The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการดำเนินงานวิทยฐานะของกองทัพบก โดย กองคุณภาพการศึกษา
สำนักการศึกษา
กรมยุทธศึกษาทหารบก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by กองคุณภาพการศึกษา, 2022-09-15 22:46:48

คู่มือดำเนินงานวิทยฐานะของกองทัพบก (เล่ม 1)

คู่มือการดำเนินงานวิทยฐานะของกองทัพบก โดย กองคุณภาพการศึกษา
สำนักการศึกษา
กรมยุทธศึกษาทหารบก

๘๖

รายการ ตวั บง ชี้ เกณฑ

ตอนท่ี ๕ ความรับผดิ ชอบในการเปนขา ราชการทหารทท่ี ําหนาท่สี อน
๕. ความรบั ผิดชอบ ๕.๑ การเอาใจใส ถา ยทอดความรู ระดับ ๑ เอาใจใส
ในการเปน ขาราชการ หรือสงเสริมการแสวงหาความรู การแสวง
ทหารที่ทําหนาทีส่ อน โดยไมบ ดิ เบือน ปด บัง ปดบงั หว
(๒๐ คะแนน) หวงั สงิ่ ตอบแทน ระดบั ๒ ปฏิบตั ไิ ด
(๔ คะแนน) ตอ งานใน
ระดับ ๓ ปฏบิ ัตไิ ด
ยกยอ ง
ระดบั ๔ ปฏิบตั ไิ ด
ผลงานป

๕.๒ การเอาใจใสชวยเหลอื ผูเขา รบั ระดบั ๑ จํานวน ๒
การสอน ฝก ศึกษา กจิ กรรม
และผูรับบรกิ ารทางวชิ าการ
เตม็ ความสามารถ ระดบั ๒ จํานวน ๓
อยา งสมํ่าเสมอ กจิ กรรม
เทา เทยี มกนั
(๔ คะแนน) ระดบั ๓ จํานวน ๔
กิจกรรม

ระดับ ๔ จํานวนต้ัง
กิจกรรม

ฑการใหค ะแนน วธิ กี าร / เครอ่ื งมือ / แหลงขอมูล

ถายทอดความรหู รอื สงเสรมิ ตรวจสอบจากเอกสาร หลักฐาน แหลง ขอมูล เชน
งหาความรู โดยไมบดิ เบือน - คาํ รบั รองของผูบงั คบั บญั ชา หรือ
วงั ส่ิงตอบแทน - เอกสารหลักฐานเกย่ี วกับพฤติกรรม/โครงการ/
ดต ามระดับ ๑ และเกดิ ผลดี กจิ กรรม ทีแ่ สดงใหเห็นถึงการเอาใจใส
นหนา ท่ี ถา ยทอดความรู หรอื สงเสริมการแสวงหาความรู
ดตามระดับ ๒ และไดร บั การ โดยไมบิดเบอื น ปด บงั หวังสิ่งตอบแทน/
ดต ามระดบั ๓ และมี หนงั สอื ขอบคุณ/รางวลั /เกียรตบิ ตั ร/
ปรากฏอยางตอเน่อื ง วฒุ ิบัตร ฯลฯ
- เอกสาร หลกั ฐานอื่นที่เก่ยี วขอ ง

๒ พฤติกรรม/โครงการ/ ตรวจสอบจากเอกสาร หลักฐาน แหลงขอมูล เชน
- คาํ รับรองของผูบ งั คับบัญชา หรอื
๓ พฤตกิ รรม/โครงการ/ คณะกรรมการสถานศกึ ษา
- บนั ทกึ การดําเนินการ/โครงการ/กจิ กรรม เชน
๔ พฤติกรรม/โครงการ/ การสอนซอมเสริม/การตรวจเยยี่ มบาน/
การใหความชว ยเหลือตามบทบาทหนาที่ ฯลฯ
งแต ๕ พฤติกรรม/โครงการ/ - เอกสาร หลกั ฐานอื่นท่ีเกีย่ วขอ ง
ขนึ้ ไป

รายการ ตวั บง ชี้ เ
๕. ความรบั ผิดชอบ ๕.๓ การศึกษา คนควา ริเริ่ม ระดับ ๑ มีสว น

ในการเปนขา ราชการ สรา งสรรคความรใู หม สรา งส
ทหารท่ีทาํ หนา ที่สอน (ตอ) นวตั กรรมในการพฒั นางาน การพ
(๒๐ คะแนน) ในหนาท่ี (๔ คะแนน) ระดับ ๒ ศึกษ
ใหม น
ระดับ ๓ ปฏิบ
ระดับ ๔ ปฏิบ
เปนต

๕.๔ การประพฤติตนตาม ระดบั ๑ ไมเ ค
จรรยาบรรณขา ราชการทหาร จรรย
ท่ีทําหนาทีส่ อน ทาํ ห
(๔ คะแนน)
ระดับ ๒ ประ
ขาร

ระดบั ๓ ไดร ับ
สถาบ

ระดับ ๔ ไดรับ
อืน่ ท

๘๗

เกณฑก ารใหคะแนน วิธีการ / เครอ่ื งมือ / แหลง ขอ มูล

นรวม ศึกษา คน ควา รเิ ร่ิม ตรวจสอบจากเอกสาร หลกั ฐาน แหลงขอ มูล เชน
สรรคความรูใหม นวตั กรรมใน - คาํ รบั รองของผูบังคับบัญชา หรอื
พัฒนางานในหนาที่ คณะกรรมการสถานศึกษา
ษา คนควา ริเรม่ิ สรา งสรรคความรู - เอกสารหลกั ฐานการมีสว นรวมศึกษา คน ควา
นวัตกรรมในการพัฒนางานในหนา ท่ี รเิ รมิ่ สรางสรรคค วามรใู หม นวตั กรรม
บตั ิไดตามระดบั ๒ จนสาํ เรจ็ ในการพัฒนางานในหนาที่/ช้นิ งาน/
บัติไดตามระดบั ๓ และ หนงั สอื ยกยอ ง ชมเชย/รางวลั /เกียรติบัตร ฯลฯ
ตวั อยา งได - ภาพถา ยในการรวมกจิ กรรม ฯลฯ
- เอกสาร หลักฐานอนื่ ที่เก่ยี วของ

คยถูกตกั เตือนกรณปี ระพฤตผิ ดิ ตรวจสอบจากเอกสาร หลักฐาน แหลง ขอมูล เชน
ยาบรรณขาราชการทหารที่ - คาํ รับรองของผูบังคับบญั ชา หรือคณะกรรมการ
หนา ทสี่ อน สถานศึกษา
ะพฤติตนตามจรรยาบรรณ - เอกสารหลกั ฐานที่แสดงใหเ ห็นถึงการไดรับ
ราชการทหารทท่ี าํ หนาท่ีสอน การยกยองจากหนว ยงานทง้ั ในและนอกสังกัด
บการยกยอง ชมเชย จาก กห. /หลกั ฐานการถูกลงโทษกรณปี ระพฤติ
บนั การศกึ ษา ผดิ จรรยาบรรณ ฯลฯ
บการยกยองชมเชยจากหนว ยงาน - เอกสาร หลกั ฐานอน่ื ที่เกี่ยวของ
ท่ีเกี่ยวขอ ง

๘๘

รายการ ตวั บง ช้ี เกณ
๕. ความรับผดิ ชอบ ๕.๕ การมจี ิตอาสา จิตสาธารณะ ระดับ ๑ ใหก ารช

ในการเปนขาราชการ และมุงประโยชนส ว นรวม แกสว น
ทหารท่ีทาํ หนา ทีส่ อน (ตอ) (๔ คะแนน) ระดับ ๒ ปฏิบตั ิไ
(๒๐ คะแนน)
เสยี สละ
ระดบั ๓ ปฏิบตั ิไ

เกดิ ปร
ระดับ ๔ ปฏบิ ัติไ

การยกย

ณฑการใหค ะแนน วิธีการ / เคร่อื งมือ / แหลง ขอ มูล

ชวยเหลอื หรือใหความรวมมือ ตรวจสอบจากเอกสาร หลักฐาน แหลงขอมูล เชน
นรวม - คํารับรองของผูบงั คบั บัญชา หรือ
ไดต ามระดบั ๑ อยา งทุม เทและ คณะกรรมการสถานศกึ ษา
ะ - เอกสารหลกั ฐาน เชน คาํ สัง่ /หนงั สือเชญิ /
ไดต ามระดับ ๒ จนสาํ เรจ็ หนงั สือขอบคณุ /รางวลั /เกียรติบตั ร/
ระโยชนตอ สวนรวม วฒุ ิบตั ร ฯลฯ
ไดต ามระดับ ๓ และไดรับ - ภาพถา ยในการรวมกจิ กรรม เชน การปลูกปา
ยอ ง เปนอาสาสมัครในงานสาธารณะ ฯลฯ
- เอกสาร หลักฐานอ่นื ท่ีเก่ียวขอ ง

๘๙

การประเมินดานที่ ๒ ดา นความรูความสามารถ

คาํ ชี้แจงการประเมินดา นท่ี ๒
- องคป ระกอบการประเมิน
- เกณฑการใหค ะแนน
- เกณฑก ารตดั สิน
- เกณฑการประเมนิ

คาํ อธิบายตวั บง ช้กี ารประเมินดา นที่ ๒
- สว นที่ ๑ การเปน ผูมีความสามารถในการจัดการเรียนการสอน
๑) หลักสตู ร
๒) แผนการจัดการเรยี นรู/ การสอน/การฝก
๓) สอื่ /นวตั กรรม
๔) แฟมสะสมผลงาน
- สว นท่ี ๒ การพัฒนาตนเองเพื่อเพิ่มพนู ความรูและทกั ษะในสาขาหรือกลมุ สาระที่
รับผิดชอบหรือในงานทีร่ ับผิดชอบ
๑) การศึกษาคน ควาหาความรูด วยวิธกี ารตาง ๆ
๒) การประมวลความรูเก่ียวกบั การพฒั นาวิชาการและวิชาชีพ และ
การนําไปใชในการจดั การเรียนการสอน

กรอบการประเมินดา นท่ี ๒
- สวนที่ ๑ การเปน ผมู ีความสามารถในการจดั การเรียนการสอน
- สว นที่ ๒ การพัฒนาตนเองเพือ่ เพ่ิมพนู ความรูแ ละทักษะในสาขาหรือกลมุ สาระที่
รบั ผดิ ชอบ หรอื ในงานท่ีรบั ผดิ ชอบ

๙๐

คาํ ชแี้ จงการประเมนิ ดา นท่ี ๒ ดา นความรคู วามสามารถ

_______________
การประเมินดา นที่ ๒ ดานความรู ความสามารถ มอี งคประกอบการประเมิน เกณฑการใหค ะแนน
เกณฑการตดั สิน และวิธีการประเมนิ ดงั นี้

๑. องคป ระกอบการประเมนิ
การประเมินดา นที่ ๒ ดานความรู ความสามารถ คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน ประกอบดว ย ๒ สวน ดงั น้ี
สว นท่ี ๑ การเปนผูมคี วามสามารถในการจดั การเรียนการสอน คะแนนเต็ม ๖๐ คะแนน มีรายการ

ประเมิน ๔ รายการ จาํ นวน ๔ ตัวบงช้ี ดังนี้
๑) หลักสตู ร (๑๐ คะแนน) มีจาํ นวน ๑ ตัวบงชี้
๒) แผนการจัดการเรยี นรู/การสอน/การฝก (๓๐ คะแนน) มีจาํ นวน ๑ ตวั บงช้ี
๓) สอ่ื /นวัตกรรม (๑๐ คะแนน) มีจํานวน ๑ ตวั บงชี้
๔) แฟม สะสมผลงาน (๑๐ คะแนน) มีจาํ นวน ๑ ตัวบง ช้ี

สว นท่ี ๒ การพัฒนาตนเองเพ่ือเพ่ิมพูนความรูและทักษะในสาขาหรือกลุมสาระท่ีรับผิดชอบหรือใน
งานท่ีรับผดิ ชอบ คะแนนเต็ม ๔๐ คะแนน มีจํานวน ๑ ตัวบงชี้ คือ การศึกษาคนควาหาความรูดวยวิธีการตาง ๆ
(๔๐ คะแนน)

๒. เกณฑก ารใหคะแนน
กาํ หนดเกณฑการใหคะแนนเปนระดับคุณภาพ ๔ ระดับ คือ ระดับ ๔ ระดับ ๓ ระดบั ๒ และระดับ ๑
ในแตล ะระดบั คุณภาพกําหนดคา คะแนน ดังนี้
คาคะแนนทีไ่ ด
ระดบั คณุ ภาพ (คะแนนเต็ม ๕) (คะแนนเต็ม ๑๐) (คะแนนเต็ม ๑๕) (คะแนนเต็ม ๒๐) (คะแนนเต็ม ๓๐)
๔ ๕.๐๐ ๑๐.๐๐ ๑๕.๐๐ ๒๐.๐๐ ๓๐.๐๐
๓ ๓.๗๕ ๗.๕๐ ๑๑.๒๕ ๑๕.๐๐ ๒๒.๕๐
๒ ๒.๕๐ ๕.๐๐ ๗.๕๐ ๑๐.๐๐ ๑๕.๐๐
๑ ๑.๒๕ ๒.๕๐ ๓.๗๕ ๕.๐๐ ๗.๕๐

๓. เกณฑการตัดสนิ
๓.๑ ผทู ผ่ี า นการประเมนิ ดา นที่ ๒ ตองไดค ะแนนจากกรรมการทงั้ สามคนเฉล่ีย ดงั น้ี
๑) วิทยฐานะชํานาญการตน ตองไดคะแนนเฉลีย่ ไมตาํ่ กวา รอยละ ๕๕
๒) วทิ ยฐานะชํานาญการ ตอ งไดค ะแนนเฉลย่ี ไมต ่าํ กวา รอ ยละ ๖๕
๓) วิทยฐานะชาํ นาญการพิเศษ ตอ งไดคะแนนเฉล่ียไมต่ํากวารอยละ ๗๐
๔) วิทยฐานะเช่ียวชาญ ตอ งไดค ะแนนเฉลี่ยไมตํา่ กวา รอยละ ๗๕
๕) วิทยฐานะเชีย่ วชาญพเิ ศษ ตอ งไดค ะแนนเฉล่ียไมต ํ่ากวา รอยละ ๘๐

๓.๒ กรณีท่ีผลการประเมินไมผานตามเกณฑ ขอ ๓.๑ และคณะกรรมการชุดท่ี ๑ มีความเห็นวา
ผลการประเมนิ อยใู นวสิ ัยท่ีสามารถพัฒนาได ทั้งน้ีตองมผี ลการประเมินจากกรรมการท้ังสามคนเฉลย่ี ดงั น้ี

๑) วิทยฐานะชาํ นาญการตน ตองไดคะแนนเฉลี่ยไมต ํา่ กวา รอยละ ๕๐

๙๑

๒) วิทยฐานะชาํ นาญการ ตองไดคะแนนเฉลยี่ ไมต ่ํากวา รอ ยละ ๖๐
๓) วิทยฐานะชาํ นาญการพิเศษ ตองไดค ะแนนเฉลย่ี ไมตาํ่ กวา รอยละ ๖๕
๔) วทิ ยฐานะเช่ียวชาญ ตอ งไดคะแนนเฉลีย่ ไมต ํ่ากวารอยละ ๗๐
๕) วทิ ยฐานะเชยี่ วชาญพิเศษ ตองไดคะแนนเฉลย่ี ไมตํ่ากวา รอ ยละ ๗๕

