่ น การเปรยี บเทียบ การวเิ คราะห์ การสังเคราะห์ การ
อธิบาย การสรปุ ความ การเขยี นเรียงความ การจัดทำโครงงานและการจัดนทิ รรศการ เพื่อฝกึ ทักษะการ
สืบค้นเหตกุ ารณส์ ำคญั ด้วยวิธกี ารทางประวตั ศิ าสตร์
ศกึ ษาสภาพสงั คม เศรษฐกจิ การเมืองของประเทศเพ่ือนบา้ นในปัจจุบันโดยสังเขป เชอ่ื มโยง และ
เปรียบเทียบกบั ประเทศไทย ศึกษาความเป็นมา และความสัมพนั ธ์ของกลุ่มอาเซยี นโดยสังเขป โดยใชท้ ักษะ
การอา่ น การสำรวจ การเปรียบเทยี บ การวิเคราะห์ เพอื่ ให้เขา้ ใจพัฒนาการของประเทศเพื่อนบา้ นทม่ี ี
ความสมั พันธก์ บั ประเทศไทย เกิดความเข้าใจอันดรี ะหว่างประเทศ ยอมรับความแตกต่างทางวัฒนธรรม
และอยรู่ ่วมกันได้อยา่ งสนั ตสิ ุข
ศึกษาประวตั ศิ าสตรค์ วามเป็นมาของชาตไิ ทยในสมัยรตั นโกสนิ ทร์ ในเรอ่ื งเก่ยี วกบั การสถาปนาอาณาจักร
ปัจจัยที่สง่ เสรมิ ความเจรญิ รุง่ เรอื งทางเศรษฐกจิ และการปกครอง พฒั นาการทางด้านตา่ ง ๆ โดยสังเขป
ผลงานของบุคคลสำคญั ไดแ้ ก่ พระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟา้ จุฬาโลกมหาราช สมเด็จพระบวรราชเจา้ มหา
สรุ สิงหนาท พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้าเจ้าอยูห่ ัว และภูมิปัญญาไทยท่ีสำคัญที่นา่ ภาคภมู ิใจ ควรค่าแก่
การอนุรกั ษไ์ ว้ โดยใชท้ ักษะการอา่ น การสืบค้นข้อมลู การเชอ่ื มโยง การวิเคราะห์ เพ่ือใหเ้ กดิ ความรักและ
ภาคภูมิใจในความเปน็ ชาติไทย ตระหนักถงึ ความพากเพยี รพยายามของ บรรพบุรษุ ทไ่ี ด้ปกป้อง และ
สรา้ งสรรค์ความเจริญให้บ้านเมืองตกทอดเป็นมรดกทางวัฒนธรรมสบื ต่อถงึ ปจั จบุ นั

มาตรฐานการเรียนรู้/ระดับชน้ั /ตวั ชว้ี ัด
ส ๔.๑ ป ๖/๑, ป ๖/๒
ส ๔.๒ ป ๖/๑, ป ๖/๒

ส ๔.๓ ป ๖/๑, ป ๖/๒, ป ๖/๓, ป ๖/๔
รวม ๓ มาตรฐาน ๘ ตัวช้ีวัด

กลุม่ สาระการเรียนรสู้ ุขศกึ ษาและพลศกึ ษา

ความสำคัญของสุขศึกษาและพลศึกษา

สุขภาพ หรอื สุขภาวะ หมายถึง ภาวะของมนษุ ย์ท่ีสมบูรณ์ทั้งทางกาย ทางจติ ทางสังคม และทางปัญญา

หรอื จิตวิญญาณ สุขภาพหรือสุขภาวะจึงเปน็ เรื่องสำคญั เพราะเก่ยี วโยงกับทุกมติ ิ ของชีวติ ซึง่ ทุกคนควร

จะได้เรียนรู้เรือ่ งสุขภาพ เพอ่ื จะไดม้ ีความรู้ ความเข้าใจทถ่ี ูกตอ้ ง มีเจตคติ คุณธรรมและคา่ นิยมท่ีเหมาะสม

รวมท้งั มีทักษะปฏบิ ัติด้านสขุ ภาพจนเปน็ กิจนสิ ยั อนั จะสง่ ผลใหส้ ังคมโดยรวมมีคณุ ภาพและสามารถ

ประยกุ ตใ์ ช้หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งได้

สขุ ศกึ ษาและพลศึกษาเป็นการศกึ ษาด้านสุขภาพที่มีเปา้ หมาย เพอื่ การดำรงสขุ ภาพ การสร้างเสรมิ สุขภาพ

และการพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ของบุคคล ครอบครัว และชุมชนให้ย่ังยืน

สขุ ศึกษา มุง่ เนน้ ใหผ้ ู้เรยี นพฒั นาพฤตกิ รรมด้านความรู้ เจตคติ คุณธรรม คา่ นยิ ม และ

การปฏิบัติเก่ียวกับสขุ ภาพควบคู่ไปด้วยกัน

พลศกึ ษา มงุ่ เนน้ ให้ผู้เรียนใชก้ จิ กรรมการเคล่อื นไหว การออกกำลังกาย การเล่นเกมและกฬี า เปน็

เครอื่ งมือในการพัฒนาโดยรวมท้ังด้านรา่ งกาย จติ ใจ อารมณ์ สังคม สติปญั ญา รวมทง้ั สมรรถภาพเพอื่

สขุ ภาพและกฬี า

สาระท่ีเปน็ กรอบเนอื้ หาหรือขอบข่ายองค์ความรู้ของกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ขุ ศกึ ษาและพลศึกษาประกอบดว้ ย

- การเจริญเตบิ โตและพฒั นาการของมนษุ ย์ ผ้เู รยี นจะไดเ้ รียนรู้เรอ่ื งธรรมชาติของการเจริญเติบโตและ

พฒั นาการของมนษุ ย์ ปจั จยั ทมี่ ีผลต่อการเจรญิ เติบโต ความสมั พันธเ์ ชอ่ื มโยงในการทำงานของระบบตา่ งๆ

ของรา่ งกาย รวมถึงวธิ ีปฏบิ ตั ิตนเพ่อื ให้เจริญเติบโตและมีพฒั นาการท่สี มวยั

- ชีวิตและครอบครัว ผู้เรยี นจะไดเ้ รยี นรูเ้ รอ่ื งคณุ คา่ ของตนเองและครอบครัว การปรบั ตวั ตอ่ การ

เปลีย่ นแปลงทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ความรู้สกึ ทางเพศ การสรา้ งและรกั ษาสมั พนั ธภาพกบั ผู้อ่ืน สุขปฏบิ ัติ

ทางเพศ และทักษะในการดำเนนิ ชีวติ

- การเคล่ือนไหว การออกกำลังกาย การเล่นเกม กฬี าไทย และกีฬาสากล ผู้เรียนไดเ้ รยี นรู้เรือ่ งการ

เคลอื่ นไหวในรูปแบบตา่ ง ๆ การเข้าร่วมกิจกรรมทางกายและกีฬา ทง้ั ประเภทบคุ คล และประเภททีมอย่าง

หลากหลายทัง้ ไทยและสากล การปฏิบัติตามกฎ กตกิ า ระเบยี บ และข้อตกลงในการเขา้ ร่วมกจิ กรรมทาง

กาย และกีฬา และความมนี ้ำใจนักกฬี า

- การสร้างเสริมสขุ ภาพ สมรรถภาพ และการป้องกันโรค ผู้เรยี นจะได้เรยี นรู้เกย่ี วกับ หลักและวธิ กี าร

เลือกบริโภคอาหาร ผลิตภัณฑแ์ ละบริการสุขภาพ การสร้างเสรมิ สมรรถภาพเพือ่ สขุ ภาพ และการปอ้ งกัน

โรคทัง้ โรคตดิ ต่อและโรคไม่ตดิ ต่อ

- ความปลอดภัยในชีวิต ผู้เรยี นจะไดเ้ รยี นรเู้ ร่ืองการป้องกนั ตนเองจากพฤติกรรมเสยี่ งตา่ งๆ ท้งั

ความเส่ยี งต่อสุขภาพ อุบัติเหตุ ความรนุ แรง อันตรายจากการใชย้ าและสารเสพตดิ รวมถึงแนวทางในการ

สร้างเสริมความปลอดภยั ในชีวิต

สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้

สาระท่ี 1 การเจรญิ เตบิ โตและพัฒนาการของมนุษย์
มาตรฐาน พ 1.1 เข้าใจธรรมชาตขิ องการเจรญิ เติบโตและพฒั นาการของมนุษย์
สาระที่ 2 ชีวิตและครอบครวั
มาตรฐาน พ 2.1 เข้าใจและเหน็ คุณคา่ ตนเอง ครอบครวั เพศศึกษา และมีทกั ษะในการดำเนนิ ชวี ิต
สาระที่ 3 การเคล่อื นไหว การออกกำลังกาย การเลน่ เกม กีฬาไทย และกีฬาสากล
มาตรฐาน พ 3.1 เขา้ ใจ มีทักษะในการเคลือ่ นไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นเกม และกีฬา
มาตรฐาน พ 3.2 รกั การออกกำลงั กาย การเล่นเกม และการเล่นกีฬา ปฏิบัติเป็นประจำอย่างสม่ำเสมอ
มีวนิ ัย เคารพสิทธิ กฎ กตกิ า มนี ้ำใจนักกีฬา มีจิตวญิ ญาณในการแขง่ ขัน และชืน่ ชม
ในสุนทรยี ภาพของการกฬี า
สาระท่ี 4 การสร้างเสริมสขุ ภาพ สมรรถภาพและการปอ้ งกันโรค
มาตรฐาน พ 4.1 เหน็ คุณค่าและมีทกั ษะในการสร้างเสรมิ สุขภาพ การดำรงสุขภาพ
การป้องกนั โรคและการสรา้ งเสริมสมรรถภาพเพ่ือสขุ ภาพ
สาระท่ี 5 ความปลอดภยั ในชีวิต
มาตรฐาน พ 5.1 ป้องกนั และหลกี เลี่ยงปจั จยั เสี่ยง พฤตกิ รรมเสย่ี งตอ่ สขุ ภาพ อุบัติเหตุ การใชย้ า
สารเสพติด และความรุนแรง

คำอธิบายรายวิชา

พ 11101 สขุ ศึกษาและพลศึกษา 1
รายวชิ าพ้นื ฐาน กลุ่มสาระการเรยี นรู้สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา
ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 1
เวลา ...80 ชั่วโมง

ศึกษา สงั เกต รวบรวมความรู้และข้อปฏิบัตติ า่ งๆ อภิปราย ซักถาม บนั ทกึ หาคำตอบ อธิบาย แลกเปล่ยี น
ข้อมลู และความคิดเหน็ เกยี่ วกับส่วนต่างๆ ของร่างกาย หนา้ ท่ีของอวัยวะต่างๆ การปอ้ งกนั ดูแลรักษาอวยั วะ
ของรา่ งกาย พัฒนาการดา้ นร่างกาย เลือกรับประทานอาหารเพ่อื สุขภาพ ปอ้ งกันโรค มสี ขุ นสิ ยั ที่ดตี าม สุข
บญั ญตั ิแห่งชาติ จดุ ดี จุดด้อย ระมัดระวงั อุบัติเหตกุ ารณ์ใชย้ าผิด สารพษิ สารเสพติด ออกกำลังกาย พักผอ่ น
ใช้เวลาว่างให้เกดิ ประโยชน์ กำหนดแนวปฏิบัติของตน ในการสร้างเสริมสุขภาพ และรายงานผลต่อกลุ่ม
เป็นระยะๆ

โดยใช้กระบวนการสบื เสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสบื ค้นข้อมูล บนั ทกึ จัดกลุ่ม
ข้อมลู เพื่อให้มคี วามรู้ ความเข้าใจ มที กั ษะการดำเนนิ ชีวิตเป็นผู้มีสขุ บัญญัตทิ ี่ดี มจี ิตสำนกึ ในการดแู ล
และรบั ผดิ ชอบต่อสุขภาพ และความปลอดภยั ของตนเอง ครอบครวั และส่วนรวม เป็นแบบอยา่ งท่ีดี
ดา้ นสุขภาพ จดั การกับความขดั แยง้ ความเครียด และปัญหาทางอารมณ์ มกี ารแสวงหา เลอื ก และใช้ขอ้ มลู
ขา่ วสารดา้ นสุขภาพ นำความรไู้ ปใชใ้ นชีวติ ประจำวนั มีคุณธรรมจริยธรรม และสามารถประยกุ ต์ใช้หลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้
ใช้หลักการทางวิทยาศาสตร์ ฝึก ควบคุม เข้ารว่ มกิจกรรม บอกวิธี การเคลอ่ื นไหวรา่ งกาย ขณะอยกู่ บั ที่
เคลื่อนที่ เช่น เดนิ ว่งิ กระโดด ปนี ห้อยโหน ไต่ราว กลิง้ ตวั มว้ นตวั ลอด เป็นตน้ ระเบียบแถว เคล่ือนไหว
รา่ งกายใหเ้ ขา้ กบั จงั หวะและเพลง ออกกำลงั กาย เล่นเกม การละเลน่ ของเดก็ ไทย เล่นเกมเบ็ดเตล็ด เลน่
เกมแบบผลดั กายบริหาร สรา้ งเสริมและทดสอบสมรรถภาพทางกายเพื่อสขุ ภาพ

โดยการฝกึ ปฏิบตั ิ เพอ่ื ให้มคี วามรู้ ความเข้าใจ ความหมาย ความสำคญั และเห็นคุณค่า ศกึ ษาหา
ความรู้ องคป์ ระกอบของสมรรถภาพทางกายเพอ่ื สขุ ภาพ มที ักษะการเคล่ือนไหวร่างกายข้ันพน้ื ฐาน เห็น
คณุ ค่าของตนเองและผูอ้ ่นื ร่วมกจิ กรรมทางกายอย่างสม่ำเสมอ มีสมรรถภาพทางกายเพือ่ สุขภาพ รักการออก
กำลงั กาย และการเล่นกฬี าตามกฎ กติกา อยา่ งมีระเบียบ วนิ ัย มนี ้ำใจนักกีฬา เปน็ ผู้นำ และผูต้ ามทีด่ ี มี
ความมน่ั ใจ เคารพสิทธิของตนเองและผู้อ่นื รบั ผิดชอบหนา้ ทท่ี ีไ่ ด้รบั มอบหมาย สนกุ สนาน เพลดิ เพลนิ ช่นื ชม
ผลงานของผูอ้ ่นื ใหค้ วามรว่ มมอื เสยี สละและคำนึงถงึ สว่ นรวม และแกไ้ ขขอ้ บกพร่องของตนเองได้ตาม
คำแนะนำและสามารถประยุกตใ์ ช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้
มาตรฐานการเรยี นรู้และตวั ช้ีวัด
พ 1.1 ป. 1/1 , ป. 1/2
พ 2.1 ป. 1/1 , ป. 1/3
พ 3.1 ป. 1/1 , ป. 1/2

พ 3.2 ป. 1/1 , ป. 1/2
พ 4.1 ป. 1/1, ป. 1/3
พ 5.1 ป. 1/1 , ป. 1/3
รวมทง้ั หมด 5 มาตรฐาน 15 ตัวชว้ี ัด

คำอธิบายรายวิชา

พ 12101 สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา 2

รายวิชาพ้ืนฐาน กลุ่มสาระการเรยี นร้สู ขุ ศึกษาและพลศกึ ษา

ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 2 เวลา ...80..ช่ัวโมง

ศึกษา สังเกต รวบรวมความรแู้ ละขอ้ ปฏิบัติตา่ ง ๆ อภปิ ราย ซกั ถาม บันทกึ หาคำตอบ อธิบาย

แลกเปลี่ยนข้อมูลและความคดิ เห็นเกี่ยวกับส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย หนา้ ที่ของอวยั วะต่าง ๆ การปอ้ งกนั ดแู ล

และรักษาความสะอาดอวัยวะของร่างกายพัฒนาการทางกายและจติ ใจ รู้จักตนเอง และธรรมชาตขิ องตน

ป้องกันโรค เลือกรบั ประทานอาหารเพื่อสุขภาพ มีสุขนิสยั ทีด่ ีตามสขุ บัญญตั ิแห่งชาติ จดุ ดีจุดดอ้ ย ระมดั ระวงั

การเจ็บปว่ ย สาเหตุ วิธปี ้องกันอบุ ัติเหตุทางน้ำและทางบก การใช้ยาสามัญประจำบ้าน โทษของ สาร

เสพตดิ สารอันตรายใกล้ตวั ความหมายของสญั ลักษณ์ และป้ายเตือนของสงิ่ ของหรือสถานทีท่ ีเ่ ป็นอนั ตราย

สาเหตุ อนั ตรายและการป้องกันอคั คีภยั ใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ กดิ ประโยชน์ กำหนดแนวปฏิบัติของตนในการสรา้ ง

เสรมิ สุขภาพ

โดยใช้กระบวนการสบื เสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสืบคน้ ขอ้ มลู บันทึก จัดกลมุ่ ข้อมูล เพอ่ื ให้

มีความรู้ ความเขา้ ใจ มีทกั ษะการดำเนนิ ชีวิตเปน็ ผมู้ สี ขุ บญั ญัตทิ ด่ี ี มจี ิตสำนกึ ในการดแู ล และรับผิดชอบต่อ

สขุ ภาพ และความปลอดภยั ของตนเอง ครอบครวั และส่วนรวม เปน็ แบบอย่างที่ดี ด้านสุขภาพ จัดการกับ

ความขัดแยง้ ความเครียด และปญั หาทางอารมณ์ มกี ารแสวงหา เลอื ก และใชข้ ้อมูลขา่ วสารดา้ น

สุขภาพ นำความร้ไู ปใช้ในชวี ติ ประจำวนั มีคณุ ธรรมจริยธรรม และสามารถประยุกตใ์ ช้หลกั ปรัชญาของ

