The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Sab Wi, 2022-12-01 21:32:05

รายงานผลการฝึกอบรมหลักสูตรนักทรัพยากรบุคคล

รายงานผลการฝึกอบรม

รายงานผลการฝกึ อบรม

หลกั สตู ร นกั ทรัพยากรบุคคล รนุ่ ที่ 29
ระหวา่ งวันที่ 17 ตลุ าคม 2565 – 6 พฤศจิกายน 2565
ณ หอประชมุ อนุสรณ์ 100 ปี มหาดไทย สถาบนั พัฒนาบุคลากรท้องถน่ิ (คลองหก)

ตำบลรงั สิต อำเภอธญั บุรี จังหวดั ปทมุ ธานี

จัดทำโดย
ว่าทร่ี .ต.หญิงสุภาวิดา วิลัยรัก
นกั ทรัพยากรบุคคลปฏบิ ัติการ

งานการเจา้ หนา้ ท่ี สำนักปลัด อบต.
องค์การบริหารสว่ นตำบลทับสวาย

คำนำ

รายงานสรุปผลการฝึกอบรมฉบับน้ี จัดทำขึ้นเพื่อสรุปผลการฝึกอบรมหลักสูตร นักทรัพยากร
บคุ คล รุ่นที่ 29 โดยสถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถนิ่ กรมสง่ เสริมการปกครองทอ้ งถ่ิน ได้จัดฝึกอบรมบุคลากร
องค์กรปกครองส่วนห้องถ่ิน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 หลักสูตร นักทรัพยากรบุคคล รุ่นที่ 29
ระหว่างวนั ที่ 17 ตลุ าคม2565 - 6 พฤศจกิ ายน ๒๕๖5 ณ สถาบันพัฒนาบุคลากรทอ้ งถ่ิน การศึกษาอบรมมี
เน้ือหาวิชาการประกอบด้วย หมวดที่ ๑ วิชาพ้ืนฐาน จำนวน ๑1 วิชา หมวดท่ี ๒ วิชาเฉพาะตำแหน่ง
จำนวน ๑7 วชิ า และหมวดที่ 3 วิชาเสริม จำนวน 6 วิชา รวมทงั้ การศึกษาดูงานนอกสถานที่ 2 วนั ณ จงั หวัด
พระนครศรีอยุธยา สถานท่ีดูงาน 3 แห่ง การศึกษาเป็นลักษณะการบรรยายในช้ันเรียน โดยวิทยากรจาก
สถาบันพัฒนาบคุ ลากรท้องถิ่น กรมส่งเสริมการปกครองทอ้ งถ่ิน คณาจารยจ์ ากมหาวทิ ยาลัย และนักวิชาการ
ผทู้ รงคุณวฒุ ิทีม่ ปี ระสบการณ์ผลงานจากองคก์ รและสถาบนั ตา่ งๆ

การศึกษาอบรมในรายวิชาท้ัง 3 หมวด และการศึกษาดูงาน ผู้ศึกษาได้สรุปและรวบรวมข้อมูล
นำมาจัดทำสรุปรายงานผลการเข้าร่วมฝึกอบรมหลักสูตร นักทรัพยากรบุคคล รุ่นท่ี 29 ครั้งนี้เพื่อเป็นการ
รวบรวมข้อมลู อันจะเปน็ ประโยชนแ์ กผ่ ู้เขา้ ศกึ ษาอบรมนำความรทู้ ี่ได้รับมาเผยแพร่ในหนว่ ยงานไปประยุกตใ์ ช้
ใหเ้ กิดประโยชนเ์ พือ่ ผลสมั ฤทธ์ิในการปฏิบตั ิงานราชการอยา่ งมปี ระสิทธิภาพต่อไป

สุภาวิดา วลิ ัยรัก
ผจู้ ัดทำ

สารบัญ หนา้

คำนำ 1
หลักสตู รนักทรัพยากรบุคคล 5
รายละเอยี ดวชิ าเรียนหลักสูตรนักทรพั ยากรบคุ คล
ภาคผนวก

รายงานผลการฝึกอบรม

หลกั สูตร นักทรัพยากรบคุ คล (ประเภทวิชาการ ปฏิบตั ิการ/ชำนาญการ)

รุ่นที่ 29

1. ปรชั ญา
พัฒนาผดู้ ำรงตำแหนง่ นักทรพั ยากรบุคล ให้มคี วามรู้ ทกั ษะ และสมรรถนะทเ่ี หมาะสม

กบั การดำรงตำแหน่งและเป็นผทู้ ่ีมีคุณธรรม จริยธรรม มคี วามมุ่งม่นั ตอ่ การปฏิบัติงานเพ่อื ประโยชนส์ ุขของ
ประชาชน
๒. หลักการและเหตผุ ล

นกั ทรัพยากรบุคล มหี น้าที่ความรบั ผดิ ชอบโดยทว่ั ไปเกี่ยวกบั งานบรหิ ารทรพั ยากรบุคคล
ขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน ปฏิบตั งิ านด้านการบรหิ ารงานหรือการพฒั นาทรัพยากรบคุ คล ภายใตก้ าร
กำกับแนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบตั งิ านอื่นตามที่ไดร้ ับมอบหมาย

ลักษณะงานท่ีปฏิบัติด้านแผนงาน จะต้องมีส่วนร่วมในการจัดระบบสารสนเทศ
ทะเบียนประวัติเพ่ือให้เป็นปัจจุบัน วิเคราะห์ข้อมูล ประกอบการวางระบบเพ่ือการจัดทามาตรฐานหรือ
หลกั เกณฑ์เก่ียวกบั การบริหารทรัพยากรบคุ คลขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน วิเคราะหแ์ นวทางการศึกษา

พัฒนามาตรฐานและกลวิธกี ารดาเนินงาน ค้นคว้า ประยุกต์เทคโนโลยใี หม่ ๆ กฎหมาย และระเบยี บตา่ ง ๆ
ที่เก่ียวข้องกับงานบริหารทรัพยากรบุคคล เพ่ือนามาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
สงู สุด

ลกั ษณะงานที่ปฏบิ ัติดา้ นบรหิ ารงาน ตอ้ งทำหนา้ ทกี่ ำหนดระดับตำแหนง่ ให้สอดคล้องตาม
หน้าทแี่ ละความรับผดิ ชอบ เพ่ือไปประกอบการจดั ทำโครงสร้างองค์กร โครงสร้างหน้าที่ ความรบั ผดิ ชอบของ
แต่ละหน่วยงาน และการแบ่งภายในที่ถูกต้อง ครบถ้วน ซัดจน และสามารถสนับสนุนการดำเนินงานของ

หน่วยงานให้บรรลุภารกิจหลักอย่างมีประสิทธิภาพตามวัตถุประสงค์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
รวมไปถึงการติดต่อประสานงานกับหน่วยงานอื่น เพ่ือท่ีจะให้เกิดความร่วมมือแบบบูรณาการสร้าง
การมีส่วนร่วมของประชาชนโดยมีการร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมตัดสินใจ และร่วมตรวจสอบการดำเนินงาน

ขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่นใหเ้ กิดประโยชน์มากท่ีสุด
ลกั ษณะงานทป่ี ฏิบตั ิต้นการบริหารงานทรัพยากรบุคคล ตอ้ งทำหน้าท่ีจัดระบบงานและ

อตั รากำลังเจ้าหนา้ ทใี่ นหนว่ ยงานใหส้ อดคลอ้ งกบั ภารกิจเพอ่ื ใหก้ ารปฏิบัติราชการเกิดประสทิ ธภิ าพและความ

คุ้มค่า ติดตาม และประเมินผลงานของเจ้าหน้าท่ีในบังคับบัญชา เพื่อให้การปฏิบัติงานสอดคล้องกับ
วัตถุประสงค์ของหนว่ ยงาน และบรรลุเปา้ หมายและผลสัมฤทธิ์ตามท่กี าหนด ให้คำปรึกษาแนะนำปรับปรุง
และพฒั นาการปฏบิ ัติงานของเจา้ หนา้ ทีใ่ นบงั คับบญั ชาเพอื่ ให้เกดิ ความสามารถ และสมรรถนะที่เหมาะสมกบั

งานท่ปี ฏิบัติตลอดจนมกี ารจัดรูปแบบ และแนวทางในการปฏิบัติราชการของบุคลากรในหน่วยงานใหม้ ีความ
เหมาะสมยืดหยุ่นตอ่ การปฏิบัตงิ าน โดยกำหนดหรือมอบหมายให้เจ้าหน้าทปี่ ฏบิ ัติงานแทนกันได้ เพื่อทจี่ ะทำ
ให้การดำเนินการเกิดความคลอ่ งตัวและมคี วามต่อเนื่องมีการสอนงานพัฒนาการปฏิบัติงาน ฝึกอบรมหรือ

ถ่ายทอดความรูแ้ กผ่ ู้ใตบ้ ังคับบญั ชาเพ่ือพัฒนาเจา้ หน้าท่ใี นหนว่ ยงานท่ีกำกับให้มีความเชยี่ วชาญและสามารถ
ปฏบิ ตั ิงานให้เกดิ ประโยชนแ์ กห่ นว่ ยงานอยา่ งยงั่ ยืน

-2-

ลักษณะงานท่ีปฏิบัติด้านการบริหารทรัพยากรและงบประมาณ ต้องทำหน้าที่ในการ
กำหนดนโยบายและวางแผนการใช้ทรพั ยากร และงบประมาณของหน่วยงานเพ่อื ให้สอดคล้องกบั นโยบาย
พันธกิจ รวมไปถงึ การควบคมุ ตดิ ตาม และตรวจสอบเกยี่ วกับงบประมาณ การเงนิ การคลังและวัสดุ ครุภณั ฑ์
เกิดประสิทธิภาพความคุ้มค่า โดยให้เป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธ์ิทกี่ ำหนด ร่วมบริหารและกำหนด
แนวทางการใช้ทรัพยากรให้เปน็ ไปอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ลสงู สุด
๓. วัตถุประสงค์

3.1 เพื่อพัฒนาให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมคี วามรู้ ทกั ษะ และสมรรถท่ีเหมาะสมกับการ
ดำรงตำแหนง่

๓.๒ เพ่อื พฒั นาให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมคี วามร้คู วามเขา้ ใจเก่ียวกบั บทบาทหนา้ ที่
ความรับผิดชอบ และสามารถนาความร้ทู ี่ได้รบั ไปประยุกต์ใชก้ ับการปฏิบตั งิ านได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ

๓.3 เพือ่ พฒั นาใหผ้ ขู้ ้ารบั การอบรมมวี ิสยั ทัศนท์ ี่กว้างไกล มที ศั นคติทด่ี ีต่อการทำงาน
รว่ มกบั ผอู้ นื่ และสามารถทำงานในลกั ษณะทีมงานได้อยา่ งเหมาะสม

3.๔ เพ่อื พัฒนาให้ผ้เู ข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ทท่ี นั สมยั สามารถนาเทคโนโลยี สารสนเทศและ
นวัตกรรมมาปรบั ใช้กบั การทางานให้เกิดประสิทธิภาพ

3.๕ เพ่ือพัฒนาให้ผเู้ ขา้ รับการฝึกอบรมมีจติ สำนึกดา้ นคุณธรรม และจริยธรรมในการปฏบิ ตั ติ น
และการปฏิบัติงาน

๓.๖ เพ่ือให้ผูเ้ ข้ารบั การฝึกอบรมได้มโี อกาสในการแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณเ์ กย่ี วกับ
การปฏิบัติงานระหว่างกนั และสรา้ งสัมพันธภาพในการตดิ ต่อประสานงานระหว่างกนั ในอนาคต
๔. คณุ สมบตั ผิ ้เู ขา้ รบั การฝึกอบรม และจำนวนผู้เข้ารบั การฝกึ อบรม/รนุ่

๔.๑ ดำรงตำแหน่งทรพั ยากรบุคคล
๔.๒ จำนวนประมาณ 8๐ - ๑๐๐ คน/รนุ่
๕. รายละเอียดและโครงสรา้ งหลักสูตร ประกอบดว้ ย
5.๑ ระยะเวลาการศึกษาอบรม ๒1 วัน ดงั น้ี

- พธิ ีเปดิ – ปดิ จำนาน ๑ วัน
- ศึกษาในหอ้ งเรยี น จำนวน 16 วนั
- ดงู านนอกสถานท่ี จำนวน 2 วัน
- ศกึ ษาคน้ คว้าด้วยตนเอง จำนวน 1 วัน
- พธิ ีปิด จำนวน 1 วัน
5.2 โครงสรา้ งหลักสูตร ประกอบด้วย 3 หมวด 33 วิชา 120 ชวั่ โมง ดงั นี้

หมวดท่ี ช่ือหมวดวิชา จำนวนวชิ า จำนวนช่ัวโมง
1 วิชาพน้ื ฐาน 11 36
2 วิชาเฉพาะตำแหนง่ 17 69
3 วิชาเสริม 6 18
33 120
รวม

-3-

6. วิธีการทใ่ี ช้ในการฝกึ อบรม
1) บรรยาย/สัมมนา
2) การนาอภิปราย/การอภปิ รายเป็นคณะ
3) กรณศี กึ ษา/สาธติ /การฝกึ ปฏบิ ตั ิ
4) ถามตอบปญั หา
5) การเรยี นรูจ้ ากประสบการณ์และสถานท่ีจรงิ

๗. การประเมินผลการฝกึ อบรม
การประเมินผลการอบรม แบง่ เปน็ ๒ ส่วน ดงั นี้
(1) การประเมินผลสัมฤทธิ์ ๑๐๐ คะแนน แบ่งออกเป็น ๒ ภาค คือ
ภาควชิ าการ ๕๐ คะแนน ประกอบดว้ ย
- การแลกเปลย่ี นเรียนรู้
- การนำเสนองานวิชาการ
- การจดั ทำรายงานกลุ่ม
- การจัดทำรายงานส่วนบุคคล
- การทดสอบประเมนิ ความความรู้
ภาคพฤติกรรม ๕๐ คะแนน ประกอบด้วย
- ความมีวินยั ในการปฏิบตั ิตนตามระเบยี บของทางสถาบันพฒั นาบุคลากรท้องถนิ่
- การให้ความร่วมมือและการมสี ่วนร่วมในกิจกรรม

หมายเหตุ การประเมินผลสัมฤทธ์ิ ผู้เข้ารับการอบรมต้องได้คะแนนในแต่ละภาคไม่ต่ำกว่า ร้อยละ ๕๐
และคะแนนรวมทั้งสองภาคไมต่ ่ำกว่า รอ้ ยละ ๖๐ คะแนน

(๒) การประเมินผลโครงการอบรม แบ่งออกเป็น ๓ ส่วน คือ
- การประเมินผลวชิ าการ ได้แก่ ความเหมาะสมของเนอื้ หาวชิ า วิทยากร จำนวนวชิ าและ
ระยะเวลาท่ีใช้ในการอบรม
- การประเมนิ ผลการบริหารจัดการโครงการของเจ้าหนา้ ทผี่ กู้ ำกับดูแลโครงการ
- การประเมินผลความพึงพอใจในด้นการบรกิ าร อาหาร ที่พัก การอำนวยความสะดวกของ
ผูใ้ ห้บรกิ ารในระหว่างการฝึกอบรมในสถานที่ และนอกสถานที่
๘. ผลทค่ี าดวา่ จะได้รบั
8.1 ผู้ผา่ นการฝึกอบรมมคี วามรู้ ทกั ษะ และสมรรถนะที่เหมาะสมกบั การดำรงตำแหน่ง
8.๒ ผู้ผ่านการฝึกอบรมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ
ในตำแหน่งสามารถนำความรูท้ ่ไี ด้รับไปประยกุ ต์ใช้กบั การปฏิบตั งิ านไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ
8.๓ ผู้ผ่านการฝึกอบรมมีวิสัยทัศน์ มีทัศนคติท่ีดีต่อการทำงานร่วมกับผู้อ่ืนและสามารถ
ทำงานในลักษณะทมี งานได้อย่างเหมาะสม
8.๔ ผู้ผ่านการฝึกอบรมมีความรู้ท่ีทันสมัย สามารถนำเทคโนโลยี สารสนเทศ และ
นวัตกรรมมาปรับใชก้ ับการทำงานใหเ้ กิดผลสัมฤทธท์ิ ี่มีประสิทธภิ าพ
8.๕ สามารถสร้างบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีจิตสำนึกด้านคุณธรรม
และจรยิ ธรรมในการปฏิบตั ติ น ปฏบิราตั ยิงงาานนผลการฝึกอบรม
โ8ค.ร๖งกผาู้ผร่าอนบกรามรแฝลึกะอพบฒั รนมามบีเคุ คลราือกขร่าทย้อสงัมถพิน่ ันหลธภกั สาพตู รในรกุน่ าทรี่ ต3ิดจตงั่อหปวรัดะขสอานนแงกานระหว่างกัน
ในอนาคต

-4-

หวั ข้อวิชาการและเนือ้ หาความร้ใู นการฝึกอบรม

1. วชิ าเทคนิคในการปฏิบตั งิ านสารบรรณ : วันจันทร์ ที่ 17 ตลุ าคม 2556 เวลา 13.00-

16.00 น. (วทิ ยากร : อ.บญุ ช่วย แสงตะวัน) สรปุ สาระสำคญั ดงั น้ี

ชนิดของหนงั สอื ราชการ
1. หนังสือภายนอก ติดตอ่ ระหวา่ งสว่ นราชการ หนว่ ยงาน บคุ คลภายนอก
2. หนังสือภายใน บนั ทึกขอ้ ความ ตดิ ตอ่ ภายในหนว่ ยงาน
3. หนงั สือประทบั ขต้ารพาเ(จค้ารฑุนสางแี สดางว)ชหุตนกิ ่วายญงาจนร์ ะโดสับกกนั รทมัตจตงั ำหแวหดั น่งนกั ทรัพยากรบคุ คลชำนาญการ สังกดั สำนักงาน
4. หนงั สือปสลง่ั ัดกเาทรศคบำาสล่ังเ(ทสศงั่ ใบหาท้ลำต)ำรบะลเบกุดียบกว(้าวงางไไดว้เ)้ขข้า้อรับกังคารับฝ(ึกกอำบหรนมดห) ลกั สตู ร การกำหนดโครงสร้างส่วนราชการ
5. หนังสือรปะดระับชกาลสามั งพแลนั ะธก์ ปารกะกำหาศนดแฝถา่ลยงหกราอืรณกล์ ขุม่ ่างวาน เทคนิคการเสนอเอกสารเพอ่ื เล่อื นระดับชำนาญงาน ชำนาญ
6. หนังสอืกทารเ่ี จก้าหารนเ้าขทียี่จนัดวทสิ ัยำขทนึ้ศั นห์ นกาังสรเอื สรนบั อรผอลงงราานยงกานรกเสานรปอคระ่าชงามุ นบปันรบัทปึกหรงุ นงตั สำอืแอหื่นง่ ระดับอาวุโส และชำนาญการ