๔. วธิ กี ารประเมนิ
๔.๑ ใหกรรมการผูประเมินใชแบบบันทึกและแบบสรุปการประเมินดานที่ ๒ (วฐ.บ.๒. และ

วฐ.ส.๒.๑) ควบคกู บั กรอบการประเมินดานท่ี ๒ และคาํ อธบิ ายตวั บงช้ีการประเมนิ ดานท่ี ๒
๔.๒ ใหกรรมการแตละคนตรวจสอบขอมูลของบุคคลและ/หรือหนวยงาน และเอกสารหลักฐาน

แหลงขอมูล ที่แสดงรองรอยวาผูขอรับการประเมินเปนผูมีความรูความสามารถในการจัดการเรียนการสอน
รวมทั้งใชวิธีการประเมินในรูปแบบตาง ๆ ท่ีเหมาะสม เชน การสังเกต การสัมภาษณ หรือสอบถามขอมูล
จากผูขอรับการประเมิน ผูบังคับบัญชา เพื่อนรวมงาน ผูรับบริการ และผูที่เก่ียวของกอนตัดสินใจใหคะแนน
โดยวงกลมรอบตัวเลขตามระดับคุณภาพที่สอดคลองกับหลักฐาน รองรอย และใหบันทึกขอมูลสารสนเทศ
หลักฐาน ในแบบบันทึกการประเมินดานท่ี ๒ (วฐ.บ.๒) แลวนําระดับคุณภาพที่ไดในแตละตัวบงชี้บันทึก
และคิดคาคะแนนลงในสรุปผลการประเมินดานท่ี ๒ (วฐ.ส.๒,๑) พรอมทั้งบันทึกขอสังเกต ซึ่งเปนจุดเดน
จดุ ท่ีควรพัฒนา และขอคดิ เห็นในเร่อื งที่ประเมนิ ของผูรับการประเมนิ ไวดว ย

ทั้งน้ีการประเมินดานที่ ๒ ใหคณะกรรมการประเมินจากเอกสาร หลักฐาน รวมท้ังการปฏิบัติงาน
จริง ณ สถานศึกษา

๔.๓ ใหคณะกรรมการท้ังสามคน สรุปคะแนนการประเมินลงในแบบ (วฐ.ส.๒.๒)ทุกคร้ังท่ีมี
การประเมิน คือ ครั้งที่ ๑ และ/หรือ คร้ังท่ี ๒ (หลังจากการพัฒนาคร้ังท่ี ๑) และ/หรือ คร้ังที่ ๓ (หลังจากการ
พัฒนาคร้งั ท่ี ๒) แลวแตกรณี

ทั้งน้ี ใหคณะกรรมการประเมินบันทึกขอสังเกตซ่ึงเปนจุดเดน จุดท่ีควรพัฒนาและขอคิดเห็น
ในเร่อื งที่ประเมนิ ของผขู อรับการประเมินทุกคร้ังท่ีมกี ารประเมนิ ไวด ว ย

หมายเหตุ - แบบสรุปผลการประเมินดานท่ี ๑ และดานที่ ๒ (วฐ. ๑-๒) ใชสําหรับกรมยุทธศึกษาเหลาทัพ
หรอื สถาบันวชิ าการปอ งกนั ประเทศ เมอ่ื การประเมินดา นที่ ๑ และดา นท่ี ๒ มผี ลสิน้ สุดแลว
_____________________________________________

๙๒

คาํ อธิบายตัวบงช้ีดานท่ี ๒ ดา นความรคู วามสามารถ

----------------------------------
การประเมินดานท่ี ๒ ดานความรูความสามารถของขาราชการทหารท่ีทําหนาที่สอน มีคะแนนเต็ม
๑๐๐ คะแนน ประกอบดวย ๒ สวน คือ สวนท่ี ๑ การเปนผูมีความสามารถในการจัดการเรียนการสอน ๖๐
คะแนน มีจํานวน ๔ ตัวบงชี้ และสวนที่ ๒ การพัฒนาตนเองเพื่อเพ่ิมพูนความรูและทักษะในสาขาหรือกลุม
สาระทร่ี ับผดิ ชอบหรือในงานท่ีรับผดิ ชอบ ๔๐ คะแนน มจี าํ นวน ๓ ตัวบงช้ี ดังนี้
สวนท่ี ๑ การเปนผูม ีความสามารถในการจัดการเรียนการสอน (๖๐ คะแนน)
๑. หลักสูตร หมายถึง มวลประสบการณท่ีผูสอนจัดทําขึ้นเพ่ือใชในการจัดการเรียนรูในสาระ/
รายวิชา/สาขาท่ีเสนอขอโดยมีการวิเคราะหมาตรฐานและตัวช้ีวัด สมรรถนะคุณลักษณะอันพึงประสงค
กระบวนการเรียนรู แนวทางการจัดการเรียนรู สื่อการเรียนรู การวัดและการประเมินผล ท่ีกําหนดไวใน
หลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐานพทุ ธศักราช ๒๕๕๑ หรอื หลักสูตรอืน่ ตามทห่ี นว ยงานกาํ หนด

ตัวบงช้ีที่ ๑ ความสามารถในการจัดทําหลักสูตรอยางเปนระบบ หมายถึง ความสามารถในการ
วเิ คราะหหลกั สูตร พัฒนาหลกั สูตร การนําหลกั สตู รไปใช การประเมนิ หลกั สูตรและการปรับปรุงหลกั สตู ร

๒. แผนการจัดการเรยี นร/ู การสอน/การฝก
ตัวบงช้ีที่ ๒ แผนการจัดการเรียนรู/การสอน/การฝก หมายถึง ความสามารถในการจัดทํา

แผนการเรียนรู/การสอน/การฝก ท่ีสอดคลองกับหลักสูตร ผูเขารับการสอน ฝก ศึกษาและบริบทของชุมชน
มีองคประกอบของแผนครบถวนสอดคลองกันและถูกตองตามหลักวิชาการ มีการออกแบบการเรียนรู/การ
สอน/การฝกที่หลากหลายและถูกตอง มีการวัดและประเมินผลสอดคลองกับจุดประสงคและกระบวนการ
จดั การเรียนรู/การสอน/การฝก โดยใชว ิธกี ารท่ีหลากหลาย มีการบนั ทึกผลการจดั การเรียนรู/การสอน/การฝก
และการนาํ มาพฒั นาการจัดการเรยี นรู

๓. สื่อ/นวัตกรรม ส่ือ หมายถึง สิ่งที่ใชประกอบการจัดการเรียนรู/การสอน/การฝก เพ่ือเพ่ิม
ประสิทธิภาพในการจัดการเรียนการสอน โดยอาจเปนวัสดุ อุปกรณ วิธีการในการจัดการเรียนรู/การสอน/
การฝก ทผี่ สู อน เลอื ก จัดหา หรอื จัดทําขนึ้ ใช สว นนวัตกรรม หมายถงึ ส่ิงที่ผสู อนจัดทําข้ึนใหม โดยใชความคดิ
ริเร่ิมสรางสรรคของตนเอง ตอยอดความคิดจากสื่อเดิมใหเกิดประโยชนยิ่งขึ้น นอกจากนี้ นวัตกรรมอาจเปน
กระบวนการ เทคนิค วิธีการที่ผูสอนคิดขึ้นเพื่อใชจัดการเรียนรู/การสอน/การฝก ใหมีคุณภาพตามมาตรฐาน
และตวั ชีว้ ัดหรอื จุดมงุ หมายของหลกั สตู รอนื่

ตัวบงชี้ที่ ๓ ความสามารถในการเลือก/ออกแบบ การผลิต/จัดหา การนําไปใช การ
ประเมินผลและการพัฒนาสื่อ/นวัตกรรมท่ีสอดคลองกับกระบวนการจัดการเรียนรู/การสอน/การฝก
หมายถึง ความสามารถในการเลือก ผลิต ใช และพฒั นาสื่อ/นวัตกรรมท่ีถูกตองตามหลักวิชาการ สอดคลองกับ
กระบวนการจัดการเรียนรู/การสอน/การฝก

๙๓

๔. แฟมสะสมผลงาน
ตวั บงชีท้ ่ี ๔ แฟมสะสมผลงานทีเ่ ก่ยี วกบั ผเู ขารับการสอน ฝก ศึกษา สถานศึกษา ชุมชน และ

ตนเอง หมายถงึ แฟม สะสมผลงานที่ผูสอนไดคัดเลือกผลงานทเ่ี กดิ จากการปฏิบัตงิ านในหนาที่ และงานท่ีไดรับ
มอบหมายของผูสอนท่ีเก่ียวของกับผูเขารับการสอน ฝก ศึกษา สถานศึกษา ชุมชน และตนเองโดยเปนผลงาน
ดเี ดนหรอื ผลงานท่ีแสดงพฒั นาการของการปฏบิ ัตงิ านในแตละกลมุ
สว นที่ ๒ การพัฒนาตนเองเพื่อเพิ่มพูนความรูและทักษะในสาขาหรือกลุมสาระที่รับผิดชอบ หรือในงาน

ท่รี บั ผดิ ชอบ (๔๐ คะแนน)
๑. การศึกษาคน ควา หาความรูด ว ยวิธีการตาง ๆ

ตัวบงชี้ท่ี ๑ การศึกษาคนควาหาความรูดวยวิธีการตาง ๆ ท่ีทําใหเกิดความรูและทักษะ
เพม่ิ ขน้ึ หมายถึง การศกึ ษาคนควาหาความรู ดวยการเขาประชุมทางวชิ าการ การอบรม สัมมนา การศึกษาตอ
และการแลกเปลีย่ นความคิดเหน็ ทางวิชาการที่ทําใหเ กิดความรแู ละทักษะเพม่ิ ขึ้น

๒. การประมวลความรูเกี่ยวกับการพัฒนาวิชาการและวิชาชีพ และการนําไปใชในการจัดการ
เรียนการสอน

ตัวบงช้ีที่ ๒ การประมวลความรูเกี่ยวกับการพัฒนาวิชาการและวิชาชีพ และการนําไปใช
ในการจัดการเรียนการสอน หมายถึง การเลือก การสรปุ การจัดระบบความรูเกี่ยวกับการพัฒนาวิชาการและ
วชิ าชพี และจดั ทาํ เปน เอกสารทางวชิ าการเพ่อื นาํ ไปใชใ นการพฒั นาการจัดการเรยี นการสอน

______________________________

๙๔

กรอบการประเมนิ ดานท่ี ๒ ดา นความรูความสามารถ

ดา นท่ี ๒ ดา นความรูค วามสามารถ (๑๐๐ คะแนน)

รายการ ตวั บงช้ี เกณฑกา

สวนท่ี ๑ การเปนผมู ีความสามารถในการจัดการเรียนการสอน (๖๐ คะแนน)

๑. หลักสตู ร ความสามารถในการจดั ทํา มคี วามสามารถในการจัดท
(๑๐ คะแนน) หลักสตู รอยางเปน ระบบ โดยมี โดยมกี ารดําเนนิ งานถกู ตอ
การดาํ เนนิ งาน ดังนี้ ระดบั ๑ จาํ นวน ๓ รายกา
๑. การวิเคราะหห ลกั สูตร ระดบั ๒ จาํ นวน ๔ รายกา
๒. การพฒั นาหลักสูตร ระดบั ๓ ครบทงั้ ๕ รายกา
๓. การนําหลกั สตู รไปใช ระดบั ๔ ครบทัง้ ๕ รายกา
๔. การประเมนิ หลกั สูตร
๕. การปรบั ปรุงหลกั สูตร

ารใหคะแนน วิธีการ / เครื่องมือ / แหลงขอ มูล

ทาํ หลกั สตู รอยา งเปน ระบบ ตรวจสอบจากเอกสาร
องตามหลกั วชิ าการ หลกั ฐาน แหลง ขอมูล เชน
าร - ผลการวเิ คราะหบริบทของชุมชน
าร - ตารางวิเคราะหห ลักสูตร
าร - คําอธบิ ายรายวชิ า
าร และเปน แบบอยา งที่ดีได - โครงสรางรายวิชา/หนวยการเรยี นรู
- แนวทางการนาํ หลกั สตู รไปใช
- การประเมนิ และปรบั ปรงุ หลักสูตร
- คาํ ส่ัง บนั ทึก รายงานการประชมุ
- เอกสาร หลักฐานอ่นื ที่เกีย่ วขอ ง

๙๔

๙๕

รายการ ตวั บงชี้ เกณฑก า
๒. แผนการจัดการ
แผนการจัดการเรยี นรู/การสอน/ มแี ผนการจัดการเรียนรู /กา
เรียนรู/การสอน/ การฝก ทสี่ ามารถนําไปสูการปฏิบตั ิ ถกู ตองตามหลักวชิ าการ
การฝก โดยมคี ุณภาพ ดังนี้ ระดับ ๑ จํานวน ๔ รายกา
(๓๐ คะแนน) ๑. มีความสอดคลอ งกบั หลักสูตร ระดับ ๒ จํานวน ๕ รายการ
๒. มีความสอดคลองกับผูเขารับ ระดับ ๓ ครบทง้ั ๖ รายการ
การสอน ฝก ศึกษาและบริบท ระดับ ๔ ครบทั้ง ๖ รายกา
ของชุมชน
๓. มอี งคประกอบของแผนครบถว น
สอดคลอ งกันและถูกตองตามหลกั
วชิ าการ
๔. มีการออกแบบการเรียนรู/
การสอน/การฝก ท่หี ลากหลาย
และถูกตอง
๕. มีการวดั และประเมนิ ผล
สอดคลอ งกับจุดประสงคการ
เรียนรูและกระบวนการจัดการ
เรียนรู/การสอน/การฝก โดยใช
วิธกี ารที่หลากหลาย
๖. มกี ารบันทึกผลการจดั การเรียนรู
และนาํ ผลจากการบันทึกมา
พัฒนาการจัดการเรียนรู/
การสอน/การฝก

ารใหคะแนน วธิ กี าร / เครอ่ื งมือ / แหลง ขอมูล
ารสอน/การฝก โดยมีคุณภาพ ตรวจสอบจากเอกสาร หลักฐาน
แหลงขอมลู เชน
าร - แผนการจัดการเรียนรู/การสอน/การฝก

ร สอดคลองกับหลักสูตร
าร และเปนแบบอยางที่ดีได - ผลการวิเคราะหผูเขารบั การสอน ฝก ศึกษาและ
บริบทของชุมชน
- เครื่องมือการวัดและประเมนิ ผล
- การบนั ทึกผลการจัดการเรียนรู/การสอน/
การฝก และการนําผลจากการบนั ทึกมาใชใ นการ
พัฒนา
- เอกสาร หลักฐานอ่ืนที่เกีย่ วของ

