The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

SAR อนุบาลตาก ปีการศึกษา 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by mimm_jewpanya, 2022-05-27 02:18:09

SAR อนุบาลตาก ปีการศึกษา 2564

SAR อนุบาลตาก ปีการศึกษา 2564

ความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษา

การพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจำปีการศึกษา 2564 สถานศึกษามีภาระหน้าที่จะต้องดำเนินการ
ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ที่กำหนดไว้ชัดเจนในมาตรา 48 ให้สถานศึกษา มีการจัดทำ
รายงานพัฒนาคุณภาพเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัดเป็นประจำทุกปี ดังนั้นโรงเรียนอนุบาลตาก จึงได้ดำเนินการ
ประชุมหารือคณะกรรมการสถานศึกษาและคณะครู ตลอดได้แนวปฏิบัติ พร้อมทั้งได้ดำเนินการรวบรวมข้อมูล
ผลงาน ซึ่งทางโรงเรียนได้ดำเนินกิจกรรม ตามสาระการเรียนรู้ ตลอดจนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน
ทุกชั้นในรอบปีการศึกษา การจัดทำรายงานประจำปีของ สถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2564 คณะกรรมการ
สถานศกึ ษา ไดใ้ หค้ วามเห็นชอบและผา่ นความเหน็ ชอบ ของคณะกรรมการสถานศกึ ษาเป็นท่ีเรยี บร้อยแล้ว

(นางพนดิ า จนั ทร์วไิ ลนคร)
ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พน้ื ฐาน

โรงเรยี นอนุบาลตาก
วันที่ 23 พฤษภาคม 2565

คำนำ

รายงานการประเมินตนเองตนเองของสถานศึกษา เป็นการสรุปผลการจัดการศึกษาที่สะท้อนผลการ
พัฒนาการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา ซึ่งเป็นผลสำเร็จจากการบริหารจัดการศึกษาที่สอดคล้องกับมาตรฐาน
การศึกษาขั้นพ้ืนฐานและการศึกษาปฐมวัย พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 ฉบับที่ 2
ได้กำหนดความมุ่งหมายและหลักการในด้าน คุณภาพการศึกษาตามหมวด 6 มาตรฐานและการประกันคุณภาพ
การศึกษา มาตรา 48 กำหนดให้หน่วยงานต้นสังกัด และสถานศึกษา จัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายใน
และถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของ กระบวนการบริหารการศึกษาที่ต้องดำเนินการ
อย่างต่อเนื่อง โดยมีการจัดทำรายงานประจำปีเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเปิดเผย
ต่อสาธารณชน เพื่อนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา และเพื่อรองรับการประเมินคุณภาพ
ภายนอก

โรงเรียนอนุบาลตาก จัดทำรายงานคุณภาพการศึกษาประจำปีขึ้น โดยแต่งตั้งคณะทำงาน ประเมินผล
การดำเนินงานของโรงเรียนในรอบปีที่ผ่านมา ตามมาตรฐานและค่าเป้าหมายที่ตั้งไว้หวังเป็นอย่างยิ่งว่าข้อสรุป
จากการนำเสนอในการประเมินตนเอง จะเป็นสารสนเทศที่สถานศึกษาจะนำไปพัฒนาสถานศึกษาให้ได้คุณภาพ
ตามมาตรฐานและดียิ่งขนึ้

........................................

( นางสมพิศ เกดิ นวล )
ผอู้ ำนวยการโรงเรียนอนุบาลตาก

สารบญั หน้า

คำนำ 1
สารบญั
ส่วนท่ี 1 บทสรปุ ของผู้บรหิ าร 1
1
ตอนที่ 1 ข้อมูลพืน้ ฐาน
ตอนที่ 2 การนำเสนอผลการประเมินตนเอง 3

สว่ นท่ี 2 ขอ้ มูลพน้ื ฐาน 3
8
1. ข้อมลู พ้นื ฐาน 8
2. ขอ้ มลู พนื้ ฐานแผนพฒั นาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา 9
3. ผลการดำเนนิ งานตามแผนปฏิบตั กิ ารประจำปีของสถานศึกษา 15
4. ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนของผู้เรยี น 16
5. นวัตกรรม/แบบอย่างทด่ี ี (Innovation/Best Practice) 17
6. รางวลั ท่ีสถานศึกษาได้รับ 17
7. ดำเนนิ งานตามนโยบายกระทรวงศกึ ษาธกิ ารและนโยบายสพป.ตาก เขต 1 17
8. ผลการประเมินคุณภาพภายนอกของ สมศ. ทผี่ ่านมา 18
9. หนว่ ยงานภายนอกที่โรงเรียนเขา้ ร่วมเป็นสมาชิก 18
ส่วนที่ 3 ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา 37
1. ผลการประเมินรายมาตรฐาน 41
2. สรปุ ผลการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา 41
3. จุดเดน่ 42
4. จุดควรพัฒนา 42
5. แนวทางการพฒั นา 42
6. ความตอ้ งการชว่ ยเหลือ 44
7. ความโดดเดน่ ของสถานศกึ ษา (ถ้าม)ี
ภาคผนวก

(1

ส่วนที่ 1
บทสรุปของผบู้ รหิ าร

ตอนที่ 1 ข้อมูลพ้นื ฐาน
โรงเรียนอนบุ าลตาก รหสั โรงเรียน 1063160001 ทตี่ ั้งเลขที่ 99/8 หม่ทู ี่ 9 แขวง/ตำบลน้ำรึม

เขต/อำเภอเมืองตาก จังหวัดตาก สังกดั สำนักงานคณะกรรมการสง่ เสรมิ การศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน โทรศพั ท์ 055-513600
email [email protected] website htt://www.anubantak.ac.th ได้รับอนุญาตจัดต้ังเม่ือ
วนั ท่ี 24 มิถนุ ายน 2486 เปิดสอนระดับชน้ั อนบุ าล 1 ถงึ ระดับช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 6
ช่ือผู้บริหารโรงเรยี น นางสมพศิ เกิดนวล เบอรโ์ ทรศัพท์ 087-573-5502 E-mail : [email protected]
จำนวนบคุ ลากรโรงเรยี น 140 คน จำแนกเป็นผูบ้ ริหาร 3 คน ขา้ ราชการครู 63 คน พนกั งานราชการ 1 คน
ครูอัตราจา้ ง 51 คน เจา้ หน้าท่อี นื่ ๆ 22 คน
จำนวนนกั เรียน รวม 1,688 คน จำแนกเปน็ ระดับปฐมวัย 417 คนระดับประถมศึกษา 1,271 คน

ตอนท่ี 2 การนำเสนอผลการประเมนิ ตนเอง
ระดบั ปฐมวยั

1) มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย ระดับคณุ ภาพ ยอดเย่ียม
2) หลักฐานสนับสนนุ ผลการประเมนิ ตนเองตามระดบั คุณภาพ

2.1 แบบสรปุ ผลการประเมินพฒั นาการเด็กปฐมวยั
2.2 รายงานผลการจัดกจิ กรรมโครงการบ้านวทิ ยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย
3) โรงเรียนมแี ผนจะพฒั นาตนเองต่อไปอยา่ งไรให้ได้ระดับคุณภาพทดี่ ีขึ้นกว่าเดมิ 1 ระดับ
3.1 แผนปฏบิ ัตงิ านท่ี 1 พฒั นาศักยภาพของเดก็ ปฐมวยั
3.2 แผนปฏิบัตงิ านที่ 2 พัฒนาสิง่ แวดลอ้ มอาคารและสถานที่
4) นวัตกรรม/แบบอยา่ งท่ีดี
4.1 โครงการบ้านวทิ ยาศาสตร์นอ้ ย ประเทศไทย
4.2 รางวลั เกียรติยศ “TAK 1 Awards” สาขาครผู ูส้ อน กลุ่มปฐมวยั โรงเรียนขนาดใหญ่
5) ความโดดเด่นของสถานศกึ ษา
5.1 โครงการหอ้ งเรยี นพิเศษ
5.2 โครงการบา้ นวทิ ยาศาสตรน์ อ้ ย ประเทศไทย ปี 2561-2565
6) โรงเรียนได้ดำเนินงานตามนโยบายกระทรวงศึกษาธกิ าร
6.1 โรงเรยี นสุจริต
6.2 โครงการสถานศึกษาปลอดภยั =

(2

ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน
ด้านผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นมุ่งเนน้ ให้ นกั เรียนมีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสอ่ื สาร การคิด

คำนวณ รวมทัง้ การมีผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน ตามหลกั สตู รสถานศกึ ษา มีความสามารถในการวิเคราะห์ คิดอยา่ งมี
วจิ ารณญาณ มคี วามสามารถในการสรา้ ง นวตั กรรม การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การสอ่ื สาร และการมีความรู้
ทักษะพ้นื ฐาน เจตคตทิ ี่ดีต่องานอาชพี

ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนมุ่งเน้นให้ผู้เรีย นมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดี ต ามที่
สถานศึกษากำหนด และมีสุขภาวะทางร่างกายและสงั คม ความภูมิใจในท้องถิ่น และความเป็นไทยการยอมรับ ท่ี
จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย ประเด็นภาพความสำเร็จด้านคุณภาพผู้เรียนสถานศึกษามีการ
วิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและได้ กำหนดเป็นเป้าหมายทางการเรียนโดยใช้ข้อมูลฐาน 3 ปีย้อนหลังเป็น
เปา้ หมายคณุ ภาพนักเรียนให้พัฒนาสงู ขน้ึ จดั กจิ กรรมการเรียนการสอนเน้นการปฏิบัติ เนน้ ทกั ษะในการอ่าน การ
เขียน และการคิดคำนวณ ส่งเสริม ผู้เรียนให้พัฒนาเต็มศักยภาพ จัดแหล่งเรียนรู้ภายในให้เหมาะสม มีสื่อด้าน
เทคโนโลยีที่ทันสมัย จัดกิจกรรม ให้ผู้เรียนมี สุขภาพกาย สุขภาพจิตดี มีความกล้าแสดงออก และสามารถอยู่
ร่วมกับผู้อนื่ อย่างมีความสุข ผเู้ รียนมีทกั ษะการทำงานร่วมกัน การอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณ
เปน็ ไป ตามเกณฑ์ที่โรงเรียนกำหนดในแต่ระดบั ชั้น จากการประเมินนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1-6 ผลการอ่าน
ออก เขียนไดอ้ ยู่ในระดับดีเย่ียม นักเรยี นมีความสามารถในการใช้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ มคี วามสามารถใน
การรวบรวมความรู้ได้ทั้งด้วยตนเอง นักเรียนมีคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด มีผล
การอ่านคดิ วิเคราะหแ์ ละเขียนผ่านเกณฑ์ท่ีสถานศึกษา กำหนด ดา้ นผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนมผี ลสัมฤทธ์ิทางการ
เรียนตามหลกั สูตรสถานศึกษา มีความสามารถในการวเิ คราะห์ คิดอย่างมวี จิ ารณญาณ มีความสามารถในการสร้าง
นวัตกรรม การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่อสาร และ การมีความรู้ ทักษะพื้นฐาน เจตคติที่ดีต่องานอาชีพ
สำหรับด้านคณุ ลักษณะอันพึงประสงคข์ องผู้เรียนมุ่งเน้น ให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษา
กำหนด และ มีสุขภาวะทางร่างกายและสังคม ความภูมิใจในท้องถิ่นของตนเอง และความเป็นไทยการยอมรับ
ทจี่ ะอยรู่ ว่ มกันบนความแตกตา่ ง

ภาพความสำเร็จด้านคุณภาพผู้เรียน นักเรียนมีทักษะเป็นไปตามเกณฑ์ที่โรงเรียนกำหนดในแต่
ระดับชั้น มีการ เชื่อมโยงองค์ความรู้ นักเรียนสามารถจัดทำโครงงาน ชิ้นงาน ผลผลิตความสามารถในการใช้
เทคโนโลยี มีการพัฒนาตนเอง มีเจตคติที่ดีพร้อมที่จะศึกษาต่อในระดับชั้นที่สูงขึ้น เคารพในกฎกติกา มีค่านิยม
และมีความภูมิใจในท้องถิ่นของตน เห็นคุณค่าของความเป็นไทย ผู้เรียนยอมรับการอยู่ร่วมกันบนความแตกต่าง
ระหว่างบุคคล มีการรักษาสุขภาพกาย สุขภาพจิต อารมณ์ และสังคม แสดงออกอย่างเหมาะสมในแต่ละช่วงวัย
โรงเรียนอนุบาลตากมีการดำเนินการมีการกำหนดเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจอย่างชัดเจนในการดำเนินการ
พัฒนาวิชาการที่ เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้าน ตามหลักสูตรสถานศึกษาทุกกลุ่มเป้าหมาย จัดทำ แผนพัฒนา
คุณภาพจัดการศึกษา ดำเนินงานพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญ ทางด้านวิชาชีพ ตามความต้องการ
ของครูและสถานศึกษา จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ
และจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการเรียนรู้ที่ เหมาะสมกับสภาพของ
โรงเรียน สอดคล้อง ความต้องการของชมุ ชน ทอ้ งถ่นิ รวมทั้งทันตอ่ การเปลยี่ นแปลงของสงั คมมีระบบการบริหาร
จัดการคุณภาพอย่างเป็นระบบ ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และปรับปรุง พัฒนางานอย่างต่อเนื่อง
มีการบริหารอัตรากำลัง ทรัพยากรทางการศึกษา และระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน มีการนิเทศภายใน นำข้อมูล
มาใช้ในการพัฒนาบุคลากร และผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนในการวางแผน ปรับปรุง พัฒนาและร่วมกันรับผิดชอบ
ต่อการจัดการศึกษามกี ารบรหิ ารจัดการเกีย่ วกบั งานวิชาการ พฒั นาหลักสูตร กิจกรรมเสรมิ หลักสูตรทีเ่ นน้ คณุ ภาพ
ผู้เรียนรอบด้าน เชื่อมโยงวิถีชีวิตจริง มีการส่งเสริมสนับสนุน พัฒนาครูและบุคลากรตรงตามความต้องการและ

(3

จัดให้มีชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ มาใช้ในการพัฒนางาน และการเรียนรู้ของผู้เรียนจัดสภาพแวดล้อม
ทางกายภาพ ภายในและภายนอก

ห้องเรียน และสภาพแวดล้อม ทางสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ของผู้เรียนอย่างมีคุณภาพ มีความ
ปลอดภัยจัดระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ สนับสนุนการบริหารจัดการ และการจัดการเรียนรู้ท่ีเหมาะสมกับสภาพ
ของโรงเรยี น จัดหา พฒั นาและบริการดา้ นเทคโนโลยี สารสนเทศ จัดใหม้ ีหอ้ งปฏบิ ัตกิ ารคอมพิวเตอรเ์ พื่อใช้ในการ
บริหารจดั การ และการจดั การเรียนรู้อย่างเหมาะสม ด้านกระบวนการจดั การเรียนการสอนที่เนน้ ผู้เรียนเป็นสำคัญ
โดยการดำเนินงาน/โครงการ/ กิจกรรม อย่างหลากหลาย มุ่งส่งเสริมให้ครูจัดการเรียนการสอนเน้นการปฏิบัติ
(Active learning) ให้ผู้เรียน ผ่านกระบวนการคิด ปฏิบัติจริง เพื่อนำไปสู่การเรียนรู้ที่ลึกซึ้งและคงทน
ตามมาตรฐานและตวั ชว้ี ดั ของ หลักสตู รสถานศกึ ษา ให้นกั เรยี นมีสว่ นรว่ ม ครรู จู้ กั ผู้เรยี นเปน็ รายบุคคล ดำเนนิ การ
ตรวจสอบและประเมิน ผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผู้เรียน รวมทั้งร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และ
นำผลที่ได้มาปรับปรุง การจัดการเรียนรู้ ครูมีแผนการจัดการเรียนรู้ที่สามารถนำไปใช้จัดกจิ กรรมได้จริง ครูใช้ส่อื
และแหล่งเรยี นรู้ มี การบริหารจัดการชั้นเรียนเชงิ บวก เพื่อให้เด็กรักการเรียนรู้และเรียนรู้ร่วมกันอย่างมีความสุข
ครูร่วม แลกเปลี่ยนเรียนรู้และนำข้อมูลมาร่วมพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนรู้และสอนตามแผน ครูผลิต
นวตั กรรม จัดทำแผนการจดั การเรียนรู้ จัดทำโครงสร้างรายวชิ า หนว่ ยการเรียนรู้ลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู้ กำหนด
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่สอดคล้องกับหน่วยการเรียนรู้ สนับสนุนให้ครูจัดการเรียน การสอนที่สร้างโอกาส
ให้นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วม ได้ลงมือปฏิบัติจริงจนสรุปความรู้ได้ด้วยตนเอง จัดการเรียนการสอนที่เน้นทักษะ
การคิด เช่น จัดการเรียนรู้ด้วยโครงงาน ครูใช้สื่อการเรียนการสอน นวัตกรรมและ เทคโนโลยี ภูมิปัญญาท้องถ่ิน
มีการจัดทำวิจัยในชัน้ เรียน ปีการศึกษาละ 1 เรื่อง นักเรียนสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ นักเรียน
ได้แสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากสื่อท่ี หลากหลาย ครูมีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก เน้นการมีปฏิสัมพันธ์
ระหว่างเด็ก กับครู เด็กกับเด็ก นักเรียนสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข ใช้เครื่องมือ วิธีการวัดและ
ประเมินผลที่เหมาะสมและหลากหลาย พร้อมทั้งนำผลไปใช้พัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน ครูผู้สอนร่วมกัน
แลกเปล่ียนความร้แู ละประสบการณ์ (PLC) เป็น ชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้เพ่ือนำไปพัฒนาการจดั การ

1) มาตรฐานการศึกษาระดบั การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ระดบั คุณภาพ ดีเลิศ
2) หลักฐานสนบั สนุนผลการประเมนิ ตนเองตามระดับคุณภาพ

2.1 แผนปฏบิ ตั ิการประจำปีการศกึ ษา 2564
2.2 แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา
2.3 แผนยกระดบั ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน
2.4 แบบรายงานผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน
2.5 แบบรายงานใชส้ อื่ เทคโนโลยีสารสนเทศและแหลง่ เรยี นร้ทู เ่ี อ้ือตอ่ การเรียนรู้
2.6 ผลการดำเนนิ งานตามแผนปฏิบตั ิการประจำปีของสถานศึกษา
2.7 การสร้างนวัตกรรม/แบบอย่างทด่ี ี (Innovation /Best Practice ) เพื่อนำมาใช้ในการปฏิบตั ิ
เพอื่ แกป้ ัญหาหรือเพือ่ การพฒั นาของผู้เรียน
2.8 รางวัลต่างๆที่สถานศึกษาได้รบั
3) โรงเรยี นมแี ผนจะพฒั นาตนเองตอ่ ไปอยา่ งไรให้ได้ระดับคณุ ภาพทดี่ ขี น้ึ กว่าเดมิ 1 ระดบั
3.1 แผนปฏบิ ตั งิ านท่ี 1 ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ ๘ กล่มุ สาระ ใหส้ ูงขน้ึ
3.2 แผนปฏบิ ตั งิ านที่ 2 การจดั การเรยี นรแู้ บบ Active Learning อยา่ งต่อเนื่อง
3.3 แผนปฏิบตั งิ านท่ี 3 พัฒนาระบบประกันคุณภาพการศกึ ษาอยา่ งต่อเน่ือง
3.4 แผนปฏิบัติงานท่ี 4 กิจกรรมการจดั ทำสอ่ื การเรียนการสอน

(4

4) นวตั กรรม/แบบอยา่ งท่ีดี
ระดบั การศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน
4.1 ด้านบรหิ าร
1. รางวัลโรงเรียนคณุ ธรรม สพฐ. ระดบั 1 ดาว กิจกรรมโรงเรียนดตี อ้ งมีทย่ี ืน โครงการ

โรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ปีการศกึ ษา 2564
2. รางวลั โรงเรยี นคณุ ธรรม สพฐ. ระดับ 2 ดาว กิจกรรมโรงเรียนดีตอ้ งมที ่ียนื โครงการ

โรงเรยี นคณุ ธรรม สพฐ. ปีการศกึ ษา 2564
3. รางวลั “สถานศกึ ษาปลอดภยั ” ประจำปี พ.ศ. 2564 กรมสวัสดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน
4. รางวลั ชนะเลิศระดบั ทอง อนั ดับ 2 สถานศึกษาตน้ แบบการดำเนนิ งานระบบประกนั

คุณภาพภายในสถานศึกษา ตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพ พ.ศ. 2561 ตามโครงการประชุมพัฒนารูปแบบ
การดำเนินงานระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาตาก เขต 1 ปกี ารศกึ ษา 2564

5. รางวลั ชนะเลศิ การประกวดกิจกรรม การถอดบทเรยี น Best Practice “โรงเรยี นสจุ รติ ”
โครงการเสริมสรา้ งคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาลในสถานศกึ ษา “โรงเรยี นสจุ ริต” ประจำปีการศึกษา 2564

4.2 ด้านการเรียนการสอน:
ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 1

1. ชอ่ื เรื่อง โปรแกรมฝึกเสรมิ ทักษะคำศัพท์
2. ชอื่ เรื่อง “การอ่าน คดิ วเิ คราะห์ และเขยี นโดยใชก้ จิ กรรรมฐานการเรยี นรู้”
3. ชื่อเรื่อง มารค์ เกอร์คนจน
4. ชื่อเรอ่ื ง การพัฒนาทักษะการอา่ นและการออกเสียงภาษาองั กฤษ
ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 2
1. ช่อื เรอื่ ง การพฒั นาทักษะการอ่านและเขียนตามมาตราตัวสะกดโดยใชแ้ บบฝกึ
2. ชื่อเรื่อง การใชช้ ดุ การสอน เร่ือง เครื่องดนตรีไทย เพ่ือใช้พฒั นาผลสมั ฤทธิ์

ทางการเรียน
3. ชื่อเรอ่ื ง การพฒั นาทักษะทางการอ่านคำควบกลำ้ โดยใช้แบบฝกึ อา่ น
4. ชื่อเร่ือง เกมฝกึ ทักษะคณิตศาสตร์ เพือ่ การพัฒนาความสามารถดา้ นคณิตศาสตร์
ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 3
1. ชื่อเรื่อง การยกระดับผลสมั ฤทธิ์การสอบประเมนิ คุณภาพการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน

