The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

14.01.65 ร่างล่าสุด A5

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by auraisrib, 2022-01-16 21:24:28

14.01.65 ร่างล่าสุด A5

14.01.65 ร่างล่าสุด A5


(ปกนอก)
โครงร่างปรับปรงุ ค่มู อื การปลกู ฝงั และสรา้ งเสริมอดุ มการณ์
ทหารกองทพั บก

(ปกนอก)



(ปกใน)

จัดพิมพค์ ร้ังท่ี ...
เดือน ...... พ.ศ. ๒๕๖๕
จำนวน.......... เล่ม

ISBN 978-974-7510-25-6

ศนู ยพ์ ัฒนาหลักนิยมและยทุ ธศาสตร์ กรมยุทธศึกษาทหารบก
เลขที่ ๔๑ ถนนเทอดดำริ เขตดุสติ กรุงเทพมหำนคร ๑๐๔๐๐
โทร. ๐ ๒๒๔๑ ๔๐๓๙ , โทรสำร ๐ ๒๒๔๑ ๓๖๖๙
WWW.CDSD-ATA.NET

พิมพ์ท่ี : หจก.อรุณกำรพิมพ์
๙๙/๒ ถนนดนิ สอ แขวงบวรนเิ วศ เขตพระนคร
กรงุ เทพฯ ๑๐๒๐๐
โทร. ๐ ๒๒๘๒ ๖๐๓๓-๔ โทรสำร ๐ ๒๒๘๐ ๒๑๘๗-๘
E-mail : [email protected]
http://www.aroonprinting.com

(ปกใน)



ธงชาติไทย

ธงชำติของประเทศไทยมีลักษณะเป็นธงสี่เหล่ียมผืนผ้ำ
ควำมหมำยของแถบสีบนธงไตรรงค์ ธงชำติไทย ว่ำแดงคือ
ชำติ ขำวคือศำสนำ น้ำเงินคือพระมหำกษัตริย์ มำจำกคำ
นิยำมควำมหมำยจำกพระรำชนิพนธ์เร่ือง “เคร่ืองหมำย
ไตรรงค์” ซึ่งพระบำทสมเด็จพระมงกุฎเกล้ำเจ้ำอยู่หัวไดพ้ ระ
รำชนพิ นธไ์ วใ้ นหนังสอื ดุสิตสมิต ฉบบั พิเศษ พ.ศ. ๒๔๖๑

“ธงชำติและเพลงชำตไิ ทย
เป็นสัญลักษณข์ องควำมเป็นไทย
เรำจงรว่ มใจยืนตรงเคำรพธงชำติ
ดว้ ยควำมภำคภูมิใจในเอกรำช
และควำมเสยี สละของบรรพบรุ ุษไทย”



ธงชยั เฉลิมพล ของทหารบก

เ ป็ น ธ ง ป ร ะ จ ำ ห น่ ว ย ท ห ำ ร ท่ี ไ ด้ รั บ พ ร ะ ร ำ ช ท ำ น จ ำ ก
พระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัว ธงชัยเฉลิมพล ถือเป็นส่ิงศักด์ิสิทธ์ิ
สูงสุดของทหำร เป็นเกียรติยศของหน่วยทหำรนั้น ๆ เม่ือเวลำ
เข้ำสู่สงครำม ทหำรท้ังปวงตอ้ งพิทักษ์รักษำธงชัยเฉลิมพลของ
หนว่ ยตนไวด้ ว้ ยชีวิต ธงชัยเฉลิมพล จึงเปน็ เครื่องนำควำมองอำจ
กล้ำหำญ แหง่ หมู่ทหำรทงั้ ปวง ให้เข้ำตอ่ สู้ขำ้ ศึกศตั รใู หไ้ ดช้ ัยชนะ
กลบั มำ

ธงชัยเฉลิมพล สิ่งศักดิ์สิทธ์ิสูงสุดของทหำร เป็นเกียรติยศ
ของหน่วยทหำรนั้น ๆ เมอ่ื เวลำเข้ำสู่สงครำม ทหำรท้ังปวงตอ้ ง
พทิ กั ษร์ กั ษำธงชัยเฉลมิ พลของหน่วยตนไวด้ ้วยชีวิต ธงชยั เฉลิมพล
จงึ เป็นเคร่ืองนำควำมองอำจ กล้ำหำญแห่งหมู่ทหำรทั้งปวง ให้
เข้ำต่อสขู้ ำ้ ศกึ ศัตรูใหไ้ ดช้ ัยชนะกลับมำ
ควำมหมำยสำคัญของธงชัยเฉลิมพล มี ๓ ประกำร คือ
- ผืนธง หมำยถึง ชำติ
- บนยอดธงบรรจพุ ระพทุ ธรูป หมำยถงึ พุทธศำสนำ
- เส้นพระเจ้ำของพระบำทสมเดจ็ พระเจ้ำอยู่หวั หมำยถงึ องค์
พระมหำกษตั รยิ ์



ธงชัยเฉลิมพลประจำกองทหำร องค์พระมหำกษัตริย์จะ
โปรดเกล้ำฯ ให้สร้ำงขึ้นพระรำชทำนแก่หน่วยทหำรเป็นครำว
ครำวละหลำยธง โดยประกอบพธิ ีสำคญั ทำงศำสนำ คือ พระรำชพิธี
ตรึงหมุดธงชัยเฉลิมพล พระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัวทรง
ป ร ะ ก อ บ พิ ธี น้ี ใ น พ ร ะ อุ โ บ ส ถ วั ด พ ร ะ ศ รี รั ต น ศ ำ ส ด ำ ร ำ ม
ท่ำมกลำงพระสงฆ์ทรงสมณศักด์ิชั้นผู้ใหญ่ พระบำทสมเด็จ
พระเจ้ำอยู่หัวทรงตรึงธงแต่ละผืนติดกับด้ำมธง โดยทรงตอก
ฆ้อนเงินลงบนตะปูทองเหลือง ที่ส่วนบนของคันธงจะมีลักษณะ
เป็นป่มุ โลหะกลึงกลมสีทองภำยในกลวง ปุ่มกลมนั้นทำเป็นฝำ
เกลยี วปดิ - เปิดได้ พระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัวจะทรงบรรจุ
เส้นพระเจ้ำ พร้อมด้วยพระพุทธรูปท่ีได้เข้ำพิธีพุทธำภิเษกแล้ว
ช่ือ พระยอดธง ลงในป่มุ กลมแล้วทรงปิดฝำเกลียวขันแน่น ทรงเจิม
แป้งกระแจะจันทน์ท่ียอดธงทุกคัน พระสงฆ์สวดชัยมงคลคำถำ
ตง้ั แต่เรม่ิ พธิ จี นจบพธิ ี



คาปฏิญาณตนของทหารต่อธงชยั เฉลมิ พล

ขำ้ พเจำ้ จักยอมตำย เพือ่ อสิ รภำพและควำมสงบแหง่
ข้ำพเจำ้ ประเทศชำติ
ข้ำพเจ้ำ จกั อย่ใู นศลี ธรรมของศำสนำ
ข้ำพเจ้ำ จกั เทดิ ทูนและรกั ษำไวซ้ ่ึงพระบรมเดชำนภุ ำพ
ข้ำพเจำ้ แห่งพระมหำกษตั รยิ เ์ จำ้
จักรักษำไว้ ซึ่งกำรปกครองระบอบประชำธิปไตย
ขำ้ พเจ้ำ อันมพี ระมหำกษัตรยิ ์ ทรงเปน็ ประมุข
จักเช่ือถือผู้บังคับบัญชำและปฏิบัติตำมคำส่ัง
อย่ำงเคร่งครัด ทั้งจักปกครองผู้ใต้บังคับบัญชำ
ดว้ ยควำมยุตธิ รรม
จะไมแ่ พร่งพรำยควำมลับของทำงรำชกำรทหำร
เปน็ อนั ขำด



สญั ลักษณก์ องทพั บก

อณุ ำโลม หมำยถงึ ขนคิ้วของพระพทุ ธเจ้ำ ถือเป็นสัญลักษณ์
อย่ำงหนง่ึ ใน ๓๒ ประกำร ของมหำบุรุษ เครื่องหมำยอณุ ำโลม
จึงมคี วำมหมำยในเรอ่ื งควำมศักด์สิ ทิ ธิ์ และเมื่อประดษิ ฐำนอยู่ที่ใด
จะเปน็ เครื่องปรงุ ขวัญให้ใจมงุ่ มัน่ ไปในทำงพุทธศำสนำ

พระมหำพิชัยมงกุฎ หมำยถึง ศิรำภรณ์สำคัญของ
พระมหำกษัตริย์ เป็นสัญลักษณ์แทนพระเจ้ำแผ่นดิน ซึ่งเป็น
จอมทัพนำกำลังทหำรเข้ำต่อสู้กับอริรำชศัตรู เพ่ือป้องกันเอกรำช
ของชำตใิ ห้คงอยสู่ บื ไป

จักร หมำยถงึ พระรำชวงศ์
ชอ่ ชัยพฤกษ์ หมำยถงึ ชยั ชนะ และควำมรงุ่ เรือง
รัศมี หมำยถึง ประดบั ไว้เพ่ือควำมสวยงำมดำ้ นศิลปะ เปน็ กำร
จัดภำพให้กลมกลืน รับกบั ช่อชัยพฤกษ์



กองทัพบก
ROYAL THAI ARMY
เพือ่ ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ และ

ประชาชน
FOR COUNTRY, RELIGIONS,
MONARCHY AND PEOPLE



พระบรมราโชวาท
พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกล้าเจา้ อยู่หวั

ศกั ดศ์ิ รีของทหาร
--------------------------------------------------
๑. ทหาร คือ ผู้ท่ไี ดร้ ับเกยี รตอิ ยำ่ งสูงจำกประชำชนทง้ั ชำติ ให้
เปน็ สภุ ำพบรุ ษุ ถอื อำวธุ ปกปอ้ งประเทศ
๒. ทหาร เปน็ ผเู้ สยี สละประโยชนส์ ่วนตัว เพอ่ื ควำมผำสกุ ของ
ประชำชนและควำมอย่รู อดของชำติ
๓. ทหาร คอื ผู้ทรี่ กั และบชู ำเกยี รติยศมำกกว่ำเงิน

๑๐

พระบรมราโชวาท
พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธิเบศ มหาภูมพิ ลอดุลยเดช

มหาราช บรมนาถบพติ ร
ในพธิ พี ระราชทานกระบแี่ ละปรญิ ญาบัตรแกน่ กั เรยี นนายรอ้ ย ซ่งึ

สาเร็จการศึกษาชัน้ สงู สดุ
วนั ท่ี ๒๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๐๖

----------------------------------------------------------
“อำชพี ทำงทหำร ถอื วำ่ เป็นอำชพี ท่ตี อ้ งเสยี สละ และกำรที่
ท่ำนสมัครเข้ำรับรำชกำรเป็นทหำรนั้น ย่อมหมำยควำมว่ำ
ท่ำนพร้อมแล้วท่ีจะเสียสละทุกสิ่งทุกอย่ำงเพ่ือส่วนรวม
กำรบำเพ็ญตนเก่ียวกับกำรเสียสละซ่ึงจะให้บังเกิดผลดีอย่ำง
แท้จริง จะต้องอำศัยควำมซ่ือสัตย์สุจริต ควำมสำมัคคี
ควำมเคำรพเชื่อฟังผู้บังคับบัญชำ และควำมมีเมตตำกรุณำต่อ
ผูน้ ้อยเป็นหลกั ปฏบิ ตั ิหนำ้ ท่ี”

๑๑

พระราชดารัส พระบาทสมเดจ็ พระวชริ เกล้าเจ้าอยหู่ วั
ในพิธีสวนสนามถวายสตั ย์ปฏิญาณของทหาร – ตารวจ เนอื่ งในพระ