๙๕

๙๖

รายการ ตวั บง ชี้ เกณฑกา
๓. ส่อื /นวัตกรรม ความสามารถในการเลือก/ มคี วามสามารถในการเลอื ก
ออกแบบการผลิต/จัดหา นําไปใช ประเมนิ ผล และพ
(๑๐ คะแนน) การนาํ ไปใชการประเมินผลและ สอดคลองกับกระบวนการ
การพัฒนาสื่อ/นวตั กรรมท่ี ฝก ถกู ตองตามหลักวิชากา
สอดคลองกบั กระบวนการจัดการ ระดับ ๑ จาํ นวน ๓ รายก
เรยี นรู/การสอน/การฝก โดยมี ระดับ ๒ จํานวน ๔ รายก
การดาํ เนินงาน ดังนี้ ระดับ ๓ ครบทั้ง ๕ รายก
๑. การเลอื ก/ออกแบบ ระดับ ๔ ครบทง้ั ๕ รายกา
๒. การผลติ /จดั หา
๓. การนาํ ไปใช
๔. การประเมนิ ผล
๕. การพัฒนา

๔. แฟมสะสมผลงาน ผลงานในแฟมสะสมผลงาน มแี ฟมสะสมผลงานที่เกี่ยวก
(๑๐ คะแนน) ๑. ดานผูเ ขา รับการสอน สถานศึกษา ชมุ ชน หรือตน
ฝก ศึกษา ระดับ ๑ รวม ๒ ดาน
๒. ดา นสถานศึกษา ระดับ ๒ รวม ๓ ดาน
๓. ดา นชุมชน ระดับ ๓ ครบถว น ทัง้ ๔ ด
๔. ดา นตนเอง ระดับ ๔ มีครบถวนทั้ง ๔ ด

ารใหค ะแนน วธิ ีการ / เคร่อื งมือ / แหลงขอมูล
ก/ออกแบบ ผลิต/ จัดหา ตรวจสอบจากเอกสาร หลักฐาน
พัฒนาสอื่ /นวตั กรรม โดย แหลง ขอมูล เชน
รจดั การเรยี นรู/การสอน/การ - ผลการวเิ คราะหเพ่ือเลอื ก/ออกแบบส่ือ/
าร นวตั กรรม
การ - แผนการผลติ /จดั หาส่อื /นวตั กรรม
การ - สื่อ/นวัตกรรมทีผ่ ลติ
การ - การใชสอื่ /นวตั กรรม
าร และเปนแบบอยา งที่ดไี ด - เคร่ืองมือและผลการประเมินการใชส อ่ื /
นวตั กรรมและการพัฒนา
- แผนการจัดการเรียนรู/การสอน/การฝก
- เอกสาร หลักฐานอ่ืนท่ีเก่ยี วของ

กับผเู ขา รับการสอนฝก ศึกษา ตรวจสอบจากเอกสาร หลักฐาน
นเอง แหลงขอมลู เชน
ดา น - แฟมสะสมผลงานและการสรุปคุณคาของผลงาน
ดานและเปนแบบอยางที่ดีได ในดานตา ง ๆ
- เอกสาร หลกั ฐานอ่ืนที่เกย่ี วของ

๙๖

๙๗

รายการ ตวั บงช้ี เกณฑก า

สวนท่ี ๒ การพัฒนาตนเองเพ่อื เพิ่มพูนความรูและทกั ษะในสาขาหรือกลุมสาระทรี่ ับผ

๑. การศกึ ษาคน ควา การศกึ ษาคน ควาหาความรูด วย เขา รวมการประชุมทางวชิ า
หาความรดู วย วธิ กี ารตา งๆ ทีท่ ําใหเ กิดความรู สัมมนา/การอภปิ รายแลกเ
วธิ กี ารตาง ๆ และทักษะเพม่ิ ขนึ้ ดังน้ี การศึกษาดูงาน
(๔๐ คะแนน) - การประชมุ ทางวิชาการ ระดับ ๑ รวมแลว ไมน อยก
การอบรม การสัมมนา ระดบั ๒ รวมแลวไมน อ ยก
การอภปิ รายแลกเปล่ียนเรียนรู ระดับ ๓ รวมแลวไมนอยก
ทางวชิ าการ การศึกษาดูงาน ระดับ ๔ รวมแลวไมนอ ยก
หรือการศึกษาตอพรอ มทง้ั สรุป การศกึ ษาตอ ๑
สาระความรทู ี่ไดรับและเสนอแนะ
แนวทางการนาํ ไปใชในการจดั การ
เรียนการสอนหรอื งานท่ี
รับผิดชอบ

ารใหค ะแนน วธิ ีการ / เคร่ืองมือ / แหลงขอ มูล

ผิดชอบหรือในงานท่รี ับผดิ ชอบ (๔๐ คะแนน)

าการ/การอบรม/ การ ตรวจสอบจากเอกสาร หลักฐาน
เปลี่ยนเรยี นรูทางวชิ าการ แหลง ขอ มูล เชน
กวา ๒๐ ชั่วโมงตอ ป - ใบรับรองการผานการทดสอบความรจู าก
สถาบันทางวิชาการในสังกัด กห หรือ
กวา ๒๕ ชว่ั โมงตอ ป หนวยงานนอก กห.
กวา ๓๐ ชว่ั โมงตอ ป - วฒุ บิ ัตร/เกยี รตบิ ัตร/ใบรับรอง/โล/ รางวลั
กวา ๓๕ ชวั่ โมงตอ ป หรือ หลกั ฐานการศึกษาตอ
หลักสูตร - หนงั สือเชญิ คําส่งั หนงั สอื ขอบคณุ ฯลฯ
- ผลการแลกเปลี่ยนเรียนรูทางวชิ าการ
- เอกสาร หลกั ฐานอื่นที่เก่ยี วของ

๙๗

๙๘

การประเมินดานที่ ๓ ดานผลการปฏบิ ตั ิงาน

คําชแ้ี จงการประเมินดานท่ี ๓
- องคประกอบการประเมิน
๑) วทิ ยฐานะครูชํานาญการตน และครชู าํ นาญการ
๒) วิทยฐานะครชู าํ นาญการตนและครชู าํ นาญการพิเศษช้ึนไป
- เกณฑการใหคะแนน
๑) วิทยฐานะครูชํานาญการตน และครูชาํ นาญการ
๒) วิทยฐานะครชู ํานาญการตนและครชู ํานาญการพิเศษชน้ึ ไป
- เกณฑการตดั สิน
๑) วิทยฐานะครูชํานาญการตน และครูชํานาญการ
๒) วิทยฐานะครชู าํ นาญการตน และครูชํานาญการพิเศษชนึ้ ไป
- เกณฑก ารประเมนิ
๑) วิทยฐานะครชู าํ นาญการตน และครูชํานาญการ
๒) วิทยฐานะครชู าํ นาญการตน และครูชาํ นาญการพเิ ศษช้นึ ไป

คาํ อธิบายตัวบงชี้การประเมนิ ดา นที่ ๓
- สว นที่ ๑ ผลการพฒั นาคณุ ภาพผูเขา รับการสอน ฝก ศกึ ษา
- สว นที่ ๒ รายงานการสงั เคราะหผ ลการแกปญหาและพฒั นาผูเ ขา รับการสอน ฝก
ศึกษา หรือ ผลงานทางวิชาการ

กรอบการประเมนิ ดา นที่ ๓
- สวนท่ี ๑ ผลการพัฒนาคุณภาพผูเ ขา รับการสอน ฝก ศกึ ษา
- สวนท่ี ๒ ผลงาน
๑) วิทยฐานะครชู ํานาญการตนและครชู าํ นาญการ : การประเมิน
รายงานการสงั เคราะหผ ลการแกป ญ หาและพฒั นาผูเรียน
๒) วทิ ยฐานะครูชาํ นาญการตน และครูชาํ นาญการพิเศษชนึ้ ไป :
ผลงานทางวิชาการ

๙๙

คําช้ีแจงการประเมนิ ดา นที่ ๓ ดา นผลการปฏบิ ตั งิ าน

------------------------------
การประเมินดานที่ ๓ ดานผลการปฏิบัติงาน มีองคประกอบการประเมิน เกณฑการใหคะแนน เกณฑ
การตดั สิน และวิธีการประเมิน ดังน้ี
๑. องคประกอบการประเมนิ
วิทยฐานะครชู ํานาญการตน และครูชาํ นาญการ
การประเมินดา นท่ี ๓ ดานผลการปฏิบตั งิ าน คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน ประกอบดว ย ๒ สวน ดงั นี้
สวนที่ ๑ ผลการพฒั นาคุณภาพผเู ขารบั การสอน ฝก ศึกษา คะแนนเต็ม ๖๐ คะแนน มรี ายการ
ประเมิน ๓ รายการ จาํ นวน ๖ ตัวบง ช้ี ดงั น้ี

๑) ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน (๓๐ คะแนน) มจี าํ นวน ๓ ตัวบงช้ี
๒) ผลการพัฒนาผูเ ขารบั การสอน ฝก ศกึ ษา ดา นอ่ืน ๆ (๒๐ คะแนน) มีจาํ นวน ๒ ตวั บง ช้ี
๓) ปรมิ าณงาน (๑๐ คะแนน) มีจาํ นวน ๑ ตัวบง ช้ี
สวนท่ี ๒ รายงานการสังเคราะหผ ลการแกปญหาและพัฒนาผูเขา รับการสอน ฝก ศึกษา คะแนนเต็ม
๔๐ คะแนน มีจาํ นวน ๔ ตวั บงช้ี ดงั น้ี
๑) การระบุปญหาและการกําหนดขอบเขตของปญ หา (๕ คะแนน)
๒) รูปแบบ เทคนิค วธิ กี ารแกป ญ หาและการพฒั นา (๑๕ คะแนน)
๓) การนํารปู แบบ เทคนคิ วธิ กี ารแกป ญ หา และพัฒนา ไปใชแ กปญหา และพัฒนา และ

ผลท่เี กดิ ขนึ้ (๑๕ คะแนน)
๔) ขอเสนอเชิงนโยบายในการแกปญ หาและพฒั นาในอนาคต (๕ คะแนน)
วิทยฐานะครูชํานาญการพเิ ศษข้ึนไป
การประเมนิ ดานที่ ๓ ดานผลการปฏบิ ตั ิงาน คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน ประกอบดวย ๒ สว น ดังนี้
สว นท่ี ๑ ผลการพัฒนาคุณภาพผูเขารับการสอน ฝก ศึกษา คะแนนเต็ม ๖๐ คะแนน มีรายการ
ประเมนิ ๓ รายการ จาํ นวน ๖ ตัวบงชี้ ดังนี้
๑) ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น (๓๐ คะแนน) มีจาํ นวน ๓ ตัวบง ช้ี
๒) ผลการพฒั นาผูเขารบั การสอน ฝก ศึกษา ดา นอนื่ ๆ (๒๐ คะแนน) มีจาํ นวน ๒ ตัวบง ช้ี
๓) ปรมิ าณงาน (๑๐ คะแนน) มจี ํานวน ๑ ตวั บงช้ี
สว นที่ ๒ ผลงานทางวิชาการ คะแนนเต็ม ๔๐ คะแนน มรี ายการประเมนิ ๒ รายการ จํานวน ๖ ตัวบงชี้ ดงั นี้
๑) คุณภาพของผลงานทางวิชาการ (๒๐ คะแนน) มีจาํ นวน ๔ ตวั บงชี้

- ความถูกตอ งตามหลกั วชิ าการ (๗ คะแนน)
- ความสมบูรณข องเนื้อหาสาระ (๖ คะแนน)
- ความคดิ ริเร่มิ สรางสรรค (๔ คะแนน)
- การจดั ทาํ การพมิ พแ ละรูปเลม (๓ คะแนน)
๒) ประโยชนของผลงานทางวิชาการ (๒๐ คะแนน) มีจํานวน ๒ ตวั บง ช้ี
- ประโยชนต อ ผูเ ขา รบั การสอน ฝก ศกึ ษา ครู บุคลากรทางการศึกษา การจัดการ
ศึกษา หนว ยงานการศกึ ษาและชมุ ชน (๑๐ คะแนน)
- ประโยชนต อ ความกา วหนาทางวิชาการและการเผยแพรในวงวชิ าการ (๑๐ คะแนน)

๑๐๐

๒. เกณฑก ารใหคะแนน
การประเมินดานที่ ๓ สวนที่ ๑ ผลการพัฒนาคุณภาพผูเขารับการสอน ฝก ศึกษา กําหนดใหมี
เกณฑการประเมินเปนระดับคุณภาพ ๔ ระดับ คือ ระดับ ๔ ระดับ ๓ ระดับ ๒ และระดับ ๑ ในแตละระดับ
คุณภาพ กําหนดคาคะแนน ดงั น้ี
คะแนนทีไ่ ด
ระดบั คุณภาพ (คะแนนเตม็ ๕) (คะแนนเตม็ ๑๐) (คะแนนเตม็ ๑๕) (คะแนนเตม็ ๒๐)

๔ ๕.๐๐ ๑๐.๐๐ ๑๕.๐๐ ๒๐.๐๐
๓ ๓.๗๕ ๗.๕๐ ๑๑.๒๕ ๑๕.๐๐
๒ ๒.๕๐ ๕.๐๐ ๗.๕๐ ๑๐.๐๐
๑ ๑.๒๕ ๒.๕๐ ๓.๗๕ ๕.๐๐

๓. เกณฑการตดั สนิ
วทิ ยฐานะครชู าํ นาญการตนและครชู ํานาญการ
๓.๑ การประเมินดานที่ ๓ ดานผลการปฏิบัติงาน ประกอบดวย สวนที่ ๑ ผลการพัฒนาคุณภาพ
ผูเขารับการสอน ฝก ศึกษา และสวนที่ ๒ รายงานการสังเคราะหผลการแกปญหาและพัฒนาผูเขารับการสอน ฝก
ศึกษา ผูที่ผานเกณฑการประเมิน ตองไดคะแนน รวมทั้ง ๒ ดาน จากกรรมการแตละคน ไมตํ่ากวารอยละ ๕๕
สาํ หรับวทิ ยฐานะครชู าํ นาญการตน ไมตํ่ากวา รอ ยละ ๖๕ สําหรบั วิทยฐานะครชู ํานาญการ
๓.๒ การปรับปรงุ ดานท่ี ๓

กรณีท่ีผลการประเมินไมผานตามเกณฑ ขอ ๓.๑ และคณะกรรมการมีความเห็น วาผลการปฏิบัติงาน
อยูในวิสัยที่สามารถปรับปรุงได การปรับปรุงขอมูลตองเปนกรณีที่ผูขอรับการประเมินชี้แจงขอมูล
ตามแบบรายงานผลการปฏบิ ัตงิ าน (วฐ.ร.๓.๑) ยังไมชัดเจน สามารถใหผูขอรับการประเมิน อธิบายหรือชแี้ จง
ขอ มลู เพิ่มเติมใหชัดเจนไดเทานน้ั ไมสามารถปรับปรงุ ขอมูลเกี่ยวกบั ผลการพัฒนาคุณภาพผเู ขารบั การสอน ฝก
ศึกษา เชน ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ผลการประเมินและหรือการทดสอบของวิชาท่ีสอนในระดับเขตหรือ
ระดบั ประเทศ และผลการพัฒนาผเู ขารับการสอน ฝก ศึกษาดานอนื่ ๆ เปนตน