(NT: National Test)
2. ชื่อเรื่อง กิจกรรมอ่านคล่อง เก่งคิด พชิ ติ ใจความสำคัญ เปน็ กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน
3. ชอ่ื เรอ่ื ง คอมพวิ เตอร์น่ารู้ สู่ยุค ICT
ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 4
1. ชอ่ื เรอ่ื ง แบบฝกึ ท่าทางพื้นฐานกจิ กรรมเขา้ จังหวะ
2. ชอ่ื เรื่อง แบบฝกึ ทักษะการอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษโดยใช้เกม
3. ชอ่ื เรื่อง การแกโ้ จทย์ปญั หาเศษสว่ น
4. ชอ่ื เรื่อง การใชห้ นงั สืออเิ ล็กทรอนกิ ส์เร่ือง การตกแต่งเอกสาร
ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 5
1. ชอ่ื เรอ่ื ง การพัฒนาทักษะการอา่ น คิดวิเคราะห์และเขยี น โดยใชแ้ บบฝึกทักษะ
2. ชื่อเรื่อง ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ปรากฏการณล์ มฟา้ อากาศ
3. ชื่อเรือ่ ง แบบฝึกทักษะการเขียนคาํ ศัพท์ภาษาอังกฤษ เร่ือง Occupations

(5

4. ช่อื เรอื่ ง การพัฒนาแบบฝึกเสรมิ ทักษะคณิตศาสตร์เรื่อง บัญญตั ไิ ตรยางศ์
ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 6

1. ช่อื เรื่อง การใช้ส่ือการเรยี นการสอนเรอ่ื ง “ Present perfect Tense”
2. ชอื่ เรอื่ ง “การแกป้ ัญหาสมการ”
3. ช่อื เรือ่ ง การสอนวิทยาศาสตร์ ด้วยวธิ กี ารสอบแบบบนั ได 5 ขน้ั
4. ชือ่ เร่ือง โครงงานผา่ นเวบ็ (Web Based Project)
5) ความโดดเด่นของสถานศึกษา

5.1 ผูบ้ รหิ ารมีวิสัยทัศนท์ ี่กว้างไกล บรหิ ารงานแบบ ABTK MODLE (Active Leaning

Balance Technology Kindness ) สร้างการทำงานเป็นทมี มคี วามสัมพันธ์ที่ดตี อ่ ชมุ ชน
5.2 โครงการโรงเรียนคุณธรรม ระดับ 1 ดาว ระดับ 2 ดาว
5.3 ไดร้ ับรางวลั โรงเรยี นท่ีมีการประเมินความสามารถดา้ นการอ่านของผเู้ รยี น (Reading Test :

RT) ช้นั ป.1 NT ชั้น ป.3 ONET ชัน้ ป.6 สูงกว่าระดับชาติทุกกลุ่มสาระ
5.4 โรงเรยี นมีการบริหารจดั การอย่างเปน็ ระบบ ใชเ้ ทคนิคในการประชมุ ทห่ี ลากหลายวิธี เชน่

การประชุมแบบมสี ว่ นรว่ ม การระดมสมอง การประชมุ แบบกลุม่ ย่อย การใชเ้ ทคโนโลยใี นการสื่อสาร เพื่อใหท้ ุก
ฝา่ ยมีสว่ นรว่ มในการแกป้ ัญหา และพฒั นาผ้เู รียนให้มีคณุ ภาพตามมาตรฐานการเรียนร้ตู ามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐานและหลักสตู รสถานศกึ ษา

5.5 ครูผู้สอนครบชั้น สามารถจัดการเรียนรู้ได้อย่างมีคุณภาพ ผู้เรียนอ่านหนังสือออกและอ่าน
คล่อง รวมทั้งสามารถเขียนเพ่ือการสื่อสารได้ทุกคน สามารถใช้เทคโนโลยีในการแสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเอง ส่ง
ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนของผู้เรยี นอยู่ในระดบั ดีเยีย่ ม

5.6 ส่งเสรมิ คุณธรรมจรยิ ธรรมด้วยโครงงานบม่ เพาะคุณธรรม สร้างจติ สำนึกความมรี ะเบียบวนิ ัย
และจิตอาสา

5.7 โรงเรียนและอาคารเรียนสะอาด บรรยากาศร่มรน่ื สิง่ แวดล้อมสวยงาม มีความปลอดภัย
6) โรงเรียนไดด้ ำเนนิ งานตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ

6.1 พฒั นาหลกั สูตรสถานศึกษา และระบบประกันคุณภาพการศกึ ษาอยา่ งต่อเน่อื ง
6.2 จัดกจิ กรรมการเรยี นรู้แบบ Active Learning อยา่ งต่อเนื่อง พัฒนาทักษะการอ่านออก
เขียนได้ ผเู้ รียนเกดิ ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ ทักษะการแก้ปญั หา
6.3 สง่ เสริมคุณธรรมจริยธรรมให้เกิดกบั ผเู้ รยี น
6.4 สง่ เสริมการสร้างอาชีพ รกั การทำงาน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
6.5 สง่ เสรมิ การเรยี นรจู้ ากการต้ังคำถามจากประสบการณ์การเรียน ความเป็นกัลยาณมติ ร
ซง่ึ เป็นการแลกเปลยี่ นการเรยี นร้ผู า่ นประสบการณ์ภายในและเพื่อเปน็ พนื้ ฐานสำหรบั การพฒั นาทกั ษะการเรียนรู้
โดยอาศยั มุมมองจากนักเรยี นเรียน เปน็ การสะท้อนการจัดการเรียนรู้ของครูโดยให้ผูเ้ รยี นให้ขอ้ มูลย้อนกลบั
(feedback) การใชค้ ำถาม หรือแบบสอบถาม หรือการเขียนสะทอ้ นการคิด ไดแ้ ก่ สิง่ ทีน่ ักเรียนไดเ้ รยี นรู้
ความเช่อื มโยงสง่ิ ท่ีไดเ้ รยี นรกู้ ับประสบการณ์เดิม ประโยชน์จากการเรียนรู้ การประยุกต์ใช้ความรู้
6.6 การจดั การเรียนการสอนเพื่อฝึกทักษะการคิดแบบมีเหตผุ ลและเป็นขน้ั ตอน (Coding)

ลงนาม....................................................(ผู้อำนวยการโรงเรยี น)
(นางสมพิศ เกดิ นวล)

วันท่ี 25 เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2565

(6

ส่วนท่ี 2
ข้อมูลพ้นื ฐาน

1. ขอ้ มลู พนื้ ฐาน
1.1 โรงเรยี นอนุบาลตาก รหัสโรงเรยี น 1063160001 ทตี่ ั้งเลขท่ี 99/8 หมู่ท่ี 9 แขวง/ตำบลน้ำรมึ

เขต/อำเภอเมืองตาก จงั หวดั ตาก สงั กดั สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน โทรศพั ท์ 055-513600
email [email protected] website htt://www.anubantak.ac.th ไดร้ บั อนุญาตจัดต้ังเม่ือ
วันท่ี 24 มิถนุ ายน 2486 เปดิ สอนระดบั ชน้ั อนบุ าล 1 ถึง ระดบั ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 6
ชื่อผ้บู ริหารโรงเรียน นางสมพิศ เกดิ นวล เบอรโ์ ทรศัพท์ 087-573-5502 E-mail : [email protected]
จำนวนบคุ ลากรโรงเรยี น 140 คน จำแนกเปน็ ผูบ้ รหิ าร 3 คน ข้าราชการครู 63 คน พนักงานราชการ 1 คน
ครอู ตั ราจา้ ง 51 คน เจา้ หนา้ ทอี่ นื่ ๆ 22 คน
จำนวนนักเรยี น รวม 1,688 คน จำแนกเปน็ ระดบั ปฐมวยั 417 คนระดบั ประถมศึกษา 1,271 คน

การจดั การเรียนการสอน
 ปกติ (สามัญศึกษา)
 Mini English Program ได้รบั อนญุ าตเมอ่ื ...................................................
 English Program ได้รบั อนญุ าตเม่ือ 16 พฤษภาคม 2552

1.2 จำนวนหอ้ งเรียน/ผู้เรยี นจำแนกตามระดับที่เปิดสอน

จำนวนห้องเรียน จำนวนผเู้ รียน จำนวนผเู้ รยี นทีม่ ี
ปกติ ความตอ้ งการพิเศษ รวมจำนวน
ระดบั ท่เี ปดิ สอน หอ้ งเรียน ห้องเรยี น ห้องเรยี น
ชาย หญิง ชาย หญิง ผู้เรียน
ปกติ MEP EMS
45 57 - - 102
ระดบั ก่อนประถมศึกษา 71 79 - - 150
96 69 - - 165
อนบุ าลปที ่ี 1 31 - 212 205 - - 417

อนุบาลปที ี่ 2 41 - 107 90 - - 197
124 113 - - 237
อนุบาลปีที่ 3 41 - 123 113 - - 236
127 109 - - 236
รวม 11 3 - 86 110 - - 196
89 80 - - 169
ระดบั ประถมศกึ ษา 656 615 - - 1,271
868 820 - - 1688
ประถมศึกษาปีท่ี 1 42 1

ประถมศึกษาปีท่ี 2 41 1

ประถมศกึ ษาปีที่ 3 41 1

ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 41 1

ประถมศกึ ษาปที ่ี 5 31 1

ประถมศึกษาปีท่ี 6 30 2

รวม 22 6 7

รวมท้ังสนิ้ 33 9 7

( 7

เปรียบเทียบข้อมูลจำนวนนักเรียนปกี ารศกึ ษา 2562 , 2563 และ 2564

ปีการศกึ ษา ปฐมวัย(คน) ประถมศกึ ษา(คน)
2562 351 1,228
2563 404 1,240
2564 417 1,271

1271

1240

1400 1228

1200
417

1000

800 404 ปี 2564
ปี 2563
600 ปี 2562
351

400

200

0 ประถมศึกษา
ปฐมวยั

(8

1.3 จำนวนครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา

1.3.1 สรุปจำนวนครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา จำแนกวุฒิการศึกษาและประเภท/ตำแหน่ง

ประเภท/ตำแหนง่ จำนวนครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา รวม
ต่ำกว่า ป.ตรี ป.ตรี ป.โท ป.เอก

1. ผู้บรหิ ารสถานศึกษา

- ผ้อู ำนวยการ 11

- รอง/ผ้อู ำนวยการ 22

รวม 3 3

2. ครูระดับปฐมวัย

- ครูบรรจุ 10 3 13

- ครูตา่ งชาติ 33

3. ครูระดบั ขั้นพนื้ ฐาน

- ครบู รรจุ 28 22 50

- ครูพนักงานราชการ 1 1

- ครูอัตราจา้ งงบประมาณสพป.ตาก 1

- ครูอัตราจ้างโรงเรียนจ้าง 2 32 34

- ครูพ่ีเลยี้ งเดก็ พิการเรยี นรว่ ม 1 1

- ครูอัตราจา้ งเจ้าหนา้ ท่ี วทิ ย์ , คณติ

- อืน่ ๆ 10 10

รวม 2 85 25 112

4. บุคลากรทางการศึกษา

- เจ้าหนา้ ท่ีธรุ การ 22

- นักการภารโรง 3 3

5.อื่นๆ (ระบ)ุ ... 20 20

รวม 23 2 25

รวมท้งั สิน้ 23 89 28 140

สรุปอัตราสว่ น

ระดบั ปฐมวัย ระดบั ประถมศกึ ษา

จำนวนผูเ้ รียนต่อครู 15 : 1 จำนวนผเู้ รยี นต่อครู 32 : 1

จำนวนผู้เรยี นต่อหอ้ ง 30 : 1 จำนวนผูเ้ รยี นตอ่ ห้อง 40 : 1

เจ้าหนา้ ท่ีอน่ื ๆ, 25 ผ้บู รหิ าร, 3

ข้าราชการครู, 63

ครอู ตั ราจา้ ง, 49

(9

1.3.2 สรุปจำนวนครูผสู้ อน จำแนกตามระดบั และกลุ่มสาระการเรียนรู้

กรณีที่ 1 ครสู อนหลายระดบั ชนั้ ให้กรอกขอ้ มูลในระดับทมี่ จี ำนวนชวั่ โมงสอนมากทส่ี ดุ
กรณที ี่ 2 ครทู ่ีจบวชิ าเอกการประถมศกึ ษาถือวา่ ตรงเอกสามารถสอนได้ในทุกวชิ า ในระดับประถมศึกษา

ระดบั /กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ จำนวนครูผสู้ อน
ปฐมวัย ประถมศกึ ษา
ปฐมวยั ตรงเอก ไม่ตรงเอก ตรงเอก ไมต่ รงเอก
ภาษาไทย
คณิตศาสตร์ 11 2
วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 86
สังคมศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม 6
สุขศึกษาและพลศึกษา 11
ศลิ ปะ 4
การงานอาชพี 2
ภาษาต่างประเทศ 4
1
รวม 8

11 2 44 6

1.3.3 สรปุ จำนวนครูผ้สู อนกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น จำนวนครูผสู้ อน
กจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น
ประถมศกึ ษา มัธยมศกึ ษา
 กิจกรรมนกั เรียน
- ลูกเสือ -
- เนตรนารี 29 -
- ยวุ กาชาด --
- ผู้บำเพญ็ ประโยชน์ 21 -
- กจิ กรรมชุมนุม ชมรม --
- อื่นๆ...ให้ระบุ 35 -
-
 กจิ กรรมแนะแนว 35 -
 กิจกรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณประโยชน์ 50 -

1.3.4 สรุปจำนวนครูและบุคลากรทางการลกู เสอื เนตรนารี ยุวกาชาดและผู้บำเพ็ญประโยชน์

ลูกเสอื /เนตรนารี จำนวน จำนวนวฒุ ทิ างลูกเสือ การจดั ตั้งกองลูกเสอื

/ยวุ กาชาด/ผ้บู ำเพ็ญประโยชน์ ผ้บู ังคบั บัญชา มีวุฒิ ไม่มวี ุฒิ จัดตั้ง ไม่จัดตัง้

ลูกเสือ เนตรนารี สำรอง 8√ √
ลูกเสือ เนตรนารี สามัญ 15 √
ลกู เสือ เนตรนารี สามญั รุน่ ใหญ่ 6 √ √ √

ยวุ กาชาด 21 √ √
ผ้บู ำเพญ็ ประโยชน์
- ----
รวม 50

( 10

1.3.5 สรุปจำนวนครูท่ที ำหนา้ ทค่ี ัดกรอง และนักเรยี นที่มีความต้องการจำเปน็ พเิ ศษ

(กรณโี รงเรยี นมีนักเรียนพิเศษเรียนรว่ ม)

จำนวนครูทท่ี ำหน้าทคี่ ัดกรอง จำนวนนักเรยี นที่มคี วาม
ตอ้ งการพิเศษ

ครูทไ่ี ดร้ บั การขน้ึ ทะเบยี น ครูทม่ี วี ุฒิทางการศึกษา ทงั้ หมด ขึน้ ไมข่ ้นึ
เปน็ ผูค้ ัดกรองของกระทรวงศึกษาธกิ าร พเิ ศษ ทะเบียน ทะเบยี น

นางสาวกนษิ ฐา มหาวงค์ - 16 16 -

1.3.6 สรุปจำนวนครูท่ีเขา้ รับการอบรมเก่ียวกบั โรงเรยี นคณุ ธรรม

ปี พ.ศ......... หน่วยงานทเ่ี ข้ารับการอบรม จำนวนครูทเ่ี ขา้ รบั
การอบรม
28 สิงหาคม 2563 สำนักเขตพน้ื ทกี่ ารประถมศึกษาตาก เขต 1
4

2. ขอ้ มูลพน้ื ฐานแผนพฒั นาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา

การพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา

ปรัชญา ปญฺญา โลกสฺสมิ ปชฺโชโต "ปญั ญาเป็นแสงสวา่ งแหง่ โลก

วิสัยทัศน์ โรงเรยี นอนุบาลตาก จัดการศึกษาที่มคี ณุ ภาพสู่มาตรฐานสากล เป็นทหี่ นึง่ ของจังหวดั

พันธกจิ 1. พฒั นาผเู้ รียนใหม้ คี ุณภาพเทยี บเคยี งมาตรฐานสากลโดยใช้หลักปรชั ญาเศรษฐกิจ

พอเพียง

2. สง่ เสริมคุณธรรม จรยิ ธรรมและคุณลักษณะ 5 ประการ ของโรงเรียนสุจรติ

3. เสริมสรา้ งเครอื ข่ายและแหลง่ เรียนรูท้ งั้ ภายในและภายนอก

4. พฒั นาระบบบรหิ ารจัดการศกึ ษาโดยหลักธรรมาภิบาล

5. สง่ เสริมและพัฒนาครู บคุ ลาการทางการศึกษาให้มีคุณภาพ ประสทิ ธภิ าพตาม

มาตรฐานวชิ าชีพ

เปา้ หมาย 1. ผ้เู รียนมีคณุ ภาพตามมาตรฐานโรงเรียนมาตรฐานสากลตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ

พอเพยี ง

2. ผู้เรียนมคี ณุ ธรรม จริยธรรม และคุณลกั ษณะ 5 ประการ ของโรงเรียนสจุ รติ

3. มีเครือข่ายการเรยี นรู้ที่หลากหลายและแหล่งเรยี นรู้ทง้ั ภายในและภายนอก

4. มีระบบบริหารจดั การศึกษาโดยหลักธรรมาภบิ าล

5. ครูและบคุ ลากรทางการศึกษามคี ุณภาพตามมาตรฐานวิชาชพี

( 11

ยุทธศาสตรห์ รอื กลยุทธ์ การพัฒนาการจดั การศกึ ษาของสถานศึกษา

เอกลกั ษณ์ 1. ส่งเสริมจดั การศึกษาเพอื่ เพิม่ ความสามารถในการแขง่ ขันของประเทศ
อตั ลกั ษณ์ 2. จัดการศึกษาเพื่อความมัน่ คงของมนุษย์และของชาติ
3. สร้างโอกาสในการเขา้ ถึงบริการการศึกษาที่มีคุณภาพ มีมาตรฐานและลดความ
เหลอ่ื มลำ้
4. พฒั นาและส่งเสรมิ ศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย์
5. ปรบั สมดุลและพฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การศึกษา

“คณุ ธรรม นำความรู้”

“เดก็ ดี มคี วามร”ู้

3. ผลการดำเนนิ งานตามแผนปฏบิ ตั ิการประจำปีของสถานศกึ ษา

ยุทธศาสตร์ โครงการ ปรมิ าณ เป้าหมาย ปริมาณ ผลสำเร็จ มาตรฐาน ***
ตามแผนฯของ (ร้อยละ) (รอ้ ยละ) การศึกษาของ สอดคลอ้ งกับตวั ชี้วัด
คณุ ภาพ(อธิบาย) คณุ ภาพ(อธบิ าย) สถานศึกษา ประเดน็ การตดิ ตาม
โรงเรียน 90.00 97.80
85.00 เด็กปฐมวยั มพี ัฒนาการ 96.50 เด็กปฐมวยั มีพัฒนาการ มฐ.ท่ี 1 คณุ ภาพ ประเมินผลของ
ระดับปฐมวยั ด้านรา่ งกาย อารมณ-์ ด้านร่างกาย อารมณ-์ ของเดก็ กระทรวงศึกษาธิการ
90.00 จติ ใจ สังคมและ 95.00 จิตใจ สงั คม และ มฐ.ที่ 3 การจดั ข้อ 1,2,3,4
ยุทธศาสตร์ 1. โครงการพฒั นา สติปญั ญาตามมาตรฐาน สตปิ ัญญา สงู กว่า ประสบการณท์ ี่
ท่ี 1 ศักยภาพของเดก็ ของสถานศกึ ษา เปา้ หมายมาตรฐานของ เนน้ เดก็ เปน็ ข้อ 1,2,3,4
สถานศกึ ษาทีต่ ้งั ไว้ สำคญั
ปฐมวัย เดก็ ปฐมวยั เกดิ ทกั ษะ เดก็ ปฐมวยั เกดิ ทกั ษะ มฐ.ที่ 1 คณุ ภาพ ข้อ 1
กระบวนการคดิ แก้ปญั หา กระบวนการคิด ของเดก็
2. โครงการบ้าน และคดิ อยา่ งสร้างสรรค์ แกป้ ัญหาและคิดอยา่ ง มฐ.ท่ี 3 การจัด
นกั วทิ ยาศาสตร์ รกั การเรยี นรวู้ ิชา สร้างสรรค์ ประสบการณท์ ี่
นอ้ ยแห่งประเทศ วทิ ยาศาสตร์ สามารถ รกั การเรยี นรูว้ ชิ า เน้นเดก็ เปน็
ไทย แลกเปลยี่ นเรยี นรู้ได้ วิทยาศาสตร์ สามารถ สำคญั
สง่ เสริมความสามารถ แลกเปลี่ยนเรยี นร้ไู ด้
3. โครงการสง่ เสรมิ ด้านรา่ งกาย อารมณ-์ สง่ เสริมความสามารถ มฐ.ท่ี 1
สขุ ภาพ จิตใจสงั คมและสติปญั ญา ด้านร่างกาย อารมณ-์ คณุ ภาพของเด็ก
จติ ใจสงั คมและ
เดก็ ปฐมวัยมสี ุขภาพ สตปิ ัญญา สูงกว่า
ร่างกายแข็งแรง เปา้ หมายที่ตัง้ ไว้
สมบรู ณ์ มีภาว เด็กปฐมวัยมีสุขภาพ
โภชนาการทดี่ ีสมสว่ น ร่างกายแข็งแรง
และมีความรคู้ วาม สมบูรณ์ มภี าว
เขา้ ใจในการปฏบิ ตั ติ น โภชนาการทดี่ ีสมส่วน
ในชวี ติ ประจำวนั ตาม และมีความรู้ความ
สุขบญั ญตั แิ ห่งชาติ เข้าใจในการปฏบิ ตั ติ น
รวมถงึ การดแู ลและ ในชีวติ ประจำวนั ตาม
ปฏบิ ตั ติ นตาม สุขบญั ญตั ิแห่งชาติ
มาตรการการปอ้ งกนั รวมถงึ การดแู ลและ
การแพร่กระจายของ ปฏิบตั ิตนตาม
เชอื้ โควิด -19 มาตรการการปอ้ งกัน
การแพรก่ ระจายของ
เช้ือโควิด -19 สงู กว่า
เปา้ หมายทตี่ ้ังไว้

