21. วิชาการบรหิ ารงานบคุ คลเกีย่ วกบั ลูกจา้ ง พนักงานจา้ ง และถา่ ยโอนภารกิจ: วนั จันทร์ ท่ี 31
ตุลาคม 2565 เวลา 13.00-16.00 น. (วทิ ยากร : อ. สรุ สั วดี แซ่จิว) รายละเอียดดังนี้
การบริหารงานบคุ คลเกยี่ วกบั พนกั งานจา้ ง
หมวด 1 พนกั งานจา้ ง ตามภารกจิ
ประเภทของพนกั งานจา้ ง ผเู้ ช่ียวชาญพเิ ศษ
ทัว่ ไป
ขอ้ 4 คณุ สมบตั แิ ละลกั ษณะต้องหา้ ม***ไมเ่ ป็นผูเ้ คยต้องรับโทษจำคุกโดยคำพพิ ากษาถงึ ทส่ี ุดใหจ้ ำคกุ เพราะ
กระทำความผิดทางอาญา เว้นแตโ่ ทษสำหรบั ความผิดที่ไดก้ ระทำโดยประมาทหรอื ความผิดลหโุ ทษ
หมวด 2 การกำหนดตำแหนง่ การจา้ ง
*** การปรบั ปรุงตำแหน่งพนักงานจ้างท่วั ไปเปน็ พนกั งานจา้ งตามภารกจิ (ผูม้ ที กั ษะ)
- หนงั สอื สำนักงาน ก.จ. ก.ท. และ ก.อบต. ที่ มท 0809.2/ว 77 ลงวนั ท่ี 29 ตุลาคม 2547
- มีความรคู้ วามสามารถและทกั ษะในงานท่จี ะปฏิบตั ิมาแล้ว ไมต่ ่ำกว่า 5 ปี โดยมีหนังสือรบั รองการทำงานจาก
หนว่ ยงานหรอื นายจ้างเดิม อบต. - เกนิ 100 ลา้ น 1 คน
การกำหนดตำแหน่ง -เกนิ 200 ล้าน ไม่เกนิ 3 คน
- ทั่วไป เทศบาล - เกนิ 100 ล้าน 1 คน
- เชี่ยวชาญพิเศษ - เกนิ 100 ลา้ น 1 คน
- ภารกิจ
อบจ. - เกิน 100 ลา้ น 1 คน
- เกนิ 100 ลา้ น 1 คน
ระยะเวลาการจ้าง - ทว่ั ไป = ไมเ่ กิน 1 ปี
- เชี่ยวชาญพเิ ศษ = ไมเ่ กิน 4 ปี
- ภารกิจ = ไมเ่ กนิ 4 ปี
22. วชิ าความรู้เกีย่ วกบั วนิ ยั และการรักษาวินยั ของข้าราชการและพนักงานสว่ นทอ้ งถนิ่ : วันอังคาร ท่ี
1-2 พฤศจิกายน 2565 เวลา 09.0ว0ิน-1ยั 6แ.ล0ะ0กนา.รร(วกั ทิ ษยาาวกนิรัย: ขออ. สงขริ ริ า้ ตั รนา์ชแกตางรรอด) รายละเอียดดังน้ี
และพนักงานสว่ นทอ้ งถ่นิ
กฎหมายทเี่ กี่ยวขอ้ งกับการบริหารงานบคุ คล
๑. รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
๒. พก.ฎรห.บม.ราะยเวบ่าียดบว้ ยบกราหิ ราจรดังาตนง้ั อบงุคคคก์ ลรสป่วกนคทร้อองงถส่ิน่วนพท.ศอ้ .งถ๒่ิน๕๔๒
4๓.. มาตรฐานกลางที่คณะกรรมการมาตรฐานการบรหิ ารงานบคุ คลสว่ นทอ้ งถิ่น (ก.ถ.) กำหนด
5. มาตรฐานท่ัวไปทคี่ ณะกรรมการกลางขา้ ราชการและพนกั งานส่วนทอ้ งถิ่น (ก.จ., ก.ท. และ ก.อบต. เรียก
รวมกนั วา่ “ก.กลาง”) กำหนด เชน่ - มาตรฐานเก่ยี วกบั การคดั เลอื ก การบรรจแุ ละแตง่ ตง้ั การย้าย การรบั โอน
การเลื่อนระดับ การเล่อื นขั้นเงินเดือน - มาตรฐานทัว่ ไปเกย่ี วกับวนิ ยั การให้ออกจากราชการ สทิ ธิการอทุ ธรณ์
การพิจารณาอทุ ธรณ์และการร้องทกุ ข์ – มาตรฐานทัว่ ไปเกย่ี วกับพนกั งานจา้ ง
6. หลกั เกณฑ์และเง่ือนไขทีค่ ณะกรรมการขา้ ราชการและพนกั งานส่วนท้องถนิ่ (ก.จ.จ.. ก.ท.จ. และ ก.อบต.