การปรับปรุงดา นที่ ๓ จะดําเนินการพรอมกันทั้งดานท่ี ๑ และ ๒ ซึ่งสามารถปรับปรุงไดไมเกิน
๒ ครัง้ โดยคร้ังที่ ๑ ใหปรับปรงุ ภายในเวลา ๑ เดือน เมือ่ ปรบั ปรุงแลว หากคณะกรรมการประเมนิ พจิ ารณาแลว
เห็นวาผูขอรับการประเมินยังปรับปรุงไมครบถวนตามขอสังเกตอาจใหปรับปรุงไดอีกครั้งหนึ่งภายในเวลา
๑ เดือน

วิทยฐานะครชู ํานาญการพเิ ศษข้ึนไป
๓.๑ การประเมินดานที่ ๓ ดานผลการปฏิบัติงาน ประกอบดวย สวนท่ี ๑ ผลการพัฒนาคุณภาพ
ผูเขารับการสอน ฝก ศึกษา และสวนท่ี ๒ ผลงานทางวิชาการ ผูท่ีผานเกณฑการประเมิน ตองไดคะแนนจาก
กรรมการแตล ะคน ดังน้ี

วิทยฐานะ ผลการประเมินดา นที่ ๓
ชํานาญการพเิ ศษ สว นท่ี ๑ สวนท่ี ๒ คะแนนรวมเฉล่ยี ทงั้ ๒ สว น
เชย่ี วชาญ ไมตา่ํ กวารอยละ ๖๕ ไมต าํ่ กวารอยละ ๖๕ ไมตํ่ากวารอ ยละ ๗๐
เช่ียวชาญพิเศษ ไมตํา่ กวา รอยละ ๗๐ ไมต ่าํ กวารอยละ ๗๐ ไมตํา่ กวารอยละ ๗๕
ไมต ํ่ากวา รอ ยละ ๗๕ ไมต่าํ กวา รอยละ ๗๕ ไมตา่ํ กวา รอยละ ๘๐

๑๐๑

๓.๒ การปรับปรุงดานที่ ๓
กรณีท่ีผลการประเมินไมผานตามเกณฑ ขอ ๓.๑ และคณะกรรมการชุดท่ี ๒ มีความเห็นวา

ผลการปฏิบัติงานอยูในวิสัยที่สามารถปรับปรุงได โดยตองมีผลการประเมินจากกรรมการไมนอยกวา ๒ คน
ผา นเกณฑท งั้ ในสวนที่ ๑ สวนที่ ๒ และคะแนนรวมเฉลี่ยตอ งมีลกั ษณะและเงอื่ นไข ดังนี้

การปรับปรงุ สว นที่ ๑ ผลการพัฒนาคุณภาพผเู ขา รับการสอน ฝก ศึกษาตองเปนกรณีที่ผูขอรับ
การประเมินช้ีแจงขอมูลตามแบบรายงานผลการปฏิบัติงาน (วฐ.ร.๓.๒) ยังไมชัดเจน สามารถใหผูขอรับการ
ประเมินอธิบายหรือช้ีแจงขอมูลเพ่ิมเติมใหชัดเจนไดเทานั้น ไมสามารถใหปรับปรุงขอมูลเกี่ยวกับผลการการ
พัฒนาคุณภาพผูเขารับการสอน ฝก ศึกษา เชน ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ผลการประเมินและหรือการทดสอบ
ของวิชาท่สี อนในระดับเขตหรือระดับประเทศ และผลการพัฒนาผูเ ขา รับการสอน ฝก ศึกษาดานอื่นๆ เปน ตน

การปรับปรงุ สว นที่ ๒ ผลงานทางวิชาการตอ งอยใู นวิสัยทส่ี ามารถปรับปรงุ ได
การปรับปรุงดานที่ ๓ สามารถปรับปรุงไดไมเกิน ๒ คร้ัง โดยคร้ังท่ี ๑ ใหปรับปรุงภายในเวลา
๖ เดือน เมื่อปรับปรุงแลวหากคณะกรรมการประเมินพิจารณาแลวเห็นวาผูขอรับการประเมินยังปรับปรุง
ไมค รบถว นตามขอ สังเกตอาจใหปรับปรุงไดอกี คร้งั ภายในเวลา ๓ เดือน
๔.วธิ ีการประเมนิ
๔.๑ ใหกรรมการผูประเมินใชแบบบันทกึ และแบบประประเมินดานท่ี ๓ (วฐ.บ.๓. วฐ.ป.๓.๑ หรือ
วฐ.ป.๓.๒) ควบคูก ับกรอบการประเมินดานที่ ๓ และคาํ อธิบายตวั บงชีก้ ารประเมินดานท่ี ๓
๔.๒ ใหก รรมการพิจารณาขอมลู สวนที่ ๑ คือ ผลการพัฒนาคณุ ภาพผูเขา รบั การสอน ฝก ศึกษา
จากเอกสารหลกั ฐานทีผ่ ูขอรบั การประเมนิ รายงานตามแบบ (วฐ.ร.๓.๑ หรือ วฐ.ร.๓.๒) และอาจพจิ ารณาจาก
ผลการปฏิบตั งิ านจริงดวยก็ได
กรณวี ิทยฐานะครชู ํานาญการพิเศษข้ึนไป ในการประเมินสวนท่ี ๒ พิจารณาจากเอกสารผลงาน
ทางวิชาการ ตามจํานวนและประเภทท่ีคณะอนุกรรมการบริหารขาราชการที่ทําหนาท่ีสอนใน กห. กําหนด
ไวในหลักเกณฑฯ ของแตละวิทยฐานะและตามคําอธิบายตัวบงช้ีการประเมินดานที่ ๓ ท้ังนี้การประเมินในสวนที่ ๒
นีอ้ าจใหผขู อรับประเมนิ ตอบขอ ซกั ถามดว ยก็ได
๔.๓ การประเมินดานที่ ๓ สวนที่ ๑ (ผลการพัฒนาคุณภาพผูเขารับการสอน ฝก ศึกษา) ให
กรรมการแตละคนตรวจสอบเอกสารหลักฐาน แหลงขอมูลท่ีแสดงถึงรองรอยคุณภาพตามที่ปรากฏในแบบ
รายงานผลการปฏิบัติงาน (วฐ.ร.๓.๑ หรือ วฐ.ร.๓.๒) แลวใหคะแนนในแตละตัวบงชี้ โดยวงกลมรอบตัวเลข
ตามระดับ คุณภาพ และบันทึกหลักฐานรองรอยท่ีสอดคลองกับระดับคุณภาพนั้น โดยใชแบบบันทึกการ
ประเมนิ ดา นท่ี ๓ (วฐ.บ.๓.๑ หรือ วฐ.บ.๓.๒) แลวจึงนาํ คะแนนทไี่ ดแ ตละขอและขอ สังเกตมาบนั ทกึ ลงในแบบ
ประเมินดานท่ี ๓ (วฐ.ป ๓.๑ หรือ วฐ.ป.๓.๒) ใหชัดเจน
๔.๔ การประเมนิ ดานท่ี ๓ สว นท่ี ๒

วทิ ยฐานะครูชาํ นาญการ
การประเมินดานที่ ๓ สวนท่ี ๒ รายงานการสังเคราะหผ ลการแกปญ หาและพัฒนาผูเขารับ
การสอน ฝก ศึกษา ใหกรรมการแตละคนประเมินรายงานการสังเคราะหผลการแกปญหาและพัฒนาผูเขารับ
การสอน ฝก ศึกษาตามกรอบการประเมินรายงานการสังเคราะหผลการแกปญหาและพัฒนาผูเขารับการสอน
ฝก ศึกษาที่กาํ หนด แลวจึงใหค ะแนนในแตละรายการ พรอมท้ังบนั ทึกขอ สังเกตเกี่ยวกับรายงานการสังเคราะห
ผลการแกป ญ หาและพฒั นาผเู ขารบั การสอน ฝก ศึกษาในแบบประเมินดานท่ี ๓ (วฐ.ป. ๓.๑)

๑๐๒
วทิ ยฐานะครชู าํ นาญการพเิ ศษขนึ้ ไป
การประเมินดานท่ี ๓ สวนท่ี ๒ ผลงานทางวิชาการ ใหกรรมการแตละคนประเมินผลงาน
ทางวิชาการตามกรอบการประเมินผลงานทางวิชาการที่กําหนด แลวจึงใหคะแนนในแตละรายการ พรอมทั้ง
บนั ทกึ ขอ สงั เกตเกยี่ วกบั ผลงานทางวชิ าการในแบบประเมนิ ดานท่ี ๓ (วฐ.ป.๓.๒.)
หมายเหตุ
๑. แบบสรุปผลการประเมินดานที่ ๑ ดานท่ี ๒ และดานท่ี ๓ (วฐ.ส.๓.๑ หรือ วฐ.๓.ส..๒) ใชสําหรับ
คณะกรรมการที่ไดรับการแตงตั้งจากกรมยุทธศึกษาเหลาทัพ หรือสถาบันวิชาการปองกันประเทศ เสนอกรมยุทธ
ศึกษาเหลา ทพั หรือสถาบันวชิ าการปองกนั ประเทศ เมื่อการประเมินดา นท่ี ๑ ดานท่ี ๒ และดานที่ ๓ มผี ลส้นิ สดุ แลว
๒. แบบสรุปผลการประเมินดานท่ี ๑ ดานท่ี ๒ และดานที่ ๓ (วฐ.ส.๑-๓) ใชสําหรับกรมยุทธศึกษาเหลาทัพ
หรือสถาบนั วิชาการปองกันประเทศ เมื่อการประเมินดานท่ี ๑ ดา นที่ ๒ และดา นที่ ๓ มีผลส้นิ สุดแลว

๑๐๓

คําอธบิ ายตัวบงชกี้ ารประเมินดานท่ี ๓ ดา นผลการปฏิบตั งิ าน

-------------------------------
การประเมนิ ดานที่ ๓ ดานผลการปฏิบัติงานของขาราชการทหารท่ที ําหนาท่สี อน มคี ะแนนเต็ม ๑๐๐
คะแนน ประกอบดวย ๒ สวน คือ สว นที่ ๑ ผลการพฒั นาคุณภาพผูเขารับการสอน ฝก ศึกษา ๖๐ คะแนน มี
จํานวน ๖ ตัวบง ช้ี และสวนท่ี ๒ ผลงานทางวชิ าการ ๔๐ คะแนน ดังน้ี
สว นท่ี ๑ ผลการพฒั นาคณุ ภาพผเู ขารับการสอน ฝก ศกึ ษา (๖๐ คะแนน)
๑. ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน พิจารณาตามตวั บงชี้ ดงั นี้

ตัวบงช้ี ๑.๑ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนกอนเรียนและหลังเรียน หมายถึง คาเฉล่ียผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรยี นโดยเปรียบเทยี บกอนเรียนและหลงั เรยี น

ตวั บงช้ี ๑.๒ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของวิชาที่สอน หมายถึง ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนในวชิ าที่
สอนของผูเขารับการสอน ฝก ศึกษาในปปจจุบันสําหรับครูทหาร หรือคาเฉล่ียผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของ
ผูเ ขา รบั การสอน ฝก ศึกษา เปรยี บเทยี บปป จ จุบนั กบั ปท ีผ่ านมาสําหรบั ครวู ชิ าการ

ตวั บง ชี้ ๑.๓ ผลการประเมินและหรือการทดสอบของวชิ าทสี่ อน/กลุมสาระการเรียนรใู นระดับ
เขต/ประเทศ หมายถึง ความกาวหนาของการทดสอบในวชิ าทผี่ สู อนรบั ผดิ ชอบ การจัดการเรียนการสอน

๒. ผลการพฒั นาผเู ขารับการสอน ฝก ศกึ ษาดานอืน่ ๆ พจิ ารณาตามตัวบง ช้ี ดงั น้ี
ตัวบงชี้ ๒.๑ ผลการพัฒนาผูเขารับการสอน ฝก ศึกษา ดานสุขภาพ รางกาย สติปญญา

อารมณและสังคม หมายถึง ผลจากการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผูเขารับการสอน ฝก ศึกษาท่ีเกิดจากการ
จัดการเรียนรูกิจกรรมประจําวัน/กิจกรรมพัฒนาผูเขารับการสอน ฝก ศึกษา ดานสุขภาพ รางกาย สติปญญา
อารมณแ ละสงั คมตามหลกั สตู ร และตามทส่ี ถานศกึ ษากําหนด

ตวั บงช้ี ๒.๒ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค หมายถึง ผูเขารับการสอน ฝก ศกึ ษา มีคุณลักษณะอัน
พึงประสงคตามหลักสูตร หรือคะแนนความประพฤติ/คุณลักษณะทางทหาร/คุณลักษณะสวนบุคคลที่
สถานศกึ ษากําหนดในรายวชิ าท่ีเสนอขอผลงาน

๓. ปริมาณงาน หมายถึง จํานวนช่ัวโมงที่ปฏิบัติการสอน จํานวนสาขาวิชา/หมวดวิชากลุมสาระ
การเรยี นรู/รายวิชาที่รบั ผดิ ชอบและจํานวนผูเขารบั การสอน ฝก ศึกษา รับผิดชอบ

สว นท่ี ๒
วทิ ยฐานะครชู ํานาญการตน และครูชํานาญการ
รายงานการสงั เคราะหผลการแกปญหาและพัฒนาผูเขารบั การสอน ฝก ศกึ ษา (๔๐ คะแนน)

หมายถึง การรายงานการแกปญหาและพัฒนาผูเขารับการสอน ฝก ศึกษาอยางเปนระบบ ต้ังแต
การระบุปญหาท่ีมีลักษณะเหมือนกันหรือใกลเคียงกันมากกวา ๑ ปญหา และนํามากําหนดขอบเขตในการ
แกปญหาและพัฒนา จัดทํา รูปแบบ เทคนิค วิธีการแกปญหาและพัฒนา แลวนําไปใชแกปญหาและพัฒนา
สรปุ ผลทเ่ี กดิ ขึ้นจากการแกปญหาและพฒั นา พรอ มท้ังและนําเสนอวิธีการในเชงิ นโยบายวาจะนําไปใชป รับปรุง
แกปญ หา และพฒั นาผูเขารับการสอน ฝก ศึกษาในอนาคตอยางไร

พิจารณาจาก
๑. การระบปุ ญหาและการกาํ หนดขอบเขตของปญ หา
๒. รปู แบบ เทคนิค วธิ ีการแกป ญ หาและพฒั นา
๓. การนาํ รูปแบบ เทคนิค วิธกี ารแกปญหาและพฒั นา ไปใชแ กปญ หาและพัฒนา และผลทีเ่ กิดข้นึ
๔. ขอ เสนอเชิงนโยบายในการแกป ญ หาและพัฒนาในอนาคต

๑๐๔
วิทยฐานะครูชํานาญการพิเศษขนึ้ ไป
ผลงานทางวิชาการ (๔๐ คะแนน)

หมายถึง รายงานการศึกษา คนควา หรือผลการวิจัยในช้ันเรียน หรือผลงานทางวิชาการใน
ลักษณะอื่น ที่มีจุดมุงหมายในการแกปญหาดานการเรียนของผูเขารับการสอน ฝก ศึกษาและสอดคลองกับ
แผนการจัดการเรียนรู มีการศึกษาแนวคิด ทฤษฎีและองคความรูตาง ๆ เพ่ือแกไขปญหาและนําไปสูการสรุป
องคความรเู พอื่ พัฒนาผูเ ขา รบั การสอน ฝก ศกึ ษาโดยมีลกั ษณะ ดงั นี้