( 12

เป้าหมาย ผลสำเร็จ ***
สอดคลอ้ งกับตวั ชีว้ ดั
ยุทธศาสตร์ โครงการ ปรมิ าณ คุณภาพ(อธิบาย) ปรมิ าณ คุณภาพ(อธบิ าย) มาตรฐาน ประเดน็ การติดตาม
ตามแผนฯของ (ร้อยละ) (รอ้ ยละ) การศกึ ษาของ
สถานศกึ ษา ประเมนิ ผลของ
โรงเรียน กระทรวงศึกษาธิการ

ระดบั ปฐมวัย 80.00 เดก็ ปฐมวยั ไดร้ บั การ 90.70 เด็กปฐมวยั ไดร้ ับการ มฐ.ท่ี 1 ขอ้ 1,2,3,4
ปลูกฝังคุณลกั ษณะ
ยทุ ธศาสตร์ 1. โครงการส่งเสรมิ สจุ ริต 5ประการของ ปลูกฝงั คุณลักษณะ คณุ ภาพของเดก็
ท่ี 2 คณุ ธรรม จรยิ ธรรม โรงเรียนสุจรติ เป็น
แนวทางในการยึด สจุ รติ 5ประการของ มฐ.ที่ 3 การจดั
ตามลกั ษณะ เหนีย่ วจิตใจและ
โรงเรียนสุจริต ประพฤติตนในทางท่ดี ี โรงเรียนสจุ ริตเป็น ประสบการณ์ท่ี

แนวทางในการยึด เน้นเด็กเปน็

เหน่ียวจติ ใจและ สำคญั

ประพฤติตนในทางท่ีดี

สูงกวา่ เปา้ หมายที่ตงั้

ไว้

ยุทธศาสตร์ 1. โครงการระบบ 85.00 เดก็ ปฐมวัยไดร้ บั การ 95.00 เด็กปฐมวัยได้รบั การ มฐ.ท่ี 2 ข้อ 1,2,3,4,5,6
เยย่ี มบา้ นเดก็ ซึ่งนำ
ที่ 3 ดูแลช่วยเหลือ เยีย่ มบา้ นเด็ก ซงึ่ นำ ข้อมลู การสัมภาษณ์ กระบวนการ
ขอ้ มลู การสัมภาษณ์ ผปู้ กครองมา บริหารและการ
นกั เรียน ผปู้ กครองมาเสรมิ สร้าง เสริมสรา้ งพฒั นา จดั การ
พัฒนาความสามารถ ความสามารถของเดก็
ของเดก็ ทม่ี ี ทม่ี คี วามสามารถตาม
ความสามารถตาม ศักยภาพโดยเด็กกลมุ่

ศกั ยภาพโดยเด็กกล่มุ พเิ ศษไดร้ ับการพฒั นา

พิเศษไดร้ ับการพัฒนา และเด็กกลมุ่ ด้อยได้รบั
การสง่ เสริม สงู กวา่
และเดก็ กลมุ่ ด้อยได้รบั เปา้ หมายท่ตี ง้ั ไว้

การส่งเสริม 100 โรงเรียนมบี ุคลากร มฐ.ที่ 2

ยุทธศาสตร์ 1.โครงการสรรหา 100 โรงเรียนมีบคุ ลากร เพียงพอตรงตาม ข้อ 1,2,3,4,5,6
ท่ี 4 บคุ ลากรทาง เพียงพอ เกดิ ความ
การศกึ ษาเพอ่ื คล่องตวั ในการการ เป้าหมายที่ตั้งไว้ เกดิ กระบวนการ
สนบั สนุนการศึกษา บรหิ ารจัดการดา้ นการ ความคลอ่ งตัวในการ
ภายในโรงเรียน เรียนการสอนท่เี ปน็ การบริหารจัดการด้าน บรหิ ารและการ
ระบบและมี จดั การ
ประสิทธิภาพตรงตาม
การเรยี นการสอนที่
เปน็ ระบบและมี
ประสทิ ธิภาพตรงตาม
ศกั ยภาพโครงการ ศักยภาพโครงการ

โรงเรยี น โรงเรียน
มาตรฐานสากล
มาตรฐานสากล
2.โครงการพฒั นา 100 เพอ่ื พัฒนาขา้ ราชการ 100 เพือ่ พัฒนาข้าราชการ มฐ.ที่ 2
ครแู ละบุคลากร ขอ้ 1,2,3,4,5,6
ทางการศกึ ษาใหม้ ี
ครู และบุคลากร ครแู ละบุคลากร ศักยภาพในการจัดการ กระบวนการ
ทางการศึกษา ทางการศกึ ษาใหม้ ี เรยี นการสอนและมี บรหิ ารและการ
ระดบั ปฐมวยั ศกั ยภาพในการจดั การ ทกั ษะในการปฏิบตั ิ จัดการ
เรียนการสอนและมี หน้าที่ส่คู รมู อื อาชพี
ทักษะในการปฏบิ ัติ และให้ครเู ป็นต้นแบบ
หนา้ ท่ีสคู่ รูมอื อาชีพ

และให้ครเู ป็นตน้ แบบที่ ทดี่ ีของโรงเรยี น ตรง

ดขี องโรงเรียน ตามเปา้ หมายทีต่ ้งั ไว้

( 13

เป้าหมาย ผลสำเรจ็ ***

ยุทธศาสตร์ มาตรฐาน สอดคลอ้ งกับตัวช้วี ดั

ตามแผนฯของ โครงการ ปริมาณ คณุ ภาพ(อธิบาย) ปริมาณ คุณภาพ(อธบิ าย) การศึกษาของ ประเดน็ การตดิ ตาม
โรงเรียน (ร้อยละ) (รอ้ ยละ) สถานศึกษา ประเมินผลของ

กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

ระดับปฐมวัย 100 โรงเรยี นมีคุณภาพตาม มฐ.ที่ 2

ยุทธศาสตร์ 1. โครงการประกนั 100 โรงเรียนมคี ณุ ภาพตาม เกณฑม์ าตรฐาน ขอ้ 1,2,3,4,5,6
ท่ี 5 คณุ ภาพภายใน เกณฑม์ าตรฐาน การศึกษาขั้นพนื้ ฐาน
การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน และผา่ นเกณฑก์ าร กระบวนการ
สถานศึกษา และผา่ นเกณฑก์ าร ประเมนิ คุณภาพ บริหารและการ
ประเมนิ คุณภาพ จัดการ
ภายในอยใู่ นระดบั
คณุ ภาพยอดเยย่ี ม ภายในอยใู่ นระดบั
คุณภาพยอดเยยี่ มตรง
ตามเป้าหมายทตี่ งั้ ไว้
98.00 โรงเรยี นมงี บประมาณ มฐ.ท่ี 2
2. โครงการ 90.00 โรงเรียนมงี บประมาณ เพียงพอสำหรบั การ ขอ้ 1,2,3,4,5,6
สาธารณปู โภค เพียงพอสำหรับการ จ่ายคา่ สาธารณูปโภค
จา่ ยคา่ สาธารณูปโภค คณะครู บุคลากร กระบวนการ
คณะครู บคุ ลากร นกั เรียน และ บริหารและการ
นกั เรยี น และ จัดการ
ผปู้ กครองมคี วามพึง
พอใจในการใหบ้ รกิ าร ผู้ปกครองมีความพึง
เกี่ยวกบั ระบบ พอใจในการใหบ้ รกิ าร
สาธารณูปโภค เก่ยี วกบั ระบบ
สาธารณูปโภค สงู กวา่
เปา้ หมายทต่ี ้ังไว้
90.00 โรงเรยี นมี
3. โครงการพัฒนา 80.00 โรงเรียนมี สภาพแวดลอ้ มท่ี มฐ.ที่ 1 ขอ้ 1,2,3,4

อาคารสถานทแ่ี ละ สภาพแวดล้อมท่ี สะอาด สวยงาม รม่ คณุ ภาพของเดก็
รนื่ เอื้อตอ่ การเรยี น
สิ่งแวดล้อม สะอาด สวยงาม รม่ การสอนส่งผลให้ มฐ.ที่ 2
รน่ื เออ้ื ต่อการเรียน ผูเ้ รยี นทุกคนเกิดการ กระบวนการ
การสอนสง่ ผลให้ผู้เรียน เรยี นร้อู ยา่ งมี บริหารและการ
ทกุ คนเกดิ การเรียนรู้ ประสิทธิภาพ สงู กวา่ จัดการ
อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ

เป้าหมายท่ตี ง้ั ไว้

( 14

เปา้ หมาย ผลสำเรจ็ ***

ยุทธศาสตร์ มาตรฐาน สอดคลอ้ งกับตวั ชี้วดั

ตามแผนฯของ โครงการ ปริมาณ คณุ ภาพ(อธิบาย) ปริมาณ คณุ ภาพ(อธิบาย) การศกึ ษาของ ประเด็นการตดิ ตาม
โรงเรยี น (รอ้ ยละ) (รอ้ ยละ) สถานศกึ ษา ประเมินผลของ

กระทรวงศกึ ษาธิการ

ระดบั การศึกษาขั้นพ้นื ฐาน

ยทุ ธศาสตร์ 1. โครงการ 80.00 นกั เรยี นได้รบั การ 97.33 นักเรียนไดร้ บั การ มาตรฐานท่ี 1 ตวั ชี้วดั ที่ 11

ท่ี 1 ยกระดับผลสัมฤทธ์ิ พฒั นามีความรแู้ ละ พฒั นามีความร้แู ละ คุณภาพผ้เู รียน (Quick Win)

การจดั การเรยี นรู้ 8 ทักษะตามมาตรฐาน ทกั ษะตามมาตรฐาน

กลุ่มสาระฯ ปี การเรยี นรู้ในทุกกลุ่ม การเรยี นรู้ในทกุ กลมุ่

การศกึ ษา2564 สาระ ความสามารถ สาระ ความสามารถ
ในการอ่านและการ ในการอา่ นและการ
เขยี นภาษาไทย ได้รว่ ม เขียนภาษาไทย ได้รว่ ม
กจิ กรรมเพอ่ื พัฒนา กจิ กรรมเพ่อื พฒั นา
ผลสัมฤทธ์ิทางการ ผลสมั ฤทธท์ิ างการ
เรียน เรียน

2. โครงการ 80.00 นกั เรยี นไดร้ ับการ 90.00 นักเรยี นได้รับการ มาตรฐานที่ 1 ตัวช้ีวดั ท่ี 11

ยกระดบั ผลสัมฤทธ์ิ พัฒนามคี วามรูแ้ ละ พฒั นามคี วามรูแ้ ละ คุณภาพผู้เรียน (Quick Win)

(RT, NT, O-Net) ทกั ษะตามมาตรฐาน ทักษะตามมาตรฐาน

การเรยี นรู้ในทุกกลุ่ม การเรียนรู้ในทุกกลุ่ม

3. โครงการส่งเสรมิ 85.00 สาระ ความสามารถ 95.00 สาระ ความสามารถ มาตรฐานท่ี 3 ตวั ชี้วัดที่ 1-7 , 9-10
กิจกรรมพฒั นา ในการอ่านและการ 100 ในการอ่านและการ การจดั การเรยี น
ผเู้ รยี น เขียนภาษาไทย ได้รว่ ม เขียนภาษาไทย ได้ร่วม การสอนที่เนน้ การส่งเสรมิ ทักษะ
กิจกรรมเพอื่ พัฒนา กิจกรรมเพือ่ พัฒนา ผเู้ รียนเป็น การอ่าน เขียน
4.โครงการ 100 ผลสมั ฤทธิท์ างการ ผลสมั ฤทธ์ิทางการ สำคญั ภาษาไทยเพอื่ ใช้เปน็
ห้องสมดุ 3 ดี เรยี น เรียน เคร่ืองมือในการ
ผ้เู รยี นไดร้ บั ความรู้ ผเู้ รยี นไดร้ บั ความรู้ มาตรฐานท่ี 1
ประสบการณต์ รง มี ประสบการณต์ รง มี คุณภาพของ
ระเบยี บวนิ ยั มีความ ระเบียบวินยั มีความ
รบั ผิดชอบและสามารถ รบั ผดิ ชอบและ ผู้เรียน
นำไปใชใ้ นชวี ติ ประจำ สามารถนำไปใช้ใน
วนั ได้ ชวี ติ ประจำ วนั ได้
ครสู ง่ เสรมิ ใหม้ ีการจดั ครทู กุ คนสง่ เสรมิ ให้มี
กิจกรรมพัฒนา การจัดกิจกรรมพฒั นา
ห้องสมุด นักเรยี นมี หอ้ งสมดุ นักเรียนทกุ
นสิ ัยรกั การอา่ น คนมนี ิสยั รกั การอา่ น

5. โครงการประกนั 100 ครู และบุคลากร 100 ครู และบคุ ลากร มาตรฐานที่ 2 เรยี นร้ภู าษาอ่ืน
คณุ ภาพภายใน ทางการศกึ ษา และผมู้ ี ทางการศึกษา และผมู้ ี กระบวนการ
โรงเรียน สว่ นเกย่ี วข้องทางการ สว่ นเก่ียวขอ้ งทางการ บรหิ ารและการ อื่น ๆ ตามนโยบาย
ศึกษา มีความตระหนกั ศึกษา มคี วาม เขต
และเหน็ ความสำคัญ ตระหนกั และเห็น จดั การ
ของการประกัน ความสำคญั ของการ
คุณภาพภายใน ประกันคณุ ภาพภายใน

( 15

เปา้ หมาย ผลสำเร็จ ***
สอดคลอ้ งกับตวั ชว้ี ัด
ยุทธศาสตร์ โครงการ ปรมิ าณ คุณภาพ(อธิบาย) ปรมิ าณ คุณภาพ(อธิบาย) มาตรฐาน ประเด็นการติดตาม
ตามแผนฯของ (ร้อยละ) (ร้อยละ) การศกึ ษาของ
นักเรยี นมีทักษะได้รบั สถานศึกษา ประเมินผลของ
โรงเรียน การส่งเสริมและ กระทรวงศึกษาธกิ าร
พฒั นาดา้ นการใช้
ระดบั การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน 90.00 นักเรียนมที กั ษะไดร้ ับ 100 เทคโนโลยี มาตรฐานท่ี 1 ตวั ชวี้ ดั ที่ 1-7 , 9-10
การส่งเสรมิ และพัฒนา นกั เรียนได้รบั การ คณุ ภาพของเดก็
ยุทธศาสตร์ 6. โครงการส่งเสรมิ ด้านการใช้เทคโนโลยี ส่งเสริมและพัฒนา
ท่ี 1 ความเป็นเลศิ ทาง ด้านสมรรถนะทาง
เทคโนโลยีสารสนเทศ
คอมพวิ เตอร์
นักเรียนได้พฒั นาการ
7. โครงการพฒั นา 80.00 นกั เรยี นไดร้ บั การ 90.00 เรยี นรแู้ ละฝึกทักษะ มาตรฐานที่ 2 อนื่ ๆ ตามนโยบาย
ศกั ยภาพผูเ้ รียน 80.00 ส่งเสริมและพัฒนาด้าน กระบวนการทาง กระบวนการ เขต
ด้านทกั ษะการใช้ สมรรถนะทาง ภาษาจนี เพ่ือการ บริหารและการ
เทคโนโลยี เทคโนโลยสี ารสนเทศ ส่ือสาร จดั การ
สารสนเทศ นกั เรียนไดพ้ ฒั นาการ
นักเรียนได้พัฒนาการ 89.00 เรยี นร้แู ละฝึกทกั ษะ มาตรฐานที่ 3 ตวั ช้ีวดั ที่ 1-7 , 9-10
8. โครงการพัฒนา เรียนรแู้ ละฝึกทักษะ 90.00 กระบวนการทาง การจดั การเรยี น ตวั ชว้ี ัดที่ 1-7 , 9-10
ทกั ษะการเรียนรู้ กระบวนการทาง 92.00 ภาษาองั กฤษเพ่อื การ การสอนทเี่ น้น ตวั ชว้ี ัดที่ 1-7 , 9-10
ภาษาจีน ภาษาจีนเพ่ือการ ส่ือสาร ผู้เรยี นเปน็ ตัวชวี้ ดั ท่ี 1-7 , 9-10
ส่อื สาร นักเรยี นได้พัฒนาการ สำคัญ
9. โครงการเรียน 80.00 เรยี นรแู้ ละฝกึ ทักษะ
ภาษาอังกฤษกบั ครู นักเรยี นไดพ้ ัฒนาการ กระบวนการทาง มาตรฐานที่ 3
ต่างชาติ เรียนร้แู ละฝกึ ทกั ษะ ภาษาอังกฤษ การจัดการเรียน
กระบวนการทาง การสอนท่ีเนน้
10. โครงการ 80.00 ภาษาอังกฤษเพอื่ การ นักเรยี นได้พัฒนาการ ผู้เรียนเป็น
สอื่ สาร เรียนรู้และฝึกทกั ษะ สำคญั
ห้องเรยี นพเิ ศษสอง กระบวนการทาง
นักเรียนไดพ้ ฒั นาการ วิทยาศาสตร์ มาตรฐานท่ี 3
ภาษา (MEP) เรียนรแู้ ละฝกึ ทักษะ การจัดการเรยี น
กระบวนการทาง การสอนทีเ่ น้น
ภาษาองั กฤษ
ผเู้ รยี นเปน็
11.โครงการ 80.00 นักเรยี นได้พฒั นาการ 89.00 สำคัญ
หอ้ งเรียนพเิ ศษ เรียนรแู้ ละฝกึ ทกั ษะ
คณติ – วิทย์ กระบวนการทาง มาตรฐานที่ 3
(EMS) คณติ ศาสตรแ์ ละ การจดั การเรียน
วิทยาศาสตร์ การสอนท่เี นน้

ผู้เรียนเป็น
สำคัญ

ยุทธศาสตร์ 1. โครงการ 80.00 นักเรยี นมีความซอ่ื สัตย์ 90.00 นกั เรียนมีความ มาตรฐานที่ 1 ตัวชว้ี ดั ท่ี 1

ท่ี 2 โรงเรียนสจุ ริต สจุ รติ การยึดมั่นใน ซ่อื สัตย์สุจริต การยดึ คณุ ภาพของ
จริงและในสิง่ ทถี่ ูกตอ้ ง
มั่นในความสตั ย์จรงิ ผ้เู รียน

ดีงาม มีความซอ่ื ตรง และในสงิ่ ท่ีถกู ตอ้ งดี

และมเี จตนาท่ีบรสิ ุทธ์ิ งาม มีความซ่ือตรง

ปฏิบัตติ ่อตนเองและ และมเี จตนาทบ่ี ริสุทธิ์

ผู้อื่นโดยชอบ ปฏบิ ัตติ อ่ ตนเองและ

ผอู้ ื่นโดยชอบ

2. โครงการ 75.00 นักเรียนสามารถพฒั นา 80.00 นักเรยี นสามารถ มาตรฐานที่ 1 ด้านการจัด

โรงเรียนคณุ ธรรม คุณธรรม จรยิ ธรรม พฒั นาคุณธรรม คุณภาพของ การศกึ ษาเพอื่ ความ

สพฐ. และมคี ุณลักษณะตาม จรยิ ธรรมและมี ผู้เรียน มัน่ คงของมนษุ ย์และ

ค่านยิ มของคนไทย 12 คณุ ลกั ษณะตาม ของชาติ

ประการ คา่ นิยมของคนไทย 12

ประการ

( 16

เปา้ หมาย ผลสำเร็จ ***
สอดคล้องกับตัวชวี้ ัด
ยุทธศาสตร์ โครงการ ปรมิ าณ คณุ ภาพ(อธิบาย) ปรมิ าณ คณุ ภาพ(อธิบาย) มาตรฐาน ประเด็นการติดตาม
ตามแผนฯของ (ร้อยละ) (รอ้ ยละ) การศกึ ษาของ
สถานศกึ ษา ประเมินผลของ
โรงเรยี น 100 กระทรวงศกึ ษาธิการ

ระดบั การศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน 100 การบรหิ ารงานของ 100 การบริหารงานของ มาตรฐานที่ 2 ตัวชี้วดั ที่ 11
100 โรงเรียน และการ โรงเรยี น และการ กระบวนการ (Quick Win)
ยทุ ธศาสตร์ 1. โครงการสรรหา บริหารงานบคุ คลมี 90.00 บริหารงานบคุ คลมี บรหิ ารและการ
ที่ 4 บคุ ลากรทาง ความคล่องตัว สะดวก ความคลอ่ งตวั สะดวก จดั การ ตัวชว้ี ัดที่ 11
และมปี ระสิทธภิ าพ 100 และมปี ระสิทธภิ าพ (Quick Win)
การศึกษาเพอ่ื การบรหิ ารงานของ มาตรฐานที่ 2
สนบั สนุนการศกึ ษา การบริหารงานของ โรงเรยี น และการ กระบวนการ
ภายในโรงเรยี น โรงเรยี น และการ บริหารงานบคุ คลมี บรหิ ารและการ
บริหารงานบคุ คลมี ความคล่องตัว สะดวก จดั การ
2. โครงการพฒั นา ความคล่องตวั สะดวก และมีประสทิ ธภิ าพ
บุคลากรเพ่ือ และมปี ระสทิ ธภิ าพ อาคารสถานทภ่ี ายใน มาตรฐานที่ 2
สนับสนุนการศึกษา โรงเรียนมี กระบวนการ
ภายในโรงเรียน อาคารสถานทภี่ ายใน สภาพแวดล้อมที่ บรหิ ารและการ
โรงเรียนมี สวยงาม ปลอดภยั จัดการ
3. โครงการพฒั นา 80.00 สภาพแวดลอ้ มที่ และเออื้ ต่อการเรยี นรู้
อาคารสถานที่และ สวยงาม ปลอดภยั การบริหารงานของ มาตรฐานที่ 2
สงิ่ แวดล้อม และเอื้อต่อการเรียนรู้ โรงเรยี น และการ กระบวนการ
บริหารงานวชิ าการมี บริหารและการ
ยุทธศาสตร์ 1. โครงการพัฒนา 100 การบรหิ ารงานของ คุณภาพ และ จดั การ
ท่ี 5 คุณภาพระบบงาน โรงเรยี น และการ ประสทิ ธภิ าพ
บริหารงานวชิ าการมี
บริหารวิชาการ คุณภาพ และ
ประสิทธิภาพ