ชั้นควพามิเศเรษว็ ขหอลงักเอเกสณาฑร์ก=ารดโ่วอนนทกีส่ ุดาร(ยป้าฏยิบตัขทิ้าันราทชที ก่ไี ดาร้ บั พ) นดัว่กนงมานากส่ว(ปนฏทิบ้อตั งโิ ถดิ่นยหเรรว็ ือ) ขด้ว่านรา(ชปกฏาิบรัตอใิ ห่ืน้เรแ็วลกะวก่าาร
ปกต)ิ ดำเนินการเก่ยี วกับเงนิ เพ่ิมสำหรบั พนกั งานจา้ งผูป้ ฏบิ ัติงานท่ีมลี กั ษณะเปน็ การเสี่ยงภัยต่อสขุ ภาพ รนุ่ ที่ 3
การทำรละาหยว่า=ง6วัน0ทว่ี ัน8เม- ื่อ1ส0้ินปมีสนำารควจมห2นั5งส6ือ5ที่คณรบโกรำงหแนรดมจรัดาทชำาบวัญดีชรีขีสออทรำ์ทลแายอเนสนด์อโฮหเัวตห็ลน้าอสำ่วเนภรอะเดมับือกงรม
แต่งตั้งคณะกรจรังมหกวาัดรข,อหนัวหแกน่น้าสซ่ว่ึงนหรลาักชสกูตารดแังตก่งลต่าั้งวคจณัดะโดกยรรสมำกนาักรวชิ 3ารคัฐนศาปสรตะรธ์แาลนะกรรัฐรปรรมะกศาารสนแศลาะสกตรร์มมกหาารวิทระยดาับลัย3 ,
คณะกรรมการรมาีหชนภ้าัฏทเชี่ พียงิจราารยณาบัญชีรายช่ือ ลงความเห็นประธานลงลายมือชื่อ ทำเครื่องหมาย x ในช่องการพิจารณา
รายงานหัวหน้าส่วนราชบกัดานร้ี คขว้าบพคเจุม้ากไาดร้เทขำ้าลราับยกราารยองบารนมผหลล,ักหสัวหูตนรด้ารังะกดลับ่ากวเรรมียมบหีร้อนย้าทแี่ลแ้วต่งจตึง้งัขกอรรรามยกงาารนพสิจราุปรผณลากสาั่งกราร
เก็บ ทำลาย ,กอฝงกึ จอดบหรมาดยงัเหนต้ี ุแหง่ ชาติ มีหนา้ ที่ พิจารณา ภายใน 60 วนั พจิ ารณา เกบ็ ทำลาย
ก1าร.โเคขรียงนกหารนดงั ังสกอื ลรา่ วชมกวีาัตรถเขปุ ยีรนะสใหงเ้คขเ์ า้พใ่อืจความหมาย คือ เขยี นใหเ้ ข้าใจงา่ ย เขา้ ใจตรงกนั และเข้าใจตรงเป้าโดย
มีเทคนคิ การเขียน ดังนี้ เขยี 1น.เ1ร่อื เงพอ่อื ะใไหรผ้ ตบู้ ้อรงิหนากึรไทว้อ้กงอ่ ถนน่ิ เพข่อื า้ จระาชไดก้สา่ือรคแวลาะมพหนมกั างยาในหสเ้ ข่ว้านใทจอต้ รงถงเนิ่ ปา้ได้เไขดา้สใาจรใะนคหรลบกั ถก้วานรแแลละะ
สามารถย่อลเำรดอ่ื ับงขลัน้งหตัวอขน้อกเารรอ่ื กงาไดร้ เสแนละอแเอยกกสวารรรคในตกอานรไยด่ืน้ ,ขเขอยี เลนอ่ืถนงึ ใรคะรดบั เพช่ือำจนะาไญดง้ใาชนค้ ำขชึน้ำนต้นาญคกำาลรงทอ้ายวโุไสด้ถแูกลตะ้อชงำนตาลญอดจน
ใชถ้ ้อยคำสกำานรพวนเิ ศถษูกตต้อางมเแหบมบาะทสี่ กม.กกบัลฐาางนกะำขหอนงดผู้รบั หนงั สือ,เขยี นทำไม การเขียนหนงั สอื ราชการมจี ดุ ประสงค์ท่ีทำใหเ้ กดิ ผล
คือ เพอ่ื ใหร้ ว่ มมือ เพ่อื ให้เข1้าใ.จ๒ เพอื่ ใหพ้ผิจ้บู ารริหณาราทเอ้พงื่อถใ่นิห้ทขร้าารบาช,กเขายีรนแอลยะา่ พงไนรกั คงาอื นกสาว่ รนเทขียอ้ นงถใหนิ่ ้ดไี ดซเ้่งึ ขม้าหี ใจลใักนดกังานร้ีเถขกูียตนอ้คง่างาน
ไดส้ าระสมเขบียรู นณว์ ิสชัยดทเจศั นน์กแะลทะัดกราัดรเขชีย้ันนคผวาลมงาลนบั ใขนอกงาทราขงอรเาสชนกอาเรพแอ่ื บเลง่ อ่ือนอรกะเปดับ็นใน3แขล้ันะส1า.ยลงาับนทส่ีปุดระ2เ.ภลทบั ทม่ัวาไปก 3ร.ะดลบั อาวโุ ส
และ ประเภทวชิ าการ ระดบั ชำนาญการพิเศษ

1.๓ เพอ่ื ใหผ้ บู้ รหิ ารท้องถิ่น ข้าราชการ และพนกั งานส่วนทอ้ งถนิ่ ไดเ้ ข้าในการดำเนินการ
ดา้ นเอกสาร การขอยา้ ย ขอโอน การรบั โอน ขา้ ราชการ หรอื พนักงานทอ้ งถน่ิ และ ขา้ ราชการอนื่

1.4 เพ่ือให้ผู้บริหารท้องถ่ิน ข้าราชการ และพนักงานส่วนท้องถิ่น ได้เข้าในกระบวนการ
ดำเนินการเบิกจา่ ยเกย่ี วกบั เงนิ เพมิ่ สำหรบั พนกั งานจา้ งผปู้ ฏบิ ตั งิ านท่มี ลี กั ษณะเปน็ การเสี่ยงภัยต่อสขุ ภาพ ของ
พนักงานจ้างทัว่ ไปและพนกั งานจ้างตามภารกิจ

2. เน้ือหา วชิ าการ หลักสูตร สาระสำคญั การฝึกอบรม
2.1 ระเบียบ กฎหมาย หลักเกณฑ์ ที่มาของการเลื่อนระดบั ขา้ ราชการ และพนกั งานส่วน

ทอ้ งถิ่น สายวิชาการและสายท่ัวไป

1.1 การเลื่อนระดับประเภททัว่ ไป ระดบั ชำนาญงาน และ อาวโุ ส

1.2 การเลอ่ื นระดบั ประเภทวชิ าการ ระดบั ชำนาญการ และชำนาญการพเิ ศษ
2.2 บรรยายลำดบั ข้นั ตอนต้งั แต่ต้นจนจบในการเสนอเอกสารเพ่อื เลื่อนระดับ

สายทัว่ ไปและสายวิชาการ ระดบั ชำนาญงาน และ ชำนาญการ
ขั้นตอนที่ 1 การเตรียมเอกสาร ลำดับขน้ั ตอนการเสนอแบบพจิ ารณาคณุ สมบตั ิ

ระดบั ชำนาญงานและชำนาญการ

ขัน้ ตอนที่ 2 การแตง่ ตง้ั คณะกรรมการประเมินผลงาน

2. วชิ าการจัดแผนพัฒนาท้องถิ่นและการประสานแผนพฒั นาท้องถิ่น : วันอังคาร ท่ี 18 ตลุ าคม 2565 น.
เวลา 09.00-12.00 น. (วิทยากร : อ. สรุ ยิ ะ หินเมืองเกา่ )

ววิ ฒั นาการแผนพัฒนาท้องถิน่ แผนพฒั นาท้องถ่ินเกดิ ขึ้นไดค้ อื เพราะมีพระราชบญั ญตั ิกำหนดแผนและขั้นตอน
การกระจายอำนาจให้แกอ่ งค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ พ.ศ. 2542

คณะกรรมการพฒั นาทอ้ งถน่ิ ผู้บรหิ ารท้องถิน่ เปน็ ประธานกรรมการ รองนายก ทุกคนเป็นกรรมการ สมาชกิ สภา

คดั เลือก 3 คน เป็นกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิทมี่ ีผู้บริหารท้องถ่ิน คดั เลือก 3 คน เปน็ กรรมการ ผู้แทนภาคราชการและ/
หรือรัฐวิสาหกิจ ผู้บริหารท้องถิ่น คัดเลือก มาไม่น้อยกว่า 3 คน เป็นกรรมการ ผู้แทนประชาคมท้องถิน่ ท่ีคัดเลือก
จำนวนไมน่ ้อยกวา่ 3 คน แต่ไม่เกิน 6 คน เป็นกรรมการ ปลัด อบต. เปน็ กรรมการและเลขานุการ หวั หนา้ ส่วนการบรหิ าร

ที่มหี นา้ ท่ีจัดทำแผน เปน็ ผ้ชู ว่ ยเลขานุการ
คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทำแผนพัฒนาทอ้ งถ่ิน ปลัด อปท. เป็นประธานกรรมการ หัวหน้าส่วนราชการ/

สว่ นการบริหารของ อปท. เปน็ กรรมการ ผูแ้ ทนประชาคมทอ้ งถนิ่ คัดเลอื ก 3 คน เป็นกรรมการ หัวหน้าสว่ นการบรหิ าร

ท่มี ีหนา้ ที่จัดทำแผน เป็นกรรมการและเลขานกุ าร เจา้ หน้าทีว่ ิเคราะห์นโยบายและแผน หรือพนักงานสว่ นท้องถิ่นทีไ่ ด้รับ
มอบหมาย เปน็ ผ้ชู ่วยเลขานุการ คณะกรรมการติดตามและประเมนิ ผลแผนพฒั นาท้องถิน่ สมาชิกสภาทคี่ ัดเลอื ก 3 คน
ผู้แทนประชาคมท้องถนิ่ ท่คี ัดเลือก 2 คน ผู้แทนหนว่ ยงานทเี่ กี่ยวข้องที่ผบู้ รหิ ารทอ้ งถน่ิ คัดเลอื ก 2 คน หวั หนา้ ส่วนการ

บรหิ ารที่คัดเลอื กกันเอง 2 คน ผูท้ รงคณุ วุฒิท่ีผบู้ รหิ ารทอ้ งถิน่ คดั เลือก 2 คน คณะกรรมการเลอื กกรรมการหน่งึ คน
ทำหน้าที่ ประธานกรรมการ และกรรมการอีกคนหนงึ่ คนทำหนา้ ที่เลขกุ ารและคณะกรรมการ

การแก้ไขแผนพฒั นาท้องถน่ิ ไม่ต้องมีการประชุม นายกสงั่ ดำเนนิ การเลย ซ่งึ เป็นอำนาจของผบู้ รหิ ารท้องถนิ่

ข้อ 4 การแก้ไข หมายความวา่ การแกไ้ ขข้อผดิ พลาดในแผนพัฒนาทอ้ งถนิ่ หรอื แผนการดำเนินงานใหถ้ กู ตอ้ ง โดยไม่ทำให้
วัตถปุ ระสงค์และสาระสำคัญเดิมเปล่ียนแปลงไป (ฉบบั ท่ี 1/2548 ฉบับที่ 3/2561 แผนพฒั นา)
ข้อ 21 การแกไ้ ขแผนพัฒนาท้องถ่ิน เป็นอำนาจของผู้บริหารทอ้ งถ่ิน เมอื่ ผู้บริหารท้องถิ่นได้เห็นชอบแผนพฒั นาทอ้ งถ่ินท่ี

แก้ไขแล้ว ให้ปิดประกาศให้ประชาชนทราบโดยเปิดเผย ไม่น้อยกว่า 30 วัน นับแต่วันที่ผู้บริห ารท้องถ่ินเห็นชอบ
พร้อมทง้ั แจง้ สภาท้องถิ่น อำเภอและจงั หวดั ทราบดว้ ย (ฉบับท่ี 3/2561)

- เขียนคำผดิ สระผิด ตวั เลขผิด สำนวนผดิ ฯลฯ

- แกไ้ ขแล้ว ไม่ทำใหว้ ัตุประสงค์เปลี่ยนแปลงไป
- แกไ้ ขแลว้ สาระสำคญั เดิมไมเ่ ปลย่ี นแปลงไป
- แกไ้ ขแลว้ เปน็ ผลลพั ธ์ หากผลลพั ธ์ หากผลลัพธเ์ หมือนเดิมกแ็ ก้ไขได้

- อำนาจของ “ปลดั กระทรวงมหาดไทย “ กำหนดให้ แก้ไข เป็นอำนาจของผบู้ รหิ ารท้องถิ่น ตามหนังสอื
กระทรวงมหาดไทย ท่ี มท.0810.3/ว 6086 ลงวันที่ 19 สิงหาคม 2565

3. วิชาความรเู้ กี่ยวกับบำเหน็จ บำนาญของขา้ ราชการองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ : วันองั คาร ที่ 18
ตลุ าคม 2565 น. เวลา 13.00-16.00 น. (วทิ ยากร : อ. แพรทอง ตองหวา้ น)
- พ.ร.บ.บำเหน็จบำนาญข้าราชการส่วนท้องถ่ิน พ.ศ. 2500 (แก้ไขเพ่ิมเติมถึง (ฉบับท่ี 8) พ.ศ. 2556) ม.4 ข้าราชการส่วนท้องถ่ิน

หมายความว่า ข้าราชการ อบจ. พนักงานเทศบาล พนกั งานเมืองพัทยา พนกั งานสว่ นตำบล ตาม กม.วา่ ด้วยการนั้น และพนกั งานของราชการ
สว่ นทอ้ งถิ่นอื่นตามทม่ี ี กม.จัดตั้งราชการส่วนทอ้ งถ่ินอ่ืนข้ึน แต่ไมร่ วมถึง ขา้ ราชการกรงุ เทพมหานคร, บำเหน็จ หมายความวา่ เงินตอบแทน
ความชอบท่ีได้รับราชการมาซ่ึงจ่ายครั้งเดียว ,บำนาญ หมายความว่า เงินตอบแทนความชอบท่ีได้รับราชการมาซ่ึงจ่ายเป็นรายเดือน ,
แพทย์ท่ีทางราชการรับรอง หมายความว่า ผู้ท่ีได้ข้ึนทะเบียนและรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบโรคศิลปะตาม กม.ว่าด้วยการควบคุมการ
ประกอบโรคศิลปะ หรอื แพทย์ท่ีมีสทิ ธิประกอบโรคศิลปะในต่างประเทศซงึ่ ประกอบโรคศิลปะอยู่ในต่างประเทศนั้น และกระทรวงมหาดไทย
ได้รับรองให้ทำการตรวจและแสดงความเห็นตามความใน พ.ร.บ.นี้ ,ทายาทผู้มสี ิทธิ หมายความว่า (1) บุตร และหมายรวมถึงบุตรซ่ึงได้มีคำ
พิพากษาของศาลว่าเปน็ บุตรชอบด้วย กม.ของผู้ตาย ซ่ึงได้มีการฟ้องร้องคดีขอให้รับเด็กเป็นบุตรก่อนหรือภายในหนงึ่ ปีนับแต่วนั ที่บิดาตาย
หรอื นับแต่วนั ที่ได้รู้หรอื ควรไดร้ ู้ถงึ ความตายของบิดา (2) สามีหรือภริยา (3) บดิ ามารดา , “ผอู้ ปุ การะ” หมายความวา่ ผทู้ ี่ได้อปุ การะเล้ียงดู
ให้การศึกษาผู้ตายมาแต่เยาว์ ฉันท์บิดามารดากับบุตรหรือ ,ผู้ท่ีได้อุปการะ ขรก.ส่วนท้องถ่ิน/หรือ ขรก.บำนาญส่วนท้องถิ่นผู้มีรายได้ไม่
เพียงพอแก่อตั ภาพ/หรือได้อุปการะข้าราชการบำนาญส่วนท้องถิ่นผซู้ ึ่งป่วยเจบ็ ทุพพลภาพหรือวกิ ลจริตไมส่ ามารถที่จะช่วยตัวเองได้และต้อง
เป็นผู้ให้อุปการะประจำเป็นส่วนใหญ่, “ผู้อยู่ในอุปการะ” หมายความว่า ผู้ท่ีได้อยู่ในความอุปการะของผู้ตายตลอดมา โดยจำเป็นต้องมีผู้
อปุ การะ และความตายของผนู้ ั้นทำใหไ้ ด้รับความเดือดรอ้ นเพราะขาดความอปุ การะ
กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการส่วนทอ้ งถิ่น - ม.6 ใหม้ กี องทุนบำเหน็จบำนาญ ขรก.ส่วนท้องถ่ิน เพอื่ จ่ายบำเหน็จบำนาญแก่
ขรก.ส่วนท้องถ่ิน โดยให้ราชการส่วนทอ้ งถนิ่ หักเงนิ จากประมาณการรายรบั ในงบประมาณรายจ่ายประจำปเี พอ่ื สมทบเขา้ กองทุนในอัตรา
ตามทกี่ ำหนดโดยกฎกระทรวงในอตั ราไม่เกินรอ้ ยละสาม - กฎกระทรวงการหักเงินจากประมาณการรายรบั ในงบประมาณรายจ่ายประจำปี
สมทบเข้าเปน็ กองทุนบำเหน็จบำนาญขา้ ราชการ (พ.ศ. 2563) กำหนดให้ อบต.จัดสง่ ร้อยละสอง สำหรับ อบจ. เทศบาล และเมืองพัทยา
จัดส่งร้อยละสาม -ประมาณการรายรบั ในงบประมาณรายจ่ายประจำปซี ง่ึ พึงคำนวณหกั สมทบ ก.บ.ท.มิให้นำรายรับระเภทพนั ธบตั ร เงินกู้ เงนิ
ท่ีมีผอู้ ทุ ิศให้หรือเงินอดุ หนนุ มารวมคำนวณด้วย , ม.7 ให้มีคณะกรรมการคณะหนง่ึ เรยี กว่า “คณะกรรมการกองทุนบำเหนจ็ บำนาญ ขรก.
ส่วนท้องถ่ิน”, ม.8 กองทุนบำเหนจ็ บำนาญข้าราชการสว่ นท้องถิ่นให้รวมประเภทเงิน ดงั น้ีเงินดอกผลที่เกิดจาก ก.บ.ท. ตาม กม.น้ีและเงินทม่ี ี
ผู้อุทิศสมทบ ก.บ.ท.สทิ ธใิ นบำเหนจ็ บำนาญปกติ ม.9 ขรก.ส่วนท้องถิน่ ออกจากราชการ ใหจ้ ่ายบำเหน็จหรือบำนาญ จาก ก.บ.ท. และวรรค
สอง กำหนดว่า “สทิ ธใิ นบำเหน็จหรือบำนาญเปน็ สทิ ธิเฉพาะตัวจะโอนไมไ่ ด้ ม.10 ภายใตบ้ งั คับ ม.11 ขรก.ส่วนท้องถิ่นซึง่ จะไดร้ ับบำเหนจ็
บำนาญ เม่ือก่อนออกจากราชการตอ้ งไดร้ ับเงินเดือนจากเงินงบประมาณประเภทเงนิ เดือนของราชการส่วนท้องถ่ิน
ม.12 ขรก.ส่วนท้องถ่ินมีสิทธิได้รับบำเหน็จบำนาญปกติด้วยเหตุอย่างใดอย่างหนึ่ง บำเหน็จบำนาญเหตุทดแทน ,บำเหน็จบำนาญเหตุ
ทุพพลภาพ ,บำเหนจ็ บำนาญเหตุสงู อายุ ,บำเหนจ็ บำนาญเหตรุ บั ราชการนาน
สทิ ธิในบำเหน็จบำนาญปกติ ม.14 บำเหน็จบำนาญเหตทุ ดแทน ให้แก่ ขรก.ส่วนท้องถ่ิน ซ่ึงออกจากราชการ เพราะ - เลิกหรือยบุ ตำแหน่ง
- หรือไปดำรงตำแหน่งทางการเมือง - หรอื ซึ่งมคี ำสง่ั ให้ออกโดยไม่มีความผิด
ม.15 บำเหน็จบำนาญเหตุทพุ พลภาพ ให้แก่ขรก.ส่วนท้องถ่ินผู้เจบ็ ป่วยทพุ พลภาพ ซึง่ แพทย์ทีท่ างราชการรับรองไดต้ รวจแสดงความเหน็ ว่า
ไ ม่ ส า ม า ร ถ ที่ จ ะ รั บ ร า ช ก า ร ใ น ต ำ แ ห น่ ง ห น้ า ที่ ซ่ึ ง ป ฏิ บั ติ อ ยู่ น้ั น ต่ อ ไ ป ( คุ ณ ส ม บั ติ ข อ ง แ พ ท ย์ ต า ม
ทก่ี ล่าวไว้ใน ม.4)
ม.16 บำเหน็จบำนาญเหตสุ ูงอายุ ให้แก่ - ขรก.ส่วนทอ้ งถิ่นผ้มู ีอายุครบ 60 ปีบริบูรณ์ - ขรก.ส่วนทอ้ งถ่ินผู้มอี ายุครบ 50 ปีบรบิ ูรณ์
ประสงค์จะลาออก ใหผ้ มู้ อี ำนาจสัง่ อนุญาตให้ลาออกจากราชการเพ่อื รบั บำเหน็จบำนาญเหตสุ ูงอายุได้
ม.17 บำเหน็จบำนาญเหตุรับราชการนาน ให้แก่ - ขรก.สว่ นท้องถนิ่ ผูซ้ ึ่งมีเวลาราชการสำหรับคำนวณบำเหน็จบำนาญครบ 30 ปีบริบรู ณ์
แล้ว - ขรก.ส่วนท้องถนิ่ ผูซ้ งึ่ มีเวลาราชการสำหรบั คำนวณบำเหน็จบำนาญครบ 25 ปีบรบิ ูรณ์ ประสงคจ์ ะลาออก ให้ผู้มอี ำนาจส่ังอนุญาตให้
ลาออกจากราชการเพ่อื รบั บำเหน็จบำนาญเหตุรบั ราชการนานได้
ม.18 ขรก.ส่วนท้องถิ่น ซึ่งมีเวลาราชการสำหรับคำนวณบำเหน็จบำนาญไม่ถึง 10 ปีบริบูรณ์ มีสิทธิได้บำเหน็จ มีเวลาราชการสำหรับ
คำนวณบำเหน็จบำนาญ ตัง้ แต่ 10 ปีบริบูรณข์ ้นึ ไป มสี ิทธไิ ดบ้ ำนาญ
ม.19 ขรก.สว่ นท้องถ่ิน ซ่งึ มีสทิ ธิไดบ้ ำนาญ จะขอรบั บำเหน็จตามเกณฑใ์ น ม.32 แทนบำนาญกไ็ ด้ (ม.32 วธิ คี ำนวณบำเหน็จบำนาญ)
ม.20 ขรก.ส่วนท้องถ่ินผู้ใด - มีเวลาสำหรับคำนวณบำเหน็จบำนาญครบ 10 ปีบริบูรณ์- ออกจากราชการเพราะลาออกและไม่มีสิทธิท่ีจะ
ได้รับ บำเหนจ็ บำนาญปกติตามความใน ม.12 (ไมเ่ ขา้ 4 เหต)ุ - ให้ได้รับบำเหนจ็ ตามเกณฑใ์ น ม.32 (ม.32 วธิ ีคำนวณบำเหน็จบำนาญ)
ม.21 ขรก.ส่วนท้องถิ่นซึ่งมีอายุครบ 60 ปีบริบูรณ์แล้ว เป็นอันพ้นจากราชการเม่ือส้ินปีงบประมาณท่ีอายุครบ 60 ปีบริบูรณ์ (จัดทำ
ประกาศผู้เกษียณอายุราชการ) ม.22 ให้ ผวจ.เป็นเจ้าหน้าที่ควบคุมเกษียณอายุของขรก.ส่วนท้องถิ่น ม.23 ก่อนสิ้นเดือนสุดท้ายของ
ปงี บประมาณ เจา้ หนา้ ทค่ี วบคุมเกษียณอายุ ยนื่ บัญชีรายช่ือ ขรก.ส่วนท้องถิ่นผู้มีสทิ ธจิ ะได้รับบำเหน็จบำนาญซึ่งมอี ายจุ ะครบ 60 ปีบริบูรณ์
ในปีงบประมาณถัดไป ตอ่ ก.บ.ท.