เศรษฐกจิ พอเพยี งได้

ใช้หลักการทางวทิ ยาศาสตร์ ฝกึ ควบคมุ เขา้ ร่วมกจิ กรรม บอกวิธี การเคล่ือนไหวร่างกาย ขณะอยู่กับที่

เคลื่อนที่ ใชอ้ ปุ กรณ์ประกอบ เชน่ ขว้าง กลงิ้ ตี เหวยี่ ง ปา โยน เดนิ วิง่ กระโดด ปีน หอ้ ยโหน ไต่ราว ทรงตัว

ระเบยี บแถว เคลอ่ื นไหวร่างกายประกอบจังหวะและเพลง เชน่ ซอยเท้าอย่กู ับท่ี เดนิ ซอยเท้า กายบรหิ าร

ประกอบจงั หวดั และเพลง เปน็ ต้น เล่นเกมและกีฬา การละเลน่ ของเดก็ ไทย เลน่ เกมเบ็ดเตล็ด เลน่

เกมแบบผลัด ออกกำลงั กายสรา้ งเสริมและทดสอบสมรรถภาพทางกายเพอ่ื สุขภาพ

โดยการฝกึ ปฏิบัติ เพือ่ ให้มีความรู้ ความเข้าใจ ความหมาย ความสำคญั และเหน็ คุณค่า ศึกษาหาความรู้

องค์ประกอบของสมรรถภาพทางกายเพือ่ สขุ ภาพ มีทักษะการเคลือ่ นไหวร่างกายขน้ั พน้ื ฐาน เห็นคณุ คา่ ของ

ตนเองและผ้อู ่นื มรี ะเบียบ วินยั เคารพสทิ ธิ กฎ และกติกา เขา้ ร่วมกิจกรรมทางกายอยา่ งสม่ำเสมอ มี

สมรรถภาพทางกายเพือ่ สุขภาพ รกั การออกกำลงั กายและการเลน่ กีฬา มนี ำ้ ใจนกั กฬี า เป็นผนู้ ำและผูต้ ามที่

ดี มคี วามมั่นใจ รบั ผดิ ชอบหนา้ ที่ท่ไี ดร้ ับมอบหมาย สนกุ สนาน เพลดิ เพลนิ เสยี สละและคำนงึ ถึงสว่ นรวม ช่นื

ชมผลงานของผ้อู ่นื ให้ความรว่ มมอื และแก้ไขข้อบกพร่องของตนเอง ตามความสนใจ ตามคำแนะนำ
และภูมปิ ัญญาทอ้ งถ่ินและสามารถประยุกตใ์ ชห้ ลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงได้
มาตรฐานการเรยี นรู้และตัวชี้วัด
พ 1.1 ป. 2/1, ป. 2/2, ป.2/3
พ 2.1 ป. 2/1, ป. 2/2, ป. 2/3, ป. 2/4
พ 3.1 ป. 2/1 ป. 2/2
พ 3.2 ป. 2/1, ป. 2/2
พ 4.1 ป. 2/1, ป. 2/2, ป. 2/3, ป. 2/4, ป. 2/5
พ 5.1 ป. 2/1, ป. 2/2, ป. 2./3, ป. 24, ป. 2/5 รวมทั้งหมด 5 มาตรฐาน 21 ตัวช้วี ัด
คำอธบิ ายรายวิชา

พ 13101 สขุ ศึกษาและพลศึกษา 3

รายวชิ าพน้ื ฐาน กลุ่มสาระการเรียนรสู้ ขุ ศึกษาและพลศึกษา

ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 เวลา …80. ช่ัวโมง

ศกึ ษา สังเกต รวบรวมความรแู้ ละข้อปฏิบตั ิตา่ ง ๆ อภิปราย ซักถาม บันทึก หาคำตอบ อธิบาย แลกเปลี่ยน

ข้อมูลและความคิดเหน็ เกยี่ วกับลักษณะและการเจรญิ เตบิ โตของรา่ งกาย เกณฑ์มาตรฐานของการเจริญเติบโต

ของเด็กไทย ปจั จยั ท่มี ีผลตอ่ การเจรญิ เตบิ โต ป้องกนั โรค เลอื กรบั ประทานอาหารเพือ่ สขุ ภาพ และยาสามัญ

ประจำบ้าน มีสุขนิสยั ท่ีดีตาม สุขบญั ญตั แิ ห่งชาติ รู้จักตนเองและธรรมชาตขิ องตนเอง ระมัดระวงั การเจบ็ ปว่ ย

การบาดเจ็บ โรคติดต่อในท้องถ่นิ อุบัติเหตุ การใช้ยาผิด สารพิษ สารเสพติด การลว่ งละเมดิ ทางเพศ กำหนด

แนวปฏบิ ัติของตนในการสร้างเสรมิ สุขภาพ

โดยใช้กระบวนการสบื เสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสืบค้นขอ้ มูล บันทึกจัดกลมุ่ ขอ้ มูล

เพ่อื ให้มีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะการดำเนินชีวติ เปน็ ผู้มสี ุขบัญญตั ิท่ดี ี มจี ิตสำนึกในการดแู ล และรับผิดชอบ

ตอ่ สุขภาพ และความปลอดภัยของตนเอง ครอบครวั และสว่ นรวม เปน็ แบบอย่างทด่ี ีดา้ นสขุ ภาพ จัดการกบั

ความขดั แยง้ ความเครยี ด และปัญหาทางอารมณ์ มีการแสวงหา เลอื ก และใช้ข้อมลู ข่าวสารด้านสุขภาพ นำ

ความร้ไู ปใช้ในชวี ติ ประจำวัน มีคุณธรรมจริยธรรม

พึ่งตนเองและมีวิสัยทศั น์ในการดูแลสขุ ภาพและการดำเนนิ ชีวิตเปน็ แบบอยา่ งท่ีดีดา้ นสุขภาพ ใน

ท้องถิ่น ภมู ใิ จในการส่งเสริมสุขภาพดา้ นภมู ปิ ญั ญาไทยและสามารถประยุกต์ใชห้ ลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจ

พอเพียงได้

ใชห้ ลักการทางวทิ ยาศาสตร์ ฝึก ควบคุม เขา้ ร่วมกิจกรรม บอกวิธี การเคล่ือนไหวร่างกาย ขณะอยู่

กับท่ี เคลือ่ นท่ี ระเบยี บแถว กจิ กรรมประกอบจังหวะและเพลง เกมเบด็ เตลด็ เกมนำไปสกู่ ฬี า ยืดหยุ่นขั้น

พน้ื ฐาน กฬี า กจิ กรรมนันทนาการ กายบริหาร การละเลน่ ของเด็กไทย เกมแบบผลดั ออกกำลังกาย สรา้ ง

เสรมิ สมรรถภาพทางกายและทางจติ ทดสอบสมรรถภาพเพอ่ื สขุ ภาพ

โดยการฝกึ ปฏิบัติ เพ่ือให้มีความรู้ ความเข้าใจ ความหมาย ความสำคญั และเห็นคุณค่า ศึกษาหาความรู้

องคป์ ระกอบของสมรรถภาพทางกายเพือ่ สุขภาพ มีทกั ษะการเคลือ่ นไหวร่างกายขัน้ พื้นฐาน เหน็ คุณคา่ ของ
ตนเองและผู้อน่ื รว่ มกจิ กรรมทางกายอยา่ งสม่ำเสมอ มสี มรรถภาพทางกายเพ่อื สุขภาพ รักการออกกำลงั กาย
และการเล่นกีฬาตามกฎ กติกา อย่างมรี ะเบยี บ วินยั มีน้ำใจนกั กีฬา เปน็ ผู้นำ และ ผูต้ ามทดี่ ี มีความม่ันใจ
เคารพสทิ ธิของตนเองและผูอ้ น่ื รับผิดชอบหนา้ ท่ที ่ีไดร้ ับมอบหมาย สนุกสนาน เพลิดเพลนิ ช่นื ชมผลงานของ
ผู้อน่ื ให้ความร่วมมอื เสยี สละและคำนึงถึงส่วนรวม และแก้ไขข้อบกพร่องของตนเองไดต้ ามคำแนะนำและ
สามารถประยกุ ตใ์ ชห้ ลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งได้
มาตรฐานการเรียนรู้และตวั ชีว้ ัด
พ 1.1 ป. 3/1, ป.3/2, ป. 3/3
พ 2.1 ป. 3/1, ป. 3/2, ป. 3/3
พ 3.1 ป. 3/1, ป. 3/2
พ 3.2 ป. 3/1, ป. 3/2
พ 4.1 ป. 4/1, ป. 3/2, ป. 3/3, ป. 3/4, ป. 3/5
พ 5.1ป. 3/1, ป. 3/2, ป. 3/3
รวมทั้งหมด 5 มาตรฐาน 18 ตัวช้ีวดั

คำอธบิ ายรายวิชา

พ 14101 สุขศกึ ษาและพลศึกษา 4

รายวชิ าพนื้ ฐาน กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ขุ ศึกษาและพลศึกษา

ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 เวลา80....ชั่วโมง

ศกึ ษา สังเกต รวบรวมความร้แู ละข้อปฏบิ ัติต่าง ๆ อภปิ ราย ซกั ถาม บันทึก หาคำตอบ อธบิ าย

แลกเปลีย่ นข้อมูล คิดวิเคราะหแ์ ละแสดงความคดิ เห็นเกย่ี วกบั การเจริญเติบโต การปอ้ งกนั ดแู ลรักษา

พัฒนาการด้านต่าง ๆ ของร่างกายช่วงอายุ ๙ - ๑๒ ปี ความสำคัญของกลา้ มเน้อื กระดกู ระบบยอ่ ยอาหาร

ระบบขบั ถ่าย ปจั จยั ตา่ ง ๆ ทม่ี ีผลต่อการเจริญเติบโต เลอื กบริโภคอาหาร ผลิตภณั ฑ์สุขภาพ ที่เหมาะสมกบั

วัยและกลุม่ บุคคลต่าง ๆ สขุ อนามัยทางเพศ ระมัดระวงั อุบตั ิเหตุ การใช้ยา การปฐมพยาบาลเมอ่ื ได้รบั บาดเจ็บ

จากการเล่น การใชย้ าผิด สารเคมี ผลเสียของการสูบบหุ รี่ การด่มื สรุ า และการป้องกนั เลอื กออกกำลงั

กาย พกั ผอ่ น ใช้เวลาว่างให้เกดิ ประโยชน์ กำหนดแนวปฏิบตั ิของตน ในการสร้างเสรมิ สขุ ภาพ

โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสบื ค้นข้อมูล บันทึก จัดกลุม่ ขอ้ มูล

เพอื่ ให้มีความรู้ ความเขา้ ใจ มีทักษะการดำเนินชีวิตเปน็ ผมู้ ีสุขบญั ญัตทิ ่ีดี มจี ิตสำนึกในการดแู ล และรบั ผดิ ชอบ

ตอ่ สุขภาพ และความปลอดภัยของตนเอง ครอบครวั และส่วนรวม เปน็ แบบอยา่ งที่ดีดา้ นสุขภาพ จัดการกับ

ความขดั แย้ง ความเครยี ด และปญั หาทางอารมณ์ มกี ารแสวงหา เลอื ก และใชข้ ้อมลู ขา่ วสารด้านสุขภาพ นำ

ความรูไ้ ปใชใ้ นชีวิตประจำวนั มีคุณธรรมจริยธรรม และสามารถประยุกตใ์ ชห้ ลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ได้

ใชห้ ลกั การและรปู แบบทางวิทยาศาสตร์ การเคลื่อนไหว บอกวธิ ฝี กึ ควบคุม เขา้ ร่วมกิจกรรมการ
เคลอื่ นไหวร่างกาย ขณะอยกู่ บั ท่ี เคลอ่ื นท่ี ระเบียบแถว กจิ กรรมประกอบจังหวะและเพลง เกมนำไปสูก่ ีฬา
ยืดหย่นุ ข้ันพน้ื ฐาน กีฬาไทย กีฬาสากล กิจกรรมนนั ทนาการ กายบริหาร การละเล่นของเด็กไทย เกมแบบผลัด
ออกกำลังกาย สรา้ งเสริมสมรรถภาพทางกายและทางจติ ทดสอบสมรรถภาพเพ่อื สุขภาพ

โดยการฝึกปฏิบัติ เพือ่ ให้มีความรู้ ความเข้าใจ ความหมาย ความสำคญั และเห็นคณุ ค่า ศึกษาหา
ความรู้ องค์ประกอบของสมรรถภาพทางกายเพ่ือสขุ ภาพ มีทกั ษะการเคลื่อนไหวร่างกายข้นั พืน้ ฐาน เหน็
คณุ ค่าของตนเองและผ้อู ่ืน ร่วมกิจกรรมทางกายอยา่ งสม่ำเสมอ มีสมรรถภาพทางกายเพอ่ื สขุ ภาพ รักการออก
กำลังกาย และการเล่นกฬี าตามกฎ กตกิ า อยา่ งมีระเบียบ วนิ ยั มีน้ำใจนกั กฬี า เปน็ ผู้นำและผูต้ ามทดี่ ี มคี วาม
มน่ั ใจ เคารพสทิ ธิของตนเองและผูอ้ ื่น รับผิดชอบหนา้ ท่ที ี่ไดร้ บั มอบหมาย สนุกสนาน เพลิดเพลนิ ช่ืนชม
ผลงานของผอู้ น่ื ใหค้ วามรว่ มมอื เสยี สละและคำนึงถึงส่วนรวม และแก้ไขข้อบกพรอ่ งของตนเองไดต้ าม
คำแนะนำและสามารถประยุกต์ใช้หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงได้
มาตรฐานการเรียนรแู้ ละตวั ช้วี ัด
พ 1.1 ป.4/1, ป. 4/2, ป. 4/3
พ 2.1 ป. 4/1, ป. 4/2, ป. 4/3
พ 3.1 ป.4/1, ป.4/2 ป. 4/3, ป. 4/4
พ 3.2 ป. 4/1, ป. 4/2
พ 4.1 ป. 4/1, ป. 4/2, ป. 4/3, ป.4/4
พ 5.1 ป. 4/1, ป. 4/2, ป. 4/3
รวมทัง้ หมด 5 มาตรฐาน 19 ตวั ชี้วดั

คำอธิบายรายวิชา

พ 15101 สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา 5

รายวิชาพ้นื ฐาน กลุ่มสาระการเรยี นรูส้ ุขศึกษาและพลศึกษา

ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 5 เวลา.80..ชัว่ โมง

ศกึ ษา สังเกต รวบรวมขอ้ มลู ข้อปฏิบัตติ ่าง ๆ อภิปราย ซักถาม บันทกึ หาคำตอบ อธบิ าย แลกเปล่ียนขอ้ มูล

คดิ วเิ คราะหเ์ กี่ยวกับตน และผลกระทบที่มีต่อสุขภาพ คดิ อย่างมีวิจารณญาณ และสร้างสรรค์เก่ียวกับ

สุขภาพบนพ้ืนฐานความเปน็ จริงเกยี่ วกบั ระบบต่าง ๆ ในรา่ งกายทม่ี ีผล ตอ่ การเจรญิ เตบิ โต วิธี

ป้องกันดแู ลรกั ษาอวยั วะในระบบตา่ ง ๆ เลอื กบริโภคอาหาร ผลิตภัณฑ์สุขภาพ ท่ีเหมาะสมกับวัยและ

กลุ่มบุคคลต่าง ๆ สุขอนามยั ทางเพศ โรคท่ีพบบอ่ ยในชวี ติ ประจำวนั และการปอ้ งกนั ภัยธรรมชาติ

ระมดั ระวงั อบุ ัตเิ หตุ การใชย้ าผดิ สารพิษ สารเสพตดิ มีเพศสมั พนั ธ์ ก่อนวยั อนั ควร และ หลีกเล่ียงปัญหาการ

ต้ังครรภ์ เลอื กออกกำลงั กาย พกั ผ่อน ใช้เวลาว่าง ใหเ้ กิดประโยชน์ กำหนดแนวปฏบิ ตั ิของตนในการ

สรา้ งเสริมสุขภาพ

โดยใชก้ ระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสบื คน้ ขอ้ มูล บนั ทึก จดั กลุม่ ขอ้ มูล

เพือ่ ให้มีความรู้ ความเขา้ ใจ มีทักษะการดำเนนิ ชวี ติ เป็นผูม้ ีสุขบญั ญัตทิ ดี่ ี มจี ิตสำนึก ในการดูแล และ

รับผิดชอบตอ่ สุขภาพ และความปลอดภัยของตนเอง ครอบครัว และส่วนรวม เปน็ แบบอย่างทด่ี ดี ้าน

สุขภาพ จัดการกบั ความขัดแย้ง ความเครียด และปญั หาทาง อารมณ์ มกี ารแสวงหา และสามารถ

ประยกุ ตใ์ ช้หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้

ใชห้ ลกั การและรปู แบบทางวทิ ยาศาสตร์การเคลอ่ื นไหว บอกวธิ ี ฝึก ควบคุม เข้าร่วมกจิ กรรม

เคล่ือนไหวรา่ งกาย ขณะอยู่กบั ทเี่ คลอื่ นท่รี ะเบยี บแถว กิจกรรมเขา้ จงั หวะ ยดื หยุ่นขั้นพน้ื ฐาน กีฬาไทย กีฬา

สากล กีฬายอดนยิ ม กจิ กรรมนนั ทนาการ กายบรหิ าร การละเล่นของเด็กไทย เกมแบบผลดั ออกกำลงั กาย

สรา้ งเสริมสมรรถภาพทางกายและทางจติ ทดสอบสมรรถภาพเพื่อสุขภาพ โดยการฝกึ ปฏิบัติ เพือ่ ใหม้ คี วามรู้