๑. ตรงกับสาขาวิชาท่ีขอใหม ีหรือเลอ่ื นวิทยฐานะ
๒. เปนผลงานท่ีเกี่ยวกับการพัฒนาการเรียนการสอนในสาขาวิชา/หมวดวิชา/กลุมสาระ
การเรียนรู/วิชาตาง ๆ และใชป ระโยชนในการเรียนการสอน
๓. เกิดจากการปฏบิ ตั งิ านตามหนา ทีค่ วามรบั ผิดชอบทางดานการสอน
ประเภทผลงานทางวชิ าการ
ผลงานทางวิชาการที่เสนอขอ ตองแสดงถึงความรูความสามารถ ความชํานาญและความ
เช่ียวชาญของผูขอใหมีหรือเลื่อนวิทยฐานะ แบง ตามลกั ษณะของผลงานทางวิชาการเปน ๓ ประเภท ดังนี้
๑. ผลงาน งานแตงเรียบเรียง งานแปลหนังสือ หรือบทความทางวิชาการ ซ่ึงเปนผลงานท่ีไดรับ
การเผยแพรมาแลว และผลงานดังกลาวสามารถนําไปใชใ หเ กิดประโยชนต อ การพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา
๒. ผลงานวจิ ัย ซึ่งเปน งานวิจัยท่ีไดรับการเผยแพรมาแลว และผลงานดังกลาวสามารถนําไปใชให
เกิดประโยชนต อการพัฒนาการจัดการศกึ ษาและการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
๓. ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น เชน

๓.๑ การประเมินงาน หรือการประเมินโครงการทเี่ กี่ยวกับการปฏิบัติงานในหนาท่ี
๓.๒ ส่ือ นวัตกรรมทางการศึกษา เชน ผลงานดานการจัดทําสื่อการเรียนการสอนผลงาน
ดา นการคิดพัฒนารูปแบบนวัตกรรมท่ีนํามาใชใ นการปฏิบตั ิงาน ทําใหเกิดประสิทธิภาพสูงข้ึน ซึ่งอาจจัดทาํ เปน
เอกสาร หรือส่ืออิเล็กทรอนิกส สิ่งประดิษฐตาง ๆ รวมท้ังเทคนิค วิธีการจัดการเรียนรู อันเปนประโยชน
ตอ การพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา
๓.๓ เอกสารประกอบการปฏิบัติหนาท่ี เปนเอกสารท่ีสามารถใชประกอบในการปฏิบัติหนาท่ี
ดานการเรียนการสอน ซึ่งสงผลตอการพัฒนาประสิทธิภาพการทํางานในหนาท่ีใหสูงข้ึน สําหรับแผนการ
จดั การเรียนรู/การสอน/การฝก ใหใชเปนเอกสารประกอบการประเมินดานท่ี ๒ ดานความรูความสามารถ
เทานน้ั มใิ หนาํ มาเสนอเปน ผลงานทางวชิ าการ
๓.๔ กรณีผลงานทางวชิ าการทผ่ี ูขอรบั การประเมินมิไดจัดทําแตผเู ดียวแตไดรว มจัดทาํ กับผอู ื่น
ในรูปคณะทํางานหรือกลุม ใหชี้แจงใหชัดเจนวาผูขอรับการประเมินมีสวนรวมในการจัดทําในสวนใด ตอนใด
หนาใดบาง คิดเปนรอยละเทาไรของผลงานทางวิชาการแตละเลม และใหผูรวมจัดทําทุกคนรับรองพรอมทั้ง
ระบวุ าผูร วมจัดทาํ แตละรายไดทาํ สว นใดบา ง
๓.๕ ผลงานทางวิชาการท่ีเสนอขอรับการประเมินตองไมเปนผลงานทางวิชาการท่ีใชเปนสวนหนึ่ง
ของการศึกษาเพื่อรับปริญญา หรือประกาศนียบัตรใด ๆ หรือผลงานทางวิชาการท่ีเคยใชเพ่ือเล่ือนตําแหนง
หรือเพ่ือใหมวี ิทยฐานะ หรอื เลื่อนวทิ ยฐานะมาแลว

๑๐๕
ลักษณะสําคัญของผลงานทางวชิ าการ
ประกอบดว ยดานคุณภาพและประโยชนข องผลงานทางวิชาการ ดังน้ี

๑. ดา นคุณภาพของผลงานทางวิชาการ
๑.๑ ความถูกตอ งตามหลกั วชิ าการ
ผลงานทางวิชาการตองมีความถูกตองตามหลักวิชาการและรูปแบบของผลงานประเภท

น้ันๆ เชน งานวิจัยจัดทําถูกตองตามระเบียบวิธีวิจัย รายงานการประเมินโครงการจัดทําถูกตองตามวิธีการและ
รูปแบบของการประเมินโครงการ หรือ รายงานการพัฒนานวัตกรรม จัดทําถูกตองตามวิธีการและรูปแบบของการ
พฒั นานวัตกรรม เปนตน

๑.๒ ความสมบรู ณของเนื้อหาสาระ
ผลงานทางวชิ าการตองมีเน้ือหาสาระสมบูรณ ครบถวนถูกตองตามหลักวิชาการทันสมัย

มีการคน ควา อา งองิ ถูกตอ งเชือ่ ถอื ได การเรียบเรียงถูกตอ งตามหลกั ภาษา และจดั หัวขอ เปนระบบเดียวกนั ฯลฯ
๑.๓ ความคดิ รเิ ร่ิมสรา งสรรค
ผลงานทางวิชาการตองแสดงใหเห็นถึงการคิดวิเคราะห สังเคราะห พัฒนาและการประยุกตใช

โดยไมค ดั ลอกหรือลอกเลียนผลงานทางวชิ าการของผอู นื่ โดยมชิ อบ
๑.๔ การจดั ทาํ การพิมพและรูปเลม
ผลงานทางวิชาการตองมีการจัดทําอยางประณีต การพิมพถูกตองตามหลักวิชาการ

และสวยงาม เชน การพิมพหัวขอ การยอหนา การพิมพตาราง การพิมพเชิงอรรถ บรรณานุกรม การจัดทํา
รูปเลม ถกู ตอ ง มปี กหนา ปกใน คํานํา สารบญั เนื้อหา บรรณานุกรม ภาคผนวก ปกหลงั เปน ตน

๒. ประโยชนของผลงานทางวชิ าการ
๒.๑ ประโยชนตอผูเขารับการสอน ฝก ศึกษา ครู บุคลากรทางการศึกษา การจัดการศึกษา

หนวยงานการศกึ ษา และชุมชน พิจารณาจากผลท่ีปรากฏตอผูเขารับการสอน ฝก ศึกษา ครู บคุ ลากรทางการ
ศึกษา การจัดการศกึ ษาหนว ยงานการศึกษา และชุมชนอยางมีประสิทธภิ าพและประสทิ ธผิ ล

๒.๒ ประโยชนตอความกาวหนาทางวิชาการและการเผยแพรในวงวิชาการ พิจารณาจาก
ประโยชนตอความกาวหนาทางวิชาการหรือวิชาชีพ สามารถเปนแบบอยางใชเปนแหลงอางอิง หรือเปนแบบ
ในการปฏิบัติไดเปนอยางดี มีการนําผลงานไปเผยแพรดวยวิธีการตาง ๆ เชน จัดพิมพรายงานประจําป
เอกสาร วารสาร การนาํ เสนอตอทีป่ ระชุม สัมมนา การจัดนิทรรศการ การเผยแพร ทางวทิ ยุ โทรทัศน หรอื website
เปนตน

๑๐๖

กรอบการประเมินดานท่ี ๓ ดา นผลการปฏิบตั ิงาน

ดา นที่ ๓ ดา นผลการปฏิบตั ิงาน (๑๐๐ คะแนน)

รายการ ตวั บง ชี้ เกณฑก า

สว นที่ ๑ ผลการพัฒนาคณุ ภาพผเู ขารับการสอน ฝก ศึกษา (๖๐ คะแนน)

๑. ผลสัมฤทธิ์ทาง ๑.๑ ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น คาทีเฉลย่ี ผลสัมฤทธิ์ทางการ
การเรียน กอ นเรยี นและหลงั เรียน สงู กวากอนเรียน
(๓๐ คะแนน) (๑๕ คะแนน) ระดับ ๑ ตํ่ากวา รอยละ ๑๐
ระดับ ๒ ไมนอยกวารอยละ

คะแนนกอนเรียน
ระดับ ๓ ไมนอยกวารอยละ

รอยละ ๒๐ ของค
ระดับ ๔ รอยละ ๒๐ ของค

๑.๒ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นของ ครูทหาร รอยละของผเู ขารับก
วิชาท่สี อน ทางการเรียนในวิชาทสี่ อนอยใู น
(๑๕ คะแนน) ระดับ ๑ รอยละ ๕๐ แตไ มถึง
ระดับ ๒ รอ ยละ ๕๕ แตไมถึง
ระดับ ๓ รอ ยละ ๖๐ แตไมถ ึง
ระดับ ๔ รอยละ ๖๕
ครูวชิ าการ คา ทีเฉลี่ยผลสัมฤท
สงู กวา ผูเรียนปท ่ผี านมาไมน อย

ระดับ ๑ ต่ํากวารอยละ
ระดับ ๒ รอยละ ๔ แตไ
ระดับ ๓ รอยละ ๗ แตไ
ระดับ ๔ รอยละ ๑๐

๑๐๘

ารใหคะแนน วิธกี าร / เคร่อื งมือ / แหลงขอมูล

รเรียนหลังเรียน ตรวจสอบจากเอกสาร หลกั ฐานแหลงขอมลู เชน
- แบบสรุปผลการเรียนรูตามเกณฑของหนวยงาน
๐ ของคะแนนกอนเรียน - ผลการวิเคราะหคา ทเี ฉล่ียผลสมั ฤทธทิ์ างการ
ะ ๑๐ แตไ มถ ึงรอยละ ๑๕ ของ เรยี น กอ นเรยี นและหลังเรียน
น - แบบสรุปผลการเรียนรูตามระเบียนวัดผล
ะ๑๕ แตไมถึง - ตารางวิเคราะหจ ดุ ประสงคและเนื้อหา
คะแนนกอนเรียน ของแบบทดสอบ (TOS)
คะแนนกอนเรียน - แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน
- เอกสาร หลักฐานอ่ืนท่ีเกี่ยวของ
การสอน ฝก ศกึ ษาทีม่ ีผลสมั ฤทธิ์ ตรวจสอบจากเอกสาร หลักฐาน แหลงขอมูล เชน
นระดับดขี นึ้ ไปไมน อ ยกวา - แบบสรุปผลการเรียนรูตามเกณฑของหนวยงาน
งรอยละ ๕๕ - เอกสาร หลกั ฐานอ่ืนท่ีเกี่ยวของ
งรอยละ ๖๐
งรอยละ ๖๕

ทธิท์ างการเรยี นของผูเรียนปปจจุบัน
ยกวา


ไมถึงรอยละ ๗
ไมถึงรอยละ ๑๐

๑๐๗

รายการ ตวั บง ช้ี เกณฑกา
๒. ผลการพฒั นา ๒.๒ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค ผูเขา รับการสอน ฝก ศึกษา
ประสงคตามหลักสตู รและต
ผเู ขา รับการสอน ของผเู ขารับการสอน ฝก ระดบั ดีขึ้นไปในรายวิชาทเ่ี ส
ฝก ศึกษา ศกึ ษา ระดับ ๑ ต่าํ กวา รอยละ ๗
ดานอนื่ ๆ (๒๐ คะแนน) ระดับ ๒ รอ ยละ ๗๐ ขึ้นไ
(๒๐ คะแนน) ระดับ ๓ ผรู อ ยละ ๗๕ ข้นึ
ระดับ ๔ ผรู อยละ ๘๐ ข้ึน
๓. ปริมาณงาน ปรมิ าณงาน
(๑๐ คะแนน) (๑๐ คะแนน) ระดับ ๑ มีปริมาณงาน รา
- มภี าระงานสอน
กําหนด หรือ
- จํานวนผูเขารับก
สอน ๔๐ – ๔๙

ระดับ ๒ มีปริมาณงาน รา
- มีภาระงานสอน
กําหนดและเพิม่
- ทําการสอนไมน อ
กลุม ประสบการ
- จํานวนผูเขารบั ก
สอน ๔๐ – ๔๙

๑๐๘

ารใหค ะแนน วิธกี าร / เครอื่ งมือ / แหลงขอมูล
าต่ํา มคี ุณลกั ษณะอนั พึง ตรวจสอบจากเอกสาร หลกั ฐาน แหลงขอมูล
ตามท่ีสถานศึกษากําหนดใน เชน
สนอขอผลงาน - รายงานผลการประเมินคุณลักษณะอนั พึง
๗๐
ไป แตไมถงึ รอยละ ๗๕ ประสงคตามหลักสูตร และตามที่สถานศึกษา
นไป แตไมถงึ รอยละ ๘๐ กําหนด
นไป - เอกสาร หลักฐานอ่ืนที่เก่ียวของ
ายการใดรายการหน่ึง ดังนี้
นข้ันตํ่าตามทสี่ วนราชการ ตรวจสอบจากเอกสาร หลักฐาน แหลงขอมูล
เชน
การสอน ฝก ศึกษาท่ีทาํ การ - คําสั่งของสถานศึกษาท่ีมอบหมายใหปฏบิ ัติงาน
๙ คน - ตารางสอนท่ีสถานศึกษาใหการรับรอง
ายการใดรายการหน่ึง ดงั น้ี - แผนการจัดการเรียนรู/การสอน/การฝก
นข้ันตํ่าตามทส่ี วนราชการ - เอกสาร หลักฐานอื่นท่ีเกี่ยวของ
มอีกรอยละ ๑๐ หรอื
อยกวา ๒ กลมุ สาระการเรียนรู
รณ/ สาขาวชิ า/รายวิชาหรือ
การสอน ฝก ศกึ ษาที่ทําการ
๙ คน

รายการ ตวั บงชี้ ๑๐๘

๓. ปริมาณงาน (ตอ) ปรมิ าณงาน เกณฑกา
(๑๐ คะแนน) (๑๐ คะแนน) ระดับ ๓ มีปริมาณงาน รา

- มภี าระงานสอน
กําหนดและเพิ่ม
- ทาํ การสอนไมนอ
กลมุ ประสบการ
- จาํ นวนผูเขารับก
สอน ๕๐ - ๕๙
ระดับ ๔ มปี ริมาณงาน รา
- มภี าระงานสอน
กําหนดและเพ
- ทาํ การสอนไมน
กลุมประสบกา
- จํานวนผูเขารับ
สอน ๖๐ คนข้ึน