4. วชิ าการศลิ ปะการพูดในที่ประชุม : วันพุธ ท่ี 19 ตุลาคม 2565 น. เวลา 09.00-12.00 น.

(วิทยากร : อ. บณั ฑิต ต้งั ประเสรฐิ )
๑) การบรรยายสรุป (Brie) เป็นรูปแบบหนึ่งของการสื่อสาร ในลักษณะที่เปน็ การชแ้ี จงในเรื่องใดเร่ืองหนึง่ ทีม่ คี วามยาวหรือละเอียด

มากและมีความสลับซับซ้อนให้สน้ั ลงและกระชับขึ้น แตย่ งั คงครอบคลุมและมคี วามสมบรู ณข์ องเนอื้ หาสาระ การบรรยายสรุป มี ๕
ประเภท คือ (๑) การบรรยายสรปุ เพอ่ื ให้ข้อมลู ข่าวสาร (Information Brief)

การบรรยายสรุปทม่ี ีความมุ่งหมายเพื่อเสนอข้อเท็จจรงิ ใหแ้ กผ่ ู้อ่านและผฟู้ ังเพื่อให้ผู้รับสารทราบสถานการณ์ปจั จบุ ันหรอื ขอ้ มูล

ขา่ วสารจากผบู้ รรยายสรปุ การบรรยายสรปุ ประเภทน้ีจงึ ไม่ต้องการการตดั สินใจใด ๆ แตจ่ ะเป็นการแถลงและรายงานใหท้ ราบ
เทา่ นนั้ (๒) การบรรยายสรุปเพื่อการตัดสินใจ (Decision Brien)

เปน็ การบรรยายสรปุ เพื่อหามติหรอื ขอ้ สรุปอย่างใดอยา่ งหนงึ่ จากการตดั สินใจหลงั จบการบรรยายสรปุ การบรรยายสรปุ ประเภทน้ี

จึงตอ้ งเร่มิ จากการบรรยายสรปุ เพื่อใหข้ อ้ มลู ขา่ วสารในแบบแรกขึน้ มาก่อน ผู้รบั สารจงึ จะมีขอ้ มลู เพยี งพอท่จี ะนาไปสูก่ ารตัดสนิ ใจ
การบรรยายสรุปแบบนี้จะต้องใชก้ ารบรรยายสรุปทค่ี ่อนขา้ งจะละเอยี ดถถ่ี ้วน การบรรยายสรปุ แบบนจ้ี ะมีลกั ษณะของการแสวงหา

คาตอบจากปัญหาทย่ี กข้ึนมา เพือ่ หาข้อตกลงใจ หรือหาหนทางปฏิบตั ทิ น่ี า่ จะเปน็ ไปได้
ดงั นน้ั ในการบรรยายสรปุ ประเภทน้ี ในเบอื้ งแรกจงึ ตอ้ งชแ้ี จงใหผ้ ู้รบั สารทราบอย่างชดั เจนก่อนว่าต้องการคน้ หาข้อตกลงใดหลงั จาก

การบรรยายสรุปจบลง เพื่อใหผ้ อู้ ่านหรอื ผฟู้ งั สารทบี่ รรยายสรุปไดใ้ ช้ความรองคอบระมดั ระวังในการพิจารณาสารจากการบรรยาย

สรุป จะไดน้ ามาใชป้ ระกอบการตดั สนิ ใจและแสดงความคดิ เห็นไดอ้ ยา่ งถูกต้อง
(๓) การบรรยายสรุปเพอื่ การดาเนนิ งานของคณะทางาน (Staff Brief)

เป็นการบรรยายสรปุ ท่ใี ช้กันอยา่ งกวา้ งขวาง โดยเฉพาะในวงการทหาร คอื จะเปน็ การบรรยายสรปุ เพือ่ ความรวดเร็วในการ

แลกเปลยี่ นข้อมลู ขา่ วสาร การบรรยายสรปุ แบบน้ีมีลกั ษณะคล้ายกบั information brief และยงั คลา้ ยคลึงกบั decision brief เพอ่ื
จะนาไปเสนอผู้บังคบั บัญชาตัดสนิ ใจ การบรรยายสรุปแบบน้ีจะต้องใช้ในหนว่ ยงาน องคก์ ร และสถาบันเกือบทุกระดบั เพื่อให้

ผบู้ งั คบั บญั ชาและผใู้ ต้บงั คบั บัญชาได้รับทราบขา่ วสารและสถานการณป์ จั จุบันรว่ มกัน ผลทีต่ อ้ งการจากการบรรยายสรปุ แบบนี้ คอื
การประสานงานและเพื่อร่วมกันปฏบิ ัตงิ านใหม้ เี อกภาพในการบงั คับบญั ชาเปน็ ส่วนรวม

(๔) การบรรยายสรุปเพื่อใหน้ โยบาย (Mission Brien)

เปน็ การบรรยายสรปุ ทเ่ี กิดขึ้น เพ่อื ผสมผสานความมงุ่ หมายต่าง ๆ ทจ่ี ะตอ้ งปฏบิ ตั ิรว่ มกนั เช่น การบรรยายสรปุ งานก่อนเร่ิมดาเนนิ
การ การบรรยายสรุปเพ่อื ปฏบิ ตั ิภารกจิ ในระดับตง ๆ การบรรยายสรุปแบบน้มี กั จะเป็นการบรรยายสรปุ สุดทา้ ย กอ่ นการลงมือ

ปฏิบตั งิ านใด ๆ ท้ังนีเ้ พ่ือให้เกดิ ความม่ันใจว่าผมู้ สี ่วนร่วมในภารกิจครง้ั นั้น มคี วามเขา้ ใจตงกนั แล้ว การบรรยายสรุปแบบนี้ใกล้เคยี ง

กับ Information Brief
(๕) การบรรยายสรุปในการประชมุ (Meeting Brief)

การบรรยายสรุปในการประชมุ หรือ Meeting Brief ก็คือการบรรยายสรปุ เพือ่ การดาเนินงานของคณะทางาน (staff brief) และ
การบรรยายสรปุ เพ่ือให้นโยบาย (mission brief)

๒) การนำเสนอ (Presentation) ศลิ ปะของการใชค้ าพูดนา้ เสียง บคุ ลิกภาพ เทคนิคการใชภ้ าษากาย เปน็ การสือ่ สารรูปแบบหนึง่ ท่ี

มีความสำคญั และมีความจาเป็นอยา่ งยงิ่ ในปัจจบุ นั ทง้ั ในแวดวงการศึกษา และแวดวงวิชาชีพ การทางานทงั้ ในภาครฐั และ
ภาคเอกชนใหค้ วามสำคญั กบั ทักษะการนำเสนอของบคุ ลากร

๓) การพัฒนาบคุ ลกิ ภาพและวธิ กี ารสมาคม บุคลิกภาพ (Personality) คือ การพฒั นาบคุ ลกิ ภาพในการทางาน การพฒั นา

บุคลิกภาพทางสตปิ ัญญา การพฒั นาบุคลกิ ภาพทางอารมณ์ การพัฒนาบคุ ลิกภาพทางสงั คมบุคลากรในองค์กรที่จะถือได้วา่ มี
คุณภาพ นอกจากจะตอ้ งมที กั ษะประสบการณแ์ ละความรคู้ วามสามารถ ในการทางาน ตามภาระหนา้ ทแี่ ล้ว ควรต้องมีบุคลกิ ภาพที่

เหมาะสม สอดคลอ้ งกับงานบคุ ลกิ ภาพเน้นคณุ ลักษณะเฉพาะตวั ของบคุ คล จะมผี ลตอ่ ประสทิ ธิภาพการทางาน และปฏิสมั พนั ธก์ บั
ผู้อ่นื ท้ังในองค์กร และนอกองคก์ ร และยงั เป็นภาพลกั ษณท์ ส่ี ำคญั ขององค์กรด้วย

5. วชิ าการพฒั นาบุคลิกภาพและการสมาคม : วนั พุธ ที่ 19 ตลุ าคม 2565 น. เวลา 13.00-

16.00 น. (วทิ ยากร : อ. ณิชาภา แกว้ ประดบั )
"บุคลิกภาพ" หมายถึง คุณลักษณะทางกาย ทางจิตใจ และความรู้สึกนึกคิดที่สะท้อนออกมาให้ผู้อ่ืนเห็นและเกิดความ
ประทับใจมากนอ้ ยเพียงใดมีความสำคัญคอื บุคลกิ ภาพนับเป็นส่วนประกอบท่สี ำคญั ท่ีมีอิทธพิ ลต่อความรสู้ ึกและอารมณ์

ของผู้ที่พบเหน็ เปน็ อย่างย่งิ จึงสง่ ผลตอ่ การยอมรับนับถือ การใหค้ วามรว่ มมือ การสนบั สนุน และความไว้วางใจจากผู้อ่ืน
ประเภทของบคุ ลิกภาพ
บุคลิกภาพภายนอก คอื สิ่งทเี่ ห็นได้ชดั เจนจากภายนอกของแตล่ ะคน สามารถท่จี ะปรับปรงุ แกไ้ ขได้ง่าย ใชเ้ วลาไม่นาน

แบง่ ไดเ้ ป็น 4 หมวด คือ 1. รูปร่างหน้าตา 2. การแต่งกาย 3. กิริยาทา่ ทาง 4. การพดู บคุ ลิกภาพภายใน คอื สง่ิ ทอ่ี ยูภ่ ายใน
จิตใจ หรอื อุปนสิ ยั ใจคอท่มี องไมเ่ ห็น สัมผสั ไม่ได้ แก้ไขไดย้ าก เช่น 1. ความเช่อื มัน่ ในตนเอง 2. ความซื่อสตั ยส์ จุ ริต 3.
ความคิดริเรม่ิ สร้างสรรค์ 4. ความรบั ผิดชอบ

แนวทางในการพฒั นาบุคลกิ ภาพ
การรักษาสขุ ภาพอนามยั - ออกกาลงั กายสม่ำเสมอ - รบั ประทานอาหารทีม่ ปี ระโยชน์
- ควบคมุ นา้ หนักไม่ใหเ้ พมิ่ หรอื ลดผดิ ปกติ - ละเวน้ การสูบบหุ รห่ี รือยาเสพตดิ ใหโ้ ทษทุกชนดิ - ไมด่ ื่มสงิ่ ของทมี่ แี อลกอฮอล์

หรือคาเฟอนี - พักผอ่ นนอนหลบั ใหเ้ พียงพอ วันละ 7-8 ชม. - รักษาอารมณใ์ หส้ ดช่นื แจม่ ใสอยเู่ สมอ
การดูแลร่างกาย
- รักษาความสะอาดในชอ่ งปากและฟนั - ดูแลรักษาเสน้ ผมและทรงผมใหเ้ รียบรอ้ ยทั้งด้านความสะอาดและรปู ทรง

- โกนหนวดเคราใหเ้ กลี้ยงเกลา ตดั และขริบใหเ้ รยี บรอ้ ย - รกั ษาผิวพรรณให้สะอาดสดช่ืนอยเู่ สมอ อยา่ ใหผ้ วิ แหง้ กร้าน
- รกั ษากล่นิ ตวั - รู้จกั การแต่งหนา้ แต่พองาม - ดูแลเลบ็ มอื เลบ็ เทา้ ใหส้ ะอาดอยเู่ สมอ - ปรบั เปลยี่ นเสื้อผ้าและชุดชน้ั ในท่ี
สวมใสท่ กุ วัน - ควรมีการเชค็ รา่ งกายเป็นประจาทกุ ปี - เม่ือร่างกายมอี าการผดิ ปกตริ บี ไปปรึกษาแพทย์

การแตง่ กาย
- สวมใสเ่ สอ้ื ผ้าทส่ี ะอาด ซกั รีดใหเ้ รียบ - สสี ันไมฉ่ ดู ฉาด ควรเลอื กสีใหเ้ หมาะสมกับรูปร่างและผวิ พรรณของตนเอง
- กระเปา๋ ถือและรองเท้า ควรใช้หนังที่มีคณุ ภาพดี สเี รียบ สำรวจส้นรองเทา้ จดั การซอ่ มแซมใหเ้ รียบรอ้ ย - แตง่ หน้าให้

แนบเนยี น ไมแ่ ต่งเขม้ ผดิ ธรรมชาติ เลอื กใชเ้ ครือ่ งสาอางทีม่ คี ณุ ภาพดี - เล็บและการทาเลบ็ ไม่ควรไวเ้ ลบ็ ยาวจนเกนิ ไป ควร
เลือกสีกลาง ๆ อย่าปล่อยให้สีถลอกจะไม่น่าดู - ผมหม่นั สระใหส้ ะอาดอย่างนอ้ ยสปั ดาห์ละ 1-2 คร้งั แปรงหวใี หเ้ รียบรอ้ ย
เลอื กทรงผมทรี่ ับกบั ใบหนา้ - เครอ่ื งประดบั ควรใช้เพอ่ื เสรมิ การแตง่ กายใหด้ ดู ขี นึ้ แต่ไม่ควรใช้เคร่อื งประดบั มากจนเกนิ ไป

จนดูสะดดุ ตารกรงุ รงั ไปหมด - ควรแต่งกายใหเ้ หมาะสมกบั สภาพภูมิศาสตรแ์ ละวัฒนธรรม - ควรแต่งกายใหเ้ หมาะสมกบั
กาลเทศะ
อารมณ์ รูจ้ กั ควบคมุ อารมณ์ ไม่ปลอ่ ยอารมณไ์ ปตามใจตนเอง คนทค่ี วบคมุ อารมณ์ตนเองไดจ้ ะได้เปรียบและจะเอาชนะ

เหตุการณต์ า่ ง ๆ ที่เกิดขึ้นได้ ในการปฏบิ ัติงานเปน็ เรื่องธรรมดาท่ีจะต้องมเี หตกุ ารณม์ กระทบกระเทือนอารมณก์ นั อยเู่ สมอ
ฉะนนั้ บุคคลใดท่ีตอ้ งการจะพัฒนาบุคลิกภาพของตนให้ดีขน้ึ จะตอ้ งเปน็ คนรจู้ กั อดทนใจเย็นเมอ่ื มีเหตุการณท์ ่ไี มถ่ ูกใจ
เกดิ ขนึ้

ความเช่อื ม่ันในตนเอง - ยอมรบั ในความสามารถของตนเอง - อยา่ เลง็ ผลเลศิ ในการทางานจนเกนิ ไป
- อยา่ ถอื คตวิ า่ การทางานสง่ิ ใดเมอื่ ทาแลว้ ตอ้ งดีทส่ี ดุ - อยา่ นาความเกง่ ของผู้อนื่ มาทบั ถมตนเอง - หม่ันฝึกจติ ใจตนเองให้
ชนะความกลัวให้ได้

การพัฒนาบคุ ลิกภาพด้านความรู้สึกนึกคิด
ความรูส้ ึกนกึ คิดของแต่ละคนยอ่ มไมเ่ หมอื นกัน ถา้ มคี วามรสู้ กึ นกึ คิดในด้านดี ไมม่ องคนในแงร่ ้าย จติ ใจกเ็ ปน็ สขุ ไม่มคี วาม
กังวล ดังนั้น เลขานุการจึงควรพฒั นาบคุ ลกิ ภาพด้านความรสู้ ึกนึกคดิ ดังน้ี 1. มคี วามเชอ่ื มน่ั ในตนเองในการกระทำในสง่ิ

ต่าง ๆ 2. มีความซือ่ สัตย์ กระทาตนใหผ้ ้อู ่ืนเชื่อถือเรา แลว้ ความไว้วางใจจะตามมา มเี ร่อื งสำคัญเขาก็จะให้เราทำ
3. มีความสามารถทจี่ ะทาส่งิ เหลา่ นนั้ ให้เหมาะสมกับผ้ทู ม่ี อบหมายไวว้ างใจใหเ้ ราทา 4. มีความกระตือรอื รน้ ทอ่ี ยากจะทำ
เตรียมตัวใหพ้ ร้อมอย่เู สมอ 5. มีความคดิ รเิ ริม่ สร้างสรรค์ รจู้ กั ปรบั ปรงุ งานอยูเ่ สมอ 6. มีความรบั ผดิ ชอบ ไม่วา่ จะทำอะไรก็

ตามต้องมีความหว่ งใยจะตอ้ งทาใหเ้ สรจ็ ทนั ตามกำหนดเวลา
7. มีความรอบรู้

8. ห่วงตัวเอง เตมิ ชีวติ ให้กบั ตวั เอง





8. วชิ าความรูเ้ กย่ี วกบั การบริหารงานบุคลากรครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา : วนั ศกุ ร์ ที่ 21 ตลุ าคม 2565 น.

เวลา 09.00-16.00 น. (วทิ ยากร : อ.นำ้ ทิพย์ หิรญั วงค์)

การบรหิ ารงานบุคคลครูและบุคลากรทางการศกึ ษา

การจัดสรรงบประมาณดา้ นบุคคล

- โรงเรียนสังกัด อปท. เงินอุดหนุนทั่วไป เงินอุดหนุนสำหรับการจัดการศึกษาภาคบังคับ (เงินเดือนครู ค่าจ้างประจำ เงินวิทยฐานะ)

เงินอุดหนุนทั่วไปกำหนดวัตถุประสงค์ไม่ตราในข้อบัญญัติ /เทศบัญญัติ ประกอบด้วย เงินอุดหนุนทั่วไป เงินอุดหนุนสำหรับการจัด

การศึกษาภาคบงั คบั (คา่ การศึกษาบตุ ร) เงนิ อุดหนุนทว่ั ไป เงินอดุ หนุนสำหรับการจดั การศึกษาภาคบังคบั (ค่าเชา่ บ้าน)

- ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก งบอุดหนุน เงินอุดหนุนท่ัวไป เงนิ อุดหนุนสำหรับสนับสนุนศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โดยจัดสรรเป็นรายการเงินเดือน

เงินวทิ ยฐานะ คา่ ตอบแทน และสวัสดกิ ารสำหรับข้าราชการ /พนกั งานครูและพนักงานจ้าง “ต้องตราไว้ในเทศบญั ญัตหิ รือข้อบญั ญัติ

สถานศึกษาสังกัด อปท.โรงเรียน ๑. ผอ.สถานศึกษา ๒. รอง ผอ.สถานศึกษา ๓. ครผู ู้ช่วย ๔. ครู ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ๑. ผอ. ศูนย์

พัฒนาเดก็ เลก็ ๒. ครูผู้ช่วย ๓. ครู เกณฑ์การกำหนดจำนวนตำแหน่งข้าราชการครู/พนักงานครูประกาศ ก.จ. ก.ท. และ ก.อบต. เรอ่ื ง

มาตรฐานทั่วไปเก่ียวกับการกำหนดจำนวนตำแหน่งข้าราชการครู พนักงานครู ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ิน พ.ศ.