ความเขา้ ใจ ความหมาย ความสำคญั และเหน็ คุณคา่ ศกึ ษาหาความรู้ องค์ประกอบของสมรรถภาพทางกาย

เพอ่ื สุขภาพ มีทกั ษะการเคลอื่ นไหวรา่ งกายขนั้ พ้ืนฐาน เหน็ คณุ คา่ ของตนเองและผ้อู ืน่ รว่ มกจิ กรรมทางกาย

อย่างสม่ำเสมอ มีสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ รักการออกกำลังกาย และการเลน่ กีฬาตามกฎ กติกา อย่าง

มรี ะเบยี บ วินัย มีน้ำใจนักกฬี า เปน็ ผูน้ ำและผ้ตู ามทด่ี ี มีความม่นั ใจ เคารพสทิ ธิของตนเองและผู้อ่ืน

รบั ผดิ ชอบหนา้ ท่ีทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย สนกุ สนาน เพลิดเพลนิ ชื่นชมผลงานของผู้อื่น ให้ความร่วมมือ เสียสละ

และคำนึงถึงสว่ นรวม และแก้ไขขอ้ บกพร่องของตนเองได้ตามคำแนะนำและสามารถประยกุ ตใ์ ชห้ ลักปรชั ญา

ของเศรษฐกจิ พอเพยี งได้

มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตัวช้วี ัด
พ 1.1 ป.5/1, ป. 5/2
พ 2.1 ป. 5/1, ป. 5/2, ป. 5/3
พ 3.1 ป. 5/1, ป. 5/2, ป. 5/3,ป. 5/4, ป. 5/5, ป. 5/6
พ 3.2 ป. 5/1, ป. 5/2, ป. 5/3, ป. 5/4
พ 4.1 ป. 5/1, ป. 5/1 ป. 5/3, ป. 5/4, ป. 5/5
พ 5.1 ป. 5/1, ป. 5/2, ป. 5/3, ป. 5/4, ป. 5/5
รวมทง้ั หมด 5 มาตรฐาน 25 ตวั ช้ีวดั

คำอธิบายรายวชิ า

พ 16101 สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา 6

รายวิชาพน้ื ฐาน กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ขุ ศึกษาและพลศกึ ษา

ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 6 เวลา 80 ช่ัวโมง

สงั เกต รวบรวมขอ้ มูล ข้อปฏิบตั ิต่าง ๆ อภปิ ราย ซกั ถาม บันทึก หาคำตอบ อธบิ าย แลกเปลย่ี นขอ้ มูล

คิดวิเคราะห์เกยี่ วกับตน และผลกระทบท่มี ีต่อสุขภาพ คดิ อยา่ งมวี ิจารณญาณและสรา้ งสรรค์เกย่ี วกับสุขภาพ

บนพน้ื ฐานความเป็นจรงิ เก่ียวกบั เรือ่ งโครงสรา้ งและหน้าทก่ี ารทำงานของระบบต่าง ๆ ของร่างกาย การ

ป้องกันดูแลรกั ษาอวัยวะในระบบตา่ ง ๆ สง่ิ แวดล้อมท่ีมีผลตอ่ สขุ ภาพ โรคติดต่อสำคญั ท่ีระบาดในปัจจุบนั
ภยั ธรรมชาติ การใชย้ าผิด สารพษิ สารเสพตดิ การมเี พศสัมพันธก์ อ่ นวัยอันควร และหลีกเลีย่ งปญั หาการ
ตง้ั ครรภ์ เลอื กออกกำลงั กาย พกั ผ่อน ใชเ้ วลาว่างใหเ้ กดิ ประโยชน์ กำหนดแนวปฏิบตั ิของตนในการสรา้ งเสริม
สุขภาพ

โดยใช้กระบวนการสบื เสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมลู บนั ทึก จัดกลุม่ ข้อมลู
เพื่อให้มคี วามรู้ ความเข้าใจ มีทักษะการดำเนนิ ชวี ติ เป็นผ้มู สี ุขบญั ญัติทด่ี ี มีจิตสำนึกในการดูแล และรบั ผดิ ชอบ
ต่อสขุ ภาพ และความปลอดภยั ของตนเอง ครอบครัว และสว่ นรวม เปน็ แบบอยา่ งทด่ี ดี ้านสุขภาพ จัดการกบั
ความขัดแย้ง ความเครยี ด และปญั หาทางอารมณ์ มกี ารแสวงหา เลอื ก และใช้ข้อมูลขา่ วสารด้านสขุ ภาพ นำ
ความรู้ไปใช้ในชีวติ ประจำวัน มีคุณธรรมจรยิ ธรรม และสามารถประยกุ ตใ์ ช้ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ
พอเพียงได้

ใชห้ ลักการและรูปแบบของวิทยาศาสตรก์ ารเคลอื่ นไหว บอกวธิ ี ฝกึ ควบคมุ เขา้ ร่วมกิจกรรม
เคลื่อนไหวรา่ งกาย ขณะอยกู่ ับท่ีเคลอ่ื นทร่ี ะเบยี บแถวกจิ กรรมเขา้ จังหวะ ยดื หยุ่นขัน้ พน้ื ฐาน กีฬาไทย กฬี า
สากล กีฬายอดนยิ ม กิจกรรมนนั ทนาการ กายบริหาร การละเลน่ ของเดก็ ไทย เกมแบบผลัด ออกกำลัง
กาย สรา้ งเสรมิ สมรรถภาพทางกายและทางจิต ทดสอบสมรรถภาพเพื่อสุขภาพ โดยการฝกึ ปฏิบัติ เพ่ือให้มี
ความรู้ ความเขา้ ใจ ความหมาย ความสำคัญและเหน็ คุณคา่ ศกึ ษาหาความรู้ องคป์ ระกอบของสมรรถภาพทาง
กายเพื่อสุขภาพ มีทกั ษะการเคลื่อนไหวร่างกายขน้ั พนื้ ฐาน เห็นคณุ ค่าของตนเองและผู้อน่ื ร่วมกิจกรรมทาง
กายอยา่ งสมำ่ เสมอ มสี มรรถภาพทางกายเพ่อื สขุ ภาพ รักการออกกำลงั กาย และการเลน่ กีฬาตามกฎ กตกิ า
อย่างมีระเบียบ วินยั มีน้ำใจนักกฬี า เปน็ ผูน้ ำและผ้ตู ามที่ดี มีความมัน่ ใจ เคารพสิทธขิ องตนเองและผูอ้ ่ืน
รบั ผิดชอบหนา้ ที่ที่ไดร้ ับมอบหมาย สนกุ สนาน เพลิดเพลิน ชนื่ ชมผลงานของผู้อ่นื ให้ความร่วมมือ เสียสละ
และคำนึงถงึ ส่วนรวม และแกไ้ ขขอ้ บกพรอ่ งของตนเองได้ตามคำแนะนำและสามารถประยุกตใ์ ช้หลักปรัชญา
ของเศรษฐกจิ พอเพียงได้

มาตรฐานการเรียนรตู้ ัวชี้วดั
พ 1.1 ป. 6/1, ป. 6/2
พ 2.1 ป. 6/1, ป. 6/2

พ 3.1 ป. 6/1, ป. 6/2, ป. 6/3, ป.6/4, ป. 6/5
พ 3.2 ป.6/1, ป.6/2, ป. 6/3, ป. 6/4, ป. 6/5, ป. 6/6
พ 4.1 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4
พ 5.1 ป. 6/1, ป. 6/2, ป. 6/3
รวมท้ังหมด 5 มาตรฐาน 22 ตวั ชี้วดั

กลุม่ สาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ

ความสำคญั ของศิลปะ

กลุม่ สาระการเรยี นร้ศู ิลปะเปน็ กลุม่ สาระท่ีช่วยพฒั นาให้ผเู้ รยี นมคี วามคิดรเิ ร่มิ สรา้ งสรรค์ มจี ินตนาการทาง

ศลิ ปะ ชืน่ ชมความงาม มีสุนทรียภาพ ความมคี ุณค่า ซง่ึ มผี ลตอ่ คุณภาพชีวิตมนษุ ย์ กิจกรรมทางศลิ ปะชว่ ย

พัฒนาผเู้ รียนทงั้ ดา้ นรา่ งกาย จติ ใจ สติปัญญา อารมณ์ สังคม ตลอดจน การนำไปสกู่ ารพฒั นา

สิ่งแวดลอ้ ม สง่ เสรมิ ให้ผเู้ รยี นมีความเช่อื มั่นในตนเอง อนั เปน็ พ้ืนฐาน ในการศึกษาต่อหรอื ประกอบ

อาชีพได้

กลุ่มสาระการเรยี นรู้ศลิ ปะมุ่งพัฒนาใหผ้ ู้เรียนเกดิ ความรู้ความเข้าใจ มที กั ษะวิธกี ารทางศิลปะ เกิดความ

ซาบซ้ึงในคณุ คา่ ของศิลปะ เปิดโอกาสให้ผเู้ รียนแสดงออกอย่างอิสระในศลิ ปะแขนงต่าง ๆ ประกอบดว้ ย

สาระสำคญั คือ

- ทัศนศิลป์ มคี วามรู้ความเข้าใจองค์ประกอบศิลป์ ทัศนธาตุ สร้างและนำเสนอผลงาน ทางทัศนศิลป์

จากจนิ ตนาการ โดยสามารถใช้อุปกรณ์ท่เี หมาะสม รวมทั้งสามารถใช้เทคนคิ วิธีการของศิลปินในการสร้างงาน

ไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ วิเคราะห์ วพิ ากษ์ วจิ ารณ์คณุ ค่างานทศั นศิลป์ เข้าใจความสมั พนั ธ์ระหวา่ ง

ทัศนศลิ ป์ ประวตั ิศาสตร์ และวฒั นธรรม เหน็ คุณค่างานศลิ ปะที่เปน็ มรดกทางวฒั นธรรม ภูมปิ ัญญาท้องถ่ิน

ภูมปิ ัญญาไทยและสากล ชน่ื ชม ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวนั

- ดนตรี มีความรูค้ วามเข้าใจองคป์ ระกอบดนตรีแสดงออกทางดนตรอี ย่างสรา้ งสรรค์ วเิ คราะห์

วิพากษ์ วิจารณ์คุณคา่ ดนตรี ถ่ายทอดความรูส้ กึ ทางดนตรอี ย่างอสิ ระ ชน่ื ชมและประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ิตประจำวัน

เข้าใจความสัมพนั ธ์ระหวา่ งดนตรี ประวตั ศิ าสตร์ และวฒั นธรรม เหน็ คุณคา่ ดนตรี ที่เป็นมรดกทาง

วัฒนธรรม ภูมปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ ภมู ปิ ญั ญาไทย และสากล ร้องเพลง และเลน่ ดนตรีในรูปแบบต่าง ๆ แสดงความ

คิดเหน็ เกย่ี วกับเสียงดนตรี แสดงความรู้สกึ ทม่ี ตี อ่ ดนตรใี นเชงิ สุนทรยี ะ เขา้ ใจความสัมพันธร์ ะหว่างดนตรีกบั

ประเพณวี ัฒนธรรม และเหตกุ ารณ์ในประวตั ิศาสตร์

- นาฏศลิ ป์ มคี วามรคู้ วามเข้าใจองคป์ ระกอบนาฏศิลป์ แสดงออกทางนาฏศลิ ปอ์ ย่างสร้างสรรค์

ใช้ศพั ท์เบอื้ งตน้ ทางนาฏศิลป์ วิเคราะหว์ ิพากษ์ วิจารณ์คุณคา่ นาฏศลิ ป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอยา่ ง

อิสระ สร้างสรรคก์ ารเคล่อื นไหวในรูปแบบต่าง ๆ ประยกุ ตใ์ ช้นาฏศลิ ปใ์ นชีวิตประจำวนั เขา้ ใจความสัมพันธ์

ระหว่างนาฏศลิ ปก์ บั ประวตั ศิ าสตร์ วฒั นธรรม เห็นคณุ คา่ ของนาฏศิลป์ท่ีเป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภมู ปิ ญั ญา

ท้องถ่ิน ภูมปิ ญั ญาไทย และสากล และสามารถประยกุ ตใ์ ชห้ ลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งได้

สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้

สาระท่ี 1 ทัศนศิลป์

มาตรฐาน ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทศั นศลิ ป์ตามจนิ ตนาการ และความคดิ สร้างสรรค์ วิเคราะห์

วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถา่ ยทอดความรสู้ กึ ความคิดตอ่ งานศิลปะ อย่างอิสระ ช่ืนชม และ

ประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจำวนั

มาตรฐาน ศ 1.2 เข้าใจความสัมพนั ธร์ ะหว่างทศั นศลิ ป์ ประวัติศาสตร์ และวฒั นธรรม เหน็ คุณค่า
งานทศั นศิลป์ท่ีเป็นมรดกทางวฒั นธรรม ภมู ปิ ัญญาท้องถน่ิ ภมู ปิ ญั ญาไทย และ สากล

สาระที่ 2 ดนตรี
มาตรฐาน ศ 2.1 เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอยา่ งสร้างสรรค์ วเิ คราะห์ วพิ ากษ์วิจารณ์คุณค่าดนตรี

ถา่ ยทอดความรสู้ ึก ความคดิ ตอ่ ดนตรีอย่างอิสระ ช่ืนชม และประยกุ ตใ์ ช้ ในชีวิตประจำวัน
มาตรฐาน ศ 2.2 เข้าใจความสัมพนั ธ์ระหว่างดนตรี ประวตั ิศาสตร์ และวัฒนธรรม เหน็ คุณคา่ ของ
ดนตรที ่ี เป็นมรดกทางวฒั นธรรม ภูมิปัญญาทอ้ งถิ่น ภมู ิปญั ญาไทยและสากล

สาระท่ี 3 นาฏศิลป์
มาตรฐาน ศ 3.1 เขา้ ใจ และแสดงออกทางนาฏศลิ ป์อย่างสรา้ งสรรค์ วเิ คราะห์ วิพากษว์ ิจารณ์
คณุ ค่านาฏศิลป์ถ่ายทอดความรู้สึก ความคดิ อย่างอสิ ระ ชน่ื ชม และประยุกตใ์ ช้
ในชวี ติ ประจำวนั
มาตรฐาน ศ 3.2 เข้าใจความสัมพนั ธ์ระหวา่ งนาฏศิลป์ ประวัติศาสตรแ์ ละวฒั นธรรม เห็นคณุ ค่า
ของนาฏศิลปท์ ่ีเป็นมรดกทางวฒั นธรรม ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ ภมู ิปญั ญาไทยและ
สากล

คำอธิบายรายวชิ า

ศ 11101 ศลิ ปะ 1
รายวิชาพ้นื ฐาน กลมุ่ สาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ
ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 1
เวลา ..80. ชวั่ โมง

ศกึ ษา สงั เกต วิเคราะห์ อธบิ าย รูปร่าง ลักษณะและขนาดของสงิ่ ตา่ งๆในธรรมชาติ และส่ิงแวดล้อม

เพอ่ื รับรู้ความงามและสามารถถ่ายทอดความคิดความร้สู กึ ทมี่ ีต่อธรรมชาติ และสงิ่ แวดลอ้ มโดยการ

บรรยาย และสร้างสรรค์เปน็ ผลงานทัศนศิลป์ ระบงุ านทศั นศลิ ป์ ในชีวิตประจำวัน มีทกั ษะ

พน้ื ฐานในการใช้วัสดุ อปุ กรณ์ ในการสร้างสรรคง์ านปั้น งานวาดภาพระบายสี ฝึกทดลองใช้สนี ำ้ สโี ปสเตอร์

สเี ทยี นและสีจากธรรมชาตดิ ว้ ยเทคนิควิธีการงา่ ยๆ วาดภาพระบายสภี าพธรรมชาติตามความรสู้ กึ ของตนเอง

บอก อธิบาย จำแนก เปรียบเทยี บ การกำเนิดของเสียง ระดับเสยี งดงั เบา อัตราความเร็ว ของจงั หวะ อา่ น

บทกลอน ร้องเพลง เคาะจงั หวะ เคล่อื นไหวร่างกายประกอบบทเพลงและจงั หวะ วเิ คราะห์ สรปุ บทเพลงที่

ใชใ้ นชีวิตประจำวนั เพือ่ สื่อความหมาย ความคิด ความรูส้ ึก ร้ทู ีม่ าของเพลง ในท้องถิน่ และระบสุ ่ิงที่ชนื่ ชอบใน

ดนตรที อ้ งถนิ่ เลียนแบบการเคล่อื นไหวลกั ษณะต่างๆ เลยี นแบบธรรมชาติ เลยี นแบบคน สัตว์ สิ่งของ แสดง

ท่าทางงา่ ย ๆ เพือ่ สอื่ ความหมายแทนคำพดู ภาษาทา่ และการประดิษฐท์ ่าทางประกอบเพลง รกู้ ตกิ า วธิ ี

เลน่ การละเล่นของเด็กไทย

แสดงออกทางดนตรแี ละนาฏศิลปไ์ ดอ้ ย่างสรา้ งสรรค์ สามารถนำความรูม้ าประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน บอก

ส่ิงทีต่ นเองชอบจากการดู หรอื การแสดงและเปน็ ผชู้ มที่ดี

รับรู้ สนใจ ชนื่ ชม เห็นคุณค่าความงามของธรรมชาตสิ ิ่งแวดลอ้ มและงานทศั นศิลป์ แสดงออกทางทัศนศิลป์

ได้ตามความคิด ความรู้สึก ชน่ื ชม บทเพลง ดนตรีและการแสดงทางนาฏศลิ ป์ ที่เก่ียวขอ้ งกบั วัฒนธรรม

เอกลกั ษณ์ และภูมิปญั ญาไทย รู้จักนำความรู้ไปประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ติ ประจำวันและสามารถประยกุ ต์ใชห้ ลกั

ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้

มาตรฐานการเรียนรแู้ ละตวั ชี้วัด

ศ 1.1 ป.1/1 , ป.1/2 , ป.1/3 , ป.1/4 , ป.1/5

ศ 1.2 ป.1/1

ศ 2.1 ป.1/1 , ป.1/2 , ป.1/3 , ป.1/4 , ป.1/5

ศ 2.2 ป.1/1 , ป.1/2

ศ 3.1 ป.1/1 , ป.1/2 , ป.1/3

ศ 3.2 ป.1/1 , ป.1/2

รวมท้งั หมด 6 มาตรฐาน 18 ตัวชว้ี ัด

คำอธบิ ายรายวิชา ศลิ ปะ 2
ศ 12101 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ
รายวชิ าพนื้ ฐาน
ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 2 เวลา ..80 ชัว่ โมง

ศกึ ษา สงั เกต วเิ คราะห์ เก่ยี วกับรูปรา่ ง รูปทรง ในธรรมชาตสิ ่งิ แวดลอ้ มและงานทศั นศลิ ป์ ระบุ

ทศั นธาตขุ องสง่ิ ต่างๆ สรา้ งงานทัศนศิลปโ์ ดยเนน้ การใช้เส้นและรปู รา่ ง มีทกั ษะพนื้ ฐาน ในการใช้

วสั ดุ อุปกรณ์สร้างงานทศั นศิลป์ 3 มิติ ฝกึ สรา้ งภาพปะตดิ จากกระดาษ วาดภาพถา่ ยทอดเรอื่ งราว

เหตุการณ์ สร้างงานโครงสร้างเคล่ือนไหว

ร้แู ละเขา้ ใจเน้อื หาเร่ืองราวในงานทศั นศิลป์ ความสำคญั ของงานทัศนศิลป์ในชวี ิตประจำวนั งานทัศนศิลป์ใน

ท้องถน่ิ ตลอดจนการใชว้ สั ดุ อุปกรณแ์ ละวธิ ีการสร้างงานทัศนศลิ ปใ์ นทอ้ งถิ่น อธิบาย วเิ คราะห์ จำแนก

แหลง่ กำเนดิ เสยี ง คณุ สมบัติของเสยี งดนตรี ฝกึ เคาะจังหวะ หรือเคลือ่ นไหวรา่ งกายประกอบบทเพลง เล่น

เคร่ืองดนตรปี ระกอบเพลง ขับร้องเพลงงา่ ยท่ีเหมาะสมกับวัย ฟงั เพลง เพ่ือสือ่ ความหมาย ความคิด

ความรสู้ ึก ร้แู ละเข้าใจ ความสัมพนั ธ์ของเสยี งร้องเสียงเครื่องดนตรี ในบทเพลงท้องถน่ิ ศกึ ษาการ

เคลอ่ื นไหวขณะอยู่กบั ทแี่ ละเคลอื่ นท่ี การเคลอื่ นไหวอย่างมรี ูปแบบ การประดิษฐ์ท่าทางจากการ

เคลอ่ื นไหวอย่างมีรูปแบบ ประกอบบทเพลงทเ่ี ก่ยี วกับสง่ิ แวดลอ้ ม ภาษาท่า และนาฏยศัพท์ในสว่ นของลำตวั

แสดงทา่ ทาง เพ่อื สอื่ ความหมายแทนคำพูดและสะทอ้ นอารมณ์ ของตนเองอยา่ งอสิ ระ รู้ ทม่ี า กตกิ า และ

วธิ กี าร ของการละเลน่ พื้นบา้ น

เหน็ คุณค่าความงามของธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม มีเจตคติท่ีดีตอ่ การอนุรกั ษ์ธรรมชาติ รักความเปน็ ไทย

ชนื่ ชอบและภาคภูมิใจในการละเล่นพืน้ บ้าน แสดงออกทางดนตรี นาฏศลิ ปใ์ นทอ้ งถน่ิ ไดอ้ ยา่ งสร้างสรรค์ มี

มารยาทในการชม การแสดง เหน็ คุณค่าของดนตรี นาฏศลิ ป์ท่ีเป็นมรดก ทางวัฒนธรรม ภูมปิ ัญญาไทย

และภูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน รู้จักนำความรู้ไปประยุกตใ์ ช้ในชวี ิตประจำวนั และสามารถประยกุ ตใ์ ช้หลักปรชั ญา

ของเศรษฐกจิ พอเพียงได้

มาตรฐานการเรียนรแู้ ละตวั ชวี้ ัด
ศ 1.1 ป.2/1 , ป.2/2 , ป.2/3 , ป.2/4 , ป.2/5 , ป.2/6 , ป.2/7 , ป.2/8
ศ 1.2 ป.2/1 , ป.2/2
ศ 2.1 ป.2/1 , ป.2/2 , ป.2/3 , ป.2/4 , ป.2/5
ศ 2.2 ป.2/1 , ป.2/2
ศ 3.1 ป.2/1 , ป.2/2 , ป.2/3 , ป.2/4 , ป.2/5
ศ 3.2 ป.2/1 , ป.2/2 , ป.2/3
รวมทงั้ หมด 6 มาตรฐาน 25 ตวั ช้วี ัด

คำอธบิ ายรายวิชา

ศ 13101 ศิลปะ 3
รายวชิ าพ้นื ฐาน กลมุ่ สาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ
ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 3
เวลา 80....ชัว่ โมง

ศึกษา สังเกต วิเคราะห์ จำแนก ลกั ษณะและประเภทของรปู รา่ ง รูปทรง ทัศนธาตุ ใน
ธรรมชาติส่งิ แวดล้อม สามารถจดั กลุ่มของภาพตามทศั นธาตุ สามารถใช้ เส้น สี รปู รา่ ง รูปทรง และพ้ืนผิว
ในงานวาด งานปน้ั และงานภาพพิมพ์ วาดภาพระบายสีส่ิงต่างๆรอบตัว วาดภาพถ่ายทอดความคดิ ความรสู้ ึก
จากเหตกุ ารณช์ วี ิตจริง มีทักษะพื้นฐานการใช้วสั ดุ อปุ กรณ์ในการปัน้ สร้างงานทัศนศิลป์ตามที่ตนเองชน่ื ชอบ
สามารถแสดงเหตุผลและร้วู ธิ กี ารปรบั ปรุงผลงานของตนเอง รทู้ ่ีมาของงานทัศนศลิ ปใ์ นทอ้ งถน่ิ รวมถึงวสั ดุ
อปุ กรณแ์ ละวิธีการสร้างงานทศั นศิลป์ในทอ้ งถนิ่
อธบิ าย วเิ คราะห์ จำแนก รปู ร่างลกั ษณะและเสียงของเคร่ืองดนตรี รู้จักใชร้ ูปภาพหรือสญั ลกั ษณ์แทนเสียง
และจังหวะ สามารถบอกบทบาทหน้าที่ ของบทเพลงที่สำคัญ เอกลกั ษณ์ของดนตรีในท้องถิน่ และฝกึ ปฏิบัติ
ทกั ษะการฟัง การขับรอ้ ง และบรรเลงดนตรงี ่ายๆ โดยใชก้ ารเคล่ือนไหวท่าทางสอดคล้องกับอารมณ์ของเพลง
ท่ฟี งั ตลอดจนการแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเสยี งรอ้ งและเสียงดนตรีเพ่ือนำไปใชใ้ นชวี ติ ประจำวันหรือโอกาส
ต่าง ๆ ได้อยา่ งเหมาะสม สร้างสรรคก์ ารเคล่ือนไหวในรปู แบบต่างๆ สามารถแสดงทา่ ทางประกอบจงั หวะ
เพลงตามรปู แบบนาฏศิลป์ ร้ทู ่มี า อธบิ ายลกั ษณะเด่นและเอกลกั ษณ์ของการแสดงนาฏศลิ ป์พนื้ บ้าน เขา้ ร่วม
กจิ กรรมการแสดงทเ่ี หมาะสมกับวยั ของผู้แสดงและผชู้ ม ร้ปู ระโยชน์ของการแสดงนาฏศลิ ป์ใน
ชวี ติ ประจำวนั
รบั รู้ สนใจ เห็นคุณคา่ ความงามของธรรมชาตสิ งิ่ แวดล้อมและงานทัศนศิลป์ แสดงออกทางทศั นศิลปไ์ ด้ตาม
ความคิด ความร้สู กึ และจินตนาการ แสดงออกทางดนตรีและนาฏศลิ ป์ในทางสรา้ งสรรค์ เห็นคุณค่า และ
ประโยชน์ของดนตรีนาฏศลิ ป์ท่มี ีตอ่ การดำเนนิ ชวี ติ ของคนในทอ้ งถ่นิ และรกั ความเป็นไทยชนื่ ชมและ
ภาคภูมใิ จในเอกลักษณ์ของดนตรแี ละ นาฏศลิ ปไ์ ทย รู้จกั นำความรู้ ไปประยุกตใ์ ช้ในชวี ิตประจำวันและ
สามารถประยุกตใ์ ชห้ ลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงได้
มาตรฐานการเรยี นรู้และตัวชว้ี ัด
ศ 1.1 ป.3/1 , ป.3/2 , ป.3/3 , ป.3/4 , ป.3/5 , ป.3/6 , ป.3/7 , ป.3/8 , ป.3/9 , ป.3/10
ศ 1.2 ป.3/1 , ป.3/2
ศ 2.1 ป.3/1, ป.3/2 , ป.3/3 , ป.3/4 , ป.3/5 , ป.3/6 , ป.3/7
ศ 2.2 ป.3/1 , ป.3/2
ศ 3.1 ป.3/1 , ป.3/2 , ป.3/3 , ป.3/4 , ป.3/5
ศ 3.2 ป.3/1 , ป.3/2 , ป.3/3

รวมทัง้ หมด 6 มาตรฐาน 29 ตวั ชวี้ ัด

คำอธบิ ายรายวชิ า ศลิ ปะ 4
ศ 14101 กล่มุ สาระการเรยี นรูศ้ ิลปะ
รายวิชาพ้ืนฐาน
ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 4 เวลา ..80.ช่วั โมง

สังเกต เปรียบเทียบ วเิ คราะห์ จำแนก ลักษณะและประเภทของทศั นธาตุ รูปร่าง รูปทรง เสน้ สี
พื้นผิว และท่วี า่ ง ในธรรมชาติสงิ่ แวดล้อมและงานทัศนศลิ ป์ ศึกษาเก่ยี วกบั อทิ ธิพลของสี สีวรรณะอุ่น สี
วรรณะเยน็ หลกั การจัดระยะ ความลึก น้ำหนกั และแสงเงาในภาพ เพอื่ นำมาใช้สรา้ งสรรค์ และถา่ ยทอด
อารมณ์ความรสู้ ึกในงานทัศนศิลป์ รวมถึงมีทักษะพ้ืนฐานการใชว้ ัสดอุ ุปกรณ์ ในการสร้างสรรค์งานทศั นศิลป์
ตามแนวทางปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง
ศึกษา วเิ คราะห์ จำแนก โครงสรา้ งของบทเพลง ประเภทและเสียงของเสียงเครื่องดนตรี ทิศทางการ
เคลอ่ื นทข่ี องทำนอง รูปแบบจงั หวะ ความช้า เรว็ ของจงั หวะ ฝกึ อ่าน เขยี นเคร่ืองหมาย และสญั ลกั ษณท์ าง
ดนตรี โนต้ ดนตรีไทยและสากล ศกึ ษาแหล่งทม่ี าและความสัมพันธ์ของวิถชี วี ติ กับผลงานดนตรี รู้และเข้าใจ
ทกั ษะพ้ืนฐานทางนาฏศลิ ป์และการละคร หลกั และวิธีการปฏบิ ัตนิ าฏศลิ ป์ความเปน็ มาของนาฏศลิ ป์ สามารถ
แสดงภาษาท่า นาฏยศัพทพ์ ้นื ฐาน สรา้ งสรรค์การเคล่ือนไหว ประดิษฐท์ า่ ทาง หรอื ท่ารำประกอบจงั หวะ
พ้นื เมือง แสดงนาฏศิลปป์ ระเภทคู่หรอื หม่ไู ด้อยา่ งสร้างสรรค์
เห็นคุณค่างานทัศนศิลปท์ ่ีเปน็ มรดกทางวัฒนธรรม ภมู ิปัญญาท้องถิ่น ภูมปิ ัญญาไทยและสากลแสดงออกถึง
ความรูส้ ึก ความไพเราะของเสียงเพลง เสียงดนตรีบอกสงิ่ ท่ชี ่ืนชอบในการแสดง เหน็ คุณค่าความสำคัญในการ
อนุรกั ษ์ส่งเสรมิ วฒั นธรรมทางดนตรีและนาฏศลิ ป์ รักความเป็นไทยและภาคภมู ิใจ ในเอกลกั ษณข์ องดนตรี
และนาฏศลิ ปไ์ ทย รจู้ ักนำความรไู้ ปประยกุ ต์ใชใ้ นชีวิตประจำวันและสามารถประยกุ ต์ใชห้ ลกั ปรชั ญาของ
เศรษฐกิจพอเพยี งได้

มาตรฐานการเรียนรแู้ ละตวั ชว้ี ัด
ศ1.1 ป.4/1 , ป.4/2 , ป.4/3 , ป.4/4 , ป.4/5 , ป.4/6 , ป.4/7 , ป.4/8 , ป.4/9
ศ 1.2 ป.4/1 , ป.4/2
ศ 2.1 ป.4/1 , ป.4/2 , ป.4/3 , ป.4/4 , ป.4/5 , ป.4/6 , ป.4/7
ศ 2.2 ป.4/1 , ป.4/2
ศ 3.1 ป.4/1 , ป.4/2 , ป.4/3 , ป.4/4, ป.4/5
ศ 3.2 ป.4/1 , ป.4/2 , ป.4/3 , ป4/4
รวมท้งั หมด 6 มาตรฐาน 29 ตวั ช้ีวัด

คำอธบิ ายรายวชิ า

ศ 15101 ศิลปะ 5
รายวิชาพ้นื ฐาน กลุ่มสาระการเรยี นรศู้ ลิ ปะ
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
เวลา ... 80 ชั่วโมง

สงั เกต เปรยี บเทียบ วเิ คราะห์ จำแนก อภิปรายเกี่ยวกบั จงั หวะ ตำแหน่ง การจดั วางของสงิ่ ต่างๆ
ในธรรมชาติสิ่งแวดล้อม และงานทัศนศลิ ป์ ลักษณะรูปแบบของงานทัศนศิลป์ท่ีใช้วสั ดุอุปกรณ์ และวธิ ีการที่
แตกตา่ งกัน ฝกึ การสร้างงานทัศนศิลปโ์ ดยใช้เทคนิคของแสงเงา นำ้ หนัก วรรณะสี และการจดั วาง
ตำแหนง่ ระบุปัญหาในการจดั องคป์ ระกอบศิลป์ การสอ่ื ความหมายในงานทัศนศิลป์ และวธิ ีการปรับปรุง
ผลงานของตนเอง
ศึกษา อธิบาย องคป์ ระกอบของดนตรี เพอื่ ถา่ ยทอดความรู้สกึ ทงั้ จงั หวะ ทำนองกบั อารมณ์ของบทเพลง
สามารถจำแนก เปรยี บเทยี บ วเิ คราะห์ ลักษณะของเสียงขบั ร้อง และเสยี งของวงดนตรปี ระเภทตา่ งๆ ฝกึ
ปฏบิ ัตทิ ักษะการอ่าน การเขยี นตัวโน้ตดนตรไี ทยและสากล 5 ระดับเสียง รวมถงึ ทักษะการฟงั การขบั ร้อง
เพลงไทย เพลงไทยสากล หรือเพลงสากลไดต้ ามความเหมาะสมกับวัย เพ่ือฝึกทกั ษะการใชภ้ าษา ทักษะการคิด
สรา้ งสรรค์ในการแตง่ ประโยคเพลงแบบถาม-ตอบ รู้และเขา้ ใจ องคป์ ระกอบนาฏศิลป์ สามารถแสดงภาษาทา่
นาฏยศัพท์พน้ื ฐาน ในการสอื่ ความหมาย มีทกั ษะในการเคลอ่ื นไหว และการแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่าง
สร้างสรรค์ วเิ คราะห์ เปรยี บเทยี บ อธบิ าย ทม่ี าและประเภท ของการแสดงนาฏศิลป์ไทยในแตล่ ะทอ้ งถ่นิ
การ แสดงนาฏศิลปพ์ ้ืนบ้านทสี่ ะทอ้ นถึงวัฒนธรรม และประเพณีและบอกประโยชนท์ ีไ่ ด้รับจากการชม
การแสดง

เข้าใจความสมั พันธ์ระหว่างดนตรี และนาฏศิลปก์ ับประเพณี วฒั นธรรมไทย ร้จู กั อนุรกั ษ์ เห็น
คณุ ค่างานทัศนศลิ ปท์ ีส่ ะท้อนวฒั นธรรม ภูมิปญั ญาในท้องถน่ิ และมีผลตอ่ ชวี ิตคนในสังคม และเห็น
คณุ ค่า ศิลปวฒั นธรรมพ้นื บา้ นหรอื ภูมิปญั ญาท้องถิ่น ภมู ปิ ัญญาไทยและสากล รู้จกั นำความรู้ ไปประยุกตใ์ ช้
ในชวี ติ ประจำวนั และสามารถประยุกต์ใช้หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งได้

มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตัวชวี้ ัด
ศ 1.1 ป.5/1 , ป.5/2 , ป.5/3 , ป.5/4 , ป.5/5 , ป.5/6 , ป.5/7
ศ 1.2 ป.5/1 , ป.5/2
ศ 2.1 ป.5/1 , ป.5/2 , ป.5/3 , ป.5/4 , ป.5/5 , ป.5/6 , ป.5/7
ศ 2.2 ป.5/1 , ป.5/2
ศ 3.1 ป.5/1 , ป.5/2 , ป.5/3 , ป.5/4 , ป.5/5 , ป.5/6
ศ 3.2 ป.5/1 , ป.5/2
รวมท้ังหมด 6 มาตรฐาน 26 ตัวชี้วัด