จังหวดั เรียกรวมกันวา่ “ก.จงั หวัด”) กำหนดโดยมเี นอื้ หาเชน่ เดียวกับมาตรฐานทวั่ ไปที่ ก.กลาง กำหนด
คณะกรรมการบรหิ ารงานบุคคลสว่ นท้องถิ่น
๑. คณะกรรมการขา้ ราชการ/พนักงานสว่ นท้องถ่ิน (ก.จ.จ./ก.ท.จ./ก.อบต.จงั หวัด)
๒. คณะกรรมการกลางข้าราชการ/พนักงานสว่ นทอ้ งถ่ิน (ก.จ./ก.ท./ก.อบต.)
๓. คณะกรรมการมาตรฐานการบรหิ ารงานบคุ คลส่วนทอ้ งถนิ่ (ก.ถ.)
ความสำคัญของวนิ ัย
กับกระบวนการบริหารงานบุคคลเร่อื งอื่น ๆ
คุณสมบตั /ิ
ลกั ษณะตอ้ งห้าม
คัดคนออก การประเมนิ
วินัย
ขั้นเงนิ เดือน/
เลื่อนระดับ
การดำเนนิ การทางวินัย และการใหอ้ อกจากราชการ
ของข้าราชการและพนักงานส่วนทอ้ งถ่ิน
๑. กระบวนการปกติ ส่งเสรมิ /พฒั นาให้มี ๑. ปฏิบตั ติ นเป็นแบบอย่างท่ดี ี
๑.๑.ไมร่ ้ายแรง วินัย (ว ๒) ๒. สร้างขวัญกำลงั ใจ
๑.๒ รา้ ยแรง ๓. การจงู ใจ
หน้าที่ ผบช. ๔. กระทำการอ่ืนทจ่ี ะเสริมสร้าง
๒. กรณีคณะกรรมการ ป.ป.ช. / (๒๔)
คณะกรรมการ ป.ป.ท. ชี้มลู พฒั นาทศั นคติ จติ สำนึก แล
ดำเนนิ การทาง พฤติกรรม
วินัย (ว๑๑)
ปอ้ งกันไม่ใหก้ ระทำ
ผิดวนิ ยั (ว๓)
๑. การแสวงหาข้อเทจ็ จรงิ เกี่ยวกบั สืบสวนขอ้ เทจ็ จรงิ ๑. การเอาใจใส่
(ว๕+ว๖+ว๘) ๒. สังเกตการณ์
เรือ่ งรอ้ งเรยี นกลา่ วหา
๒. โดยการตงั้ กก.สบื สวนขอ้ เท็จจรงิ ๓. ขจดั เหตทุ อี่ าจกอ่ ใหเ้ กิดการกระทำ
/กก.สอบสวนขอ้ เทจ็ จริง/กก. ผดิ วนิ ัย
ตรวจสอบขอ้ เทจ็ จรงิ
ขอ้ ๒๔ วรรคส่ี “เมอ่ื ปรากฏกรณมี มี ูลท่คี วรกล่าวหา วา่ พนักงาน…ผูใ้ ดกระทำผิดวนิ ัย โดยมีพยานหลักฐาน
ในเบือ้ งต้นอย่แู ลว้ ใหน้ ายก…ดำเนินการทางวินยั ทนั ท”ี
ขอ้ ๒๔ วรรคห้า “เมื่อมกี ารกล่าวหาโดยปรากฏตัวผู้กล่าวหา หรอื มกี รณเี ป็นทสี่ งสยั
วา่ พนักงาน…ผู้ใดกระทำผิดวินยั โดยยังไมม่ ีพยานหลกั ฐาน ให้นายก..รีบดำเนนิ การ
สบื สวนหรอื พจิ ารณาในเบอ้ื งตน้ วา่ กรณมี ีมลู ทีค่ วรกลา่ วหาว่าผ้นู ้นั กระทำผดิ วนิ ยั
หรือไม่
กรณีต้องดำเนินการสบื สวนหรอื พิจารณาในเบือ้ งต้น (ขอ้ ๒๔ วรรคหก)
ปรากฏผู้ถกู กล่าหา ๑) ระบุ/ชชี้ ่องทจ่ี ะใหพ้ ยาน ๒) ไมร่ ะบ/ุ ไม่ช้ีช่องท่ีจะใหพ้ ยาน
ไม่ปรากฏผถู้ กู กล่าวหา (บัตรสนเท่ห)์ หนงั สือ สลค. ที่นร ๐๒๐๖/๑๗๐๘๕
ลว. ๒๕ ธ.๕. ๒๕๔๑
วิธกี ารดำเนนิ การสืบสวนหรอื พจิ ารณาในเบ้ืองต้น
ขอ้ ๒๔ ว. ๘“การสบื สวนหรือพิจารณาในเบ้ืองตน้ จะกระทำโดยแตง่ ตัง้ กรรมการ
สืบสวนขอ้ เทจ็ จริง กรรมการสอบสวนขอ้ เทจ็ จรงิ หรอื กรรมการตรวจสอบขอ้ เทจ็ จรงิ กไ็ ด”้