ราชพธิ ีบรมราชาภเิ ษก พทุ ธศักราช ๒๕๖๒
วนั ท่ี ๑๘ มกราคม ๒๕๖๓

-----------------------------------------------------------
“ ข้ำพเจ้ำและพระรำชินีมีควำมชื่นชมยิ่งนัก ท่ีได้มำอยู่ใน
ท่ำมกลำงเหล่ำทหำรและตำรวจในพิธีสวนสนำมถวำยสัตย์
ปฏิญำณครั้งนี้ ขอขอบใจในคำอวยพรและไมตรีจิตของทุก ๆ คน
และขอสนองพรกลับท้ังน้ำใจไมตรีนั้น ด้วยใจจริงเช่นกัน
ประเทศชำติจะเปน็ ปึกแผ่นมั่นคงได้ ก็ด้วยคนไทยทุกหมู่เหล่ำ
พร้อมเพรียงกันปฏิบัติหน้ำท่ีของตน โดยมีอุดมคติ และ
จุดมุ่งหมำยอย่ำงเดียวกัน คือประโยชน์สุขของทุกคนในชำติ
ข้ำพเจ้ำจึงยินดีมำกที่ได้เห็นควำมพร้อมเพรียงของทหำรและ
ตำรวจในวันนี้ ทั้งได้ฟังคำปฏิญำณแสดงควำมจงรักภักดีและ
เจตนำอันแน่วแน่ที่จะปฏิบัติหน้ำท่ี เพ่ือประเทศชำติและ
ประชำชน ขอให้ทหำรและตำรวจทุกคนรักษำคำปฏญิ ำณท่ีได้
ให้ไว้อย่ำงเคร่งครัด และต้ังใจปฏิบัติหน้ำที่ด้วยควำมเที่ยงตรง
เข้มแข็ง เสียสละ พร้อมทั้งหมั่นศึกษำและฝึกฝนตนเอง ให้มี

๑๒

ควำมจัดเจนคล่องแคล่วในหน้ำท่ี และในกำรปฏิบัติงำน
ร่วมกับผู้อ่ืนฝ่ำยอ่ืนอยู่เสมอ ทุกคนทุกฝ่ำยจะได้สำมำรถ
ร่วมมือรว่ มใจกัน สร้ำงสรรค์ควำมวฒั นำผำสุกให้แก่ประชำชน
และประเทศชำติได้ตำมอดุ มคติทต่ี ้งั มั่นไว้ตลอดไป

ขออำนุภำพแห่งคุณพระศรีรัตนตรัย และส่ิงศักดิ์สิทธ์ิ
กับทั้งอำนำจแห่งควำมภักดีโดยบริสุทธิ์ใจต่อชำติบ้ำนเมือง
จงดลบันดำลให้ท่ำนทั้งหลำย ประสบแต่ควำมสุข ควำมเจริญ
และควำมสวสั ดีมีชยั โดยทวั่ กนั ”

๑๓

คานยิ มของผบู้ ัญชาการทหารบก
(รอข้อมลู )

๑๔

คานยิ มของเจา้ กรมยทุ ธศึกษาทหารบก
(รอข้อมลู )

๑๕

คานา

หนงั สอื คูม่ อื อดุ มกำรณ์ทหำรกองทัพบก จัดทำโดยศูนย์พัฒนำ
หลักนิยมและยุทธศำสตร์ กรมยุทธศึกษำทหำรบก (ศพย.ยศ.ทบ.)
เป็นกำรปฏิบัติตำมนโยบำยของกองทัพบก มีควำมมุ่งหมำย
เพ่ือยกระดับมำตรฐำนอุดมกำรณ์ทหำรในกองทัพบกให้มีควำม
เข้มแข็งและเป็นมำตรฐำนมำกย่ิงข้ึน โดยได้ดำเนินกำรปรับปรุง
ให้เหมำะสมกับยุคปัจจุบนั และให้มีควำมง่ำย สำมำรถนำสู่กำร
ปฏิบัติได้อยำ่ งเปน็ รปู ธรรม เพ่อื ใหห้ น่วยต่ำง ๆ ได้นำไปใช้เปน็
แนวทำงในกำรดำเนินงำน โดยกำรดำเนินงำนตำมนโยบำย
ดังกล่ำวนั้น จำเป็นต้องได้รับควำมร่วมมือจำกผู้ท่ีเกี่ยวข้องทุก
ระดับ ตั้งแต่ผู้บังคับบัญชำลงไปจนถึงกำลังพลทหำรในหน่วยทุก
คน ที่จะร่วมกันมุ่งมั่นพัฒนำตนเองและหน่วยให้มีอุดมกำรณ์
อนั กล้ำแกร่ง ท้ังในบทบำททหำรอำชพี ของกองทัพบกและใน
ฐำนะพลเมืองดีของประเทศชำติ ด้วยกำรดำรงตนให้มีค่ำนิยม
และมำตรฐำนที่ดี อันจะนำมำซ่ึงศรัทธำจำกประชำชน เป็นท่ี
ยอมรับจำกสังคมและนำนำอำรยประเทศท่ัวไป

กรมยุทธศึกษำทหำรบก

๑๖

สารบัญ

เรือ่ ง
บทที่ ๑ บทนา………………………………………………………………………..
บทท่ี ๒ ค่านิยมและมาตรฐานของกองทัพบก...................................
บทที่ ๓ ศลิ ปะในการปกครองบงั คบั บญั ชา………………………………….
บทท่ี ๔ กระบวนการปลูกฝงั และอดุ มการณท์ หารของกองทพั บก…..
บทท่ี ๕ แนวทางการปลกู ฝังอดุ มการณ์ทหารของกองทพั บก.............
ภาคผนวก

ก กษตั ริย์และราชวงศ์ผู้กอบกู้เอกราช (พระศรีสรุ ิโยทยั , สมเดจ็ พระ
นเรศวรฯ, สมเด็จพระเจำ้ ตำกสิน)

ข การเสยี ดินแดน ๑๔ ครงั้ ของไทย
ค พระราชกรณียกิจ พระมหากษัตรยิ ์ ๑๐รชั กาล
ง วีรกรรมทหารกล้า (สงครำมอินโดจีน, กำรต่อสู้เอำชนะภัย
คอมมิวนิสต์ - เขำค้อ, ๓ จังหวัดชำยแดนภำคใต้, สงครำมร่มเกล้ำ,
เขำพระวิหำร)
จ บทบาท และอดุ มการณ์ ของ ทหารอาชีพ (พล.ท.บญุ เย่ียม สา
ริมาน)
ฉ เพลงปลกุ ใจ
ช คาขวัญ
ซ ทฤษฎีเศรษฐกิจพอเพียง, หลักการทรงงาน ๒๗ ประการ,
โครงการจติ อาสา, โคก หนอง นา โมเดล
ด แหลง่ ขอ้ มูลเพิ่มเตมิ
คณะผูจ้ ัดทา (รอดาเนนิ การตามท่ีจะมีการปรบั ปรุง)
บรรณานกุ รม

๑๗

บทที่ ๑
บทนา
๑. อดุ มการณ์
อุดมการณ์ เป็นควำมเชื่อควำมศรัทธำของกลุ่มชนในสังคม
เป็นส่ิงท่ีสำมำรถสร้ำงได้ เปล่ียนแปลงได้ ปลูกฝังได้ เป็นสิ่งท่ี
ก่อให้เกิดพลังในจิตใจ ทำให้มีควำมหนักแน่น อดทนในกำรต่อสู้
กับอปุ สรรค คนในชำตทิ ่ียึดมั่นอดุ มกำรณ์เดียวกันจะก่อให้เกิด
เป็นปจั จัยพลังอำนำจของชำติ
สานักงานราชบัณฑิตยสถาน ได้ให้ควำมหมำยคำว่ำ
“อุดมการณ์” หมายถึง “หลักการที่วางไว้เป็นแนวปฏิบัติ
เพ่ือให้บรรลุเป้าหมายที่กาหนดไว้” ซึ่งกำหนดเป็นหลักกำร
กว้ำง ๆ เนื่องจำกอุดมกำรณ์มีหลำยรูปแบบ ดังน้ัน เรำจึงมี
ควำมจำเป็นที่จะต้องทำควำมเข้ำใจเก่ียวกับอุดมกำรณ์ท่ี
เกี่ยวข้องโดยตรง เพื่อจะได้นำไปสู่กำรปฏิบัติตำมมำตรฐำน
กองทัพบกไดก้ ำหนดไว้
๑.๑ อดุ มการณช์ าตไิ ทย
สำนักงำนเสริมสร้ำงเอกลักษณ์ของชำติ ได้ให้ควำมหมำย
ของคำว่ำ “ อุดมกำรณ์ของชำติไทย” คือ “กำรพิทักษ์ชำติ
ปกป้องเอกรำชอธิปไตย คุ้มครองศำสนำ เทิดทูนรักษำดำรงม่ัน
คงไว้ซึ่งพระมหำกษัตริย์ ขจัดควำมเหล่ือมล้ำทำงเศรษฐกิจ
สังคม บำบัดทุกข์ บำรุงสุข ประสำนประโยชน์ทุกถ้วนหน้ำ
รกั ษำสทิ ธิเสรภี ำพ สร้ำงควำมสำมคั คี และมีคณุ ธรรม ธำรงไว้ซึง่
เอกลักษณ์และส่งเสริมวัฒนธรรมอนั ดงี ำมของไทย” เป็นหลักกำร

๑๘

เปน็ แนวทำงให้ ที่ทุกคนในชำติและสถำบันตำ่ ง ๆ ในสังคมจะต้อง
ปฏิบตั ิให้บรรลุถึงรว่ มกัน

กำลังพลของกองทัพบกในสถำนะของ “พลเมืองของ
ประเทศชำต”ิ จะต้องยึดถือปฏบิ ัติรว่ มกันกับประชำชน บุคคล
ท่ัวไปในสังคม

๑.๒ อุดมการณ์ทหารกองทัพบก
อุดมการณท์ หารกองทัพบก หมำยถึง “กำรเปน็ ทหำรท่ีดี

ที่สุด ในกำรอุทิศตนเพื่อ ชำติ ศำสนำ พระมหำกษัตริย์และ
ประชำชนด้วยกำรแสดงออกถึงควำมจงรักภักดี มีควำมยึดม่ันใน
เกียรติยศและศักด์ิศรีของทหำร มีควำมรับผิดชอบต่อหน้ำท่ี
และเสยี สละ”

มาตรฐานที่กองทัพบกกาหนดไว้เพื่อให้กาลังพลได้ยึดถือ
ปฏิบัติ โดยได้กาหนดเป็นนโยบายท่ีเน้นให้ปฏิบัติ เกี่ยวกับ
อุดมกำรณ์ทหำรกองทพั บกไวม้ ี ๑๐ ดำ้ นหลัก คือ

๑) ด้ำนควำมจงรักภักดีต่อสถำบันชำติ ศำสนำ และ
พระมหำกษตั รยิ ์

๒) ด้ำนค่ำนิยมและมำตรฐำนทหำรอำชพี ของหนว่ ย
๓) ดำ้ นควำมตะหนักถงึ สังคมทหำร และประชำชน
๔) ด้ำนกำรพัฒนำกำลังพลของหน่วยสู่กำรเป็นทหำร
อำชพี
๕) ด้ำนควำมเสียสละและอุทิศตนต่องำนที่ได้รับ
มอบหมำย
๖) ดำ้ นกำรยึดมัน่ ในผลประโยชน์สว่ นรวม

๑๙

๗) ด้ำนควำมกล้ำหำญ ท้ังจำกกำรกระทำทำงกำย
และทำงใจ

๘) ด้ำนกำรยึดมัน่ ในเกยี รตยิ ศ และศักดศ์ิ รีของทหำร
๙) ด้ำนควำมจงรักภักดีต่อผู้บังคับบัญชำ และกำร
สร้ำงควำมเช่ือมั่น และศรัทธำของผู้บังคับบัญชำท่ีมีต่อ
ผูใ้ ตบ้ งั คับบัญชำ โดยเฉพำะทหำรกองประจำกำร
๑๐) ด้ำนค่ำนิยมของคนไทย ๑๒ ประกำร
๑.๓ อุดมการณก์ าลงั พลกองทัพบก
“กาลังพลกองทัพบก” หมำยถึง นำยทหำรสัญญำ
บตั ร, นำยทหำรประทวน, พลทหำรประจำกำร, พลทหำรกอง
ประจำกำร, ขำรำชกำรกลำโหมพลเรอื น, ลูกจ้ำงรวมท้ังกำลังพล
ประเภทอ่ืน ซึ่งสังกัดอยูในสวนรำชกำรของกองทัพบกที่เป็น
รำยบคุ คลน้ัน จะต้องยึดถือปฏบิ ัติทั้ง “อุดมการณ์ของชาติไทย”
ในบทบำทของพลเมืองดีและยึดถือ “อุดมการณ์ของกองทัพบก”
ในบทบำทของทหำรอำชีพตำมมำตรฐำนของกองทัพบก
กำหนดไว้
ดงั นัน้ “อุดมการณ์กาลังพลกองทพั บก” จงึ หมายความ
ถึง “การเปนกาลังพลท่ีดีท่ีสุด โดยมีความจงรักภักดีมีความ
ยึดมั่นในเกียรติยศและศักดิ์ศรีของทหาร มีความมรับผิดชอบ
ตอหนาที่และมคี วามเสียสละ”