๑๐๘

ารใหคะแนน วิธีการ / เคร่อื งมือ / แหลง ขอมูล
ายการใดรายการหน่ึง ดงั น้ี
นข้ันต่ําตามทสี่ วนราชการ
มอีกรอยละ ๒๐ หรือ
อยกวา ๓ กลุมสาระการเรยี นรู
รณ/ สาขาวชิ า/รายวชิ าหรอื
การสอน ฝก ศกึ ษาท่ีทําการ
คน
ายการใดรายการหนึ่ง ดังน้ี
นข้ันตํ่าตามท่ีสวนราชการ
พ่ิมอีกรอยละ ๓๐ หรือ
นอยกวา ๔กลมุ สาระการเรียนร/ู
ารณ/สาขาวชิ า/รายวชิ า หรือ
บการสอน ฝก ศกึ ษาที่ทําการ
นไป

๑๐๙

สว นที่ ๔

แบบเสนอขอ แบบรายงานการประเมินวิทยฐานะ(สําหรับครอู าจารย)

 แบบเสนอขอหนังสือรบั รองมาตรฐานการเปน ผูสอน
 แบบเสนอขอรบั การประเมินของขา ราชการทหารท่ีทาํ หนาทสี่ อนในการ

ขอใหม ีวิทยฐานะหรือเลอ่ื นวทิ ยฐานะ
 วฐ.ร.๑ แบบรายงานดานที่ ๑ ดา นวินยั คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และ

จรรยาบรรณ ขา ราชการทหารท่ีทําหนาทส่ี อน
 วฐ.ร.๒ (ทบ.) แบบรายงานดานที่ ๒ ดา นความรคู วามสามารถ
 วฐ.ร.๓ แบบรายงานดานที่ ๓ ดานผลการปฏบิ ัตงิ าน

๑๑๐

แบบเสนอขอหนงั สอื รบั รองมาตรฐานการเปน ผูสอน
________________________

๑. ขอมูลผขู อหนังสอื รับรองมาตรฐานการเปน ผสู อนและผชู วยสอน
ชือ่ ................................................................... นามสกุล...............................................................................
อายุ..................ป อายุราชการ..................ป..............เดอื น ปจ จบุ นั ดํารงตําแหนง ....................................
สถานศกึ ษา/หนวยงาน .................................................................................................................................
รับเงินเดือนระดบั ........................ชัน้ ....................จาํ นวน....................................บาท
คณุ วุฒทิ างการศึกษา
๑. ระดบั ตา่ํ กวาปรญิ ญาตรี สาขา ...............................................วิชาเอก ................................................
จากสถาบันการศึกษา ..........................................................................................................................
๒. ระดับปรญิ ญาตรี สาขา ..........................................................วชิ าเอก ................................................
จากสถาบนั การศกึ ษา ..........................................................................................................................
๓. ระดับปรญิ ญาโท สาขา ..........................................................วชิ าเอก ................................................
จากสถาบนั การศึกษา ..........................................................................................................................
๔. ระดบั ปริญญาเอกสาขา .........................................................วชิ าเอก ................................................
จากสถาบันการศึกษา ..........................................................................................................................
คุณวุฒทิ างการศึกษาทางทหาร
หลกั สูตร จัดโดย ระยะเวลา
......................................................... ............................................... ..............................................
......................................................... ............................................... ..............................................
......................................................... ............................................... ..............................................
......................................................... ............................................... ..............................................
......................................................... ............................................... ..............................................
......................................................... ............................................... ..............................................

๒. ประสบการณก ารสอนในสถาบันการศกึ ษาสังกดั กห.

ลําดบั ประสบการณการสอน ระยะเวลา

๑ ................................................................................................ .......................................
๒ ................................................................................................ .......................................
๓ ................................................................................................ .......................................
๔ ................................................................................................ .......................................
๕ ................................................................................................ .......................................

๑๑๑

ขอรับรองวา ขอ มลู ดังกลาวขางตน ถูกตอง และเปน ความจริง
(ลงชอ่ื ).....................................................ผูขอหนังสือรบั รอง
(.....................................................)
ตาํ แหนง.....................................................
วันที่ ...........เดอื น....................พ.ศ. ...........

การตรวจสอบและรบั รองของหัวหนาสถานศึกษา
o ไดตรวจสอบแลว รบั รองวา ขอมูลถกู ตอ ง และเปนความจริง
o เปน ผมู ีความประพฤตเิ รยี บรอ ย และไมเคยทาํ ผิดวินยั
(ลงชือ่ ).....................................................หัวหนาสถานศกึ ษา
(.....................................................)
ตําแหนง.....................................................
วนั ที่ ...........เดอื น....................พ.ศ. ...........

การตรวจสอบและรับรองของหนวยรบั ผดิ ชอบงานดา นการศกึ ษาของสวนราชการ
ไดต รวจสอบแลว
o มคี ณุ สมบตั ิตามมาตรฐานการเปน ผสู อน คอื
o มีอายไุ มตํ่ากวายีส่ ิบปบริบูรณ
o ผานการปฏิบัติการสอนในสถาบันการศึกษา สังกัด กห. เปนเวลาไมนอยกวา
หน่งึ ป
o คณุ สมบตั ิไมค รบตามทีก่ าํ หนด
(ลงชอ่ื ).....................................................ผูต รวจสอบคุณสมบัติ
(.....................................................)
ตาํ แหนง.....................................................
วนั ท่ี ...........เดือน....................พ.ศ. ...........

๑๑๒

แบบเสนอขอรบั การประเมิน
ของขา ราชการทหารท่ที ําหนาทีส่ อนในการขอใหม วี ทิ ยฐานะหรอื เลือ่ นวทิ ยฐานะ

________________________

วิทยฐานะทข่ี อ.......................................................... ครทู หาร ครูวชิ าการ
สาขาวชิ า/หมวดวชิ า/กลมุ สาระ/วชิ า.........................................................
๑. ขอมูลผขู อรบั การประเมนิ
ชื่อ...................................................................... นามสกลุ ............................................................................
อายุ..............ป อายุราชการ.............ป...............เดือน ตําแหนง ........................................................
ปจ จบุ ันมวี ทิ ยฐานะระดบั ...................................................................ระยะเวลา............ป. ...........เดอื น
สถานศกึ ษา/หนวยงาน ................................................................................................................................
รบั เงินเดือนระดับ ........................ชน้ั ....................จํานวน....................................บาท
คณุ วฒุ ิทางการศึกษา
๑. ระดับตา่ํ กวาปรญิ ญาตรี สาขา ...............................................วชิ าเอก ................................................
จากสถาบนั การศกึ ษา ..........................................................................................................................
๒. ระดบั ปรญิ ญาตรี สาขา ..........................................................วิชาเอก ................................................
จากสถาบันการศึกษา ..........................................................................................................................
๓. ระดับปรญิ ญาโท สาขา ..........................................................วชิ าเอก ................................................
จากสถาบนั การศึกษา ..........................................................................................................................
๔. ระดับปรญิ ญาเอกสาขา .........................................................วชิ าเอก ................................................
จากสถาบันการศกึ ษา ..........................................................................................................................
คุณวฒุ ทิ างการศึกษาทางทหาร
หลักสตู ร จดั โดย ระยะเวลา
......................................................... ............................................... ..............................................
......................................................... ............................................... ..............................................
......................................................... ............................................... ..............................................
......................................................... ............................................... ..............................................
๒. การรบั ราชการ
๒.๑ บรรจเุ ขา รบั ราชการเมื่อ วนั ที่.......เดอื น..............พ.ศ......... รวมระยะเวลารับราชการ...............ป..............เดือน
๒.๒ การปฏบิ ัตหิ นา ที่ครูทหาร/ครูวิชาการ กอนดํารงตําแหนงปจ จบุ ัน รวมเปน ระยะเวลา...............ป..............เดือน

ดังน้ี

ลาํ ดับ ดาํ รงตาํ แหนง ชว ยราชการ อืน่ ๆ หลักฐาน ระยะเวลา

๑๑๓

๒.๓ ปจ จบุ ันดาํ รงตําแหนงประเภทวิทยฐานะ ตําแหนง .................................เม่ือวนั ที.่ ......เดอื น.......พ.ศ.......
รวมระยะเวลา .........ป. .........เดือน

๒.๔ รวมระยะเวลาปฏิบตั ิงานตามหนาทร่ี บั ผิดชอบดา นการเรียนการสอนฯ (๒.๒ และ ๒.๓) ......ป. .....เดอื น
๓. รายงานเกย่ี วกับการปฏบิ ตั ิงานในปท ี่ขอรบั การประเมนิ (ระบรุ ายการที่ปฏิบตั ิจรงิ )

๓.๑ การปฏบิ ตั กิ ารสอน
๓.๒ จํานวนชั่วโมงที่สอน/สัปดาห หรือจํานวนชวั่ โมงท่ีสอน/ป
๓.๓ ปฏิบัตหิ นา ที่ครู/ ครูผูชว ย
๓.๔ กิจกรรมพฒั นาผเู ขารบั การสอน ฝก ศกึ ษาทร่ี บั ผิดชอบ
๓.๕ หนา ท่ที ไ่ี ดรบั มอบหมายเปน พิเศษ
๔. รายงานดา นที่ ๑ ดา นวนิ ยั คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณขา ราชการทหารทท่ี ําหนาทีส่ อน

ใหผูขอรับการประเมินรายงานโดยใชแบบรายงานดานที่ ๑ วฐ.ร.๑ จํานวน ๔ ชุด พรอมท้ังรวบรวม
เอกสารหลกั ฐานอางองิ จํานวน ๑ ชุด ไวท่สี ถานทป่ี ฏบิ ตั ิงานเพอ่ื รอรับการประเมนิ จากคณะกรรมการ
๕. รายงานดา นท่ี ๒ ดานความรู ความสามารถ

ใหผูขอรับการประเมิน รวบรวมเอกสารหลักฐานเกี่ยวกับการพัฒนางานในหนาท่ี และการพัฒนาตนเอง
ตามหลักเกณฑท่ี ยศ.เหลาทัพ/สปท. กําหนด และรวบรวมหลักฐานเอกสารเกี่ยวของ เชน แผนการจัด
การเรียนรู/การสอน/การฝก ส่ือ/นวัตกรรม แฟมสะสมผลงานวุฒิบัตร เกียรติบัตรผานการอบรม เปนตน
โดยเก็บไวท ่ีสถานทป่ี ฏิบตั ิงานเพอื่ รอรับการประเมินจากคณะกรรมการ
๖. รายงานดานที่ ๓ ผลการปฏบิ ัติงาน

ใหร ายงานผลการปฏบิ ัติงานใหชัดเจน โดยใชแ บบรายงานผลการปฏิบัติงาน วฐ.ร. ๓.๑ หรือ วฐ.ร.
๓.๒ และจัดทําเปนเอกสาร จาํ นวน ๔ ชุด พรอ มทัง้ แนบเอกสารหลกั ฐานอา งองิ เพ่ือประกอบการพิจารณา
ในแตละหวั ขอ ดังนี้
๖.๑ ผลการพฒั นาคุณภาพผูเ ขา รบั การสอน ฝก ศึกษา ไดแก ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น ผลการประเมนิ และ

หรอื การทดสอบของวิชาที่สอนในระดบั เขต/ประเทศ และผลการพฒั นาผูเรยี นดา นอนื่ ๆ
๖.๒ รายงานการสังเคราะหผลการแกไขปญหาและพฒั นาผูเ ขารับการสอน ฝก ศึกษา
๖.๓ ขอ มลู อน่ื ๆ ไดแก ปรมิ าณงาน คุณภาพงาน และสภาพของงาน ท่ีผูขอรับการประเมินปฏิบตั ิ

๑๑๔

ผูขอรับการประเมนิ
ขอรบั รองวา ขอ มลู ครบถว น ถูกตอ ง และเปนความจรงิ
(ลงช่อื ).....................................................ผขู อรับการประเมิน
(.....................................................)
ตาํ แหนง.....................................................
วันท่ี ...........เดือน....................พ.ศ. ..........

กรรมการวิทยฐานะของสถานศึกษา
ไดตรวจสอบแลว รบั รองวาขอมูลครบถว น ถกู ตอ ง และเปนความจรงิ
(ลงชอื่ ).....................................................ประธานกรรมการวทิ ยฐานะ
(.....................................................)
ตาํ แหนง.....................................................
วนั ท่ี ...........เดอื น....................พ.ศ. ...........

หัวหนา สถานศึกษา
ไดต รวจสอบแลว รบั รองวา ขอ มูลครบถว น ถกู ตอง และเปนความจรงิ
(ลงชอ่ื ).....................................................หวั หนาสถานศกึ ษา
(.....................................................)
ตําแหนง.....................................................
วนั ท่ี ...........เดอื น....................พ.ศ. ...........

หนว ยรับผดิ ชอบงานดานการศกึ ษาของสวนราชการ
ไดต รวจสอบแลว
มคี ณุ สมบตั ิครบถวนถกู ตอง
ขาดคุณสมบตั ิ (ระบุ) ................................................
(ลงชื่อ).....................................................ผตู รวจสอบคณุ สมบัติ
(.....................................................)
ตาํ แหนง .....................................................
วันที่ ...........เดือน....................พ.ศ. ...........
(ลงช่ือ)...............................................
(...............................................)
จก.ยศ.ทบ.
วันท่ี ...........เดอื น....................พ.ศ. ...........