2. โครงการพฒั นา 100 การพัฒนาระบบ 100 การพัฒนาระบบ มาตรฐานท่ี 2
ระบบสารสนเทศ- สารสนเทศ-ธรุ การ 100 สารสนเทศ-ธรุ การ กระบวนการ
ธรุ การ และงาน และงานประชาสมั พันธ์ และงาน บรหิ ารและการ
ประชาสัมพนั ธ์ มี การดำเนินงาน ทำ ประชาสมั พนั ธม์ ี
ดรรชนี การจดั กระบวนการ จัดการ
3. โครงการพัฒนา 100 หมวดหมู่ การจัดแฟ้ม ดำเนินงาน ทำดรรชนี
คุณภาพระบบงาน การทำรายการเพอื่ การ การจดั หมวดหมู่ การ มาตรฐานท่ี 2
บรหิ ารงบประมาณ เขา้ ถึงเอกสารหรือ จดั แฟ้มการทำรายการ กระบวนการ
สารสนเทศทมี่ กี าร เพ่ือการเข้าถงึ เอกสาร บริหารและการ
บันทกึ ไว้ในรูปแบบ หรอื สารสนเทศท่มี ี
ต่างๆ ตั้งแตจ่ ดหมาย การบันทึกไวใ้ น จดั การ
เหตุ รปู แบบตา่ งๆ ต้ังแต่
จดหมายเหตุ
การบริหารงานของ การบริหารงานของ
โรงเรยี น และการ โรงเรียน และการ
บรหิ ารงานงบประมาณ บริหารงาน
มีความถกู ตอ้ ง โปร่งใส งบประมาณมีความ
และเกดิ ประโยชน์ ถูกต้อง โปร่งใส และ
สงู สดุ เกิดประโยชนส์ ูงสุด

( 17

*** ยทุ ธศาสตร์ของสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
ยุทธศาสตรท์ ่ี 1 การพัฒนาหลกั สูตร การเรยี นการสอน การวัดและประเมนิ ผล
ยุทธศาสตรท์ ี่ 2 การปฏริ ูประบบทรัพยากรเพือ่ การศึกษาเอกชน
ยุทธศาสตรท์ ี่ 3 การเสรมิ สร้างประสิทธิภาพการจัดการศกึ ษาของโรงเรยี นเอกชน
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 4 การสง่ เสริมการมสี ว่ นร่วมในการจดั และสนับสนุนการศกึ ษาเอกชน
ยุทธศาสตร์ที่ 5 การส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบเพ่ือสร้างสงั คมแหง่ การเรียนรู้
ยุทธศาสตร์ที่ 6 การพัฒนาการศึกษาเอกชนในพ้ืนที่จังหวัดชายแดนภาคใต้
ยุทธศาสตรท์ ี่ 7 การพัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การส่งเสริมการศึกษาเอกชน

*** ตวั ชวี้ ัดประเดน็ การตดิ ตามประเมินผลของกระทรวงศึกษาธกิ าร ปรากฏอยู่หน้า 14 ข้อ 7

4. ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนของผู้เรียน

4.1 ระดับปฐมวยั

ผลการพัฒนาเด็ก

จำนวน ร้อยละของเด็กตามระดบั คุณภาพ

ผลพัฒนาการด้าน เด็ก ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ

ท้งั หมด จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ

1. ดา้ นรา่ งกาย 417 406 97.37 11 2.63 0 0

2. ด้านอารมณ-์ จิตใจ 417 408 97.84 9 2.16 0 0

3. ดา้ นสงั คม 417 409 98.09 8 1.91 0 0

4. ด้านสติปัญญา 417 405 97.12 12 2.88 0 0

( 18

4.2 ระดบั การศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน

ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ ัน้ พื้นฐาน (O-NET)

เปรียบเทียบผลการทดสอบระดับชาตขิ ั้นพ้ืนฐาน (O-NET) ของนักเรียนชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 6

วชิ า จำนวน จำนวน คะแนน คะแนนเฉลย่ี ผลการ *** *** ***
นักเรยี น นักเรียน เฉลยี่ ระดบั ทดสอบ (O-NET) ผลต่าง รอ้ ยละของ แปลผล
ทง้ั หมด ทีเ่ ขา้ สอบ ประเทศ คะแนนเฉล่ยี คะแนนเฉลย่ี พัฒนาการเทยี บ
ปี 2564 2562 2563 2564 กับรอ้ ยละ 3
(1) (2) (3) (4) (5)
(6)

คณิตศาสตร์ 169 154 36.83 38.75 32.65 37.88 +5.23 16.02 มกี ารพัฒนา
34.31 41.83 40.66 36.79 -3.87 -9.52 ไม่มกี ารพัฒนา
วิทยาศาสตร์ 169 154 -7.61 ไม่มกี ารพฒั นา
50.38 54.67 57.15 52.80 -4.35 -5.22 ไม่มกี ารพฒั นา
ภาษาไทย 169 154 39.22 38.95 46.35 43.93 -2.42

ภาษาองั กฤษ 169 154 กรณที ม่ี ีผลตา่ งคะแนนเฉลีย่ (4) ติดลบ ให้ใส่เคร่ืองหมายลบ
รอ้ ยละของคะแนนเฉลยี่ (5) ให้ใส่เครอ่ื งหมายลบ
*** (4) = (3) – (2)

*** (5) = (4) x 100

(2)

*** (6) การแปลผลพัฒนาการ มคี ่ารอ้ ยละของคะแนนเฉลยี่ (5) ตั้งแต่ 3.00 ขึ้นไป แปลผลวา่ “มพี ฒั นาการ”
มีค่าร้อยละของคะแนนเฉลยี่ (5) 0.1 – 2.99 แปลผลวา่ “มพี ฒั นาการแต่ไมถ่ งึ รอ้ ยละ 3”
มีค่าร้อยละของคะแนนเฉลยี่ (5) ติดลบ แปลผลว่า “ไม่มีพัฒนาการ”

( 19

ผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถพื้นฐานของผูเ้ รียนระดับชาติ (National Test : NT)
เปรยี บเทียบผลการทดสอบสมรรถนะของนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 3

สมรรถนะ จำนวน จำนวน คะแนน คะแนนเฉลยี่ ผลการทดสอบ *** *** ***
นักเรยี น นกั เรียน เฉล่ยี ระดบั สมรรถนะ ผลตา่ ง รอ้ ยละของ แปลผล
ดา้ นคณติ ศาสตร์ ทง้ั หมด ทเี่ ข้าสอบ ประเทศ คะแนนเฉลย่ี คะแนนเฉลีย่ พัฒนาการเทียบกับ
ดา้ นภาษาไทย ปี 2564 2562 2563 2564 ร้อยละ 3
รวม 2 ดา้ น 228 228 (1) (2) (3) (4) (5)
228 228 49.44 (6)
228 228 56.14 54.38 42.40 40.42 -1.98 -4.67
52.80 51.80 50.70 47.58 -3.12 -6.15 ไม่มีการพฒั นา
53.09 46.55 44.00 -2.55 -5.48 ไม่มีการพัฒนา
ไมม่ ีการพฒั นา

*** (4) = (3) – (2) กรณที ี่มผี ลต่างคะแนนเฉลีย่ (4) ตดิ ลบ ให้ใสเ่ คร่อื งหมายลบ
*** (5) = (4) x 100 รอ้ ยละของคะแนนเฉลย่ี (5) ใหใ้ สเ่ ครื่องหมายลบ

(2) มีค่ารอ้ ยละของคะแนนเฉลยี่ (5) ตั้งแต่ 3.00 ขึน้ ไป แปลผลว่า “มพี ฒั นาการ”
*** (6) การแปลผลพฒั นาการ มคี า่ ร้อยละของคะแนนเฉลยี่ (5) 0.1 – 2.99 แปลผลวา่ “มพี ฒั นาการแตไ่ ม่ถึงร้อยละ 3”
มคี า่ รอ้ ยละของคะแนนเฉลยี่ (5) ตดิ ลบ แปลผลว่า “ไมม่ ีพัฒนาการ”

( 20

ผลการประเมนิ ความสามารถด้านการอ่านของผเู้ รียน (Reading Test : RT)
เปรยี บเทยี บผลการทดสอบความสามารถด้านการอ่านของนกั เรียนชั้นประถมศึกษาปที ี่ 1

ความสามารถ จำนวน จำนวน คะแนนเฉลยี่ คะแนนเฉลย่ี ผลการทดสอบ *** *** ***
ดา้ นการอ่าน นกั เรยี น นกั เรยี น ระดับ ด้านการอ่าน ผลต่าง ร้อยละของ แปลผล
ทงั้ หมด ท่เี ข้าสอบ ประเทศ คะแนนเฉล่ยี คะแนนเฉลีย่ พัฒนาการเทียบ
อ่านออกเสยี ง ปี 2564 2562 2563 2564 กบั ร้อยละ 3
อ่านรเู้ รอ่ื ง 197 197 (1) (2) (3) (4) (5)
รวม 2 ดา้ น 197 197 69.95 (6)
197 197 72.79 85.00 81.27 85.54 4.27 5.25
71.38 78.81 75.04 76.93 1.89 2.52 มกี ารพัฒนา
81.91 78.15 81.23 3.08 3.94 มีการพฒั นา
มกี ารพฒั นา

*** (4) = (3) – (2) กรณีทม่ี ีผลตา่ งคะแนนเฉลยี่ (4) ติดลบ ให้ใสเ่ ครอื่ งหมายลบ
*** (5) = (4) x 100 รอ้ ยละของคะแนนเฉลยี่ (5) ใหใ้ สเ่ คร่อื งหมายลบ

(2) มคี ่าร้อยละของคะแนนเฉลยี่ (5) ตง้ั แต่ 3.00 ขึ้นไป แปลผลวา่ “มีพัฒนาการ”
*** (6) การแปลผลพฒั นาการ มีคา่ รอ้ ยละของคะแนนเฉลย่ี (5) 0.1 – 2.99 แปลผลว่า “มพี ัฒนาการแต่ไมถ่ งึ ร้อยละ 3”
มีคา่ ร้อยละของคะแนนเฉลยี่ (5) ตดิ ลบ แปลผลว่า “ไมม่ พี ัฒนาการ”

( 21

จำนวนและร้อยละของนกั เรยี นทีม่ ีผลการเรยี นระดบั 3 ขึ้นไป
ระดบั ประถมศึกษา
ระดบั ผลการเรียน
ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6

กลุ่มสาระ
การเรยี นรู้/
รายวชิ า
จำนวนนักเ ีรยน
จำนวน ันกเ ีรยน ี่ทมีผล
ระดับ 3 ขึ้นไป
้รอยละ
จำนวนนักเ ีรยน
จำนวน ันกเ ีรยน ี่ทมีผล
ระดับ 3 ข้ึนไป
้รอยละ
จำนวนนักเ ีรยน
จำนวนนักเ ีรยน ี่ทมีผล
ระดับ 3 ข้ึนไป
้รอยละ
จำนวนนักเ ีรยน
จำนวนนักเ ีรยน ่ีทมีผล
ระดับ 3 ขึ้นไป
้รอยละ
จำนวน ันกเ ีรยน
จำนวน ันกเ ีรยน ่ีทมีผล
ระดับ 3 ข้ึนไป
้รอยละ
จำนวนนักเ ีรยน
จำนวนนักเ ีรยน ี่ทมีผล
ระดับ 3 ขึ้นไป
้รอยละ

ภาษาไทย 197 191 96.95 237 213 89.87 236 215 91.10 236 210 88.98 196 131 66.84 169 150 88.76

คณิตศาสตร์ 197 193 97.97 237 213 89.87 236 217 91.95 236 218 92.37 196 149 76.02 169 76 44.97

วิทยาศาสตร์และ 197 180 91.37 237 226 95.36 236 189 80.08 236 182 77.12 196 79 40.31 169 123 72.78

เทคโนโลยี

สังคมศึกษาฯ 197 196 99.49 237 218 91.98 236 231 97.88 236 212 89.83 196 152 77.55 169 133 78.70

ประวตั ิศาสตร์ 197 197 100 237 224 94.51 236 202 85.59 236 203 86.02 196 160 81.63 169 84 49.70

สขุ ศึกษาและ 197 197 100 237 237 100 236 236 100 236 223 94.49 196 176 89.80 169 169 100
พลศึกษา 197 197 100 237 237 100 236 235 99.58 236 232 98.31 196 195 99.49 169 166 98.22

ศิลปะ

การงานอาชพี 197 197 100 237 233 98.31 236 235 99.58 236 194 82.20 196 196 100 169 169 100

ภาษาตา่ งประเทศ 197 185 93.91 237 227 95.78 236 206 87.29 236 212 89.83 196 136 69.39 169 148 87.57

( 22

นวัตกรรม/แบบอย่างที่ดี (Innovation /Best Practice )

นวัตกรรม (Innovation) หมายถึง แนวคิดหรือวิธีการที่นำมาใช้ในการปฏิบัติ เพื่อแก้ปัญหาหรือเพื่อการพัฒนา

ซงึ่ ทำให้เกดิ การเปลี่ยนแปลงทางความคิด กระบวนการ หรือองค์กร อย่างสิ้นเชงิ หรือเหน็ ได้ชัด เปน็ การพฒั นาตอ่ ยอด เพิ่มมลู คา่

มีเป้าหมายในเชิงบวก ซึ่งมีเกณฑ์การพิจารณา คือมีความสร้างสรรค์ (C – Creative), มีความใหม่ในบริบทนั้นๆ (N - New)

มีคุณค่ามปี ระโยชน์ (V – Value-Added) และปรบั ใชไ้ ดอ้ ย่างเหมาะสม (A - Adaptive)

แบบอย่างที่ดี (Best - Practice) หมายถึง รูปแบบวิธีปฏิบัติหรือขึ้นตอนการปฏิบัติที่ทำให้สถานศึกษาประสบ

ความสำเร็จ หรือสู่ความเป็นเลศิ ตามเป้าหมาย เปน็ ทยี่ อมรับในวงวิชาการหรือวิชาชีพ มหี ลักฐานของความสำเร็จปรากฏชัดเจน

โดยมีการสรุปรูปแบบวิธีปฏิบัติหรือขั้นตอน การปฏิบัติตลอดจนความรู้และประสบการณ์ มีร่องรอยหลักฐานเชิงประจักษ์

เผยแพรใ่ ห้หนว่ ยงานภายในหรือภายนอกสามารถนำไปใชป้ ระโยชน์

ช่อื นวตั กรรม/แบบอย่างท่ดี ี มาตรฐานดา้ น ระดบั การศกึ ษา

1. รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 ผู้บริหารสถานศกึ ษา มาตรฐานท่ี 2 ขน้ั พื้นฐาน

ในการประกวดผลงานการจัดกจิ กรรมถอดบทเรยี น กระบวนการบริหารและการ

(Best Practice) โครงการเสริมสร้างคณุ ธรรมจรยิ ธรรม จดั การ

และธรรมาภิบาลในสถานศึกษา (โรงเรยี นสจุ ริต) ประจำปี

การศึกษา 2564

2. รางวลั ชนะเลศิ ผบู้ ริหารสถานศึกษา ในการประกวด มาตรฐานท่ี 2 ขนั้ พื้นฐาน

ผลงานการจัดกจิ กรรมถอดบทเรียน (Best Practice) กระบวนการบรหิ ารและการ

โครงการเสริมสรา้ งคุณธรรมจรยิ ธรรม และธรรมาภบิ าล จัดการ

ในสถานศึกษา (โรงเรยี นสุจริต) ประจำปกี ารศกึ ษา 2564

3. รางวลั ระดับเหรยี ญทอง การวจิ ยั และพฒั นานวตั กรรม มาตรฐานที่ 2 ขนั้ พ้นื ฐาน

โรงเรียนคณุ ธรรม สพฐ. กิจกรรมครุ ชุ น คนคุณธรรม กระบวนการบรหิ ารและการ

เรอ่ื ง การพัฒนาคุณธรรมอตั ลักษณ์ของโรงเรียนอนุบาลตาก จัดการ

ดว้ ย PLUS MODEL ปกี ารศึกษา 2564

4. รางวลั รองชนะเลิศ โครงงานดา้ นอนามยั ส่งิ แวดล้อม มาตรฐานท่ี 3 ขั้นพน้ื ฐาน

ระดับจังหวดั ตาก ประจำปี 2565 เรือ่ ง Ecobricks for chair กระบวนการจดั การเรยี นการ

(ลดโรค รกั ษ์โลก) สอนทเ่ี นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สำคัญ

5. รางวลั ชมเชย นวตั กรรมโครงงานสขุ ภาพนักเรียน ประจำปี มาตรฐานที่ 3 ขนั้ พื้นฐาน
2565 เรือ่ ง สุขภาพที่ดี ชวี ติ มีสขุ ด้วย Homecourt กระบวนการจัดการเรยี นการ ขนั้ พื้นฐาน
สอนทีเ่ น้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
6. รางวลั รองชนะเลิศเหรยี ญทอง ครผู ูส้ อนยอดเยยี่ ม ข้นั พ้นื ฐาน
ระดบั ประถมศึกษา กิจกรรมเพ่ือสังคมประโยชน์ มาตรฐานท่ี 1
ดา้ นนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพ่อื การเรยี นการสอน คุณภาพของผู้เรยี น
รางวลั ทรงคุณค่า สพฐ. OBEC AWARDS ระดับชาติ
ประจำปี 2564 มาตรฐานที่ 1
7. รางวัลเหรยี ญทอง ครูผสู้ อนยอดเยีย่ ม ระดบั ประถมศึกษา คุณภาพของผู้เรยี น
กล่มุ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย ดา้ นบริหารจดั การ รางวัล
ทรงคณุ คา่ สพฐ. OBEC AWARDS ภาคเหนือ ประจำปี
2564

( มาตรฐานดา้ น 23

ช่ือ นวัตกรรม/แบบอยา่ งที่ดี มาตรฐานท่ี 1 ระดับการศกึ ษา
8. รางวัลชนะเลศิ อันดงั ท่ี 1 ช่ือผลงาน “การวัดยุค 4.0” การ คุณภาพของผู้เรียน ข้นั พ้นื ฐาน
ประกวดผลงานพฒั นานวตั กรรมวดิ โี อส่อื การสอนวดิ ีโอ
ออนไลน์ ระดบั เขตพ้ืนที่การศึกษา กลุ่มสาระการเรยี นรู้
คณติ ศาสตร์ ประจำปงี บประมาณ 2564

5. รางวลั ทสี่ ถานศึกษาได้รบั ประเภทรางวัล ระดับ หนว่ ยงาน หมายเหตุ
5.1 ปีการศึกษาปัจจบุ นั เขตพื้นที่ ท่มี อบรางวัล
เขตพื้นท่ี สพป.ตาก เขต 1
ชอ่ื รางวัล เขตพ้นื ที่
เขตพนื้ ที่ สพป.ตาก เขต 1
1. รางวลั โรงเรียนคุณธรรม สพฐ. -
ระดบั 1 ดาว กิจกรรมโรงเรียนดี - เขตพน้ื ท่ี สพป.ตาก เขต 1
ต้องมีทยี่ นื โครงการโรงเรยี นคณุ ธรรม สพฐ. - สพป.ตาก เขต 1
ปกี ารศกึ ษา 2564 ชนะเลศิ ระดับ
ทอง อันดบั 2 สพป.ตาก เขต 1
2. รางวัลโรงเรยี นคุณธรรม สพฐ.
ระดบั 2 ดาว กจิ กรรมโรงเรยี นดี ตอ้ งมีทีย่ ืน ชนะเลิศ
โครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ.
ปีการศกึ ษา 2564

3. รางวลั “สถานศึกษาปลอดภัย” ประจำปี
พ.ศ. 2564

4. รางวัลสถานศกึ ษาต้นแบบการดำเนนิ งาน
ระบบประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษา
ตามกฎกระทรวงการประกนั คุณภาพ พ.ศ.
2561 ตามโครงการประชมุ พัฒนารปู แบบ
การดำเนนิ งานระบบประกนั คุณภาพภายใน
สถานศึกษา ของโรงเรียนในสังกัดสำนักงาน
เขตพืน้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 1
ปกี ารศึกษา 2564

5. รางวัลการประกวดกจิ กรรมการถอด
บทเรียน Best Practice “โรงเรยี นสจุ ริต”
โครงการเสรมิ สรา้ งคุณธรรม จริยธรรมและ
ธรรมาภิบาลในสถานศกึ ษา “โรงเรียน
สุจริต” ประจำปีการศกึ ษา 2564

( 24

ชอ่ื รางวัล ประเภทรางวัล ระดับ หนว่ ยงาน หมายเหตุ
เขา้ ร่วม ระดับประเทศ ที่มอบรางวัล
6. รางวลั สง่ เสรมิ การประกวดบรรยายธรรม กรมการศาสนา
นกั เรียน ระดบั ประเทศ ผ่านวิดโิ อ คณะสงฆ์ เขา้ รว่ ม จังหวดั ตาก
ภาค 5 โลพ่ ระราชทาน สมเด็จพระกนษิ ฐาธิ เข้าร่วม จังหวดั ตาก กระทรวง
ราชเจ้า กรมสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ วฒั นธรรม
สยามบรมราชกมุ ารี งานสัปดาหส์ ่งเสรมิ เขา้ ร่วม จังหวดั ตาก
พระพุทธศาสนา เนื่องในเทศกาลวสิ าขบูชา สำนกั งาน
วนั สำคัญสากลของโลก ประจำปี 2564 เขา้ รว่ ม จงั หวดั ตาก ศกึ ษาธิการ
7. สถานศกึ ษาเข้ารว่ มงานวันคลา้ ยวัน รางวัลรอง ระดับ จังหวดั ตาก
สถาปนายุวกาชาด (100 ปี ยุวกาชาดไทย) ชนะเลิศ สาธารณสุข
รางวลั ชมเชย ภาคเหนือ จงั หวดั ตาก
8. รางวัลโรงเรยี นที่มคี วามครอบคลมุ ของ ระดบั
การได้รับวัคซนี โควิด 19 ในกลมุ่ บุคลากร วัฒนธรรมจังหวัด
ทางการศกึ ษา มากทส่ี ุด จากโครงการ ภาคเหนือ ตาก
“ล้านโดส ลา้ นใจ ลา้ นความหว่ งใย
เพ่อื ชาวตาก” วฒั นธรรมจงั หวดั
9. โรงเรยี นอนุบาลตาก ไดส้ ง่ นกั เรยี น ตาก
เขา้ รว่ มการประกวดสวดมนต์หมูส่ รรเสริญ
พระรตั นตรัย ทำนองสรภญั ญะ กรมอนามัย
ประเภททมี 5 คน ระดบั จังหวัด ศนู ยอ์ นามยั ที่ 2
ประจำปี พ.ศ. 2565
10. โรงเรียนอนบุ าลตาก ไดส้ ง่ นกั เรยี น พษิ ณุโลก
เขา้ รว่ มประกวดบรรยายธรรม ระดับจังหวัด กรมอนามัย
ประจำปี พ.ศ. 2565 ศนู ยอ์ นามยั ท่ี 2
11. โครงงานด้านอนามัยสิง่ แวดลอ้ ม ระดบั พิษณโุ ลก
จังหวดั ประจำปี 2565 เร่ือง Ecobricks for
chair (ลดโรค รกั ษ์โลก)
12. นวตั กรรมโครงงานสขุ ภาพนักเรียน
ประจำปี 2565 เรื่อง สขุ ภาพท่ีดี ชวี ิตมสี ขุ
ดว้ ย Homecourt

( 25

5.2 ปกี ารศกึ ษาทผ่ี ่านมา (ย้อนหลงั ไมเ่ กนิ 3 ปี) ปี พ.ศ..... หนว่ ยงาน หมายเหตุ
ช่ือรางวัล ทีไ่ ดร้ ับรางวัล ท่มี อบรางวัล

1. โรงเรียนรางวัลพระราชทาน -

2. นักเรียนรางวัลพระราชทาน -

4. โรงเรยี นคุณธรรม (ระดับ 1,2,3,4 ดาว) 2564 สพป.ตาก เขต 1

5. โรงเรยี นเศรษฐกจิ พอเพยี ง -

6. สถานศกึ ษาท่ีสง่ เสรมิ โครงการคดั เลือกเยาวชน 2561 กระทรวงศกึ ษาธิการ

ตน้ แบบ ดา้ นดนตรไี ทย ประจำปี พุทธศกั ราช 2561

7. สถานศึกษาท่ีมีระบบกลไกการบริหารจดั การคุณภาพ 2561 สพฐ.