๒๕๕๘ ลงวันท่ี ๑๑ สิงหาคม ๒๕๕๘ กำหนดให้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีตำแหน่ง อัตรากำลังและห้องจัดประสบการณ์ ดังนี้ ตำแหน่ง

หัวหน้าศูนย์พัฒนา ให้มีจำนวน ๑ คน ตำแหน่งครูผดู้ ูแลเด็ก ใช้อัตราอัตรา ๑๐ : ๑ (เศษ ๕ คนข้ึนไปให้เพิ่มไดอ้ ีก ๑ คน) จัดห้อง

ประสบการณ์ ห้องละ ๒๐ คน (เศษ ๑๐ คนขึ้นไป เพิ่ม ๑ ห้อง) ประกาศ ก.จ. ก.ท. และ ก.อบต. เร่ือง มาตรฐานท่ัวไปเก่ียวกับการ

กำหนดจำนวนตำแหน่งข้าราชการหรือพนักงานครูและบุคลากรทางการศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในสถานศึกษาระดับ

การศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน ประกาศ ณ วนั ที่ ๖ มกราคม ๒๕๖๕ เงื่อนไขการกำหนดตำแหน่งขา้ ราชการหรอื พนักงานครแู ละบคุ ลากรทางการ

ศกึ ษาในสถานศกึ ษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ให้สถานศึกษา ระดับการศึกษาขน้ั พื้นฐานแต่ละแห่ง

มีตำแหน่งตามสายงาน ดังนี้ (๑) สายงานบริหารสถานศึกษา (๒) สายงานการสอน (๓) สายงานสนับสนุนการศึกษา (๔) สายงาน

สนบั สนุนการศึกษา ๑.1 การกำหนดจำนวนชว่ั โมงการปฏบิ ัตงิ านของสายงานการสอน ๑.2 การกำหนดสาขาวชิ าเอกในสถานศกึ ษา ให้

เปน็ ไปตามมาตรฐานวิชาเอก ๑.3 การกำหนดจำวนนักเรียนตอ่ หอ้ งเรียน ๑.4 การกำหนดเวลาเรยี นต่อสัปดาห์ ตามหลักสูตรการศึกษา

ปฐมวยั และหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน

๒. การกำหนดจำนวนตำแหน่งข้าราชการหรือพนักงานครแู ละบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัด

องคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่น ให้ดำเนนิ การ ดงั น้ี ๒.๑ สายงานบริหารสถานศกึ ษา ให้กำหนดตามตำแหน่ง

๒.๒ สายงานการสอน ให้กำหนดตามตำแหน่ง ๒.๓ สายงานสนับสนุนการอสน ให้กำหนดจำนวนตำแหนง่ ขา้ ราชการหรอื พนักงานส่วน

ทอ้ งถิ่นหรือพนักงานจ้างตามภารกิจ ในสถานศึกษา ๒.๔ สายงานสนับสนุนการศึกษา ให้กำหนดจำนวนตำแหน่งพนักงานจ้างท่ัวไปหรือ

พนักงานจ้างเหมาบริการ ตำแหน่งภารโรงในสถานศึกษาแต่ละแห่ง ๓. การกำหนดจำนวนตำแหนง่ เพิ่มในสถานศึกษาปกติท่มี ีเด็กพิการ

เรยี นรว่ ม ให้กำหนดจำนวนตำแหน่งเพมิ่ จากจำนวนตำแหน่งข้าราชการหรือพนักงานครูองคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่น สายงาน

การสอน เปน็ พนักงานจ้างตามภารกิจ ตำแหน่งผูช้ ่วยครู(ครูพี่เล้ยี งเด็กพิการ) ตามความเหมาะสมกับจำนวนเด็กพกิ าร ประเภทของความ

พกิ าร และภาระงานของสถานศกึ ษานั้น ๔. กรณีที่องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิน่ มีแนวนโยบายและแผนการดำเนินการในการส่งเสริมและ

พฒั นาคุณภาพการศึกษาให้มมี าตรฐานและคุณภาพมากยงิ่ ขน้ึ อย่างเป็นรปู ธรรม

โดย อปท. มีความจำเป็นต้องกำหนดจำนวนตำแหน่งข้าราชการหรือพนักงานครูองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในสถานศึกษา

ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานในสังกัดต่างไปจากมาตรฐานท่ัวไปน้ี ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินโดยความเห็นชอบของ ก.กลาง เสนอ

แนวนโยบาย แผนการดำเนินการ เหตุผลความจำเปน็ และแนวทางการพัฒนาต่อ ก.กลาง พิจารณาเปน็ กรณๆี ไป

ประกาศ ก.จ. ก.ท. และ ก.อบต. เรอ่ื ง มาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับการกำหนดจำนวนตำแหน่งข้าราชการหรือพนักงานครแู ละ

บคุ ลากรทางการศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินในสถานศึกษาท่ีมีการจัดการศึกษาลักษณะพิเศษ พ.ศ. ๒๕๖๔ ประกาศ ณ วนั ท่ี

๑๒ กรกฎาคม ๒๕๖๔ จำนวนตำแหน่งสายงานการสอน หมายถึง จำนวนตำแหน่งครูผู้ช่วย และตำแหน่งครู รวมถงึ พนักงานจ้างตาม

ภารกจิ สำหรบั ผูม้ ีคุณวุฒิที่มีลักษณะงานท่ีปฏบิ ัติ หน้าที่และความรับผิดชอบและคณุ สมบตั ิเฉพาะสำหรับตำแหน่งตามมาตรฐานกำหนด

ตำแหนง่ ครูผู้ชว่ ย

จำนวนตำแหนง่ สายงานบริหารสถานศึกษา หมายถึง จำนวนตำแหนง่ ผ้อู ำนวยการสถานศกึ ษา และรองผู้อำนวยการสถานศึกษา

สถานศกึ ษาที่มกี ารจดั การศึกษาลกั ษณะพิเศษ หมายความวา่ สถานศกึ ษาที่จัดการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน ซ่ึงจัดการศึกษาในหลักสูตรพัฒนา

ผ้เู รยี นสคู่ วามเปน็ เลิศ เป็นหลักสูตรที่สถานศึกษาจดั ทำขนึ้ เพือ่ พัฒนาผเู้ รียนแตล่ ะบุคคลให้มีความเชยี่ วชาญตามความถนัดของตน

9. วชิ าคุณธรรมและจรยิ ธรรมเพอื่ การปฏบิ ตั งิ าน : วันเสาร์ ที่ 22 ตุลาคม 2565 น. เวลา 09.00-

12.00 น. (วิทยากร : อ.ชยั รตั น์ พรหมบบุ ผา)
การสรา้ งจติ สานกึ ด้านคุณธรรมจริยธรรมให้เกดิ ผลอย่างเปน็ รปู ธรรมและยงั่ ยนื จะเกิดขนึ้ ไมไ่ ด้ถ้าเรายงั สอนแบบฝนื

ธรรมชาติ ธรรมชาติของสัตว์โลกจะทำทุกอย่างเพื่อตนเองเสมอ แม้แต่พฤติกรรมที่ดูเหมอื นจะเป็นการเสียสละอนั ยง่ิ ใหญ่
แทท้ จ่ี รงิ แล้วกเ็ ปน็ สัญชาตญาณที่ถกู โปรแกรมไว้แลว้ แคเ่ ราสอนใหม้ นษุ ย์ทาทุกอย่างเพ่ือตวั เอง

แต่อย่าเห็นแก่ตัว และจงแขวนความสุขของตนไว้กับการได้ทาส่ิงท่ีเราเชื่อม่ันว่า ถูกต้อง ดีงาม และเหมาะสม

สงั คมก็จะได้รับสิง่ ทดี่ ี
แลว้ คณุ ธรรมและจริยธรรมก็จะเกดิ ขึน้ อย่างงดงามและย่งั ยนื โดยอาศยั หลักการ ดงั นี้

- สตคิ อื การรูต้ วั อยูเ่ สมอ วา่ ตนเองกาลงั คิดอะไร ทาอะไร

- ปญั ญา เกิดจากสติ การไตรต่ รองอยู่เสมอ
- ศรทั ธา คอื ความเชือ่ หมายถงึ เช่อื ในสติ ปญั ญาของตนเอง
- กศุ ลกรรม คอื กรรมทเ่ี ปน็ เครือ่ งนาทางสูค่ วามสำเรจ็ ในท่ีน้หี มายถึงกรรมดี

- สายกลางคอื การไม่ยดึ ตดิ ทางดา้ นใดดา้ นหนง่ึ มากจนเกนิ ไป
หากมนุษยม์ ปี ญั ญา และศรทั ธาทไ่ี มง่ มงายความเหน็ แกต่ ัวกจ็ ะลดลงอยา่ งชัดเจน การทจุ ริตคอรปั ช่ัน ละเมิด รวมทง้ั การเอา
เปรียบกนั ในสงั คมก็จะลดนอ้ ยลงอย่างแน่นอนและยง่ั ยืน

10. วชิ าทักษะและความสามารถด้านการใช้ดิจิทลั สำหรบั ข้าราชการ : วนั เสาร์ ท่ี 22 ตลุ าคม 2565
น. เวลา 13.00-19.00 น. (วิทยากร : อ.อำพร สวัสดยิ ากร)

11. วชิ าหลักคิดจติ อาสาและโครงสรา้ งจติ อาสาพระราชทาน : วนั อาทิตย์ ที่ 23 ตุลาคม 2565 น.

เวลา 09.00-12.00 น. (วทิ ยากร : อ.นิพนธ์ คชกาญจน์)

จติ อาสา “เราทาความดี เพอื่ ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ”์
หมายถงึ ประชาชนทกุ หมเู่ หลา่ ท้ังในและต่างประเทศทส่ี มัครใจช่วยเหลอื ผอู้ ื่นยอมเสียสละเวลา แรงกาย แรงใจ และ
สตปิ ัญญาใน การทางานท่เี ป็นสาธารณประโยชน์ โดยไมห่ วงั ผลตอบแทนใด ๆ

จติ อาสาตามพระราโชบาย แบง่ เป็น 3 ประเภท ดังน้ี
1) จิตอาสาพัฒนา : ได้แก่กิจกรรมจติ อาสาพระราชทานที่มีวัตถปุ ระสงคเ์ พ่อื พฒั นาท้องถ่นิ ของแต่ละชุมชนให้มีคุณภาพ
ชีวิตและความเป็นอยู่ทดี่ ีขึ้นไมว่ ่าจะเป็นกจิ กรรมบาเพ็ญ สาธารณประโยชน์ การอนรุ ักษ์ธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อมการอา

นวยความสะดวกและความปลอดภัยในการดารงชีวิตประจาวันการประกอบอาชีพ รวมทั้งการ สาธารณสุข ฯลฯ แบ่งตาม
ภารกจิ งานเป็น 8 กลมุ่ งาน ดงั น้ี
จิตอาสาพฒั นาชุมชนเข้มแขง็ ประชามีสขุ หมายถึง กลมุ่ งานจติ อาสาทเี่ ขา้ รว่ มกจิ กรรมสาธารณประโยชน์ อาทิ การขดุ

ลอกคคู ลอง การดูแลรกั ษา ความสะอาดเรียบรอ้ ยของศาสนสถานหรอื สถานทสี่ าธารณะ การจัดเกบ็ ผกั ตบชวา การปลูก
ต้นไม้ รวมทั้งการพัฒนาโครงการต่าง ๆ ทสี่ ร้างความเปน็ อยขู่ อง ชมุ ชนให้เขม้ แขง็ ประชาชนมีความสขุ อยา่ งยงั่ ยืน
จิตอาสางานประดิษฐ์และเผยแพรง่ านศิลปาชพี หมายถึง กล่มุ งานจิตอาสาท่นี าความรทู้ างดา้ นศลิ ปหัตถกรรมพนื้ บ้าน/

ภูมิ ปัญญาท้องถนิ่ มาเผย แพร่ และถ่ายทอดเพื่อให้ประชาชนนาความรู้ท่ีได้รบั ไปพฒั นาใหเ้ ป็นประโยชน์ต่อไป
จิตอาสาฝ่ายกจิ กรรมการแสดงและนิทรรศการ หมายถึง กลุ่มงานจติ อาสาท่ปี ฏบิ ัตงิ านสนบั สนนุ ในการจดั งานหรือ
กจิ กรรมการแสดงและมนี ิทรรศการ เฉลิมพระเกยี รติ เพอื่ เผยแพรพ่ ระราชกรณียกิจและเผยแพร่กจิ กรรมจติ อาสาฯ เชน่

กจิ กรรมการแสดงดนตรบี รเิ วณพระลานพระราชวังดสุ ติ การจัดงานอุ่นไอรัก คลายความหนาว งานเถลงิ ศกสุขสันต์
มหาสงกรานต์ตานานไทย เป็นต้น
จติ อาสาฝ่ายแพทยแ์ ละสาธารณสุข หมายถงึ กลุ่มงานจิตอาสาท่ปี ฏบิ ัตงิ านสนบั สนุนและช่วยอานวยความสะดวกแก่

แพทย์ พยาบาล รวมถงึ ช่วยอานวย ความสะดวกด้านการปฐมพยาบาลเบ้ืองตน้ ตลอดจนสง่ เสรมิ ใหป้ ระชาชนมคี วามรู้
ความเข้าใจในการดูแลสขุ ภาพ
จิตอาสาฝ่ายทะเบยี นและข้อมลู หมายถึง กลมุ่ งานจติ อาสาทใ่ี หค้ าแนะนาและอานวยความสะดวกประชาชนทม่ี า

ลงทะเบียนจติ อาสาฯ
จติ อาสาฝ่ายส่งกาลังบารงุ และสนบั สนนุ หมายถงึ กลมุ่ งานจิตอาสาที่สนบั สนนุ อานวยความสะดวก ดแู ลความเรียบรอ้ ย
จดั หาหรอื บรกิ ารอาหาร น้าดม่ื ใหก้ บั ประชาชนที่เขา้ ร่วมกจิ กรรม/จติ อาสาท่เี ข้ารว่ มปฏบิ ัตงิ าน

จติ อาสาฝา่ ยประชาสัมพันธ์ หมายถงึ กลมุ่ งานจิตอาสาทชี่ ว่ ยงานประชาสมั พันธ์และให้บรกิ ารข้อมูลการจัดกจิ กรรมจิต
อาสาฯรวมถึงช่วยดแู ลต้อนรับ ประชาชนทีม่ าเข้ารว่ มกจิ กรรม
จติ อาสาฝา่ ยรักษาความปลอดภยั และจราจร หมายถึง กลมุ่ งานจติ อาสาทสี่ นับสนนุ และช่วยอานวยความสะดวกในการ

สัญจรของประชาชนการแนะนา เส้นทางการแจง้ อุบัตเิ หตกุ ารจราจรใหเ้ จา้ พนกั งานทราบ
2 )จติ อาสาภยั พิบัติ : ไดแ้ ก่กิจกรรมจิตอาสาพระราชทานทม่ี ีวัตถปุ ระสงคเ์ พอ่ื เฝ้า ตรวจ เตือน และเตรียมการรองรบั ภัย
พบิ ัตทิ ้งั ท่ีเกิดจากธรรมชาติ และเกิดจากสาเหตุอนื่ ๆ ท่ีสง่ ผลกระทบตอ่ ประชาชนในพ้นื ทโ่ี ดยรวมและการเขา้ ชว่ ยเหลือ

บรรเทาความเดอื ดร้อนของประชาชนจากภัยพิบัติ ดงั กลา่ ว เช่น อุทกภยั วาตภัย อัคคีภยั เป็นต้น
3) จติ อาสาเฉพาะกจิ : ได้แก่กิจกรรมจติ อาสาพระราชทานทีม่ วี ัตถุประสงคใ์ หป้ ฏบิ ัตใิ นงานพระราชพธิ ี หรือการรบั เสดจ็
ในโอกาสตา่ งๆ เปน็ การใชก้ าลงั พลจติ อาสาร่วมปฏิบัตกิ บั สว่ นราชการท่เี กย่ี วขอ้ งในการชว่ ยเหลอื หรืออานวยความสะดวก

แก่ประชาชนท่มี ารว่ มงานรวมทั้งการเตรยี มการ การเตรยี มสถานทแ่ี ละการฟ้ืนฟูสถานทภี่ ายหลงั การปฏบิ ัตใิ นพระราชพธิ ี
และการเสดจ็ ฯ น้นั ๆ ใหเ้ ป็นไปดว้ ยความเรียบรอ้ ย

12. วชิ าโครงสรา้ งอำนาจหนา้ ท่ีขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ินตามกฏหมายจัดต้ัง : วันจนั ทร์ ท่ี 24

ตลุ าคม 2565 น. เวลา 09.00-12.00 น. (วิทยากร : อ.ธณาวธุ เหลา่ เจรญิ พานิชย์)

การปกครองท้องถิ่นของประเทศไทยในปัจจุบัน ดำเนินการตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
พ.ศ.2534 ซึ่งได้กาหนดการจัดระเบียบบริหารราชการสว่ นท้องถ่ิน ในท้องถิ่นท่ีเห็นสมควรให้ประชาชนมีสว่ นรว่ มในการ
ปกครอง อนั เป็นการดาเนนิ การจดั ระเบียบบริหารราชการตามหลกั การกระจายอานาจ และได้กาหนดให้จัดระเบยี บบรหิ าร

ราชการส่วนท้องถน่ิ ดังน้ี 1. องคก์ ารบริหารสว่ นจงั หวัด 2. เทศบาล 3. สุขาภบิ าล 4. ราชการสว่ นทอ้ งถิ่นอื่นท่กี ฎหมายกาหนด
ตามพระราชบัญญัติระเบียบบรหิ ารราชการแผ่นดิน จะมีรูปแบบการปกครองทอ้ งถน่ิ 3 รูปแบบด้วยกันคอื

องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล และสุขาภิบาล สาหรับราชการส่วนท้องถ่ินอื่นที่กฎหมายกาหนดได้แก่

กรุงเทพมหานครและเมืองพัทยา ซึ่งเป็นรูปแบบการปกครองเฉพาะท่ี และองค์การบริหารส่วนตาบล ซึ่งเป็น
รปู แบบการปกครองทอ้ งถน่ิ ลา่ สดุ
1. องค์การบริหารส่วนจังหวัด ประกอบด้วยฝ่านนิตบิ ัญญัติ และฝา่ ยบริหาร ฝา่ ยนิตบิ ัญญัติ เรียกว่า สภาองค์การบริหาร

สว่ นจังหวดั ฝา่ ยบรหิ าร เรียกวา่ นายกองค์การบริหารสว่ นจงั หวัด สาหรบั สมาชกิ จะมีจานวนแตกตา่ งกันออกไปตามจำนวน
ของประชาการในแต่ละเขตเลือกตั้ง นายกองค์การบริการส่วนจังหวัด ทาหน้าท่ีในการบริหารงานตามอานาจหน้าที่ของ
องค์การบรหิ ารส่วนจงั หวัด มาจากการเลือกตัง้ โดยตรงของประชาชนอย่ใู นตำแหน่งไดค้ ราวละ 4 ปี เพ่ือใหเ้ ป็นไปตามความ

ต้องการของประชาชนในเขตพ้ืนท่ีขององค์การบรหิ ารสว่ นจงั หวัด เชน่ - จดั ทาระบบบาบดั นา้ เสีย การกาจดั ขยะมูลฝอย
- ดแู ลบารงุ รกั ษาทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม - รกั ษาศลิ ปะ จารตี ประเพณี ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถิ่น - สง่ เสรมิ การ
ทอ่ งเทย่ี ว และการลงทุนในท้องถ่ิน

2.เทศบาล กฎหมายว่าด้วยการเลอื กตงั้ สมาชกิ สภาเทศบาลซ่ึงไดก้ าหนดไว้ ตามประเภทของเทศบาลคอื
1) เทศบาลตำบล ได้แก่ ท้องถิ่นซ่ึงมีประกาศกระทรวงมหาดไทยยกฐานะข้ึนเป็นเทศบาลตำบล 2) เทศบาลเมือง ได้แก่
ทอ้ งถ่นิ อนั เป็นทีต่ ัง้ ศาลากลางจงั หวดั หรอื ทอ้ งถน่ิ ชมุ ชนที่มีประชาชนต้งั แต่ 10,000 คน ข้นึ ไป ทั้งมรี ายได้พอสมควรแกก่ าร

ทจ่ี ะปฏบิ ตั ิหน้าท่อี ันต้องทาตามพระราชบญั ญตั นิ ี้ และมปี ระกาศกระทรวงมหาดไทยยกฐานะเปน็ เทศบาลเมือง 3) เทศบาล
นคร ไดแ้ ก่ ท้องถน่ิ ชมุ ชนท่ีมปี ระชาชน ตง้ั แต่ 50,000 คน ขึ้นไป ท้ังมีรายได้พอสมควรแก่การที่จะปฏิบัตหิ นา้ ทีอ่ ันต้องทา
ตามพระราชบัญญัติน้ี และมีประกาศกระทรวงมหาดไทยยกฐานะเป็นเทศบาลนคร ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นผู้แต่งตั้ง

นายกเทศมนตรแี ละเทศมนตรี จากผทู้ เ่ี ป็นสมาชิกสภาเทศบาล ด้วยความเหน็ ชอบของสมาชิกสภาเทศบาล คณะเทศมนตรี
มีอานาจหนา้ ทคี่ วบคมุ และรบั ผิดชอบการบริหารกจิ การของเทศบาลตามกฎหมาย โดยมนี ายกเทศมนตรีเป็นหวั หนา้
3.องค์การบรหิ ารส่วนตำบล ประกอบด้วย ฝา่ ยนติ ิบัญญัติเรียกว่า สภาองคก์ ารบริหารส่วนตาบล และฝ่ายบรหิ ารเรยี กว่า

นายกองค์การบริหารส่วนตาบล สภาองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบล ประกอบด้วย สมาชกิ สภาองค์การบรหิ ารส่วนตาบลจานวน
หมู่บา้ นละ 2 คน ซึง่ เลือกต้ังขน้ึ โดยราษฎรผูม้ สี ทิ ธเิ ลอื กต้ังในแตล่ ะหมบู่ า้ นในเขตองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบลนั้น ในกรณีที่เขต
องค์การบรหิ ารส่วนตาบลมีเพยี งหนึง่ หม่บู ้าน จะมีสมาชกิ สภาองคก์ ารบรหิ ารสว่ นทอ้ งถิ่นจานวน 6 คน ถ้ามี 2 หม่บู ้านจะมี

สมาชกิ สภาองคก์ ารบริหารส่วนตาบลจานวนหม่บู า้ นละ 3 คน นายกองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบล ทาหนา้ ทใี่ นการบรหิ ารงาน
ตามอานาจหน้าท่ีขององค์การบริหารส่วนตาบลโดยมาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชนอยู่ในตำแหน่งคราวละ 4 ปี
เพ่อื ให้เป็นไปตามความต้องการของประชาชนในเขตพ้ืนที่ขององคก์ ารบริหารส่วนตาบลแต่ละแห่ง เช่น

- รักษาความสะอาดของถนนหนทางและกาจดั ขยะมลู ฝอย
- ปอ้ งกันและระงบั โรคตดิ ต่อ
- ป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั

- ส่งเสรมิ การพฒั นาสตรี เด็ก เยาวชน ผสู้ งู อายุ และผ้พู กิ าร
- คมุ้ ครอง ดูแล และบารุงรักษาทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม

13. วชิ าความรเู้ กี่ยวกับมาตรฐานทวั่ ไปเกี่ยวกบั การบริหารงานบุคคล การเลื่อนระดบั และ
เส้นทางความกา้ วหนา้ ในสายงาน : วันจนั ทร์ ท่ี 24 ตลุ าคม 2565 น. เวลา 13.00-19.00 น.

