แผนการจัดการเรยี นรู้
บูรณาการปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง คณุ ลักษณะ 3D
และค่านยิ มหลกั ของคนไทย 12 ประการ
รหัส 2501 - 2003 วชิ าช่างเกษตรเบ้ืองตน้
หลักสูตรประกาศนียบัตรวชิ าชีพ พุทธศักราช 2556
ประเภทวชิ าเกษตรกรรม
จัดทาโดย
นายปราโมท หาญณรงค์
แผนกวชิ าชา่ งกลเกษตร วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีระนอง
สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา กระทรวงศึกษาธกิ าร
(ก)
คานา
แผนการจัดการเรียนรู้มุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพ เล่มนี้ เป็นการจัดทาแผนการสอน ตามหลักสูตร
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) พุทธศักราช 2556 โดยมุ่งเน้นการฝึกทักษะในภาคปฏิบัติให้เกิดข้ึนกับนักศึกษาให้
มากทส่ี ุด มีการบูรณาการ คณุ ธรรมจริยธรรมเขา้ ไปในแผนการสอน เพ่ือให้นกั ศึกษามีความสามารถตามจดุ มุ่งหมาย
ทางการศกึ ษา 3 ดา้ นคอื ด้านพทุ ธิพิสยั จิตพสิ ัย และทักษะพสิ ัย
แผนการจัดการเรียนรู้มุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพ รายวิชาช่างเกษตรเบ้ืองต้น เล่มน้ี มีท้ังหมด 7 หน่วยการ
เรียนรู้ ดังน้ี 1.งานช่างเกษตร 2.การเช่ือโลหะด้วยไฟฟ้า 3.การเช่ือโลหะด้วยแก๊ส 4.การติดตั้งระบบท่อส่ง
น้าเพื่อการเกษตร 5.การวางผังก่อสร้างและงานคอนกรีตเสริมเหล็ก 6.การใช้และบารุงรักษาเคร่ืองยนต์เล็ก 7.
ไฟฟ้าและการเดินสายไฟฟ้าในอาคาร ใช้เวลาในการจัดการเรียนรู้ท้ังภาคทฤษฎีและปฏิบัติ จานวน 72 ชั่วโมงต่อ
ภาคเรียน ในแตล่ ะหน่วยการเรียน จะทาการวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน โดยจะทาการทดสอบความรู้ก่อนและหลัง
เรียน แบบฝึกหัดหลังหน่วยการเรียน และแบบฝึกปฏิบัติงานแต่ละหน่วยการเรียน กิจกรรมการเรียนการสอนที่
เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ และได้บูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ในสาระการ
เรียนรู้และน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เป็นหลักในการจัดการ
เรียนการสอน แนวทางความคิด มีขบวนการคิดอย่างเป็นระบบ และให้ผู้เรียนสามารถเขียนผังความคิด ที่บูรณา
เศรษฐกิจพอเพียง และคุณลักษณะ 3 D ที่แสดงถึงภาระงานในการเรียนรู้ท่ีบูรณาการเข้าสู่ 3 ห่วง (พอประมาณ
มเี หตผุ ล และมีภูมิคุ้มกันท่ีดี) 2 เงือ่ นไขความรู้ คุณธรรม ส่งผลกระทบใน 4 มิติ (ด้านสังคม ส่ิงแวดล้อม วัฒนะ
ธรรมและเศรษฐกิจ) และคณุ ลักษณะ 3 D ทุกๆ ขั้นตอน วธิ ีการจัดการเรียนการสอนมีหลายวิธีเช่น อธิบาย ถาม
– ตอบ การแก้ปัญหาจากการวิเคราะห์ การฝึกเป็นต้น กิจกรรมท่ีมอบหมายให้ผู้เรียนทาเน้นการมีส่วนร่วม การ
ทางานเป็นทีม ให้ผู้เรียนได้รับ การส่งเสริมประชาธิปไตย มีคุณธรรม จริยธรรมและความเป็นไทย มีภูมิคุ้มกัน
ห่างไกลยาเสพติดสอ่ื การเรียนการสอนท่ีใช้ได้แก่ ใบความรู้ แบบทดสอบกอ่ น/หลงั เรียนและส่ือ CAI การวดั ผลและ
ประเมินผลครบทงั้ 3 ดา้ น ไดแ้ ก่ ด้านความรู้ ดา้ นทักษะ และดา้ นเจคติ
ขอบคุณทุกท่านทเี่ กยี่ วข้อง ทีใ่ หก้ ารส่งเสรมิ สนบั สนนุ ในการจัดทาแผนการจดั การเรยี นร้นู ส้ี าเรจ็ ลุล่วงไป
ลงชอ่ื ...........................................
(นายปราโมท หาญณรงค์)
แผนกวิชาชา่ งกลเกษตร
วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยรี ะนอง
(ข) หนา้
สารบญั
(ก)
เรื่อง (ข)
(ค)
คานา (ง)
สารบญั (จ)
แผนการจัดการเรยี นรู้ (ฉ)
การวิเคราะหห์ น่วยการเรยี นรูแ้ ละสมรรถนะรายวิชา 1
ตารางวเิ คราะหห์ ลักสูตรรายวิชา 7
ตารางวิเคราะหห์ น่วยการเรียนรู้และเวลาทใ่ี ช้ในการจดั การเรียนรู้ 13
หน่วยท่ี 1 งานช่างเกษตร 19
หนว่ ยท่ี 2 การเชื่อมโลหะดว้ ยไฟฟา้ 25
หนว่ ยท่ี 3 การเชอื่ มโลหะด้วยแกส๊ 31
หน่วยท่ี 4 การตดิ ตั้งระบบท่อสง่ น้าเพอื่ การเกษตร 37
หน่วยที่ 5 การวางผงั กอ่ สร้างและงานหล่อคอนกรตี เสรมิ เหลก็
หน่วยท่ี 6 การใชแ้ ละบารุงรกั ษาเคร่ืองยนตเ์ ล็ก
หน่วยที่ 7 ไฟฟา้ และการเดินสายไฟฟ้าในอาคาร
(ค)
แผนการจดั การเรยี นรู้
รหัสวชิ า 2501-2003 ชอื่ วิชาช่างเกษตรเบื้องต้น จานวน 3 หนว่ ยกติ 4 ชั่วโมง/ สปั ดาห์
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวชิ าชพี พุทธศกั ราช 2556
ประเภทวิชาเกษตรกรรม สาขาเกษตรศาสตร์
จุดประสงค์รายวชิ า
1. เข้าใจหลักการและกระบวนการเก่ียวกับงานชา่ งเกษตรเบ้ืองต้น
2. สามารถปฏิบัติงานพ้ืนฐานเกี่ยวกับงานข่างเกษตรตามหลักการและข้ันตอนกระบวนการ โดย
เลือกใช้วัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือในการปฏิบัติงานด้วยหลักความปลอดภัย และคานึงถึงการ
อนรุ ักษ์ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม
3. มีเจตคติท่ีดีต่องานช่างเกษตร และมีกิจนิสัยในการทางานด้วยความรับผิดชอบ รอบคอบ มี
คณุ ธรรม จรยิ ธรรม วินยั ขยนั อดทน ประหยดั และสามารถทางานร่วมกบั ผู้อ่นื
สมรรถนะรายวิชา
1. แสดงความรู้เบื้อต้นเกีย่ วกับหลกั การและกระบวนการปฏิบัติงานเชือ่ มชน้ิ งาน งานปนู งาน
คอนกรีต งานไฟฟา้ และงานเคร่ืองยนต์เล็ก
2. เลอื ก เตรยี ม ใช้และบารงุ รักษาเคร่ืองมือ วัสดแุ ละอปุ กรณ์ในงานช่างเกษตรตามหลกั การและ
กระบวนการ
3. ปฏิบตั ิงานเชอื่ มช้ินงานเบ้ืองต้นตามหลกั การและกระบวนการ
4. ปฏิบตั งิ านปนู และงานคอนกรีตเบ้ืองตน้ ตามหลกั การและกระบวนการ
5. งานเดินสายไฟฟา้ และต่อวงจรไฟฟา้ เบื้องตน้ ตามหลกั การและกระบวนการ
6. ใช้และบารุงรกั ษาเครื่องยนตเ์ ล็กทางการเกษตรตามหลกั การและกระบวนการ
คาอธบิ ายรายวชิ า
ศึกษาและปฏิบตั เิ กย่ี วกับ ความสาคญั ของงานช่างเกษตร เคร่ืองมือ วัสดุอุปกรณแ์ ละความปลอดภยั
ในงานช่างเกษตร งานเชอื่ มช้ินงาน งานปูน งานคอนกรตี งานเดินสายไฟฟา้ และตอ่ วงจรไฟฟา้ เบอ้ื งตน้ การใชแ้ ละ