นส.สำนกั งาน ก.อบต., ก.ท. ,ก.จ. ที่ มท ๐๘๐๙.๒/ว๑๙๕ ลว. ๘ ก.ย. ๒๕๔๘ และ นส. สำนกั งาน ก.พ. ที่ นร
๑๐๑๑/ว ๑๙ ลว ๑๔ ก.ค. ๒๕๔๗
1) นายก อปท. ดำเนินการเอง ๒) มอบหมายผู้ใต้บังคับบัญชา ๓) แตง่ ต้ังคณะกรรมการ - สบื ข้อเทจ็ จริง
- สอบข้อเท็จจรงิ - ตรวจสอบขอ้ เทจ็ จริง
เกร็ดความรกู้ ารตง้ั กก.สืบสวนหรอื พิจารณาในเบื้องต้น
๑. ไม่ไดก้ ำหนดจำนวน/คณุ สมบัติ กก.ไว้ สามารถแตง่ ตงั้ ผทู้ ไ่ี ม่ใช่ ขรก.เปน็ กก. ได้ : ควรคำนงึ ถึงความรู้
ความสามารถและความเหมาะสม
๒. ระยะเวลาการสบื ฯ เปน็ ไปตามที่ นายก อปท. กำหนด ทงั้ น้ี ข้ึนอยู่กับความยงุ่ ยากซบั ซ้อนของเรอื่ ง
:หลกั ปฏบิ ัตริ าชการท่ีดไี มค่ วรเกนิ ๙๐ วัน
๓. ระยะเวลาสืบฯ เป็นเพยี งระยะเวลาเรง่ รดั
ผลของการสบื สวนหรือพิจารณาในเบ้อื งตน้ (ข้อ ๒๔ ว.๑๐)
ไม่มมี ูล ยตุ ิเรือ่ ง
สบื สวน
มมี ลู ดำเนินการทางวินยั
(ข้อ ๒๔ ว.๔)
-น.ส. สำนกั งาน ก.พ. ท่ี นร ๑๐๑๑/ล ๑๓๗ ลงวันท่ี ๑๓ ม.ี ค. ๒๕๕๐
กรณีท่ี สตง.แจ้งผลการพิจารณาว่าข้าราชการมีพฤติการณ์ในการใช้อำนาจหน้าท่ีโดยมิชอบก่อให้เกิดความ
เสียหายแก่ทางราชการ -ตามมาตรา 46 แห่ง พ.ร.บ. ว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน พ.ศ.2542 ถือได้ว่าเป็น
กรณที ี่ สตง.ไดท้ ำการรวบรวมพยานหลักฐาน เบื้องต้นในเรื่องน้ันมาแลว้ ใหส้ ่วนราชการดำเนินการทางวินัยโดย
ไม่ต้องแต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวนหาข้อเท็จจริงอีก ดังน้ัน ผบช.ของข้าราชการที่ได้รับแจ้งผลดังกล่าว
สามารถดำเนินการทางวินยั แก่ขา้ ราชการผนู้ ั้น โดยไม่จำต้องทำการสบื สวนขอ้ เทจ็ จรงิ ดังกลา่ วอีก
ความเหน็ คณะกรรมการกฤษฎีกา (คณะพเิ ศษ) เร่ืองเสร็จที่ ๑๖๗/๒๕๕๑
สรปุ วา่ กรณีผลตรวจของสตง. ระบุเพยี งแต่พฤตกิ ารณ์นา่ เชอ่ื ว่ามกี ารทจุ ริตโดยมิได้มกี ารระบตุ ัวเจา้ หนา้ ท่ี
ผูก้ ระทำความผดิ หนว่ ยรับตรวจยอ่ มมดี ุลพินจิ ทจ่ี ะตั้งคณะกรรมการสบื ข้อเทจ็ จรงิ หรอื คณะกรรมการสอบสวน
ควณินยั ะไกดร้ รมการกฤษฎีกา เรอ่ื งเสร็จที่ ๙๔๔/๒๕๖๑
๑.กรณที ่ี สตง. ตรวจพบวา่ เป็นกรณีทจุ ริตใหส้ ง่ เรอื่ งให้ ป.ป.ช.ดำเนนิ การ จงึ ไมม่ เี หตุใหห้ นว่ ยรบั ตรวจ
ต้องรอ้ งทุกข์กล่าวโทษต่อพนกั งานสอบสวน
เพือ่ ดำเนนิ คดอี าญาอกี ทง้ั นี้ ตาม ม.๗๒ และม.๙๕ ว.สอง แห่ง พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนญู ว่าด้วยการตรวจ
เงนิ แผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๖๑