๑๑๕

วฐ.ร.๑

แบบรายงานดานที่ ๑ ดา นวนิ ยั คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณ
ขา ราชการทหารทท่ี ําหนาท่สี อน
________________________

๑. วิทยฐานะทข่ี อรบั การประเมนิ .................................................... ครูทหาร ครวู ิชาการ
ยศ.-ชอ่ื ........................................................... นามสกุล...................................................................
ตาํ แหนง ..........................................................................................................................................
สถานศึกษา/หนวยงาน ...................................................................................................................
สงั กัด ...............................................................................................................................................
รับเงินเดือนระดับ .............................ขั้น....................................บาท

๒. ใหรายงานพฤติกรรมท่ีแสดงถึงความเปนผูมีวินัยคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณขาราชการทหาร
ท่ีทําหนาที่สอน และรวบรวมเอกสารหลักฐานอางอิงไวท่ีสถานท่ีปฏิบัติงานเพื่อรอรับการประเมินจาก
คณะกรรมการ ดงั น้ี
๒.๑ การมวี ินยั
๒.๑.๑ การมีวินัยในตนเอง ยอมรับและถือปฏิบัติตามกฎ กติกา มารยาท ขนบธรรมเนียม และแบบแผน
อนั ดีงามของสงั คม
(ใหอธิบายการมวี ินัยในตนเอง การยอมรับและถอื ปฏิบัตติ ามกฎ กตกิ า มารยาทการเสรมิ สราง
การพัฒนาดา นวินัย คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณขา ราชการทหาร ทีท่ ําหนาที่
สอน)
๒.๑.๒ การรักษาและเสริมสราง วินัย ในตําแหนงหนาที่ราชการ การปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ แบบแผน
ของทางราชการยึดมน่ั ในคณุ ธรรม จรยิ ธรรม
(ใหอธิบายพฤติกรรมที่แสดงถึงการรักษาและเสริมสรางวินัยในตําแหนงหนาที่ราชการ
การปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ แบบแผนของทางราชการ การมีสวนรวมเสริมสรางวินัย
แกผอู นื่ และผลงานเปน ที่ปรากฏเปนแบบอยา งทดี่ ี)
๒.๑.๓ การตรงตอเวลาและการอุทิศเวลาใหแกทางราชการและผูเขารับการสอน ฝก ศึกษาอยาง
ตอเนือ่ ง
(ใหอธิบายพฤติกรรมท่ีแสดงถึงการตรงตอเวลา ปฏิบัตงิ านตามที่ไดรับมอบหมายไดสําเรจ็ และ
อทุ ิศเวลาอยางตอเนือ่ ง)
๒.๑.๔ ความซ่ือสัตย สุจริตในการปฏิบัติหนาท่ี การรักษาผลประโยชนของทางราชการ และไมมี
ผลประโยชนทับซอ น
(ใหอธิบายพฤติกรรมท่ีแสดงถึงความซื่อสัตยสุจริต การรักษาผลประโยชนของทางราชการ
และไมม ผี ลประโยชนทบั ซอน การไดร บั การยกยอ ง ชมเชย)

๑๑๖

๒.๑.๕ การรกั ษาความสามคั คี มีนํ้าใจ เอ้ือเฟอเผอื่ แผ ตอเพือ่ นรว มงาน องคกร และชุมชน
(ใหอธิบายพฤติกรรมท่ีแสดงถึงการมีนํ้าใจ เสียสละ ทํางานรวมกับผูอื่นไดอยางราบร่ืน และ
ประสบความสําเรจ็ จนไดรับการยอมรับจากหนว ยงานหรอื องคก รทเ่ี กยี่ วของ)

๒.๒. การประพฤตปิ ฏิบัตติ นเปน แบบอยางท่ีดี
๒.๒.๑ ความอุตสาหะ ขยัน อดทน มุงม่ันและรับผิดชอบตอผลสัมฤทธิ์ของงาน โดยยึดหลักประหยัด
คมุ คา มีประสิทธิภาพ
(ใหอธิบายการปฏิบัติงานที่ประสบความสําเร็จเปนท่ียอมรับ มีผลงานปรากฏชัดเจนและนําไป
พัฒนาผูอื่นได)
๒.๒.๒ การยึดม่ันในคุณธรรม จรยิ ธรรม มคี วามศรทั ธาและปฏบิ ัติตนตามหลกั ศาสนา
(ใหอธิบายพฤติกรรมท่ีแสดงถึงการยึดม่ันในคุณธรรม จริยธรรม มีความศรัทธาและปฏิบัติตน
ตามหลกั นติ ิธรรม ไดรบั การยกยอง ชมเชย และมกี ารรณรงค และเสรมิ สรา งผูอ ่ืน)
๒.๒.๓ การยดึ มน่ั ในหลกั นิติธรรม ยืนหยดั กระทําในสงิ่ ท่ถี กู ตอง เปน ธรรมและชอบดว ยกฎหมาย
(ใหอธิบายพฤติกรรมที่แสดงถึงการยึดมั่นปฏิบัติหนาท่ีตามหลักนิติธรรม ไดรับการยกยอง
ชมเชย และมีการรณรงค และเสริมสรางผอู ื่น)
๒.๒.๔ การยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริยทรงเปนประมุขและวางตัว
เปนกลางทางการเมือง
(ใหอธิบายพฤติกรรมท่ีแสดงถึงการใชสิทธิและหนาท่ีตามระบอบประชาธิปไตยการมีสวนรวม
สงเสริมสนับสนุนกิจกรรมท่ีเก่ียวของกับการเลือกตั้ง การวางตัวเปนกลางทางการเมืองและการ
วางรากฐานระบอบประชาธิปไตย)
๒.๒.๕ การมีสว นรวมอนุรักษวฒั นธรรมไทยและสง่ิ แวดลอม
(ใหระบุจํานวนกิจกรรมท่ีไดจัดหรือมีสวนรวมเกี่ยวกับการอนุรักษวัฒนธรรมไทย และ
สิ่งแวดลอม)

๒.๓.การดํารงชีวิตอยางเหมาะสม
๒.๓.๑ การดํารงชีวติ ตามแนวทางหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง
(ใหอธิบายพฤติกรรม/กิจกรรม ท่ีแสดงถึงการดํารงชีวิตตามแนวทางหลักปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพยี ง)
๒.๓.๒ การละเวน อบายมุขและสง่ิ เสพติด
(ใหอธิบายพฤติกรรมที่แสดงถึงการเปนผูละเวนอบายมุขและสิ่งเสพติด และเปนผูนํารณรงค
เสริมสรางผูอืน่ อยา งตอเนอ่ื ง)
๒.๓.๓ การใชห รอื ใหขอมลู ขา วสารของสว นบคุ คลและของทางราชการใหเปนไปดว ยความถูกตอง
(ใหอธิบายพฤติกรรมที่แสดงถึงการใชหรือใหขอมูลขาวสารสวนบุคคลและสวนราชการได
ถูกตองเหมาะสม และพัฒนาผูอ ืน่ ในเรอ่ื งดงั กลาวได)
๒.๓.๔ การดํารงตนเปน แบบอยา งที่ดี เหมาะสม กบั สถานภาพและตาํ แหนง หนาที่
(ใหอธิบายพฤติกรรมที่แสดงถึงการดํารงตนเปนแบบอยางที่ดี เหมาะสมกับสถานภาพและ
ตําแหนง หนา ที่ การไดรับการยกยอ ง ชมเชย และการมสี ว นรว ม เสรมิ สรางพฒั นาผูอนื่ )
๒.๓.๕ การประหยดั มธั ยัสถ อดออม
(ใหอธิบายพฤติกรรม/กจิ กรรมท่ีแสดงถงึ การประหยัด มัธยัสถ อดออม ซึ่งมีผลตอการดํารงชวี ิต
เปนทีป่ รากฏ การไดร บั การยกยอง ชมเชย และการมสี วนรว มรณรงค เสริมสรา งผูอ่ืน)

๑๑๗

๒.๔.ความรกั และศรทั ธาในการเปนขาราชการทหารท่ีทําหนา ที่สอน
๒.๔.๑ การเปน สมาชิกทด่ี ี สนับสนนุ หรือรว มกจิ กรรมทางวิชาการอยางสรางสรรค
(ใหอธบิ ายการมพี ฤติกรรมการเปนสมาชกิ ทด่ี ขี องสถาบันการศึกษา/หนวยงาน การนาํ มาปรับใชใหเกิด
ประโยชนการไดรับการยกยอง ชมเชย และการมีสวนรวมรณรงค เสริมสรางผูอ่ืนโดยระบุช่ือ
กจิ กรรมดังกลา วดวย)
๒.๔.๒ การศกึ ษา คน ควา รเิ ร่มิ สรางสรรค ความรใู หม ๆ มาใชพัฒนางาน
(ใหอธิบายถึงการศึกษา คนควา ริเริ่ม สรางสรรค ความรูใหม ๆ นวัตกรรมในการพัฒนางาน
จนสําเรจ็ และเปนตวั อยางได)
๒.๔.๓ การมบี ทบาทเปน ผนู ําทางวชิ าการ
(ใหอธิบายถึงการมีบทบาทเปนผูนําทางวิชาการในสถาบันการศึกษาหรือหนวยงานอ่ืน
ที่เกี่ยวของ การมีสวนรว มในการพัฒนาเสรมิ สรา งผูอืน่ และมผี ลงานปรากฏ)
๒.๔.๔ การรกั ษาชื่อเสยี งปกปอ งศกั ด์ศิ รี และการยกยองเชดิ ชูเกียรติ
(ใหอธิบายพฤติกรรม/โครงการ/กิจกรรม ท่ีแสดงถึงการรักษาช่ือเสียง ปกปองศักดิ์ศรี และ
การยกยองเชิดชูเกียรติท่ีดําเนินการอยางตอเนื่องเกิดผลดีเปนที่ยอมรับ และการมีสวนรวม
รณรงค เสริมสรา งผอู ื่น)
๒.๔.๕ การเสรมิ สรา งปลูกจติ สํานึกท่ดี ี แกผ เู ขา รับการสอน ฝก ศกึ ษา ชมุ ชน สงั คม
(ใหอธิบายพฤติกรรมท่ีแสดงถึงการเปนผูนําในการเสริมสรางปลูกจิตสํานึกที่ดีแกผูเขารับการ
สอน ฝก ศึกษา ชมุ ชน สงั คม ผลงานทีป่ รากฏ และการไดรับการยกยอ ง ชมเชย)

๒.๕.ความรบั ผดิ ชอบในการเปน ขา ราชการทหารทท่ี ําหนา ทสี่ อน
๒.๕.๑ การเอาใจใส ถายทอดความรู หรือสงเสริมการแสวงหาความรู โดยไมบิดเบือน ปด บัง หวังสิ่งตอบแทน
(ใหอธิบายพฤติกรรมที่แสดงถึงการเอาใจใส ถายทอดความรูหรือสงเสริม การแสวงหาความรู
โดยไมบิดเบือน ปดบัง หวังสิ่งตอบแทน และเกิดผลดีตองานในหนาที่และไดรับการยกยอง
โดยมีผลงานปรากฏอยา งตอ เน่อื ง)
๒.๕.๒ การเอาใจใสช วยเหลอื ผเู ขา รับการสอน ฝก ศึกษาและผรู บั บรกิ ารเต็มความสามารถอยาง
สมํา่ เสมอ เทา เทียมกนั
(ใหอ ธบิ ายพฤติกรรม/โครงการ/กิจกรรมท่ีแสดงถึงการเอาใจใสช ว ยเหลอื ผูเขา รับการสอน ฝก
ศึกษาและผูรบั บริการเตม็ ความสามารถอยา งสมาํ่ เสมอ เทาเทยี มกนั โดยระบุช่ือกิจกรรม
ดงั กลาวดวย)
๒.๕.๓ การศกึ ษา คน ควา รเิ รมิ่ สรางสรรคค วามรูใหม นวตั กรรมในการพฒั นางานในหนา ท่ี
(ใหอธิบายเก่ียวกับการศึกษา คนควา ริเริ่ม สรางสรรคความรูใหม ๆ นวัตกรรมในการพัฒนางาน
ในหนาทจ่ี นสําเร็จและเปนตวั อยางได)
๒.๕.๔ การประพฤตติ นตามจรรยาบรรณขาราชการทหารท่ีทําหนาที่สอน
(ใหอธิบายการประพฤติตนตามจรรยาบรรณขาราชการทหารที่ทําหนาที่สอน การไดรับการยกยอง
ชมเชยจากสถานศึกษาหรือหนว ยงานอนื่ ทเี่ กีย่ วขอ ง)
๒.๕.๕ การมจี ติ อาสา จติ สาธารณะ และมงุ ประโยชนสว นรวม
(ใหอธิบายพฤติกรรมที่แสดงถึงการใหการชวยเหลือ หรือใหความรวมมือแกส วนรวมอยา งทุมเท
และเสยี สละจนสาํ เรจ็ เกิดประโยชนต อสว นรวมและไดร บั การยกยอ ง)

๑๑๘

ขอรับรองวาขอ มูลดงั กลาวขางตนถกู ตอง และเปน ความจริง
(ลงชือ่ ).....................................................ผูขอรับการประเมิน
(.....................................................)
ตาํ แหนง .....................................................
วันท่ี ...........เดอื น....................พ.ศ. ...........

การตรวจสอบและรับรองของหวั หนา สถานศึกษา/หนวยงานตนสงั กัด
ไดต รวจสอบแลว รับรองวา ขอมลู ถูกตอ ง และเปนความจริง
(ลงชือ่ ).....................................................หัวหนา สถานศกึ ษา/หนว ยตนสงั กดั
(.....................................................)
ตาํ แหนง.....................................................
วนั ท่ี ...........เดอื น....................พ.ศ. ...........

๑๑๙

วฐ.ร.๒ (ทบ.)

แบบรายงานดา นที่ ๒ ดา นความรูค วามสามารถ
________________________

๑. วิทยฐานะที่ขอรบั การประเมิน.................................................... ครทู หาร ครวู ิชาการ
ยศ.-ช่อื ........................................................... นามสกลุ ...................................................................
ตาํ แหนง ..........................................................................................................................................
สถานศกึ ษา/หนวยงาน ...................................................................................................................
สังกดั ...............................................................................................................................................
รบั เงนิ เดือนระดบั .............................ข้นั ....................................บาท

๒. ใหรายงานขอมูลที่แสดงถึงการเปนผูมีความสามารถในการจัดการเรียนการสอน และรวบรวมเอกสาร
หลกั ฐานอางอิงไวที่สถานทป่ี ฏิบตั ิงานเพอื่ รอรับการประเมินจากคณะกรรมการ ดงั นี้
๒.๑ สว นที่ ๑ การเปนผูมีความสามารถในการจดั การเรยี นการสอน
๒.๑.๑ ความสามารถในการจดั ทาํ หลกั สตู รอยา งเปนระบบ
(ใหเขียนอธิบายความสามารถในการจัดทําหลักสูตรอยางเปนระบบ ถูกตองตามหลักวิชาการ
ไดแก ๑)การวิเคราะหหลักสูตร ๒) การพัฒนาหลักสูตร ๓) การนําหลักสูตรไปใช ๔) การประเมินหลักสูตร
และ ๕) การปรบั ปรุงหลักสตู ร โดยสรปุ ไวด วยวา สามารถดาํ เนนิ ไดกร่ี ายการ)
๒.๑.๒ ความสามารถในการจัดทาํ แผนการจดั การเรียนรู/การสอน/การฝก ท่สี ามารถนาํ ไปสูการปฏิบตั ิ

อยา งมีคณุ ภาพ
(ใหเขียนอธิบายความสามารถในการจัดทําแผนการจดั การเรียนรู/การสอน/การฝก ท่สี ามารถ

นําไปสูการปฏิบัติ อยางมีคุณภาพ ถูกตองตามหลักวิชาการ ไดแก ๑) มีความสอดคลองกับหลักสูตร ๒) มีความ
สอดคลองกับผูเขารับการสอน ฝก ศึกษาและบริบทของชุมชน ๓) มีองคประกอบของแผนครบถวนสอดคลองกัน
และถูกตองตามหลักวิชาการ ๔) มีการออกแบบการเรียนรู/การสอน/การฝก ที่หลากหลายและถูกตอง ๕. มีการวัด
และประเมินผลสอดคลองกับจุดประสงคการเรียนรูและกระบวนการจัดการเรียนรู/การสอน/การฝก โดยใชวิธีการที่
หลากหลาย ๖) มีการบันทึกผลการจัดการเรียนรูและนําผลจากการบันทึกมาพัฒนาการจัดการเรียนรู/การสอน/การ
ฝก โดยสรปุ ไวด ว ยวาสามารถดาํ เนนิ ไดกีร่ ายการ)

๒.๑.๓ ความสามารถในการเลือก/ออกแบบการผลิต/จัดหาการนําไปใชการประเมินผลและการ
พัฒนาส่ือ/นวตั กรรมท่สี อดคลองกับกระบวนการจัดการเรียนรู/ การสอน/การฝก

(ใหเขยี นอธบิ ายความสามารถในเรอื่ งสอื่ /นวตั กรรม ไดแ ก ๑)การเลือก/ออกแบบ ๒) การผลิต/จัดหา
๓) การนําไปใช ๔) การประเมินผล และ ๕) การพฒั นาโดยสรปุ ไวดวยวา สามารถดําเนินไดกร่ี ายการ)

๒.๑.๔ ผลงานในแฟมสะสมผลงาน
(ใหอธิบายผลงานดานตางๆ และการเก็บขอมูลท่ีรวบรวมในแฟมสะสมผลงานไดแก ผลงาน

ดานผูเขารับการสอน ฝก ศึกษา ผลงานดานสถานศกึ ษา ผลงานดา นชุมชน และผลงานดานตนเอง)

๑๒๐
๒.๒. สวนที่ ๒ การพัฒนาตนเองเพ่ือเพ่ิมพูนความรูและทักษะในสาขาหรือกลุมสาระท่ีรับผิดชอบหรือ
ในงานทรี่ ับผิดชอบ

(ใหอ ธบิ ายการศกึ ษาคน ควาหาความรูดวยวธิ กี ารตาง ๆ ที่ทาํ ใหเ กิดความรแู ละทักษะเพ่มิ ข้นึ ดว ย
วิธีการตางๆ ไดแก การประชุมทางวิชาการ การอบรม การสัมมนา การอภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรูทาง
วิชาการ การศึกษาดูงาน หรือการศึกษาตอและอ่ืนๆ ที่นําไปสูการพัฒนาตนเองเพ่ือเพิ่มพูนความรูและทักษะ
ในสาขาหรือกลมุ สาระท่ีรับผดิ ชอบหรือในงานที่รับผิดชอบ พรอ มทง้ั สรุปสาระความรูท่ไี ดรบั และเสนอแนะแนว
ทางการนาํ ไปใชใ นการจัดการเรียนการสอนหรืองานท่รี บั ผดิ ชอบ)

ขอรบั รองวาขอ มูลดังกลาวขา งตน ถูกตอง และเปน ความจริง
(ลงช่อื ).....................................................ผขู อรบั การประเมิน
(.....................................................)
ตาํ แหนง.....................................................
วันที่ ...........เดอื น....................พ.ศ. ...........