คำอธบิ ายรายวชิ า

ศ 16101 ศลิ ปะ 6
รายวิชาพ้ืนฐาน กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศิลปะ
ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 6
เวลา 80…ชวั่ โมง

ศึกษา อธบิ าย ระบุ จำแนก หลักการจัดขนาด สัดสว่ น สคี ู่ตรงขา้ ม หลกั แสงเงาและน้ำหนกั

หลกั การเพิม่ และลด หลักการของรูปและพื้นทวี่ ่าง เพอื่ นำมาใช้สร้างสรรค์ผลงานทัศนศลิ ป์ 2 มติ ิ 3 มิติ เช่น

งาน สอื่ ผสม งานวาดภาพระบายสี งานปน้ั งานภาพพมิ พ์ รวมท้งั สามารถสรา้ งแผนภาพ แผนผงั และ

ภาพประกอบเพื่อถ่ายทอดความคดิ จนิ ตนาการเป็นเรื่องราวเกีย่ วกบั เหตกุ ารณ์ต่างๆ รแู้ ละเขา้ ใจบทบาทของ

งานทัศนศิลป์ที่สะท้อนชวี ิตและสังคม อิทธิพลความเชือ่ ความศรัทธาในศาสนา และวฒั นธรรมทมี่ ี

ผลต่อการสร้างงานทศั นศลิ ป์ในทอ้ งถ่นิ

ศึกษา อธบิ าย องคป์ ระกอบของดนตรแี ละศัพทส์ ังคตี สามารถจำแนก เปรยี บเทียบ วเิ คราะหป์ ระเภท และ

บทบาทหน้าทเี่ คร่ืองดนตรไี ทย และเครอื่ งดนตรที ่ีมาจากวฒั นธรรมตา่ งๆ เข้าใจอทิ ธิพลของวฒั นธรรมตอ่

ดนตรใี นทอ้ งถนิ่ การฝึกปฏิบัตทิ ักษะการอา่ น การเขียนตวั โน้ตบทเพลงไทย บทเพลงสากล รวมถงึ

การฝึกทักษะการฟงั และการขับรอ้ งเพลงประกอบดนตรีที่มจี งั หวะและทำนองง่ายๆ ตลอดจนการบรรยาย

ความรู้สกึ การแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกบั เนือ้ หา องค์ประกอบ และคุณภาพเสียงในบทเพลงท่ีฟัง

สรา้ งสรรคก์ ารเคล่ือนไหว และการแสดงนาฏศลิ ป์ และการละครงา่ ยๆ ถา่ ยทอดลีลาหรืออารมณ์ และสามารถ

ออกแบบเครื่องแตง่ กายหรอื อุปกรณ์ประกอบการแสดงงา่ ยๆ เข้าใจความสมั พันธร์ ะหว่างนาฏศิลป์ และการ

ละครกับสิง่ ที่ประสบในชีวติ ประจำวนั แสดงความคิดเห็นในการชมการแสดง และบรรยาย

ความรสู้ ึกของตนเอง ทีม่ ีต่องานนาฏศลิ ปแ์ ละการละครอย่างสร้างสรรค์

เห็นคุณค่างานทัศนศิลป์ที่เป็นมรดกทางวฒั นธรรม ภูมิปัญญาท้องถน่ิ ภูมปิ ัญญาไทยและสากลตามแนวทาง

ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง ชื่นชมวัฒนธรรมประเพณี สืบทอดผลงานของบทเพลง ดนตรี และการแสดงทาง

นาฏศิลป์ไทยท่ีเก่ยี วขอ้ งกับวฒั นธรรม ภมู ปิ ญั ญาท้องถ่ิน ภูมิปัญญาไทยและสากลรู้จักนำความรู้ไป

ประยกุ ต์ใช้ในชวี ติ ประจำวันและสามารถประยกุ ต์ใชห้ ลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้

มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตัวชวี้ ัด

ศ 1.1 ป.6/1 , ป.6/2 , ป.6/3 , ป.6/4 , ป.6/5 , ป.6/6 , ป.6/7

ศ 1.2 ป.6/1 , ป.6/2 , ป.6/3

ศ 2.1 ป.6/1 , ป.6/2 , ป.6/3 , ป.6/4 , ป.6/5 , ป.6/6

ศ 2.2 ป.6/1 , ป.6/2 , ป.6/3

ศ 3.1 ป.6/1 , ป.6/2 , ป.6/3 , ป.6/4 , ป.6/5 , ป.6/6

ศ 3.2 ป.6/1 , ป.6/2

รวมท้ังหมด 6 มาตรฐาน 27 ตัวช้ีวดั

กลมุ่ สาระการเรยี นร้กู ารงานอาชพี และเทคโนโลยี (ปรบั ตามหลกั สตู รพ.ศ.2560)

คำอธบิ ายรายวิชา กลุ่มสาระการเรียนรูก้ ารงานอาชีพและ
กลมุ่ สาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชีพ เวลา ๘๐ ช่ัวโมง
และเทคโนโลยี
คำอธิบายรายวชิ าพน้ื ฐาน
ง ๑๑๑๐๑ การงานอาชพี ฯ๑
เทคโนโลยี
ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑

คำอธิบายรายวิชา
บอก รู้ วธิ ีการทำงาน ใช้วัสดอุ ุปกรณ์ และเคร่อื งมอื ประโยชนข์ องอุปกรณ์ เทคโนโลยสี ารสนเทศ

ทำงานเพื่อชว่ ยเหลือตนเองอยา่ งกระตอื รือรน้ และการประหยดั , ออม การตรงตอ่ เวลา การผลิตเคร่ืองใชจ้ กั
สาน จากวสั ดุเหลือใช้เศรษฐกิจพอเพียงผ่านกจิ กรรมต่างๆ ได้แก่ สหกรณ์ การจัดการขยะ อาหารกลางวัน
ข้อมูลสง่ิ ที่สนใจเปน็ ขอ้ มูลเกีย่ วกับบุคคล สตั ว์ สิ่งของ เรอื่ งราวในหมูบ่ ้านหนองไผ่ หอ้ งสมุดโรงเรยี นบ้านเสยี ว
โคกกลาง)
เพอื่ ให้รู้ เขา้ ใจ การชว่ ยเหลอื ตนเองเปน็ การลงมือทำงานทม่ี ุ่งเน้นการฝึกทำงานอยา่ งสม่ำเสมอ การทำงาน
อยา่ งปลอดภัย ความกระตือรอื ร้นและตรงเวลาเป็นลกั ษณะนิสัยในการทำงาน ใฝร่ ู้ใฝเ่ รียน มงุ่ มั่นในการทำงาน
สามารถนำความรไู้ ปใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์โดยใชห้ ลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและสามารถนำไปประยกุ ต์ใช้
กบั ชวี ติ ประจำวนั ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม

มาตรฐาน/ตวั ช้ีวัด
ง ๑.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๑, ป.๑/๓
ง ๓.๑ ป.๑.๑, ป.๑/๒

รวม ๒ มาตรฐาน ๕ ตัวช้ีวัด

คำอธิบายรายวชิ าพน้ื ฐาน กลุ่มสาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชพี และ
ง ๑๒๑๐๑ การงานอาชพี ฯ๒ เวลา ๘๐ ช่ัวโมง
เทคโนโลยี
ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ ๒

คำอธบิ ายรายวชิ า
บอก รู้ วิธีการหรอื ประโยชนข์ องการทำงาน สงิ่ ของเครื่องใชใ้ นชีวิตประจำวัน ใชว้ ัสดุอปุ กรณ์ ช่อื และหน้าที่
ของอปุ กรณแ์ ละเครอ่ื งมอื ใหเ้ หมาะสมกับงาน อาชีพการทำสวนลองกองชว่ ยใหก้ ารประหยัด , ออม รจู้ กั
แบ่งปนั สง่ิ ของให้ผอู้ ืน่ และชว่ ยเหลอื งานบา้ น ขอ้ มูลและรวบรวมข้อมูลท่ีสนใจจากแหลง่ ขอ้ มูลตา่ งๆที่เชอื่ ถอื ได้
ช่อื และหน้าทขี่ องอุปกรณ์พนื้ ฐานทเี่ ปน็ สว่ นประกอบหลกั ของคอมพวิ เตอร์ เศรษฐกิจพอเพียงผา่ นกิจกรรม
ตา่ งๆ ไดแ้ ก่ เศรษฐกิจพอเพยี งผา่ นกจิ กรรมต่าง ๆ สหกรณ์ การจัดการขยะ อาหารกลางวนั โรงเรียน การผลิต
การใชว้ ัสดุเหลือใช้
เพอื่ ใหต้ ระหนัก เห็นคณุ ค่า เพ่อื ช่วยเหลอื ตนเองและครอบครวั นำความร้เู กี่ยวกับการใช้อุปกรณ์ เครือ่ งมือท่ี
ถูกวธิ ไี ปประยุกต์ใช้ การสร้างของเลน่ ของใช้อยา่ งงา่ ย มคี วามคิดสรา้ งสรรคอ์ ยา่ งนอ้ ย ๑ ลักษณะ ของใช้
อยา่ งอยา่ งง่ายโดยกำหนดปัญหาหรอื ความต้องการรวบรวมขอ้ มลู ออกแบบโดยถ่ายทอดความคิดเป็นภาพร่าง
๒ มติ นิ ำความรูเ้ กี่ยวกับการใช้อุปกรณ์ เครอ่ื งมอื ที่ถกู วธิ ีไปประยุกต์ใช้ การสร้างของเลน่ ของใชอ้ ย่างง่ายมี
ความคดิ สรา้ งสรรค์อย่างน้อย ๑ ลักษณะ ในการแกป้ ัญหา สามารถนำความรู้ไปใช้ให้เกดิ ประโยชนโ์ ดยใช้หลกั
ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและสามารถนำไปประยกุ ตใ์ ชก้ ับชวี ิตประจำวันไดอ้ ย่างถูกต้องเหมาะสม

มาตรฐาน/ตวั ช้ีวดั
ง ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓
ง ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔
ง ๓.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓

รวม ๓ มาตรฐาน ๑๐ ตัวช้ีวัด

คำอธบิ ายรายวชิ าพนื้ ฐาน กลุม่ สาระการเรียนรู้การงานอาชพี และเทคโนโลยี
ง ๑๓๑๐๑ การงานอาชพี ฯ๓ เวลา ๘๐ ช่ัวโมง
ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๓

คำอธบิ ายรายวชิ า
บอก คน้ หาขอ้ มูล รวบรวมขอ้ มลู สร้าง ข้นั ตอน เลือกใชส้ งิ่ ของเคร่ือง เครือ่ งมือวธิ กี ารทำงานและประโยชน์
การทำงาน ใชว้ ัสดุ อปุ กรณ์ และเคร่อื งมอื ตรงกับงาน อาชีพการทำสวน ช่วยให้การประหยดั , ออม โดย
กำหนดปัญหาหรือความตอ้ งการ อยา่ งมีขัน้ ตอน ทำงานอยา่ งเป็นตามกระบวนการทำงานด้วยความสะอาด
ความรอบคอบและอนรุ ักษ์ส่ิงแวดลอ้ ม เศรษฐกิจพอเพยี งผ่านกิจกรรมต่างๆ ไดแ้ ก่ สหกรณ์ การจดั การขยะ
อาหารกลางวนั โรงเรียน
เพือ่ ให้ รู้ เข้าใจ การทำงาน เพอ่ื ช่วยเหลือตนเองและครอบครวั ช่วยเหลืองานบ้านและส่วนรวมออกแบบโดย
การถา่ ยทอดความคิดเป็นภาพร่าง ๒ มติ ิลงมือสร้างและประเมนิ ผลเลือกใช้สิง่ ของเครอ่ื งใช้ในชีวิตประจำวนั
อย่างสรา้ งสรรค์ มกี ารจัดการสิง่ ของเครอื่ งใช้ ด้วยการนำกลบั มาใชซ้ ้ำการแบง่ ปันสิ่งของให้ผูอ้ ืน่ สามารถนำ
ความร้ไู ปใชใ้ ห้เกดิ ประโยชน์โดยใชห้ ลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและสามารถนำไปประยกุ ต์ใช้กับ
ชวี ติ ประจำวนั ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสม

มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด
ง ๑.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓
ง ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓
ง ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒

รวม ๓ มาตรฐาน ๘ ตัวช้วี ัด

คำอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน

ง ๑๔๑๐๑ การงานอาชีพฯ๔ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและ

เทคโนโลยี

ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๔ (งานบ้าน งานเกษตรและงานช่าง และงานคอมพิวเตอร์) เวลา ๘๐

ช่วั โมง

คำอธิบายรายวิชา
บอก อธบิ าย ความหมาย ความสำคัญ ของอาชีพ ขั้นตอนการทำงาน ใชร้ ะบบ เหตุผลในการทำงานให้
บรรลเุ ป้าหมาย ประโยชนแ์ ละโทษ ใชพ้ ลังงานทรพั ยากรในการทำงานอย่างประหยัด การ ออม เศรษฐกจิ
พอเพยี งผา่ นกิจกรรมต่างๆ ไดแ้ ก่ สหกรณ์ การจัดการขยะ อาหารกลางวนั โรงเรยี น การทำอาชพี การปลกู พืช
สวนครัว เลี้ยงสัตว์ ชอ่ื และหนา้ ท่ขี องอปุ กรณ์เทคโนโลยสี ารสนเทศ หลกั การทำงานเบือ้ งต้นของคอมพวิ เตอร์
เพือ่ ให้ รู้ เข้าใจ การช่วยเหลืองานในบา้ น การทำงานบรรลุเป้าหมายทีว่ างไวอ้ ย่างเป็นขนั้ ตอน การใช้
ระบบปฏิบัตกิ ารคอมพิวเตอรใ์ นการทำงาน ภาพนิ่งหรือช้ินงานจากจินตนาการโดยใช้โปรแกรมกราฟิกด้วย
ความรบั ผิดชอบ การแบ่งปนั สิง่ ของให้ สามารถนำความร้ไู ปใชใ้ หเ้ กิดประโยชนโ์ ดยใช้หลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงและสามารถนำไปประยกุ ต์ใชก้ ับชีวติ ประจำวนั ไดอ้ ยา่ งถูกต้องเหมาะสม

มาตรฐาน/ตวั ช้ีวดั
ง ๑.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔
ง ๓.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕
ง ๔.๑ ป.๔/๑

รวม ๓ มาตรฐาน ๑๐ ตวั ชวี้ ัด

คำอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน

ง ๑๕๑๐๑ การงานอาชพี ฯ๕ กลุ่มสาระการเรียนรูก้ ารงานอาชีพและ

เทคโนโลยี

ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 5 (งานบ้าน งานเกษตรและงานชา่ ง และงานคอมพิวเตอร์ เวลา ๘๐ ชั่วโมง

คำอธิบายรายวชิ า
บอก อธิบาย ความหมาย ความสำคญั ของอาชพี ข้นั ตอนการทำงาน ใช้ระบบเหตผุ ลในการทำงานใหบ้ รรลุ
เปา้ หมาย ประโยชน์และโทษ ใชพ้ ลังงานทรพั ยากรในการทำงานอย่างประหยัด การออม เศรษฐกิจพอเพยี ง
ผา่ นกิจกรรมต่างๆ ไดแ้ ก่ สหกรณ์ การจัดการขยะ อาหารกลางวนั โรงเรียน การทำอาชีพการปลกู พืชสวนครัว
เลย้ี งสัตว์ ช่อื และหนา้ ท่ีของอปุ กรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ หลกั การทำงานเบอื้ งต้นของคอมพิวเตอร์
เพือ่ ให้ รู้ เข้าใจ การช่วยเหลอื งานในบา้ น การทำงานบรรลเุ ป้าหมายที่วางไว้อยา่ งเป็นขั้นตอน การใช้
ระบบปฏบิ ัตกิ ารคอมพิวเตอร์ในการทำงาน ภาพนิ่งหรือช้ินงานจากจินตนาการโดยใชโ้ ปรแกรมกราฟิกด้วย
ความรบั ผดิ ชอบ การแบง่ ปันส่งิ ของให้ สามารถนำความรไู้ ปใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์โดยใช้วิธกี ารของเศรษฐกจิ
พอเพยี งและสามารถนำไปประยุกตใ์ ช้กับชวี ิตประจำวันไดอ้ ย่างถกู ตอ้ งเหมาะสม

มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด
ง ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
ง ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕
ง ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒
ง ๔.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒

รวม ๔ มาตรฐาน ๑๓ ตัวช้ีวดั

คำอธิบายรายวชิ าพน้ื ฐาน

ง ๑๖๑๐๑ การงานอาชพี ฯ๖ กลุ่มสาระการเรยี นรู้การงานอาชีพและ

เทคโนโลยี

ช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๖ (งานบ้าน งานเกษตรและงานชา่ ง และงานคอมพิวเตอร์) เวลา ๘๐ ช่ัวโม

คำอธบิ ายรายวชิ า

อธิบาย บอก อภิปราย รวบรวม นำเสนอ ขอ้ มูล แนวทางการทำงานแตล่ ะข้ันตอน สว่ นประกอบของ

เทคโนโลยี สร้างส่ิงของเครื่องใช้อย่างเปน็ ขั้นตอน ต้ังแตก่ ำหนดปญั หา หรือความต้องการ รวบรวมขอ้ มลู

เลือกวิธีการในรูปแบบทเ่ี หมาะสมโดยเลือกใช้ซอฟต์แวรป์ ระยุกต์ ออกแบบโดยการถา่ ยทอดความคดิ เป็นภาพ