๒๐

๒. แนวความคิดการดาเนินการปลูกฝังและสร้างเสริม
อดุ มการณ์ทหารของกองทพั บก

แนวทำงกำรปลูกฝังอุดมกำรณ์และสร้ำงเสริมอุดมกำรณ์
กองทัพบกได้กำหนดแนวทำงกำรปฏิบัติไว้เพ่ือเป็นกำรสร้ำง
แ ล ะ พ ัฒ น ำ ก ำ ล ัง พ ล ท ุก ร ะ ด ับ น ำ ไ ป สู ่ต ำ ม มำตรฐำน ของ
กองทัพบกกำหนดไวท้ ั้ง ๒ บทบำทหลักในสถำนะของควำมเป็น
ทหำรอำชพี และควำมเปน็ พลเมอื งทด่ี ขี องประเทศชำติ กล่ำวคือ

๒.๑ บทบาทของความเปน็ ทหารอาชพี
คุณลักษณะของ " ทหำรอำชีพ" น้ัน ได้มีพื้นฐำนที่ถูก

กำหนดจำกฎหมำย ต้ังแต่กฎหมำยสูงสุดคือรัฐธรรมนูญลงไป
จนถึง กฏกระทรวง ข้อบังคับ คำสั่ง และ ระเบียบ กฎเกณฑ์
ขนบธรรมเนยี ม จำรีตประเพณี ทสี่ บื ทอดกันมำนำน รวมถึงส่ิง
ท่ีทหำรต้องยึดถือปฏิบัติ นอกจำกนั้นยังมีคำปฏิญำณ ที่เหล่ำ
ทหำรได้ให้สัจจะวำจำไว้ แสดงถึงควำมผูกพันท้ังทำงกำยและ
จิตวิญญำณ จึงเป็นแนวทำงของจริยธรรมท่ีจะต้องยึดม่ัน ซ่ึง
เป็นเรื่องที่มีมำตรฐำนควำมดีในระดับท่ีสูงย่ิงกว่ำหน้ำท่ีควำม
เปน็ พลเมืองดขี องสงั คมทวั่ ไป

ดังนั้น กลุ่มอำชีพใดที่ปรำรถนำจะดำรงควำมเชื่อถือ
ศรทั ธำจำกชุมชน ก็จะบญั ญัติประมวลจรรยำบรรณหรืออบรม
สง่ั สอนกนั เพ่อื รักษำมำตรฐำนแห่งวชิ ำชีพไว้

๒.๒ บทบาทของความเป็นพลเมืองดี
“พลเมืองดี” หมำยถึง ประชำชน หรือรำษฎร หรือ

พสกนิกร ที่ประพฤติตนให้เป็นไปตำมระเบียบ กฎเกณฑ์

๒๑

กฎหมำย และข้อบังคับต่ำงๆ ของสังคม โดยบุคคลดังกล่ำว
จะตอ้ งมีหน้ำที่และมคี วำมรับผดิ ชอบ ปฏบิ ัติตนใหเ้ กดิ ประโยชน์
แก่สังคม ประเทศชำติ ศำสนำ และพระมหำกษัตรยิ ์

รัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๖๐
ได้กำหนด “หน้ำที่ของปวงชนชำวไทย” ไว้ด้วยกำรกำหนดให้
พลเมืองทุกคนจะต้องรักษำและปฏิบัติตำมด้วยกำรรักษำชำติ,
รักษำศำสนำและรักษำพระมหำกษัตริย์รวมทั้งกำรปกครอง
ระบอบประชำธิปไตยอันมีพระมหำกษัตริย์ทรงเป็นประมุขให้
คงไว้ตลอดไป

กำลังพลทหำรกองทัพบก ยังคงมีสถำนะของควำม
เป็น “พลเมือง” ของชำติ ดังนั้น กำรปลูกฝังกำลังพลให้เป็น
พลเมืองท่ีดีของประเทศชำติจึงเป็นเรื่องท่ีจำเป็นและสำคัญ
อย่ำงย่ิง โดยกองทพั บกไดก้ ำหนดให้กำลังพลได้ยึดถือปฏิบัติตน
ตำม “ค่ำนิยมหลัก ๑๒ ประกำร” ซึ่งเป็นท้ังส่วนหนึ่งของ
“อดุ มกำรณข์ องกองทัพบก” และ “อุดมกำรณ์ของชำติไทย” ท่ี
ทหำรต้องยึดถือปฏิบตั ิร่วมกันกับประชำชนเพ่อื นำไปสู่กำรเป็น
พลเมอื งที่ดขี องชำติ

๓. บทสรปุ
กำลังพลกองทัพบกจะต้องมีควำมรู้ มีควำมเข้ำใจใน

ควำมหมำยของคำวำ่ “อดุ มกำรณ์” ในภำพรวม รวมท้ังนิยำมอื่น ๆ
ที่เก่ียวข้องกับกำรนำไปสู่ “กำรปลูกฝังและสร้ำงเสริมมอุดมกำรณ์
ทหำรกองทัพบก” เป็นควำมรู้พ้ืนฐำนในเบ้ืองต้นเสียก่อน

๒๒

เนื่องจำกกำลังพลของกองทัพบกรำยบุคคลนั้น จะต้องยึดถือ
ปฏิบัติ ตำมมำตรฐำนที่กองทัพบกต้องกำร ในบทบำทของ
ทหำรที่ตนเองมีทั้ง ๒ สถำนะ กล่ำวคือ ต้องยึดถือ “อุดมกำรณ์
ของชำติไทย” ในฐำนะของ “พลเมืองดีของชำติ” และต้องยึดถือ
“อุดมกำรณ์ของกองทัพบก” ในฐำนะของ “ทหำรอำชพี ”

๒๓

บทที่ ๒
ค่านยิ มและมาตรฐานของกองทพั บก

วสิ ัยทัศน์กองทัพบก ๒๐ ปี (พ.ศ.๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) “เป็น
กองทพั บกที่มศี ักยภาพ ทันสมัย เปน็ ที่เชื่อมั่นของประชาชน
และเป็นหนึ่งในกองทัพบกชั้นนาของภูมิภาค” (Capable,
Modern, Reliable and One of The Leading Armies
in The Region)
๑. ค่านยิ มหลกั (Core Value) ตามวิสยั ทศั นข์ องกองทพั บก

วิสัยทัศน์กองทัพบก เปน็ เป้ำหมำยท่ีกองทัพบกได้กำหนดไว้
เพือ่ ตอบสนองตอ่ ยุทธศำสตร์ชำติ ๒๐ ปี (พ.ศ.๒๕๖๑ - ๒๕๘๐)
โดยได้เน้นในเร่ืองกำรพัฒนำด้ำนกำลังพลให้มีขีดควำมสำมำรถ
ทัดเทียมกับกองทัพอำรยประเทศ มุ่งเน้นกำรเสริมสร้ำงควำมเป็น
ทหารอาชีพ (Professional Military) และค่ำนิยมหลัก
(Core Value) ให้นำไปสู่กำรมีอุดมกำรณ์ทำงทหำรอนั สูงสุดที่
สำมำรถอุทิศตน “เพ่ือชำติ ศำสน์ กษัตริย์ และประชำชน”
(For Country, Religions, Monarchy and People) ด้วย
กำรพัฒนำขีดควำมสำมำรถของกำลังพลให้เป็นทหำรอำชีพ
ตำมแนวทำง “S.M.A.R.T. SOLDIERS STRONG ARMY”
เพ่ือนำพำองค์กรไปสู่เป้ำหมำยตำมวิสัยทัศน์ของกองทัพบก
กำหนดไว้ ดงั น้ี

๒๔

S (Strength) : แขง็ แกรง่ ทัง้ ร่ำงกำยและจติ ใจ
M (Mission first) : ภำรกิจเหนือส่งิ อืน่ ใด
A (Agility) : เฉยี บขำด ฉลำด คล่องแคลว่
R (Readiness) : พรอ้ มทกุ สถำนกำรณ์
T (Teamwork) : รวมพลงั เป็นหน่งึ เดียว
เมือ่ กำลงั พลของกองทพั บกยดึ ถอื และปฏิบตั ิตำมแนวทำงน้ี
แล้วจะก่อให้เกิดเป็นทหำรอำชีพที่ “แข็งแกร่งทั้งกายใจ ยึด
ภารกิจเหนือสิ่งอ่ืนใด เฉียบ ฉลาด คล่องแคล่ว พร้อมทุก
สถานการณ์ รวมพลังเปน็ หนึง่ เดยี ว นาพากองทัพเข้มแขง็ ”

๒. คา่ นิยมกองทัพบก
ค่ำนิยมของกองทัพบกท่ีเป็นพ้ืนฐำนเดิมนั้น จะมีแนวทำง

ปฏิบัติท่ีมึควำมสอดคล้อง คล้ำยคลึงกัน หลำยประกำรด้วยกัน
กับหลักกำรที่กำลังพลกองทัพบกจะต้องประพฤติที่ยึดถือตำม
มำตรฐำนของควำมดีในระดับสูงทั้งคุณลักษณะผู้นำทำงทหำร,
คุณลักษณะของทหำรอำชพี และอดุ มกำรณท์ ำงทหำร เปน็ ตน้

๒.๑ กองทัพบกได้กาหนดค่านิยมไว้ ๗ ประการ
(LDRSHIP) ดงั นี้

๑) ความจงรักภักดี (Loyalty) เป็นกำรยึดม่ันแสดงออก
ถึงควำมจงรักภักดีต่อชำติ ศำสนำ พระมหำกษัตริย์รวมถึง
พฤติกรรมกำรปฏิบัติกับเพ่ือนร่วมงำนในทุกระดับชั้นด้วยกำร
ใหค้ วำมเช่อื ถอื และจริงใจ

๒๕

๒) หน้าท่ี (Duty) กำรกระทำหน้ำที่ของตนต้องเปน็ สิ่ง
ท่ถี ูกต้องตำมกฎหมำยและหลักจริยธรรมเสมอ

๓) ความเคารพ (Respect) ผู้นำทหำรปฏิบัติต่อผู้อ่ืน
ด้วยกำรให้เกียรติและควำมเคำรพ แม้กับผู้ใต้บังคับบัญชำก็ต้อง
ปฏิบัติตอ่ พวกเขำด้วยควำมจริงใจ

๔) การปฏิบัติหน้าท่ีโดยไม่เห็นแก่ตนเอง (Selfless
Service) ผู้นำทหำรต้องคำนึงถึงประโยชน์ของชำติ กองทัพ
และผู้ใต้บังคับบัญชำก่อนประโยชน์ของตน ช่วยเหลือ
ประชำชนยำมวกิ ฤติ ยึดมนั่ ค่ำนยิ มกำรทำงำนเพ่ือสังคม

๕) เกียรติยศ (Honor) ผู้นำทหำรเป็นบุคคลมี
เกียรติยศ ศักด์ิศรี ทั้งคำพูดและกำรกระทำกำรใด ๆ มีควำม
สอดคลอ้ งกับอุดมคติท่ดี ี กระทำทำตนเป็นแบบอยำ่ งแก่คนอน่ื ๆ

๖) ความซ่ือสัตย์สุจริต (Integrity) ผู้นำทหำรต้องมี
มำตรฐำนศีลธรรมท่ีสูง ยึดกำรปฏิบัติที่สอดคล้องกับหลักกำรที่
ชัดเจน ตรงไปตรงมำ แก้ไขข้อบกพร่องที่ผิดพลำดของตน
เสมอ ค่ำนิยมส่วนบุคคลของตนต้องไม่ขัดแย้งกับค่ำนิยมของ
กองทพั

๗) ความกล้าหาญ (Personal Courage) เปน็ ควำม
กล้ำหำญทัง้ ทำงกำยและใจ ควำมไมเ่ กรงกลวั ในกำรเผชิญหน้ำตอ่
ภยันตรำยต่ำง ๆ ในกำรปฏิบัติหน้ำท่ีท่ีเสี่ยงต่อชีวิตรวมทั้งมี
ควำมมุ่งม่ันต้ังใจ ยืนหยัดต่อหลักกำรกล้ำท่ีจะแสดงควำม
รบั ผดิ ชอบ

๒๖

ค่ำนิยมดังท่ีได้กล่ำวมำแล้วดังข้ำงต้นนั้น จะเป็นปัจจัย
ในกำรเกื้อหนุนต่อคุณธรรมของกำลังพลกองทัพบก ซ่ึงยังส่งผล
โดยตรงต่อควำมสำเรจ็ ในกำรปฏิบัติภำรกจิ ไดอ้ ย่ำงมีประสทิ ธิภำพ