๒. กรณีผลการตรวจสอบของ สตง.ระบุถงึ พฤติการณ์นา่ เชอื่ วา่ มกี ารทจุ รติ และไดร้ ะบุชัดเจนถึงตัว
เจ้าหนา้ ทท่ี ี่กระทำผดิ วา่ ได้แกผ่ ู้ใดพร้อมทงั้ พยานหลกั ฐานแล้ว หนว่ ยงานมหี นา้ ที่ต้องดำเนินการทางวินัย โดย
ไมต่ อ้ งแต่งตง้ั คณะกรรมการสบื สวนข้อเท็จจรงิ อีก หากละเลยอาจเป็นความผิดทางอาญา หรอื ผิดวินัย
ผงั สรปุ การดำเนนิ การทางวนิ ัยอยา่ งไมร่ า้ ยแรง
มี พฐ.เบอื้ งต้น กรณกี ารสืบสวนได้แจ้ง ตอ้ งสอบสวนเพ่อื ใหไ้ ด้
(ข้อ ๒๔ ว.๔) ขอ้ กล่าวหาและให้โอกาสช้ีแจง ความจรงิ และยตุ ิธรรม
โดยไมช่ ักชา้ โดยตอ้ ง
นายก อปท. มอบหมาย พนง. ผใู้ ต้ ดำเนินการ ๑. แจ้งข้อกลา่ วหา
บงั คบั ฯ สอบสวนฯ ๒. สรปุ พยาน หลักฐาน
ทส่ี นับสนุนขอ้ กล่าวหา
และ
๓. ตอ้ งใหโ้ อกาสผูถ้ ูก
กล่าวหาชี้แจง รวมทั้งนำสบื
แก้ข้อกล่าวหา
ตั้ง กก.สอบสวนวินัย ดำเนินการ พจิ ารณา
ไมร่ า้ ยแรง สอบสวนฯ ความผิด/กำหนดโทษ
๑. ประชุมวางแนวทาง/แจง้ ขอ้ กลา่ วหามเรอ่ื ง ภายใน ๓๐ ส่ังยตุ ิเรื่อง
๒. ประชมุ พจิ ารณา และแจ้งขอ้ กลา่ วหาและ วนั /ลงโทษ
สรปุ พยานหลักฐาน รายงาน
๓. ให้โอกาสช้แี จง้ และนำสบื หกั ล้างแก้ ก.จงั หวดั
๔ ประชมุ พจิ ารณาลงมติ/ทำรายงานสอบสวน
ภายใน ๙๐ วนั ขยาย
การแตง่ ตง้ั คณะกรรมการสอบสวน นส. สนง. ก.กลาง ที่ ๒ ครั้งๆละไมเ่ กนิ
มท ๐๘๐๙.๕/ว ๒๐ ๓๐ วนั
ลว ๖ ส.ค. ๒๕๖๑
องคป์ ระกอบ
กก.สอบสวน (ข้อ ๔๙)
ขอ้ ๔๙ ว.๑***
- ให้ตง้ั จาก ข้าราชการในสงั กัด
- จำเป็น/ประโยชน/์ เป็นธรรม อาจตัง้ จากท้องถนิ่ อนื่ หรอื ขา้ ราชการฝ่ายพลเรือน
โดยไดร้ บั ยินยอมจาก ผบช. ผูน้ ัน้ กไ็ ด้
- จำนวนอย่างน้อย ๓ คน ประกอบด้วยประธานตำแหนง่ ระดบั ไม่ตำ่ กวา่ หรอื เทยี บได้ไม่ต่ำกว่า
ผถู้ กู กลา่ วหา ตามท่ี ก.กลางกำหนด โดยให้ กก. หนึ่งคน เปน็ เลขานุการ
ขอ้ ๔๙ ว.๒***
กก.สอบ ตอ้ งมีนติ กิ ร หรอื ผู้มีปริญญากฎหมาย หรอื ผ่านอบรมวินัย หรอื มี
ประสบการณ์
ข้อ ๔๙ ว.๓
จำเป็นจะมีผู้ชว่ ยเลขาขา้ ราชการ/ลกู จ้างประจำ/ภารกิจ มีคณุ สมบตั ติ าม
วรรคสองกไ็ ด้
การแจง้ คำสั่งแต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวน (สว.๑) (ข้อ ๕๑)
วิธีการแจง้ ๓ วิธี ผู้มีหนา้ ทีต่ าม กม. แจง้
๑. แจ้งโดยตรง+ลงลายมือชอื่ (นายก ผสู้ ง่ั ต้งั ) -ประธาน :สำเนา สว.๑ + หลักฐานการ
๒. บนั ทึกการแจ้ง ลง ว/ด/ป/สถานที่ + ทราบ/ถือว่าทราบ สว.๑ + เอกสาร
ลงลายมือชื่อผูแ้ จ้ง + ลงลายมอื ชื่อพยานท่ี แจง้ 2 ทาง หลักฐานประกอบ + ลงลายมอื ช่ือ
รู้เหน็ และ ว/ด.ป.