ร่าง ๓ มติ ิ กอ่ นลงมือสรา้ ง และประเมินผล ทำให้ผ้เู รียนทำงานอ ยา่ งเปน็ กระบวนการและชว่ ยเหลืองานใน

บ้านการประหยดั การออม การแบง่ ปันส่ิงของให้ผ้อู ่ืนการแปรรปู จากกล้วยการผลิตการใชเ้ คร่อื งจกั สาน

การผลิตการใช้เคร่ืองจักสานจากวัสดุเหลอื ใช้ อาชีพการทำสวนการปลกู พืชสวนครวั เล้ียงสตั ว์ เศรษฐกจิ

พอเพียงผา่ นกจิ กรรมต่างๆ ได้แก่ สหกรณ์ การจัดการขยะ อาหารกลางวันโรงเรียน

เพือ่ ใหร้ ู้ เขา้ ใจทกั ษะการจดั การทำงาน และมที ักษะการทำงานร่วมกนั ปฏบิ ัตติ นอย่างมมี ารยาทในการทำงาน

กับสมาชกิ ในครอบครัวและผูอ้ น่ื นำความรแู้ ละทกั ษะการสร้าง ช้นิ งาน ไปประยกุ ตใ์ นการสร้างสิ่งของเครอื่ งใช้

และการแก้ปญั หาวางแผนในการเลอื กอาชีพ สามารถนำความรู้ไปใชใ้ ห้เกิดประโยชน์โดยใช้วิธกี ารของ

เศรษฐกิจพอเพียงและสามารถนำไปประยุกตใ์ ชก้ ับชีวติ ประจำวนั ไดอ้ ยา่ งถกู ต้องเหมาะสม

มาตรฐาน/ตวั ช้ีวัด
ง ๑.๑ ป.๖/๑ , ป.๖/๒ , ป.๖/๓
ง ๒.๑ ป.๖/๑ , ป.๖/๒ , ป.๖/๓
ง ๓.๑ ป.๖/๑ , ป.๖/๒ , ป.๖/๓ , ป ๖/๔ , ป ๖/๕

ง ๔.๑ ป.๖/๑ , ป.๖/๒
รวม ๔ มาตรฐาน ๑๓ ตัวชี้วัด

กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ

ความสำคญั ของภาษาต่างประเทศ

ในสงั คมโลกปัจจบุ นั การเรยี นรภู้ าษาต่างประเทศมคี วามสำคัญและจำเปน็ อย่างยิ่ง

ในชีวิตประจำวนั เน่อื งจากเปน็ เคร่อื งมือสำคญั ในการตดิ ตอ่ สื่อสาร การศกึ ษา การแสวงหาความรู้

การประกอบอาชพี การสร้างความเข้าใจเก่ียวกับวฒั นธรรมและวิสัยทัศน์ของชมุ ชนโลก และตระหนกั ถึงความ

หลากหลายทางวฒั นธรรมและมุมมองของสังคมโลก นำมาซงึ่ มิตรไมตรแี ละความรว่ มมอื กับประเทศตา่ ง ๆ

ชว่ ยพฒั นาผเู้ รยี นใหม้ คี วามเขา้ ใจตนเองและผู้อ่ืนดขี ึ้น เรยี นร้แู ละเขา้ ใจความแตกตา่ งของภาษาและวฒั นธรรม

ขนบธรรมเนียมประเพณี การคดิ สังคม เศรษฐกจิ การเมือง การปกครอง มีเจตคติท่ีดีต่อการใช้

ภาษาต่างประเทศ และใช้ภาษาต่างประเทศเพื่อการส่ือสารได้ รวมท้ังเข้าถึงองค์ความรู้ต่าง ๆ ไดง้ า่ ยและ

กว้างขึ้น และมวี ิสัยทศั น์ในการดำเนินชีวิต ภาษาต่างประเทศที่เปน็ สาระการเรียนรูพ้ ้นื ฐาน ซึง่ กำหนดให้เรยี น

ตลอดหลักสตู รการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน คอื ภาษาองั กฤษ ส่วนภาษาต่างประเทศอื่น เชน่ ภาษา

ฝร่งั เศส เยอรมัน จนี ญปี่ นุ่ อาหรับ บาลี และภาษากลุม่ ประเทศเพือ่ นบา้ น หรือภาษาอื่น ๆ ให้อยู่ในดลุ ยพนิ ิจ

ของสถานศกึ ษาที่จะจดั ทำรายวิชาและจัดการเรียนรตู้ ามความเหมาะสม

กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ม่งุ หวงั ให้ผเู้ รยี นมีเจตคตทิ ี่ดีตอ่ ภาษาต่างประเทศ สามารถใช้

ภาษาต่างประเทศ สื่อสารในสถานการณ์ตา่ ง ๆ แสวงหาความรู้ ประกอบอาชีพ และศึกษาตอ่ ในระดับ ที่สงู ข้นึ

รวมท้งั มีความรูค้ วามเข้าใจในเรอ่ื งราวและวฒั นธรรมอนั หลากหลายของประชาคมโลก และสามารถ

ถา่ ยทอดความคดิ และวัฒนธรรมไทยไปยังสังคมโลกได้อยา่ งสร้างสรรค์และสามารถประยุกต์ใชห้ ลกั ปรชั ญา

ของเศรษฐกิจพอเพียงได้ ประกอบด้วยสาระสำคญั ดงั น้ี

- ภาษาเพ่อื การส่ือสาร การใช้ภาษาต่างประเทศในการฟงั -พดู -อา่ น-เขียน แลกเปล่ียนขอ้ มูล ข่าวสาร

แสดงความรู้สึกและความคิดเห็น ตีความ นำเสนอขอ้ มลู ความคิดรวบยอดและความคิดเหน็ ในเร่อื งต่างๆ

และสรา้ งความสัมพันธร์ ะหว่างบุคคลอยา่ งเหมาะสม

- ภาษาและวัฒนธรรม การใชภ้ าษาตา่ งประเทศตามวฒั นธรรมของเจา้ ของภาษาความสมั พนั ธ์ ความ

เหมือนและความแตกต่างระหว่างภาษากบั วัฒนธรรมของเจา้ ของภาษา ภาษา และวัฒนธรรมของเจา้ ของ

ภาษากบั วัฒนธรรมไทย และนำไปใชอ้ ย่างเหมาะสม

- ภาษากบั ความสมั พันธ์กับกลุ่มสาระการเรยี นร้อู ่ืน การใช้ภาษาต่างประเทศในการเชอ่ื มโยงความรู้กับกลมุ่

สาระการเรียนรู้อื่น เปน็ พื้นฐานในการพฒั นาแสวงหาความร้แู ละเปดิ โลกทศั นข์ องตน

- ภาษากับความสัมพนั ธ์กบั ชมุ ชนและโลก การใชภ้ าษาต่างประเทศในสถานการณ์ต่างๆ ทงั้ ในห้องเรยี นและ

นอกห้องเรียน ชุมชน และสังคมโลก เปน็ เครือ่ งมือพืน้ ฐานในการศึกษาต่อ

ประกอบอาชีพ และแลกเปลีย่ นเรยี นรกู้ ับสังคมโลก

สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้
สาระท1ี่ ภาษาเพอื่ การสอื่ สาร
มาตรฐาน ต 1.1 เข้าใจและตีความเร่ืองทฟ่ี งั และอ่านจากสอ่ื ประเภทตา่ ง ๆ และแสดงความคิดเห็น

อย่างมีเหตผุ ล
มาตรฐาน ต1 .2 มีทักษะการส่อื สารทางภาษาในการแลกเปลยี่ นข้อมูลข่าวสาร แสดงความรู้สกึ และความ

คิดเหน็ อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
มาตรฐาน ต1 .3 นำเสนอขอ้ มูลขา่ วสาร ความคดิ รวบยอด และความคิดเหน็ ในเร่อื งตา่ งๆ โดยการพดู และ

การเขยี น
สาระท2่ี ภาษาและวัฒนธรรม
มาตรฐาน ต2 .1 เข้าใจความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งภาษากบั วฒั นธรรมของเจา้ ของภาษา และนำไปใช้ ได้อยา่ ง

เหมาะสมกับกาลเทศะ
มาตรฐาน ต2 .2 เข้าใจความเหมอื นและความแตกต่างระหว่างภาษาและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา

กับภาษาและวัฒนธรรมไทย และนำมาใช้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
สาระท3่ี ภาษากบั ความสมั พนั ธ์กบั กล่มุ สาระการเรยี นรอู้ น่ื
มาตรฐาน ต3 .1 ใชภ้ าษาตา่ งประเทศในการเช่ือมโยงความรูก้ ับกลุ่มสาระการเรยี นรอู้ ื่น และเป็นพน้ื ฐานใน

การพัฒนา แสวงหาความรู้ และเปิดโลกทศั น์ของตน
สาระท4ี่ ภาษากับความสมั พนั ธ์กับชมุ ชนและโลก
มาตรฐาน ต4 .1 ใช้ภาษาตา่ งประเทศในสถานการณต์ ่างๆ ท้งั ในสถานศกึ ษา ชมุ ชน และสงั คม
มาตรฐาน ต4 .2 ใช้ภาษาตา่ งประเทศเปน็ เครอื่ งมอื พืน้ ฐานในการศกึ ษาตอ่ การประกอบอาชีพ และการ

แลกเปล่ียนเรียนรู้กับสงั คมโลก

คำอธบิ ายรายวชิ า ภาษาอังกฤษ 1
อ 11101 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
รายวชิ าพ้นื ฐาน
ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 1 เวลา 200…. ชว่ั โมง

ปฏบิ ตั ิตามคำสงั่ ง่ายๆ ทีฟ่ งั ระบตุ วั อักษรและเสยี ง อา่ นออกเสียงและสะกดคำงา่ ยๆ ถูกต้องตามหลักการอ่าน
เลือกภาพตรงตามความหมายของคำและกลุ่มคำที่ฟงั ตอบคำถามจากการฟงั เรอ่ื งใกล้ตวั พูดโต้ตอบ ใช้
คำสงั่ บอกความต้องการ ให้ขอ้ มูล ด้วยคำส้ันๆ ง่ายๆ ในการส่ือสารระหวา่ งบคุ คลตามแบบท่ฟี งั พูดให้ข้อมลู
เกย่ี วกับตนเองและเร่อื งใกล้ตวั พูด ทำท่าประกอบ บอกช่อื คำศพั ท์ เข้ารว่ มกจิ กรรมทางภาษา ตามวัฒนธรรม
ของเจ้าของภาษาที่เหมาะกบั วัย ระบุตัวอกั ษรและเสียงตัวอักษรของภาษาตา่ งประเทศและภาษาไทย บอก
คำศพั ท์ที่เก่ียวขอ้ งกบั กลมุ่ สาระการเรยี นรูอ้ นื่ ฟงั พูดในสถานการณ์ง่ายๆ ที่เกดิ ขน้ึ ในหอ้ งเรยี น และใช้
ภาษาต่างประเทศเพอื่ รวบรวมคำศัพทท์ ี่เกี่ยวข้อง ใกล้ตวั มนี ิสยั ใฝเ่ รยี นรู้ มุง่ มั่นในการทำงาน ซื่อสัตยส์ จุ ริต
รักความเป็นไทย ดำเนนิ ชีวิตตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง เหน็ คุณคา่ ของการใชภ้ าษาและมีเจตคติที่
ดตี ่อการเรยี นภาษาตา่ งประเทศ

มาตรฐานการเรียนรแู้ ละตวั ชีว้ ัด
ต 1.1 ป.1/1 , ป.1/2 , ป.1/3 , ป.1/4
ต 1.2 ป.1/1 , ป.1/2 , ป.1/3 , ป1/4
ต 1.3 ป.1/1
ต 2.1 ป.1/1 , ป.1/2 , ป.1/3
ต 2.2 ป.1/1
ต 3.1 ป.1/1
ต 4.2 ป.1/1
ต 4.1 ป.1/1
รวมท้ังหมด 8 มาตรฐาน 16 ตวั ชว้ี ัด

สว่ นท่ี 4
กจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รียน

ความหมายและความสำคัญของกจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น

กจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี นเป็นกิจกรรมสำคัญทหี่ ลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นกดุ น้ำใส พุทธศักราช 2564 ตาม

หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ พุทธศกั ราช 2560 ) กำหนดให้

จัดทำขน้ึ ใหผ้ ู้เรยี นทุกคน ทกุ ระดับชน้ั เพอ่ื ส่งเสริมพฒั นาความสามารถของตนเอง ตามความถนดั

ความสนใจ ให้เตม็ ศักยภาพ โดยม่งุ เนน้ การพฒั นาองคร์ วมของความเป็นมนษุ ย์ ทงั้ ด้านร่างกาย

สตปิ ัญญา อารมณแ์ ละสังคม สร้างเยาวชนของชาติให้เปน็ ผู้มศี ีลธรรม จรยิ ธรรม มีระเบียบวนิ ัย ปลกู ฝงั และสร้าง

จิตสำนกึ ของการทำประโยชนเ์ พื่อสงั คมและสามารถบรหิ ารการจัดการตนเอง

กจิ กรรมพัฒนาผ้เู รยี นเปน็ กจิ กรรมท่ีจะสง่ เสรมิ ให้ผู้เรยี นไดพ้ ฒั นาความสามารถของตนเอง ตาม

ศกั ยภาพ เพม่ิ เตมิ จากกจิ กรรมการเรยี นรตู้ ามกลุ่มสาระการเรยี นรู้ทงั้ 8 กลุม่ การเขา้ รว่ ม และปฏิบตั ิกจิ กรรม

ทีเ่ หมาะสมรว่ มกบั ผอู้ ื่นอย่างมคี วามสุขกับกิจกรรมที่เลือกด้วยตนเองตามความถนัด ความสนใจอย่างแท้จรงิ

จะเสริมสร้างและพัฒนาองคร์ วมของความเป็นมนษุ ยใ์ หค้ รบทกุ ด้านสรา้ งความเป็นมนุษย์ ท่ีสมบูรณ์

ปลกู ฝังและสร้างจิตสำนกึ ของการทำประโยชน์เพ่ือสังคม

จุดมงุ่ หมายของกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียน

การจดั ทำกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี นในหลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นกดุ น้ำใสมีจุดประสงค์สำคัญ คือ

1. เพื่อชว่ ยเพิ่มพูนประสบการณข์ องผูเ้ รยี น ไดฝ้ ึกฝนทักษะ ไดเ้ รยี นรู้ โดยการปฏิบัติจรงิ อันเปน็ การสอดคล้อง

กับแนวการจัดการเรยี นรทู้ ่ียดึ ผเู้ รียนเป็นสำคัญ

2. เพ่อื เสรมิ สรา้ งคุณลกั ษณะดเี ดน่ ของความเปน็ ประชาธปิ ไตย ฝกึ การเป็นผนู้ ำ ผู้ตามฝึกการทำงานรว่ มกัน

ฝึกการแสดงความคดิ เห็น ฝึกความรับผดิ ชอบ

3. เพ่ือกอ่ ใหเ้ กดิ ความสามัคคี รกั หมู่คณะ เกดิ ความเข้าใจซง่ึ กนั และกัน เพราะการปฏบิ ัติกิจกรรมต้องทำงาน

เปน็ กล่มุ ตอ้ งรว่ มกันคิด รว่ มกนั ทำ ได้พบความสุข ความทกุ ข์รว่ มกัน เกิดความประทบั ใจซึ่งกันและกัน

4. ส่งเสริมความคิดรเิ ร่ิมสร้างสรรค์ ความแปลกใหม่ เพราะการทำกจิ กรรมร่วมกนั ตอ้ งรว่ มกนั ศึกษาคน้ ควา้

ค้นหาวิธกี ารที่ดกี ว่า ทำให้ความคิดแตกฉาน พบเทคนิค วธิ ีการที่แปลก ๆ ใหม่ ๆ ในการพัฒนาผลงาน

5. เพอ่ื ชว่ ยใหผ้ ู้เรียนมที างเลอื ก มีโอกาสแสดงออกตามแนวคิด ความสนใจของตนเอง มีโอกาส ในการเลือก

ตามความตอ้ งการ ความถนดั ชว่ ยพัฒนาศกั ยภาพของผ้เู รียนเปน็ รายบคุ คล

6. เพื่อฝึกผ้เู รียนใหเ้ ป็นสมาชกิ ที่ดีของสงั คม ชมุ ชน และประเทศชาติ ทั้งในปจั จุบนั และอนาคต เพราะกิจกรรม

พฒั นาผเู้ รียนมลี กั ษณะเปน็ สังคมเลก็ ท่ีจำลองจากสังคมใหญ่ มกี ฎระเบียบ กตกิ า มคี วามรับผิดชอบทั้งในสิทธิ

หน้าที่ซึง่ เป็นการปลูกฝังลักษณะนิสัยและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของการ อยู่รว่ มกนั ในสงั คมปกติ

7. เพอ่ื ช่วยให้ผู้สอนรูจ้ ักผเู้ รียนแต่ละคนดีข้ึน เพราะผลงานในการทำกจิ กรรมของผู้เรียนจะชว่ ยใหผ้ ู้สอนเขา้ ใจ
ผู้เรียนและประเมินคุณค่าคุณภาพของนกั เรยี นได้ดี และถกู ตอ้ งมากขึน้ ร้จู กั และ เข้าใจความสนใจของ
ผู้เรยี น ความถนดั ของผเู้ รียน ช่วยให้ผู้สอนทราบข้อมูลพน้ื ฐานของผู้เรยี น ท่ีถูกต้อง และสามารถสง่ เสริม
สนับสนุน หรือแกไ้ ขขอ้ บกพรอ่ งของผ้เู รยี นได้ถกู แนวทาง
8. เพอ่ื ใช้เปน็ ขอ้ มูลในการปรบั ปรงุ หลกั สูตรและการเรียนการสอนของสถานศกึ ษาเพราะพฤติกรรมการ
แสดงออกของผูเ้ รยี นในการปฏบิ ตั กิ ิจกรรม เป็นผลที่บ่งชถี้ งึ ความสำเรจ็ ของหลกั สูตรและการเรียนการสอน
ของสถานศกึ ษาว่าบรรลุผลตามจดุ มงุ่ หมายหรอื ไม่ มากน้อยเพียงใด หลกั สูตรควรจะต้องมกี ารปรบั ปรงุ หรอื
พฒั นาในส่วนใด