การตรวจสอบและรับรองของหวั หนา สถานศกึ ษา/หนว ยงานตน สงั กดั
ไดต รวจสอบแลว รับรองวาขอ มลู ถกู ตอ ง และเปน ความจริง
(ลงชอื่ ).....................................................หัวหนาสถานศกึ ษา/หนว ยตน สังกดั
(.....................................................)
ตาํ แหนง.....................................................
วนั ท่ี ...........เดอื น....................พ.ศ. ...........

๑๒๑

แบบรายงานผลการปฏบิ ัตงิ านของขา ราชการทหารท่ีทาํ หนา ท่สี อน วฐ.ร.๓.๑
วทิ ยฐานะครชู ํานาญการตน และครูชาํ นาญการ
________________________

๑. ขอ มูลผขู อรบั การประเมนิ ครูทหาร ครูวชิ าการ
ช่ือ........................................................... นามสกุล.........................................................................................
ตําแหนง .........................................................................................................................................................
สถานศกึ ษา/หนวยงาน ..................................................................................................................................
สงั กดั ...............................................................................................................................................................
รบั เงนิ เดือนระดับ .............................ขน้ั ....................................บาท
๒. ผลการปฏบิ ัติงาน (ดา นท่ี๓)
ใหร ายงานขอมลู ตามหัวขอที่กําหนดและแนบเอกสารหลักฐานอางอิงแตล ะขอเพ่ือประกอบการพิจารณาดงั น้ี
๒.๑ ผลการพัฒนาคณุ ภาพผเู ขารับการสอน ฝก ศึกษา
๒.๑.๑ ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น
๒.๑.๑.๑ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนในสาขา/สาขาวิชา/กลุมสาระการเรียนรูท่ีเสนอขอรับ
การประเมินของปปจ จบุ นั
- ชื่อวิชาที่สอน..............................................................................
- ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน
กอ นเรียนคะแนนทีเฉลย่ี * (Average T score) ...........
หลงั เรียนคะแนนทเี ฉลี่ย* (Average T score) ..........
๒.๑.๑.๒ ครทู หาร
จํานวนผูเ ขา รบั การสอน ฝก ศึกษา หรือการรบั บรกิ ารทางวิชาการดา นอ่ืนๆ
..............นาย มีผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนในวิชาท่สี อนอยูในระดับดีขึน้ .................นาย
คดิ เปน รอ ยละ.......................
ครวู ชิ าการ
คา ทเี ฉล่ียผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนของสาขาวชิ า/กลุมสาระการเรยี นรูท่ีสอน
- ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนคะแนนทีเฉลี่ย* (Average T score)
ปทแ่ี ลว .......................................
ปปจ จุบนั .....................................
*ใหค ิดคะแนนทีเฉล่ียตามเอกสารแนบและสงประกอบการพิจารณาดว ย
๒.๑.๒ ผลการพฒั นาผูเขา รบั การสอน ฝก ศึกษาดานอืน่ ๆ
ใหร ายงานในรอบ ๒ ปทีท่ ําการสอนในวชิ าทเ่ี สนอขอรบั การประเมนิ ดังน้ี
๒.๑.๒.๑ ผูเขารับการสอน ฝก ศกึ ษาในสาขาวชิ า/กลุมสาระการเรยี นรทู ี่เสนอขอ จํานวน.....................คน
๒.๑.๒.๒ ผูเขารับการสอน ฝก ศึกษามีคุณลักษณะอันพึงประสงคตามหลักสูตร หรือคะแนน
ความประพฤติ/คุณลักษณะทางทหาร/คุณลักษณะสวนบุคคลที่สถานศึกษากําหนดในระดับดี จํานวน...........คน
คิดเปนรอ ยละ..........

๑๒๒

๒.๒ รายงานการสังเคราะหผ ลการแกปญหาและพัฒนาผเู ขารับการสอน ฝก ศึกษาตามหวั ขอ ดังน้ี
๒.๒.๑ ปญหาและขอบเขตของปญ หา
๒.๒.๒ รปู แบบเทคนคิ วธิ กี ารแกป ญ หาหรือพัฒนา
๒.๒.๓ การนาํ รปู แบบเทคนิควธิ ีการแกปญหาหรือพัฒนาไปใชในการแกปญหา และพัฒนาและผลท่ีเกิดข้ึน
๒.๒.๔ ขอเสนอเชิงนโยบายในการแกป ญ หาและพัฒนาในอนาคต

๒.๓ ปริมาณงาน (ณ วันทย่ี น่ื คําขอรบั การประเมิน)
๒.๓.๑ จํานวนช่ัวโมงทีส่ อนตอสปั ดาห................ชัว่ โมง
๒.๓.๒ จาํ นวนรายวชิ า/สาระการเรยี นรู/ประสบการณ/สาขาวิชาและระดบั ชนั้ ทส่ี อน…..
๒.๓.๓ จาํ นวนผูเขา รับการสอน ฝกศึกษาทีส่ อน....................คน
๒.๓.๔ ปฏิบตั ิงานอื่น (ถาม)ี โปรดระบุ............................................................
ขอรับรองวาขอมูลดังกลาวขา งตน ถูกตองและเปน ความจรงิ
(ลงช่ือ).....................................................ผูขอรับการประเมนิ
(.....................................................)
ตําแหนง.....................................................
วนั ท่ี ...........เดอื น....................พ.ศ. ...........
การตรวจสอบและรับรองของหวั หนาสถานศึกษา/หนวยงานตนสังกัด
ไดตรวจสอบแลว รับรองวา ขอ มูลถกู ตอ งและเปน ความจริง
(ลงช่ือ)..............................................หวั หนาสถานศกึ ษา/หนวยตนสังกดั
(.....................................................)
ตําแหนง ...................................................
วันท่ี .........เดือน....................พ.ศ. ...........

๑๒๓

แบบรายงานผลการปฏิบตั ิงานของขาราชการทหารทีท่ าํ หนาทส่ี อน วฐ.ร.๓.๒
วิทยฐานะครชู าํ นาญการพเิ ศษขน้ึ ไป
________________________

๑. ขอ มูลผขู อรับการประเมิน ครูทหาร ครวู ชิ าการ
ชื่อ........................................................... นามสกุล.........................................................................................
ตําแหนง .........................................................................................................................................................
สถานศึกษา/หนว ยงาน ..................................................................................................................................
สังกัด...............................................................................................................................................................
รับเงนิ เดอื นระดบั .............................ขนั้ ....................................บาท
๒. ผลการปฏบิ ตั ิงาน (ดานท่ี ๓)
ใหรายงานขอมูลตามหวั ขอท่ีกําหนดและแนบเอกสารหลักฐานอางอิงแตล ะขอเพ่ือประกอบการพิจารณาดังน้ี
สว นที่ ๑ ผลการพฒั นาคุณภาพผูเขา รบั การสอน ฝก ศึกษา

๒.๑ ผลการพัฒนาคณุ ภาพผูเขารับการสอน ฝก ศึกษา
๒.๑.๑ ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน
๒.๑.๑.๑ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในสาขา/สาขาวิชา/กลุมสาระการเรียนรูท่ีเสนอขอรับ

การประเมนิ ของปปจ จบุ ัน
- ชือ่ วิชาท่ีสอน..............................................................................
- ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
กอนเรยี นคะแนนทเี ฉล่ีย* (Average T score) ...........
หลงั เรียนคะแนนทเี ฉล่ยี * (Average T score) ..........

๒.๑.๑.๒ ครทู หาร
จํานวนผูเขา รบั การสอน ฝก ศกึ ษา หรือการรบั บรกิ ารทางวิชาการดานอืน่ ๆ
..............นาย มีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นในวชิ าท่สี อนอยใู นระดับดขี ึ้น.................นาย
คิดเปนรอ ยละ.......................
ครูวิชาการ
คา ทเี ฉลยี่ ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นของสาขาวิชา/กลมุ สาระการเรียนรทู ่สี อน

- ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนคะแนนทีเฉล่ยี * (Average T score)
ปท แ่ี ลว .......................................
ปป จ จุบัน .....................................
*ใหคดิ คะแนนทเี ฉล่ยี ตามเอกสารแนบและสง ประกอบการพิจารณาดว ย
๒.๑.๒ ผลการพฒั นาผเู รยี นดานอน่ื ๆ
ใหรายงานในรอบ ๒ ปที่ทาํ การสอนในวชิ าที่เสนอขอรับการประเมินดังน้ี
๒.๑.๒.๑ ผเู ขา รับการสอน ฝก ศกึ ษาในสาขาวชิ า/กลมุ สาระการเรียนรูทเี่ สนอขอ จํานวน.....................คน
๒.๑.๒.๒ ผเู ขา รบั การสอน ฝก ศึกษามีคณุ ลักษณะอันพึงประสงคต ามหลกั สูตร หรอื คะแนน
ความประพฤติ/คณุ ลักษณะทางทหาร/คณุ ลักษณะสวนบคุ คลท่ีสถานศึกษากาํ หนดในระดับดี จาํ นวน.............คน
คิดเปนรอ ยละ............

๑๒๔

๒.๒ รายงานการสังเคราะหผ ลการแกป ญหาและพัฒนาผเู ขา รับการสอน ฝก ศึกษาตามหัวขอ ดงั นี้
๒.๒.๑ ปญหาและขอบเขตของปญ หา
๒.๒.๒ รปู แบบเทคนคิ วธิ กี ารแกปญหาหรอื พฒั นา
๒.๒.๓ การนํารปู แบบเทคนิควิธีการแกป ญหาหรอื พฒั นาไปใชในการแกป ญหาและพัฒนาและผลทเี่ กดิ ขึน้
๒.๒.๔ ขอ เสนอเชงิ นโยบายในการแกปญหาและพฒั นาในอนาคต

๒.๓ ปริมาณงาน (ณ วันท่ีย่นื คําขอรบั การประเมิน)
๒.๓.๑ จาํ นวนช่วั โมงที่สอนตอ สัปดาห................ช่ัวโมง
๒.๓.๒ จํานวนรายวชิ า/สาระการเรยี นรู/ประสบการณ/สาขาวชิ าและระดบั ช้ันท่สี อน…..
๒.๓.๓ จาํ นวนผูเ ขา รับการสอน ฝก ศึกษาที่สอน....................คน
๒.๓.๔ ปฏิบัติงานอน่ื (ถา ม)ี โปรดระบุ............................................................

สว นท่ี ๒ ผลงานทางวิชาการทเี่ สนอเพื่อขอรับการประเมนิ
๒.๔ เสนอผลงานทางวิชาการ จํานวน.........................เรอ่ื งดังนี้

๑. ชอื่ ผลงาน (งานวิจยั /งานวจิ ยั และพัฒนา).................................................................................
๒. ชอื่ ผลงานทางวชิ าการอนื่ ..........................................................................................................
๓. .................................................................................................................................................
๒.๕ ลกั ษณะการจดั ทาํ
จดั ทําแตผูเ ดียว จาํ นวน.....................รายการ ไดแ ก. .........................................
จัดทาํ รว มกับผูอ น่ื ในรปู คณะทาํ งานหรอื กลมุ จํานวน....................รายการ
ไดแก. ..............................................................................................................
๒.๖ การนําผลงานทางวิชาการไปใช
(ใหอธบิ ายวาผลงานทางวิชาการทเ่ี สนอไดน ําไปใชอ ยางไรเม่ือใด)
๒.๗ การเผยแพรผ ลงานทางวิชาการ
(ใหอธบิ ายวา ไดนําผลงานทางวชิ าการทีเ่ สนอไปเผยแพรท่ีใดอยา งไรเม่ือใดโดยแนบเอกสารหลักฐาน
ประกอบการพจิ ารณาดวย)
๓. ผลงานทางวิชาการท่เี คยไดรบั อนุมัติเพ่ือกําหนดตาํ แหนงและแตง ต้งั ใหไดรบั เงินเดือนในระดับท่สี ูงขน้ึ หรอื

ใหม ีวทิ ยฐานะหรือเลื่อนเปนวิทยฐานะที่สูงขน้ึ
 มี

ช่ือผลงาน............................................................................................................
ใชใ นการขอตาํ แหนง /วทิ ยฐานะ.........................................................................
เมอื่ (พ.ศ. ) ........................................................................................................
 ไมม ี

๑๒๕

๔. งานวจิ ัยหรอื วิทยานพิ นธท ี่เคยเสนอเปน สวนหนึ่งของการศึกษาเพื่อขอรับปริญญาหรือประกาศนยี บตั รหรือ
เปนสว นหนึ่งของการฝก อบรม
 มี
ชื่อวทิ ยานพิ นธ.....................................................................................................
 ไมม ี
ขอรับรองวาขอมูลดงั กลาวขางตนถกู ตองและเปนความจรงิ
(ลงชอ่ื ).....................................................ผขู อรบั การประเมิน
(.....................................................)
ตําแหนง .....................................................
วนั ท่ี ...........เดอื น....................พ.ศ. ...........

การตรวจสอบและรับรองของหัวหนาสถานศึกษา/หนวยงานตน สังกดั
ไดต รวจสอบแลวรับรองวาขอมลู ถกู ตองและเปนความจริง
(ลงชื่อ).................................................หวั หนา สถานศึกษา/หนว ยตน สงั กดั
(.....................................................)
ตําแหนง...................................................
วันที่ .........เดอื น....................พ.ศ. ...........


Click to View FlipBook Version