The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

SAR อนุบาลตาก ปีการศึกษา 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by mimm_jewpanya, 2022-05-27 02:18:09

SAR อนุบาลตาก ปีการศึกษา 2564

SAR อนุบาลตาก ปีการศึกษา 2564

( 47

การคิดระดับคณุ ภาพของสรุปผลการประเมนิ

1. การแปลผลระดบั คุณภาพของประเดน็ พิจารณาและมาตรฐานการศึกษา

ระดับคณุ ภาพ คะแนน

ยอดเยยี่ ม = 5

ดเี ลิศ = 4

ดี = 3

ปานกลาง = 2

กำลงั พฒั นา = 1

2. หาระดับคุณภาพของแต่ละมาตรฐาน ดงั น้ี

2.1 หาคะแนนเฉล่ยี ของแต่ละมาตรฐานโดยใชส้ ตู ร

คะแนนเฉลี่ยแต่ละมาตรฐาน = ผลรวมคะแนนทุกประเด็นพิจารณาของแตล่ ะมาตรฐาน

จำนวนประเด็นการพิจารณา

2.2 แปลผลคะแนนเฉลยี่ แตล่ ะมาตรฐานเป็นระดับคุณภาพ

เชน่ คะแนนเฉล่ยี มาตรฐานท่ี 1 = 4+5+4+4 = 17 = 4.4 = ดเี ลศิ

44

หมายเหตุ: ทศนิยมตำ่ กว่า .5 ปดั ลง ตง้ั แต่ .5 ปัดขึ้น

3. หาระดบั คุณภาพของสรปุ ผลการประเมิน ดังนี้

3.1 หาคะแนนเฉลีย่ ของสรุปผลการประเมนิ โดยใช้สูตร

คะแนนเฉล่ียของสรุปผลการประเมนิ = ผลรวมคะแนนเฉล่ยี ของแตล่ ะมาตรฐาน

จำนวนมาตรฐาน

3.2 แปลผลคะแนนเฉล่ยี สรุปผลการประเมินเป็นระดับคุณภาพ

เช่น คะแนนเฉล่ยี ของสรปุ ผลการประเมิน = 4.4+4.33+4.25 = 12.98 = 4.33 = ดีเลิศ

33

หมายเหตุ: ทศนิยมตำ่ กวา่ .5 ปดั ลง ตั้งแต่ .5 ปดั ขึ้น

( 48

ระดับการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน ระดับคุณภาพ
ดเี ลิศ
มาตรฐาน มาตรฐานการศกึ ษา
ดีเลศิ
มาตรฐานที่ คณุ ภาพของผู้เรยี น ดเี ลศิ
1 ผลสัมฤทธ์ิทางวชิ าการของผเู้ รยี น
ดเี ลิศ
1. มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสอ่ื สาร และการคดิ คำนวณ ดเี ลศิ
ยอดเยย่ี ม
2. มีความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ คิดอยา่ งมวี จิ ารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความ ยอดเยี่ยม
คดิ เห็นและแกป้ ัญหา
ยอดเยี่ยม
3. มคี วามสามารถในการสร้างนวัตกรรม ยอดเยี่ยม
ยอดเยี่ยม
4. มคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร ยอดเยี่ยม
ยอดเย่ยี ม
5. มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศกึ ษา ยอดเยย่ี ม
ยอดเยย่ี ม
6. มคี วามรทู้ กั ษะพ้นื ฐาน และเจตคตทิ ่ดี ีตอ่ งานอาชพี ยอดเยย่ี ม

คณุ ลักษณะที่พงึ ประสงคข์ องผู้เรยี น ยอดเยย่ี ม
1. การมีคุณลักษณะและค่านยิ มที่ดตี ามท่ีสถานศึกษากำหนด ยอดเยย่ี ม
ยอดเยย่ี ม
2. ความภูมใิ จในทอ้ งถิ่นและความเป็นไทย ยอดเยย่ี ม
ยอดเยย่ี ม
3. การยอมรบั ทีจ่ ะอยรู่ ่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย ยอดเยย่ี ม
ยอดเยย่ี ม
4. สขุ ภาวะทางรา่ งกายและจิตสังคม ยอดเยย่ี ม
ยอดเยี่ยม
มาตรฐานที่ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
2 1. มเี ปา้ หมายวิสัยทัศนแ์ ละพนั ธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน ดเี ลิศ