(วิทยากร : นายวฒุ ิวิชญ์ ราชมณี) รายละเอียดดงั น้ี
1. มาตรฐานท่วั ไปเก่ียวกับคณุ สมบัตแิ ละลกั ษณะตอ้ งห้ามเบ้อื งตน้ องคป์ ระกอบ
ก. คุณสมบัตทิ ่วั ไป

-มสี ัญชาติไทย
-อายไุ ม่ต่ำกว่า 18ปี
-เปน็ ผเู้ ลือ่ มใสในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็นประมุข

ด้วยความบริสทุ ธใ์ิ จ
ข. ลักษณะตอ้ งหา้ มเบอ้ื งตน้

1. เป็นผดู้ ารงตำแหนง่ ทางการเมือง

2. เป็นคนไร้ความสามารถ เสมือนไรค้ วามสามารถ วกิ ลจรติ จิตฟั่นเฟือน ไมส่ มประกอบ
หรือโรคตามท่ี ก.กลางกาหนด

3. เป็นผอู้ ยู่ในระหวา่ งถกู สงั่ พักราชการหรอื ถูกสงั่ ให้ออกจากราชการ

4.เป็นผ้บู กพรอ่ งในศีลธรรมอนั ดจี นเปน็ ทรี ังเกียจของสงั คม
5.เป็นกรรมการหรอื ผู้ดำรงตำแหน่งทร่ี ับผดิ ชอบในการบริหารพรรคการเมอื งหรือเจา้ หน้าทีใ่ นพรรค
การเมือง

6.เป็นบุคคลลม้ ละลาย
7.เป็นผเู้ คยตอ้ งรบั โทษจำคกุ โดยคำพพิ ากษาถึงทส่ี ดุ ในการกระทำความผดิ อาญา เว้นแต่เป็นโทษทก่ี ระทำ
ผิดโดยประมาทหรือความผิดลหโุ ทษ

8.เป็นผเู้ คยถูกลงโทษให้ออก ปลดออก หรือไล่ออกจากรฐั วสิ าหกจิ หรอื หน่วยงานอื่นของรัฐ
9.เป็นผู้เคยถกู ลงโทษใหอ้ อก หรอื ปลดออก เพราะกระทาความผิดวินยั
10.เป็นผู้ถูกลงโทษไลอ่ อกเพราะกระทาผิดวินัย

11.เปน็ ผเู้ คยกระทาการทุจริตในการสอบเข้ารบั ราชการ
2. มาตรฐานทั่วไปเก่ยี วกับการให้ไดร้ ับเงนิ เดอื น องค์ประกอบดงั นี้

1. ได้รับแตง่ ตง้ั ใหด้ ารงตำแหนง่ ประเภท สายงาน ระดับใด ให้ไดร้ บั เงนิ เดอื นไม่ต่ำกว่าข้นั ตำ่ ของตำแหนง่

ประเภท สายงาน ระดบั น้ัน
2. กรณีได้รบั คุณวุฒสิ ูงข้นึ ตรงตามคุณสมบัตเิ ฉพาะสำหรบั ตำแหน่งใหไ้ ดร้ บั ตามอตั ราท่ีกำหนด
หลกั เกณฑก์ ารปรับเงินเดือนกรณีไดร้ บั คุณวุฒสิ งู ขึ้น

เปน็ คุณวฒุ ิท่ตี รงตามคณุ สมบตั เิ ฉพาะ -ไม่วา่ จะได้รบั มาก่อนรับราชการ
สำหรับตำแหนง่ ตามท่ี ก.กลาง - ระหวา่ งทดลองปฏบิ ัตหิ น้าทรี่ าชการ
ไกมำม่ หีผนลดเป็นการปรบั ปรุงตำแหนง่ หรอื - ระหว่างรบั ราชการ
เปลีย่ นระดบั ตำแหน่ง
›› ไมก่ ่อนวนั ท่ีสำเรจ็ การศึกษา
วันปรบั เงินเดอื น (เพม่ิ ) ›› ไม่กอ่ นวนั ท่ี ก.กลาง กำหนดเปน็ คุณสมบตั ิ
›› กรณลี าศึกษา ›› ไม่ก่อนวนั รายงานตัว อปท.
การสง่ั ปรบั เงินเดือน (เพม่ิ ) ›› ไมไ่ ด้ลาศึกษา ›› ไม่ก่อนวนั ได้รับวุฒเิ พม่ิ
›› ดำรงตำแหน่งที่ใชว้ ฒุ เิ ดมิ มาไม่น้อยกว่า 1 ปี

เป็นคณุ วฒุ ิท่ีตรงตามคุณสมบตั เิ ฉพาะสำหรบั อตั ราเงนิ เดือนที่ไดร้ บั เพ่ิมขนึ้
ตำแหนง่ ตามท่ี ก.กลางกำหนด
ประเภททวั่ ไป

›› บรรจุวฒุ ิ ปวช. 9,440บาท

ไมม่ ีผลเปน็ การปรบั ปรุงตำแหนง่ หรือ ›› ได้รบั ปวท. ปรบั เป็น 10,880บาท (ข้นั 7)

เปลยี่ นระดบั ตำแหน่ง ›› ได้รับ ปวส. ปรบั เป็น 11,510บาท (ข้นั 9)

ประเภทวชิ าการ

วันปรับเงนิ เดือน (เพมิ่ ) ›› บรรจุวฒุ ิ ป.ตรี 15,060บาท (ขั้น 9.5)
›› ไดร้ ับ ป.โท ปรบั เป็น 17,570บาท (ขั้น 13)

การสงั่ ปรบั เงินเดอื น ›› ได้รับ ป.เอก ปรับเป็น 21,140บาท (ขนั้ 18.5)

(เพม่ิ )

3.กรณีไดผ้ ู้ดำรงตำแหนง่ ตำ่ กวา่ เดิม

-เพ่ือประโยชน์ทางราชการ ให้ไดร้ บั เงินเดือนเทา่ เดิม หรอื ใกล้เคยี ง ไมต่ ่ำกว่าเดิม

-เปน็ ความประสงคข์ องตนเอง ใหไ้ ด้รับเงินเดอื นเทา่ เดิม หรอื ใกล้เคียงไมส่ งู กว่าเดิม

4.กรณีผูไ้ ดร้ บั แตง่ ตง้ั ให้ดำรงตำแหนง่ ในระดบั สงู กว่าเดมิ หรอื จากประเภททวั่ ไป->วิชาการ

ทั่วไป->อำนวยการ

วชิ าการ-> อำนวยการ

อำนวยการ->บริหาร

ใหไ้ ดร้ ับเงินเดอื นเท่าเดิม หรือหากไม่มใี หไ้ ด้รับใกลเ้ คียงในเชิงสูงกว่า

3. มาตรฐานท่วั ไปเก่ยี วกับหลักเกณฑ์และเง่ือนไขการคัดเลอื ก การบรรจุและแตง่ ต้งั การยา้ ย การโอน การรับ

โอน การเลื่อนระดบั และการเล่ือนข้ันเงนิ เดือน องคป์ ระกอบดงั นี้

1. กำหนดคุณสมบตั ิของผ้ทู ่ีจะขอโอน

2.กำหนดวธิ กี ารโอน รับโอน

3.กำหนดขน้ั ตอนวธิ ีการโอน รับโอน

4.กำหนดประเภท ระดบั และอตั ราเงินเดือนสาหรบั การโอน/รบั โอน

5.กำหนดขั้นตอนการคำณวนระยะเวลาดำรงตำแหน่ง

4. มาตรฐานทัว่ ไปเก่ียวกับการคัดเลือกเพ่อื เลื่อนและแต่งตง้ั ใหด้ ำรงตำแหน่งในระดบั ท่สี ูงขึน้ องคป์ ระกอบ

ดังนี้

1. กาหนดคุณสมบตั ิของผทู้ ่มี สี ทิ ธิเลื่อนและแต่งต้งั

2.กาหนดวิธกี ารคดั เลือก (เสนอผลงาน วิสยั ทัศน์ สมั ภาษณ์)

3.กาหนดขน้ั ตอนวธิ กี ารในการดาเนินการคัดเลือก

4.กาหนดผู้มสี ว่ นเกยี่ วข้องในการพจิ ารณาคัดเลอื ก

5.กาหนดข้ันตอนการคดั เลอื กระดบั ต่างๆ

5. มาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกบั การคดั เลอื กกรณีทม่ี ีเหตพุ เิ ศษทไ่ี ม่จำเปน็ ตอ้ งสอบแข่งขัน

14. วชิ าการพัฒนาทพั ยากรบุคคลภาครฐั : วันอังคาร ท่ี 25 ตุลาคม 2565 น. เวลา 09.00-
16.00 น. (วิทยากร : อ.บณั ฑิต ต้งั ประเสริฐ) รายละเอยี ดดงั น้ี

1. โลกยคุ ศตวรรษท่ี 21 ความชำนาญท่ีต้องการในศตวรรษท่ี 21
1. The great communication นักการส่ือสาร – ทกั ษะดา้ นการส่ือสาร
2. The team player การทำงานเป็นทมี – ทกั ษะความสมั พนั ธก์ บั ผู้อ่ืน
3. The technology master ผเู้ ชี่ยวชาญวทิ ยาการและทกั ษะสมยั ใหม่
4. The problem solver นักแกป้ ัญหา-ทกั ษะการแก้ปญั หา
5. The ambassador นักการทตู -ทกั ษะวัฒนธรรมองคก์ รที่หลากหลาย
6. The change maker ทักษะการคดิ และริเร่ิมส่ิงใหม่ ๆ
7. The new leader ผู้นำสมัยใหม-่ ทกั ษะการเป็นผ้นู ำ

การเตรียมความพร้อมและการปรับตวั เพ่ือให้ก้าวทันโลกในยคุ ศตวรรษที่ 21 C-PEST
2. กลยทุ ธ์การบริหาร
การบริหาร (Administration) หมายถึง กระบวนการดำเนนิ งานตามภาระหน้าท่ีซง่ึ เป็นการ

ทำงานกบั บคุ คลหรือผ่านบุคคลอื่น โดยใช้ทรพั ยากรการบรหิ ารอย่างอื่นประกอบเพ่ือใหเ้ ปน็ ไปตามนโยบายและ
เป้าหมายท่ีกำหนด (พจนานกุ รมศพั ทศ์ ึกษาศาสตรฉ์ บบั ราชบัณฑิต : 2557)

การบริหาร “คอื การทำงานใหส้ ำเร็จโดยอาศัยมือผอู้ ื่น”
ทรพั ยากรในการบรหิ าร ประกอบด้วย Man = คน Money = เงิน Material = วสั ด/ุ อุปกรณ์
Management = การจัดการ Machine = เคร่ืองจกั ร Morale = ขวญั กำลังใจ

System approach

Input Process Output

Feedback

หลกั การบรหิ ารทรพั ยากร ประกอบด้วย • หลกั ความเป็นธรรม (Equity) •หลกั ความเสมอภาค
(Equality) •หลักประสทิ ธิภาพและประสิทธิผล (Efficiency and Effectiveness) •หลกั ความพอเพยี ง
(Adequacy) •หลกั การกระจายอำนาจ (Decentralization) •หลกั เสรีภาพ (Freedom of choice) •หลกั การ
ปฏิบัติได้จรงิ (Practicality)

กลไกแห่งความสำเรจ็

- การใชท้ รพั ยากรมนุษย์บรหิ าร/จดั การทรัพยากรท่ีมอี ยูใ่ หป้ ระสบความสำเร็จ

คุณภาพคน ประสทิ ธิภาพของงาน เปา้ หมาย
Goals

การจัดการ (Management) คอื กระบวนการในการประสานงานเพื่อใหบ้ รรลุวัตถุประสงค์อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ
(Efficiency) และประสทิ ธิผล (Effectiveness)
ประสิทธภิ าพ (Efficiency) การดำเนนิ งานที่ใชท้ รพั ยากรในการผลติ (Input)นอ้ ย แตไ่ ด้ผลผลิตหรือได้งาน
(Output) มากถอื วา่ มปี ระสิทธิภาพมาก
ประสิทธิผล (Effectiveness) หมายถึง การดำเนินงานท่ีได้บรรลตุ ามเป้าหมายขององค์กร

กระบวนการจัดการทรัพยากรมนษุ ย์
(Stephen P. Robbins : 2003)

การคัดเลอื ก ประกอบด้วย 1. การวางแผนทรัพยากรมนษุ ย์ 2. การสรรหา 3. การคดั เลอื ก
การให้ความรแู้ ละทกั ษะ 4. การปฐมนเิ ทศ 5. การฝกึ อบรม
การรกั ษา 6. การประเมินผลการปฏบิ ตั งิ าน 7. การช่วยคา่ ตอบแทนและสทิ ธปิ ระโยชน์

8. การพัฒนาอาชพี

กระบวนการบริหารงานบุคคลภาครัฐ

การสรรหา การใช้

การธำรงรกั ษา การให้ออก

การพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ย์ภาครฐั

1. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (Human Resource Development) การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ หมายถึง
กระบวนการอย่างใดอยา่ งหนึ่งที่ผู้บรหิ ารและผู้ปฏบิ ัติเพิ่มพูนความรคู้ วามสามารถเพิ่มขึ้นจากปัจจุบันให้ดียงิ่ ขึ้นสู่อนาคต
โดยรปู แบบการฝึกอบรมและเทคนิคตา่ งๆอันจะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงท่ีมีคุณภาพ ศกั ยภาพสูงขึ้น และนำไปพัฒนา

ตนเองและองค์กรไดอ้ ยา่ งตอ่ เนอื่ ง
2. การฝึกอบรม (Training) หมายถึง เครื่องมือหรอื วิธกี ารท่ีสำคญั ในการพฒั นาทรพั ยากรมนุษย์ ด้วยการส่งเสริม

ให้เกิดความรู้เพ่ิมขึ้น ทักษะมากขึ้น ทัศนคติท่ีดีตลอดจนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของบุคลากรให้เกิดประโยชน์สูงสุด

เพื่อนำมาพฒั นาองค์การในอนาคตไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ และทันต่อการเปลี่ยนแปลง

วตั ถปุ ระสงค์ทว่ั ไปของการฝึกอบรม
1. เพื่อให้การฝึกอบรมเกิดการเสรมิ สรา้ งประสิทธิภาพ และประสิทธิผลของตัวบคุ คลและองคก์ ารอย่างต่อเน่ือง
2. เพ่ือใหว้ ธิ ีการทำงานมหี ลกั การและแผนงานนั้น ๆบรรลวุ ตั ถุประสงค์เดียวกนั
3. เพ่ือใหพ้ นกั งานมีความรคู้ วามสามารถในการปรบั ตัวตอ่ ความรู้วทิ ยาการสมยั ใหม่เพ่ือทนั ต่อการเปลี่ยนแปลง
4. เพ่ือให้พนกั งานเกิดความรูค้ วามเขา้ ใจในวธิ กี ารทำงานไดอ้ ยา่ งถกู ต้องและมมี าตรฐานตามท่ีกำหนด
5. เพ่ือให้พนกั งานเกดิ พฤตกิ รรมการแสดงออกดว้ ยการทมุ่ เทตงั้ ใจและตระหนักในภารกิจความรบั ผดิ ชอบตอ่
ตนเองและองค์การรว่ มกนั
6. เพ่ือมุง่ เสรมิ สร้างใหพ้ นกั งานเกิดความรเิ ริ่มสร้างสรรค์ใหบ้ รรลตุ ามวตั ถุประสงคข์ ององคก์ าร
7. เพื่อปลูกจติ สำนกึ ในการทำงานแบบเป็นทมี เพ่ือสร้างความรักความสามัคคี
8. เพื่อให้พนกั งานเกิดจรยิ ธรรมในการทำงานหลงั จากไดร้ ับการฝกึ อบรม
ประเภทของการฝึกอบรม
1. การฝกึ อบรมกอ่ นการปฏบิ ตั งิ านจรงิ 2. การฝกึ อบรมระหว่างการปฏิบตั ิหน้าท่ี 3. การฝกึ อบรมนอกเวลา
การปฏบิ ัตงิ าน 3.1 ระดับพนักงานปฏิบตั ิการ 3.2 ระดบั หวั หนา้ งาน 3.3 ระดับผ้บู รหิ าร
เทคนคิ การฝกึ อบรม
ประเภทของเทคนิคการฝึกอบรม
1. การบรรยาย วิธีการบรรยาย เป็นเทคนิคที่วิทยากรนิยมใชโ้ ดยวทิ ยากรบรรยายตามหัวข้อท่ีไดร้ ับมอบหมาย
และใช้ส่ือตา่ งๆประกอบการบรรยาย
2. การอภิปรายเป็นคณะเป็นเทคนิคท่ีมีการอภิปรายโดยผู้ทรงคุณวฒุ ิ 3-5 คน เสนอข้อเท็จจริง แสดงความ
คิดเห็นปัญหาอุปสรรครวมถึงแนวทางการแกไ้ ข ซ่ึงมคี วามรู้และความสนใจเกี่ยวกับหวั ขอ้ หรอื ประเด็นได้มานง่ั
รวมกนั อยูต่ ่อหน้าผู้ฟังมีพธิ กี รทำหนา้ ท่ีเป็นผ้ดู ำเนินการอภิปรายประสานงานเชื่อมโยงและอธิบายสรุป
3. การประชมุ ปาฐกถาหรอื การประชมุ ทางวชิ าการเป็นเทคนิคการอภปิ รายหมหู่ รอื เป็นคณะ หรืออภปิ รายโดย
ผทู้ รงคณุ วฒุ หิ ลายคน หรอื เป็นวทิ ยากรและผเู้ ช่ียวชาญประมาณ 2-6 คน วธิ ีการคอื การพดู เรอื่ งเดยี วกันแต่คน
ละดา่ นมีพิธกี รเป็นผู้ดำเนินรายการและสรุปการบรรยาย
4. การสาธิตเทคนคิ ฝึกอบรมที่แสดงใหผ้ เู้ ขา้ รบั การฝกึ อบรมเห็นการปฏิบตั จิ รงิ มีการใชเ้ คร่ืองอปุ กรณ์
และการทดลองทำจรงิ เหมาะสำหรับการฝึกทักษะท่ีเปน็ ระบบขั้นตอน
ประโยชน์ของการฝกึ อบรม

1. ประโยชน์ต่อพนกั งานและบคุ คลท่ัวไป 2. ประโยชนต์ อ่ ผู้บรหิ ารในองคก์ าร 3. ประโยชนต์ ่อองคก์ าร