และมาตรฐานการศึกษา เพื่อการประกันคุณภาพ

ระดับยอดเย่ยี ม ประเภทสถานศึกษาขนาดใหญ่

สมควรไดร้ บั รางวัล IQA AWARD ระดับเขตพ้ืนท่ี

การศึกษา

8. โรงเรยี นสามารถนำระบบ Virtual School Online 2562 กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

ไปใช้ช่วยเหลอื ดแู ลนกั เรยี นทางด้านวิชาการได้อย่าง

มีประสทิ ธภิ าพ ระดบั ประเทศ

9. สถานศึกษาทส่ี ่งเสริมโครงการคัดเลอื กเยาวชน 2562 กระทรวงศึกษาธิการ

ต้นแบบ ดา้ นดนตรไี ทย ประจำปี พุทธศักราช 2562

10. รางวัลชนะเลศิ ระดับเหรียญทอง ระดับประถมศึกษา 2562 สพป.ตาก เขต 1

กจิ กรรมการแขง่ ขนั ยุวบรรณารกั ษ์เพอื่ สง่ เสริม

การอา่ น โครงการสง่ เสรมิ การอ่านตามรอย

พระจริยวัตร สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯสยามบรม

ราชกมุ ารี ประจำปี 2562

11. รางวลั ระ ดับประเทศโรงเรยี นคารบ์ อนตำ่ (ลดการใช้ 2563 การไฟฟ้าฝา่ ยผลิต

พลังงานไฟฟา้ ทโ่ี รงเรยี น) ระดบั ประถมศกึ ษา แห่งประเทศไทย

ประเภทจำนวนนกั เรยี น 1,500 คนข้นึ ไป สามารถลด

ก๊าซเรอื นกระจกได้

12. โรงเรียนอนุบาลตากผา่ นผลการประเมนิ คุณธรรมและ 2563 สพป.ตาก เขต 1

ความโปร่งใสการดำเนนิ งานของสถานศกึ ษา

(Integrity & Transparency Assessment Online :

ITA Online)

13. รางวลั ยอดเยี่ยม ในการนำเสนอ Best Practice 2563 สพป.ตาก เขต 1

โรงเรียนคุณภาพประจำตำบล ประจำปีงบประมาณ

พ.ศ. 2563

( 26

6.ดำเนนิ งานตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ (ปรับตามนโยบายแตล่ ะปี) มี ไมม่ ี

ประเด็นตวั ชวี้ ดั 
1. การปลกู ฝังความมีระเบยี บวนิ ัย ทัศนคตทิ ่ีถกู ต้องผ่านกระบวนการลูกเสอื เนตรนารี ยุวกาชาด 
2. การจดั การเรียนร้เู พอ่ื สร้างทกั ษะพ้ืนฐานทเี่ ช่อื มโยงสู่การสร้างอาชพี และการมงี านทำ 

3. การจัดการเรยี นการสอนทส่ี ง่ เสรมิ การคดิ วเิ คราะหด์ ว้ ยวิธกี าร Active Learning 
4. การจดั การเรียนการสอนเพื่อฝกึ ทักษะการคิดแบบมเี หตผุ ลและเปน็ ข้นั ตอน (Coding)
5. การพัฒนาครใู หม้ คี วามชำนาญในการจดั การเรียนรู้ภาษาอังกฤษและภาษาคอมพิวเตอร(์ Coding) 
6. การจดั การเรียนรู้ดว้ ย STEM Education 

6.1 สถานศึกษามีการจดั การเรียนการสอนแบบ STEM Education 
6.2 สถานศกึ ษามีนวัตกรรมจากการเรยี นรตู้ ามแนวทาง STEM Education 

7. การเรียนภาษาอังกฤษเพ่ือใช้ในการส่ือสารและเพ่ิมทกั ษะสำหรบั ใช้ในการประกอบอาชพี 

8. การจัดการเรยี นรภู้ าษาต่างประเทศ (ภาษาทส่ี าม) 
9. การสง่ เสริมทักษะการอ่าน เขียนภาษาไทยเพือ่ ใชเ้ ปน็ เครือ่ งมือในการเรยี นร้ภู าษาอ่นื
10.การใชด้ จิ ิทลั แพลตฟอรม์ เพ่ือการเรยี นรหู้ รือสรา้ งอาชีพ
11.อน่ื ๆ ตามนโยบายเขต

11.1 ยกระดับผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น

11.2 โรงเรยี นปลอดภยั

11.3 หน่ึงโรงเรยี นหนึ่งนวัตกรรม (คร)ู และ (บริหาร)

7. ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายนอกของ สมศ. ท่ผี า่ นมา

รอบการประเมิน ระดับคุณภาพผลการประเมิน
ระดับปฐมวัย ระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน

รอบท่ี 3 (พ.ศ. 2554 – 2558) ระดับดี ระดับดี

รอบท่ี 4 (พ.ศ. 2559 – 2563) ดา้ นท่ี 1 ระดบั ดี ด้านท่ี 1 ระดับดี

ด้านท่ี 2 ระดบั ดี ด้านที่ 2 ระดับดี

ด้านที่ 3 ระดับดี ดา้ นที่ 3 ระดบั ดี

8. หนว่ ยงานภายนอกท่ีโรงเรียนเข้าร่วมเปน็ สมาชกิ
1. สำนักงานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาตาก เขต 1
2. องค์การบรหิ ารส่วนตำบลน้ำรึม
3. สถานีตำรวจภธู รจงั หวัดตาก
4. โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพคลองขยางโพรง
5. โรงพยาบาลสมเดจ็ พระเจา้ ตากสินมหาราช
6. สำนกั งานพฒั นาสังคมและความมั่นคงของมนษุ ยจ์ ังหวัดตาก
7. บา้ นพกั เด็กและครอบครวั จงั หวดั ตาก
8. สถานพนิ จิ และคมุ้ ครองเด็กและเยาวชนจงั หวัดตาก
9. โครงการห้องเรียนสเี ขียว กับการไฟฟา้ ฝ่ายผลิตแหง่ ประเทศ

( 27

สว่ นที่ 3
ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา

1. ผลการประเมนิ รายมาตรฐาน การปฏบิ ัตงิ าน จำนวนเด็ก (คน) *** ผลการ
ระดับปฐมวัย ไม่ เป้าหมาย ผลการประเมนิ ประเมนิ
มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของเดก็ ทงั้ หมด ผา่ นเกณฑท์ ่ี คุณภาพท่ีได้
ปฏิบตั ิ ปฏบิ ตั ิ (ร้อยละ) กำหนด (รอ้ ยละ)
ประเดน็ พิจารณา ยอดเยี่ยม
97.60 ยอดเยี่ยม
1 มพี ัฒนาการด้านรา่ งกาย แข็งแรง  90.00 417 407 97.12
มีสุขนสิ ยั ท่ีดี และดแู ลความ  90.00 417 405 ยอดเย่ียม
ปลอดภัยของตนเองได้ 97.37 ยอดเย่ยี ม
 90.00 417 406 97.60
1.1 ร้อยละของเดก็ มีน้ำหนกั สว่ นสงู ตาม  90.00 417 407 ยอดเยย่ี ม
เกณฑม์ าตรฐาน 98.80 ยอดเยี่ยม
 90.00 417 412 98.09 ยอดเยยี่ ม
1.2 ร้อยละของเด็กเคล่อื นไหวรา่ งกาย  90.00 417 409 98.32
คลอ่ งแคล่ว ทรงตัวได้ดี ใชม้ อื และตา  90.00 417 410 ยอดเยย่ี ม
ประสานสมั พันธไ์ ดด้ ี 99.04 ยอดเย่ยี ม
 90.00 417 413 97.12 ยอดเยยี่ ม
1.3 รอ้ ยละของเดก็ ดแู ลรกั ษาสขุ ภาพ  90.00 417 405 97.60 ยอดเยยี่ ม
อนามยั สว่ นตนและปฏิบตั จิ นเปน็ นิสยั  90.00 417 407 97.12 ยอดเยย่ี ม
 90.00 417 405 98.32 ยอดเย่ียม
1.4 รอ้ ยละของเดก็ ปฏบิ ตั ติ นตามข้อตกลง  90.00 417 410 97.84
เก่ยี วกบั ความปลอดภยั หลกี เลี่ยงสภาวะ  90.00 417 408
ทเ่ี ส่ยี งต่อโรค สิง่ เสพติด และระวงั ภัยจาก
บคุ คล สิง่ แวดลอ้ ม และสถานการณท์ เี่ สย่ี ง
อันตราย

2 มพี ฒั นาการดา้ นอารมณ์ จติ ใจ
ควบคมุ และแสดงออกทางอารมณ์
ได้

2.1 ร้อยละของเด็กร่าเรงิ แจ่มใส
แสดงอารมณ์ ความรู้สกึ ได้เหมาะสม

2.2 รอ้ ยละของเดก็ รจู้ ักยับยง้ั ชั่งใจ
อดทนในการรอคอย

2.3 รอ้ ยละของเดก็ ยอมรับและพอใจใน
ความสามารถ และผลงานของตนเองและ
ผู้อ่นื

2.4 ร้อยละของเดก็ มจี ติ สำนกึ และค่านยิ ม
ท่ีดี

2.5 รอ้ ยละของเด็กมคี วามมั่นใจ กล้าพดู
กลา้ แสดงออก

2.6 ร้อยละของเดก็ ช่วยเหลือแบง่ ปัน

2.7 ร้อยละของเด็กเคารพสิทธิ ร้หู นา้ ที่
รับผิดชอบ อดทนอดกล้ัน

2.8 รอ้ ยละของเด็กซอื่ สัตยส์ ุจรติ มคี ณุ ธรรม
จรยิ ธรรม ตามที่สถานศึกษากำหนด

2.9 รอ้ ยละของเดก็ มีความสุขกบั ศลิ ปะ
ดนตรี และการเคล่อื นไหว

( 28

การปฏบิ ตั งิ าน จำนวนเดก็ (คน) *** ผลการ
ผลการประเมนิ ประเมิน
ประเด็นพิจารณา ปฏบิ ตั ิ ไม่ เปา้ หมาย ทง้ั หมด ผา่ นเกณฑ์ที่ คุณภาพท่ไี ด้
ปฏบิ ตั ิ (รอ้ ยละ) กำหนด (รอ้ ยละ)
ยอดเยย่ี ม
3 มีพัฒนาการด้านสังคม ชว่ ยเหลอื 98.56 ยอดเยี่ยม
98.09 ยอดเยยี่ ม
ตนเองและเปน็ สมาชกิ ทดี่ ขี องสังคม 97.60 ยอดเยี่ยม
99.28 ยอดเยย่ี ม
3.1 ร้อยละของเด็กชว่ ยเหลือตนเอง  90.00 417 411 98.32
ในการปฏบิ ัตกิ จิ วัตรประจำวนั มวี ินยั ยอดเยี่ยม
97.84
ในตนเอง ยอดเยย่ี ม
97.12 ยอดเยย่ี ม
3.2 รอ้ ยละของเดก็ ประหยดั และพอเพยี ง  90.00 417 409 96.64 ยอดเยยี่ ม
97.37 ยอดเยี่ยม
3.3 ร้อยละของเด็กมสี ่วนรว่ มดแู ลรกั ษา  90.00 417 407 97.12
ส่งิ แวดล้อมในและนอกหอ้ งเรยี น ยอดเยี่ยม
98.32 ยอดเยี่ยม
3.4 รอ้ ยละของเด็กมมี ารยาทตามวฒั นธรรม  90.00 417 414 96.64
ยอดเย่ียม
ไทย เช่น การไหว้ การยม้ิ ทกั ทาย และ 97.80

มสี ัมมาคารวะกบั ผ้ใู หญ่ ฯลฯ

3.5 รอ้ ยละของเดก็ ยอมรบั หรือเคารพ  90.00 417 410

ความแตกตา่ งระหว่างบคุ คล เชน่ ความคดิ

พฤตกิ รรม พ้ืนฐานครอบครัว เชือ้ ชาติ

ศาสนา วัฒนธรรม เป็นต้น

3.6 ร้อยละของเด็กเล่นและทำงานร่วมกบั  90.00 417 408

ผู้อน่ื ได้ แกไ้ ขข้อขดั แยง้ โดยปราศจาก

การใชค้ วามรนุ แรง

4 มีพฒั นาการดา้ นสติปญั ญา สอื่ สาร

ได้ มที ักษะการคิดพ้นื ฐาน และ

แสวงหาความร้ไู ด้

4.1 รอ้ ยละของเด็กสนทนาโต้ตอบและ  90.00 417 405
เลา่ เร่ืองให้ผูอ้ ่นื เขา้ ใจ

4.2 รอ้ ยละของเด็กต้งั คำถามในสง่ิ ท่ี  90.00 417 403

ตนเองสนใจหรือสงสัย และพยายามคน้ หา

คำตอบ

4.3 รอ้ ยละของเด็กอา่ นนทิ านและเลา่ เรอื่ ง  90.00 417 406

ทต่ี นเองอ่านได้เหมาะสมกบั วยั

4.4 ร้อยละของเด็กมคี วามสามารถในการ  90.00 417 405
คิดรวบยอด การคดิ เชงิ เหตุผลทาง

คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ การคิด

แกป้ ัญหาและสามารถตัดสนิ ใจในเร่ือง

ง่าย ๆ ได้

4.5 รอ้ ยละของเด็กสรา้ งสรรคผ์ ลงานตาม  90.00 417 410
ความคิดและจนิ ตนาการ เช่น งานศิลปะ

การเคล่ือนไหวท่าทาง การเลน่ อสิ ระ ฯลฯ

4.6 รอ้ ยละของเดก็ ใช้สอื่ เทคโนโลยี เชน่  90.00 417 403
แวน่ ขยาย แม่เหลก็ กล้องดิจติ อล ฯลฯ

เป็นเครือ่ งมือในการเรียนรแู้ ละแสวงหา

ความรไู้ ด้

สรปุ ผลการประเมนิ = ผลรวมผลการประเมนิ ทุกประเดน็ พิจารณา

จำนวนประเด็นพิจารณา

หมายเหตุ กรอกขอ้ มูลเฉพาะแถบสีขาว

( 29

วธิ คี ำนวณ 100 x จำนวนเดก็ ผ่านเกณฑ์ทโ่ี รงเรยี นกำหนด
*** ผลการประเมิน (รอ้ ยละ) = จำนวนเด็กท้ังหมด

แปลผลการประเมนิ คุณภาพทไี่ ด้ = กำลังพัฒนา
รอ้ ยละ 00.00 – 49.99 = ปานกลาง
ร้อยละ 50.00 – 59.99 = ดี
รอ้ ยละ 60.00 – 74.99 = ดเี ลิศ
ร้อยละ 75.00 – 89.99 = ยอดเยย่ี ม
ร้อยละ 90.00 – 100

กระบวนการพัฒนาทสี่ ง่ ผลต่อระดบั คุณภาพของมาตรฐานที่ 1

สถานศึกษาจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการส่งเสริม สนับสนนุ ให้เด็กปฐมวัยทุกคนได้รับการพัฒนา
ด้านร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคม และสติปัญญาที่เหมาะสมกับวัย เด็กได้รับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้
โดยผ่าน 6 กิจกรรมหลัก รวมถึงได้รับการพัฒนาทักษะพื้นฐานทางด้านภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์
ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน เด็กสามารถใช้ชีวิตประจำวันได้อย่างมีความสุข มีทักษะชีวิตที่จำเป็นและดำรงชีวิต
ประจำวันตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และสำนึกความเป็นไทย โดยความร่วมมือระหว่างสถานศึกษา
กับพ่อแม่ ครอบครัวและชุมชนทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาเด็ก เน้นให้เด็กได้ลงมือปฏิบัติจริงโดยผ่าน
กิจกรรมอย่างหลากหลาย เช่น กิจกรรมบ้านวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทย กิจกรรมวิทยาการคำนวณ
กิจกรรมไฮสโคป กิจกรรมหนูน้อยท่องโลกกว้าง เป็นต้น รวมถึงการปลูกจิตสำนึกในด้านคุณธรรม จริยธรรม
เชน่ กิจกรรมค่ายหนูน้อยวถิ ีพุทธ กิจกรรมวันสำคญั ทางพระพุทธศาสนา เปน็ ตน้

ส่งผลให้เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการทั้ง 4 ด้านเหมาะสมตามวัย สามารถใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่ กล้ามเนื้อมัด
เล็กได้อย่างคล่องแคล่วและประสานสัมพันธ์กัน และมีสุขภาพอนามัยที่ดี มีสุขภาพจิตที่ดี ร่าเริง ยิ้มแย้มแจ่ มใส
มีความสขุ รกั การออกกำลังกาย รักดนตรี ชนื่ ชมศลิ ปะ ธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม มคี วามสนใจ ใฝร่ ู้ ม่นั ใจในตนเอง
และกล้าแสดงออกและมีการแสดงออกทางอารมณ์ได้เหมาะสมกับวัย มีวินัย รับผิดชอบ เชื่อฟังคำสั่งสอนของพ่อแม่ครูอาจารย์
มีความซื่อสัตย์สุจริต ประพฤติตนตามวัฒนธรรมไทยและศาสนาที่ตนเองนับถือ เล่นและทำกิจกรรมร่วมกับผู้อ่ืน
ได้อย่างมีความสุข ปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของชั้นเรียน รู้จักแบ่งปันและช่วยเหลือผู้อื่นตามโอกาสสนใจเรียนรู้
สิ่งรอบตัว ซักถามอย่างตั้งใจ และรักการเรียนรู้มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ ที่เกิดจากประสบการณ์
การเรียนรู้มีทักษะทางภาษาที่เหมาะสมกับวัย มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และมีความคิด
จินตนาการสรา้ งสรรค์ตามวยั

( 30

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ การปฏบิ ตั งิ าน *** ผลการประเมนิ
คุณภาพทีไ่ ด้
ประเดน็ พจิ ารณา ปฏิบตั ิ ไมป่ ฏบิ ัติ ผลสำเร็จ (ข้อ)
ยอดเยี่ยม
1 มหี ลกั สตู รครอบคลุมพัฒนาการท้งั ส่ีดา้ น สอดคล้องกับบริบทของ 5 ยอดเยยี่ ม
ท้องถิน่ 5 ยอดเยี่ยม
1.1 มีหลกั สตู รสถานศกึ ษาทย่ี ดื หยนุ่ และสอดคล้องกบั หลกั สูตร 5 ยอดเยี่ยม
การศึกษาปฐมวัย 5
1.2 ออกแบบการจดั ประสบการณ์ที่เตรยี มความพร้อมและไม่เร่งรัด ยอดเยี่ยม
วชิ าการ 5
1.3 ออกแบบการจัดประสบการณ์ทเ่ี น้นการเรยี นรูผ้ ่านการเลน่ และ ยอดเยย่ี ม
การลงมือปฏบิ ัติ (Active learning) 5 ยอดเยย่ี ม
1.4 ออกแบบการจัดประสบการณท์ ต่ี อบสนองความตอ้ งการและ 5 ยอดเย่ยี ม
ความแตกต่างของเดก็ ปกติและกลุม่ เปา้ หมายเฉพาะทสี่ อดคล้องกบั 5 ยอดเยย่ี ม
วิถีชวี ิตของครอบครัว ชมุ ชนและท้องถน่ิ 5 ยอดเยย่ี ม
1.5 มีการประเมิน ตรวจสอบ และปรบั ปรงุ / พัฒนาหลกั สตู รอยา่ ง 5
ต่อเนอื่ ง ยอดเยย่ี ม
5 ยอดเยย่ี ม
2 จัดครูใหเ้ พียงพอกบั ชั้นเรยี น ยอดเยย่ี ม
5 ยอดเยย่ี ม
2.1 จดั ครูครบชั้นเรยี น ยอดเยย่ี ม
5
2.2 จัดครูให้มีความเหมาะสมกบั ภารกจิ การจัดประสบการณ์ ยอดเยยี่ ม
5 ยอดเยย่ี ม
2.3 จดั ครูไม่จบการศกึ ษาปฐมวยั แตผ่ ่านการอบรมการศกึ ษาปฐมวัย 5 ยอดเยี่ยม