หลกั การจัดกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน
1. มกี ารกำหนดวัตถปุ ระสงค์ และแนวปฏบิ ัตทิ ่ีชัดเจนเป็นรูปธรรม
2. จัดให้เหมาะสมกบั วยั วุฒิภาวะ ความสนใจ ความถนดั และความสามารถของผ้เู รยี น
3. บรู ณาการกับชีวติ จรงิ ให้ผู้เรยี นได้ตระหนกั ถงึ ความสำคัญของการเรยี นร้ตู ลอดชีวิต
4. ใชก้ ระบวนการกลมุ่ ในการจัดประสบการณเ์ รยี นรู้ ฝึกให้คิดวิเคราะห์ สรา้ งสรรค์ จนิ ตนาการ ท่ี

เปน็ ประโยชน์ และสัมพนั ธก์ บั ชวี ิตในแตล่ ะช่วงวัยอยา่ งตอ่ เนอื่ ง
5. จำนวนสมาชกิ เหมาะสมกบั ลักษณะของกจิ กรรม
6. มีการกำหนดเวลาในการจดั กิจกรรมใหเ้ หมาะสมตามโครงสรา้ งหลกั สตู รสถานศึกษา
7. ผเู้ รยี นเป็นผู้ดำเนนิ การ มคี รูเปน็ ทป่ี รึกษา ถอื เปน็ หน้าท่ีและงานประจำ โดยคำนึงถึง ความ

ปลอดภัย
8. ยึดหลักการมีส่วนร่วม โดยเปิดโอกาสให้ครู พอ่ แม่ ผ้ปู กครอง ชมุ ชน องค์กร ทงั้ ภาครฐั และ

เอกชน มสี ่วนร่วมในการจัดกจิ กรรม
9. มกี ารประเมินผลการปฏบิ ัตกิ ิจกรรม ดว้ ยวิธีทห่ี ลากหลาย และสอดคล้องกบั กิจกรรมอย่างเป็น

ระบบและตอ่ เนอื่ ง โดยให้ถือว่าเปน็ เกณฑป์ ระเมนิ ผลการผ่านชว่ งช้ันเรียน

โครงสร้างและอตั ราเวลาจัดกิจกรรม

ระดับประถมศึกษา

กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น ระดบั ประถมศึกษา
ป. 1 ป. 2 ป. 3 ป. 4 ป. 5 ป. 6

1. กจิ กรรมแนะแนว 40 40 40 40 40 40

2. ลกู เสือ – เนตรนารี 30 30 30 30 30 30

3. กิจกรรมกลุ่มสนใจ 40 40 40 40 40 40

4. กิจกรรมเพอ่ื สงั คม และ 10 10 10 10 10 10

สาธารณประโยชน์

เวลาเรยี นรวม 120 120 120 120 120 120

หมายเหตุ กิจกรรมเพอื่ สังคมและสาธารณประโยชน์บูรณาการในกิจกรรมลูกเสอื - เนตรนารี
การดำเนินการกิจกรรมพัฒนาผ้เู รยี นโรงเรียน...

กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น เปน็ กจิ กรรมท่มี ุ่งพฒั นาตนเองตามศักยภาพ พฒั นาอยา่ งรอบดา้ น เพือ่
ความเป็นมนุษย์ทสี่ มบรู ณ์ ทง้ั รา่ งกาย สตปิ ัญญา อารมณ์ และสงั คม เสรมิ สร้างให้เปน็ ผูม้ ีศีลธรรม จริยธรรม มี
ระเบยี บวินยั ปลกู ฝงั และสรา้ งจิตสำนกึ ของการทำประโยชน์เพื่อสงั คมสามารถจัดการตนเองได้ และอยรู่ ว่ มกบั
ผู้อน่ื อย่างมคี วามสขุ

โรงเรยี นบ้านกุดนำ้ ใส ได้จดั กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น โดยแบ่ง ออกเปน็ 3 ลกั ษณะ ดงั น้ี

1. กจิ กรรมแนะแนว เป็นกิจกรรมท่ีสง่ เสริมและพัฒนานกั เรียนให้รจู้ ักตนเองรรู้ กั ษ์ส่งิ แวดลอ้ ม
สามารถคิดและตัดสนิ ใจ คิดแก้ปญั หา กำหนดเป้าหมาย วางแผนชีวิตทัง้ ทางด้านการเรียนและอาชีพ สามารถ
ปรบั ตนได้อย่างเหมาะสม นอกจากนย้ี งั ชว่ ยให้ครูรูจ้ กั และเข้าใจผเู้ รียนทั้งยงั เป็นกิจกรรม ท่ีช่วยเหลือ
และให้คำปรึกษาแก่ผูป้ กครองในการมสี ่วนรว่ มพฒั นาผู้เรยี น

1. จัดกิจกรรมเพือ่ ใหค้ รูได้รูจ้ กั และชว่ ยเหลือผูเ้ รียนมากขึ้น โดยใช้กระบวนการ ทาง
จิตวิทยา การจดั บรกิ ารสนเทศ โดยจัดให้มีเอกสารเพื่อใช้สำรวจข้อมลู เก่ยี วกับตวั ผ้เู รียน ด้วยการสงั เกต การ
สัมภาษณ์ การใชแ้ บบสอบถาม การเขยี นประวัติ การพบผู้ปกครองก่อนและระหวา่ งเรียน การเย่ียมบา้ น
นกั เรียน การใหค้ วามช่วยเหลอื ผเู้ รยี นในเรือ่ งสขุ ภาพจติ เศรษฐกจิ การจดั ทำระเบยี นสะสม สมุด
รายงานประจำตัวนกั เรยี น และบตั รสขุ ภาพ

2. จัดกจิ กรรมพัฒนาวุฒิภาวะทางอารมณ์ โดยทำแบบทดสอบเพ่อื รู้จักและเข้าใจตนเอง มีทักษะใน
การตดั สินใจ การปรับตัว และการวางแผนเพ่อื เลือกศึกษาต่อ เลอื กอาชีพ
3. จดั บรกิ ารให้คำปรกึ ษาแก่ผเู้ รียนเป็นรายบุคคล และรายกลุม่ ในดา้ นการศกึ ษาอาชีพ และส่วนตัว โดยมี
ผใู้ ห้คำปรกึ ษาท่มี ีคุณวฒุ ิ และมคี วามเช่ียวชาญในเร่ืองการใหค้ ำปรกึ ษา ตลอดจนมหี ้องให้คำปรกึ ษาท่ี
เหมาะสม
3.1 ชว่ ยเหลือผเู้ รยี นท่ปี ระสบปญั หาด้านการเงนิ โดยการใหท้ ุนการศกึ ษาแก่ผู้เรียน

3.2 ติดตามเก็บข้อมูลของนกั เรียนท่สี ำเรจ็ การศกึ ษา
นักเรยี นทุกคนต้องเข้าร่วมกิจกรรมแนะแนว 40 ช่วั โมง ตอ่ ปีการศกึ ษา (ระดับประถมศกึ ษา)
20 ชว่ั โมงตอ่ ภาคเรียน (ระดับประถมศึกษา)

ขอบข่ายกิจกรรมแนะแนว
การจดั กจิ กรรมแนะแนวมอี งค์ประกอบ 3 ด้าน ดังน้ี

1. ด้านการศกึ ษา ให้ผู้เรยี นได้พัฒนาตนเองในดา้ นการเรียนอยา่ งเต็มศักยภาพ รู้จกั แสวงหา และใช้
ข้อมูลประกอบการวางแผนการเรยี นหรอื การศกึ ษาตอ่ ได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ มนี ิสยั ใฝร่ ู้ ใฝ่เรียน มีวิธีการ
เรยี นรู้ และสามารถวางแผนการเรยี นหรือการศึกษาต่อได้อย่างเหมาะสม

2. ด้านการงานและอาชีพ ให้ผเู้ รยี นได้รูจ้ ักตนเองในทกุ ดา้ น รแู้ ละเข้าใจโลกของงานอาชีพ ได้
อย่างหลากหลาย มีเจตคติทีด่ ตี ่ออาชีพสุจริต มีการเตรยี มตวั ส่อู าชีพ สามารถวางแผนเพ่อื ประกอบอาชพี ตามที่
ตนเองมีความถนดั

3. ด้านชวี ติ และสังคม ให้ผเู้ รยี นรจู้ ักและเข้าใจตนเอง รักและเหน็ คณุ คา่ ในตนเอง และผ้อู ืน่ รักษ์
สิ่งแวดล้อม มวี ุฒภิ าวะทางอารมณ์ มีเจตคติท่ีดตี ่อการมีชวี ิตทม่ี ีคุณภาพ มที กั ษะและสามารถปรบั ตวั ให้
ดำรงชีวติ อยใู่ นสงั คมได้อยา่ งมคี วามสขุ
แนวการจดั กจิ กรรมแนะแนว

สำรวจสภาพปญั หา ความตอ้ งการ ความสนใจ ธรรมชาติของผูเ้ รยี น เพ่ือใช้เป็นข้อมูลในการกำหนด
แนวทางและการวางแผนการปฏิบตั กิ จิ กรรมแนะแนว

1. ศกึ ษาวยั ทัศนข์ องสถานศึกษา และวเิ คราะห์ข้อมลู ของผเู้ รยี นไดจ้ ากฐานขอ้ มูลผเู้ รยี นรายบุคคล
หรือการสำรวจเพ่ือทราบปญั หา ความต้องการและความสนใจ เพื่อนำไปกำหนดสาระและรายละเอียดของ
กิจกรรมแนะแนว

2. กำหนดสัดส่วนของกจิ กรรมด้านการศึกษา การงานและอาชพี รวมทง้ั ชวี ติ และสงั คมให้ไดส้ ัดส่วน
ทเ่ี หมาะสม โดยยดึ สภาพปญั หา ความต้องการ ความสนใจ ตลอดจนธรรมชาตขิ องผู้เรยี นเปน็ หลกั ทัง้ นี้ครแู ละ
ผเู้ รยี นมีสว่ นร่วมในการปฏบิ ัติกจิ กรรม

3. กำหนดแผนการปฏิบัตกิ จิ กรรมแนะแนว โดยระดับประถมศกึ ษาจัดเปน็ รายป/ี ระดบั มธั ยมศกึ ษา
จัดเป็นรายภาค เมือ่ กำหนดสดั ส่วนของกจิ กรรมในแตล่ ะดา้ นแล้ว จะต้องระบวุ า่ จะจัดกจิ กรรมแนะแนวในด้าน
ใด จำนวนก่ีช่วั โมง พรอ้ มทัง้ จะกำหนดรายละเอียดของแต่ละกจิ กรรมย่อยต่อไป

4. การจดั ทำรายละเอยี ดของแตล่ ะแผนการปฏิบัติกจิ กรรม เริม่ ต้งั แต่การกำหนดชอ่ื กจิ กรรม
จุดประสงค์เวลา เนอื้ หา/สาระ วิธกี ารดำเนนิ กจิ กรรม สอ่ื / อปุ กรณ์ และการประเมนิ ผล

5. ปฏิบัติกิจกรรมแนะแนว วัดและประเมนิ ผล และสรุปรายงาน

การประเมนิ ผลการจัดกจิ กรรมแนะแนว
ในการประเมินผลการจัดกจิ กรรมแนะแนว ครผู ้รู บั ผิดชอบการจดั กจิ กรรมแนะแนวของผูเ้ รยี นและ ผู้ปกครอง
มีภารกจิ ที่รบั ผิดชอบ ดังนี้

1. กจิ กรรมเพอื่ พัฒนาผเู้ รยี น ใหเ้ กิดคณุ ลกั ษณะตามวัตถปุ ระสงค์ สอดคล้องกับวิสยั ทัศน์ ที่
สถานศึกษากำหนดและตามสภาพตามความตอ้ งการและปญั หาของผู้เรียน

1.1 จดั กิจกรรมเพือ่ พัฒนาผูเ้ รยี น ใหเ้ กิดคุณลักษณะตามวตั ถุประสงค์ สอดคล้องกบั วสิ ยั ทัศน์ทีส่ ถานศกึ ษา
กำหนดและตามสภาพความต้องการและปัญหาของผู้เรียน

1.2 รายงานเวลาและพฤตกิ รรมการเข้ารว่ มกจิ กรรม
1.3 ศึกษา ตดิ ตาม และพฒั นาผเู้ รียนในกรณีท่ีผู้เรยี นไม่เขา้ รว่ มกจิ กรรม
1.4 ประเมินผลผู้เรียน โดยดูจากพฒั นาการของผู้เรียนตามวตั ถุประสงค์ทกี่ ำหนด เปน็ สำคญั ในกรณที ผ่ี ล
การประเมนิ ยงั ไม่ผา่ นใหค้ รูผ้จู ัดกจิ กรรมดำเนนิ การซอ่ มโดยผเู้ รยี นปฏิบตั ิกิจกรรมซำ้ หรือปฏิบัตกิ ิจกรรม
เพิม่ เติม จนกระทงั่ ผเู้ รยี นบรรลุคุณลักษณะตามวัตถุประสงคข์ องกิจกรรมหรือผ่านการประเมนิ ตามเกณฑ์ท่ี
สถานศึกษากำหนดดำเนนิ กจิ การ
1.5 บันทกึ ผลการติดตามและประเมินผลผู้เรยี นไวเ้ ป็นหลักฐาน

2. ผูเ้ รยี น
2.1 มีเวลาเข้าร่วมกจิ กรรมแนะแนวตามเกณฑ์ทส่ี ถานศกึ ษากำหนด โดยมีหลกั ฐานแสดงเวลาการเข้ารว่ ม
กจิ กรรม
2.2 ปฏบิ ัติกจิ กรรมตามท่ีครูผู้รับผิดชอบมอบหมาย ถา้ ไม่ผ่านให้ปฏิบตั ิกจิ กรรมซ้ำหรอื ปฏบิ ัติเพมิ่ เติม และมี
ชิ้นงาน/ผลงาน/คุณลกั ษณะตามท่ีครผู ู้จัดกจิ กรรมมอบหมายให้ปฏิบตั ิ

3. ผปู้ กครอง
ผปู้ กครองควรมสี ่วนร่วมในการประเมินผลพัฒนาการของผเู้ รียน และมีการบันทกึ สรุปพฒั นาการและการ
ปฏบิ ัตกิ ิจกรรมของผู้เรียน

เกณฑ์การตัดสิน
ผเู้ รยี นต้องได้รบั การประเมินกจิ กรรมแนะแนว ตามที่สถานศกึ ษากำหนดโดยกำหนดเกณฑ์ในการ
ประเมินอย่างเหมาะสมดังนี้
ผา่ น หมายถึง ผู้เรยี นมีเวลาเข้ารว่ มกจิ กรรมครบตามเกณฑ์ ปฏบิ ตั ิ กิจกรรม และมีผลงาน/ชิ้นงาน/
คณุ ลกั ษณะตามที่สถานศกึ ษากำหนด
ไมผ่ ่าน หมายถงึ ผ้เู รียนมีเวลาเข้าร่วมกจิ กรรมไม่ครบตามเกณฑ์ไมผ่ ่านการปฏิบัติกิจกรรม หรอื มีผลงาน/
ช้ินงาน/คณุ ลักษณะไมเ่ ป็นตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด
2. กิจกรรมนกั เรยี น เป็นกิจกรรมที่สง่ เสริมและพัฒนานกั เรียนใหม้ รี ะเบียบวินัยความเปน็ ผู้นำ ผ้ตู ามที่ดี
ความรับผิดชอบ การทำงานร่วมกนั การรู้จกั แกป้ ญั หา การตัดสินใจในที่เหมาะสมความมีเหตผุ ลการชว่ ยเหลอื
แบง่ ปันกัน เอื้ออาทรและสมานฉันท์ โดยจดั ให้สอดคลอ้ งกับความสามารถ ความถนดั และความสนใจของ
ผู้เรียน ให้ผู้เรียนได้ปฏิบตั ิดว้ ยตนเองในทุกข้ันตอน ไดแ้ ก่การศึกษาวิเคราะห์ วางแผน ปฏิบัติตามแผน
ประเมินและปรบั ปรุงการทำงาน เน้นการทำงานรว่ มกันเปน็ กลมุ่ ตามความเหมาะสม และสอดคลอ้ งกบั วุฒิ
ภาวะของผเู้ รียน บรบิ ทของสถานศกึ ษาและท้องถ่ิน กจิ กรรมนกั เรยี นประกอบดว้ ย

2.1 กจิ กรรมลกู เสือ – เนตรนารี
นกั เรียนทกุ คนตอ้ งเขา้ ร่วมกิจรรมลูกเสอื - เนตรนารี 30 ชัว่ โมง ต่อปีการศกึ ษา

แนวการจัดกิจกรรมลูกเสอื - เนตรนารี
กิจกรรมลูกเสอื – เนตรนารี ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 1 – 3

เปดิ ประชุมกอง ดำเนินการตามกระบวนการของลกู เสือ และจัดกจิ กรรมให้ศกึ ษา วเิ คราะห์ วางแผน
ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมตามฐาน โดยเน้นระบบหมู่ สรุปผลการปฏิบัตกิ ิจกรรม ปิดประชุมกอง โดยให้ผเู้ รยี นศึกษาและ
ฝึกปฏบิ ตั ิในเรือ่ ง