Active Learning

ปญั หาการบรหิ ารทรัพยากรมนุษย์
1. เกิดจากทัศนคติของผบู้ รหิ ารระดับสงู
2. เกดิ จากความเจรญิ ก้าวหนา้ ทางเทคโนโลยี
3. เกดิ จากผูบ้ ริหารดา้ นทรัพยากรมนุษย์ภาครฐั
4. เกดิ จากตวั บคุ คล

15. วิชาระบบศูนยข์ ้อมลู บุคลากรท้องถ่ินแหง่ ชาติ : วันองั คาร ที่ 25 ตุลาคม 2565
เวลา 16.00-19.00 น. (วทิ ยากร : อ. รวี สะตำ) รายละเอียดดังนี้

LHR

ศนู ยบ์ ริการขอ้ มลู บุคลากรทอ้ งถิน่ แหง่ ชาติ

-กรณี พนักงานเทศบาลบรรจุใหม่ ปลัดเกษยี ณ นกั ทรัพยากรโอนย้าย เพื่อสามารถใหร้ ะบบ LHR ดำเนินการ
ตอ่ ไปไดค้ ือ ระบบลงทะเบียนสทิ ธิผใู้ ช้งาน เทศบาล อบต เพม่ิ ได้ 5 คน เลอื กเลขบัตรประชาชน และบันทกึ
ข้อมูล
-ข้าราชการบรรจุใหม่ เช็คกรอบตามแผนอตั รากำลงั

* สายสามัญ เพิม่ ข้อมลู ใหม่ (ไม่เคยสังกัด อปท) ใช้บัตรพนกั งานท่มี าบรรจุใหมใ่ นการดึงข้อมลู ไดเ้ ลย
คำนำหน้าใสใ่ ห้ถูกด้วย นาย นาง นางสาว เป็นต้น
* ถ้าขึน้ วา่ ระบบไมส่ ำเร็จ แสดงวา่ เป็นพนกั งานที่ อปท อ่นื ให้ อปท นนั้ ทำเป้นตำแหนง่ ว่างกอ่ น
-จากน้นั ไปท่ีแผนอัตรากำลัง 3 ปี เพม่ิ คนเขา้ สู่อัตรากำลงั โดยคลิก เพม่ิ แลว้ สังเกตระบบวา่ บนั ทกึ ขอ้ มลู
สำเรจ็
- พนกั งานจ้าง ระบวุ ่าเป็นเงนิ อดุ หนนุ หรือเงนิ อปท
- ข้อมลู ครอบครัว บุตร สทิ ธสิ วัสดิการให้บันทึกดว้ ย
- กรณจี ดทะเบยี นสมรส แล้วมีการหยา่ รา้ ง ไม่สามารถลบ กพ. 7 แบบกระดาษ และในระบบได้ จะต้องมี
เอกสารมาแนบ เชน่ ใบหย่าทอ่ี อกจากทว่ี า่ การอำเภอ ทะเบยี นประวตั ิถอื ว่าเปน็ เอกสารทางราชการ ไม่ใช่
เอกสารสว่ นตัว
- ประวัติการฝกึ อบรมสัมมนาเอาเฉพาะทเี่ ก่ยี วกับมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง
- วุฒกิ ารศึกษา ใหก้ รอกตง้ั แต่ระดบั ประถม ถงึ สงู สดุ
- การเปลย่ี นชอื่ ใหไ้ ปกรอกในระบบเปลีย่ นแปลงขอ้ มูล
- เครอ่ื งราชย์อสิ รยาภรณ์ ให้กรอกเลม่ ทเ่ี ท่าไหร่ วันเดอื นปี ท่เี ท่าไหร่
- การสรา้ งโครงสร้างสว่ นราชการ มีการปรับโครงสรา้ งส่วนราชการ (ฝ่ายเพม่ิ หรือกองอื่น ๆทเ่ี พม่ิ มา)
เมนูโครงสรา้ งสว่ นราชการ กองอะไร ท่ีแผนอตั รากำลงั 3 ปี สำนักปลดั ตน้ เลือกข้อมลู บันทกึ ขอ้ มูลไดเ้ ลย
- ในการประกาศโครงสรา้ งถ้าไมต่ รง ใหต้ ดิ ตอ่ แอดมนิ ทีก่ รมส่งเสริม

ระบบ กพ 7. พนักงานครู

- เลือกใหต้ รง ประเภท สร้างกรอบครง้ั แรกใหต้ รง บุคลากรทางการศกึ ษา ไม่ใช่ ครู ระบบจะลอ็ คไว้ไมใ่ ห้แก้ไข
ครง้ั แรกตอ้ งทำใหถ้ ูกตอ้ ง
- ทำกรอบให้ดี โดยเฉพาะเงนิ เดือนเทา่ ไหร่ เลอื่ นขน้ั เท่าไหร่ ปีงบประมาณ 2567 ต้องของบประมาณจาก
สำนักงบประมาณ (เทศบาลตำบล)
- เกณฑ์ PA ตอ้ งยนื่ ทกุ ๆ 4 ปี ในการเลื่อนระดับ
- อตั ราเงนิ เดือน คา่ เล่าเรียนบุตร ค่าเชา่ บ้าน เพ่มิ ข้อมลู บุตรด้วยในระบบ กรมส่งเสรมิ จะไดจ้ ดั สรรเงนิ มาถูก
ตามท่ีกรอกข้อมลู ในระบบ
- เงินวทิ ยฐานะของครู จะอยู่ในเงินคา่ ตอบแทนนอกเหนอื จากเงินเดือน จะตอ้ งตรงกับการของบประมาณ
ประจำไตรมาส = ค่าเชา่ บา้ น เงินวทิ ยฐานะ คา่ เล่าเรียนบตุ ร

- ระบบ PA การใหโ้ อน หรอื รบั โอนเทา่ นัน้ * โอนไป คลกิ ใหว้ ันทม่ี ผี ล หรอื ยกเลิกครองตำแหนง่

*การโอนย้ายปลายทาง (รบั โอนทำเอง) รบั โอน เลอื ก รบั โอน ถ้ากรณไี มเ่ จอในระบบรบั โอนแสดงว่า ตน้ ทางทำ
ตำแหนง่ ว่างแลว้ ใหด้ ำเนนิ การทเ่ี ลอื กคนครองในแผนอัตรากำลัง 3 ปี ได้เลย
- ประมาณการ จา่ ยจรงิ มาตรา 35 ใหไ้ ปบันทึกขอ้ มลู ใส่ใหเ้ รียบรอ้ ยในระบบ ปี 2565 (ประมาณการ

จา่ ยจรงิ ) ปี 2566 (ประมาณการ) (34) จะเป็นค่าใชจ้ า่ ยของพนกั งานจ้างทมี่ กี ารเพม่ิ ขึ้นมาใหม่ แนะนำให้
ประกาศอัตราประจำปีว่าจะจ่ายเท่าไหรใ่ นแตล่ ะตำแหนง่ ของพนักงานจา้ ง

เมนตู รวจสอบและรบั รองขอ้ มูล

ห้ามเข้าไปดำเนินการใดๆ หาก จังหวัด ไมไ่ ด้สัง่ ให้ดำเนนิ การ ตอ้ งแจ้งจงั หวัดปลดล็อคให้เท่านั้น

16. วิชาความรู้เกี่ยวกบั การวเิ คราะห์งานการกำหนดตำแหนง่ วางแผนอัตรากำลัง และการ
กำหนดโครงสรา้ งอปท : วนั พุธ ที่ 26 ตลุ าคม 2565 เวลา 09.00-19.00 น.
(วทิ ยากร : อ. จิรพัฒน์ นอ้ ยเพ็ง) รายละเอียดดงั นี้

การจดั ทำแผนอตั รากำลงั 3 ปี
ขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน (2564 – 2566)

อปท. ขน้ั ตอนการจดั ทำแผนอัตรากำลงั 3 ปี

แตง่ ต้งั คณะกรรมการ เมือ่ ครบรอบระยะเวลาการใช้แผนอตั รากำลัง 3 ปี
จัดทำแผนอัตรากำลัง 3 ปี แลว้ ให้ อปท.ดำเนนิ การจดั ทำแผนอตั รากำลงั ของ
อปท. ใหม่ในรอบถัดไปหรอื อาจปรับปรุงแผนระหวา่ ง
ประกาศใช้ก็ได้

จดั ทำแผนอตั รากำลงั 3 ปี อปท.ยืนยัน ก. กลาง
ไม่เห็นชอบ

เสนอ ปรบั ปรุงแผน ก.จังหวัด
ก.จังหวัด ประกาศใช้ เหน็ ชอบ

เห็นชอบ

ความสมบรู ณ์ 1.แตง่ ตัง้ คณะกรรมการการจดั ทำแผน
2.จัดทำแผน ตามหลกั เกณฑ์
3.ก. จงั หวดั มิมติเหน็ ชอบ

4.อปท. ประกาศใชแ้ ผน

ผลผกู พันธ์

สรรหาไดเ้ ฉพาะตำแหนง่ อปท.ตง้ั งบประมาณตามอตั รากำลงั ที่ ตอ้ งสรรหาหมดภารกจิ
ที่กำหนดไวใ้ น กำหนด ตามประกาศ ก.จงั หวัด หรอื ไม่สรรหา ควรยบุ
แผนอัตรากำลงั 3 ปี
(เทศบาลข้อ 18 อบจจ้อ 19 อบตขอ้ 20)

โครงสรา้ งการกำหนดสว่ นราชการ

คณะกรรมการ
นำผลจากการวเิ คราะหม์ ากำหนดภารกจิ ของ อปท.

มากำหนดส่วนราชการ วเิ คราะหเ์ พอื่ กำหนดตำแหน่งในส่วน
ราชการตา่ ง ๆ
ตามที่ ก.กลาง กำหนด/
ตามความเหมาะสม แผนอตั รากำลัง 3 ปี
สอดคลอ้ งกบั ภารกิจ
อำนาจหน้าท่ขี อง อปท.

การกำหนดโครงสรา้ งส่วนราชการและตำแหน่งตามประเภทของ อปท.

ส่วนราชการอ่ืนทอี่ าจกำหนดได้
อบจ. ตามความจำเปน็ ก.จ.กำหนด

9 กอง

เทศบาล สว่ นราชการหลกั ส่วนราชการอ่ืนทอี่ าจกำหนดได้
สามัญ พิเศษ
สว่ นราชการอืน่ ตามความจำเปน็ ก.ท.กำหนด
ท่ีจำเป็นต้องมี ก.กลางกำหนด 13 กอง

อบต. สว่ นราชการอ่ืนท่ีอาจกำหนดได้
เล็ก กลาง ใหญ่ ตามความจำเปน็

ก.อบต.กำหนด

10 กอง

การกำหนดอตั รากำลัง

ประกาศหลักเกณฑ์และเง่อื นไขเกยี่ วกบั การบรหิ ารงานบคุ คลของเทศบาล
ข้อ 17 ใหค้ ณะกรรมการจดั ทาแผนอัตรากำลงั ของเทศบาลจัดทำแผนอตั รากำลังโดยใหค้ ำนึงถงึ

ภารกิจอำนาจหนา้ ท่ีตามกฎหมายว่าการจดั ทำแผนและข้ันตอนการกระจายอำนาจใหแ้ กอ่ งค์กรปกครองส่วน
ทอ้ งถิ่นตามกฎหมายว่าด้วยเทศบาล ลักษณะงานท่ตี ้องปฏบิ ัติ ความยาก คณุ ภาพของงานและปรมิ าณงานของ
ส่วนราชการตา่ ง ๆ ในเทศบาลตลอดท้ังภาระคา่ ใชจ้ า่ ยของเทศบาลและของรัฐในหมวดเงินอุดหหนนุ ท่ีจะตอ้ ง
จ่ายในดา้ นบคุ คลและการจัดสรรเงินงบประมาณของเทศบาล โดยกำหนดเป็นแผนอตั รากาลังของเทศบาลใน
ระยะเวลา 3 ปี และแผนอตั รากำลังดังกลา่ วอย่างนอ้ ยจะตอ้ งประกอบด้วยสาระสำคญั ดังน้ี
ขอ้ 17 (6) การการกำนดตำแหน่งเพม่ิ ใหม่
-ใหเ้ ทศบาลคำนงึ ถงึ อำนาจหน้าที่ ปริมาณงานของตำแหนง่ นนั้ (มิใช่เหตผุ ลดา้ นตวั บุคคล)
-ใหข้ อกำหนดเท่าท่จี ำเป็นต้องจดั สรรงบประมาณตั้งเป็นอัตราเงินเดือนสำหรบั ตำแหนง่ ทเ่ี พิม่ ข้ึนใหม่ด้วย
-การขอกำหนกตำแหนง่ ใหม่ ให้คำนึงถงึ จำนวนลูกจา้ งทงั้ ประจำและชัว่ คราวท่ปี ฏบิ ัตงิ านในงานนั้นดว้ ย
มิใหเ้ กดิ ปญั หาคนล้นงานและ คชจ. -ใหพ้ ิจารณาตำแหนง่ ว่าง/มีความจำเป็นกอ่ น -ความก้าวหนา้ ในสายงาน
-ต้องทำการวิเคราะห์ตำแหน่ง โดยรายงานขอ้ มลู ตามแบบ 1 –5

การกำหนดเลขที่ตำแหนง่

ให้กำหนดเป็นเลข 12 หลกั คอื 00-0-00-0000-000
1. หนังสอื สำนักงาน ก.จ. ก.ท. และ ก.อบต. ท่ี มท 0809.5/ ว 52 ลงวันท่ี 13 พฤศจกิ ายน 2558
เรือ่ ง การจัดตำแหนง่ ขา้ ราชการหรือพนกั งานส่วนทอ้ งถนิ่ เขา้ สูป่ ระเภทตำแหนง่ (ระบบแทง่ )กำหนดสายงาน
ศึกษานิเทศก์ เป์็น 3811
2. หนังสอื กรมสง่ เสรมิ การปกครองทอ้ งถ่ิน ท่ี มท 0809.4/ว849 ลงวันที่ 5 มีนาคม 2562 เรื่อง การกำหนด
เลขทต่ี ำแหนง่ ของข้าราชการคร/ู พนกั งานครูในสถานศกึ ษาและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของ อปท.

(หนงั สือ ก.จ. ก.ท. และ ก. อบต. ดว่ นที่สดุ ที่ มท 0809.5/ ว 52 ลงวันที่ 13 พ.ย.2558)
เลขทต่ี ำแหนง่ ประกอบดว้ ยเลขรหสั 12 หลัก 00-0-00-0000-000
รหสั ตัวที่ 1-2 หมายถงึ รหัสจังหวัด เช่น กาญจนบรุ ี = 02 ราชบุรี = 50 อุบลราชธานี = 76
รหสั ตวั ที่ 3 หมายถึงรหัสประเภท อปท.เชน่ อบจ. = 1 เทศบาล = 2 อบต. = 3
รหสั ตวั ที่ 4-5 หมายถงึ รหสั สว่ นราชการเช่น สานกั ปลัด...= 01/ กองคลงั = 04 /กองชา่ ง = 05
รหสั ตัวท่ี 6-9 หมายถึง ประเภทตำแหนง่ กลุ่มงาน และสายงาน (ดตู ามบญั ชแี สดงมาตรฐานตำแหน่งฯ)
-รหัสตัวท่ี 6 แสดงประเภทตำแหน่ง คอื บรหิ ารท้องถิ่น = 1 อานวยการท้องถน่ิ = 2 วชิ าการ = 3ท่ัวไป = 4
-รหสั ตัวท่ี 7 แสดงกลมุ่ งาน เช่นกลมุ่ บริหาร อานวยการ ธรุ การฯ = 1 กลุม่ การคลงั ฯ = 2
-รหัสตัวที่ 8-9 แสดงสายงาน เช่นนักจดั การงานทั่วไป = 01 นกั ทรัพยากรบคุ คล = 02
รหสั ตวั ท1ี่ 0-12 หมายถึงรหสั ลำดับท่ขี องสายงานนัน้ ทมี่ อี ยู่ใน อปท.

(หนังสือกรมสง่ เสริมการปกครองทอ้ งถ่นิ ที่ มท 0809.4/ว 849ลงวันท่ี 5มีนาคม 2562)

เลขทต่ี ำแหนง่ ประกอบดว้ ยเลขรหัส 12 หลกั 00-0-00-0-0-00000
รหสั ตวั ท่ี 1-2 หมายถงึ รหัสจงั หวดั เช่น กาญจนบรุ ี = 02 ราชบุรี = 50 อบุ ลราชธานี = 76
รหัสตวั ที่ 3 หมายถงึ รหัสประเภท อปท.เช่น อบจ. = 1 เทศบาล = 2 อบต. = 3
รหสั ตัวท่ี 4-5 หมายถงึ รหัสสว่ นราชการเช่น สานักปลดั ...= 01/ กองการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม = 08
รหัสตวั ท่ี 6 หมายถึง ประเภทตำแหน่งเชน่ เลข 5 =ผู้บรหิ ารสถานศึกษา / เลข 6 =ครู
รหสั ตัวท่ี 7 หมายถึง ประเภทสถานศึกษาเช่น เลข 5 =โรงเรียน / เลข 6 =ศนู ยพ์ ฒั นาเดก็ เลก็
รหสั ตัวท่ี 8-12 หมายถึงเลขท่ตี ำแหน่งซง่ึ สถ. จดั สรรให้ อปท.
กรณี อปท. กำหนดตำแหนง่ เพิ่มโดยใชง้ บประมาณของอปท.ให้ถือปฏบิ ตั ติ ามหลกั การขา้ งตน้
โดยให้ระบุเลขท่ตี ำแหนง่ ลำดับท่ี 8 เปน็ เลข 9 เท่านน้ั

เงินประจำตำแหน่งประเภทวิชาการ

(ประกาศ ก.จ. ก.ท. และ ก.อบต. เรอ่ื ง มาตรฐานทว่ั ไปเก่ียวกับอัตราเงนิ เดอื นและวธิ กี ารจ่ายเงนิ เดอื น และ
ประโยชน์ตอบแทนอ่ืน ลงวนั ท่ี 7 มนี าคม 2559)

โครงสรา้ งการแบง่ สว่ นราชการ

การกำหนดตำแหน่งตามกรอบโครงสร้างส่วนราชการของ อบจ.

- ปลัดองคก์ ารบรหิ ารส่วนจงั หวัด = บรหิ ารงานทอ้ งถ่นิ ระดบั สูง
- รองปลดั องคก์ ารบรหิ ารส่วนจงั หวดั = บรหิ ารทอ้ งถ่ิน ระดบั สงู 1 อัตรา บรหิ ารทอ้ งถ่ิน

ระดบั กลาง 1 อตั รา (ปรบั ปรงุ เปน็ ระดับสูงได้ ตามเง่ือนไขทก่ี ำหนด)
- หัวหนา้ ส่วนราชการ ระดบั สำนกั = อำนวยการท้องถิน่ ระดับสูง
- หัวหน้าสว่ นราชการระดบั กอง = อำนวยการทอ้ งถ่นิ ระดับกลาง
- หวั หน้าฝา่ ย = อำนวยการท้องถนิ่ ระดับตน้

โครงสร้างการแบง่ สว่ นราชการของ อบจ.

สำนกั

องค์การบรหิ ารส่วน กอง -สำนักองคก์ ารบริหารส่วนจังหวดั
จังหวัด -สำนักงานเลขานุการองค์การบรหิ าร

สว่ นจังหวัด (มีฐานะเป็นกอง/สำนัก)

ส่วนราชการท่ีเรยี กชื่ออย่างอน่ื

ส่วนราชการที่มีความจำเปน็ ในการบริหารงาน อบจ.