2. มีระบบบรหิ ารจัดการคุณภาพของสถานศกึ ษา

3. ดำเนินงานพฒั นาวิชาการท่เี น้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลกั สตู รสถานศกึ ษาและทกุ
กลุ่มเปา้ หมาย

4. พฒั นาครแู ละบุคลากรให้มีความเช่ยี วชาญทางวิชาชีพ

5. จดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอ้ือตอ่ การจัดการเรยี นรอู้ ย่างมคี ุณภาพ

6. จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อสนบั สนนุ การบริหารจดั การและการจัดการเรียนรู้

มาตรฐานท่ี กระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่ีเน้นผูเ้ รียนเป็นสำคญั
3 1. จัดการเรียนรูผ้ ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจรงิ และสามารถนำไปประยุกต์ใชใ้ นชีวิตได้

2. ใช้สอ่ื เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรยี นรทู้ ีเ่ ออ้ื ต่อการเรยี นรู้

3. มกี ารบรหิ ารจดั การช้ันเรยี นเชิงบวก

4. ตรวจสอบและประเมินผูเ้ รียนอย่างเปน็ ระบบ และนำผลมาพัฒนาผ้เู รยี น

5. มีการแลกเปล่ียนเรียนร้แู ละใหข้ อ้ มลู สะทอ้ นกลับเพื่อพฒั นาปรบั ปรงุ การจัดการเรียนรู้

สรปุ ผลการประเมินคุณภาพระดบั การศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน

( 49

4. จดุ เดน่
ระดบั ปฐมวัย

คุณภาพของเด็ก
เด็กปฐมวัยแต่งกายสะอาดมีความร่าเริงแจ่มใสและมีระเบียบวินัยสามารถปฏิบัติตามข้อตกลง

ของห้องเรียนได้เป็นอย่างดีส่วนใหญ่มีสุขภาพกายสมวัย มีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์ของกรมอนามัย มีสมรรถภาพ
ทางกายสมวัยสามารถเล่นและปฏิบัติกิจกรรมร่วมกับผู้อ่ืนได้ แสดงความชื่นชอบศิลปะ ดนตรี สนใจธรรมชาติรอบตัว
เด็กมคี วามใฝร่ ู้ สนใจเรียนรสู้ ิง่ รอบตวั ผา่ นกิจกรรมและสื่อทีห่ ลากหลายมีจนิ ตนาการและความคิดสร้างสรรค์

กระบวนการบริหารและการจดั การ
1. ผบู้ รหิ ารมีความมงุ่ มน่ั ที่จะพัฒนาคณุ ภาพสถานศกึ ษาและคณุ ภาพของเด็กปฐมวัยมีความเป็นผู้นำและมีความรู้
ความสามารถในการบริหารจัดการโดยมีหลักการบริหารงานแบบวงจรการบริหารงานคุณภาพ (PDCA)
และมีวิสัยทัศน์ที่ดี ในการบริหารงานสามารถเป็นแบบอย่างที่ดีในการทำงาน มีการประชุมระดมสมองเพื่อให้
ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมายที่ซัดเจน มีการวางแผนพัฒนาคุณภาพการจัด
การศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปีที่สอดคล้องกับผลการจัดการศึกษา สภาพปัญหา ความต้องการพัฒนา
และนโยบายการปฏริ ปู การศึกษาทีม่ งุ่ เนน้ การพฒั นาให้ผู้เรยี นมีคณุ ภาพตามมาตรฐานหลักสูตรของสถานศึกษา
2. คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและคณะกรรมการเครือข่ายผู้ปกครองมีความตั้งใจและให้ความรว่ มมอื
ในการพฒั นาคณุ ภาพของสถานศึกษาโดยมคี วามพรอ้ มในการปฏบิ ตั ิหน้าทตี่ ามบทบาท
3. สถานศึกษาจดั ให้มีครปู ฐมวยั ครบชน้ั และเพียงพอต่อการจัดประสบการณก์ ารเรียนรู้ใหแ้ กเ่ ด็กปฐมวัยครูผู้สอน
สามารถจัดการเรียนรู้ได้อย่างมีคุณภาพ มีการดำเนินการ นิเทศ กำกับ ติดตาม ประเมินผลการดำเนินงานและ
จัดทำรายงานผล การจัดการศึกษา และโรงเรียนได้ใช้ กระบวนการวิจยั ในการรวบรวมข้อมูลมาใช้เป็นฐานในการ
วางแผนพฒั นาคุณภาพ สถานศกึ ษา