๓. ส่งทาง ปณ. ลงทะเบียนตอบรับฯ -กรรมการ : สำเนา สว.๑
1. ผถู้ ูกกลา่ วหา ๒. แจ้งคณะกรรมการฯ
การพิจารณาความผิด ข้อ ๗๕
๑. การพิจารณาวนิ ิจฉัยว่า ผถห. ได้กระทำความผดิ หรือไม่
ถา้ กระทำเป็นความผดิ ฐานใด ตามข้อใด
๒. ตอ้ งกระทำโดยบุคคลผ้มู อี ำนาจตามกฎหมาย กก.สอบสวน
นายก อปท
การพจิ ารณา
ความผิด ก.จงั หวัด
๓. พึงกระทำเมอ่ื ไดข้ อ้ เทจ็ จรงิ เปน็ ยตุ ิแลว้ (ต้องได้จากการสอบสวน)
- วนิ ัยอยา่ งรา้ ยแรง ตอ้ งตง้ั กก.สอบสวน
- วินยั ไม่ร้ายแรง ตอ้ งมกี ารสอบสวน (ตามวิธีการทเี่ ห็นสมควร)
๔. หลกั ในการพจิ ารณาความผดิ
๑) หลกั นติ ธิ รรม : ตอ้ งมีกฎหมายกำหนดเปน็ ความผิด ตอ้ งมีการกระทำ
และการกระทำต้องครบองคป์ ระกอบความผิด
๒) หลักความเปน็ ธรรม : ต้องพจิ ารณาอยา่ งมสี ติ คำนึงถึงความเปน็ จรงิ
ความถูกตอ้ ง และความเหมาะ
ตัวอย่างการพจิ ารณาความผิด
กรณีศึกษา : จนท.การเงนิ รบั เงินค่าธรรมเนยี มมา ๕๐ บาท และออกใบเสรจ็ แล้วไมน่ ำส่งเงนิ อา้ งวา่ หลงลืม
ข้อเทจ็ จรงิ รบั ฟงั ไดว้ า่ ไมไ่ ดเ้ กบ็ เงินไวท้ ท่ี ำงาน แตไ่ ดน้ ำเงนิ ตดิ ตัวกลบั บา้ นปนกันเงนิ ของตนเอง กอ่ นถงึ หอ้ งพกั ได้
นำเงินจำนวนดงั กล่าวช้ือข้าว และในวันถดั มาไดเ้ งินเงนิ จำนวนดงั กล่าวมาสง่ ใชเ้ ปน็ รายรบั ของ อปท. ต้นสงั กดั
หลักนติ ธิ รรม หลักมโนธรรม
๑. มกี ฎหายกำหนดเป็นความผิดไหม
๒. มกี ารกระทำไหม ๑. พจิ ารณาโดยคำนงึ ถงึ เหตผุ ลทีค่ วรเปน็ ในแต่
๓. การกระทำครบองคป์ ระกอบไหม ละสภาพการณ์
ถ้ามกี ฎหมายกำหนดเป็นความผดิ และการกระทำครบ ๒. โดยอาศยั ขอ้ เทจ็ จรงิ และพฤติ การณ์
องค์ประกอบความผิด ถอื ว่าเปน็ ความผดิ ทางวินยั
แวดล้อม (ฐานะทางการเงิน ระยะเวลาการถอื
เหตุแห่งการออกจากราชการ ครองทรัพย์)
ถา้ พิจารณาแลว้ อาจทำใหก้ ารกระทำ
เช่นนัน้ ไมค่ รบองคป์ ระกอบความผิด
1. ตาย ไม่ผา่ นการทดลอง
2. พ้นจากราชการตามกฎหมายว่าดว้ ยบำเหนจ็ บำนาญฯ พักราชการ/ใหอ้ อกจากราชไวก้ อ่ น
3. ลาออกและไดร้ ับอนญุ าตใหล้ าออก หรอื การลาออกมผี ล*** ขาดคุณสมบตั ิ
4. ถูกสง่ั ใหอ้ อกจากราชการ
5. ถูกสั่งลงโทษปลดออก หรือไล่ออก รับบำเหนจ็ บำนาญเหตุทดแทน
-หย่อน/บกพร่อง/ประพฤติตนไมเ่ หมาะสม
-มีมลทินมัวหมอง
-รับโทษจำคุกโดยคำสัง่ ของศาล หรอื จำคุกโดยคำพิพากษาถึงทีส่ ุดให้จำคุก
ในความผดิ ทไ่ี ด้กระทำโดยประมาท หรอื ความผิดลหโุ ทษ ยงั ไม่ถึงกับต้องถูกปลดออกหรอื ไล่ออก
-รับราชการทหาร
-เจบ็ ป่วยฯ
-ไม่เลอ่ื มใสการปกครองฯ
-กรรมการ/ จนท.พรรคการเมือง
-ไมม่ ีประสทิ ธิภาพ
การลาออกจากราชการ
(มาตรฐานทว่ั ไปเกี่ยวกับการให้ออกจากราชการ หมวด ๔)
๑. ตอ้ งทำเปน็ นส. ตามแบบ ลก.1 ย่ืนต่อนายก อปท. (ข้อ ๒๔ ว ๑)
๒. เมอ่ื ไดร้ บั นส.ขอลาออก ให้นายก บันทกึ วนั ที่ย่นื นส. ไวเ้ ป็นหลกั ฐาน และพิจารณา(ขอ้ ๒๖)
หลัก ให้ยนื่ ลว่ งหน้าก่อนวนั ขอลาออกไม่น้อยกว่า ๓๐ วนั
(ข้อ ๒๔ ว ๒) “วันขอลาออกคือวันทข่ี อ”
การพจิ ารณา ข้อยกเวน้ ย่นื ล่วงหน้ากอ่ นวนั ขอลาออกน้อยกว่า ๓๐ วนั