2.4 จดั ครูจบการศึกษาปฐมวยั 5 ดีเลศิ
5
2.5 จัดครูจบการศกึ ษาปฐมวยั และผา่ นการอบรมการศึกษาปฐมวัย 5 ดเี ลิศ
4
3 ส่งเสรมิ ใหค้ รูมคี วามเชี่ยวชาญดา้ นการจัดประสบการณ์
4
3.1 มีการพัฒนาครแู ละบคุ ลากรใหม้ ีความรู้ความสามารถในการ
วเิ คราะห์และออกแบบหลักสูตรสถานศึกษา
3.2 สง่ เสรมิ ครูให้มที ักษะในการจดั ประสบการณ์และการประเมนิ
พฒั นาการเดก็
3.3 สง่ เสริมครูใชป้ ระสบการณส์ ำคญั ในการออกแบบการจัดกจิ กรรม
จดั กจิ กรรม สงั เกตและประเมนิ พฒั นาการเด็กเปน็ รายบุคคล
3.4 ส่งเสรมิ ให้ครูมปี ฏิสัมพันธท์ ด่ี กี บั เดก็ และครอบครัว

3.5 สง่ เสรมิ ให้ครูพัฒนาการจัดประสบการณโ์ ดยใชช้ ุมชนแห่งการ
เรียนรูท้ างวิชาชพี (PLC)
4 จัดสภาพแวดล้อมและส่อื เพือ่ การเรยี นรอู้ ย่างปลอดภัย
และเพียงพอ
4.1 จัดสภาพแวดลอ้ มภายในหอ้ งเรียนทค่ี ำนึงถงึ ความปลอดภยั

4.2 จดั สภาพแวดล้อมภายนอกหอ้ งเรยี นทีค่ ำนงึ ถงึ ความปลอดภัย

4.3 ส่งเสริมให้เกดิ การเรยี นรทู้ ี่เป็นรายบคุ คลและกลมุ่ เลน่ แบบ
ร่วมมือร่วมใจ
4.4 จัดให้มมี ุมประสบการณห์ ลากหลาย มีสื่อการเรียนรู้ ทป่ี ลอดภยั
และเพยี งพอ เช่น ของเลน่ หนังสอื นิทาน สื่อจากธรรมชาติ สอื่
สำหรบั เดก็ มุดลอด ปนี ปา่ ย สอ่ื เทคโนโลยกี ารสืบเสาะหาความรู้
4.5 จัดห้องประกอบที่เออื้ ต่อการจัดประสบการณ์และพัฒนาเด็ก

( 31

ประเด็นพจิ ารณา การปฏิบตั งิ าน *** ผลการประเมนิ
ผลสำเร็จ (ข้อ) คณุ ภาพทีไ่ ด้
5 ให้บรกิ ารสื่อเทคโนโลยสี ารสนเทศและสอื่ การเรียนรเู้ พอื่ ปฏบิ ตั ิ ไม่ปฏบิ ัติ
สนบั สนุนการจัดประสบการณ์ 4 ดีเลิศ
 5 ยอดเยี่ยม
5.1 อำนวยความสะดวกและใหบ้ ริการสอ่ื เทคโนโลยีสารสนเทศ วัสดุ  5 ยอดเยย่ี ม
อุปกรณแ์ ละสอื่ การเรียนรู้  5 ยอดเยีย่ ม
5.2 พฒั นาครใู หม้ ีความรคู้ วามสามารถในการผลิตและใชส้ ่ือในการ  5 ยอดเยยี่ ม
จดั ประสบการณ์
5.3 มกี ารนเิ ทศติดตามการใช้ส่ือในการจัดประสบการณ์ 5 ยอดเยีย่ ม
5 ยอดเยีย่ ม
5.4 มีการนำผลการนิเทศตดิ ตามการใชส้ ่อื มาใช้เปน็ ข้อมูลในการ 5 ยอดเย่ียม
พัฒนา 5 ยอดเย่ยี ม

5.5 ส่งเสริม สนบั สนุนการเผยแพร่การพฒั นาสอ่ื และนวัตกรรมเพ่อื  5 ยอดเยย่ี ม
การจดั ประสบการณ์ 4.90 ยอดเยี่ยม

6 มรี ะบบบรหิ ารคุณภาพทเ่ี ปิดโอกาสใหผ้ เู้ กยี่ วขอ้ งทกุ ฝ่ายมี 
ส่วนรว่ ม 

6.1 กำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาที่สอดคลอ้ งกับ
มาตรฐานการศึกษาปฐมวัยและอัตลักษณข์ องสถานศกึ ษา
6.2 จัดทำแผนพัฒนาการศกึ ษาที่สอดรบั กับมาตรฐานท่สี ถานศกึ ษา
กำหนดและดำเนนิ การตามแผน
6.3 มกี ารประเมนิ ผลและตรวจสอบคณุ ภาพภายในสถานศึกษา

6.4 มกี ารติดตามผลการดำเนินงาน และจัดทำรายงานผล
การประเมนิ ตนเองประจำปี และรายงานผลการประเมินตนเอง
ให้หนว่ ยงานต้นสังกดั

6.5 นำผลการประเมินไปปรับปรุงและพฒั นาคณุ ภาพสถานศึกษา 
โดยผู้ปกครองและผู้เกยี่ วขอ้ งทกุ ฝ่ายมีสว่ นรว่ ม

สรปุ ผลการประเมิน = ผลรวมผลสำเรจ็ ทกุ ประเด็นพิจารณา

จำนวนประเดน็ พจิ ารณา

หมายเหตุ กรอกขอ้ มูลเฉพาะแถบสขี าว

*** ผลสำเรจ็ = จำนวนข้อทปี่ ฏิบตั ใิ นแต่ละประเดน็ พจิ ารณา

แปลผลการประเมนิ คณุ ภาพทไ่ี ด้ ค่าเฉลยี่ ผลการประเมนิ คุณภาพที่ได้
ปฏิบัติ 1 ขอ้ ได้ระดับคุณภาพ กำลังพฒั นา 1.00 – 1.49 ระดบั คณุ ภาพ กำลังพัฒนา
ปฏิบตั ิ 2 ขอ้ ได้ระดับคณุ ภาพ ปานกลาง 1.50 –2.49 ระดบั คณุ ภาพ ปานกลาง
ปฏบิ ัติ 3 ข้อ ได้ระดบั คณุ ภาพ ดี 2.50 – 3.49 ระดับคณุ ภาพ ดี
ปฏิบตั ิ 4 ขอ้ ได้ระดับคุณภาพ ดีเลศิ 3.50 – 4.49 ระดบั คณุ ภาพ ดีเลศิ
ปฏิบัติ 5 ขอ้ ได้ระดับคุณภาพ ยอดเย่ียม 4.50 – 5.00 ระดับคณุ ภาพ ยอดเยย่ี ม

( 32

กระบวนการพัฒนาทส่ี ง่ ผลต่อระดบั คุณภาพของมาตรฐานที่ 2

เพื่อให้บรรลุตามกระบวนการบริหารและการจัดการคุณภาพของสถานศึกษา ในโรงเรียนอนุบาลตาก
ได้ดำเนินการวิเคราะห์สภาพปัญหา ผลการจัดการศึกษาที่ผ่านมา โดยใช้ข้อมูลฐานในการกำหนดเป้าหมาย
วิสัยทัศน์และพันธกิจอย่างชัดเจน ดำเนินการพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนเป็นสำคัญ ตามหลักสูตร
สถานศึกษาทุกกลุ่มเป้าหมาย เชื่อมโยงกับชีวิตจริง จัดทำแผนพัฒนา คุณภาพจัดการศึกษา ดำเนินงานพัฒนาครู
และบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญ ทางด้านวิชาชีพ ตามความต้องการของครูและสถานศึกษา จัดสภาพแวดล้อม
ทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ และจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพ่ือ
สนับสนนุ การบริหารจดั การและการเรียนรู้ท่ีเหมาะสมกบั สภาพของโรงเรียนอนบุ าลตาก

จากการดำเนินงานกระบวนการบริหารและการจัดการของผู้บริหารสถานศึกษา โดยใช้ข้อมูลสารสนเทศ
มีความถูกต้อง ครบถ้วน ทันสมัย นำไปประยุกต์ใชไ้ ด้ ดำเนินการอย่างเปน็ ระบบ และมีส่วนร่วมจากทุกฝ่ายทำให้
โรงเรียนมีการกำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์และพันธกิจสอดคล้องกับสภาพความต้องการพัฒนาของสถานศึกษา
นโยบายการปฏิรูปการศึกษา ความต้องการของชุมชน ท้องถิ่น และสอดคล้องกับแนวทางการปฏิรปู ตามแผนการ
ศกึ ษาชาติ ไดแ้ ก่ กำหนดหลักสตู รสถานศึกษา และแผนพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา เนน้ เด็กทกุ คนไดร้ บั การพัฒนา
จนจบระดับการศึกษาก่อนประถมศึกษา และนักเรียนทุกคนจบการศึกษาชั้นสูงสุดของโรงเรียน เด็กด้อยโอกาส
และเด็กพิการได้รับการพัฒนาตามศักยภาพนักเรียนทุกคนมคี ุณธรรมและมีวิถีชีวิตตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ
พอเพียง เพิ่มเติมกิจกรรมเสริมหลักสูตรภาษาอังกฤษ คอมพิวเตอร์ เศรษฐกิจพอเพียง และภาษาไทยสอดคล้อง
กับการพัฒนาผู้เรียนทุกกลุ่มเป้าหมาย มีการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู้ความเชี่ยวชาญ
ตามมาตรฐานตำแหน่ง มีการดำเนินงานพัฒนาสภาพแวดล้อม แหล่งเรียนรู้ สื่อและสิ่งอำนวยความสะดวก
เพียงพอที่กระตุ้นผู้เรียนให้ใฝ่เรียนรู้ มีเครือข่ายผู้ปกครองร่วมการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา มีส่วนร่วมในการ
รว่ มวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาและรบั ทราบ มีการนเิ ทศ กำกับ ติดตามและประเมินผลการบริหารจัดการ
สถานศกึ ษาอย่างเป็นระบบและต่อเน่ือง

( 33

มาตรฐานท่ี 3 การจัดประสบการณท์ ่ีเนน้ เดก็ เป็นสำคญั

การปฏบิ ัตงิ าน เปา้ หมาย จำนวนครู (คน) ผลการ
(รอ้ ยละ) ประเมิน
ประเดน็ พจิ ารณา ปฏิบตั ิ ไม่ บรรจุ ผา่ นเกณฑ์ ผลการประเมนิ คุณภาพท่ีได้
ปฏิบตั ิ ทก่ี ำหนด (ร้อยละ)
1 จัดประสบการณ์ทีส่ ง่ เสริมให้เด็กมี ยอดเยีย่ ม
 90.00 10 10 100 ยอดเยยี่ ม
พฒั นาการทกุ ด้าน อย่างสมดุลเตม็  90.00 10 10 100 ยอดเย่ยี ม
ศักยภาพ 100
1.1 มกี ารวเิ คราะห์ขอ้ มลู เดก็ เปน็ รายบคุ คล  90.00 10 10 ยอดเยย่ี ม
100 ยอดเยยี่ ม
1.2 จัดทำแผนและใช้แผนการจัดประสบการณ์  90.00 10 10 100
จากการวเิ คราะห์มาตรฐานคณุ ลักษณะที่พงึ  90.00 10 10 ยอดเยี่ยม
ประสงค์ในหลกั สูตรสถานศกึ ษา 100
1.3 จัดกิจกรรมทส่ี ่งเสริมพฒั นาการเดก็ ครบ  90.00 10 10 ยอดเยย่ี ม
ทุกด้าน ท้ังด้านร่างกาย ดา้ นอารมณจ์ ติ ใจ 100 ยอดเยี่ยม
ดา้ นสงั คม และดา้ นสตปิ ัญญา โดย ไม่มุง่ เน้น  90.00 10 10 100 ยอดเยยี่ ม
การพัฒนาด้านใดดา้ นหนง่ึ เพยี งดา้ นเดยี ว  90.00 10 10 100 ยอดเย่ียม
 90.00 10 10 100
2 สร้างโอกาสใหเ้ ด็กไดร้ ับประสบการณ์  90.00 10 10
ตรง เลน่ และปฏบิ ัตอิ ย่างมคี วามสขุ

2.1 จดั ประสบการณ์ที่เชอื่ มโยงกบั
ประสบการณเ์ ดมิ
2.2 ให้เดก็ มีโอกาสเลือกทำกจิ กรรมอยา่ ง
อสิ ระ ตามความต้องการความสนใจ
ความสามารถ ตอบสนองตอ่ วธิ ีการเรียนร้ขู อง
เดก็ เปน็ รายบุคคล หลากหลายรูปแบบจาก
แหลง่ เรยี นร้ทู ีห่ ลากหลาย
2.3 เดก็ ได้เลอื กเล่น เรียนร้ลู งมือ กระทำ และ
สรา้ งองค์ความรู้ดว้ ยตนเอง

3 จัดบรรยากาศท่เี อื้อต่อการเรยี นรู้ ใช้ส่อื
และเทคโนโลยีท่เี หมาะสมกบั วัย

3.1 จดั บรรยากาศและสภาพแวดล้อมใน
ห้องเรียนได้สะอาด ปลอดภยั และอากาศถา่ ยเท
สะดวก
3.2 จดั ให้มพี น้ื ทแี่ สดงผลงานเด็ก พื้นท่ีสำหรบั
มมุ ประสบการณแ์ ละการจดั กจิ กรรม
3.3 จัดให้เด็กมีสว่ นรว่ มในการจัดภาพแวดล้อม
ในหอ้ งเรยี น เชน่ ปา้ ยนิเทศ การดแู ลต้นไม้
เปน็ ต้น
3.4 ใชส้ ือ่ และเทคโนโลยที ่เี หมาะสมกบั ช่วงอายุ
ระยะความสนใจ และวถิ ีการเรียนรู้ของเด็ก เชน่
กล้องดิจติ อล คอมพิวเตอร์ สำหรับการเรียนรู้
กลุ่มยอ่ ย สื่อของเล่นที่กระต้นุ ใหค้ ดิ และหา
คำตอบ เป็นตน้

( 34

การปฏบิ ัตงิ าน จำนวนครู (คน)
ผา่ นเกณฑ์
ประเดน็ พิจารณา ปฏบิ ตั ิ ไม่ เป้าหมาย *** ผลการ
ปฏิบตั ิ (ร้อยละ) บรรจุ ที่กำหนด ผลการประเมนิ ประเมิน
คณุ ภาพท่ีได้
(ร้อยละ)

4 ประเมนิ พัฒนาการเดก็ ตามสภาพจริง

และนำผลการประเมนิ พฒั นาการเด็กไป

ปรบั ปรงุ การจดั ประสบการณ์และ

พัฒนาเดก็

4.1 ประเมินพฒั นาการเด็กจากกจิ กรรมและ  90.00 10 10 100 ยอดเยย่ี ม
กิจวตั รประจำวนั ดว้ ยเครอื่ งมอื และวิธกี ารที่
ยอดเยย่ี ม
หลากหลาย ยอดเยย่ี ม
ยอดเยยี่ ม
4.2 วิเคราะห์ผลการประเมินพฒั นาการเดก็  90.00 10 10 100 ยอดเย่ียม
โดยผปู้ กครองและผเู้ กยี่ วขอ้ งมีส่วนร่วม

4.3 นำผลการประเมินท่ีไดไ้ ปพัฒนาคณุ ภาพ  90.00 10 10 100
เดก็ อย่างเปน็ ระบบและต่อเนื่อง

4.4 นำผลการประเมนิ แลกเปลี่ยนเรยี นรูโ้ ดยใช้  90.00 10 10 100

กระบวนการชุมชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวชิ าชีพ

สรุปผลการประเมนิ = ผลรวมผลการประเมินทุกประเดน็ พิจารณา 100

จำนวนประเด็นพจิ ารณา

หมายเหตุ กรอกข้อมลู เฉพาะแถบสีขาว

วิธคี ำนวณ

*** ผลการประเมนิ (รอ้ ยละ) = 100 x จำนวนครผู ่านเกณฑ์ท่ีโรงเรียนกำหนด

จำนวนครทู ัง้ หมด

แปลผลการประเมินคณุ ภาพทไ่ี ด้

รอ้ ยละ 00.00 – 49.99 = กำลังพัฒนา

รอ้ ยละ 50.00 – 59.99 = ปานกลาง

ร้อยละ 60.00 – 74.99 = ดี

รอ้ ยละ 75.00 – 89.99 = ดเี ลิศ

ร้อยละ 90.00 – 100 = ยอดเยี่ยม

กระบวนการพัฒนาที่ส่งผลต่อระดับคุณภาพของมาตรฐานท่ี 3

ครูไดจ้ ดั ทำการวเิ คราะห์หลักสูตรสถานศึกษา เพอ่ื มงุ่ เนน้ การจัดการเรียนรู้ทม่ี ีประสิทธภิ าพ และได้จัดทำ
โครงการพัฒนาครูและบุคลากรเพ่ือให้ครูได้มีการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ เพื่อให้ครูนำความรู้
และเทคนิควิธีการใหม่ๆ มาประยุกต์ใช้ให้เหมาะกับเด็กและให้เด็กมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามมาตรฐาน
การศึกษาระดับปฐมวยั โรงเรียนไดจ้ ดั กจิ กรรมในการพัฒนาครู เช่น สง่ เสริมให้ครูได้รับการอบรมสัมมนาอย่างน้อย
คนละ 20 ช.ม./ปี การศึกษาดูงานปีละ1 ครั้ง การจัดทำวิจัยในชั้นเรียนและสร้างนวัตกรรมอย่างน้อยภาคเรียนละ
1 เรื่อง การจัดทำข้อมูลวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคลและการประชุม PLC เพื่อให้ครูได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้
ถึงปัญหาของเด็กและหาแนวทางแก้ไขร่วมกัน ซึ่งจะทำให้การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ของเด็กมีประสิทธิภาพ
มากยิ่งขึ้นและเน้นให้เด็กได้ลงมือปฏิบัติจริง สร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองโดยใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
กับช่วงอายุ ระยะความสนใจ และวิถีการเรียนรู้ของเด็ก เช่นโทรทัศน์ คอมพิวเตอร์สำหรับการเรียนรู้ สื่อของเล่น
ที่กระตุ้นให้คิดและหาคำตอบ เป็นต้นมีการจัดสภาพห้องเรียนให้สะอาด อากาศถ่ายเท ปลอดภัย มีพื้นที่แสดง

( 35

ผลงานเด็ก พื้นที่สำหรับมุมประสบการณ์ เด็กมีส่วนร่วมในการจัดสภาพแวดล้อมในห้องเรียน รวมถึงได้ มีการ
ประเมินพฒั นาการเดก็ ปฐมวยั ทั้ง 4 ด้าน กำหนดให้มกี ารประเมินพฒั นาการเปน็ รายบุคคล

กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเี่ น้นเด็กเป็นสำคัญสามารถกำหนดเป้าหมายในการพฒั นาคุณภาพเด็ก
ได้ครอบคลุม ทั้งด้านความรู้ทักษะ กระบวนการ สมรรถนะสำคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่สอดคล้องกับ
เป้าหมายของหลักสตู รสถานศึกษา ครูสามารถวเิ คราะห์ผู้เรียนเปน็ รายบุคคล ใช้ข้อมูลจากการวิเคราะห์เด็กมาใช้
ในการวางแผนจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพเด็ก โดยคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลออกแบบการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วิธีสอนเทคนิคการสอนที่หลากหลาย และจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแผนการจัดการ
เรียนรู้ที่กำหนดโดยครูเข้ารับอบรมพัฒนาความรู้ด้านการจดั การเรียนรู้ในระดบั ปฐมวัย เด็กมีศักยภาพด้านการใช้
ส่อื เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรยี นร้ทู ่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้ครผู ลิตส่ือเพ่ือใช้ในการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน
ทุกภาคเรยี น โดยใหส้ อดคลอ้ งกับหนว่ ยการเรียนรู้ เพ่ือใหม้ สี ่อื เพียงพอสอดคล้องกับการเรียนปลอดภัยสำหรับเด็ก
และการจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อการเรียนและอำนวยความสะดวกที่เอื้อต่อการเรียนรู้จัดทำ
กระบวนการวจิ ัยในช้ันเรยี นอย่างเปน็ รูปธรรมและตอ่ เน่อื ง