๓. มาตรฐานกองทัพบก
“มาตรฐานของกองทัพบก” ถูกกำหนดข้ึนมำเพ่ือ “เป็น

หลักประกันต่อควำมประพฤติของทหำรทุกคนว่ำได้ปฏิบัติตนอยู่
ภำยใต้กฎหมำยอย่ำงเหมำะสม ทั้งตำมบทบำทของควำมเป็นของ
ทหำรอำชีพและควำมเป็นพลเมืองท่ีดีของประเทศชำติที่จะต้อง
เคำรพกฎหมำยและมีควำมประพฤตทิ ่ีดี โดยมำตรฐำนของทหำรนน้ั
จะถูกกำหนดใหม้ ีมำตรฐำนทส่ี งู กวำ่ มำตรฐำนของสังคมท่วั ไป

๓.๑ การเคารพกฎหมาย
กฏหมำยกำหนดไว้ว่ำ "บุคคลซ่ึงเปนทหำรยอมมีสิทธิ

และเสรีภำพตำมรัฐธรรมนูญ เชนเดียวกับประชำชนพลเมือง เว
นแตที่ไดจำกัดไวในเรื่องวำดวย วินัย " ซ่ึงทหำรน้ันแมจะมีสิทธิ
และเสรีภำพโดยสมบูรณในฐำนะประชำชนแตตองอยูในกรอบ
ของวินัยทหำรอยำงหลีกเลี่ยงไมได กล่ำวคือ ทหำรนั้นยังคงมี
สถำนะของควำมเป็นพลเมืองของประเทศที่จะต้องปฏิบัติตำม
กฎหมำยเช่นเดียวกันกับประชำชนท่ัวไป อีกท้ังยังต้องมี
มำตรฐำนกำรรักษำกฏหมำยท่ีสูงกว่ำประชำชนทั่วไปอีกด้วย ที่
แม้ไม่ผิดกฏหมำยแต่ในทำงทหำรก็ถือว่ำเป็นควำมผิด เช่น
ในเร่ืองของกำรรักษำจรรยำบรรณวิชำชีพ วนิ ยั ขอ้ บังคับ เป็นตน้

๒๗

๓.๒ ความประพฤติทีเ่ หมาะสม
ทหำรทุกระดับจะต้องมีควำมประพฤติท่ีเหมำะสม โดย

ยึดถือตำมแบบธรรมเนียมทหำรกำหนดไว้ โดยวินัยทหำรนั้นเป็น
หลักสำคัญที่สุดสำหรับทหำร ผู้ใดฝ่ำฝืนในทำงทหำรให้ถือว่ำผู้
น้ันกระทำผิด ซึ่งได้กำหนดข้อห้ำมไว้เป็นจำนวนมำก ท้ังข้อห้ำม
เก่ียวกับกำรปฏิบัติรำชกำร กำรเป็นสมำชิกในพรรคกำรเมือง อีก
ทั้ง ตำมแบบธรรมเนียมทหำรยังได้กำหนดให้ทหำรต้องรักษำ
เกียรติและวินัยทหำรตลอดเวลำ ทั้งในเรื่อง กำรแต่งกำย ท่วงที
วำจำ กิริยำมำรยำทในสังคม เป็นต้น ซ่ึงรำยละเอียดข้อห้ำมต่ำง
ๆ เหล่ำนี้ มีเป็นจำนวนมำกได้กำหนดข้ึนมำเพื่อป้องกันไว้และ
ส่งผลให้ทหำรทุกระดับจะได้มีควำมประพฤติท่ีเหมำะสม ตำม
แบบธรรมเนียม ตำมมำรยำททำงทหำร รวมทั้งมำรยำททำงสังคม
ต่ำง ๆ ดังน้ัน จึงเปนหน้ำท่ีของผูบังคับบัญชำ ท่ีจะตองอบรม
ปลูกฝังอย่ำงต่อเนื่อง เพ่ือรักษำไว้ซ่ึงประสิทธิภำพของอำชีพ
ทหำรและ คงไวซ้ ึง่ ควำมเช่ือถือตำมควำมคำดหวังของสังคม

๓.๓ ความเปน็ ทหารอาชีพ
ควำมเป็นทหำรอำชีพจะมีรูปแบบ พฤติกรรมที่มี

ควำมสัมพันธ์เป็นแนวทำงเดียวกันกับมำตรฐำนควำมดีที่สูง
กว่ำท่ัว ๆ ไป เช่น คุณลักษณะผู้นำทำงทหำรกำรปลูกฝัง
อุดมกำรณ์และค่ำนิยมทหำรท่ีเป็นแนวคิด พฤติกรรมตำม
แนวทำงคลำ้ ยกนั กบั จรรยำบรรณในอำชีพที่มีระดับของควำมดี
ที่ต้องกำรเหนือกว่ำกำรเป็นพลเมืองดีของบุคคลในสังคมหรือ
กำรมีอำชีพพทหำรในระดับทั่ว ๆ ไป ซึ่งเป็นส่ิงท่ีกำลังพลควร

๒๘

จะยึดถือปฏิบัติเพ่ือนำไปสู่ควำมเป็นทหำรอำชีพ ดังนั้น
แนวคิดท่ีเก่ียวกับลักษณะของควำมเป็นทหำรอำชีพนั้น ได้มี
นักวิชำกำรท่ีสำคัญได้รวบรวม ค้นคว้ำและกำหนดข้ึนมำเพ่ือ
รักษำมำตรฐำนแห่งวชิ ำชีพไว้ โดยไดม้ ีกำรสรุปไว้ ดังนี้

๓.๓.๑ แนวคิดของ แซมมวล พีฮันทิงตัน (Samuel
P. Huntington) : เป็นนักรฐั ศำสตร์แหงมหำวทิ ยำลัยฮำรวำรด
(ในหนังสือเรื่อง “The soldier and the state”) ได้กล่ำวถึง
กำรที่จะเป็น “ควำมเป็นมืออำชีพของผู้ท่ีถืออำวุธ ”
(Profession of Arms) หรืออำจจะเรียกว่ำ”ทหำรอำชีพ”
(Military Professionalism) ตำมแนวควำมคิดของชำวตะวันตก
จะตอ้ งประกอบไปด้วยคุณสมบตั ิ ๓ ประกำรคือ

๑) ความเชยี่ วชาญ (Expertise) ประกอบดวย
ควำมรู ควำมชำนำญ และควำมสำมำรถเฉพำะทำง กลำ่ วคอื
ทหำรจะตอ้ งมีควำมเชยี่ วชำญทั้งทำงดำ้ นเทคนคิ ทฤษฏแี ละ
ควำมเชยี่ วชำญระดับบูรณำกำร

๒) ความรับผิดชอบ (Responsiveness)
ทหำรอำชีพจะต้องมีควำมรับผิดชอบในภำรกิจหน้ำที่ท่ีได้รับ
มอบ ตองไมทำเกินขอบเขตควำมรูควำมสำมำรถของตนเอง
มำตัดสินใจช้ีขำดงำนในอำชีพมุงผลประโยชนสูงสุดของสังคม
และตองมีควำมซือ่ ตรงตอ่ สังคม

๓) ความรักหมู่คณะ (Corporateness)
ทหำรอำชีพจะต้องมีควำมรวมมือกันทำหนำท่ีเพ่ือสังคม จึง
เกดิ ควำมรสู ึกเปนพวกเดยี วกนั และ มีควำมผกู พนั โดยอำชีพ

๒๙

กล่ำวโดยสรุปคือในมุมมองของควำมเป็นมืออำชีพ
ตำมแนวควำมคิดของชำวตะวันตกน้ัน เน้นไปที่องค์ประกอบ
ของอำชีพคือ ต้องสำมำรถใช้ควำมรู้ทั้งทฤษฎีและกำรปฏิบัติ
มำทำงำนดว้ ยกำรนำหลักกำรทฤษฎมี ำประยุกตใ์ ชไ้ ด้เปน็ อย่ำง
ดีและต้องสำมำรถใช้ประสบกำรณ์ที่ได้สะสมมำใช้ปฏิบัติงำน
ได้อย่ำงเหมำะสมตำมบริบทของสังคม ตำมเหตุกำรณ์นั้น ๆ
และสำมำรถตอบสนองควำมต้องกำรที่สำคญั ของมนุษยแ์ ละ
สังคมได้ตำมลกั ษณะอำชพี ของตน

๓.๓.๒ แนวคิดของ พล.ท.บุญเยี่ยม สาริมาน : อดีต
อจ.รร.สธ.ทบ. ได้บรรยำยถึงคุณลักษณะของทหำรอำชีพใน
เอกสำรประกอบกำรบรรยำยเร่ือง “บทบำทและอุดมกำรณ์ของ
ทหำรอำชีพ” ของโรงเรียนเสนำธิกำรทหำรบก (ผนวก จ) โดย
สรุปว่ำ “ทหารอาชีพ” (Military Professionalism)”
หมำยถึง “การเป็นผู้ท่ีมีความรู้ ความชานาญในวิชาชีพของ
ทหารพร้อมท่ีจะปฏิบัติหน้าท่ีของตนอย่างเต็มท่ีและมีความ
รับผิดชอบต่อสิ่งที่ตนกระทาหรือมิได้กระทา” โดยมี
องค์ประกอบคือมีควำมเช่ียวชำญในกำรทำกำรรบและสงครำม,
มีควำมรับผิดชอบต่อหน้ำที่และให้ควำมร่วมมือทั้งแรงกำยและ
จติ ใจอยำ่ งเตม็ ควำมสำมำรถ

ทหำรอำชีพต้องมีหลักควำมประพฤติท่ีถูกต้องปฏิบัติใน
สิ่งที่ถูกที่ควรให้สมกับท่ีได้รับควำมไว้วำงใจจำกประชำชน จะต้อง
มีควำมสำนึกในกำรเป็นทหำร, ฝึกฝนตนเองให้มีควำมรู้
ควำมสำมำรถอย่ำงแท้จริง, มีควำมซ่ือสัตย์สุจริตและควำม

๓๐

กล้ำหำญที่จะนำไปสู่ควำมมีอุดมกำรณ์ของทหำรอำชีพ โดยได้
กำหนด “คุณลักษณะของทหำรอำชีพ” ออกเป็น ๔ ประกำรไว้
คอื

๑) มคี วำมสำนึกในกำรเปน็ ทหำร
๒) ฝกึ ฝนตนเองให้มีควำมรู้ควำมสำมำรถอย่ำง
แท้จรงิ
๓) มีควำมซอ่ื สตั ยส์ จุ รติ
และ ๔) มคี วำมกลำ้ หำญ
และ “อุดมการณ์ของทหารอาชีพ” จะเน้นและยึดถือ
กำรปฏิบตั ิไป ๔ ประกำรคือ
๑) มีควำมจงรักภักดีต่อชำติ ศำสนำ และ
พระมหำกษัตรยิ ์
๒) มคี วำมซื่อสตั ยต์ ่อหน่วย
๓) มีควำมรับผดิ ชอบ
และ ๔) มีควำมเสยี สละ
กล่ำวโดยสรุป “ทหำรอำชีพ” ได้เน้นประเด็นหลัก
เป็นพ้ืนฐำนไปในแนวทำงเดียวกันคือกำรฝึกฝนตนเองให้มี
ควำมเช่ียวชำญในวิชำชีพทหำรเป็นประเดน็ สำคัญ โดยท่ีควำม
เป็นทหำรอำชีพในรำยละเอียดนั้น ยังได้ครอบคลุมไปถึง
มำตรฐำนควำมดีอีกหลำยประกำรของคุณลักษณะผู้นำทำงทหำร
และควำมสำมำรถทำงำนร่วมกับผูอ้ ่นื ไดแ้ ละทีส่ ำคัญอย่ำงย่งิ ทหำร
อำชีพจะต้องมีกำรเรียนรู้และพัฒนำอย่ำงต่อเนื่องเพื่อเป็นกำร
ปรับปรุงพัฒนำและเพิ่มขีดควำมสำมำรถของกำรปฏิบัติงำนไป

๓๑

ตลอดชีวิตของกำรเป็นอำชีพทหำร จึงจะถือได้ว่ำเป็นทหำร
อำชพี ทีแ่ ท้จริง

๓.๔ สง่ิ ท่ีทหารควรหลีกเลี่ยง สงิ่ ท่ีไม่ควรประพฤติปฏิบัติ
ทหำรอำชีพนอกจำกจะต้องมีควำมชำนำญในอำชีพของ