บารงุ รกั ษาเครอื่ งยนตเ์ ล็กทางการเกษตร
(ง)
การวิเคราะหห์ น่วยการเรียนรู้และสมรรถนะรายวิชา
รหัสวิชา 2501-2003 ชื่อวชิ าชา่ งเกษตรเบื้องตน้ จานวน 3 หน่วยกติ 4 ช่วั โมง/ สปั ดาห์
หน่วยท่ี ชื่อหน่วยการเรียนรู้ สมรรถนะรายวิชา
1 งานช่างเกษตร
2 การเช่อื มโลหะด้วยไฟฟ้า 1. แสดงความรูเ้ บื้อตน้ เก่ยี วกับหลักการและ
3 การเช่อื มโลหะด้วยแกส๊ กระบวนการปฏบิ ตั ิงานเชือ่ มช้ินงาน งาน
4 การตดิ ต้ังระบบท่อส่งนา้ เพ่อื การเกษตร ปนู งานคอนกรีต งานไฟฟ้า และงาน
5 การวางผังก่อสร้างและงานหล่อคอนกรตี เคร่ืองยนตเ์ ล็ก
เสริมเหล็ก
6 การใช้และบารุงรักษาเครื่องยนตเ์ ล็ก 2. เลือก เตรยี ม ใชแ้ ละบารงุ รักษาเคร่ืองมือ
7 ไฟฟา้ และการเดินสายไฟฟ้าในอาคาร วสั ดุและอุปกรณใ์ นงานชา่ งเกษตรตาม
หลกั การและกระบวนการ
3. ปฏบิ ตั งิ านเชอ่ื มชิ้นงานเบื้องต้นตาม
หลกั การและกระบวนการ
4. ปฏิบัตงิ านปนู และงานคอนกรีตเบอ้ื งตน้
ตามหลักการและกระบวนการ
5. งานเดนิ สายไฟฟ้าและต่อวงจรไฟฟา้
เบอื้ งต้นตามหลกั การและกระบวนการ
6. ใชแ้ ละบารุงรกั ษาเคร่ืองยนตเ์ ล็กทาง
การเกษตรตามหลักการและกระบวนการ
7. นอ้ มนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงในการปฏบิ ัติงาน
8. นานโยบาย 3D ไปใช้ในการปฏบิ ัตงิ าน
9. แสดงกิจนสิ ัยทดี่ ีในการทางานด้วยความ
เปน็ ระเบียบเรียบร้อย สะอาด ประณีต
ปลอดภัย และรักษาสภาพแวดล้อม
(จ)
ตารางวิเคราะห์หลักสตู รรายวชิ า
รหสั วิชา 2501-2003 ช่อื วชิ าชา่ งเกษตรเบื้องตน้ จานวน 3 หน่วยกิต 4 ช่ัวโมง/ สัปดาห์
พทุ ธพิ ิสัย
พฤติกรรม
ชือ่ หน่วย ความรู้
ความเข้าใจ
นาไปใ ้ช
ิวเคราะห์
สังเคราะห์
ประเมินผล
ทักษะพิ ัสย
จิตร ิพ ัสย
รวม
ลา ัดบความสาคัญ
จานวนคาบ
1. งานชา่ งเกษตร 322 1868
2. การเช่ือมโลหะด้วยไฟฟา้ 3452 1 15 5 8
3. การเช่อื มโลหะดว้ ยแกส๊ 345 2 14 4 12
4. การตดิ ตั้งระบบท่อสง่ น้าเพอื่ การเกษตร 225 4 2 15 1 8
5. การวางผงั กอ่ สร้างและงานหลอ่ 225 4 2 15 1 12
คอนกรีตเสรมิ เหล็ก
6. การใช้และบารงุ รกั ษาเครื่องยนต์เล็ก 2253 4 2 18 12
7. ไฟฟ้าและการเดนิ สายไฟฟ้าในอาคาร 225 4 2 15 12
รวม 17 18 32 5 16 13 72
ลาดบั ความสาคญั 3216 45
(ฉ)
ตารางวิเคราะห์หนว่ ยการเรียนรู้และเวลาทใ่ี ชใ้ นการจดั การเรยี นรู้
รหสั วิชา 2501-2003 ชื่อวชิ าช่างเกษตรเบ้ืองต้น จานวน 3 หน่วยกิต 4 ชวั่ โมง/ สัปดาห์
หนว่ ยท่ี ชอื่ หน่วย/รายการสอน สัปดาห์ที่ ชั่วโมงที่
1. 1-2 1-8
ช่างเกษตร
1. ความสาคญั และสาขาของงานชา่ งเกษตร
2. การใชเ้ คร่ืองมือทนุ่ แรงและเคร่อื งจกั รกลเกษตร
3. เคร่อื งมอื ทนุ่ แรงและเคร่ืองจักรกลเกษตรทีส่ าคัญใน
งานเกษตร
4. การใช้เคร่อื งมือทุน่ แรงและเครอื่ งจักรกลเกษตรใน
ภาคใต้
2. การเชือ่ มโลหะดว้ ยไฟฟา้ 3-4 9-16
1. การเชอื่ มโลหะดว้ ยไฟฟ้า
2. เครือ่ งมอื และอุปกรณ์การเชื่อมไฟฟ้า
3. การเริม่ ต้นการเช่อื มและองค์ประกอบในการเชอ่ื ม
ไฟฟา้
4. ความปลอดภัยในการเชื่อมไฟฟา้
3. การเชอ่ื มโลหะด้วยแก๊ส 5-7 17-28
1. หลักการเชือ่ มโลหะดว้ ยแกส๊
2. คณุ ลักษณะของแก๊สอเซทลิ นี ทใี่ ชใ้ นการเชื่อม
3. คณุ ลักษณะของแก๊สออกซิเจน
4. เครอ่ื งมือและอุปกรณ์การเชอื่ มแก๊ส
5. เปลวไฟในการเชอื่ มแก๊สและการใช้งาน
6. ความปลอดภยั ในการเชื่อมโลหะดว้ ยแกส๊
4. การติดตัง้ ระบบท่อสง่ น้าเพื่อการเกษตร 8-9 29-36
1. การสง่ น้าชลประทานเพื่อการเกษตรโดยระบบทอ่
2. การออกแบบท่อสง่ น้าชลประทานเพื่อการเกษตร
3. ทอ่ และอปุ กรณท์ ่ีใช้ในการตดิ ตั้งระบบท่อส่งน้า
4. การติดต้ังท่อส่งนา้ และอปุ กรณ์
5. การให้นา้ กับพชื และแปลงปลูกผกั ในระบบท่อใหน้ ้า
5. การวางผังก่อสร้างและงานหล่อคอนกรีตเสริมเหลก็ 10-12 37-48
1. การวางผงั การกอ่ สรา้ ง 13-15 49-60
2. งานคอนกรีตเสริมเหลก็
16-18 61-72
6 การใช้และบารงุ รักษาเคร่อื งยนตเ์ ล็ก
1. ความหมายของเครื่องยนตเ์ ลก็ 18 72
2. หลกั การทวั่ ไปของเครื่องยนต์และกลวตั รการทางาน
ของเคร่อื งยนตเ์ ล็ก
3. การจาแนกชนดิ ของเคร่อื งยนต์
4. สว่ นประกอบของเครอื่ งยนตเ์ ล็ก
5. การเปรยี บเทียบเครอ่ื งยนตเ์ ลก็ เพื่อเลือกใชง้ าน
6. การบารุงรกั ษาเครื่องยนต์เล็ก
7 ไฟฟา้ และการเดินสายไฟฟา้ ภายในอาคาร
1. หลกั การเบ้ืองต้นของไฟฟา้
2. ชนิดของกระแสไฟฟา้
3. กฎของโอห์มและความหมายกระแส แรงเคลอ่ื น
ความต้านทานไฟฟ้า
4. สูตรคณิตศาสตร์จากกฎของโอหม์
5. การเดนิ สายไฟฟ้าภายในอาคาร
สอบปลายภาค
รวม
1
การออกแบบการจดั การเรยี นรูห้ น่วยที่ 1
เรื่องงานชา่ งเกษตร
มีเหตุผล พอประมาณ มีภูมคิ ้มุ กัน
1. เพอ่ื ใหม้ ีความรเู้ ขา้ ใจเกีย่ วกับ 3. เตรยี ม เลือกใช้ วัสดุ อุปกรณไ์ ด้ 4. เข้าใจหลกั การและความสาคัญ
ความสาคญั และสาขาชา่ งเกษตร เหมาะสมกับการการเรียน
ในงานชา่ งเกษตร
2. เพือ่ ใหม้ ีความรเู้ ข้าใจการใช้เครอื่ งมอื
ทุ่นแรงและเครือ่ งจักรกลเกษตร 5. แสดงกิจนิสยั ที่ดใี นการทางาน
3. ปฏบิ ัติการใช้เครอ่ื งมือทุ่นแรงและ ดว้ ยความเปน็ ระเบียบ สะอาด
เครอื่ งจกั รท่สี าคญั ในงานเกษตร ประณตี ปลอดภัย และรักษา
สภาพแวดลอ้ ม
งานชา่ งเกษตร
ความรู้ + ทักษะ คุณธรรม
1. ความสาคญั และสาขาของงานชา่ งเกษตร 1. มคี วามรบั ผดิ ชอบ
2. การใชเ้ ครอื่ งมือทุ่นแรงและเคร่อื งจักรกลเกษตร 2. มีระเบยี บวินัย
3. เครอ่ื งมือทุ่นแรงและเคร่ืองจักรกลเกษตรที่ 3. มคี วามสนใจใฝร่ ู้
4. มมี นษุ ยสมั พนั ธ์
สาคญั ในงานเกษตร
วัฒนธร5ร.ม มีความเช่อื ม่นั สใงิ่นแตวนดเอลงอ้ ม
4. การใช้เคร่อื สงมงั คือทม่นุ แรงและเคร่อื งจกั เศรกรลษเกฐษกตจิ ร
ในภาคใต้
2
1, 2, 3 1, 2, 3, 3 3,4,5
แผนการจัดการเรยี นรู้รายหนว่ ย
รหสั วิชา 2501 – 2003 ชอื่ วิชาช่างเกษตรเบื้องตน้ 3 (4) ชม./ สปั ดาห์ สอนคร้งั ท่ี 1-2
หนว่ ยที่ 1 ชือ่ หน่วย งานช่างเกษตร เวลา 8 ชม.