( 36

ระดับการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน การปฏบิ ตั งิ าน จำนวนผ้เู รยี น (คน) *** ผลการ
มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผเู้ รียน ไม่ ผลการ ประเมิน
เปา้ หมาย ท้งั หมด ผ่านเกณฑ์ ประเมนิ คุณภาพทีไ่ ด้
ประเด็นพจิ ารณา ปฏบิ ตั ิ ปฏบิ ตั ิ (ร้อยละ) ท่กี ำหนด (รอ้ ยละ)
ดีเลศิ
ผลสัมฤทธท์ิ างวชิ าการของผเู้ รียน  80.00 1,271 1,027 80.80 ดเี ลิศ
1 มคี วามสามารถในการอา่ น การเขยี น  80. 00 1,271 1,040 81.82 ดเี ลศิ
 80.00 1,271 1,042 81.98 ดเี ลิศ
การสอ่ื สาร และการคดิ คำนวณ  80.00 1,271 1,040 81.82
1.1 ร้อยละของผเู้ รียนมที ักษะในการอา่ นใน ดีเลศิ
แต่ละระดบั ช้ันตามเกณฑท์ สี่ ถานศึกษา  80.00 1,271 1,037 81.58
กำหนด ดเี ลิศ
1.2 รอ้ ยละของผเู้ รียนมีทกั ษะในการเขยี นใน  80.00 1,271 1,039 81.74 ดเี ลศิ
แตล่ ะระดบั ชนั้ ตามเกณฑท์ ส่ี ถานศกึ ษา  80.00 1,271 1,030 81.03 ดเี ลิศ
กำหนด  80.00 1,271 1,024 80.56
1.3 ร้อยละของผู้เรียนมที กั ษะในการสอ่ื สาร
ในแต่ละระดบั ช้ันตามเกณฑท์ ส่ี ถานศึกษา
กำหนด
1.4 รอ้ ยละของผู้เรยี นมีทักษะในการคดิ
คำนวณในแตล่ ะดับชัน้ ตามเกณฑท์ ี่
สถานศึกษากำหนด
2 มคี วามสามารถในการคิดวิเคราะห์ คดิ อยา่ ง
มวี จิ ารณญาณ อภปิ รายแลกเปลย่ี นความ
คดิ เห็นและแกป้ ญั หา
2.1 รอ้ ยละของผูเ้ รยี นมีความสามารถในการ
คิดจำแนกแยกแยะ ใคร่ครวญ ไตรต่ รอง
อย่างรอบคอบโดยใชเ้ หตุผลประกอบการ
ตดั สินใจ
2.2 รอ้ ยละของผู้เรียนมีการอภิปราย
แลกเปลยี่ นความคดิ เห็น
2.3 ร้อยละของผเู้ รียนมีการแก้ปญั หาอยา่ งมี
เหตผุ ล
3 มคี วามสามารถในการสร้างนวตั กรรม
3.1 ร้อยละของผูเ้ รยี นมีความสามารถในการ
รวบรวมความรไู้ ด้ท้งั ตวั เองและการทำงาน
เปน็ ทีม

( 37

การปฏบิ ตั งิ าน จำนวนผ้เู รยี น (คน) *** ผลการ
ผลการ ประเมนิ
ประเดน็ พจิ ารณา ปฏบิ ตั ิ ไม่ เป้าหมาย ท้ังหมด ผา่ นเกณฑ์ ประเมิน คุณภาพทีไ่ ด้
ปฏิบตั ิ (รอ้ ยละ) ที่กำหนด (รอ้ ยละ)
ดีเลศิ
3.2 ร้อยละของผ้เู รียนสามารถเชอื่ มโยงองค์  80.00 1,271 1,019 80.17

ความร้แู ละประสบการณม์ าใชใ้ นการ

สรา้ งสรรคส์ งิ่ ใหม่ ๆ อาจเป็นแนวความคดิ

โครงการ โครงงาน ชน้ิ งาน ผลผลติ

4 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

สารสนเทศ และการสอื่ สาร

4.1 ร้อยละของผเู้ รยี นมคี วามสามารถในการใช้  85.00 1,271 1,271 100 ยอดเยย่ี ม
85.00 1,271 1,271 100 ยอดเย่ียม
เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร

4.2 ร้อยละของผเู้ รียนมีความสามารถในการนำ 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สารเพอ่ื พฒั นา

ตนเองและสังคมในด้านการเรียนรู้ การสอื่ สาร

การทำงานอย่างสรา้ งสรรค์ และมคี ณุ ธรรม

5 มผี ลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นตามหลกั สตู ร

สถานศึกษา

5.1 รอ้ ยละของผู้เรยี นบรรลุการเรียนรูต้ ามหลักสตู ร  82.00 1,271 1,271 100 ยอดเย่ียม
สถานศึกษา 82.00 1,271 1,271 100 ยอดเยยี่ ม
78.00 1,271 1,017 80.02 ดเี ลศิ
5.2 ร้อยละของผู้เรยี นมคี วามก้าวหน้าในการเรียนรู้ 
ตามหลกั สตู รสถานศกึ ษาจากพ้นื ฐานเดมิ

5.3 ร้อยละของผู้เรยี นมคี วามกา้ วหน้าในผลการ 
ทดสอบระดับชาติ หรอื ผลการทดสอบอนื่ ๆ

6 มีความร้ทู กั ษะพ้ืนฐาน และเจตคตทิ ดี่ ีต่องาน

อาชีพ

6.1 ร้อยละของผู้เรียนมีความรู้ ทกั ษะพนื้ ฐานและ  85.00 1,271 1,271 100 ยอดเยย่ี ม
เจตคติทดี่ ีในการศกึ ษาต่อ 85.00 1,271 1,271 100 ยอดเย่ยี ม

6.2 รอ้ ยละของผ้เู รยี นมีความรู้ ทกั ษะพนื้ ฐานและ 
เจตคติท่ดี ใี นการจดั การ การทำงานหรอื งานอาชีพ

คุณลักษณะทพี่ งึ ประสงคข์ องผ้เู รียน

1 การมีคณุ ลักษณะและคา่ นิยมท่ดี ตี ามที่  87.00 1,271 1,271 100 ยอดเยี่ยม
สถานศึกษากำหนด  86.00 1,271 1,271 100 ยอดเยยี่ ม

1.1 ร้อยละของผเู้ รยี นมพี ฤติกรรมเปน็ ผทู้ ม่ี คี ณุ ธรรม
จรยิ ธรรม เคารพในกฎกตกิ า

1.2 ร้อยละของผ้เู รยี นมีคา่ นิยมและจติ สำนกึ ตามที่
สถานศกึ ษากำหนด โดยไมข่ ัดกบั กฎหมายและ
วัฒนธรรมอันดีของสงั คม

( 38

การปฏบิ ตั งิ าน จำนวนผเู้ รยี น (คน) *** ผลการ
ผลการ ประเมนิ
ประเด็นพิจารณา ปฏบิ ตั ิ ไม่ เป้าหมาย ทัง้ หมด ผ่านเกณฑ์ ประเมนิ คณุ ภาพทไ่ี ด้
ปฏิบตั ิ (รอ้ ยละ) ทก่ี ำหนด (รอ้ ยละ)
2 ความภมู ิใจในทอ้ งถิ่นและความเปน็ ไทย ยอดเย่ยี ม
 85.00 1,271 1,271 100 ยอดเยย่ี ม
2.1 ร้อยละของผูเ้ รยี นมีความภมู ใิ จในทอ้ งถ่นิ เหน็
คณุ ค่าของความเปน็ ไทย ยอดเยย่ี ม

2.2 ร้อยละของผเู้ รียนมสี ่วนร่วมในการอนุรกั ษ์  85.00 1,271 1,271 100 ยอดเยยี่ ม
วฒั นธรรมและประเพณีไทยรวมท้งั ภูมปิ ญั ญาไทย ยอดเยี่ยม
ยอดเยย่ี ม
3 การยอมรับที่จะอย่รู ่วมกนั บนความแตกต่าง  85.00 1,271 1,271 100
และหลากหลาย
 85.00
3.1 รอ้ ยละของผเู้ รียนยอมรบั และอย่รู ่วมกันบน  85.00 1,271 1,271 100
ความแตกต่างระหวา่ งบคุ คลในดา้ นเพศ วัย เชื้อ
ชาติ ศาสนา ภาษาวัฒนธรรม ประเพณี 85.00 1,271 1,271 100

4 สขุ ภาวะทางรา่ งกายและจิตสังคม

4.1 ร้อยละของผ้เู รยี นมกี ารรักษาสุขภาพกาย
สขุ ภาพจิต อารมณแ์ ละสงั คม และแสดงออกอยา่ ง
เหมาะสมในแต่ละชว่ งวยั

4.2 รอ้ ยละของผูเ้ รยี นสามารถอยู่ร่วมกบั คนอ่ืนอย่าง
มีความสุข เข้าใจผอู้ ื่น ไม่มีความขดั แย้งกบั ผอู้ ื่น

สรุปผลการประเมิน = ผลรวมผลการประเมนิ ทุกประเดน็ พิจารณา 91.78

จำนวนประเด็นพิจารณา

หมายเหตุ กรอกข้อมลู เฉพาะแถบสีขาว

วิธคี ำนวณ

*** ผลการประเมิน (ร้อยละ) = 100 x จำนวนผู้เรยี นผ่านเกณฑ์ทโ่ี รงเรียนกำหนด

จำนวนผู้เรียนทง้ั หมด

แปลผลการประเมินคุณภาพที่ได้

ร้อยละ 00.00 – 49.99 = กำลงั พฒั นา

ร้อยละ 50.00 – 59.99 = ปานกลาง

รอ้ ยละ 60.00 – 74.99 = ดี

รอ้ ยละ 75.00 – 89.99 = ดีเลศิ

ร้อยละ 90.00 – 100 = ยอดเยี่ยม

กระบวนการพัฒนาทีส่ ง่ ผลต่อระดบั คุณภาพของมาตรฐานที่ 1

โรงเรยี นอนบุ าลตากไดด้ ำเนินการพัฒนาคุณภาพผูเ้ รียนให้มีผลสัมฤทธิ์ทางวชิ าการ ด้วยการพฒั นาหลกั สูตร
สถานศึกษา หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้และนำหลักสูตรเข้าสู่การจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียนอย่างเป็น
รูปธรรม จัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา มีกิจกรรมและโครงการที่ส่งเสริมผู้เรียน ด้วยวิธีการที่หลากหลาย
ทั้งในชัน้ เรียนและนอกชนั้ เรียน จดั หาสือ่ ประกอบการสอนสำหรบั ส่งเสริมผู้เรยี นทุกระดับช้ัน จดั ทำรายงานผลการ
พัฒนาผู้เรียน รายงานโครงการตามแผนพัฒนาคุณภาพ เช่น โครงการยกระดับสัมฤทธิ์ทางการเรียน โครงการ
แกป้ ญั หานักเรียนอ่านไม่ออกเขียนไม่คล่อง โดยจดั ให้มีกิจกรรมทีช่ ่วยส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนด้านการอ่านการเขียน

( 39

การสื่อสารและการคิดคำนวณ นอกจากนี้ยังมีกิจกรรมที่หลากหลายเพื่อส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียน เช่น กิจกรรม
รักการอ่าน การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง กิจกรรมการเรียนรู้ที่ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติ (Active Learning) กิจกรรม
ลดเวลาเรยี นเพิ่มเวลารู้ การระดมความคิด กิจกรรมโครงงานในกลุ่มสาระรายวชิ า กจิ กรรมคัดลายมือ กิจกรรม
ค่ายวิชาการ กิจกรรมวันภาษาไทย และกิจกรรมส่งเสริมทกั ษะการมีงานทำตามพระราโชบายของในหลวงรัชกาล
ที่ 10 เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้เป็นไปตามมาตรฐานตัวชี้วัดของหลักสูตร โดยมุ่งหวังให้ผู้เรียนอ่านออกเขียนได้ตั้งแต่
ระดับชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 1 สง่ เสรมิ ใหค้ รูพัฒนาตนเองตามความสามารถ ใช้เทคนิควิธีการสอนทต่ี รงกับศักยภาพ
ของผู้เรียน จัดหาแหล่งเรียนรู้และแหลง่ สืบค้นข้อมูลให้กับผู้เรียน ได้แก่ ห้องสมุด ห้องปฏิบัติ การคอมพิวเตอร์
ห้อง smart classroom มีการวัดและประเมินผลแบบบูรณาการ เน้นการใช้คำถามเพือ่ พัฒนาทกั ษะการคิดของ
ผู้เรียนทุกระดับชั้น นอกจากนี้โรงเรียนยังเล็งเห็นความสำคัญของภาษาอังกฤษ จึงจัดกิจกรร มส่งเสริมทักษะ
ภาษาอังกฤษ เช่น กิจกรรมวันคริสต์มาส การท่องคำคล้องจองภาษาอังกฤษ กิจกรรมภาษาอังกฤษวันละคำ
กิจกรรม 1 วัน 1 ประโยค จัดให้มีโครงการพัฒนาผู้เรียนให้เกิดทักษะการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ
อภิปรายแลกเปล่ียนความคิดเห็นและแกป้ ัญหา เช่น โครงการส่งเสริมประชาธปิ ไตย จดั ต้ังคณะกรรมการนักเรียน
จัดสภาพแวดล้อมและแหล่งเรียนรู้ที่ส่งเสริมผู้เรียนด้านทักษะการประกอบอาชีพ จัดให้มีกิจกรรมวันสำคัญทาง
พระพทุ ธศาสนาใหผ้ เู้ รียนไดเ้ ข้าร่วม เช่น แห่เทยี นเขา้ พรรษา เวยี นเทยี น ทำบญุ โรงเรยี น กิจกรรมเขา้ ค่ายคุณธรรม
กิจกรรมไหว้ครู กิจกรรมวันแม่แห่งชาติ กิจกรรมสวดมนต์ทุกวันศุกร์ นอกจากกิจกรรมตามแผนพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาแล้ว โรงเรียนไดจ้ ัดกิจกรรมในชนั้ เรียนเพ่ือพัฒนาคุณภาพผเู้ รยี น เชน่ กิจกรรมสง่ เสริมความรโู้ ดยบูรณาการ
ทุกกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ การทอ่ งบทอาขยาน กิจกรรมเขียนตามคำ กิจกรรมคณิตคิดเลขเร็ว เกมคณิตคิดในใจ ฯลฯ
จัดทำโครงการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน เช่น กิจกรรมการใช้สื่อการสอนสำหรับเด็กพิเศษ นอกจากโครงการ
และกจิ กรรมในชัน้ เรียนท่ีกล่าวมาข้างตน้ โรงเรยี นยงั จัดกจิ กรรมส่งเสริมให้ผูเ้ รยี นได้ฝึกทำข้อสอบมาตรฐานกลาง
จัดทำสมุดเล่มเล็กสำหรับสรุปบทเรียน จัดกิจกรรมแนะแนวและการศึกษาต่อตามความถนัดและความสนใจ
เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ศึกษาแหล่งเรียนรู้ภายนอกสถานศึกษา ได้ค้นคว้า สอบถามจากวิทยากรท้องถิ่นในชุมชน
สนับสนุนให้ผู้เรียนได้มีการนำเสนอผลงานโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ รวมไปถึงการใช้กิจกรรมฝึกทักษะอาชีพ
กจิ กรรมโครงงานคุณธรรม กิจกรรมจิตอาสา กิจกรรมลูกเสอื กิจกรรมชุมนมุ กิจกรรมผู้บำเพญ็ ประโยชน์ กจิ กรรม
โรงเรียนปลอดขยะ พัฒนาทำความสะอาดบริเวณวัดและโรงเรียน กิจกรรมยิ้มไหว้ทักทาย กิจกรรมพิจารณาอาหาร
ก่อนรับประทานอาหารกลางวัน การแต่งกายด้วยผ้าไทย กิจกรรมส่งเสริมทางด้านดนตรีไทย (ขลุ่ย) ดนตรีสากล
(วงโยธวาทิต, วงเมโลเดียน) ทั้งนี้เพื่อพัฒนาให้ผูเ้ รียนมีผลสมั ฤทธิท์ างวิชาการ มีความพร้อมที่จะเรียนในระดบั ชัน้
ที่สูงขึ้น เคารพในกฎกติกาและวัฒนธรรมอันดีงามของสังคม มีความภาคภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย
สามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข มีทักษะชีวิตและพัฒนาตนเองด้านคุณธรรม จริยธรรม ที่เหมาะสมกับวัย
ของผูเ้ รียน ซ่ึงสง่ ผลใหโ้ รงเรยี นมผี ลการประเมินคุณภาพมาตรฐานท่ี 1 อยใู่ นระดบั ยอดเยยี่ ม

( 40

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ

ประเดน็ พิจารณา การปฏบิ ัติงาน *** ผลการประเมนิ
ผลสำเรจ็ (ขอ้ ) คณุ ภาพที่ได้
ปฏบิ ตั ิ ไม่ ยอดเยย่ี ม
ปฏบิ ตั ิ 5
ยอดเยี่ยม
1 มีเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกจิ ทส่ี ถานศึกษากำหนด 5
ยอดเยย่ี ม
ชัดเจน 5

1.1 กำหนดเปา้ หมายทีส่ อดคลอ้ งกับบริบทของสถานศึกษา 
ความตอ้ งการของชมุ ชน ทอ้ งถ่นิ วัตถปุ ระสงค์ของแผนการ

ศึกษาชาติ นโยบายของรฐั บาลและต้นสงั กัด

1.2 กำหนดวิสยั ทัศน์ และพันธกจิ ที่สอดคล้อง เช่ือมโยง 

กบั เปา้ หมาย แผนยุทธศาสตรช์ าติ แผนการศกึ ษาแห่งชาติ

นโยบายของรฐั บาลและตน้ สังกัด

1.3 กำหนดเปา้ หมาย วสิ ยั ทศั น์ และพันธกจิ ทันตอ่ 

การเปล่ยี นแปลงของสงั คม

1.4 นำเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจผ่านความเหน็ ชอบ 
จากคณะกรรมการบริหารโรงเรยี น

1.5 นำเป้าหมาย วสิ ัยทัศน์ และพันธกิจของโรงเรยี นเผยแพร่ 
ตอ่ สาธารณชน

2 มีระบบบรหิ ารจัดการคณุ ภาพของสถานศึกษา

2.1 มีการวางแผนพัฒนาคุณภาพการจดั การศึกษาอย่างเปน็ 
ระบบ

2.2 มกี ารนำแผนไปปฏบิ ัติ ตดิ ตามตรวจสอบประเมนิ ผลและ 
ปรับปรงุ พฒั นางานอย่างต่อเน่ือง 

2.3 มีการบริหารอัตรากำลัง ทรัพยากรทางการศึกษาจัดระบบ
ดูแลชว่ ยเหลือนกั เรียน และระบบการนเิ ทศภายใน

2.4 สถานศกึ ษามีการนำข้อมลู มาใชใ้ นการพฒั นาสถานศึกษา

2.5 สถานศึกษาให้บคุ ลากรและผทู้ ีเก่ียวขอ้ งทกุ ฝา่ ยมสี ่วนร่วม 
ในการวางแผน ปรบั ปรงุ พฒั นา และร่วมรับผิดชอบตอ่ ผลการ 
จดั การศกึ ษา

3 ดำเนินงานพฒั นาวชิ าการท่ีเนน้ คณุ ภาพผเู้ รียนรอบด้าน
ตามหลักสูตรสถานศกึ ษาและทุกกลุม่ เปา้ หมาย

3.1 บรหิ ารจัดการเกี่ยวกับงานวชิ าการ ในดา้ นการพฒั นา
หลกั สูตรสถานศกึ ษา

3.2 บรหิ ารจดั การเกีย่ วกบั งานวิชาการ ในดา้ นการพัฒนา 
หลกั สตู รตามความตอ้ งการของผูเ้ รียน ที่สอดคล้องกบั บรบิ ท
ของสถานศึกษา ชุมชน และทอ้ งถ่ิน 

3.3 บรหิ ารจดั การเกีย่ วกับกิจกรรมเสริมหลกั สูตรท่เี นน้ 
คณุ ภาพผ้เู รยี นรอบด้านเชือ่ มโยงวิถีชวี ิตจริง

3.4 กำหนดหลกั สูตรสถานศกึ ษาครอบคลมุ การจัดการเรยี น
การสอนทุกกลุ่มเปา้ หมาย

3.5 สถานศกึ ษามกี ารปรับปรุง และพฒั นาหลกั สตู รให้ทนั ต่อ
การเปล่ียนแปลงของสงั คม

( 41

ประเด็นพิจารณา การปฏิบัติงาน *** ผลการประเมิน
ผลสำเรจ็ (ข้อ) คณุ ภาพทีไ่ ด้
ปฏิบตั ิ ไม่ ยอดเยี่ยม
ปฏิบตั ิ 5
ยอดเย่ียม
4 พฒั นาครูและบคุ ลากรใหม้ ีความเชย่ี วชาญทางวชิ าชพี 5
ยอดเยี่ยม
4.1 ส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาครู บุคลากร ใหม้ ีความ  5
ยอดเยี่ยม
เชี่ยวชาญทางวชิ าชีพ 5

4.2 จดั ให้มีชมุ ชนการเรียนรูท้ างวชิ าชีพ 

4.3 นำชุมชนการเรยี นรู้ทางวิชาชีพเข้ามาใช้ในการพัฒนา 

งานและการเรียนรูข้ องผ้เู รียน

4.4 มกี ารตรวจสอบ ทบทวน การปฏบิ ตั ิงานของครู 

บุคลากร ท่มี ีผลต่อการเรียนรขู้ องผู้เรียน

4.5 ถอดบทเรยี นเพอื่ สรา้ งนวัตกรรมหรือวิธีการทเี่ ป็น 

แบบอยา่ งทด่ี ีท่สี ่งผลตอ่ การเรียนร้ขู องผู้เรียน

5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คมท่ีเอ้ือต่อการ

จัดการเรยี นรอู้ ยา่ งมคี ณุ ภาพ

5.1 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพภายในหอ้ งเรียน ที่เอ้ือ 

ตอ่ การเรียนรู้ และคำนึงถงึ ความปลอดภยั

5.2 จดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพภายนอกห้องเรยี น ที่ 

เออื้ ตอ่ การเรียนรู้ และคำนงึ ถงึ ความปลอดภยั

5.3 จดั สภาพแวดล้อมที่ส่งเสรมิ ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ 

เป็นรายบุคคล และเปน็ กลุ่ม

5.4 จัดสภาพแวดลอ้ มทางสังคม ทเี่ ออ้ื ต่อการจดั การ 

เรียนรู้ และมคี วามปลอดภัย

5.5 จัดให้ผู้เรียนไดใ้ ช้ประโยชน์จากการจดั สภาพแวดลอ้ ม 

ตามศักยภาพของผเู้ รียน

6 จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพือ่ สนับสนนุ

การบริหารจดั การและการจดั การเรียนรู้

6.1 ไดศ้ กึ ษาความตอ้ งการเทคโนโลยีสารสนเทศ 

ทีเ่ หมาะสมกบั สภาพของสถานศกึ ษา

6.2 จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื บรหิ ารจัดการและ 

การจดั การเรยี นรู้ที่เหมาะสมกับสภาพของสถานศกึ ษา

6.3 พัฒนาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือบริหารจดั การ 

และการจดั การเรยี นรูท้ ่เี หมาะสมกับสภาพของสถานศกึ ษา

6.4 ให้บรกิ ารเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่อื ใชใ้ นการบรกิ าร 