ตนและควำมพรอ้ มท่จี ะปฏิบัตหิ น้ำท่ีของตนอย่ำงเต็มท่ีแล้ว สิ่งท่ี
ตอ้ งให้ควำมสำคัญท่ีสุดของทหำรคือ “วินัย” รวมหมำยควำมถึง
“จรรยำบรรณ” ของควำมเปน็ ทหำรอำชีพที่เป็นหลักประพฤติ ที่
เป็นข้อพงึ ปฏิบตั ิหรอื ละเวน้ กำรปฏิบตั ิ อำจเปน็ ลำยลักษณ์อักษร
หรอื ไม่มกี ไ็ ด้ โดยอำจจะเปน็ ในลกั ษณะของระบบเกยี รติศักดท์ิ ่ีได้
ถูกนำมำใช้กำกับดูแลและปกครองกันเอง เพื่อดำรงควำมเชื่อถือ
และเกียรตคิ ุณแห่งอำชพี ให้เป็นที่ศรัทธำของสำธำรณชน มีเร่ือง
ท่ีตอ้ งเน้นย้ำ ดังนี้

๓.๔.๑ การไม่เปดิ เผยข้อมลู ของทางราชการ
ทหำรทุกนำยในกองทัพบกจะต้องไม่เปิดเผย

ข้อมูลของทำงรำชกำร หรือแสดงควำมคิดเห็นต่อสำธำรณะ
หรือเปิดเผยประสบกำรณ์ของตนเองต่อส่ือต่ำง ๆ เว้นแต่จะได้รับ
อนุมัติจำกผู้มีอำนำจตำมสำยกำรบังคับบัญชำหรือระเบียบที่ให้
อำนำจไว้ เพรำะกำรกระทำดังกล่ำวนอกจำกจะเป็นกำรขัดต่อ
กฎระเบียบแล้ว ยังเป็นกำรแสดงออกถึงควำมไม่เหมำะสมต่อ
กำรเป็นทหำรอำชีพ รวมทั้งอำจทำให้เกิดควำมเสียหำยต่อ
ช่อื เสียงและผลประโยชน์ของหนว่ ยและกองทพั บกได้

๓๒

๓.๔.๒ การไมเ่ สพของมนึ เมาเกนิ ขนาด
กำรเสพของมึนเมำจนเกินขนำด เปน็ ควำมผิดทำง

วนิ ัยทท่ี ำงทหำรไดก้ ำหนดไว้ จะทำให้ขำดวิจำรณญำณ ทำให้เสีย
กำรควบคุมตนเอง ข้อเสียหำยที่น้อยที่สุดคือจะไม่ได้รับควำม
น่ำเช่ือถือ และอำจนำไปสู่กำรก่ออำชญำกรรมรุนแรงได้ มี
ผลเสียหำยต่อควำมสำมำรถในกำรปฏิบัติงำนอันจะมีผลต่อ
อนำคตในกำรรับรำชกำรต่อไป ผู้บังคับบัญชำต้องม่ันใจว่ำ
ภำยในบริเวณหน่วยของตนเองจะต้องไม่มีกำรเสพสุรำจนเกิน
ขนำดและจะต้องเป็นตัวอย่ำงในกำรลด ละ เลิก อบำยมุข
ดงั กลำ่ ว

๓.๔.๓ การไมเ่ สพยาเสพติด
กำรเสพยำเสพติดนอกจำกจะผิดกฎหมำยแล้ว

ยังเป็นผลทำให้หย่อนประสิทธิภำพในกำรปฏิบัติงำน ผู้เสพยำ
เสพติดจะขำดควำมเชื่อถือต่อตนเองและจำกเพ่ือนร่วมงำน
เนื่องจำกกำรเสพยำเสพติดจะก่อให้เกิดกำรขำดวิจำรณญำณ
เป็นกำรทำลำยสุขภำพและภำพพจน์ของตนเอง แม้กำรเสพยำเสพ
ติดจะทำแค่ในระยะเวลำส้ัน ๆ ก็ตำมแต่ก็อำจทำให้หมดควำม
ไวว้ ำงใจและควำมเชอ่ื ถือจำกคนอื่นได้

๓.๔.๔ การมวี ินยั การเงนิ
ทหำรทุกนำยในกองทัพจะต้องมีวินัยในกำรเงิน

กำรท่ีกำลังพลขำดควำมรับผิดชอบและขำดวินัยในกำรใช้จ่ำย
จนเกิดภำวะหน้ีสิน เป็นกำรแสดงออกถึงกำรขำดวิจำรณญำณ

๓๓

และวินัยของกำลังพล ถึงแม้ว่ำเร่ืองนี้จะเป็นเรื่องส่วนบุคคล ไป
กองทัพบกจะต้องเข้ำมำเก่ียวข้อง เน่ืองจำกว่ำเป็นเรื่องท่ีมี
ผลกระทบตอ่ กำรบริหำรจดั กำรและระเบียบวนิ ยั ของหน่วย
๔. จรรยาบรรณทหาร กระทรวงกลาโหม

จรรยำบรรณ เป็นจริยธรรมของกลุ่มชนผู้ร่วมอำชีพร่วม
อุดมกำรณ์ เป็นหลักประพฤติ หลักจริยธรรม มำรยำท ที่ทุกคน
เชื่อว่ำเป็นส่ิงท่ีถูกต้องดีงำม ควรจะร่วมกันรักษำไว้ เพื่อธำรง
เกียรติและศรัทธำจำกประชำชน ดังน้ัน รัฐธรรมนูญแห่ง
รำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๖๐ ได้กำหนดมำตรฐำนทำง
จริยธรรมซึ่งเป็นหลักเกณฑ์กำรประพฤติปฏิบัติอย่ำงมีคุณธรรม
ของเจ้ำหน้ำที่ของรัฐเพื่อใช้เป็นหลักเกณฑ์ในกำรปฏิบัติตน และ
รักษำคุณงำมควำมดที ข่ี ้ำรำชกำรตอ้ งยดึ ถือในกำรปฏบิ ัตงิ ำน

๔.๑ สภำกลำโหม ในฐำนะเป็นองค์กรที่มีหน้ำท่ีจัดทำ
ประมวลจริยธรรม สำหรับข้ำรำชกำรทหำรและข้ำรำชกำรพล
เรือนกลำโหม จึงวำงระเบียบกระทรวงกลำโหมว่ำด้วยประมวล
จริยธรรมและกำรรักษำจริยธรรม พ.ศ. ๒๕๖๔ ดังน้ี

๑) ยึดม่ันในสถำบันหลักของประเทศ อันได้แก่ ชำติ
ศำสนำ พระมหำกษัตริย์ โดยกำรพิทักษ์รักษำไว้ซึ่งเอกรำช
อธิปไตย บูรณภำพแห่งเขตอำนำจรัฐ และกำรปกครองใน
ระบอบประชำธิปไตย อันมีพระมหำกษัตริย์เป็นประมุข ท้ังจัก
ต้องพิทักษ์ รักษำ ปกป้องสถำบันพระมหำกษัตริย์และเชิดชู
รักษำไว้ ซึ่งพระบรมเดชำนุภำพแห่งพระมหำกษัตริย์เจ้ำ
รวมถึงกำรนำหลักคำสอนที่ถูกต้องของศำสนำมำปฏิบัติ ให้เกิด

๓๔

คุณธรรมนำไปสู่กำรประพฤติและกำรปฏิบัติตนตำมประมวล
จรยิ ธรรมกระทรวงกลำโหมอยำ่ งเครง่ ครดั

๒) ซ่ือสัตย์ สุจริต มีจิตสำนึกดี และรับผิดชอบต่อ
หน้ำท่ี เช่ือถือและปฏิบัติตำมคำส่ังที่ชอบด้วยกฎหมำยของ
ผู้บังคบั บัญชำ ทั้งกำรปกครองผใู้ ตบ้ ังคับบัญชำตอ้ งกระทำด้วย
ควำมยุติธรรม รวมถึงกำรยึดม่ันในข้อบังคับ ระเบียบ คำส่ัง
และแบบธรรมเนยี มของกระทรวงกลำโหมอยำ่ งเคร่งครดั

๓) กล้ำตัดสินใจและกระทำในส่ิงท่ีถูกต้องชอบธรรม
โดยกำรยืนหยัดกระทำในส่ิงที่ถูกต้อง เป็นธรรม และถูก
กฎหมำย

๔) กำรพิทักษ์และรักษำผลประโยชน์ของชำติ ยึดถือ
ป ร ะ โ ย ช น์ ส่ ว น ร ว ม ม ำ ก ก ว่ ำ ป ร ะ โ ย ช น์ ส่ ว น ต น แ ล ะ ไ ม่ มี
ผลประโยชน์ทับซ้อน รวมถึงกำรมีจิตสำธำรณะ ให้ควำม
ชว่ ยเหลอื สังคมในทกุ โอกำสทส่ี ำมำรถกระทำได้

๕) กำรมุ่งเน้นผลสัมฤทธ์ิของงำน รักษำมำตรฐำนและ
คุณภำพของงำน มีกำรปฏิบัติรำชกำรด้วยควำมโปร่งใส
ตรวจสอบได้

๖) ปฏิบัติหน้ำท่ีอย่ำงเป็นธรรม ให้กำรช่วยเหลือและ
บริกำรแก่ประชำชนด้วยควำมรวดเร็ว มีอัธยำศัยและไม่เลือก
ปฏิบัติ รวมถึงกำรให้ข้อมูลข่ำวสำรแก่ประชำชน โดยไม่
บดิ เบอื นขอ้ เท็จจรงิ ภำยใต้กรอบของกฎหมำย

๓๕

๗) ดำรงตนเปน็ แบบอยำ่ งทดี่ แี ละรกั ษำภำพลกั ษณ์ของ
ทำงรำชกำร รวมทั้งกำรเชิดชแู ละรักษำไว้ซ่ึงเกียรติยศ เกียรตศิ ักด์ิ
และอดุ มกำรณข์ องข้ำรำชกำรกระทรวงกลำโหม

๔.๒ ระเบียบกระทรวงกลำโหมว่ำด้วยประมวลจริยธรรม
และกำรรักษำจริยธรรม พ.ศ.๒๕๖๔ สำหรับข้ำรำชกำรทหำร
และข้ำรำชกำรพลเรือนกลำโหม หำกพบผู้ฝ่ำฝืนหรือไม่ปฏิบัติ
ตำมประมวลจรยิ ธรรมให้หวั หน้ำส่วนรำชกำรหรือผู้บงั คับบญั ชำ
ของผู้นน้ั วำ่ กลำ่ วตักเตือนด้วยวำจำหรือทำเป็นหนังสือ หรือส่ัง
ให้ผู้นั้นได้รับกำรพัฒนำคุณธรรมจริยธรรมอย่ำงเหมำะสม แต่
หำกมีมูลควำมผิดทำงวินัยหรือทำงอำญำให้ดำเนินกำรตำม
กฎหมำยทเี่ กย่ี วข้อง

๕. บทสรุป
“ค่านิยม” ได้ถูกนำมำใช้หลำยบริบท เพื่อใช้เป็นแนวทำง

ประพฤติปฏิบัตติ น ซึ่งกองทัพบกได้นำมำใช้เป็นแนวทำงสำหรับ
ใช้ปลูกฝังและสร้ำงเสริมกำลังพลของกองทัพบกใช้สำหรับ
ยึดถือเป็นหลักในกำรปฏิบัติงำน ตำมมำตรฐำนกองทัพบก
ของ”ความเป็นทหารอาชีพ”เพือ่ ปกปอ้ ง ชำติ ศำสน์ กษัตริย์
และ ประชำชน และเพ่ือเป็นหลักประกันต่อควำมประพฤติ
ของทหำรทุกคนว่ำได้ปฏิบัติตนอยู่ภำยใต้กฎหมำยและควำม
ประพฤติท่เี หมำะสม รู้จักสิ่งที่ควรหลีกเล่ียง สิ่งที่ไม่ควรประพฤติ
ปฏิบัติ มีจรรยำบรรณทหำรท่ีดี อันจะนำมำสู่ศักดิ์ศรี ควำม
เชอื่ มั่นศรัทธำ และควำมรว่ มมือจำกพ่นี ้องประชำชนคนในชำติ

๓๖

บทที่ ๓
ศิลปะในการปกครองบงั คับบญั ชา
กองทัพบกเป็นองค์กรหนึ่งที่มีผู้นำอยู่มำกมำยหลำยระดับ
และมีหน่วยภำยใตก้ ำรปกครองที่หลำกหลำย ซึ่งทุกหน่วยตำ่ ง
มีควำมสำคัญและมีบทบำทต่อกำรกำหนดทิศทำงในกำร
ขับเคลื่อนกองทัพไปสู่เป้ำหมำยในภำพรวม กำลังพลทุกคนใน
กองทัพบกถือเป็นส่วนหน่ึงของสำยกำรบังคับบัญชำ ซ่ึงมี
บทบำททั้งกำรเป็นผู้นำและเป็นผู้ตำม กำรที่จะทำให้
ผู้ใต้บังคับบัญชำสำมำรถปฏิบัติภำรกิจสำเร็จตำมเป้ำหมำยท่ี
วำงไว้ ภำยใต้ข้อจำกัดของงบประมำณและเวลำ จึงเป็นส่ิงท่ี
จะต้องใช้ท้ังศำสตร์และศิลป์ของกำรปกครองบังคับบัญชำที่มำ
จำกอำนำจหน้ำที่ตำมกฏหมำยของผู้บังคับบัญชำมำใช้ควบคู่
ภำวะของควำมเป็นผ้นู ำมำบรู ณำกำรควบคกู่ นั เสมอ