1. สำนักปลดั องค์การบรหิ ารสว่ นจังหวดั
2. สำนกั งานเลขานกุ ารองคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวัด
3. สำนกั /กอง ยทุ ธศาสตรแ์ ละงบประมาณ
4. สำนัก/กองคลัง
5. สำนัก/กองช่าง
6. สำนัก/กองสาธารณสขุ ฯ
7. สำนัก/กองการศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม
8. สำนัก/กองการเจา้ หนา้ ท่ี
9. หนว่ ยตรวจสอบภายใน = ขน้ึ ตรงต่อปลัดองคก์ ารบรหิ ารสว่ นจังหวัด

กรณีท่เี ปน็ ส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอืน่ ท่ีสามารถมไี ด้

๑. กองการประปา ๙. กองทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม

๒. กองชา่ งสขุ าภิบาล ๑๐. กองพสั ดแุ ละทรพั ยส์ ิน
๓. กองสวสั ดกิ ารสังคม 11. กองสารสนเทศภาษแี ละทะเบยี นทรัพยส์ นิ
๔. กองการแพทย์ 12. กองนติ กิ าร

๕. กองสง่ เสรมิ การเกษตร 13. กองวิเทศสัมพันธ์
๖. กองกจิ การพาณิชย์ 14. กองเทศกจิ
๗. กองกจิ การขนสง่ 15. กองผงั เมอื ง

๘. กองปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย 16. กองการท่องเท่ียวและกฬี า
17. กองหรือสว่ นราชการอนื่ ท่ี ก.จ. กำหนด

ตวั อย่างโครงสรา้ งการแบง่ ส่วนราชการ

การกำหนดสำนกั /กอง ขององค์การบริหารสว่ นจังหวดั

กองระดับกลาง ให้กำหนดฝา่ ย/กลุ่มงาน สำนักปลัด ภายในฝ่าย/กลุ่มงาน
ไมน่ อ้ ยกวา่ ๒ ฝา่ ย/กล่มุ งาน องค์การบริหารส่วนจังหวดั ให้กาหนดสายงานผ้ปู ฏิบตั ิไม่นอ้ ยกว่า 2 อตั รา
หรอื ๑ ฝ่าย ๑ กลุม่ งาน (นักบริหารงานทั่วไป ระดับกลาง) โดยเป็นประเภทวชิ าการ อย่างน้อย ๑ อตั รา

ฝ่ายบริหารงานท่ัวไป ฝา่ ยปกครอง
(นกั บริหารงานท่ัวไป ระดับตน้ ) (นักบรหิ ารงานทวั่ ไประดับตน้ )

วิชาการ ท่วั ไป วชิ าการ ทว่ั ไป

โครงสร้างการแบ่งสว่ นราชการของเทศบาล

1. สำนกั 2. กอง 3. สว่ นราชการทเ่ี รยี กชอื่
อยา่ งอื่น

ส่วนราชการท่มี ีความจำเป็นในการบรหิ ารงานของเทศบาล

1. สำนกั ปลดั เทศบาล 6. สำนกั /กองการศกึ ษา

2. สำนัก/กองคลงั 7. สำนกั /กองสวัสดกิ ารสงั คม

3. สำนัก/กองชา่ ง 8. สำนัก/กองการเจา้ หน้าที่

4. สำนัก/กองสาธารณสุขและสง่ิ แวดลอ้ ม 9. หนว่ ยตรวจสอบภายใน

5. สำนกั /กองยทุ ธศาสตร์และงบประมาณ

เทศบาลประเภทสามัญ มสี ่วนราชการหลัก
ไดแ้ ก่

1. สำนกั ปลัดเทศบาล 3. สำนัก/กองชา่ ง

2. สำนัก/กองคลัง 4. หน่วยตรวจสอบภายใน

การจัดต้งั สว่ นราชการหลกั ในครง้ั แรกได้รบั การยกเว้นไม่ตอ้ งประเมนิ ตัวช้วี ัดโดยความเหน็ ชอบของ ก.ท.จ.

เทศบาลประเภทสามญั ระดบั สงู และเทศบาลประเภทพเิ ศษ มสี ่วนราชการหลกั ไดแ้ ก่

1. สำนกั ปลัดเทศบาล 5. สำนัก/กองยทุ ธศาสตร์และงบประมาณ
2. สำนัก/กองคลงั 6. สำนกั /กองการศึกษา

3. สำนักกองคลัง 7. สำนัก/กองสวสั ดิการสงั คม
4. สำนกั /กองสาธารณสุข และสงิ่ แวดล้อม 8. สำนกั /กองการเจ้าหนา้ ท่ี
9. หน่วยตรวจสอบภายใน

17. วชิ าการสอ่ื สารยคุ ดจิ ิทัล : วันพฤหัสบดี ท่ี 27 ตลุ าคม 2565 เวลา 09.00-16.00 น.
(วิทยากร : อ. เดชรัตน์ ไตรโภค) รายละเอียดดงั นี้

การส่ือสารยคุ ดิจิทัล

บรรยายเก่ียวกบั เทคนิคการใช้เทคโนโลยสี ารสนทศเพอ่ื บรหิ ารข้อมูลของนกั บรหิ ารงาน การนาเทคโนโลยมี าปรบั ใช้
กบั การปฏิบัติงานใหม้ คี วามรวดเร็ว ทนั สมยั
๑) วธิ ีการตรวจสอบเนอื้ ทีว่ ่างของหน่วยความจำบน Smart Phone ระบบ ios และ Android
๒) วิธลี บ App ทีไ่ ม่ต้องการท้ิงไป ระบบ ios และ Android
๓) ขน้ั ตอน วิธีการ ทักเฉพาะเจาะจง บคุ คลในไลนก์ ลุม่
4) การเกบ็ ข้อมลู สำคัญไว้ใน Keep ของ App LINE เปรยี บเสมอื นว่าเรามี Flash Drive ให้ ๑ GB (๑๐๐๐ MB) ใน App
LINE ถา้ เราเหน็ ในไลนก์ ลมุ่ มเี อกสารสำคัญ
5) เทคนิคการใช้ App Google และเทคนิค App Google ใช้เสียงสั่งพมิ พ์งาน
๖) วธิ ใี ช้ App LING (คำนวณ พื้นที่ ออกเปน็ ไร่, งาน, ตารางวา)

18. วชิ าความรูเ้ ก่ียวกบั การจา่ ยเงินเดอื น คา่ จ้าง คา่ ตอบแทน คา่ ตอบแทนพิเศษ: วนั พฤหัสบดี ท่ี 27 ตุลาคม
2565 เวลา 16.00-19.00 น. (วิทยากร : อ. อดศิ ร สนุ ทรวภิ าค) รายละเอียดดงั น้ี

การจา่ ยเงินเดือน คา่ จา้ ง ค่าตอบแทน คา่ ตอบแทนพิเศษ เงินประจำตำแหนง่
และผลประโยชนต์ อบแทนอื่น

การบรหิ ารงานบคุ คลส่วนทอ้ งถ่ิน

กำหนดมาตรฐานกลาง
ก.ถ. ทเี่ หมาะสม/เป็นธรรม ใหก้ ับ อปท.ทกุ รปู แบบ

ก.กลาง กำหนดมาตรฐานทั่วไป
(ก.จ. ก.ท. และ ก.อบต.) รายละเอยี ด วธิ กิ าร และหลักเกณฑก์ ารบรหิ าร
งานบคุ ลลสว่ นท้องถิ่น ตามรปู แบบของ อปท.
ก.จังหวดั
กำหนดหลกั เกณฑ์และวิธกี ารบรหิ ารงานบุคคล
(ก.จ.จ. ก.ท.จ. และ ก.อบต.จงั หวัด) ตามที่ ก.กลาง กำหนด ใหก้ บั อปท. ในจงั หวัด

นายก อปท. บริหารงานบคุ คล ใน อปท.

(ก.ถ.) คณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบคุ คลสว่ นท้องถนิ่ (17 คน)

- กรรมการโดยตำแหน่ง (6 คน) ผู้ทรงคุณวฒุ ิ (5 คน) ผแู้ ทน ก.กลาง

มีหนา้ ที่ ดงั นี้

- กำหนดมาตรฐานกลาง

- กำหนดโครงสร้าง อัตราเงินเดอื น เงนิ ประจำตำแหนง่ และประโยชนต์ อบแทนอ่ืน

- ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย และพัฒนาการบรหิ ารงานบุคคลส่วนทอ้ งถิ่น

- ให้คำปรกึ ษา คำแนะนำ และพจิ ารณาปญั หาเก่ียวกบั การบรหิ ารงานบุคคล

สว่ นท้องถนิ่ แกอ่ งค์กรปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ

- ประสานกบั ครม./ก.อืน่ /อปท./หน่วยงานของรฐั เพ่ือสง่ เสรมิ ประสทิ ธิภาพการบริหารงานบคุ คลของ อปท.

ก.กลาง ประกอบด้วย

- ก.จ. (18 คน)

- ก.ท. (18 คน)

- ก.อบต. (18 คน)

ก.จังหวัด ประกอบด้วย

- ก.จ.จ. (12 คน) - ก.อบต.จงั หวัด (27)

- ก.ท.จ. (18 คน)

- ก.พัทยา (12 คน)

การเลื่อนขน้ั เงนิ เดอื น

การจ่ายเงนิ เดอื น

การจ่ายเงินเดือนใหแ้ กข่ า้ ราชการและพนักงานส่วนทอ้ งถ่ิน ให้เปน็ ไปตามกฎหมายหรอื ระเบยี บ
ทีก่ ำหนดไวส้ ำหรบั ขา้ ราชการพลเรือนหรอื ข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา โดยอนโุ ลม

พระราชกฤษฎีกาวา่ ดว้ ยหลักเกณฑ์และวธิ ีการการจ่ายเงินประจำตำแหนง่ ของข้าราชการ
และผู้ดำรงตำแหนง่ ผบู้ รหิ ารซึ่งไมเ่ ปน็ ข้าราชการพ.ศ. ๒๕๓๙ และท่ีแกไ้ ขเพม่ิ เติม
พระราชกฤษฎีกาการจา่ ยเงินเดอื น เงนิ ปี บำเหนจ็ บำนาญ และเงนิ อ่นื ในลกั ษณะเดยี วกนั
พ.ศ. 2535 และท่ีแก้ไขเพม่ิ เติม

หลักเกณฑก์ ารจา่ ยเงินเดือน ตามพระราชกฤษฎีกา การจา่ ยเงนิ เดอื น เงนิ ปี บำเหน็จ บำนาญ และเงินอื่นใน
ลักษณะเดียวกนั พ.ศ. 2535
การปฏิบัติราชการ = การจา่ ยเงนิ เดอื นของข้าราชการซงึ่ มสี ทิ ธไิ ด้รับเงนิ เดอื นไม่เตม็ เดอื น ใหจ้ า่ ยตามส่วนของ
จำนวนวนั ทม่ี สี ิทธไิ ด้รบั เงินเดอื นในเดือนน้นั (มาตรา ๑๑)
บรรจใุ หม่ = การจ่ายเงนิ เดือนข้าราชการกรณบี รรจใุ หมห่ รอื กลบั เขา้ รบั ราชการใหม่ ใหจ้ ่ายต้ังแตว่ ันท่ี เรมิ่ เข้า
ปฏิบัติหน้าทร่ี าชการ (มาตรา ๑๒)
เลื่อน แต่งตัง้ โยกยา้ ย โอน

๑) การจ่ายเงนิ เดอื นกรณเี ลอ่ื นช้นั เล่อื นระดบั หรือเล่ือนขั้นเงินเดือน ให้จ่ายตั้งแตว่ นั ทรี่ ะบุในคำส่งั
ของผมู้ อี ำนาจสัง่ เลอื่ น (มาตรา ๑๓)

๒) การจา่ ยเงนิ เดือนขา้ ราชการทไี่ ด้รับแตง่ ตั้งให้ดำรงตำแหนง่ ใหม่ ใหเ้ ปน็ ไปตามคำส่ังของผมู้ ีอำนาจ
แต่งตง้ั ซง่ึ ตอ้ งระบุว่าได้รบั เงินเดือนในอัตราใด และใหข้ าดจากอัตราเงนิ เดอื นเดิมไปรบั อัตราเงินเดือนตำแหนง่
ใหม่หรือใหโ้ อนอตั ราเงินเดอื นเดมิ ไปตงั้ จา่ ยสำหรบั ตำแหนง่ ใหมต่ ง้ั แตเ่ มอ่ื ใด (มาตรา ๑๔)

๓) การจ่ายเงินเดอื นในกรณีโอนข้าราชการ ใหจ้ า่ ยทางสงั กดั ใหมแ่ ละงดจา่ ยเงนิ เดอื นทางสังกัดเดมิ
ตง้ั แตว่ นั ที่ระบุในคำสงั่ ของผูม้ อี ำนาจสัง่ โอน (มาตรา ๑๕)
การจ่ายเงินเดอื นระหวา่ งลา ตามพระราชกฤษฎีกา การจา่ ยเงินเดือน เงนิ ปี บำเหนจ็ บำนาญ และเงินอน่ื
ในลกั ษณะเดียวกนั พ.ศ. 2535

1. ลาป่วย 60 วันทำการ * แตห่ ากผบู้ งั คบั บัญชาตงั้ แต่อธบิ ดี หรอื ตำแหน่งเทียบเทา่ ขึ้นไปเห็นสมควร
จะใหจ้ ่ายเงนิ เดือนต่อไปอกี กไ็ ด้ แต่จะต้องไม่เกนิ 60 วันทำการ

2. การลาคลอดบตุ ร 90 วนั
3. ลากจิ ส่วนตัว 45 วันทำการ * ในปที ่เี ริม่ รบั ราชการ ให้ได้รบั เงนิ เดอื นระหวา่ งลาไดไ้ ม่เกนิ 15

วนั ทำการ * การลากจิ สว่ นตวั เพ่ือเลีย้ งดบู ตุ รต่อเน่อื งจากการลาคลอดบุตร ไม่ให้ได้รับเงินเดือน
ระหว่างลา
4. ลาไปช่วยเหลือภริยาทค่ี ลอดบตุ ร 15 วันทำการ * จะต้องลาภายใน 30 วัน นับจากวันทภี่ ริยาคลอด
บุตรให้ได้รับเงินเดือนระหว่างลาได้ไม่เกิน 15 วันทำการ ถ้าเป็นการลาเม่ือพ้น 30 วันนับแต่วันที่
คลอดบุตร ไม่ให้ได้รับเงินเดือนระหว่างลา เว้นแต่ผู้บังคับบัญชาตั้งแต่ตำแหน่งอธิบดีหรือตำแหน่ง
เทยี บเท่าข้นึ ไปเห็นสมควรจะใหจ้ ่ายเงนิ เดือนระหว่างลาได้ แต่ไม่เกิน 15 วันทำการ
5. ลาพักผ่อน ไม่เกนิ ระยะเวลาที่ผู้น้นั มีสทิ ธลิ าพกั ผอ่ นประจำปีตามท่ีกำหนดไว้ในระเบยี บว่าดว้ ยการลา
ของขา้ ราชการ * ข้าราชการท่ีรับราชการมาไมถ่ ึง 10 ปี ให้สะสมวันทีย่ ังไม่ได้ลารวมเข้ากบั ปีต่อๆ ไป
ได้ แต่วนั ลาพักผ่อนสะสมรวมกับวันลาพักผ่อนในปีปัจจุบันจะต้องไม่เกิน 20 วันทำการ * ในกรณีท่ี
ขา้ ราชการทีร่ ับราชการตง้ั แต่ 10 ปขี ้ึนไป มีสิทธนิ ำวันลาสะสมรวมกบั วนั ลาพกั ผ่อน
ในปีปัจจุบันได้ไมเ่ กิน 30 วนั ทำการ

6. ลาอุปสมบทหรอื ลาไปประกอบพธิ ฮี จั ย์ 120 วนั ทำการ *ตอ้ งรบั ราชการมาแล้วไมน่ ้อยกวา่ 12 เดอื น
7. ลาเขา้ รบั การตรวจคดั เลือกหรอื เขา้ รับการเตรยี มพล ตลอดระยะเวลา
8. ลาไปศกึ ษาฝกึ อบรมอบรมปฏิบัตกิ ารวจิ ัยหรือดงู าน 4 ปี ผบู้ งั คบั บญั ชาผูม้ ีอำนาจอนุญาตการลาเห็นสมควร
ให้ข้าราชการลาไปศึกษาฝึกอบรมปฏบิ ัตกิ ารวจิ ยั หรือดูงานเกนิ 4 ปี กใ็ หไ้ ดร้ ับเงินเดือนระหว่างลาได้แต่เมอื่ รวม
ทงั้ สิน้ จะต้องไม่เกิน 6 ปี
9. ลาไปปฏบิ ัตงิ านในองค์การระหวา่ งประเทศ ไม่ได้รบั เงนิ เดือนระหว่างลา *เว้นแต่อตั ราเงินเดือนทไ่ี ดร้ บั จาก
องคก์ ารระหว่างประเทศตำ่ กว่าอตั ราเงนิ เดอื นของทางราชการทข่ี า้ ราชการผนู้ นั้ ได้รบั อยู่ในขณะน้ันให้ไดร้ บั
เงินเดือนจากทางราชการสมทบ ซึ่งเมื่อรวมกับเงนิ เดอื นขององค์การระหวา่ งประเทศแลว้ ไมเ่ กินอตั ราเงินเดอื นของ
ทางราชการทขี่ ้าราชการได้รับอยู่ในขณะนั้น
10. ลาตดิ ตามคูส่ มรส ไม่ได้รบั เงินเดอื นระหวา่ งลา
11. ลาไปฟนื้ ฟสู มรรถภาพดา้ นอาชีพ ตามระยะเวลาทก่ี ำหนดไว้ในหลักสตู รทปี่ ระสงค์จะลา แตไ่ ม่เกิน 12 เดือน

1. ขอ้ หารอื ท่ีพบบ่อย
คำถาม อบจ. มคี วามประสงคร์ บั โอนข้าราชการพลเรือนสามัญ นาย ข. ตำแหน่งนักวิชาการ
สาธารณสขุ ระดบั ชำนาญการ สังกัดสำนกั งานสาธารณสุขจงั หวัดชยั ภูมิ อตั ราเงินเดือน 55,190
บาท (เกนิ ขั้นสงู ของระดบั ชำนาญการ) โอนมาดำรงตำแหนง่ นกั วชิ าการสาธารณสขุ ระดับชำนาญ
การ สงั กัดองคก์ ารบรหิ ารสว่ นจังหวัดชัยภมู ิ จะไดร้ ับเงนิ เดอื นอย่างไร

คำตอบ ใหใ้ ชอ้ ตั ราเงินเดอื นในประเภทวชิ าการ ระดบั ชำนาญการพเิ ศษ

ระเบียบ/กฎหมาย

1. ประกาศ ก.กลาง เร่ือง มาตรฐานทวั่ ไปเก่ยี วกับหลักเกณฑ์และเงือ่ นไขการคดั เลือก การบรรจแุ ละ
แต่งต้งั การย้าย การโอน การรบั โอน การเลอ่ื นระดบั และการเล่ือนขน้ั เงินเดอื น (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562 ลง
วันที่ 18 เมษายน 2562 กำหนดให้การรบั โอนข้าราชการประเภทอนื่ ท่ีไมใ่ ช่ขา้ ราชการการเมือง มาบรรจุแต่งตัง้
เปน็ ขา้ ราชการหรือพนักงานสว่ นทอ้ งถ่ิน ในตำแหนง่ ประเภทวิชาการ โดยการบรรจุและแต่งต้งั ใหด้ ำรงตำแหน่งใน
ประเภท สายงาน และระดบั ใด และให้ไดร้ บั เงนิ เดือนเท่าใด
ให้ ก.จังหวดั เป็นผกู้ ำหนด

2. ประกาศ ก.กลาง เรื่อง มาตรฐานทว่ั ไปเกย่ี วกับการใหข้ ้าราชการหรือพนักงานสว่ นทอ้ งถ่นิ ไดร้ ับ
เงินเดอื น พ.ศ. 2558 ลงวนั ที่ 22 ตลุ าคม 2558 กำหนดใหข้ า้ ราชการหรอื พนกั งานส่วนท้องถนิ่ ซงึ่ ได้รับแต่งตั้ง
ใหด้ ำรงตำแหน่งประเภทใด สายงานใด ระดับใด ให้ไดร้ บั เงนิ เดือนขัน้ ต่ำของตำแหนง่ ประเภท สายงาน และระดบั
นัน้ เว้นแต่ ผู้นน้ั ไดร้ บั เงนิ เดือนสูงกวา่ ข้นั ต่ำของระดับน้ันอยแู่ ล้ว ให้ได้รบั เงินเดอื น
เท่าเดมิ หรอื หากไมม่ ีเงินเดอื นเทา่ เดมิ กใ็ หไ้ ด้รบั ในขัน้ ทม่ี ีอตั ราเงินเดอื นใกล้เคยี งท่สี งู กว่า

3. ประกาศ ก.กลาง เรือ่ ง มาตรฐานทัว่ ไปเกย่ี วกับการกำหนดหลกั เกณฑ์การเลือ่ นขน้ั เงินเดือน
ข้าราชการและพนกั งานสว่ นตำบล (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2561 ลงวนั ที่ 22 มถิ ุนายน 2561 ซง่ึ กำหนดหลกั การ
ใหข้ า้ ราชการและพนักงานส่วนทอ้ งถิ่นผ้ดู ำรงตำแหนง่ ประเภท และระดับท่ีไดร้ บั เงินเดอื นถงึ อัตราเงินเดอื นข้ันสงู
ของอันดบั หรือระดับเงินเดอื นสำหรบั ประเภทตำแหนง่ ทไี่ ด้รบั แตง่ ตง้ั นัน้ เมอ่ื ไดร้ บั การพจิ ารณาเลอื่ นขั้นเงนิ เดอื น
ตามรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการแล้ว ใหไ้ ดร้ ับเงนิ เดือนในระดบั ถดั ไปของแตล่ ะประเภทตำแหน่ง โดยให้
ไดร้ ับอัตราเงนิ เดือนเทา่ เดิมก่อน หากไมม่ อี ัตราเงินเดอื นทเ่ี ทา่ เดิม ใหไ้ ดร้ บั อตั ราเงนิ เดอื นในขน้ั ใกลเ้ คียงทส่ี ูงกวา่
แล้วจึงเล่ือนข้ันเงนิ เดือน