การจัดประสบการณ์ทเ่ี นน้ เดก็ เปน็ สำคญั
ครูปฐมวัยมีความตั้งใจในการส่งเสริมพัฒนาการทั้ง 4 ด้านของเด็กปฐมวัยมีความใจเย็นต่อการพูดสอน

ให้เด็กปฐมวัยมีสมาธิมีความสำนึกในเรื่องความกตัญญูต่อบิดามารดาและผู้มีพระคุณและพยายามให้เด็กปฐมวัย
รู้จักชว่ ยเหลือตนเอง

( 50

ระดับการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน
คณุ ภาพของผเู้ รียน

ผเู้ รียนไดร้ บั การส่งเสรมิ และพัฒนาทั้งด้านวชิ าการและวชิ าชีพ มคี ุณธรรม จริยธรรม มีคุณลักษณะอนั พึง
ประสงคต์ ามหลกั สูตร มีเจตคตทิ ีด่ ตี อ่ การทำงาน มสี นุ ทรยี ภาพดา้ นศลิ ปะ ดนตรี และกีฬา

ผู้เรียนอ่านหนังสือออกและอ่านคล่อง รวมทงั้ สามารถเขียนเพอื่ การสอ่ื สารได้ สามารถใช้เทคโนโลยีใน
การแสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเอง มคี วามสามารถด้านคดิ คำนวณ เนอื่ งจากมีการเรียนซ่อมเสริมเปน็ รายบุคคล
มกี ารใชเ้ ทคโนโลยที ุกช้ัน มกี ารใช้ส่ือการเรียนการสอน มีการประเมนิ ครบทุกด้านตามคุณภาพของผเู้ รียน
นักเรยี นมีสขุ ภาพร่างกายแข็งแรงสมบรู ณ์ มีน้ำหนกั ส่วนสูง ตามเกณฑม์ าตรฐาน มสี ขุ ภาวะจิตทด่ี ี ผูเ้ รยี น
สามารถหลีกเลี่ยงยาเสพตดิ ผู้เรียนรว่ มกนั อนุรกั ษ์ธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม เป็นผู้ทร่ี บั ฟังความคดิ เห็นของผู้อ่ืน
กระบวนการบริหารและการจดั การ

กระบวนการบริหารและการจัดการสถานศึกษาเป็นไปตามโครงสร้างบริหารจัดการสถานศึกษา
บริหารแบบมีส่วนร่วม โดยยึดประโยชน์ของผู้เรียนเป็นสำคัญ สถานศึกษามีการจัดองค์กรตามโครงสร้างการ
บริหาร มกี ารกำหนดบทบาทหน้าท่ีความรับผิดชอบ มโี ครงการ/กิจกรรมพฒั นาระบบคุณภาพ มีการบริหารและ
การจัดการอย่างเปน็ ระบบ ทกุ ฝา่ ยมีส่วนร่วมในการกำหนด วิสัยทัศน์ พนั ธกิจ เปา้ หมาย ท่ชี ัดเจน มีการปรับแผน
พฒั นาคณุ ภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบตั กิ ารประจำปี ทส่ี อดคล้องกับผลการจดั การศึกษา สภาพปัญหา ความ
ตอ้ งการพฒั นา และนโยบายการปฏริ ูปการศึกษา ทม่ี ุ่งเน้นการพัฒนาใหผ้ ู้เรียนมคี ุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้
ตามหลกั สูตรสถานศึกษา ครผู ูส้ อนสามารถจัดการเรียนรู้ได้อย่างมีคุณภาพ มกี ารดำเนินการนิเทศ กำกับ ติดตาม
ประเมินผล การดำเนินงาน และจัดทำรายงานผลการจัดการศึกษา และโรงเรียนได้มีการวางแผนพัฒนาคุณภาพ
สถานศกึ ษา โรงเรยี นเปดิ โอกาสให้ผปู้ กครองไดม้ ี ส่วนรว่ มในการเสนอความคดิ เหน็ ในการจดั การศกึ ษาเพ่ือพัฒนา
ผู้เรียนและสร้างเครือข่ายความร่วมมือของผู้มี ส่วนเกี่ยวข้องในการจัดการศึกษาของโรงเรียนให้มีความเข้มแข็ง
มีสว่ นร่วมรับผดิ ชอบต่อผลการจัดการศกึ ษา และ การขับเคล่ือนคุณภาพการจัดการศึกษา

กระบวนการจดั การเรียนการสอนทีเ่ น้นผู้เรียนเป็นสำคญั
สถานศึกษากำหนดเปา้ หมายวิสัยทัศน์ และพันธกจิ ชดั เจน มรี ะบบบรหิ ารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา

ตามระบบ PDCA มีการพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนตามหลักสูตรสถานศึกษาทุกกลุ่มเป้าหมาย ส่งเสริม
และสนับสนุนพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและ
สภาพแวดล้อมทางสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหาร
จดั การและการจัดการเรียนรู้

( 51

5. จดุ ควรพัฒนา
ระดับปฐมวยั

คณุ ภาพของเด็ก
เด็กปฐมวัยควรส่งเสริมพัฒนาการด้านสติปัญญาให้สามารถคิดแก้ไขปัญหาบอกวิ ธีการแก้ไขปัญหา

อย่างมีเหตุผลได้และด้านการใชภ้ าษาสื่อสารที่เหมาะสมตามวัย

กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
1. ควรจัดสร้างห้องส้วมที่เหมาะสมกับเด็กปฐมวัยและเพียงพอกับการใช้งานของเด็ก มีน้ำสำหรับชำระล้าง
มแี สงสวา่ งและการระบายอากาศท่ดี ตี ่อสุขอนามัย
2. ควรติดคิ้วกันกระแทกตามขั้นบันไดและการทำที่กั้นรอบชั้นล่างของอาคารเรียนเพราะมีระดับพื้นต่าง
ที่มีความสงู

การจัดประสบการณ์ที่เนน้ เดก็ เปน็ สำคญั
1. ควรใช้เพลงเป็นสื่อในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ยังไม่เพียงพอต่อการส่งเสริมพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน
ของเด็กปฐมวัย
2. ควรจดั ทำทะเบียนสอื่ ของครปู ฐมวัยทุกคน

ระดับการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน
คณุ ภาพของผเู้ รยี น

นักเรียนบางคนยังขาดเป้าหมาย และแรงจูงใจในการเรียน และนักเรียน บางคนยังขาดทักษะในการ
แก้ปัญหา ขาดทักษะการวางแผน กระบวนการและขั้นตอนการทำงานยังไม่เกิดขึ้น และปรับเปลี่ยนวิธีการอย่าง
เหมาะสม นักเรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 ยังต้องเร่งพัฒนาด้าน การคิดคำนวณ การคิดวิเคราะห์
คิดอย่างมีวิจารณญาณ การการนำเสนอ การอภิปรายและแลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่าง สมเหตุสมผล และต้องพัฒนา
ทักษะการแกป้ ัญหาตามสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสมตามวัย

กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
โรงเรียนมีการบริหารและการจัดการอย่างเป็นระบบ โดยได้ใช้เทคนิคการประชมุ เช่น การประชุมแบบ

มีส่วนร่วม การประชุมระดมสมอง การประชุมกลุ่ม และการออกคำสั่งเพื่อมอบหมายภาระงาน
ตามความสามารถและความถนัดของบุคลากร เพือ่ ใหท้ ุกฝ่ายมสี ว่ นร่วมในการกำหนดวสิ ยั ทศั น์ พันธกิจ เปา้ หมาย
ที่ชัดเจน มีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปี ที่สอดคล้องกับผลการ
จัดการศึกษา สภาพปัญหา ความต้องการพัฒนา และนโยบายการปฏิรูปการศึกษา ที่มุ่งเน้นการพัฒนาให้ผู้เรียน
มีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษา ครูผู้สอนสามารถจัดการเรียนรู้ได้อย่างมีคุณภาพ
มีการดำเนินการนิเทศ กำกับ ติดตาม ประเมินผล การดำเนินงาน และจัดทำรายงานผลการจัดการศึกษา
และโรงเรยี นได้ใช้กระบวนวิจัยในการรวบรวมข้อมูล เพือ่ ใช้เป็นฐานในการวางแผนพฒั นาคณุ ภาพสถานศกึ ษา

( 52

กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่เี น้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญ
ให้เวลาและส่งเสริมความสามารถในการใช้สื่อและเทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอนของครูทุกคน

และส่งเสรมิ ให้ครจู ัดกจิ กรรมโดยใช้แหล่งเรยี นรู้ และภูมิปัญญาท้องถนิ่ ในการจัดการเรียนรู้ให้มากข้ึนเพ่ือส่งเสริม
ให้ผ้เู รยี นสามารถเรียนรู้ได้ทกุ เวลาและทุกสถานท่ี สง่ เสรมิ ให้จัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ และเน้นผู้เรียน
เป็นสำคญั ลดภาระงานให้นกั เรยี นอยา่ งจริงจัง