๑. การปกครองบงั คบั บัญชา
กำรปกครองบังคับบัญชำทำงทหำร จะมีควำมแตกต่ำงจำก

กำรปกครองพลเรือนอย่ำงชัดเจน เน่ืองจำกทหำรเปน็ ผู้ถืออำวุธ
จึงจำเป็นต้องอยใู่ นระบบกำรบังคบั บัญชำและวนิ ัยท่ีเข้มงวดและ
เด็ดขำด ควำมผิดวินัยบำงอย่ำงของพลเรือนอำจเป็นเร่ือง
เล็กน้อย แต่ทำงทหำรกลับถือเป็นเรื่องร้ำยแรง จำเป็นต้องถูก
ลงโทษเช่นเดียวกันควำมผิดทำงอำญำเพื่อมิให้เป็นเยี่ยงอย่ำง
ดังนั้น ระบบกำรปกครองบงั คับบัญชำทหำร จึงจำเป็นท่ีจะต้อง
ใหอ้ ำนำจผูบ้ งั คบั บญั ชำลงโทษทหำรทก่ี ระทำผดิ วินัยได้

๓๗

๑.๑ ผู้บังคบั บัญชาทหาร
“ผู้บังคับบัญชำ” เป็นบุคคลท่ีได้รับแต่งต้ังอย่ำงเป็น

ทำงกำรจำกหนว่ ยงำนให้ดำรงตำแหน่งหัวหน้ำหรือให้มีอำนำจ
หน้ำท่ีดำเนินกำรอย่ำงใดอย่ำงหนึ่งให้เป็นไปตำมกฎระเบียบ
ของหน่วยงำน เป็นผู้นำ (Leader) ของหน่วยงำนตำมสำยกำร
บังคับบัญชำ มีอำนำจ ควบคุมบังคับบัญชำ และส่ังกำรบุคคล
ในอำนำจบังคับบัญชำให้ปฏิบัติตำม จะต้องรับผิดชอบต่อกำร
ปฏิบัติทั้งปวงภำยในหน่วยของตนที่ได้กระทำลงไปหรือไม่
กระทำ

“ผู้บังคับบัญชำทำงทหำร” ที่มีหน้ำท่ีปกครองบังคับ
บญั ชำทหำรที่เปน็ ผถู้ อื อำวุธ จึงจำเปน็ ต้องอยู่ในระบบกำรบงั คบั
บญั ชำและวินัยที่เข้มงวดและเด็ดขำด ดังน้ัน กำรปกครองบังคับ
บัญชำทำงทหำรนนั้ จงึ ได้กำหนดให้ “ผู้บงั คับบัญชำทหำร” เป็น
ผูที่มีอำนำจบังคับบัญชำตำมกฏหมำยตำม “พระรำชบัญญัติว
ำดวยวินัยทหำร พุทธศักรำช ๒๔๗๖” กำหนดเพื่อใช้สำหรับ
บังคับใช้เพ่ือให้ทหำรต้องประพฤติตำมแบบธรรมเนียมของ
ทหำรและวินยั อยำ่ งเครง่ ครัด

๑.๒ เครอื่ งมอื การปกครองบงั คับบัญชาของทหาร
“พระรำชบัญญัติว ำด วยวินัยทหำร พุทธศักรำช

๒๔๗๖” เป็นกฎหมำยท่ีให้ผู้บังคับบัญชำทหำรใช้สำหรับ
เครื่องมือกำรปกครองบังคับบัญชำของทหำร โดยทหำรน้ันแม
จะมสี ิทธแิ ละเสรภี ำพโดยสมบูรณในฐำนะประชำชนแตตองอยู
ในกรอบของวินัยทหำรอยำงหลีกเลี่ยงไมได้ ซึ่งทหำรทุกคนจัก

๓๘

ต้องรักษำโดยเคร่งครัดอยู่เสมอ ผู้ใดฝ่ำฝืนท่ำนให้ถือว่ำผู้นั้น
กระทำผดิ มปี ระเด็นสำคัญที่ควรทรำบ สรุปไดด้ งั นี้ (ผนวก ด)

มำตรำ ๔ วินยั ทหำรน้ัน คอื กำรท่ีทหำรตอ้ งประพฤติ
ตำมแบบธรรมเนยี มของทหำร

มำตรำ ๕ วินัยเป็นหลักสำคัญท่ีสุดสำหรับทหำร
เพรำะฉะน้ันทหำรทุกคนจักต้องรักษำโดยเคร่งครัดอยู่เสมอ ผู้ใด
ฝำ่ ฝนื ท่ำนให้ถอื วำ่ ผนู้ น้ั กระทำผิด

มำตรำ ๖ ผู้บังคับบัญชำมีหน้ำที่จัดกำรระวังรักษำ
วินัยทหำรที่ตนเป็นผู้บังคับบัญชำอยู่น้ันโดยกวดขัน ถ้ำหำกว่ำ
ในกำรรักษำวินัยทหำรนั้นจำเป็นต้องใช้อำวุธ เพื่อทำกำร
ปรำบปรำมทหำรผู้ก่อกำรกำเริบก็ดี หรือเพื่อบังคับทหำรผู้ละ
ทิ้งหน้ำท่ีให้กลับทำหน้ำที่ของตนก็ดี ผู้บังคับบัญชำและผู้ที่
ช่วยเหลือในกำรน้ันจะไม่ต้องรับโทษในกำรท่ีตนได้กระทำไป
โดยควำมจำเป็นน้ันเลย แต่เม่ือมีเหตุดังกล่ำวน้ีผู้บังคับบัญชำ
จักตอ้ งรำยงำนไปยงั ผูบ้ ังคับบัญชำเหนือตน และรำยงำนตอ่ ไป
ตำมลำดบั ชน้ั จนถงึ รฐั มนตรวี ำ่ กำรกระทรวงกลำโหมโดยเรว็

มำตรำ ๗ ทหำรผู้ใดกระทำผิดต่อวินัยทหำรจักต้องรับ
ทัณฑ์ตำมวิธที ี่ปรำกฏในหมวด ๓ แห่งพระรำชบัญญัตนิ ี้ และอำจ
ต้องถูกปลดจำกประจำกำร หรือถูกถอดจำกยศทหำร

มำตรำ ๘ ทัณฑ์ที่จะลงแก่ผู้กระทำผิดต่อวินัยทหำร
ดงั กล่ำวไวใ้ นหมวด ๒ น้นั ใหม้ กี ำหนดเปน็ ๕ สถำน คือภำคทัณฑ์,
ทัณฑกรรม, กกั , ขัง และ จำขัง

๓๙

มำตรำ ๙ วรรคท้ำย และนอกจำกทัณฑ์ท่ีกล่ำวไว้นี้
แล้ว ห้ำมมิให้คิดทัณฑ์ขึ้นใหม่ หรือใช้วิธีลงทัณฑ์อย่ำงอ่ืนเป็น
อนั ขำด

มำตรำ ๑๓ ก่อนท่ีผู้มีอำนำจลงทัณฑ์จะลงทัณฑ์ครั้ง
ครำวใดก็ดี ให้พิจำรณำให้ถ้วนถ่ีแน่นอนว่ำ ผู้ท่ีจะต้องรับทัณฑ์
น้ันมีควำมผิดจริงแล้วจึงสั่งลงทัณฑ์นั้น ต้องระวังอย่ำให้เป็น
กำรลงทัณฑ์ไปโดยโทษจริตหรือลงทัณฑ์แก่ผู้ที่ไม่มีควำมผิด
โดยชัดเจนนั้นเป็นอันขำด เมื่อพิจำรณำควำมผิดละเอียดแล้ว
ต้องช้ีแจงให้ผู้กระทำผิดน้ันทรำบว่ำกระทำผิดในข้อใด เพรำะ
เหตใุ ด แลว้ จงึ ลงทัณฑ์

มำตรำ ๒๑ ในกำรท่ีจะรักษำวินัยทหำรให้เป็นระเบียบ
เรียบร้อยอยู่เสมอ ย่อมเป็นกำรจำเป็นที่ผู้บังคับบัญชำจักต้องมี
อำนำจในกำรบังคับบญั ชำหรือลงทัณฑ์อยู่เองเป็นธรรมดำ แต่
ผู้บังคับบญั ชำบำงคนอำจใชอ้ ำนำจในทำงท่ีผิดยุติธรรม ซง่ึ เป็น
กำรสมควรท่ีจะให้ผู้ใต้บังคับบัญชำมีโอกำส ร้องทุกข์ได้ในทำง
เป็นระเบียบไมก่ ำ้ วก่ำย

๒. ภาวะผู้นาทางทหาร
๒.๑ “ผู้บังคับบัญชาทหาร” เป็นบุคคลที่ทำงรำชกำรได้

แต่งตั้งบุคคลให้ดำรงตำแหน่งหัวหน้ำหน่วยงำน ทำหน้ำที่เป็น
ผู้นำ (Leader) ของหน่วยตำมบทบำทหน้ำที่และมีอำนำจ
ปกครองบังคับบัญชำตำมกฏหมำยที่กำหนด ซ่ึงกำรปกครอง
บังคับบัญชำของหน่วยงำนโดยทั่วไปแล้ว ก็จะเป็นกำรบริหำร

๔๐

จัดกำร (Management) ซ่ึงเป็นเร่ืองกำรจัดกำรระบบงำนและ
กระบวนกำรทำงำนในองค์กรใหเ้ ป็นไปด้วยควำมเรียบร้อยและให้
มีควำมเป็นระเบียบตำมหลักเกณฑ์ท่ีทำงรำชกำรกำหนดไว้ แต่
ด้วยบทบำทของทหำรท่ีมีควำมแตกต่ำงโดยส้ินเชิง ที่จะต้อง
ปฏิ บั ติ ภำรกิ จภำยใต้ ส ถำนกำรณ์ ที่ มี ควำมกดดั นสู งและมี
อันตรำยมีควำมเสี่ยงถึงแก่ชีวิตตำมพันธกิจของหน่วยงำนใน
หนำ้ ท่กี ำรปอ้ งกนั ประเทศ

ดังน้ัน “ผู้บังคับบัญชำทหำร” ท่ีมีหน้ำที่บทบำทเป็น
ผู้นำ” (Leader) จำเป็นต้องที่จะต้องมีระดับภำวะผู้นำ
(Leadership)” ในระดับท่ีสูง ซ่ึงคุณลักษณะทำงพฤติกรรมของ
ผู้นำทำงทหำรน้ันจะทำให้เกิดอิทธิพลในกำรจูงใจผู้อื่นให้ร่วม
ปฏบิ ตั งิ ำนเพอ่ื ใหส้ ำเร็จตำมควำมมุง่ หมำย

๒.๒ คุณลักษณะของผู้นาทางทหาร
คุณลักษณะผู้นำทำงทหำรเปน็ หัวใจหลักของกำรพัฒนำ

กำลังพลในด้ำนภำวะผู้นำ (Leadership) ของทุกเหล่ำทัพ เป็น
เอกลักษณ์และภำพลักษณ์ของควำมเป็นทหำรท่ีถูกคำดหวัง
จำกสังคมภำยนอกซึ่งจะมีควำมคล้ำยคลึงกับค่ำนิยมหลักของ
กองทัพ เพ่ือเป็นมำตรฐำนกำรนำไปสู่ควำมเป็นทหำรอำชีพ
(Military Professionalism) ท่ีจะต้องมีควำมพร้อมที่จะต้อง
เตรียมกำลังรบให้พร้อมรับเหตุกำรณ์วิกฤติของชำติ อีกท้ังยัง
ต้องกระทำตนให้เป็นแบบอย่ำงที่ดีแก่สังคมส่วนรวม โดย
คุณลักษณะของผู้นำทำงทหำรจะมีประกอบด้วยลักษณะ ๑๔

๔๑

ประกำรและต่อมำได้มีกำรเพ่ิมคุณลักษณะ “ควำมมีวิสัยทัศน์
(Vision)” ข้นึ มำเพ่มิ เตมิ อกี ๑ ประกำร สรปุ ไดด้ งั น้ี