วันขอลาออก (ขอ้ ๒๔ ว ๓+ ๒๕)
นายก เหน็ วา่ มีเหตผุ ล/ความจำเปน็ + อนญุ าตเปน็ ลายลกั ฯ ให้ย่นื ลว่ งหน้า
ไปสอบฯ/ดำรงตำแหนง่ องค์กรอสิ ระ, การเมอื ง, นอ้ ยกว่า ๓๐ วัน + อนญุ าตใหล้ าออกตามวันที่ขอลาออก
ผพู้ ิพากษา/ตลุ าการ,กรรมการฯ,เลือกต้ัง (ขอ้ ๒๖ -๒๗) “วนั ขอลาออกคอื วนั ทีข่ อ”
ไม่ระบวุ นั ขอลาออกหรอื ย่ืนลว่ งหน้าฯ นอ้ ยกว่า ๓๐ วนั +นายกไม่อนุญาตฯ
“ถือวา่ วนั ถดั จากวนั ครบกำหนด ๓๐ วันนบั แต่วนั ยื่น “เปน็ วนั ขอลาออก”
ยื่นอยา่ งชา้ ภายในวนั ขอลาออก
๓. การพิจารณา (ข้อ ๒๔ - ๒๘) มีผลในวนั ท่ขี อ
นายก อนญุ าต
ก.จงั หวัด เห็นชอบ นายก ออกคำสงั่ (ลก.๓) นายก ออกคำส่งั (ลก.๓
นายก ยับยัง้ การลาออกมผี ลตงั้ แต่วนั ถัดจาก
วันครบกำหนด ๙๐ วนั
-ยับยง้ั ได้ ๙๐ วันนบั แต่วนั ขอลาออก
-ทำได้คร้งั เดยี ว **ขอ้ ๒๘**
-ขยายเวลาไม่ได้ หากประสงค์ขอถอน/ระงับการลาออก
-แจ้งยบั ยัง้ กอ่ นวันขอลาออกมีผล ต้องย่ืนหนงั สือขอฯ ตอ่ นายกก่อนวันลาออกมผี ล
นะจ๊ะ
23. วิชาความรู้เกยี่ วกบั การยา้ ย การโอน การรบั โอนของข้าราชการสว่ นทอ้ งถนิ่ : วนั เสาร์
ท่ี 5 พฤศจิกายน 2565 เวลา 09.00-16.00 น. (วิทยากร : อ. บรุ ณี แพรโรจน)์ รายละเอียดดงั นี้
แนวทางการยา้ ย การโอน การรบั โอน การโอนลดระดับตำแหน่ง
การโอนและการรับโอนในระบบแทง่ ตามหนงั สอื สานักงาน ก.จ. ก.ท. และ ก.อบต. ท่ี มท 0809.2/ว48
ลงวันที่ 13 พฤษภาคม 2562 เรอื่ ง มาตรฐานทั่วไปเกีย่ วกบั หลกั เกณฑแ์ ละเงอ่ื นไขการคดั เลือกการบรรจแุ ละแต่งต้ัง
การย้าย การโอน การรบั โอน การเลอื่ นระดับ และการเลื่อนข้นั เงินเดือน พ.ศ. 2562 ลว 18 เม.ย. 62
(ตามมติในการประชมุ ครง้ั ที่ 10/2561 เมอ่ื วันท่ี 25 ต.ค. 61)
การโอนและรบั โอน การโอนและรบั โอน
พนกั งานสว่ นทอ้ งถ่นิ ขา้ ราชการประเภทอ่ืน
การโอนและรบั โอนพนกั งานส่วนทอ้ งถ่ิน โดยความสมัครใจ
1. การโอนและรบั โอนผู้สอบแข่งขนั ได้ ผสู้ อบคดั เลือกได้ หรอื ผ้ไู ดร้ ับการคัดเลอื ก ตามเงอื่ นไขที่ ก.กลาง
กำหนด
2. การโอนและรบั โอนในตำแหนง่ ประเภท สายงาน ระดบั และตำแหน่งเดียวกนั ในตำแหน่งทว่ี ่าง
3. การโอนและรบั โอนสับเปลย่ี นกันในตำแหนง่ ประเภท สายงาน ระดับ และตำแหนง่ เดมิ ระหวา่ งอปท.
4. การโอนและรบั โอนตำแหนง่ ประเภทสายงาน และระดบั เดิม โดยตำแหน่งตำ่ กว่าเดมิ หรือประเภท สายงานเดิม
โดยระดับต่ำกวา่ เดิม
5. การโอนและรบั โอนตำแหนง่ ประเภทสายงาน และระดบั เดิม โดยตำแหน่งตำ่ กว่าเดิมแล้วโอนหรือยา้ ยไปแต่งตง้ั
ในตำแหน่งเดมิ
การโอนและรบั โอนในตำแหนง่ ประเภท สายงาน ระดบั และตำแหนง่ เดียวกัน ในตำแหน่งท่ีว่าง
เทศบาลรับโอน ขา้ ราชการ อบจ ตำแหนง่ ประเภท สายงาน ระดบั และตำแหนง่ เดยี วกนั
กับตำแหนง่ ที่ว่าง
พนักงาน
สว่ นตำบล นายกทง้ั สองแห่งตกลงยินยอมการโอน เมอื่ ก.ท.จ.
ให้ความเหน็ ชอบ ให้นายกเทศมนตรีออกคาสง่ั รบั โอน
พนกั งานเมอื ง ได้รบั อัตราเงนิ เดอื นเท่าเดมิ และให้แจง้ คำสัง่ รบั โอนให้ อปท.