6. แนวทางการพัฒนา
ระดบั การศึกษาปฐมวัย
1) ปรับปรุงโครงสร้างหลักสูตรเพื่อสร้างคุณภาพผู้เรียนสู่มาตรฐานสากล สำนักงานคณะกรรมการ

การศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน
2) ปรับปรงุ โครงสรา้ งการบริหารที่เอ้อื ต่อการบรกิ ารผู้ปกครอง นักเรยี น ชุมชน รวดเร็ว ทนั สมยั
3) ปรบั แผนกลยทุ ธ์และแผนพฒั นาระบบสถานศึกษา
4) การสร้างขวัญและกำลังใจให้กับบุคลากรทางการศึกษาโดยการจัดโครงการให้รางวัลตามผลงาน

เชน่ การพาไปทัศนศกึ ษาดูงานต่างประเทศ
5) สร้างบรรยากาศการทำงานให้เป็นองค์กรแห่งความร่วมมือ ประสานประโยชน์และเป็นองค์กร

แห่งการเรียนรู้โดยใช่ระบบ QCและ Learning Organization เพื่อส่งเสริมให้บุคลากรมีความสุขและภาคภูมิใจ
ในองคก์ รและลดความเครยี ด

6) กำหนดแผนการจัดการหาทรัพยากร
(1) สรรหางบประมาณเพื่อจัดซื้อจัดหาจัดสร้างอาคารและอุปกรณ์อำนวยความสะดวก

ในการเรียนการสอนในโรงเรียนให้เพียงพอโดยกำหนดแหล่งทรัพยากรจากหน่วยงานต้นสังกัดองค์การปกครอง
ท้องถิ่น/องค์กรเอกชน/คหบดี/ห้างร้าน/หน่วยงานราชการอื่นและการสรรหางบประมาณจากภายในโรงเรียน
เช่น สหกรณ์รา้ นคา้ โรงเรียน

(2) ปรับสภาพแวดล้อมอาคารสถานที่ปัจจุบันให้เหมาะสมเอ้อื ต่อการเรยี นรู้
(3) ปรับสภาพแวดลอ้ มอาคารสถานทโี่ รงเรียนอนุบาลตากใหส้ ะอาดสะดวกสวยงาม ปลอดภัย
เอื้อต่อการเรยี นรู้

ระดับการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน
1. ใหเ้ วลาครอู ยใู่ นหอ้ งเรียนและอย่กู บั เด็กมากขน้ึ
2. ลดภาระงานพิเศษด้านเอกสาร หรือรายงานที่ไม่จำเป็นออก ลดการประเมิน เนื่องจากครูต้องใช้เวลา

ในการสอนหรอื อยู่กับผเู้ รยี นมาเตรยี มงานประเมนิ
3. กระจายงานให้เหมาะสมกับจำนวนบคุ ลากร เพื่อที่ครูจะได้มีเวลาในการเตรียมและบริหารการจัดการ

เรียนการสอน
4. สนับสนุนให้ครูใช้แผนจัดการเรียนรู้ที่ยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ ควรมีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสร้าง

องค์ความรู้และมีการวิจัยอย่างต่อเน่ือง มีการใช้ภูมิปัญญาท้องถ่ินเข้ามาสอดแทรกในการจดั การเรยี นรูแ้ ละนำผล
การเรียนรู้มาพัฒนาผเู้ รียนอย่างต่อเนอื่ ง

5. มุ่งเน้นการพัฒนาให้ผู้เรียนมีคณุ ภาพตามมาตรฐานการเรยี นร้ตู ามหลกั สูตรสถานศึกษาพฒั นาครูผูส้ อน
ให้เปน็ ครมู ืออาชีพท่ีมีคุณภาพ

( 53

7. ความต้องการช่วยเหลอื

ระดบั การศกึ ษาปฐมวัย

1) การจดั สรรงบประมาณเพ่ือก่อสร้างและพัฒนาอาคารสถานท่ี
2) ความช่วยเหลือด้านวิทยากรในการพัฒนาครู พัฒนาองค์กรจากสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาตากเขต 1 และสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน สถาบันศึกษาอืน่ ๆ
3) การช่วยเหลือในดา้ นอัตรากำลังครทู ี่ไม่เพียงพอกบั จำนวนนักเรยี น
4) เอกสาร คู่มือ สอื่ เครื่องวดั ประเมนิ ผล
5) วทิ ยากรทม่ี ีความเช่ยี วชาญดา้ นการคัดกรองนักเรยี นกล่มุ เดก็ พิเศษและเด็กท่ีมีความสามารถพเิ ศษ
6) การนิเทศติดตามผลจากสำนักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 1