๑) ลักษณะท่ำทำง (Bearing) อำกัปกิริยำ
และกำรปฏบิ ัติตวั ของผู้นำที่ต้องมีท่ำทำงสง่ำผ่ำเผยสมกับเป็น
นำยทหำร มีควำมเชื่อมัน่ ในตนเอง กำรพูดจำมีควำมหนักแน่น
ใช้คำสุภำพ มีกำรควบคุมอำรมณ์ได้ดี กำรแต่งกำยอยู่ใน
มำตรฐำนทด่ี ี ถกู ต้องตรงตำมระเบียบแบบแผน

๒) ควำมกล้ำหำญ (Courage) เป็นคุณสมบตั ิ
ทำงใจอย่ำงหน่ึง ท่ีตระหนักดีถึงควำมน่ำกลัวของอนั ตรำย แต่
สำมำรถควบคุมให้เข้ำเผชิญได้ด้วยควำมม่ันคง สำมำรถเข้ำ
รับผิดชอบและปฏิบัติหน้ำที่ในสถำนกำรณ์อันตรำยได้ ผู้นำ
จะต้องมีควำมกล้ำหำญทำงกำยท่ีต้องเผชิญและมีควำมกล้ำ
หำญทำงใจทจี่ ะต้องยนื ยันในสง่ิ ทถี่ กู ต้องแม้ตอ้ งเผชญิ กับควำม
ไมพ่ อใจของบคุ คลอ่นื

๓) ควำมเด็ดขำด (Decisiveness) คือ
ควำมสำมำรถในกำรตกลงใจได้ทันที ประกำศออกมำอย่ำง
ชัดเจน ไม่พูดอ้อมค้อม และมีควำมจริงจังหนักแน่น กำรมี
ประสบกำรณ์และกำรฝกึ จะช่วยในกำรตัดสนิ ใจไดด้ ี

๔) ควำมเช่ือถือได้ (Dependability) คือ
กำรปฏิบัติงำนอย่ำงถูกต้องแน่นอนจนเป็นที่เช่ือถือได้และ
ไว้วำงใจต่อผู้บังคับบัญชำและผู้ใต้บังคับบัญชำไม่ว่ำงำนน้ัน
จะตอ้ งมกี ำรควบคุมหรือปรำศจำกกำรควบคุม ทั้งต่อหน้ำและ
ลับหลงั

๔๒

๕) ควำมอดทน (Endurance) คือพลังทำง
ร่ำงกำยและจิตใจ ซึ่งวัดได้จำกขีดควำมสำมำรถในกำรทนต่อ
ควำมเจ็บปวด ควำมเหน็ดเหนื่อย ควำมยำกลำบำก ควำม
เคร่งเครียดรวมถงึ ควำมอดกลน้ั ต่อสถำนกำรณท์ ่บี บี คน้ั

๖) ควำมกระตอื รือร้น (Enthusiasm) คือ กำร
แสดงออกถึงควำมสนใจและเอำใจใส่ต่อหน้ำท่ีหรือกิจกำรที่ตน
ปฏิบัติ มีควำมเคล่ือนไหวคล่องแคล่ว กระตือรือร้น ต่อ
ควำมสำเร็จของงำน

๗) กำรริเร่ิม (Initiate) คือ กำรเป็นผู้รู้จักใช้
ควำมคิดในกำรเริ่มหำหนทำงปฏิบัติ ถึงแม้จะไม่มีคำส่ังให้
ปฏิบตั ิ หรอื กำรแสวงหำแนวทำงในกำรปฏิบัติงำนใหม่ ๆ ท่ีดีมี
ประสิทธภิ ำพมำกกว่ำเดมิ

๘) ควำมซื่อสัตย์ (Integrity) คือ ควำม
เท่ียงตรงแห่งอุปนิสัยและยึดม่ันอยู่ในหลักแห่งศีลธรรมอันดี
งำม

๙) วิจำรณญำณ (Judgment) คือดุลยพินิจ
กำรคดิ พจิ ำรณำ ไตร่ตรองอย่ำงรอบคอบเพ่ือใชใ้ นกำรตัดสินใจ
ได้สมเหตุสมผล มีควำมยินดีท่ีจะฟังควำมรอบด้ำนท้ังด้วยใจ
และควำมรู้ท่ีตนเองมีอยู่ภำยในตน และฟังควำมคิดเห็นจำก
บคุ คลอืน่ เพอ่ื ประกอบกำรตดั สินใจ

๑๐) ควำมยุติธรรม (Justice) คือ ควำม
เท่ียงตรง ไม่ลำเอียงเพรำะอคตทิ ั้งสี่ ได้แก่ รัก โลภ โกรธ หลง
ในกำรปกครองคน ควำมยตุ ิธรรมจะทำใหไ้ ดร้ บั คำสรรเสรญิ

๔๓

และก่อเกิดควำมเชื่อม่ัน หำกขำดควำมยุติธรรมและลำเอียง
จะทำลำยขวญั ทหำรได้อย่ำงรวดเร็ว

๑๑) ควำมรอบรู้ (Knowledge) คือ ผู้นำ
ต้องมีควำมรู้ในทักษะอำชีพของตน เป็นทั้งผู้เชี่ยวชำญเฉพำะ
ด้ำน (Specialist) และผู้ท่ีมีควำมรอบรู้ (Generalist) ควำมรอบ
รู้นยี้ ังหมำยรวมถึงขำ่ วสำรทีท่ นั ต่อเหตุกำรณ์

๑๒) ควำมจงรักภักดี(Loyalty) คือ
คุณสมบัติของบุคคลที่มีจิตใจจงรักภักดีต่อประเทศชำติ ต่อ
หน่วย ต่อผู้อำวุโส และแม้แต่ผู้ใต้บังคับบัญชำของตน ซ่ึงจะ
ก่อให้เกิดควำมเคำรพนับถือจำกคนทุกระดับช้ัน และ
โดยเฉพำะกำรรักษำควำมลับทำงทหำรจะต้องระมัดระวังเป็น
พเิ ศษ

๑๓) กำลเทศะ (Tact) คือ ควำมแนบเนียน
ควำมสำมำรถท่ีจะร่วมงำนและประสำนงำนกับผู้อื่นได้ดี รู้จัก
กำรเลือกใช้คำพูดและกำรกระทำท่ีเหมำะสมกับสถำนท่ี เวลำ
บุคคล และสถำนกำรณ์ มีควำมเข้ำใจธรรมชำติของมนุษย์และ
รู้จักสังเกตควำมรู้สกึ ของบคุ คลอนื่

๑๔) ควำมไม่เห็นแก่ตัว (Unselfishness)
คือกำรไม่ฉวยโอกำส พยำยำมหลีกเล่ียงกำรหำประโยชน์สุข
หรอื ควำมก้ำวหน้ำส่วนตวั บนควำมเดือดร้อนของผอู้ ืน่

ส ำ ห รั บ คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง ผู้ น ำ ท ำ ง ท ห ำ ร
ทำงด้ำนวิสัยทัศน์ (Vision) ที่เพิ่มข้ึนมำนั้น เป็นกำรกำหนด
คุณลักษณะของผู้นำทำงทหำร ให้ทันต่อสภำวะควำม

๔๔

เปลี่ยนแปลงของยุคปัจจุบัน ให้มีควำมสำมำรถที่จะนำองค์กร
ไปสู่เป้ำหมำยระยะยำวตำมวสิ ัยทัศน์ (Vision) ที่กำหนดได้ ซึ่ง
จะมีควำมชือ่ มโยงกับภำรกิจ (Mission) ค่ำนิยม (Value) ที่ต้อง
มีควำมสอดคล้องและเปน็ ไปในทิศทำงเดยี วกนั ทง้ั ระบบ

๓. ศิลปะในการปกครองบงั คับบญั ชา
๓.๑ ผู้บงั คับบญั ชำ (Commander) และ ผู้นำ (Leader) จะ

มคี วำมแตกต่ำงกัน กล่ำวคอื ผู้บังคับบัญชำทำงทหำรจะมีอำนำจ
ตำมพระรำชบญั ญตั วิ นิ ยั ทหำร พ.ศ.๒๔๗๖ เปน็ กฏหมำยสำหรับ
ปกครองบังคับบัญชำทหำรซึ่งกำรปฏิบัติภำรกิจให้สำเร็จลุล่วง
อย่ำงมีประสิทธิภำพได้นั้น ผู้บังคับบัญชำ (Commander)
จำเป็นต้องอำศัยภำวะของควำมเป็นผู้นำ (Leadership) มำ
ผสมผสำนใช้เป็นเคร่ืองมือร่วมกันอย่ำงเหมำะสม ให้มีควำม
สอดคล้องกับสถำนกำรณ์ จังหวะ เวลำและโอกำส ก่อเกิดเปน็
ศิ ล ป ะ ใ น ก ำ ร ป ก ค ร อ ง บั ง คั บ บั ญ ช ำ ที่ ค ว ร ต้ อ ง บ ริ ห ำ ร
องค์ประกอบต่ำง ๆ ให้มีควำมสมดุลและสอดคล้องกับแบบ
ธรรมเนียมทหำร เพ่ือให้เกิดควำมเหมำะสมกับกำร
เปล่ยี นแปลงของยุคสมัยและกำรปกครองกำลังพลที่มีอตั ลักษณ์
แตกต่ำงกัน อันจะนำมำซึ่งผลลัพธ์ท้ังในส่วนท่ีเป็นควำมสำเร็จ
ของภำรกิจและกำรเสริมสร้ำงขวญั กำลังใจของกำลังพลในกำร
ปฏบิ ัตงิ ำน

๔๕

๓.๒ การน้อมนาหลักทศพิธราชธรรมมาปรับใช้ในการ
ปกครอง

ในกำรปกครองบังคับบัญชำในทำงทหำรน้ัน จะมี
ควำมเป็นท้ังศำสตร์และศิลป์ ท่ีผู้บังคับบัญชำ จะต้องนำมำใช้
ปฏิบัติควบคู่กันเสมอ พระมหำกษัตริยทุกพระองคในฐำนะผู้ท่ี
ดำรงตำแหน่งจอมทัพไทยก็ได้ทรงนำ “หลักทศพิธรำชธรรม”
มำใช้เป็นหลักกำรปกครองมำอย่ำงยำวนำน รำชธรรมของ
พระองคม์ ไิ ดห้ วงห้ำมวำ่ เป็นของส่วนพระองค์ มิให้บคุ คลใดนำไป
ปฏิบัติ แต่เป็นแบบอย่ำงที่ดีของนำยทหำร ธรรมของทหำร ควร
ได้ศึกษำและนำไปประพฤติปฏิบัติตำมรอยพระยุคลบำท เป็น
ศิลปะกำรปกครอง ที่จนถึงปัจจุบันก็ยังคงมีควำมเหมำะสม
สอดคล้องกบั ยุคสมยั ไมเ่ ส่ือมคลำย

ทศพิธรำชธรรม หมำยถึง ธรรมของพระรำชำ
(รำชธรรม) ท่ีสมเด็จพระสัมมำสัมพธุ เจำมีพุทธดำรัสไวในพระ
ไตรปฎก มหำหงั สชำดกอนั ประกอบดว้ ย

ประกำรท่ี ๑ ทำน หมำยถึง กำรให้ กำรแบ่งปัน กำร
เอื้อเฟื้อ ทั้งทำงกำยและใจ ตลอดจนถึงกำรบำเพ็ญ
สำธำรณประโยชน์ เสียสละ สงเครำะห์ อนุเครำะห์ประชำ
รำษฎรทั่วไป

ประกำรที่ ๒ ศีล หมำยถึง ควำมประพฤติดีงำม เป็น
สุจริตธรรม มีควำมสงบร่มเย็น สำรวมกำย วำจำใจ จนเป็นที่
เคำรพนับถือของประชำรำษฎร์

๔๖

ประกำรที่ ๓ กำรบริจำคหรือปริจำคะ หมำยถึง กำร
เสียสละควำมสุข ควำมสำรำญส่วนตัว เพื่อประโยชน์สุขของ
ประชำชน รำษฎร หรือเพ่อื ควำมสงบเรียบร้อยของบ้ำนเมือง

ประกำรท่ี ๔ อำชวะ หมำยถงึ ควำมช่อื ตรง ควำม
มุ่งมั่นตงั้ ใจจริง

ประกำรที่ ๕ มัทวะ หมำยถึง ควำมอ่อนโยน ควำม
สุภำพ และควำมมีอัธยำศัยนุ่มนวล ไม่ถือตัวตลอดจนหมำยถึง
ควำมสงำ่ งำม และท่วงทอี นั เปน็ ทั้งท่ีรักและยำเกรง