พัทยา ทเ่ี ก่ียวขอ้ งออกคำสง่ั ใหโ้ อนโดยต้องมผี ลในวันเดียวกัน
การรับโอนขา้ ราชการประเภทอนื่ ดำเนินการได้ ดังนี้
1.การรบั โอนผสู้ ิบแข่งขนั ได้ ผูไ้ ดร้ บั การคัดเลอื กเหตุพิเศษในวฒุ ิที่ ก.กลางกำหนด โดยให้ดำรงตำแหนง่ ที่
สอบแขง่ ขันได้ หรอื ได้รับการคดั เลือกน้นั ทงั้ นเ้ี ป็นตามเงอื่ นไขที่ ก.กลางกำหนด
2. การรับโอนขา้ ราชการประเภทอื่นซงึ่ มลี ักษณะงานเทยี บเคียงไดก้ บั ตำแหนง่ บรหิ าร
3.การรบั โอนขา้ ราชการประเภทอนื่ ในตำแหนง่ ประเภทท่ัวไปและประเภทวิชาการ
การรบั โอนขา้ ราชการประเภทอนื่ ซง่ึ มลี กั ษณะงานเทียบเคียงได้กบั ตำแหนง่ บรหิ าร
เสนอความเห็นชอบ ก.จงั หวัด ต้องชแ้ี จงเหตุผลความจำเปฯ้ ความรูค้ วามสามารถประสบการณ์ทำงาน และ
ความหชนำงั นสาือญรบัแรลอะงคทวอี่าอมกชโำดนยาผญู้มกอี าำรนขาอจงใผนู้ขกอาโรออนอกแคลำะสปง่ัรบะรโยรจชุแนต์ท่ง่ที ตางั้ งตราามชทกก่ีารฎจหะมไาดยร้ กับารบริหารบคุ คลของข้าราชการ
ประเภทน้นั ๆ กำหนดวา่ ผนู้ นั้ มลี กั ษณะงานเทยี บเคยี งได้กบั ตำแหน่งบรหิ ารท่จี ะรบั โอน
รบั โอนและแตง่ ตง้ั จากผู้ไดร้ บั การคัดเลอื กใหม้ าดำรงตำแหนง่ ในประเภท สายงาน และระดบั สงู
กว่าเดมิ
หลกั เกณฑก์ ารคดั เลอื ก และวิธกี ารคดั เลอื กเพือ่ รบั โอน ใหน้ ำหลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารคัดเลอื กสำหรับตำแหน่ง
สายงานผบู้ ริหารเพ่ือเลอื่ นให้มรี ะดบั สงู ข้ึนในหมวด 1 วธิ ีการคดั เลอื กมาใช้บงั คับโดยอนโุ ลม
มาตรฐานทว่ั ไปการสอบคดั เลือกและการคัดเลอื กตำแหนง่ สายงานผบู้ รหิ าร
การสรรหาตำแหนง่ บริหารท่ีวา่ ง ตามมาตรฐานท่วั ไปเกยี่ วกบั การสอบคัดเลอื กและการคัดเลอื ก
พนกั งานส่วนทอ้ งถ่นิ ให้ดำรงตำแหนง่ สายงานผบู้ รหิ าร พ.ศ. 2560และทแ่ี ก้ไขเพมิ่ เตมิ
- เมือ่ ตำแหน่งสายงานผบู้ รหิ ารว่าง รายงานตำแหนง่ วา่ งตอ่ สำนักงาน ก.จงั หวัด ภายใน 15 วัน เวน้ แตก่ รณี
เกษียณอายรุ าชการให้รายงานล่วงหน้า 60 วนั
- ยา้ ย โอน รับโอน โอนลดระดบั คดั เลือกเพื่อรบั โอน กลบั เข้ารบั ราชการ เสนอชอื่ สานักงาน ก.จงั หวดั
ภายใน 60 วัน นับแต่ตำแหนง่ วา่ ง ให้ ก.กลาง หรือ ก.จังหวัด สรรหา LOCK ตำแหน่ง
- เกนิ 60 วัน รายงาน ก.กลาง สรรหา หรอื ก.จงั หวัด สรรหา แล้วแตก่ รณี ก.จังหวัด อาจรอ้ งขอให้ ก.กลาง เป็น
ผ้ดู าเนินการ สรรหาแทนได้
การคัดเลือกเพื่อรับโอน
อปท.แต่งตง้ั กรรมการคัดเลือก ไม่น้อยกว่า 7 คน ผู้ทรงคณุ วฒุ ิใน ก.จงั หวัด ๑ คน เปน็ ประธาน =
ผู้แทนสว่ นราชการใน ก.จว. ๒ คน, ผทู้ รงคณุ วุฒิท่ี ชช.งานสอบ ๑ คน, นายก อปท. ,หรือผแู้ ทนนายก
ท้องถ่ินจงั หวดั ,ผูแ้ ทนพนกั งาน เป็น กก.และเลขา คณะกรรมการอาจแตง่ ตั้งกรรมการสอบสมั ภาษณ์
ประเมนิ ความเหมาะสม