ระดบั การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน
1. การจัดสรรครผู ู้สอนให้ตรงตามวชิ าเอกทโ่ี รงเรียนมีความตอ้ งการและจำเป็น
2. โรงเรยี นต้องการระดมทรัพยากรต่างๆ เพ่ือใช้ในการพัฒนาดา้ นต่างๆ ของโรงเรยี น
3. โรงเรียนต้องการบุคลากรเพิ่มเติม เพื่อให้การบริหารจัดการด้านต่างๆ ของโรงเรียนมีความคล่องตัว

มากย่ิงขนึ้
4. ขอรับการสนับสนุนวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ ให้ความรู้คำปรึกษาในด้านเทคนิคการจัดกิจกรรมการเรียน

การสอน การวัดและประเมินผลผู้เรียนด้วยเทคนิคที่หลากหลาย เทคนิคการสอนทักษะการคิดเชื่อมโยง
เพ่ือพฒั นาผ้เู รียนได้เต็มตามศกั ยภาพ

5. ผูป้ กครอง ชุมชน หน่วยงานทเี่ กีย่ วข้องใหค้ วามรว่ มมอื สนบั สนุน สง่ เสริมกิจกรรมของโรงเรยี นเพิ่มมาก
ย่ิงข้นึ เพื่อหาแนวทางแกป้ ัญหา พัฒนา และสง่ เสรมิ ผเู้ รียนร่วมกันระหว่างบ้าน โรงเรียน และชุมชนอย่างต่อเน่ือง
เพือ่ พฒั นาใหผ้ ู้เรียนมคี ณุ ภาพสอดคล้องกับความต้องการของชุมชน และประเทศชาตติ อ่ ไป

8. ความโดดเดน่ ของสถานศึกษา(ถ้ามี)
โรงเรยี นอนุบาลตากเป็นโรงเรยี นคณุ ธรรม สพฐ. ระดบั 1-2 ดาว ระดับเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาฯ
กระบวนการพฒั นาความโดดเดน่ ของสถานศกึ ษา
1. การสง่ เสรมิ ใหค้ รู บุคลาการทางการศกึ ษา เครอื ข่ายผปู้ กครอง นักเรยี นและชุมชน เขา้ มามสี ่วน

ร่วมในการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพสถานศึกษาให้ชัดเจนมากยิ่งขึ้น รวมถึงการสร้างเครือข่ายโรงเรียน
พื้นทีใ่ กล้เคียงเพอ่ื รว่ มกันพฒั นาระบบงานประกันคณุ ภาพสถานศึกษา

2. พฒั นานวัตกรรมด้านสขุ ภาพใหเ้ ป็นท่ียอมรบั และสามารถแก้ปัญหาดา้ นสขุ ภาพของผเู้ รยี นอย่าง
เป็นรูปธรรม ส่ชู มุ ชนและหน่วยงานอนื่ ๆ

3. การดำเนินงานด้านสถานศกึ ษาปลอดภัยใหม้ ีความต่อเนื่อง มคี ณุ ภาพ รวมถงึ สร้างความปลอดภยั
ใหแ้ ก่สถานศกึ ษามากย่ิงข้ึน

4. ดำเนนิ งานโรงเรียนคุณธรรมสพฐ. จากระดบั 1ดาว เป็นระดับ 2 ดาว และระดบั 4 ดาวตามลำดบั ตอ่ ไป
5. ดำเนินงานระบบดแู ลช่วยเหลอื นักเรยี นให้ไดค้ ุณภาพและส่งประกวดเพอื่ รับรางวลั ระดับประเทศต่อไป

( 54

ภาคผนวก

1. ประกาศโรงเรียน เร่ือง การกำหนดมาตรฐานการศกึ ษาและค่าเปา้ หมายความสำเรจ็ ของโรงเรยี น
ระดบั ปฐมวยั และระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน

2. คำสง่ั แตง่ ต้ังคณะทำงานการประกนั คุณภาพภายในและคณะจัดทำ SAR 2564
3. หลกั ฐานการเผยแพร่ SAR ให้ผู้มีสว่ นเก่ยี วข้องหรือสาธารณชนรบั ทราบ
4. แผนผังอาคารสถานท่ี
5. โครงสร้างการบรหิ ารงานโรงเรียน
6. โครงสร้างหลกั สูตร เวลาเรยี น ของโรงเรยี น
7. ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขนั้ พ้ืนฐาน O-NET / NT / RT
8. รางวลั ทไี่ ดร้ บั