ประกำรที่ ๖ ตบะ หมำยถึง ควำมเพียร กำรข่มใจ และ
ควำมทรงเดชอนั เปน็ ที่มำของพระบรมเดชำนุภำพ

ประกำรท่ี ๗ อักโกธะ หมำยถึง ควำมไม่โกรธ ไม่ลุแก่
อำนำจ หรือว่ำ มคี วำมเมตตำเปน็ ธรรมประจำใจอยเู่ สมอ

ประกำรที่ ๘ อวหิ ิงสำ หมำยถึง ควำมไมเ่ บียดเบยี น
กดข่ี ไม่หลงระเริงในอำนำจขำดควำมกรุณำ

ประกำรที่ ๙ ขนั ติ หมำยถงึ ควำมอดทน อดกลัน้ ทนต่อ
กำรงำนท่ีตรำกตรำไม่ท้อถอย ไม่ยอมหมดกำลังใจ และไม่ละทิ้ง
กำรงำนท่เี ปน็ กำรบำเพ็ญโดยชอบธรรม

ประกำรที่ ๑๐ อวิโรธนะ หมำยถึง กำรยึดม่ันในธรรม
สรปุ หมำยถึงกำรยึดเอำเท่ยี งธรรม ควำมถกู ต้องเป็นท่ตี ง้ั เป็นตน้

ทศพิธรำชธรรมน้ัน แม้โดยท่ัวไปจะหมำยถึง “ธรรมะ
สำหรับพระรำชำ ๑๐ ประกำร” แต่หำกจะมุ่งเน้นไปท่ี
เจตนำรมณ์ท่ีแท้จริงแล้ว ทศพิธรำชธรรมจะเป็นหลักกำร หรือ

๔๗

หลักปฏิบัติท่ีผู้นำ บุคคลท่ีจะทำให้มหำชน คนอ่ืน ผู้ตำมเกิด
ควำมยนิ ดีโดยชอบธรรม

สำหรับในสมัยปัจจุบัน ทหำร นักปกครองและ
ผู้ บ ริ ห ำ ร บ้ ำ น เ มื อ ง ทุ ก ร ะ ดั บ ชั้ น ก็ ส ำ ม ำ ร ถ น ำ เ อ ำ ห ลั ก
ทศพิธรำชธรรมมำประยุกต์ใช้ในกำรปกครองและกำรบริหำร
จั ด ก ำ ร เ ป็ น ธ ร ร ม ะ ส ำ ห รั บ ผู้ น ำ น ำ ม ำ ป รั บ ใ ช้ ไ ด้
ทุกภำคสว่ นซึ่งจะนำพำควำมสขุ ควำมรกั ควำมสำมัคคี

๔. “จอมพลสอนทหาร” หลักการปกครองบังคับบัญชาที่
ยังคงใชไ้ ด้ทกุ สมยั

คำสอน ๑๒ ข้อของจอมพล (เจ้ำพระยำบดินทร์เดชำนุ
ชิต) เสนำบดีกระทรวงกลำโหม ท่ีออกไว้ เมื่อ ๑๔ มกรำคม
๒๔๖๓ สำหรับเตือนใจ เตือนสติ เป็นหลักกำรปกครองบังคับ
บัญชำ กว่ำ ๑๐๐ ปี มำแล้วแต่ยังคงสำมำรถนำมำใช้ให้
เหมำะสมกบั สถำนกำรณ์ ในปัจจบุ ันได้

ข้อ ๑ ผู้ใดเป็นผู้บังคับบัญชำและผู้ใหญ่ อย่ำเป็นคนหูเบำ
แต่ก็มิใช่เป็นคนหูหนวกตำบอด ต้องฟังต้องดูอย่ำงกว้ำงท่ีสุด
อยู่เสมอ แต่อย่ำเชื่อคนสอพลอ หรือเช่ือคนพูดก่อนและฟ้อง
ก่อน เพรำะคนพูดภำยหลังอำจพูดจริงกว่ำคนที่พูดก่อนก็
เปน็ ได้

ข้อ ๒ เม่ือมีควำมขุ่นข้องกับผู้ที่อยู่ใต้บังคับบัญชำหรือ
ผู้น้อย เม่ือได้ว่ำกล่ำวลงโทษ หรือตักเตือนแล้ว จงอย่ำจำ
เอำไว้ อำฆำตมำดรำ้ ยภำยหลังอกี

๔๘

ข้อ ๓ ให้พยำยำมหำควำมดีควำมงำมมำสู่คณะ และปูน
บำเหน็จกับผู้อยู่ใต้บังคับบัญชำ และผู้น้อย สำหรับผู้ท่ีสมควร
จะได้รบั ตำมโอกำสทจี่ กั พงึ หำได้นั้นอยู่เสมอ

ข้อ ๔ จงติโทษ หรือลงโทษผู้ท่ีอยู่ใต้บังคับบัญชำใน
ข ณ ะ ท่ี ท ำ ผิ ด โ ด ย ไ ม่ เ ก ร ง ใ จ ห รื อ ก ลั ว เ ข ำ เ ก ลี ย ด
ให้เคร่งครัดอยู่เสมอ จะละเลยเสียมิได้เป็นอันขำด เพรำะ
ภำยหลงั จะกำเริบและแกไ้ ขยำก

ข้อ ๕ จงอย่ำใช้อำนำจรำชกำรลงโทษกับผู้ซ่ึงอยู่ใต้
บงั คับบญั ชำในขณะเมื่อตนบนั ดำลโทสะ และอย่ำกล่ำวคำหยำบ
ให้กระทบกระเทือนถึงวงศ์ตระกูล เพรำะผู้อ่ืนเขำก็มีจิตใจเป็น
มนุษยเ์ หมอื นเรำเหมือนกนั

ข้อ ๖ จงบำรุงกำรสมำคม และแสดงกิริยำ วำจำ ใจ
ให้เป็นกำรโอภำปรำศรัย โอบอ้อมอำรี จงท่ัวหน้ำ อย่ำเลือกท่ี
รัก มักที่ชัง ถือเป็นพวกเขำพวกเรำ ต้องแสดงตัวว่ำเป็นญำติ
ผ้ใู หญ่ของผ้ใู ตบ้ งั คบั บัญชำหรอื ผู้น้อยอยู่เสมอ

ขอ้ ๗ บรรดำผู้บงั คับบัญชำหรือผู้ใหญ่ ไม่ควรเอำบุตร
ภรรยำ ญำติมิตรของตน มำยุ่งเก่ียวข้องด้วยหน้ำที่กำรรำชกำร
หรือ เอำงำนอำนำจรำชกำรไปใช้ในทำงส่วนตัว อำนำจรำชกำรจะ
เส่อื มและเสยี ช่ือเสยี งของตนเอง ท้งั เป็นตวั อย่ำงอันชั่วร้ำยดว้ ย

ข้อ ๘ บรรดำผู้บังคับบัญชำหรือผู้ใหญ่ ไม่ควรเอำ
ประโยชน์รำชกำรมำเป็นประโยชน์ส่วนตัว และเอำอำนำจ
รำชกำรไปทำประโยชน์ส่วนตัว หรือเอำเวลำทำรำชกำรไปทำ

๔๙

กิจส่วนตัว คืออย่ำทำยุ่ง ซึ่งอย่ำงที่เรียกว่ำ "เล้ียงช้ำงก็กินข้ี
ชำ้ ง"

ข้อ ๙ ในเวลำบังคบั บญั ชำกำรงำน อยำ่ ไดเ้ ห็นแก่หน้ำ
บุคคลและญำติมิตร และเห็นแก่สินจ้ำงสินบนเป็นอันขำด
ควำมตรงควำมจริงอย่ำงไรตอ้ งกระทำไป ดังนั้น ควำมจริงเป็น
ของไม่ตำย และมีค่ำเป็นอันมำก กำรพูดเท็จต้องเตรียมตัว พูด
จริงจะพูดเม่ือใด ก็ได้เป็นคำไม่ตำย และมีค่ำมำก กำรพูดเท็จ
ต้องเตรียมตวั พดู จรงิ จะพูดเมื่อใดกไ็ ด้ เปน็ คำไม่ตำยแท้

ข้อ ๑๐ จงทำตวั อย่ำงอันดีให้ผู้น้อยหรือผู้อยู่ใต้บังคับ
บัญชำเห็น เช่น มีควำมซ่ือสัตย์ (ไม่โกง) ควำมกตัญญูกตเวที
ควำมกล้ำหำญ ควำมพำกเพียรพยำยำม ควำมละเอียดลออ
รอบคอบ ควำมละอำยต่อควำมผิด ตลอดทั้งควำมประพฤติอัน
ดี ซึ่งนับว่ำเป็นประโยชน์ในกำรสั่งสอนดีที่สุดกว่ำที่จะสอนแต่
ปำก แต่ตนเองไม่ทำ แต่กำรท่ีจะสอนตนเองให้รู้จักทำทำ
ตวั อย่ำงอนั ดีดงั วำ่ มำน้กี ็คอื ใจตนเอง ผูอ้ นื่ จะสอนให้ดีกว่ำใจของ
ตนเองน้นั ไมไ่ ด้

ข้อ ๑๑ อย่ำนึกว่ำตนมีหน้ำท่ี (เป็นนำย) กดขี่บังคับ
บัญชำแต่อย่ำงเดียว ต้องนึกว่ำตนมีหน้ำที่ร่วมสุขร่วมทุกข์
และต้องสอดส่องให้รู้สุขรู้ทุกข์ของผู้อยู่ใต้บังคับบัญชำหรือ
ผู้น้อยอยู่เสมอ และอย่ำชิงหลีกเลี่ยงหำควำมสุขส่วนตวั เช่น ใน
เวลำนำทหำร ไปทำกำรกรำกแดดกรำฝน บุกน้ำลงโคลนหรือฝ่ำ
อันตรำยทั้งปวง อย่ำหำโอกำสหลีกเล่ียงแต่ส่วนตัว ผู้น้อยหรือผู้
อยใู่ ต้บงั คับบญั ชำจะขำดควำมนบั ถือ

๕๐

ข้อ ๑๒ ผู้บังคับบัญชำหรือผู้ใหญ่ซ่ึงมีหน้ำที่อยู่ใกล้ชิด
กับทหำร ถ้ำเห็นทหำรอดหลับอดนอน เหน็ดเหน่ือยหรือ ขำด
เสบียง หรือประกอบอำหำรยังไม่ทันสุก หรือมีกิจซ่ึงจะทำกำร
อย่ำงอ่ืนเสียก่อนจึงจะนอนพักผ่อน หรือบริโภคอำหำรได้ ตน
เป็นนำยอย่ำหำโอกำสพักผ่อน หรือบริโภคอำหำรเสียก่อน
ต้องดูแลผู้น้อย และผู้อยู่ใต้บังคับบัญชำ ทั้งสัตว์ ยำนพำหนะ
ให้นอนพักผ่อนหรือบริโภคอำหำรเสียก่อนตน หรือนอน
พักผ่อน และบริโภคอำหำรพร้อมกัน จึงจะกระทำให้ผู้น้อย
และผู้อยใู่ ตบ้ ังคบั บัญชำเชอ่ื ถอื และเห็นอกเห็นใจ

๕. บทสรปุ
“ผู้บังคับบัญชำทหำร” เป็นหัวหน้ำหน่วยงำนตำมท่ีทำง

รำชกำรแต่งตั้งข้ึนมำ ถึงแม้โดยหลักกำรแล้วจะมีอำนำจกำร
ปกครองบังคับบัญชำทหำรตำมกฏหมำยได้ตำม“พระรำชบัญญัติ
วำดวยวินัยทหำร พุทธศักรำช ๒๔๗๖” ซ่ึงกำรท่ีจะทำให้กำร
บริหำรงำนทำงทหำรเกิดประสิทธภิ ำพอย่ำงสูงสุดนั้น จำเป็นที่
จะต้องอำศัยคุณลักษณะเฉพำะของภำวะผู้นำ (Leadership)
ท่ีเป็นมำตรฐำนควำมดีที่สูงกว่ำมำตรฐำนอ่ืนท่ัวไป มำใช้
ผสมผสำนกัน จึงก่อเกิดเป็น “ศิลปะในกำรปกครองบังคับ
บัญชำ” ท่ีเป็นทั้งศำสตร์และศิลป์ท่ีส่งผลทำให้เกิดอิทธิพลใน
กำรจูงใจผู้อ่ืนให้ร่วมปฏิบัติงำนเพอ่ื ให้สำเร็จตำมควำมมุ่งหมำยที่
กำหนดไว้


Click to View FlipBook Version