1. สาระสาคัญ
งานช่างเกษตร เป็นการศึกษาและปฏิบัติเก่ียวกับการเชื่อมช้ินงานโลหะด้วยไฟฟ้าและแก๊ส การติดต้ังระบบ
ท่อส่งน้าเพ่ือการเกษตร การวางผัง การหล่อคอนกรีตเสริมเหล็ก การใช้และการบารุงรักษาเคร่ืองยนต์เล็กเพ่ือ
การเกษตร การเดนิ และต่อวงจรไฟฟา้ อย่างง่าย
2. สมรรถนะประจาหนว่ ย
1. แสดงความรเู้ ก่ียวกบั ความสาคญั และสาขาของานช่างเกษตร
2. แสดงความรูเ้ กย่ี วกับการใช้เคร่ืองมือทุ่นแรงและเคร่ืองจักรกลเกษตร
3. คานึงถึงความปลอดภัยในการใช้เครื่องมือและเครื่องจกั รกลเกษตร
4. เข้าใจหลกั การงานชา่ งเกษตร
5. แสดงกิจนสิ ยั ทีด่ ใี นการทางานดว้ ยความเปน็ ระเบยี บ สะอาด ประณีต ปลอดภยั และรักษาสภาพแวดลอ้ ม
3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้
3.1 จุดประสงคท์ ั่วไป
1. เพ่ือใหม้ ีความรู้ความเข้าใจความสาคญั และสาขาของานช่างเกษตร
2. เพอื่ ใหม้ คี วามรู้ความเข้าใจการใชเ้ ครื่องมือทนุ่ แรงและเครื่องจกั รกลเกษตร
3. เพือ่ ให้มคี วามรู้ความเขา้ ใจความปลอดภัยในการใชเ้ ครื่องมือและเครอื่ งจักกลเกษตร
4. เพอ่ื ใหม้ กี จิ นสิ ัยที่ดีในการทางานด้วยความเป็นระเบียบ สะอาด ประณีต ปลอดภัย และรักษา
สภาพแวดล้อม
3.2 จุดประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม
1. อธบิ ายความสาคัญและสาขาของานช่างเกษตรได้
2. อธิบายการใช้เคร่ืองมอื ท่นุ แรงและเคร่ืองจักรกลเกษตรได้
3. ปฏบิ ัติการใชเ้ คร่อื งมือท่นุ แรงและเคร่ืองจกั รกลเกษตรได้
4. แสดงและรับฟงั ความคดิ เห็นของผู้อ่ืน ใหค้ วามรว่ มมือในการปฏิบัติงาน มีความกระตือรือรน้
ปฏบิ ัตติ ามขน้ั ตอน และมคี วามคิดหลากหลายในการแกป้ ญั หา
3
4. สาระการเรียนรู้
1. ความสาคญั และสาขาของานช่างเกษตร
2. การใช้เครอ่ื งมือทุ่นแรงและเคร่อื งจักรกลเกษตร
3. เครือ่ งมือทนุ่ แรงและเครื่องจักรกลเกษตรทส่ี าคัญในงานเกษตร
4. การใชเ้ ครอ่ื งมือทุน่ แรงและเคร่อื งจกั รกลเกษตรในภาคใต้
5. กิจกรรมการเรียน (ครงั้ ที่ 1)
1. ครูผู้สอนกล่าวต้อนรับนักเรียนและตรวจสอบรายชื่อ จานวนนักเรียน ผู้เรียนรับฟังการตรวจสอบและขาน
รับการตรวจสอบ
2. เนอ่ื งจากหนว่ ยการเรียนการสอนนี้เป็นหนว่ ยการสอนท่ี 1 จงึ จาเป็นต้องช้ีแจงและทาความเข้าใจ ใน
เร่ืองต่าง ๆ กบั นกั ศกึ ษาก่อนดังนี้
1. กิจกรรมช้ีแจงข้อตกลงของการเรยี น
1.1 นักศกึ ษาจะตอ้ งมเี วลาเรยี นไม่นอ้ ยกว่า 80% ของเวลาเรียนทั้งหมด
1.2 การใหค้ ะแนนในการเรยี น จะแบง่ คะแนนออกเป็นคะแนนคณุ ธรรม จรยิ ธรรมในการเรียน
20% คะแนนเก็บระหว่างเรยี น 60% และคะแนนสอบปลายภาค 20%
1.3 การวดั ผลและประเมนิ ผลโดยใชเ้ กณฑ์คะแนนมาตรฐาน
ความหมาย คะแนนดบิ (Scores) ระดับคะแนน (Grades)
ผลการเรยี นอยใู่ นเกณฑ์ดีเย่ยี ม 80-100 4
ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑ์ดีมาก 75-79 3.5
ผลการเรยี นอยู่ในเกณฑ์ดี 70-74 3
ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑ์ดพี อใช้ 65-69 2.5
ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑ์พอใช้ 60-64 2
ผลการเรยี นอยใู่ นเกณฑ์อ่อน 55-59 1.5
ผลการเรยี นอยู่ในเกณฑ์อ่อนมาก 50-54 1
ผลการเรยี นต่ากว่าเกณฑ์ขั้นต่า 0-49 0
3. ครูผู้สอนและตัวแทนนักเรียนร่วมกันแจกใบความรู้ แจกแบบประวัติส่วนตัวและแบบฟอร์มการตกลงใน
การเรียนร่วมกัน
4. ครูผู้สอนบรรยายตามใบความรู้ท่ี 1 และใบงาน ในเรื่อง ความสาคัญและสาขาของานช่างเกษตร การใช้
เคร่ืองมือทนุ่ แรงและเคร่ืองจักรกลเกษตร
5. ครูผู้สอนถามตอบเน้ือหาท่ีบรรยายตามใบความรู้ที่ 1 ในความสาคัญและสาขาของงานช่างเกษตร การใช้
เครอ่ื งมอื ทุ่นแรงและเครื่องจกั รกลเกษตร
6. นักเรียนและครรู ่วมกนั สรปุ เน้อื หาสาระสาคญั นกั เรียนจดบนั ทึกเพมิ่ เติม
7. ครผู สู้ อนให้นกั เรียนร่วมกนั ทาความสะอาดชน้ั เรยี น และพื้นภายในโรงงานชา่ งยนต์
8. ครูผสู้ อน อบรมคณุ ธรรม จริยธรรม เรื่องการตรงต่อเวลา
4
5. กิจกรรมการเรียน (ครง้ั ที่ 2)
1. ครูผู้สอนกล่าวทักทายพร้อมทั้งตรวจสอบรายช่ือ จานวนนักเรียน ผู้เรียนรับฟังการตรวจสอบและขานรับ
การตรวจสอบ
2. ครูผู้สอนตรวจสอบอุปกรณ์การเรียน และตรวจสอบเครื่องแต่งกาย หากพบว่าไม่เรียบร้อย ครูว่ากล่าว
ตกั เตอื น และตดั คะแนนในแบบประเมินคุณธรรมจรยิ ธรรมในทา้ ยคาบเรยี น
3. ครูผู้สอนบรรยายต่อ ตามใบความรู้ที่ 2 ในเรื่อง เคร่ืองมือทุ่นแรงและเคร่ืองจักรกลเกษตรท่ีสาคัญในงาน
เกษตร การใช้เครื่องมอื ทุ่นแรงและเคร่อื งจกั รกลเกษตรในภาคใต้
4. ครผู ู้สอนถามตอบเนอ้ื หาทีบ่ รรยายตามใบความรู้ที่ 2 ในความหมายของเคร่ืองมือทุ่นแรงและเคร่ืองจักรกล
เกษตรที่สาคัญในงานเกษตร การใช้เครอ่ื งมือทุน่ แรงและเครอื่ งจักรกลเกษตรในภาคใต้
5. นกั เรยี นสาธิตการใชเ้ ครอื่ งมอื ทุน่ แรงและเครอ่ื งจักรกลเกษตร
6. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปเน้ือหาสาระสาคัญ นักเรยี นจดบันทึกเพมิ่ เตมิ
7. ครูผูส้ อนให้นักเรียนรว่ มกันทาความสะอาดชน้ั เรยี น
8. ครผู สู้ อน อบรมคุณธรรม จรยิ ธรรม เรอ่ื งความมวิ นิ ัยต่อการเรยี น
การบูรณาการกบั หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
1. ความพอประมาณ
- มีใบงานให้คานวณขนาดของวัสดทุ ่ีทาให้ไม่เหลือเศษทิ้งขวา้ ง
- จดั เวรใหน้ กั เรียนเบกิ เครอื่ งมือและอปุ กรณ์ ให้พอดเี หมาะสมกับความจาเปน็ ทีต่ ้องใชใ้ นการปฏิบัติงานแต่ละคร้ัง
2. ความมีเหตุผล
- ให้นักศึกษาร่วมกัน งานช่างเกษตร
3. การมภี ูมคิ ุ้มกันในตวั ท่ีดี
- ปลูกฝงั ใหน้ ักเรียนปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบอย่างเคร่งครดั
- กาหนดกฎระเบียบและขอ้ บังคบั ในการทางานเก่ียวกบั การใช้เครอื่ งมือ และ การบารุงรกั ษาก่อนและหลังการ
ปฏิบตั ิงาน
- สาธติ การปฏิบัตงิ านการใชเ้ คร่อื งมือแบบผิดๆซ่ึงจะกอ่ ให้เกิดการเสยี หายของเคร่ืองมืออุปกรณ์ ก่อนปฏิบัติงาน
เหลา่ นนั้
4. เงื่อนไขความรู้
- มคี วามรู้ความเข้าใจถกู ต้องเกี่ยวกับงานช่างเกษตร
5. เง่ือนไขคุณธรรม
- ผเู้ รยี นมีความรบั ผดิ ชอบ มรี ะเบียบวินยั มีความสนใจใฝ่รู้ มีมนษุ ยสมั พนั ธ์ และมีความเชอื่ มั่นในตนเอง
การบรู ณาการกบั มาตรฐานสถานศกึ ษา 3 ดี
1. ด้านประชาธิปไตย
- ผูเ้ รียนสามารถตัดสนิ ใจเลือกกลุม่ ตามความสมคั รใจ และในการจัดกล่มุ ครัง้ ที่สองผ้เู รยี นมีโอกาสออกเสียงทจ่ี ะ
จัดตามกลมุ่ เดิมหรือจดั กลุม่ ใหม่ และเคารพในผลการออกเสยี ง
- ผู้เรียนแสดงและรบั ฟังความคิดเห็นของผู้อ่ืน
5
2. ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรมและความเป็นไทย
- ผเู้ รียนมีความรับผิดชอบ มรี ะเบยี บวนิ ยั มีความสนใจใฝร่ ู้ มีมนุษยสัมพนั ธ์ และมคี วามเช่ือมนั่ ในตนเอง
3. ด้านภมู ิคุ้มกนั ภัยจากยาเสพตดิ
- ผู้เรยี นใช้เวลาวา่ งในการทารายงานผลการปฏบิ ัตกิ ิจกรรมและตอบคาถามทา้ ยกจิ กรรม
รวมท้งั ทาแบบฝึกหัดสง่ ในสปั ดาหถ์ ัดไป
การบรู ณการค่านยิ มหลกั ของคนไทย 12 ประการ ตามนโยบายของ คสช.