(ควรแสกนไฟลเ์ ป็นไฟล์ .pdf ใหพ้ รอ้ มตอ่ การแนบไฟล์ในระบบ)

( 55

( 56

( 57

( 58

( 59

( 60

( 61

( 62

( 63

( 64

( 65

( 66

แผนผังอาคารสถานท่ี โรงเรียนอนุบาลตาก

( 67

ตารางกิจกรรมประจำวัน ช้ันอนบุ าลปที ่ี 1-3
โรงเรียนอนบุ าลตาก

กจิ กรรม เวลา หมายเหตุ
กจิ กรรมเคลื่อนไหวและจงั หวะ 15 นาที
กิจกรรมสร้างสรรค์ 30 นาที
กิจกรรมเสรี 15 นาที
กจิ กรรมเสรมิ ประสบการณ์ 30 นาที
กิจกรรมกลางแจง้ 20 นาที
กิจกรรมเกมการศึกษา 15 นาที

( 68

โครงสรา้ งเวลาเรียนหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากล
โรงเรยี นอนุบาลตาก พุทธศักราช 2564

ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560)

กล่มุ หลักสตู รการเรยี นรู้ทว่ั ไป(ห้องเรยี นปกติ)

เวลาเรียน

รายวิชาหรือกจิ กรรม / ชั้นเรยี น ระดับประถมศกึ ษา

ป. 1 ป. 2 ป. 3 ป. 4 ป. 5 ป. 6
160
ภาษาไทย 200 200 200 160 160 160
120
คณติ ศาสตร์ 200 200 200 160 160 80
40
วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 80 80 80 120 120 80
80
สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 80 80 80 80 80 40
80
ประวตั ศิ าสตร์ 40 40 40 40 40 840

สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา 40 40 40 80 80 40
(40)
ศลิ ปะ 40 40 40 80 80 40
40
การงานอาชีพ 40 40 40 40 40 40
40
ภาษาต่างประเทศ 120 120 120 80 80 200

รวมเวลาเรียน (พนื้ ฐาน) 840 840 840 840 840 40

รายวิชาเพม่ิ เติม (จุดเน้น) 30
40
- คอมพิวเตอร์ 40 40 40 40 40 10
120
- หนา้ ที่พลเมอื ง (40) (40) (40) (40) (40) 1,160

- ภาษาองั กฤษเพอ่ื การสื่อสาร 80 80 80 40 40

- การป้องกนั การทุจรติ 40 40 40 40 40

- ภาษาจนี 40 40 40 40 40

- การศึกษาเพ่ือเรียนรู้ (IS) - - - 40 40

รวมเวลาเรียน (เพ่มิ เติม) 200 200 200 200 200

กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน

 กจิ กรรมแนะแนว 40 40 40 40 40

 กิจกรรมนักเรียน

- กจิ กรรมลกู เสือ –ยุวกาชาด 30 30 30 30 30

- กจิ กรรมชมุ นุม/ชมรม 40 40 40 40 40

 กิจกรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณประโยชน์ 10 10 10 10 10

รวมเวลาเรยี นกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รยี น 120 120 120 120 120

รวมเวลาเรียนทั้งหมด 1,160 1,160 1,160 1,160 1,160

 ไมน่ ้อยกว่า 1000 ชั่วโมง

หมายเหตุ : รายวิชาเพ่ิมเติม หนา้ ทพี่ ลเมือง นำไปบูรณาการการวิชาสงั คมศึกษาฯ

( 69

โครงสร้างเวลาเรยี น

หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นมาตรฐานสากลโรงเรียนอนบุ าลตาก

ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560)

กลุ่มหลกั สตู รการเรียนรูเ้ สรมิ ศักยภาพทางคณติ ศาสตร์และวทิ ยาศาสตร์(ห้องเรยี น EMS)