1. เตรยี มลูกเสอื สำรอง นยิ ายเรื่องเมาคลี ประวัติการเรมิ่ กจิ การลูกเสอื สำรอง การทำความเคารพ
เป็นหมู่ (แกรนดฮ์ าวล์) การทำความเคารพเป็นรายบคุ คล การจับมอื ซา้ ย ระเบียบแถวเบอ้ื งตน้ คำปฏิญาณ
กฎ และคตพิ จน์ของลูกเสอื สำรอง

2. ลกู เสอื สำรองดาวดวงท่ี 1 2 และ 3 อนามยั ความสามารถเชงิ ทกั ษะ การสำรวจการคน้ หา
ธรรมชาติ ความปลอดภัย บรกิ าร ธง และประเทศตา่ ง ๆ การฝีมอื กจิ กรรมกลางแจ้งการบันเทิง การผกู
เงือ่ น คำปฏญิ าณ และกฎของลูกเสือสำรอง

โดยใชก้ ระบวนการทำงาน กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการกลมุ่ กระบวนการจัดการ
กระบวนการคิดรเิ ริม สรา้ งสรรค์ กระบวนการฝึกปฏบิ ตั ทิ างลกู เสอื กระบวนการทางเทคโนโลยี และภมู ิ
ปญั ญาท้องถ่นิ ไดอ้ ย่างเหมาะสม

เพือ่ ใหม้ ีความรู้ ความเขา้ ใจในกจิ กรรมลกู เสอื สามารถปฏบิ ตั ิตามคำปฏญิ าณ กฎ และคติพจนข์ อง
ลูกเสือสำรอง มนี สิ ัยในการสงั เกต จดจำ เชอื่ ฟงั และพง่ึ ตนเอง ซอ่ื สัตย์ สจุ ริต มีระเบียบวินยั และเหน็ อก
เห็นใจผู้อ่ืน บำเพญ็ ตนเพอ่ื สาธารณประโยชน์ รูจ้ ักทำการฝมี ือ พัฒนากาย จติ ใจ และศีลธรรม ทัง้ น้ีโดยไม่
เกี่ยวข้องกับลทั ธิการเมืองใด ๆ สนใจและอนรุ กั ษธ์ รรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม นำไปใช้ ในชวี ิตประจำวัน
ได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ
หมายเหตุ - เมื่อผูเ้ รยี นผ่านการทดสอบในขอ้ 1 แลว้ จะได้รับเครื่องหมายลกู เสอื สำรอง
- เมอื่ ผเู้ รียนไดป้ ฏิบัติกิจกรรมและผ่านการสอบแลว้ จะไดร้ ับเคร่ืองหมายดาวดวงที่ 1

2 และ 3 ตามลำดบั
- สำหรบั วิชาพิเศษ ให้ใช้ข้อบงั คับคณะลูกเสือแหง่ ชาติว่าด้วยการปกครองหลักสตู ร

และวชิ าพเิ ศษลกู เสือสำรอง (ฉบบั ท่ี 10) พ.ศ. 2522

กจิ กรรมลกู เสือ – เนตรนารี ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 - 6
เปดิ ประชุมกอง ดำเนนิ การตามกระบวนการของลกู เสือ และจัดกจิ กรรมให้ศกึ ษา วเิ คราะห์ วางแผน
ปฏบิ ตั ิกจิ กรรมตามฐาน โดยเน้นระบบหมู่ สรุปผลการปฏบิ ตั ิกจิ กรรม ปิดประชมุ กอง โดยให้ผู้เรียนศกึ ษาและ
ฝึกปฏิบัตใิ นเร่อื ง
1.ลกู เสอื ตรี ความรู้เก่ียวกับขบวนการลูกเสอื คำปฏญิ าณและกฎของลูกเสือสามัญ กิจกรรมกลางแจ้ง
ระเบียบแถว
2. ลูกเสือโท การรู้จักดแู ลตนเอง การชว่ ยเหลือผู้อืน่ การเดนิ ทางไปยงั สถานทต่ี า่ งๆ ทักษะในทางวิชา
ลกู เสอื งานอดิเรกและเร่ืองทีน่ ่าสนใจ คำปฏญิ าณ และกฎของลูกเสอื ระเบียบแถว

3. ลกู เสือเอก การพึง่ ตนเอง การบริการ การผจญภัย วิชาการของลกู เสอื ระเบยี บแถว โดยใช้
กระบวนการทำงาน กระบวนการแกป้ ัญหา กระบวนการกลุ่ม กระบวนการจัดการ กระบวนการคดิ ริเริม่
สร้างสรรค์ กระบวนการฝึกปฏบิ ัติทางลูกเสอื กระบวนการทางเทคโนโลยี และภมู ปิ ัญญาทอ้ งถิ่นไดอ้ ย่าง
เหมาะสม

เพ่อื ใหม้ คี วามรู้ ความเข้าใจในกจิ กรรมลูกเสอื สามารถปฏิบตั ิตามคำปฏิญาณ กฎ และคตพิ จน์ของ
ลูกเสอื สามัญ มนี ิสัยในการสงั เกต จดจำ เชอ่ื ฟงั และพึ่งตนเอง ซ่อื สัตย์ สจุ ริต มีระเบียบวนิ ัย และเห็นอกเห็น
ใจผอู้ นื่ บำเพ็ญตนเพอื่ สาธารณประโยชน์ รู้จกั ทำการฝมี ือ พัฒนากาย จติ ใจ และศลี ธรรม ทง้ั น้ีโดยไม่
เกยี่ วขอ้ งกับลทั ธกิ ารเมอื งใดๆ สนใจและอนุรกั ษธ์ รรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม นำไปใช้ ในชวี ิตประจำวนั
ไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ

หมายเหตุ - เม่อื ผู้เรียนได้ปฏิบตั กิ ิจกรรม และผ่านการทดสอบแลว้ จะได้รบั เครอ่ื งหมายลกู เสอื ตรี
ลกู เสอื โท และลูกเสือเอก ตามลำดบั

- สำหรบั วิชาพิเศษ ใหใ้ ช้ข้อบังคับคณะลูกเสือแหง่ ชาติว่าด้วยการปกครองหลกั สูตร และวชิ า
พิเศษลกู เสอื สามญั (ฉบับที่ 13) พ.ศ. 2525

ผลการเรียนรูก้ จิ กรรมลกู เสอื - เนตรนารี
1. รู้ เขา้ ใจ และสามารถปฏิบตั ติ นตามคำปฏญิ าณ กฎ และคตพิ จน์ของลูกเสอื - เนตรนารี
2. เข้าใจความเป็นมาและววิ ัฒนาการของลูกเสอื - เนตรนารี
3. ปฏบิ ตั ิตนดว้ ยความซื่อสตั ย์ สจุ รติ มีความกลา้ หาญ อดทน เชอ่ื มน่ั ในตนเอง มรี ะเบียบวนิ ยั มี

ความสามัคคี เห็นอกเหน็ ใจผอู้ ื่น มีความเสียสละ บำเพญ็ ตนเพ่อื สาธารณประโยชน์
4. มีทักษะการสงั เกต จดจำ การใช้มือ เครื่องมอื การแกไ้ ขปัญหา และทักษะในการทำงานรว่ มกนั

5. พัฒนาตนเองอยูเ่ สมอ สรา้ งสรรค์งานฝมี ือ สนใจ และพัฒนาเร่อื งของธรรมชาติ

เกณฑ์การตัดสนิ
ผู้เรยี นต้องไดร้ ับการประเมนิ กจิ กรรม ตามที่สถานศึกษากำหนดโดยกำหนดเกณฑใ์ นการประเมนิ อยา่ ง
เหมาะสม ดงั นี้
ผ่าน หมายถงึ ผเู้ รียนมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมครบตามเกณฑ์ ปฏิบัติ กิจกรรม และมีผลงาน/
ชน้ิ งาน/ คณุ ลักษณะตามทส่ี ถานศึกษากำหนด
ไมผ่ า่ น หมายถงึ ผู้เรยี นมเี วลาเข้าร่วมกิจกรรมไม่ครบตามเกณฑ์ไมผ่ า่ นการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม หรอื มี
ผลงาน/ ชน้ิ งาน/คณุ ลกั ษณะไม่เป็นตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด

2.2 กิจกรรมกลุ่มสนใจ

2.2 กิจกรรมกลุ่มสนใจ นักเรยี นทุกคนตอ้ งเขา้ รว่ มกิจรรมกลุม่ สนใจ 40 ช่ัวโมงต่อปกี ารศึกษา (ระดับ

ประถมศกึ ษา)

แนวการจัดกจิ กรรมกลมุ่ สนใจ

ผเู้ รยี นสามารถเลอื กเข้าเป็นสมาชิกกลุ่มสนใจ วางแผนการดำเนนิ กจิ กรรมรว่ มกนั โดยมี

กลุ่มสนใจ ทห่ี ลากหลาย เหมาะสมกับเพศ วัย และความสนใจของผเู้ รยี น ประกอบดว้ ยกจิ กรรม กลุ่มสนใจ ใน

ระดับประถมศกึ ษาปีท่ี 1- 6) จำนวน 15 กลุ่มสนใจ

แนวทางการประเมนิ กจิ กรรมกลุม่ สนใจ
โรงเรียน...กำหนดแนวทางในการประเมินกจิ กรรมกลมุ่ สนใจ ดังตอ่ ไปน้ี

1. ตรวจสอบเวลาการเข้าร่วมกจิ กรรมของผเู้ รียนใหเ้ ปน็ ไปตามเกณฑ์ท่ีสถานศึกษากำหนด
2. ประเมินกิจกรรมผเู้ รยี นตามจากการปฏบิ ัตกิ ิจกรรม และผลงาน/ชิ้นงาน/คณุ ลกั ษณะ ของ
ผเู้ รยี นตามเกณฑ์ท่ีสถานศึกษากำหนดดว้ ยวิธที ีห่ ลากหลาย เน้นการมีส่วนร่วมเกีย่ วข้องในการปฏิบัติกจิ กรรม
3. ผเู้ รยี นท่ีมเี วลาเขา้ ร่วมกจิ กรรม ตามการปฏิบัติกจิ กรรม และมผี ลงาน/ช้ินงาน/คุณลกั ษณะตามที่
สถานศึกษากำหนด การประเมินกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี นรายกจิ กรรม และนำผลการไปประเมนิ ไปบนั ทึกใน
ระเบียนแสดงผลการเรียน
4. ผ้เู รยี นทม่ี ีผลการประเมินไม่ผ่านในเกณฑเ์ วลาการเข้าร่วมกิจกรรมการปฏิบัติกจิ กรรม และผลงาน/
ชน้ิ งาน/คณุ ลักษณะตามที่สถานศึกษากำหนด การประเมินผลกิจกรรมพัฒนาผ้เู รียนครูหรือ ผู้ท่ี
รับผิดชอบตอ้ งดำเนนิ การซอ่ มเสริมและประเมินจนผ่าน ทัง้ น้ีควรดำเนนิ การให้เสร็จสน้ิ ในปีการศกึ ษาน้นั
ยกเวน้ มีเหตสุ ุดวสิ ยั ใหอ้ ย่ใู นดลุ ยพินิจของสถานศึกษา
เกณฑก์ ารตัดสนิ
ผ้เู รยี นต้องได้รับการประเมินกจิ กรรมกลุ่มสนใจ ตามทส่ี ถานศึกษากำหนดโดยกำหนดเกณฑใ์ นการ
ประเมนิ อย่างเหมาะสมดังนี้
ผ่าน หมายถึง ผู้เรียนมเี วลาเขา้ รว่ มกจิ กรรมครบตามเกณฑ์ ปฏิบตั ิ กิจกรรม และมีผลงาน/
ชน้ิ งาน/ คุณลกั ษณะตามทส่ี ถานศึกษากำหนด
ไม่ผ่าน หมายถึง ผูเ้ รียนมีเวลาเขา้ ร่วมกิจกรรมไม่ครบตามเกณฑไ์ มผ่ ่านการปฏิบัตกิ จิ กรรม หรอื มี
ผลงาน/ชน้ิ งาน/คุณลักษณะไม่เปน็ ตามเกณฑท์ ่ีสถานศกึ ษากำหนด

1. กิจกรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณะประโยชน์ เป็นกจิ กรรมท่ีส่งเสริมให้ผู้เรยี นบำเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อ
สังคม ชุมชน และท้องถิ่นตามความสนใจในลกั ษณะอาสาสมัคร เพือ่ แสดงถึงความรับผิดชอบ ความดีงาม ความ
เสียสละต่อสงั คม มีจติ สาธารณะ เช่น กิจกรรมอาสาพัฒนาต่าง ๆ กิจกรรมสรา้ งสรรค์สังคม
เวลาเรยี นสำหรบั กิจกรรมเพอื่ สังคมและสาธารณประโยชน์ในส่วนกจิ กรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์จัดสรร
เวลาให้ผู้เรียนดงั นี้

นักเรยี นทุกคนต้องเข้าร่วมกจิ กรรมเพ่อื สงั คมและสาธารณประโยชน์ 10 ช่วั โมงต่อปกี ารศกึ ษา(ระดับ
ประถมศกึ ษาปที ี่ 1-3) 10 ชว่ั โมงต่อปีการศกึ ษา(ระดับประถมศกึ ษาปที ่ี 4-6) 10 ชวั่ โมงต่อปีการศึกษา

แนวการจัดกจิ กรรม
การจัดกิจกรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณะประโยชน์ ในระดับประถมศกึ ษาปีที่ 1- 6 นำไปบรู ณาการใน
กจิ กรรมลกู เสือ – เนตรนารี ทง้ั นี้การทำกจิ กรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชนใ์ ห้ผู้เรียนรายงานแสดงการ
เขา้ ร่วมกิจกรรมลงในสมุดบนั ทกึ และมผี ูร้ บั รองผลการเขา้ รว่ มกจิ กรรมทุกครงั้ ทั้งกิจกรรมใน
สถานศึกษาและกิจกรรมนอกสถานศกึ ษา

โรงเรียนบา้ นกุดนำ้ ใส กำหนดแนวทางในการประเมนิ กจิ กรรมเพ่อื สังคมและสาธารณประโยชน์ ดังต่อไปนี้
1. ตรวจสอบเวลาการเข้ารว่ มกิจกรรมของผูเ้ รียนให้เปน็ ไปตามเกณฑ์ท่ีสถานศึกษากำหนด
2. ประเมนิ กิจกรรมผูเ้ รียนตามจากการปฏิบตั กิ จิ กรรม และผลงาน/ช้ินงาน/คณุ ลักษณะ ของ

ผเู้ รียนตามเกณฑท์ ี่สถานศกึ ษากำหนดดว้ ยวธิ ีท่ีหลากหลาย เนน้ การมีสว่ นร่วมเกย่ี วข้องในการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม
3. ผเู้ รยี นท่มี ีเวลาเข้ารว่ มกิจกรรม ตามการปฏิบัติกจิ กรรม และมผี ลงาน/ชน้ิ งาน/คุณลกั ษณะตามที่

สถานศึกษากำหนด การประเมนิ กิจกรรมพัฒนาผเู้ รียนรายกจิ กรรม และนำผลการไปประเมนิ ไปบนั ทึกใน
ระเบียนแสดงผลการเรียน

4. ผูเ้ รียนท่ีมีผลการประเมินไม่ผา่ นในเกณฑ์เวลาการเข้าร่วมกจิ กรรมการปฏบิ ตั กิ ิจกรรม และ
ผลงาน/ช้ินงาน/คุณลกั ษณะตามท่ีสถานศกึ ษากำหนด การประเมนิ ผลกิจกรรมพฒั นาผู้เรยี นครูหรือ ผทู้ ี่
รับผดิ ชอบต้องดำเนนิ การซ่อมเสริมและประเมินจนผ่าน ทง้ั นค้ี วรดำเนนิ การใหเ้ สรจ็ ส้นิ ในปีการศึกษาน้นั
ยกเว้นมีเหตุสดุ วสิ ัยใหอ้ ยู่ในดลุ ยพินิจของสถานศึกษา

เกณฑก์ ารตัดสิน
ผเู้ รียนตอ้ งไดร้ ับการประเมนิ กิจกรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณประโยชน์ ตามท่ีสถานศึกษากำหนดโดยกำหนด
เกณฑ์ในการประเมนิ อย่างเหมาะสมดังน้ี

ผา่ น หมายถึง ผเู้ รียนมเี วลาเขา้ ร่วมกจิ กรรมครบตามเกณฑ์ ปฏบิ ัติ กจิ กรรม และมผี ลงาน/ชน้ิ งาน/
คุณลักษณะตามท่ีสถานศกึ ษากำหนด

ไมผ่ ่าน หมายถึง ผู้เรียนมีเวลาเข้ารว่ มกจิ กรรมไม่ครบตามเกณฑ์ไม่ผา่ นการปฏบิ ัติกจิ กรรม หรือมี
ผลงาน/ ชน้ิ งาน/คณุ ลักษณะ

สว่ นที่ 5

เกณฑก์ ารจบการศึกษา

เกณฑ์การจบระดบั ประถมศึกษา

๑. ผู้เรยี นรายวิชาพน้ื ฐาน จำนวน ..................ชั่วโมง และรายวชิ าเพมิ่ เตมิ จำนวน ...........ชวั่ โมง
มผี ลการประเมนิ รายวิชาพื้นฐานและรายวชิ าเพม่ิ เตมิ ผ่านทุกรายวิชา

๒. ผู้เรยี นต้องมีผลประเมินการอ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขียน ระดบั “ผา่ น” ขึน้ ไป
๓. ผู้เรยี นต้องมีผลการประเมนิ คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ ระดับ “ผ่าน” ขน้ึ ไป
๔. ผูเ้ รยี นตอ้ งเขา้ ร่วมกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รยี น และไดร้ บั การตัดสินผลการเรียน “ผ่าน” ทุกกจิ กรรม


Click to View FlipBook Version