1. มีความรกั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์
2. ซือ่ สัตย์ เสยี สละ อดทน มีอดุ มการณ์ในสง่ิ ทด่ี ีงามเพ่ือส่วนรวม
3. กตัญญตู อ่ พ่อแม่ ผู้ปกครอง ครบู าอาจารย์
4. ใฝห่ าความรู้ หมน่ั ศกึ ษาเล่าเรยี นทงั้ ทางตรง และทางอ้อม
5. รกั ษาวัฒนธรรมประเพณีไทยอันงดงาม
6. มีศีลธรรม รักษาความสัตย์ หวังดตี ่อผู้อ่ืน เผ่อื แผ่และแบ่งปนั
7. เข้าใจเรียนรกู้ ารเป็นประชาธปิ ไตย อันมีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมขุ ที่ถูกต้อง
8. มีระเบยี บวินยั เคารพกฎหมาย ผนู้ ้อยรู้จกั การเคารพผู้ใหญ่
9. มสี ติรู้ตวั รคู้ ดิ รู้ทา รปู้ ฏบิ ตั ิตามพระราชดารสั ของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ วั
10. รจู้ กั ดารงตนอย่โู ดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดารสั ของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หู วั
รจู้ ักอดออมไว้ใช้เมื่อยามจาเป็น มไี วพ้ อกนิ พอใช้ ถ้าเหลือก็แจกจา่ ยจาหน่าย และพร้อมที่จะขยายกิจการเม่ือมคี วาม
พร้อม เมอ่ื มีภมู ิคุ้มกนั ที่ดี
11. มคี วามเข้มแข็งทง้ั ร่างกาย และจิตใจ ไม่ยอมแพต้ ่ออานาจฝ่ายตา่ หรือกเิ ลส มคี วามละอายเกรงกลัวต่อ
บาปตามหลักของศาสนา
12. คานงึ ถงึ ผลประโยชน์ของส่วนรวม และของชาติมากกว่าผลประโยชน์ของตนเอง
6. สื่อการเรียนรู้
สือ่ สิ่งพิมพ์
1. เครอ่ื งจักรกลการเษตร ของ จกั ร จักกะพาก และยาซุมะ สะโคงะ.
2. เคร่อื งทุ่นแรงฟารม์ ของ ประชุม เนตรสบื สาย และพนั ทิพา อันทิวโรทยั .
3. แทรกเตอร์ ของ ประณต กุลสตู ร
4. แบบทดสอบกอ่ นเรยี นแบบเลือกตอบ จานวน 15 ข้อ
สื่ออเิ ล็กทรอนิกส์
1. Power Point เร่ืองงานชา่ งเกษตร
สอ่ื ของจรงิ
1. เคร่ืองทนุ แรงฟารม์ ที่ใชใ้ นงานเกษตร
2. เคร่อื งมอื ที่อุปกรณ์ใชใ้ นงานช่างเกษตร
7. หลักฐานการเรยี นรู้
6
7.1 หลักฐานความรู้
1. ผลการทดสอบ
2. ผลการทาแบบฝึกหดั
3. ผลการตอบคาถามท้ายกจิ กรรม
7.2 หลักฐานการปฏบิ ัติงาน
1. แบบรายงานผลการทากจิ กรรม
2. แผนผงั ความคิดเร่อื งงานช่างเกษตร
8. การวดั ผลประเมินผล
การวดั ผล
1. สงั เกตพฤติกรรมการแสดงและรบั ฟังความคดิ เห็นของผู้อ่นื การให้ความรว่ มมือในการปฏิบัตงิ าน ความ
กระตือรอื ร้น ปฏบิ ัตงิ านตามข้ันตอน การปฏบิ ัตงิ านอย่างระมดั ระวงั และมีความสะอาด การมีความคดิ หลากหลาย
ในการแกป้ ัญหา โดยใช้แบบสงั เกตพฤติกรรม
2. สังเกตการนาเสนอผลงาน โดยใชแ้ บบประเมินกิจกรรม
3. ตรวจแบบฝึกหดั โดยใชใ้ บเฉลยแบบฝกึ หดั
4. ตรวจรายงานผลการทากิจกรรม
5. ตรวจแบบทดสอบหลงั เรียน หน่วยที่ 1 งานชา่ งเกษตรเบื้องต้น โดยใช้ใบเฉลยแบบทดสอบ
การประเมินผล
นกั เรยี นที่ได้คะแนนรอ้ ยละ 60 ขน้ึ ไป ถือว่าผ่านการประเมิน
9. กิจกรรมเสนอแนะ/งานท่ีมอบหมาย (ถ้ามี)
- .ใหน้ กั เรียนไปคน้ คว้าหาความร้เู ร่อื งงานชา่ งเกษตรเบือ้ งต้น
10. เอกสารอา้ งองิ
1. จกั ร จักกะพาก และยาซุมะ สะโคงะ. เครื่องจักรกลการเษตร. พมิ พ์ครั้งที่2. กรงุ เทพ : โรงพมิ พ์คุรุสภา
ลาดพร้าว, 2528
2. ประชมุ เนตรสบื สาย และพันทิพา อันทวิ โรทัย. เครอ่ื งท่นุ แรงฟาร์ม. พมิ พ์ครงั้ ที่2. ศนู ยว์ ิศวกรรม
เกษตรบางพนู .ม.ป.ท.,ม.ป.ป.
3. ประณต กุลสตู ร. แทรกเตอร์. พมิ พ์ครั้งท่2ี . กรงุ เทพ : ฟันนพ่ี ับลิชชิง่
4. มงคล กวางวโรภาส. เคร่อื งทุนแรงฟาร์ม. กรุงเทพ : ประชาชน (แผนกการพิมพ)์ ,2530
11. บนั ทึกหลังสอน
11.1 ข้อสรุปหลังการจดั การเรียนรู้
7
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
11.2 ปญั หาอุปสรรคที่พบ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
11.3 แนวทางแก้ปญั หาหรือพฒั นา
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
7
การออกแบบการจดั การเรียนรูห้ น่วยที่ 2
เรื่องการเชือ่ มโลหะด้วยไฟฟ้า
มเี หตุผล พอประมาณ
1. เพื่อใหม้ ีความรเู้ ขา้ ใจเกี่ยวกับการเช่ือม 3. เตรยี ม เลือกใช้ วัสดุ อปุ กรณไ์ ด้ มภี มู คิ ุ้มกัน
โลหะด้วยไฟฟ้า เหมาะสมกับการการเรยี น
4. เข้าใจหลกั การและความสาคญั
2. เพ่ือใหม้ คี วามรเู้ ข้าใจการใช้เครื่องมือ
และอุปกรณก์ ารเช่ือมไฟฟา้ ในการเช่ือมโลหะด้วยไฟฟา้
3. เพอ่ื ใหม้ คี วามรเู้ ข้าใจความปลอดภัยใน 5. แสดงกจิ นสิ ยั ท่ีดใี นการทางาน
การเชอื่ มไฟฟา้
ด้วยความเป็นระเบียบ สะอาด
ประณตี ปลอดภยั และรักษา
สภาพแวดลอ้ ม
การเชื่อมโลหะด้วยไฟฟ้า
ความรู้ + ทักษะ คณุ ธรรม
1. การเชื่อมโลหะดว้ ยไฟฟ้า 1. มคี วามรับผิดชอบ
2. เครื่องมอื และอุปกรณ์การเชือ่ มไฟฟา้ 2. มีระเบียบวนิ ยั
3. การเรม่ิ ตน้ การเชื่อมและองค์ประกอบในการ 3. มคี วามสนใจใฝร่ ู้
4. มีมนุษยสัมพนั ธ์
เชือ่ มไฟฟ้า
วฒั นธร5ร.ม มคี วามเชื่อมน่ั สใง่ินแตวนดเอลง้อม
4. ความปลอดสภงั ัยคในมการเชอื่ มไฟฟา้ เศรษฐกจิ
8
1, 2, 3 1, 2, 3, 3 3,4,5
แผนการจดั การเรียนรู้รายหนว่ ย
รหสั วิชา 2501 – 2003 ชื่อวิชาช่างเกษตรเบ้ืองตน้ 3 (4) ชม./ สปั ดาห์ สอนครัง้ ท่ี 3-4
หนว่ ยที่ 2 ชอ่ื หน่วยการเช่อื มโลหะดว้ ยไฟฟา้ เวลา 8
ชม.