เวลาเรยี น

รายวชิ าหรือกจิ กรรม / ชั้นเรยี น ระดับประถมศกึ ษา

ป. 2 ป. 3 ป. 4 ป. 5 ป. 6

ภาษาไทย 200 200 160 160 160
คณติ ศาสตร์ 200 200 160 160 160
วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 80 80 120 120 120
สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 80 80 80 80 80
ประวตั ิศาสตร์ 40 40 40 40 40
สุขศกึ ษาและพลศึกษา 40 40 80 80 80
ศลิ ปะ 40 40 80 80 80
การงานอาชีพ 40 40 40 40 40
ภาษาต่างประเทศ 120 120 80 80 80
รวมเวลาเรยี น (พื้นฐาน) 840 840 840 840 840
รายวชิ าเพม่ิ เติม
- คอมพวิ เตอร์ 40 40 40 40 40
- หนา้ ทีพ่ ลเมอื ง (40) (40) (40) (40) (40)
- ภาษาองั กฤษเพือ่ การส่ือสาร 80 80 40 40 40
- การปอ้ งกันการทจุ รติ 40 40 40 40 40
- การศกึ ษาเพื่อเรยี นรู้ (IS) - - 40 40 40
- โครงงานคณติ ศาสตร์ - -
- โครงงานวิทยาศาสตร์ - - 40 40 40

รวมเวลาเรียนเพ่ิมเติม 160 160 200 200 200
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กิจกรรมแนะแนว 40 40 40 40 40
กจิ กรรมนักเรียน
- ลกู เสอื -ยวุ กาชาด 30 30 30 30 30
- กจิ กรรมชมรม/ชุมนุม 40 40 40 40 40

กิจกรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์ 10 10 10 10 10
รวมเวลาเรยี นกจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น 120 120 120 120 120
รวมเวลาเรียนทง้ั หมด 1,120 1,120 1,160 1,160 1,160

กิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้

MATH 80 80 80 80 80
SCIENCE 80 80 80 80 80
รวมเวลาเรียน(เพมิ่ เติม) 160 160 160 160 160
 ไมน่ ้อยกวา่ 1000 ช่ัวโมง

หมายเหตุ : รายวิชาเพ่มิ เติม หนา้ ทีพ่ ลเมือง นำไปบรู ณาการการวิชาสงั คมศึกษาฯ

( 70

โครงสรา้ งเวลาเรียน

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นมาตรฐานสากลโรงเรยี นอนบุ าลตาก

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560)

กลมุ่ หลกั สตู รการเรียนรู้เสรมิ สรา้ งศกั ยภาพทางดา้ นภาษาองั กฤษ (ห้องเรียน MEP)

เวลาเรยี น

รายวชิ าหรือกิจกรรม / ช้ันเรยี น ระดบั ประถมศกึ ษา

ป. 1 ป. 2 ป. 3 ป. 4 ป. 5 ป. 6

ภาษาไทย 200 200 200 160 160 160

คณติ ศาสตร์ (M) 200 200 200 160 160 160

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (S) 120 120 120 80 80 80

สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 80 80 80 80 80 80

ประวัติศาสตร์ 40 40 40 40 40 40

สุขศกึ ษาและพลศึกษา (H) 40 40 80 80 80 80

ศิลปะ (A) 40 40 80 80 80 80

การงานอาชีพ 40 40 40 80 80 80

ภาษาตา่ งประเทศ 120 120 120 80 80 80

รวมเวลาเรียน (พื้นฐาน) 840 840 840 840 840 840

รายวชิ าเพม่ิ เติม

- คอมพวิ เตอร์ (C) 40 40 40 40 40 40

- หนา้ ทพี่ ลเมือง (40) (40) (40) (40) (40) (40)

- ภาษาองั กฤษเพ่ือการสื่อสาร 80 80 80 80 80 80

- การปอ้ งกันการทุจรติ 40 40 40 40 40 40

- การศกึ ษาเพื่อเรยี นรู้ (IS) - - - 40 40 40

รวมเวลาเรียนเพิ่มเตมิ 160 160 160 200 200 200

กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น

กจิ กรรมแนะแนว 40 40 40 40 40 40

กจิ กรรมนักเรยี น 30 30 30 30 30 30
- ลูกเสือ-ยุวกาชาด 40 40 40 40 40 40
- กิจกรรมชมรม/ชุมนมุ

กจิ กรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์ 10 10 10 10 10 10

รวมเวลาเรยี นกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น 120 120 120 120 120 120

รวมเวลาเรยี นทง้ั หมด 1,160 1,160 1,160 1,160 1,160 1,160

 ไม่น้อยกวา่ 1000 ชั่วโมง

หมายเหตุ : รายวชิ าเพิม่ เติม หนา้ ที่พลเมือง นำไปบูรณาการการวิชาสงั คมศึกษาฯ

( 71

( 72

( 73

( 74

( 75

( 76

( 77

( 78

( 79

( 80

( 81

( 82

( 83

( 84

( 85

( 86

( 87


Click to View FlipBook Version