การรบั โอนข้าราชการประเภทอ่ืนในตำแหนง่ ประเภททว่ั ไป และประเภทวชิ าการ
1. นายกและสว่ นราชการอน่ื ไดต้ กลงยนิ ยอมในการโอน
2. เสนอความเหน็ ชอบ ก.จงั หวัด ตอ้ งขแ้ี จงเหตผุ ลความจาเปน็ ความรู้ความสามารถ ประสบการณ์ทางาน
และความชานาญและความชำนาญการของผู้ขอโอน และประโยชนท์ ีท่ างราชการจะได้รบั
3. เมือ่ ก.จังหวดั เห็นชอบแลว้ ใหน้ ายกออกคาสงั่ รบั โอน
4. การแต่งตั้งให้มาดำรงตำแหน่งในประเภท สายงานและระดบั ใด และให้ไดร้ บั เงนิ เดือนเท่าใด เป็นไปตามที่
ก.จงั หวัด กำหนด
ทั้งน้ี การโอน และการย้าย กรณดี งั กล่าวข้างต้น ขา้ ราชการหรือพนักงานสว่ นท้องถนิ่ ผู้นน้ั ต้องมีคุณสมบตั ติ รงตาม
คณุ สมบัตเิ ฉพาะสำหรับตำแหน่งที่จะแต่งต้งั และตรงตามความรู้ ทักษะ สมรรถนะ รวมถึงระยะเวลาขั้นต่ำในการดำรงตำแหนง่
ในตำแหนง่ นั้นด้วย โดยตอ้ งผ่านการประเมินบุคคลและการปฏิบตั ิงานหรอื ผลงานตามประกาศมาตรฐานท่ัวไปเก่ียวกบั การยา้ ย
ขา้ ราชการและพนักงานส่วนท้องถิ่น
การยา้ ยไปดำรงตำแหนง่ ตา่ งสายงาน
สายงานผปู้ ฏบิ ัติ •การสอบคดั เลือกเปล่ยี นประเภททว่ั ไป
(ดำเนนิ การเองได้) เปน็ วชิ าการ
สายงานผบู้ รหิ าร •การสอบคดั เลือกบริหารตา่ งสายงาน
(ดำเนินการเองไมไ่ ด)้ •สรรหาตามคำสั่งคสช.
กระบวนการ
รบั สมัครไมน่ อ้ ยกวา่ 15 วนั ทำการ
ประกาศ รบั สมัครสอบ รับสมคั ร ไมน่ ้อยกว่า 10 วันทำการ
ให้ทราบอยา่ งทวั่ ถึง ประกาศรายช่อื ไม่น้อยกว่า 10 วนั ทำการ
สอบ
การพจิ ารณาระยะเวลาเก้อื กูลเพ่ือการเลื่อนระดับ/ การย้าย/การโอน/การรบั โอน (ว 61 ลงวนั ที่ 29 ธนั วาคม 2558)
1. กำหนดงานทเ่ี กยี่ วข้อง กรณีคุณสมบัตเิ ฉพาะตำแหนง่ กาหนดใหเ้ ปน็ ผปู้ ฏิบตั ิงานหรอื งานอน่ื ท่เี กี่ยวขอ้ งมาแล้ว
ไม่นอ้ ยกว่า 1 ปี
2. กำหนดตำแหนง่ ท่ีมหี น้าที่ความรบั ผดิ ชอบเกย่ี วขอ้ งเก้อื กลู กนั โดยนาระยะเวลาดารงตำแหนง่ ในสายงานอนื่ ทีเ่ รม่ิ ตน้ จาก
ประเภทเดยี วกนั เป็นระยะเวลาขน้ั ต่ำ ในการเล่ือนระดบั สงู ขึ้น
3. การเลือ่ นระดบั ประเภทวิชาการ ใหน้ ำระยะเวลาประเภททั่วไปมานบั รวมเป็นระยะเวลาขั้นต่ำได้
- ต้องดำรงตำแหนง่ ในสายงาน และปฏิบตั ิหน้าที่ในตำแหน่งทจ่ี ะแต่งตงั้ มาแลว้ ไม่นอ้ ยกว่า 1 ปี
- นบั ระยะเวลาประเภททัว่ ไปได้ไม่ก่อนวันทม่ี วี ฒุ ปิ รญิ ญา และดำรงตำแหนง่ ระดบั ชำนาญงานข้นึ ไป
- นบั ระยะเวลาไดค้ รง่ึ หนง่ึ
รูปภาพฝึกอบรมหลักสูตร “นกั ทรพั ยากรบุคคล รุ่นท่ี 29”
ระหวา่ งวนั ท่ี 17 ตลุ าคม - 6 พฤศจิกายน 2565
กจิ กรรมเคารพธงชาติ
กจิ กรรมในห้องเรยี น/การนำเสนอ
กจิ กรรมสกั การะสิ่งศักดส์ิ ทิ ธิ์
กจิ กรรมกีฬาสี
กจิ กรรมการออกกำลังกาย
กจิ กรรมศกึ ษาดูงานนอกสถานท่ี
กจิ กรรมปจั ฉมิ นเิ ทศ
กิจกรรมจติ อาสา
กิจกรรมกลมุ่