1. สาระสาคญั
หลักการเชอ่ื มโลหะด้วยไฟฟา้ เป็นกระบวนการท่ีทาให้โลหะตดิ กนั ดว้ ยการหลอมละลาย โดนอาศัยความร้อน
จากการอารค์ ทเี่ กดิ ขึ้นระหวา่ ง ลวดเช่ือมกบั โลหะงานที่ตอ้ งการเชอื่ ม
อุณหภูมิในการอาร์ค โดยเฉลี่ยประมาณ 6,000 องศาฟาเรนไฮด์ หรือ 3,316 องศาเซลเซียส เนื้อที่บริเวณของ
แผ่นโลหะ หรืองานที่ถูเช่ือมหลอมละลาย ในขณะเดียวกัน ปลายของลวดเช่ือมก็จะหลอมละลายเช่นกัน และจะแผ่
ขยายลงไปบนโลหะแผ่นานท่ีจะเช่ือมน้นั เมื่อเคลื่อนลวดเชื่อมไปตามรอยต่อโดยจ่อลวดเชอ่ื มใหอ้ ยู่ใกลก้ ับแผ่นงานเรา
ก็สามารถบังคับให้ลวดเช่ือมที่หลอมละลายแล้วหยดไปบนแผ่นงานได้ ในการเชื่อมควรจะควบคุมความเร็วในการ
เคลื่อนที่ด้วย เพ่ือที่แนวเชื่อมจะได้ฝังตัวลงในแผ่นโลหะได้ดี ลวดเช่ือมจะหลอมละลายเติมลงระหว่างแผ่นโลหะทั้ง
สองจนเป็นแนวเช่อื มได้
2. สมรรถนะประจาหน่วย
1. แสดงความรู้เกย่ี วกบั การเช่ือมโลหะดว้ ยไฟฟ้า
2. แสดงความรเู้ ก่ยี วกับเครื่องมือและอปุ กรณ์การเช่ือมไฟฟ้า
3. คานงึ ถงึ ความปลอดภยั ในการใช้เคร่ืองมือและอุปกรณ์การเชอ่ื มไฟฟา้
4. แสดงกิจนิสัยทีด่ ใี นการทางานดว้ ยความเปน็ ระเบียบ สะอาด ประณตี ปลอดภัย และรักษาสภาพแวดล้อม
3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
3.1 จุดประสงค์ท่ัวไป
1. เพอื่ ให้มีความรู้ความเขา้ ใจการเชื่อมโลหะด้วยไฟฟ้า
2. เพือ่ ให้มคี วามรู้ความเข้าใจการใช้เครอ่ื งมือและอุปกรณ์การเชื่อมไฟฟ้า
3. เพอ่ื ให้มคี วามรู้ความเข้าใจความปลอดภัยในการใช้เครื่องมือและอปุ กรณ์การเชื่อมไฟฟา้
4. เพอ่ื ใหม้ ีกจิ นิสัยที่ดีในการทางานด้วยความเป็นระเบียบ สะอาด ประณีต ปลอดภัย และรักษา
สภาพแวดลอ้ ม
9
3.2 จดุ ประสงค์เชงิ พฤติกรรม
1. อธิบายความสาคัญการเช่อื มโลหะดว้ ยไฟฟา้ ได้
2. อธบิ ายการใชเ้ คร่ืองมือและอุปกรณก์ ารเช่ือมไฟฟ้าได้
3. ปฏิบัติการใชเ้ ครอ่ื งมือและอปุ กรณก์ ารเช่ือมไฟฟ้าได้
4. แสดงและรับฟงั ความคิดเห็นของผู้อื่น ใหค้ วามร่วมมือในการปฏิบตั ิงาน มคี วามกระตือรือรน้
ปฏิบัติตามขัน้ ตอน และมีความคิดหลากหลายในการแก้ปัญหา
4. สาระการเรยี นรู้
1. การเช่อื มโลหะด้วยไฟฟา้
2. เครอื่ งมอื และอุปกรณ์การเชื่อมไฟฟ้า
3. การเร่ิมต้นการเชอ่ื มและองค์ประกอบในการเชื่อมไฟฟา้
4. ความปลอดภัยในการเชอ่ื มไฟฟ้า
5. กิจกรรมการเรียน (ครัง้ ท่ี 3)
1. ครูผู้สอนกล่าวต้อนรับนักเรียนและตรวจสอบรายชื่อ จานวนนักเรียน ผู้เรียนรับฟังการตรวจสอบและขาน
รบั การตรวจสอบ
2. ครูผู้สอนตรวจสอบอุปกรณ์การเรียน และตรวจสอบเคร่ืองแต่งกาย หากพบว่าไม่เรียบร้อย ครูว่ากล่าว
ตักเตอื น และตดั คะแนนในแบบประเมินคณุ ธรรมจริยธรรมในทา้ ยคาบเรียน
3. ครูผู้สอนบรรยายตามใบความรู้ที่ 3 และใบงาน ในเร่ือง การเชื่อมโลหะด้วยไฟฟ้า เครื่องมือและอุปกรณ์
การเชอื่ มไฟฟ้า
4. ครูผู้สอนถามตอบเนื้อหาท่ีบรรยายตามใบความรู้ท่ี 3 ในเร่ืองการเช่ือมโลหะด้วยไฟฟ้า เคร่ืองมือและ
อุปกรณ์การเชอ่ื มไฟฟ้า
5. นักเรียนสาธติ การใช้เครอ่ื งมือและอปุ กรณ์การเชอื่ มไฟฟ้า
6. นกั เรียนและครูรว่ มกนั สรุปเน้ือหาสาระสาคัญ นกั เรียนจดบนั ทึกเพิ่มเตมิ
7. ครผู สู้ อนใหน้ กั เรียนร่วมกนั ทาความสะอาดชั้นเรียน และพื้นภายในโรงงานช่างยนต์
8. ครผู สู้ อน อบรมคณุ ธรรม จริยธรรม เรือ่ งการตรงต่อเวลา
5. กจิ กรรมการเรยี น (ครงั้ ท่ี 4)
1. ครูผู้สอนกล่าวทักทายพร้อมท้ังตรวจสอบรายช่ือ จานวนนักเรียน ผู้เรียนรับฟังการตรวจสอบและขานรับ
การตรวจสอบ
2. ครูผู้สอนตรวจสอบอุปกรณ์การเรียน และตรวจสอบเคร่ืองแต่งกาย หากพบว่าไม่เรียบร้อย ครูว่ากล่าว
ตักเตือน และตัดคะแนนในแบบประเมนิ คณุ ธรรมจรยิ ธรรมในทา้ ยคาบเรยี น
3. ครผู ู้สอนบรรยายต่อ ตามใบความรทู้ ่ี 4 ในเร่ือง การเรมิ่ ตน้ การเช่ือมและองคป์ ระกอบในการเชือ่ มไฟฟา้
ความปลอดภยั ในการเชอื่ มไฟฟา้
10
4. ครูผู้สอนถามตอบเนื้อหาที่บรรยายตามใบความรู้ท่ี 4 ในเรื่องการเรม่ิ ต้นการเชื่อมและองค์ประกอบในการ
เชือ่ มไฟฟ้า ความปลอดภัยในการเชอื่ มไฟฟา้
5. นกั เรยี นสาธติ การใช้เคร่ืองมือและอปุ กรณก์ ารเช่อื มไฟฟ้า
6. นักเรยี นและครรู ว่ มกันสรุปเนื้อหาสาระสาคญั นกั เรยี นจดบนั ทกึ เพิม่ เติม
7. ครผู ้สู อนให้นกั เรยี นรว่ มกันทาความสะอาดชนั้ เรยี น
8. ครูผ้สู อน อบรมคุณธรรม จริยธรรม เรือ่ งความมวิ นิ ยั ต่อการเรียน
การบรู ณาการกับหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
1. ความพอประมาณ
- มีใบงานให้คานวณขนาดของวัสดุทีท่ าใหไ้ ม่เหลือเศษท้ิงขว้าง
- จดั เวรให้นักเรียนเบกิ เครอ่ื งมือและอปุ กรณ์ ให้พอดีเหมาะสมกับความจาเป็นที่ต้องใช้ในการปฏิบัติงานแตล่ ะคร้งั
2. ความมเี หตุผล
- ให้นกั ศึกษาร่วมกันสรุป การเชือ่ มโลหะด้วยไฟฟา้
3. การมีภูมิคุ้มกนั ในตัวทด่ี ี
- ปลูกฝงั ใหน้ กั เรยี นปฏิบตั ิตามกฎระเบยี บอย่างเคร่งครดั
- กาหนดกฎระเบยี บและข้อบังคับในการทางานเกี่ยวกับการใช้เครื่องมือ และ การบารงุ รักษาก่อนและหลงั การ
ปฏบิ ัติงาน
- สาธิตการปฏิบัติงานการใชเ้ ครอ่ื งมือแบบผดิ ๆซึ่งจะกอ่ ใหเ้ กิดการเสยี หายของเคร่ืองมืออุปกรณ์ ก่อนปฏบิ ัติงาน
เหลา่ นั้น
4. เง่อื นไขความรู้
- มีความรู้ความเขา้ ใจถกู ต้องเก่ียวกบั การเชือ่ มโลหะดว้ ยไฟฟ้า
5. เง่ือนไขคุณธรรม
- ผู้เรียนมีความรบั ผิดชอบ มีระเบยี บวินยั มีความสนใจใฝร่ ู้ มีมนษุ ยสมั พันธ์ และมีความเชื่อม่นั ในตนเอง
การบูรณาการกบั มาตรฐานสถานศึกษา 3 ดี
1. ด้านประชาธิปไตย
- ผเู้ รยี นสามารถตัดสินใจเลือกกลุ่มตามความสมัครใจ และในการจดั กลุ่มครั้งท่ีสองผู้เรียนมีโอกาสออกเสียงท่ีจะ
จดั ตามกลมุ่ เดิมหรอื จดั กล่มุ ใหม่ และเคารพในผลการออกเสียง
- ผ้เู รียนแสดงและรับฟังความคิดเหน็ ของผู้อน่ื
2. ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและความเป็นไทย
- ผู้เรียนมีความรับผิดชอบ มีระเบียบวินัย มีความสนใจใฝ่รู้ มีมนษุ ยสัมพนั ธ์ และมคี วามเช่อื มัน่ ในตนเอง
11
3. ด้านภมู ิคมุ้ กันภยั จากยาเสพตดิ
- ผู้เรียนใชเ้ วลาวา่ งในการทารายงานผลการปฏบิ ตั กิ ิจกรรมและตอบคาถามท้ายกจิ กรรม
รวมทั้งทาแบบฝึกหัดสง่ ในสัปดาห์ถัดไป
การบรู ณการคา่ นยิ มหลักของคนไทย 12 ประการ ตามนโยบายของ คสช.
1. มีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์
2. ซื่อสัตย์ เสยี สละ อดทน มีอดุ มการณใ์ นสงิ่ ทด่ี ีงามเพ่ือส่วนรวม
3. กตญั ญูต่อพ่อแม่ ผ้ปู กครอง ครบู าอาจารย์
4. ใฝห่ าความรู้ หมั่นศกึ ษาเล่าเรยี นท้งั ทางตรง และทางอ้อม
5. รกั ษาวัฒนธรรมประเพณีไทยอันงดงาม
6. มีศีลธรรม รักษาความสัตย์ หวงั ดีตอ่ ผ้อู ่ืน เผอื่ แผ่และแบ่งปนั
7. เข้าใจเรียนรู้การเปน็ ประชาธปิ ไตย อันมีพระมหากษตั ริย์ทรงเป็นประมุขท่ีถกู ต้อง
8. มีระเบยี บวินยั เคารพกฎหมาย ผ้นู ้อยรจู้ ักการเคารพผใู้ หญ่
9. มีสติร้ตู วั ร้คู ิด รทู้ า รปู้ ฏิบัติตามพระราชดารสั ของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หวั
10. รจู้ กั ดารงตนอยูโ่ ดยใชห้ ลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งตามพระราชดารสั ของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั
รู้จักอดออมไวใ้ ชเ้ ม่ือยามจาเป็น มีไว้พอกินพอใช้ ถ้าเหลอื ก็แจกจา่ ยจาหน่าย และพร้อมทจี่ ะขยายกิจการเมอ่ื มีความ
พร้อม เมอื่ มีภูมิคุม้ กนั ท่ดี ี
11. มคี วามเข้มแข็งท้ังรา่ งกาย และจติ ใจ ไมย่ อมแพ้ต่ออานาจฝ่ายตา่ หรือกเิ ลส มคี วามละอายเกรงกลวั ต่อ
บาปตามหลกั ของศาสนา
12. คานงึ ถึงผลประโยชนข์ องส่วนรวม และของชาติมากกว่าผลประโยชน์ของตนเอง
6. สือ่ การเรียนรู้
สื่อสิง่ พิมพ์
1. คู่มือการเชื่อมโลหะ1 ของ คะเณย์ วรรณโท และแสงชยั ตรงเจริญสุข.
2. งานเช่ือมโลหะแผ่นทว่ั ไป ของ นริศ ศรีเมฆ และพชิ ัย โอภาสอนนั ต์
3. งานเช่ือมโลหะเบ้ืองตน้ ของ วีระ รัตนไชย
4. แบบทดสอบกอ่ นเรียนแบบเลือกตอบ จานวน 15 ข้อ
ส่ืออิเลก็ ทรอนกิ ส์
1. Power Point เรอื่ งการเช่ือมโลหะดว้ ยไฟฟ้า
สื่อของจริง
1. เคร่อื งเช่ือมไฟฟา้
2. เครอ่ื งมือท่ีอุปกรณใ์ ช้ในงานเชื่อมไฟฟา้
7. หลักฐานการเรียนรู้
12
7.1 หลักฐานความรู้
1. ผลการทดสอบ
2. ผลการทาแบบฝกึ หดั
3. ผลการตอบคาถามท้ายกจิ กรรม
7.2 หลักฐานการปฏบิ ตั ิงาน
1. แบบรายงานผลการทากจิ กรรม
2. แผนผงั ความคิดเรือ่ งการเชื่อมโลหะดว้ ยไฟฟ้า
8. การวัดผลประเมินผล
การวดั ผล
1. สงั เกตพฤติกรรมการแสดงและรับฟังความคดิ เหน็ ของผู้อื่น การให้ความร่วมมือในการปฏิบตั งิ าน ความ
กระตือรอื รน้ ปฏบิ ัติงานตามขน้ั ตอน การปฏบิ ัตงิ านอย่างระมัดระวงั และมีความสะอาด การมคี วามคดิ หลากหลาย
ในการแกป้ ญั หา โดยใชแ้ บบสังเกตพฤตกิ รรม
2. สงั เกตการนาเสนอผลงาน โดยใชแ้ บบประเมนิ กจิ กรรม
3. ตรวจแบบฝึกหดั โดยใช้ใบเฉลยแบบฝกึ หดั
4. ตรวจรายงานผลการทากิจกรรม
5. ตรวจแบบทดสอบหลงั เรยี น หน่วยที่ 2 การเชื่อมโลหะดว้ ยไฟฟา้ โดยใช้ใบเฉลยแบบทดสอบ
การประเมนิ ผล
นักเรียนท่ไี ด้คะแนนรอ้ ยละ 60 ขึ้นไป ถอื ว่าผ่านการประเมิน
9. กจิ กรรมเสนอแนะ/งานที่มอบหมาย (ถา้ มี)
- .ใหน้ กั เรียนไปค้นคว้าหาความร้เู รือ่ งการเชอ่ื มโลหะด้วยไฟฟ้า
10. เอกสารอ้างอิง
1. คะเณย์ วรรณโท และแสงชยั ตรงเจรญิ สขุ .คูม่ อื การเชอื่ มโลหะ1. สถาบนั พฒั นาอุตสาหกรรม
เครอ่ื งจักรกลและโลหะการ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม, ม.ป.ป.
2. จรญู พรมสทุ ธิ์ และอานาจ ทองแสน. กระบวนการเช่อื ม. กรงุ เทพ : สานักนกั พมิ พเ์ อมพนั ธ,์ 2544
3. นริศ ศรีเมฆ และพิชยั โอภาสอนันต์. งานเช่อื มโลหะแผ่นทั่วไป. กรงุ เทพ : สานักพมิ พ์เอมพนั ธ,์
2542
4. บรษิ ทั ไทย-โกเบล เวลดิง้ จากดั .คู่มือวัสดแุ ละอุปกรณ์งานเชอ่ื ม. ม.ป.ป.
5. วรี ะ รตั นไชย. งานเช่ือมโลหะเบื้องตน้ . กรุงเทพ : นาอักษรการพิมพ,์ 2538
13
6. สมบูรณ์ เต็งหงสเ์ จริญ และคณะ. เชอื่ มโลหะ1. พิมพ์ครั้งท่2ี . กรุงเทพ : สถาบัเทคโนโลยรี าชมงคล
วทิ ยาเขตเทคนคิ กรุงเทพ, 2532
11. บันทึกหลังสอน
11.1 ข้อสรุปหลังการจัดการเรียนรู้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
11.2 ปัญหาอปุ สรรคที่พบ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
11.3 แนวทางแก้ปัญหาหรือพฒั นา
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
13
การออกแบบการจดั การเรียนรหู้ น่วยที่ 3
เรื่องการเช่อื มโลหะดว้ ยแกส๊
มเี หตผุ ล พอประมาณ
1. เพอ่ื ให้มคี วามรเู้ ข้าใจเกีย่ วกับการเช่ือม 3. เตรียม เลอื กใช้ วสั ดุ อุปกรณไ์ ด้ มีภมู ิคุ้มกัน
โลหะดว้ ยแกส๊ เหมาะสมกับการการเรียน
4. เข้าใจหลกั การและความสาคัญ
2. เพือ่ ใหม้ คี วามรเู้ ข้าใจการใช้เคร่อื งมือ
และอปุ กรณ์การเชื่อมแกส๊ ในการเชื่อมโลหะด้วยแกส๊
3. เพอ่ื ใหม้ คี วามรเู้ ขา้ ใจความปลอดภยั ใน 5. แสดงกิจนสิ ยั ทดี่ ีในการทางาน
การเชอื่ มแก๊ส
ดว้ ยความเปน็ ระเบยี บ สะอาด
ประณตี ปลอดภยั และรักษา
สภาพแวดล้อม
การเชื่อมโลหะด้วยแก๊ส
ความรู้ + ทกั ษะ คณุ ธรรม
1. หลักการเชอื่ มโลหะดว้ ยแกส๊ 1. มีความรบั ผดิ ชอบ
2. คุณลกั ษณะของแก๊สอเซทิลนี ที่ใชใ้ นการเชอ่ื ม
3. คุณลักษณะของแกส๊ ออกซเิ จน 2. มีระเบยี บวินยั
4. เคร่ืองมอื และอุปกรณ์การเช่ือมแก๊ส
5. เปลวไฟในการเชอ่ื มแก๊สและการใชง้ าน 3. มคี วามสนใจใฝร่ ู้
6. ความปลอสดังภคัยมในการเชือ่ มโลหะดเ้วศยรแษก๊สฐกจิ 4. มีมนุษยสมั พันธ์
1, 2, 3 1, 2, 3,
5. มคี วามเชอ่ื ม่ันในตนเอง
วัฒนธรรม สิง่ แวดล้อม
3 3,4,5
14
แผนการจดั การเรยี นรู้รายหน่วย
รหัสวิชา 2501 – 2003 ชือ่ วิชาช่างเกษตรเบือ้ งต้น 3 (4) ชม./ สปั ดาห์ สอนครง้ั ท่ี 5-7
หน่วยที่ 3 ช่ือหน่วยการเชอ่ื มโลหะด้วยแก๊ส เวลา 12 ชม.