2. ข้อหารอื ท่พี บบ่อย โอนลดระดบั
คำถาม อบต. มีความประสงค์รบั โอน นาย ก. ตำแหน่งเจา้ พนักงานธุรการ ระดบั ชำนาญงาน อัตรา

เงนิ เดือน 30,770 บาท (เกนิ ข้ันสงู ระดบั ปฏิบตั งิ าน) ไปดำรงตำแหนง่ เจา้ พนักงานปอ้ งกันและบรรเทาสา

ธารณภยั ระดบั ปฏิบัตงิ าน จะไดร้ ับอตั ราเงนิ เดอื นเท่าใด อยา่ งไร
คำตอบ ให้ได้รบั อตั ราเงินเดอื นในประเภททว่ั ไป ระดบั ชำนาญงาน

เงินประจำตำแหน่ง

- ตามประกาศ ก.จ. และ ก.ท. เรอ่ื ง มาตรฐานทัว่ ไปเก่ียวกับอตั ราเงินเดอื นและวิธกี ารจ่ายเงินเดือน และ
ประโยชน์ตอบแทนอ่ืน (ฉบับท่ี 7) และประกาศ ก.อบต. (ฉบบั ท่ี 6) บญั ชี 2

- ตามประกาศ ก.จ. ก.ท. และ ก.อบต. เรื่อง มาตรฐานทัว่ ไปเกย่ี วกับการคัดเลือกเพ่อื เลอื่ น
และแต่งตงั้ พนักงานเทศบาล ใหด้ ำรงตำแหนง่ ท่สี งู ข้นึ ในสายงานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี พ.ศ. 2562

บญั ชอี ัตราเงินประจำตำแหนง่

ของขา้ ราชการและพนกั งานส่วนท้องถน่ิ (บญั ชี 2)
- ตามประกาศ ก.จ. และ ก.ท. เรือ่ ง มาตรฐานท่วั ไปเกี่ยวกับอัตราเงนิ เดือน
และวธิ ีการจา่ ยเงนิ เดือน และประโยชน์ตอบแทนอืน่ (ฉบบั ที่ 7)

และประกาศ ก.อบต. (ฉบับท่ี 6)

วิชาชพี เฉพาะกายภาพบาบัด ระดบั ชำนาญการ
วชิ าชพี เฉพาะการทนั ตแพทย์ 3,500

วิชาชพี เฉพาะการพยาบาล ระดับชำนาญการพิเศษ
5,600
วชิ าชพี เฉพาะการแพทย์
5,600ชำระดบั
วิชาชีพเฉพาะการสัตวแพทย์ ชำนาญการพิเศษวิชาชีพเฉพาะวิทยาการคอมพิวเตอร์

วชิ าชพี เฉพาะเภสัชกรรม เตอรื

วชิ าชีพเฉพาะวิศวกรรมเคร่ืองกล 5,600นาญการวิชาชีพเฉพาะวิทยาศาสตร์และ
พเิ ศษและเทคโนโลยี
วชิ าชพี เฉพาะวิศวกรรมไ า 5,600

วิชาชีพเฉพาะวศิ วกรรมโยธา

วิชาชพี เฉพาะวิศวกรรมสถาปตั ยกรรม
วชิ าชีพเฉพาะรังสกี ารแพทย์

วิชาชพี เฉพาะวศิ วกรรมชลประทาน

วิชาชีพเฉพาะนิตกิ าร

เงินประโยชน์ตอบแทนอ่ืนท่ี อปท. อาจจา่ ยได้

ตามระเบยี บ มท. ว่าดว้ ยการกำหนดให้เงนิ ประโยชน์ตอบแทนอน่ื เปน็ รายจา่ ยท่ี อปท.
อาจจา่ ยได้ พ.ศ. 2559 (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2564

1. เงนิ โครงการเกษยี ณอายกุ อ่ นกำหนดสำหรับพนกั งานส่วนทอ้ งถ่ิน (ยงั ไม่มโี ครงการ
2. เงนิ ทนุ การศึกษาสำหรบั พนักงานส่วนทอ้ งถ่ิน (ชะลอ)
3. เงินเพม่ิ สำหรบั ตำแหนง่ ทม่ี เี หตพุ เิ ศษสำหรบั พนักงานส่วนทอ้ งถ่นิ
4. เงนิ ชว่ ยพิเศษ กรณีพนกั งานสว่ นทอ้ งถ่นิ ผู้รบั บำนาญ ลกู จ้าง และพนกั งานจ้างถงึ แก่ความตาย
5. เงินเพ่ิมพเิ ศษสำหรับบุคลากรสาธารสุขผู้ปฏบิ ัตงิ านในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั

โคโรนา 2019
6. เงนิ เพ่มิ สำหรบั พนักงานจา้ งผปู้ ฏิบตั งิ านท่มี ลี กั ษณะเป็นการเสี่ยงภยั ตอ่ สขุ ภาพ
7. เงินรายการอ่ืนที่มีกฎหมาย หรอื ระเบียบ กำหนดใหพ้ นักงานส่วนท้องถ่ิน ลกู จา้ ง และพนกั งานจ้าง

ของ อปท. ไดร้ บั ค่าตอบแทน หรือเงินเพ่ิม หรอื เงินท่มี ลี ีกษณะเดียวกัน

19. วชิ าความรเู้ กยี่ วกบั สวสั ดกิ ารของข้าราชการหรือพนกั งานส่วนท้องถิน่ : วันศกุ ร์ ที่ 28 ตุลาคม 2565
เวลา 09.00-16.00 น. (วิทยากร : อ. รวี สะตำ) รายละเอียดดังน้ี

เคร่อื งแต่งกายของขา้ ราชการสว่ นทอ้ งถิ่น

เครื่องแบบเจ้าหน้าทท่ี อ้ งถิน่ ซงึ่ กฎกระทรวง ฉบบั ที่ 15 (พ.ศ.2560) ออกตามความในพระราชบญั ญตั เิ ครื่องแบบ
เจ้าหน้าท่ีท้องถ่ิน พ.ศ. 2509

ความรู้เกีย่ วกบั เครื่องแบบปฏิบัติราชการ (ชุดสีกาก)ี
มี2 ประเภท 1. เครือ่ งแบบสีกากคี อพับ 1.1 แขนยาว 1.2 แขนส้นั 1.2 เครอื่ งแบบสกี ากีคอแบะ



ความรู้เกย่ี วกับเครื่องแบบพิธกี าร (ชุดขาวข้าราชการ)

เคร่ืองแบบพธิ ีการมี 5 ประเภท
1. เครอ่ื งแบบปกติขาว
2. เคร่อื งแบบปกตกิ ากคี อตงั้

3. เครอื่ งแบบครงึ่ ยศ
4. เครื่องแบบเตม็ ยศ
5. เครือ่ งแบบสโมสร

อนิ ทรธนขู องเครื่องแบบพธิ ีการ (ชุดปกตขิ าว)













19. วิชาการประเมินผลการปฏิบตั งิ านและการเลื่อนขั้นเงินเดือนของขา้ ราชการหรอื พนกั งานส่วน

ท้องถ่นิ : วันศกุ ร์ ที่ 28 ตุลาคม 2565 เวลา 13.00-16.00 น. (วทิ ยากร : อ. รวี สะตำ) รายละเอียด
ดังนี้

ระบบการบรหิ ารผลงาน (Performance Management) ท่เี ชื่อมโยงผลการปฏบิ ตั งิ านจากระดับ

องคก์ ร ระดับหน่วยงาน ไปสูร่ ะดบั รายบคุ คลเพอ่ื ใหผ้ ลการปฏบิ ัตงิ านมปี ระสิทธภิ าพและประสทิ ธผิ ลตาม
เป้าหมายขององค์กรหรอื หนว่ ยงาน และสามารถวัดและประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ิงานของพนกั งานสว่ นตำบลได้
อย่างเปน็ รปู ธรรม

การประเมินผลการปฏิบตั งิ าน ใหม้ อี งคป์ ระกอบดงั ตอ่ ไปนี้
(1) ผลสมั ฤทธ์ขิ องงาน ให้มสี ดั สว่ นนำ้ หนกั ร้อยละ 70 โดยประเมนิ ผลจากการ
ปฏิบตั ิงานตามปรมิ าณผลงาน หรอื คณุ ภาพของงาน หรอื ความรวดเร็ว หรอื การตรงตามเวลาทีก่ ำหนด

หรอื การประหยดั หรอื ความคุ้มค่าของการใชท้ รัพยากร แลว้ แต่กรณี
ให้กำหนดผลสมั ฤทธข์ิ องงานพร้อมกบั กำหนดตวั ช้ีวัดความสำเร็จไมน่ อ้ ยกวา่ 2

ผลงานตอ่ คร้งั

(2) พฤติกรรมการปฏิบัตริ าชการหรือสมรรถนะ ใหม้ สี ัดสว่ นน้ำหนักรอ้ ยละ 30 ให้
ประเมนิ จากสมรรถนะตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่งที่คณะกรรมการกลางส่วนพนักงานสว่ นตำบลกำหนด
ได้แก่

กรณตี ำแหน่งประเภทบรหิ ารทอ้ งถ่นิ และตำแหนง่ ประเภทอำนวยการทอ้ งถิ่นให้
ประเมินสมรรถนะ ประกอบดว้ ย สมรรถนะหลกั จำนวน 5 สมรรถนะ และสมรรถนะประจำผูบ้ รหิ าร
จำนวน 4 สมรรถนะ

กรณีตำแหน่งประเภทวิชาการ และตำแหนง่ ประเภททวั่ ไป ให้ประเมินสมรรถนะ
ประกอบด้วย สมรรถนะหลกั จำนวน 5 สมรรถนะ และสมรรถนะประจำสายงานจำนวนไม่น้อยกวา่ 3
สมรรถนะ

กรณีการประเมนิ ผลการปฏิบตั ิงานของพนักงานสว่ นตำบลทบ่ี รรจใุ หมห่ รอื อยู่
ระหวา่ งทดลองปฏบิ ัตหิ น้าทร่ี าชการ หรอื มรี ะยะเวลาทดลองปฏิบตั ิหน้าทีร่ าชการอยใู่ นรอบการประเมิน ให้
ประเมินผลสัมฤทธ์ขิ องงาน และพฤตกิ รรมการปฏิบตั ริ าชการหรอื สมรรถนะ โดยมสี ัดสว่ นคะแนนของแตล่ ะ

องคป์ ระกอบ
ร้อยละ 50
ใหป้ ระเมนิ ผลการปฏิบตั งิ านของพนักงานสว่ นตำบลปลี ะ ๒ คร้ัง ตามรอบ

ปงี บประมาณ คือ
(๑) คร้ังที่ ๑ ระหวา่ งวนั ท่ี ๑ ตลุ าคม ถึง ๓๑ มีนาคม ของปีถัดไป
(๒) ครัง้ ที่ ๒ ระหว่างวันท่ี ๑ เมษายน ถึง ๓๐ กันยายน ของปีเดียวกัน

ขอ้ ๙ ในแตล่ ะรอบการประเมนิ ให้องค์การบรหิ ารส่วนตำบลนำผลคะแนนการ
ประเมินผลการปฏบิ ัตงิ าน มาจดั กลุ่มตามผลคะแนนเปน็ ๕ ระดบั คือ ดีเดน่ ดมี าก ดี พอใช้ และต้อง
ปรบั ปรงุ

โดยมชี ่วงคะแนนประเมนิ ของแตล่ ะระดบั ดังนี้
(๑) ระดับดเี ด่น ตอ้ งมีช่วงคะแนนประเมินต้ังแต่รอ้ ยละ ๙๐ ขน้ึ ไป
(๒) ระดบั ดมี าก ตอ้ งมชี ว่ งคะแนนประเมินต้งั แต่รอ้ ยละ ๘๐ แต่ไม่ถงึ รอ้ ยละ ๙๐

(๓) ระดับดี ตอ้ งมีชว่ งคะแนนประเมนิ ตง้ั แตร่ ้อยละ ๗๐ แต่ไม่ถึงรอ้ ยละ ๘๐

(๔) ระดับพอใช้ ตอ้ งมชี ว่ งคะแนนประเมินตง้ั แตร่ อ้ ยละ ๖๐ แต่ไมถ่ งึ รอ้ ยละ ๗๐

(๕) ระดับตอ้ งปรบั ปรงุ ตอ้ งมชี ่วงคะแนนประเมนิ ตำ่ กว่ารอ้ ยละ ๖๐
ขอ้ 11 การประเมนิ ผลการปฏิบตั งิ านของพนักงานส่วนตำบล ใหด้ ำเนนิ การตาม
ขน้ั ตอนและวิธีการ ดงั ต่อไปนี้

(1) ภายในเดือนกนั ยายนของทกุ ปี ให้องค์การบรหิ ารส่วนตำบลประกาศหลกั เกณฑ์
และวิธีการประเมินผลการปฏิบตั งิ านประจำปี ใหพ้ นกั งานสว่ นตำบลในสงั กดั ทราบโดยทว่ั กนั

(2) ในแตล่ ะรอบการประเมินให้ผปู้ ระเมิน และผรู้ บั การประเมนิ มหี น้าท่ีกำหนด

และจัดทำขอ้ ตกลงรว่ มกนั ในแบบประเมนิ ผลการปฏิบัตงิ าน ได้แก่ กำหนดผลสัมฤทธิ์ของงาน เปา้ หมายและ
ตวั ช้ีวดั ความสำเรจ็ หรอื กำหนดหลกั ฐาน หรอื ตวั ชวี้ ัดความสำเรจ็ ของงานอยา่ งเปน็ รูปธรรมและเหมาะสมกับ
ลักษณะงาน ตำแหนง่ และระดบั รวมทงั้ กำหนดพฤติกรรมการปฏิบตั ริ าชการหรอื สมรรถนะ สัดส่วนคา่ น้ำหนัก

และระดบั ทคี่ าดหวงั
ประกาศคณะกรรมการพนกั งานส่วนตำบลจังหวัดนครราชสมี า เรอ่ื ง หลกั เกณฑแ์ ละ

เงอ่ื นไขเกย่ี วกบั พนกั งานจา้ ง (ฉบับท่ี 6) ลงวนั ท่ี 20 ธนั วาคม 2559

ข้อ 40 ให้ประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ านของพนกั งานจา้ งตามภารกจิ และพนกั งานจ้าง
ทว่ั ไป

ปลี ะ 2 ครงั้ ตามปีงบประมาณ คอื

คร้ังท่ี 1 ประเมนิ ผลในช่วงการปฏบิ ัตงิ านระหว่างวันที่ 1 ตลุ าคม ถงึ 31 มีนาคม
ครัง้ ท่ี 2 ประเมนิ ผลในช่วงการปฏิบัตงิ านระหว่างวันท่ี 1 เมษายน ถึง 30
กนั ยายน

20. วิชากฎหมายวา่ ด้วยวิธปี ฏิบตั ริ าชการทางการปกครองความรบั ผดิ ทางละเมิดและขอ้ มูล

ขา่ วสารของราชการ: วันเสาร์ ท่ี 29 ตลุ าคม 2565 เวลา 09.00-12.00 น.
(วิทยากร : อ. จอมขวัญ ศรศี ลิ ป์ ) รายละเอียดดังนี้

พระราชบัญญัตวิ ิธีปฏบิ ัตริ าชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 มขี ึน้ ด้วยหลักการเพือ่ ให้การปฏิบัตริ าชการ

ทางปกครองมีความโปร่งใส เปน็ กลางและเป็นธรรม และมีประสทิ ธภิ าพโดยมงุ่ เนน้ ทกี่ ระบวนการออกคาสั่งทาง
ปกครองของเจา้ หน้าทซ่ี ง่ึ ถอื เป็นมาตรการทฝี่ ่ายปกครองหนว่ ยงานของรฐั ใช้มากท่ีสดุ และมีผลกระทบต่อสทิ ธิ
และเสรีภาพของประชาชน มหี ลักการสำคญั ดังน้ี

1. เปน็ กฎหมายมาตรฐานกลาง โดยเปน็ การกาหนดมาตรฐานข้ันตำ่ ในการพิจารณาจดั ทำคำสงั่ ทางปกครอง
หากการพจิ ารณาทางปกครองเรอื่ งใดมมี าตรฐานในการประกันสิทธแิ ละเสรีภาพต่ำกวา่ กฎหมายนี้จะตอ้ งใช้
กระบวนการตามกฎหมายน้ีแทน

2. กาหนดข้นั ตอนวิธกี ารการอทุ ธรณ์คาสั่งทางปกครอง
3. กาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการเพกิ ถอนและการขอใหพ้ ิจารณาคาส่ังทางปกครองใหม่
4. กาหนดกระบวนการการบงั คับใหเ้ ปน็ ไปตามคาสง่ั ทางปกครอง

รปู แบบของคาส่งั ทางปกครองต้องมรี ปู แบบดังตอ่ ไปน้ี
1.คำสง่ั ทางปกครองอาจทาเป็นหนงั สือหรอื ทาด้วยวาจา หรอื การสือ่ สารด้วยวธิ ีการอน่ื หากทำด้วยหนงั สอื
จะต้องลงลายมอื ชอื่ ของผ้อู อกคาสง่ั พร้อมวันเดอื นปที อี่ อกคาส่งั

2.คำสงั่ ทางปกครองทท่ี าเป็นหนงั สอื จะต้องให้เหตุผลของการออกคำสั่งดว้ ย
3.เงือ่ นไขในคำส่งั ทางปกครอง ซงึ่ เงื่อนไขน้อี าจจะกาหนดไวใ้ นคาสั่งทางปกครองด้วยกไ็ ด้ แต่ท้งั นี้ตอ้ งมีเทา่ ท่ี
จะทาใหก้ ฎหมายในเรอื่ งน้นั บรรลเุ ปา้ หมายไดเ้ ท่านั้น

4.คำสง่ั ทางปกครองใดเปน็ คาสง่ั ทางปกครองทอี่ าจอทุ ธรณ์โต้แย้งได้ ให้ระบุวธิ ีการย่นื อทุ ธรณ์ เจา้ ท่ที ม่ี อี านาจ
รับอทุ ธรณ์ ระยะเวลาท่ียนื่ อทุ ธรณ์ ไว้ด้วย
การอุทธรณค์ าสง่ั ทางปกครองและกาหนดเวลาการยื่นอุทธรณ์

หลักการสำคัญของการอุทธรณค์ าสั่งทางปกครอง คอื เป็นการทบทวนการตดั สนิ ใจทางปกครองคูก่ รณี
สามารถอุทธรณ์คาสั่งนัน้ ได้ ตามมาตรา 44 โดยให้ยื่นอทุ ธรณ์ต่อ“เจ้าหน้าทีผ่ ู้ทาคาสัง่ ทางปกครอง”โดยให้ย่ืน
ภายในสิบห้าวันนบั ตั้งแต่วันที่ตนไดร้ ับทราบคาสั่งนั้น รูปแบบของอุทธรณ์กฎหมายกาหนดให้ทาเป็นหนังสือ

โดยระบุข้อโตแ้ ย้ง ข้อเทจ็ จรงิ หรือข้อกฎหมายท่ีอา้ งประกอบด้วยมาตรา 45 เจ้าหน้าท่ีผู้ทาคาส่ังทางปกครอง
จะต้องพิจารณาอุทธรณ์ให้แล้วเสร็จภายใน 30 วันนับต้ังแต่วันได้รับอุทธรณ์ซึ่งเจ้าหน้าท่ีน้ันเห็นด้วยกับคา
อุทธรณ์อาจเปล่ียนแปลงคาสั่งได้ตามอานาจหน้าที่ของตนและมาตรา 46 สามารถพิจารณาทบทวนได้ท้ังใน

ปญั หาข้อเทจ็ จริงหรอื ข้อกฎหมาย หรอื ในแง่ความเหมาะสมกไ็ ด้ โดยอาจพจิ ารณาไปในทางเพ่ิมภาระหรือเพ่ิม
เงอ่ื นไขก็ได้ถา้ เจา้ หนา้ ทผี่ อู้ อกคาส่ังไม่เหน็ ด้วยกับอทุ ธรณ์ ใหส้ ง่ เรื่องใหผ้ ู้มอี านาจพจิ ารณาคาอุทธรณ์พิจารณา
ต่อไป โดยต้องพิจารณาให้แล้วเสร็จภายใน 30 วัน หากไม่เสร็จทันตามกาหนดระยะเวลาสามรถขยาย

ระยะเวลาพิจารณาอทุ ธรณ์ไดอ้ ีกไม่เกนิ 30 วัน


Click to View FlipBook Version