จดั การและการจดั การเรยี นรู้ท่ีเหมาะสมกบั สภาพของ

สถานศกึ ษา

6.5 ติดตามผลการใช้บรกิ ารระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 

ของสถานศกึ ษาเพื่อใช้ในการบรกิ ารจดั การและการจัดการ

เรยี นรู้ที่เหมาะสมกบั สภาพของสถานศกึ ษา

สรุปผลการประเมนิ = ผลรวมผลสำเร็จทกุ ประเดน็ พจิ ารณา
จำนวนประเดน็ พิจารณา

( 42

หมายเหตุ กรอกข้อมลู เฉพาะแถบสีขาว
*** ผลสำเร็จ = จำนวนข้อท่ีปฏบิ ตั ิในแตล่ ะประเด็นพจิ ารณา

แปลผลการประเมินคุณภาพทไี่ ด้ ค่าเฉลีย่ ผลการประเมนิ คุณภาพท่ีได้
ปฏิบัติ 1 ข้อ ได้ระดับคณุ ภาพ กำลงั พัฒนา 1.00 – 1.49 ระดับคณุ ภาพ กำลงั พฒั นา
ปฏบิ ตั ิ 2 ข้อ ได้ระดับคณุ ภาพ ปานกลาง 1.50 –2.49 ระดับคณุ ภาพ ปานกลาง
ปฏิบตั ิ 3 ขอ้ ได้ระดับคุณภาพ ดี 2.50 – 3.49 ระดบั คณุ ภาพ ดี
ปฏิบตั ิ 4 ขอ้ ได้ระดบั คุณภาพ ดีเลศิ 3.50 – 4.49 ระดับคณุ ภาพ ดเี ลิศ
ปฏบิ ัติ 5 ขอ้ ได้ระดบั คณุ ภาพ ยอดเยีย่ ม 4.50 – 5.00 ระดับคณุ ภาพ ยอดเยี่ยม

กระบวนการพัฒนาที่สง่ ผลต่อระดบั คณุ ภาพของมาตรฐานที่ 2

โรงเรียนอนุบาลตากใช้กระบวนการบริหารและการจัดการ เพื่อส่งเสริมและพัฒนากระบวนการจัด
การศึกษา ให้มีคุณภาพ โดยกำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจของโรงเรียนไว้อย่างชัดเจน เน้นคุณภาพ
ผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาในทุกกลุ่มเป้าหมาย ดำเนินการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
ตามกฎกระทรวง พ.ศ. 2561 กำหนดมาตรฐานการศึกษาท่สี อดคล้องกับบรบิ ทของสถานศึกษา ความต้องการของ
ชุมชนและท้องถิ่น โดยใช้กระบวนการพัฒนาคุณภาพ ยึดหลักการมีส่วนร่วม ขอความร่วมมือจากทุกหน่วยงาน
ที่เกี่ยวข้องในทุกขั้นตอนของกระบวนการจนเกดิ การพัฒนาคุณภาพที่มาจากทีมงานคุณภาพ ซึ่งมีวิธีการดำเนินงาน
โดยการวิเคราะห์สภาพปัญหาปัจจุบนั และการจัดการศึกษาที่ผา่ นมา โดยศึกษาข้อมลู สารสนเทศจากผลการนิเทศ
ติดตามประเมนิ การจัดการศึกษาตามนโยบายการปฏิรปู การศกึ ษา และจัดประชุมระดมความคิดเห็นจากบุคลากร
ทุกฝ่ายทั้งในสถานศึกษา นอกสถานศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครองนักเรียน นักเรียน รวมถึงการใช้
ข้อมูลสารสนเทศทางการบริหารมาเป็นข้อมูลวางแผนร่วมกันในการกำหนดวิสัยทัศน์ของสถานศึกษาว่าโรงเรียน
อนบุ าลตากเป็นองค์กรขบั เคลื่อนคุณภาพการศึกษาขัน้ พนื้ ฐานให้ได้คุณภาพ ยดึ หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
และความเป็นท้องถิ่น กำหนดเป้าประสงค์และกลยุทธ์จำนวน ๕ กลยุทธ์ เพื่อพัฒนาผู้เรียนครบทุกกลุ่มเป้าหมาย
ได้แก่ พัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้ได้คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาและพัฒนาสู่สากล ปลูกฝังคุณธรรม ความสำนึก
ในความเป็นชาติไทย และวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การขยายโอกาสทางการศึกษาให้ทั่วถึง
และลดความเหลื่อมล้ำ ผู้เรียนได้รับโอกาสในการพัฒนาตนเองอย่างเต็มตามศักยภาพรอบด้าน เชื่อมโยงวิถีชีวิต
จริง นอกจากนี้ยังพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบให้สามารถจัดการเรียนการสอนได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ จัดให้มีชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อพัฒนางานและการเรียนรู้ของผู้เรียน จัดให้มีการถอด
บทเรียนเพ่ือสร้างนวัตกรรมหรือวิธีการที่เป็นแบบอย่างที่ดีท่ีส่งผลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน จัดสภาพแวดล้อมทาง
กายภาพทั้งภายในและภายนอกห้องเรียนที่เอื้อต่อการเรียนรู้อย่างปลอดภัย ส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
ทง้ั รายบุคคลและรายกลุ่ม โดยเนน้ การมสี ่วนร่วมจากทุกภาคสว่ นในการส่งเสริม สนบั สนนุ การจัดการศึกษา มกี ิจกรรม
ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ กิจกรรมจัดทำแผนบริหารงาน กิจกรรมการบริหารงานวิชาการ โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียน กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้ใฝ่รู้ เช่น โครงงานโรงเรียนคุณธรรม กิจกรรมบริหารงาน
บุคลากร โครงการพัฒนาบุคลากรที่ส่งเสริมให้ครูและบุคลากรได้พัฒนาศักยภาพ ทักษะและมาตรฐานวิชาชีพ
ตนเองตามความต้องการ ส่งเสริมการทำงานโดยออกคำสั่งให้ปฏิบัติหน้าที่ตามโครงการที่มีความถนัดทุกคน

( 43

กิจกรรมการบริหารงานทั่วไป จัดทำโครงการพัฒนาแหล่งเรียนรู้และสิ่งอำนวยความสะดวก จัดให้มีการพัฒนา
ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับสภาพของสถานศึกษา เช่น สัญญาณ
อินเทอร์เน็ตครอบคลุมพื้นที่ ผู้เรียนทุกคนสามารถเข้าใช้บริการและเข้าถึงสิ่งอำนวยความสะดวก จัดให้มีอาหาร
และสุขาภิบาลที่สะอาดปลอดภัย แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินผลการดำเนินงาน มีการนิเทศ กำกับ ติดตาม
ให้ข้อเสนอแนะและสรุปผลการดำเนินงานอย่างเป็นรูปธรรม จัดทำรายงานเสนอหน่วยงานต้นสังกัด
แจ้งผลการดำเนินงานให้ที่ประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครองนักเรียนและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ได้รับ
ทราบโดยทั่วกนั ส่งผลใหโ้ รงเรียนอนบุ าลตากมีผลการประเมินคุณภาพมาตรฐานท่ี 2 อยใู่ นระดบั ยอดเยยี่ ม

มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนทเ่ี น้นผเู้ รยี นเป็นสำคญั

การปฏบิ ตั งิ าน จำนวนครู (คน) *** ผลการ
ผลการประเมิน ประเมนิ
ประเด็นพจิ ารณา ปฏบิ ตั ิ ไม่ เปา้ หมาย บรรจุ ผา่ นเกณฑ์ที่ คณุ ภาพทไ่ี ด้
ปฏบิ ตั ิ (รอ้ ยละ) กำหนด (ร้อยละ)
1 จัดการเรยี นรูผ้ า่ นกระบวนการคดิ และ ยอดเยย่ี ม
ปฏิบัติจรงิ และสามารถนำไปประยกุ ต์ใช้  90.00 63 63 100
ในชวี ิตได้ ยอดเยย่ี ม
 90.00 63 63 100 ยอดเยีย่ ม
1.1 จัดกจิ กรรมการเรียนร้ตู ามมาตรฐานการ 100 ยอดเยี่ยม
เรยี นรู้ ตัวช้วี ัดของหลกั สตู รสถานศึกษาท่ี  90.00 63 63 100 ยอดเยย่ี ม
เน้นให้ผ้เู รียนได้เรยี นรู้ โดยผ่านกระบวนการ 100
คิดและปฏิบัตจิ ริง  90.00 63 63 ยอดเยย่ี ม
1.2 มีแผนการจดั การเรยี นรูท้ ่ีสามารถนำไป 100 ยอดเยยี่ ม
จัดกจิ กรรมได้จริง  90.00 63 63 100 ยอดเย่ยี ม
1.3 มรี ูปแบบการจัดการเรียนรเู้ ฉพาะ 100
สำหรับผู้ทีม่ ีความจำเป็น และต้องการความ  90.00 63 63
ชว่ ยเหลือพเิ ศษ
1.4 ฝกึ ทกั ษะใหผ้ เู้ รียนได้แสดงออก แสดง  90.00 63 63
ความคิดเห็น สรุปองค์ความรู้ และนำเสนอ
ผลงาน  90.00 63 63
1.5 สามารถจดั กจิ กรรมการเรยี นรใู้ หผ้ ้เู รยี น
สามารถนำไปประยกุ ตใ์ ช้ในชีวิตประจำวนั ได้

2 ใช้ส่อื เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลง่
เรยี นรทู้ เ่ี อ้ือต่อการเรียนรู้

1.1 ใชส้ ่ือ เทคโนโลยสี ารสนเทศในการ
จดั การเรียนรู้
1.2 ใช้แหลง่ เรยี นรู้ และภมู ิปญั ญาท้องถิ่นใน
การจัดการเรียนรู้
1.3 สร้างโอกาสให้ผูเ้ รยี นไดแ้ สวงหาความรู้
ด้วยตนเองจากสอื่ ท่หี ลากหลาย

3 มกี ารบรหิ ารจดั การช้นั เรยี นเชงิ บวก

3.1 ผู้สอนมีการบริหารจัดการช้นั เรยี น  90.00 63 63 100 ยอดเยย่ี ม
โดยเนน้ การมีปฏิสมั พันธ์เชงิ บวก

( 44

การปฏบิ ัตงิ าน จำนวนครู (คน) *** ผลการ
ผลการประเมนิ ประเมนิ
ประเดน็ พิจารณา ปฏิบตั ิ ไม่ เปา้ หมาย บรรจุ ผ่านเกณฑ์ที่ คณุ ภาพทไ่ี ด้
ปฏบิ ตั ิ (รอ้ ยละ) กำหนด (รอ้ ยละ)
ยอดเย่ยี ม
3.2 ผสู้ อนมกี ารบริหารจัดการช้ันเรยี น  90.00 63 63 100
ยอดเยย่ี ม
ให้เดก็ รกั ครู ครูรกั เดก็ และเด็กรักเดก็ ยอดเยี่ยม
ยอดเย่ียม
เดก็ รกั ท่จี ะเรยี นรู้ สามารถเรยี นรรู้ ่วมกัน ยอดเย่ียม

อย่างมีความสขุ ยอดเยย่ี ม
ยอดเยย่ี ม
4 ตรวจสอบและประเมนิ ผเู้ รียนอยา่ งเป็น ยอดเยีย่ ม

ระบบ และนำผลมาพัฒนาผู้เรียน

4.1 มีการตรวจสอบและประเมนิ คณุ ภาพการ  90.00 63 63 100

จัดการเรียนรู้อยา่ งเป็นระบบ

4.2 มีขัน้ ตอนโดยใชเ้ คร่อื งมอื และวธิ ีการวัดและ  90.00 63 63 100

ประเมนิ ผลทเ่ี หมาะสมกบั เปา้ หมายในการ

จัดการเรยี นรู้

4.3 เปดิ โอกาสใหผ้ ู้เรยี นและผู้มสี ว่ นเกีย่ วขอ้ งมี  90.00 63 63 100

ส่วนรว่ มในการวัดและประเมินผล

4.4 ให้ข้อมูลยอ้ นกลบั แกผ่ ู้เรียนเพอ่ื นำไปใช้ใน  90.00 63 63 100

การพัฒนาการเรียนรู้

5 มกี ารแลกเปลยี่ นเรยี นร้แู ละใหข้ ้อมลู

สะทอ้ นกลบั เพือ่ พฒั นาปรับปรุงการ

จดั การเรยี นรู้

5.1 และผมู้ สี ่วนเกย่ี วข้องร่วมกันแลกเปลยี่ น  90.00 63 63 100

ความร้แู ละประสบการณใ์ นการจัดการเรียนรู้

5.2 นำขอ้ มลู ป้อนกลบั ไปใช้ในการปรบั ปรงุ และ  90.00 63 63 100

พฒั นาการจัดการเรยี นร้ขู องตนเอง

สรุปผลการประเมนิ = ผลรวมผลการประเมนิ ทุกประเด็นพจิ ารณา 100

จำนวนประเดน็ พิจารณา

หมายเหตุ 1.กรอกขอ้ มูลเฉพาะแถบสขี าว

วิธีคำนวณ

*** ผลการประเมิน (ร้อยละ) = 100 x จำนวนครูผา่ นเกณฑ์ที่โรงเรียนกำหนด

จำนวนครทู งั้ หมด

แปลผลการประเมินคุณภาพท่ีได้

รอ้ ยละ 00.00 – 49.99 = กำลงั พัฒนา

ร้อยละ 50.00 – 59.99 = ปานกลาง

รอ้ ยละ 60.00 – 74.99 = ดี

รอ้ ยละ 75.00 – 89.99 = ดีเลิศ

รอ้ ยละ 90.00 – 100 = ยอดเยยี่ ม

( 45

กระบวนการพัฒนาท่สี ง่ ผลต่อระดบั คณุ ภาพของมาตรฐานที่ 3

โรงเรียนอนุบาลตากส่งเสริมให้ครูและบุคลากรจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยการ
ดำเนินงานและกิจกรรมที่หลากหลาย มีโครงการพัฒนาบุคลากรเพื่อให้เป็นครูมืออาชีพสามารถพัฒนาผู้เรียน
ไดอ้ ยา่ งเป็นระบบมีประสิทธภิ าพ เชน่ การสง่ เสริมให้มีการพฒั นาตนเองของบุคลากร จัดทำโครงการพัฒนาหลักสูตร
จัดทำหลักสูตรสถานศึกษา หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ โดยการมีส่วนร่วมจากทุกฝ่าย มุ่งเน้นการพัฒนาผู้เรียน
ให้เป็นคนดี มีความรู้ คู่ความเป็นไทย บนวิถีความพอเพียง พร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปรับโครงสร้างรายวิชา
หน่วยการเรียนรู้ สัดส่วนคะแนนแต่ละหน่วย กำหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่สอดคล้องกับหน่วยการเรียนรู้
มอบหมายให้ครูวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล โดยนำข้อมูลและผลจากการวิเคราะห์มาออกแบบการจัดการเรียนรู้
ที่หลากหลาย วางแผนการจัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคล จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้
ที่ส่งเสริมใหผ้ ้เู รียนไดล้ งมือปฏิบตั ิจริง มกี ารบูรณาการภาระงาน ชิ้นงาน มีกิจกรรมเสริมให้กบั เดก็ พิเศษเรียนร่วม
ผู้เรียนได้สรุปองคค์ วามรู้ แสดงความคดิ เหน็ มีความกลา้ แสดงออกในการนำเสนอผลงาน สามารถใช้สอ่ื เทคโนโลยี
แหล่งเรียนรู้ท่ีทนั สมัยและภูมิปญั ญาท้องถิ่นมาบรู ณาการในการจัดการเรียนรู้ ทัง้ นไ้ี ด้มีการจัดทำหน่วยบูรณาการ
เศรษฐกจิ พอเพยี งในทุกระดับชัน้ มีการบรหิ ารจัดการชั้นเรยี นเชิงบวกเน้นการมีปฏิสัมพันธร์ ว่ มกันอนั ส่งผลให้เด็กรักครู
ครูรักเด็ก เด็กรักเด็ก และรักที่จะเรียนรู้ร่วมกัน มีกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ กิจกรรมสะเต็มศึกษา กิจกรรม
รักการอ่าน มีโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สอดคล้องกับข้อมูลผู้เรียนรายบุคคล จัดกิจกรรมสอน
ซ่อมเสริมหลังเลิกเรียน มีกิจกรรมส่งเสริมความสนใจและความถนัด เช่น ชุมนุมดนตรี ชุมนุมกีฬา ชุมนุม
วิทยาศาสตร์ ชุมนุมคอมพิวเตอร์ จัดประกวดคัดลายมือ วาดภาพระบายสีในวันสำคัญต่าง ๆ เช่น วันภาษาไทย
แห่งชาติ สัปดาห์วิทยาศาสตร์ วันแม่แห่งชาติ วันมาฆบูชา ฯลฯ ในด้านการตรวจสอบ วัดผลและประเมินผล
ความรู้ความเข้าใจ โรงเรียนจัดทำระเบียบว่าด้วยการวัดผลประเมินผลการเรียนรู้ ระเบียบการวัดผลประเมินผล
การอ่าน การเขียน การคิดวิเคราะห์ สื่อความ การประเมินสมรรถนะ การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
กำหนดให้มีการวัดผลประเมินผลทั้งกลางภาคและปลายภาค แบ่งสัดส่วนคะแนนตามความเหมาะสมของกลุ่มสาระ
การเรียนรู้ จัดทำแบบบันทึกคะแนนที่เหมาะสมกับสัดส่วนคะแนน กำหนดวิธีการประเมินผลให้สอดคล้องกับ
แผนการจัดการเรียนรู้ วัตถุประสงค์ กิจกรรมการเรียนรู้ จัดหาเครื่องมือการวัดและประเมินผลที่สอดคล้องกับ
วิธีการประเมิน ใช้เครื่องมือที่หลากหลาย เช่น แบบทดสอบกลุ่มสาระการเรียนรู้ แบบสังเกตการเรียน แบบ
ประเมินผลงาน แบบสอบถาม แบบประเมินพฤติกรรม แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ แบบประเมินค่านิยม
12 ประการ แบบประเมินสมรรถนะ การประเมินสภาพจริง การประเมินผลงาน การจดั นิทรรศการ และกิจกรรมต่างๆ
เน้นการประเมินผลพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง ให้ข้อมูลย้อนกลับไปยังผู้เรียนรวมทั้งให้คำแนะนำ
คำปรึกษาแก่ผู้เรียนเป็นรายบุคคลด้วยความเสมอภาค ส่งเสริมให้ครูใช้ผลจากการประเมินผู้เรียนมาทำงานวิจัย
เพื่อพัฒนา การจัดการเรียนรูใ้ นวิชาที่รับผิดชอบ ปีการศึกษาละ 2 เรื่อง ส่งผลให้การจดั การเรียนการสอนของครู
ครอบคลุมทักษะกระบวนการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพและมีผลการประเมินคุณภาพมาตรฐานที่ 3
อย่ใู นระดบั ยอดเย่ยี ม

( 46

3. สรุปผลการประเมินคณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา ระดับคณุ ภาพ
ระดบั ปฐมวัย ยอดเยี่ยม
ยอดเยีย่ ม
มาตรฐานการศกึ ษา
ยอดเยี่ยม
มาตรฐานท่ี คณุ ภาพของเดก็ ยอดเยย่ี ม
1 1. มพี ัฒนาด้านร่างกาย แข็งแรง มสี ขุ นิสยั ท่ดี ี และดูแลความปลอดภัย ยอดเยย่ี ม
ของตนเองได้
2. มพี ฒั นาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณไ์ ด้ ยอดเย่ียม
3. มีพฒั นาการด้านสงั คม ช่วยเหลอื ตนเองและเปน็ สมาชิกทีด่ ขี องสงั คม ยอดเย่ยี ม
4. มีพฒั นาการด้านสตปิ ัญญา สอ่ื สารได้ มที ักษะการคิดพื้นฐาน
และแสวงหาความรู้ได้ ยอดเยี่ยม
ยอดเยี่ยม
มาตรฐานที่ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ยอดเยย่ี ม
2 1. มหี ลักสูตรครอบคลมุ พฒั นาการทั้งสดี่ ้าน สอดคล้องกับบรบิ ทของ ยอดเยย่ี ม
ท้องถิน่
2. จดั ครูให้เพียงพอกับชน้ั เรียน ยอดเยย่ี ม
3. ส่งเสริมใหค้ รมู ีความเช่ยี วชาญด้านการจดั ประสบการณ์ ยอดเย่ียม
4. จัดสภาพแวดลอ้ มและสื่อเพ่อื การเรียนรอู้ ย่างปลอดภยั และเพยี งพอ ยอดเยย่ี ม
5. ให้บรกิ ารสอื่ เทคโนโลยีสารสนเทศและส่ือการเรยี นรู้เพือ่ สนับสนุน
การจัดประสบการณ์ ยอดเยี่ยม
6. มรี ะบบบรหิ ารคุณภาพท่เี ปิดโอกาสให้ผเู้ กย่ี วข้องทุกฝา่ ยมีส่วนร่วม
ยอดเยี่ยม
มาตรฐานท่ี การจดั ประสบการณท์ ่ีเน้นเด็กเปน็ สำคญั
3 1. จัดประสบการณ์ทีส่ ง่ เสริมให้เดก็ มีพฒั นาการทุกด้าน อย่างสมดุลเต็ม ยอดเยี่ยม
ศกั ยภาพ
2. สร้างโอกาสให้เดก็ ไดร้ ับประสบการณ์ตรง เลน่ และปฏิบัตอิ ยา่ งมี ยอดเย่ียม
ความสขุ
3. จดั บรรยากาศที่เออ้ื ตอ่ การเรียนรู้ ใช้สอ่ื และเทคโนโลยที ่เี หมาะสม
กบั วัย
4. ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงและนำผลการประเมนิ พัฒนาการ
เด็กไปปรบั ปรุงการจดั ประสบการณแ์ ละพัฒนาเดก็

สรุปผลการประเมนิ คุณภาพระดับปฐมวัย


Click to View FlipBook Version