1. สาระสาคัญ
การเชื่อมโลหะด้วยแก๊ส แก๊สท่ีใช้เป็นแก๊สเชื้อเพลิง ร่วมกับออกซิเจนและให้ความร้อนสูงซึ่งมีหลายชนิด
เช่น อะเซทิลนี โพรเพน และโพรพลี ีน แต่ทั้งหมดที่กล่าวมา อะเซทิลนี เม่ือรวมตัวกับออกซิเจนและเผาไหม้ จะให้
ความร้อนสูงกว่าแกส๊ ชนดิ อน่ื ๆดงั น้ันในการเชื่อมโลหะด้วยแกส๊ จึงนิยมใชแ้ ก๊สอะเซทิลีน ร่วมกับแก๊สออกซเิ จนกันอย่าง
แพรห่ ลาย
2. สมรรถนะประจาหน่วย
1. แสดงความรู้เกี่ยวกบั การเชื่อมโลหะดว้ ยแกส๊
2. แสดงความร้เู กี่ยวกบั เครื่องมือและอุปกรณก์ ารเช่ือมโลหะดว้ ยแกส๊
3. คานงึ ถึงความปลอดภยั ในการใช้เครอื่ งมือและอปุ กรณ์การเช่อื มโลหะด้วยแก๊ส
4. แสดงกิจนิสัยที่ดีในการทางานด้วยความเป็นระเบยี บ สะอาด ประณีต ปลอดภยั และรักษาสภาพแวดล้อม
3. จุดประสงค์การเรยี นรู้
3.1 จุดประสงคท์ ั่วไป
1. เพือ่ ให้มีความรู้ความเขา้ ใจการเชือ่ มโลหะดว้ ยแกส๊
2. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจการใช้เครอ่ื งมือและอปุ กรณ์การเชือ่ มโลหะดว้ ยแกส๊
3. เพอื่ ให้มีความรู้ความเขา้ ใจความปลอดภัยในการใช้เครื่องมือและอปุ กรณก์ ารเชื่อมโลหะด้วยแก๊ส
4. เพื่อใหม้ ีกิจนสิ ัยที่ดีในการทางานด้วยความเป็นระเบียบ สะอาด ประณีต ปลอดภยั และรักษา
สภาพแวดล้อม
3.2 จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม
1. อธิบายความสาคัญการเชื่อมโลหะด้วยแกส๊
2. อธิบายการใช้เคร่ืองมอื และอุปกรณ์การเชื่อมโลหะด้วยแก๊ส
3. ปฏิบัติการใชเ้ ครอ่ื งมือและอุปกรณก์ ารเชื่อมโลหะด้วยแกส๊
4. แสดงและรับฟังความคดิ เหน็ ของผู้อ่นื ให้ความรว่ มมือในการปฏิบตั งิ าน มีความกระตือรอื รน้
ปฏบิ ัตติ ามขั้นตอน และมคี วามคดิ หลากหลายในการแก้ปญั หา
4. สาระการเรียนรู้
15
1. หลักการเชอ่ื มโลหะด้วยแกส๊
2. คณุ ลกั ษณะของแก๊สอเซทิลนี ท่ีใช้ในการเช่ือม
3. คณุ ลักษณะของแกส๊ ออกซิเจน
4. เคร่ืองมือและอุปกรณ์การเช่อื มแกส๊
5. เปลวไฟในการเชอื่ มแก๊สและการใชง้ าน
6. ความปลอดภัยในการเชอื่ มโลหะดว้ ยแกส๊
5. กิจกรรมการเรียน (ครง้ั ที่ 5)
1. ครูผู้สอนกล่าวต้อนรับนักเรียนและตรวจสอบรายช่ือ จานวนนักเรียน ผู้เรียนรับฟังการตรวจสอบและขาน
รบั การตรวจสอบ
2. ครูผู้สอนตรวจสอบอุปกรณ์การเรียน และตรวจสอบเครื่องแต่งกาย หากพบว่าไม่เรียบร้อย ครูว่ากล่าว
ตกั เตือน และตัดคะแนนในแบบประเมินคุณธรรมจรยิ ธรรมในท้ายคาบเรียน
3. ครผู สู้ อนบรรยายตามใบความรู้ที่ 5 และใบงาน ในเร่ือง หลกั การเชอื่ มโลหะด้วยแกส๊
4. ครูผูส้ อนถามตอบเนอื้ หาที่บรรยายตามใบความรูท้ ่ี 5 ในเรอ่ื ง หลกั การเช่ือมโลหะด้วยแกส๊
5. นักเรียนสาธติ การใช้เคร่อื งมอื และอุปกรณก์ ารเชอื่ มโลหะดว้ ยแกส๊
6. นกั เรยี นและครูรว่ มกันสรปุ เน้อื หาสาระสาคญั นกั เรยี นจดบนั ทกึ เพ่มิ เตมิ
7. ครูผู้สอนใหน้ ักเรยี นร่วมกนั ทาความสะอาดชน้ั เรยี น และพ้นื ภายในโรงงานช่างยนต์
8. ครูผู้สอน อบรมคุณธรรม จรยิ ธรรม เรอ่ื งการตรงตอ่ เวลา
5. กิจกรรมการเรียน (ครง้ั ที่ 6)
1. ครูผู้สอนกล่าวทักทายพร้อมทั้งตรวจสอบรายช่ือ จานวนนักเรียน ผู้เรียนรับฟังการตรวจสอบและขานรับ
การตรวจสอบ
2. ครูผู้สอนตรวจสอบอุปกรณ์การเรียน และตรวจสอบเครื่องแต่งกาย หากพบว่าไม่เรียบร้อย ครูว่ากล่าว
ตักเตือน และตัดคะแนนในแบบประเมินคุณธรรมจรยิ ธรรมในท้ายคาบเรยี น
3. ครผู ู้สอนบรรยายต่อ ตามใบความรทู้ ่ี 5 ในเรื่อง หลักการเชอื่ มโลหะด้วยแกส๊
4. ครูผู้สอนถามตอบเนื้อหาท่บี รรยายตามใบความรู้ที่ 5 หลักการเชื่อมโลหะด้วยแก๊ส
5. นักเรยี นสาธิตการใช้เครือ่ งมือและอุปกรณ์การเช่อื มโลหะด้วยแกส๊
6. นกั เรยี นและครรู ว่ มกนั สรปุ เนือ้ หาสาระสาคัญ นกั เรียนจดบนั ทกึ เพ่ิมเติม
7. ครูผู้สอนให้นักเรยี นร่วมกันทาความสะอาดชน้ั เรยี น
8. ครูผู้สอน อบรมคุณธรรม จรยิ ธรรม เรื่องความมวิ นิ ยั ต่อการเรียน
5. กิจกรรมการเรียน (ครง้ั ท่ี 7)
16
1. ครูผู้สอนกล่าวทักทายพร้อมท้ังตรวจสอบรายช่ือ จานวนนักเรียน ผู้เรียนรับฟังการตรวจสอบและขานรับ
การตรวจสอบ
2. ครูผู้สอนตรวจสอบอุปกรณ์การเรียน และตรวจสอบเคร่ืองแต่งกาย หากพบว่าไม่เรียบร้อย ครูว่ากล่าว
ตักเตอื น และตดั คะแนนในแบบประเมนิ คุณธรรมจริยธรรมในท้ายคาบเรียน
3. ครูผู้สอนบรรยายตอ่ ตามใบความรู้ท่ี 5 ในเร่ือง หลักการเช่อื มโลหะด้วยแก๊ส
4. ครผู สู้ อนถามตอบเนอ้ื หาทบี่ รรยายตามใบความรู้ท่ี 5 หลักการเช่ือมโลหะด้วยแก๊ส
5. นักเรยี นสาธิตการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์การเชือ่ มโลหะดว้ ยแก๊ส
6. นักเรยี นและครูรว่ มกนั สรปุ เนอื้ หาสาระสาคัญ นกั เรียนจดบันทกึ เพ่ิมเตมิ
7. ครูผู้สอนใหน้ ักเรยี นรว่ มกันทาความสะอาดช้ันเรยี น
8. ครผู ู้สอน อบรมคุณธรรม จรยิ ธรรม เร่อื งความมวิ นิ ัยต่อการเรียน
การบรู ณาการกับหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
1. ความพอประมาณ
- มใี บงานให้คานวณขนาดของวสั ดุท่ีทาใหไ้ มเ่ หลือเศษทิ้งขวา้ ง
- จัดเวรใหน้ กั เรียนเบิกเคร่อื งมือและอปุ กรณ์ ใหพ้ อดเี หมาะสมกับความจาเปน็ ทตี่ ้องใชใ้ นการปฏิบตั งิ านแตล่ ะคร้ัง
2. ความมเี หตผุ ล
- ให้นักศึกษารว่ มกันสรปุ การเชอ่ื มโลหะด้วยแกส๊
3. การมีภมู คิ ุ้มกนั ในตวั ท่ดี ี
- ปลกู ฝังใหน้ กั เรียนปฏิบัตติ ามกฎระเบียบอย่างเคร่งครดั
- กาหนดกฎระเบยี บและขอ้ บังคบั ในการทางานเกีย่ วกับการใชเ้ ครื่องมือ และ การบารงุ รักษาก่อนและหลงั การ
ปฏบิ ัติงาน
- สาธติ การปฏิบตั งิ านการใชเ้ ครอ่ื งมือแบบผิดๆซึ่งจะกอ่ ใหเ้ กิดการเสยี หายของเครื่องมืออุปกรณ์ ก่อนปฏิบัตงิ าน
เหลา่ นัน้
4. เงอ่ื นไขความรู้
- มคี วามรู้ความเขา้ ใจถูกต้องเก่ียวกบั การเช่ือมโลหะด้วยแก๊ส
5. เง่ือนไขคุณธรรม
- ผูเ้ รยี นมีความรบั ผิดชอบ มีระเบยี บวินัย มีความสนใจใฝ่รู้ มีมนุษยสัมพนั ธ์ และมีความเชอื่ ม่ันในตนเอง
การบรู ณาการกับมาตรฐานสถานศกึ ษา 3 ดี
1. ด้านประชาธิปไตย
- ผู้เรียนสามารถตดั สินใจเลอื กกลุ่มตามความสมัครใจ และในการจัดกล่มุ ครั้งท่ีสองผูเ้ รียนมีโอกาสออกเสียงทจ่ี ะ
จัดตามกลุ่มเดิมหรือจดั กลมุ่ ใหม่ และเคารพในผลการออกเสียง
- ผูเ้ รยี นแสดงและรับฟังความคิดเห็นของผู้อ่นื
17
2. ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรมและความเปน็ ไทย
- ผเู้ รียนมีความรับผิดชอบ มีระเบยี บวินยั มีความสนใจใฝร่ ู้ มีมนุษยสัมพันธ์ และมคี วามเช่อื ม่นั ในตนเอง
3. ดา้ นภูมคิ ุ้มกนั ภัยจากยาเสพติด
- ผเู้ รียนใช้เวลาวา่ งในการทารายงานผลการปฏบิ ัติกิจกรรมและตอบคาถามทา้ ยกิจกรรม
รวมทง้ั ทาแบบฝึกหดั สง่ ในสปั ดาหถ์ ดั ไป
การบรู ณการคา่ นิยมหลกั ของคนไทย 12 ประการ ตามนโยบายของ คสช.
1. มคี วามรกั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
2. ซอ่ื สตั ย์ เสยี สละ อดทน มีอดุ มการณ์ในส่ิงที่ดงี ามเพื่อสว่ นรวม
3. กตญั ญูตอ่ พ่อแม่ ผ้ปู กครอง ครูบาอาจารย์
4. ใฝ่หาความรู้ หมัน่ ศึกษาเล่าเรียนทงั้ ทางตรง และทางอ้อม
5. รกั ษาวฒั นธรรมประเพณไี ทยอันงดงาม
6. มศี ลี ธรรม รักษาความสตั ย์ หวังดีตอ่ ผอู้ ื่น เผ่อื แผ่และแบ่งปนั
7. เขา้ ใจเรยี นรู้การเป็นประชาธปิ ไตย อันมีพระมหากษตั ริย์ทรงเป็นประมขุ ท่ีถกู ต้อง
8. มรี ะเบยี บวนิ ัย เคารพกฎหมาย ผนู้ อ้ ยรจู้ กั การเคารพผใู้ หญ่
9. มีสติรตู้ วั รู้คิด รทู้ า รปู้ ฏิบัติตามพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัว
10. รู้จักดารงตนอยูโ่ ดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งตามพระราชดารัสของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
รู้จักอดออมไว้ใช้เม่ือยามจาเป็น มไี วพ้ อกินพอใช้ ถ้าเหลือก็แจกจา่ ยจาหน่าย และพร้อมท่จี ะขยายกจิ การเมื่อมคี วาม
พรอ้ ม เมอ่ื มีภูมิคมุ้ กันท่ีดี
11. มคี วามเข้มแข็งทงั้ ร่างกาย และจติ ใจ ไมย่ อมแพ้ต่ออานาจฝา่ ยตา่ หรอื กเิ ลส มีความละอายเกรงกลวั ต่อ
บาปตามหลกั ของศาสนา
12. คานงึ ถงึ ผลประโยชน์ของส่วนรวม และของชาติมากกว่าผลประโยชนข์ องตนเอง
6. ส่อื การเรียนรู้
สื่อสง่ิ พมิ พ์
1. คมู่ ือการเชื่อมโลหะ1 ของ คะเณย์ วรรณโท และแสงชัย ตรงเจริญสขุ .
2. งานเชอ่ื มโลหะแผน่ ทัว่ ไป ของ นริศ ศรีเมฆ และพิชยั โอภาสอนันต์
3. งานเชอื่ มโลหะเบื้องตน้ ของ วีระ รตั นไชย
4. แบบทดสอบก่อนเรียนแบบเลือกตอบ จานวน 15 ข้อ
สื่ออเิ ล็กทรอนิกส์
1. Power Point เรือ่ งการเชอ่ื มโลหะด้วยแก๊ส
สอื่ ของจรงิ
1. ชุดเชอ่ื มแกส๊
2. เคร่อื งมือท่ีอุปกรณใ์ ช้ในงานเชื่อมโลหะด้วยแกส๊
18
7. หลกั ฐานการเรยี นรู้
7.1 หลักฐานความรู้
1. ผลการทดสอบ
2. ผลการทาแบบฝึกหัด
3. ผลการตอบคาถามท้ายกจิ กรรม
7.2 หลกั ฐานการปฏบิ ัติงาน
1. แบบรายงานผลการทากจิ กรรม
2. แผนผงั ความคดิ เรอ่ื งการเชื่อมโลหะดว้ ยแก๊ส
8. การวัดผลประเมินผล
การวัดผล
1. สังเกตพฤติกรรมการแสดงและรบั ฟังความคิดเห็นของผู้อืน่ การให้ความรว่ มมือในการปฏบิ ัตงิ าน ความ
กระตือรอื ร้น ปฏบิ ัตงิ านตามข้นั ตอน การปฏิบัตงิ านอย่างระมัดระวังและมีความสะอาด การมคี วามคดิ หลากหลาย
ในการแกป้ ัญหา โดยใชแ้ บบสังเกตพฤติกรรม
2. สงั เกตการนาเสนอผลงาน โดยใช้แบบประเมินกจิ กรรม
3. ตรวจแบบฝึกหัด โดยใช้ใบเฉลยแบบฝึกหัด
4. ตรวจรายงานผลการทากิจกรรม
5. ตรวจแบบทดสอบหลงั เรียน หนว่ ยที่ 3 การเชอ่ื มโลหะดว้ ยแก๊ส โดยใช้ใบเฉลยแบบทดสอบ
การประเมินผล
นกั เรยี นท่ไี ด้คะแนนรอ้ ยละ 60 ขนึ้ ไป ถือว่าผ่านการประเมนิ
9. กจิ กรรมเสนอแนะ/งานท่ีมอบหมาย (ถ้ามี)
- .ให้นักเรยี นไปค้นคว้าหาความรเู้ ร่ืองการเชอื่ มโลหะดว้ ยแก๊ส
10. เอกสารอา้ งอิง
1. คะเณย์ วรรณโท และแสงชัย ตรงเจริญสุข.คู่มอื การเชื่อมโลหะ1. สถาบันพัฒนาอุตสาหกรรม
เคร่อื งจักรกลและโลหะการ กรมสง่ เสรมิ อุตสาหกรรม, ม.ป.ป.
2. จรญู พรมสทุ ธิ์ และอานาจ ทองแสน. กระบวนการเชอ่ื ม. กรงุ เทพ : สานักนักพมิ พเ์ อมพนั ธ์, 2544
3. นริศ ศรเี มฆ และพชิ ัย โอภาสอนนั ต.์ งานเช่อื มโลหะแผ่นทั่วไป. กรุงเทพ : สานักพมิ พ์เอมพันธ์,
2542
4. บริษัท ไทย-โกเบล เวลดิ้ง จากดั .คู่มือวสั ดุและอุปกรณ์งานเช่ือม. ม.ป.ป.
5. วีระ รตั นไชย. งานเชอ่ื มโลหะเบอ้ื งต้น. กรงุ เทพ : นาอักษรการพิมพ,์ 2538
19
6. สมบรู ณ์ เตง็ หงส์เจริญ และคณะ. เชอ่ื มโลหะ1. พิมพ์ครั้งท2ี่ . กรุงเทพ : สถาบัเทคโนโลยีราชมงคล
วิทยาเขตเทคนิคกรุงเทพ, 2532
11. บันทึกหลังสอน
11.1 ขอ้ สรุปหลังการจดั การเรยี นรู้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
11.2 ปญั หาอุปสรรคที่พบ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
11.3 แนวทางแกป้ ัญหาหรือพัฒนา
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
19
การออกแบบการจดั การเรยี นรู้หนว่ ยที่ 4
เร่อื งการตดิ ตั้งระบบทอ่ สง่ น้าเพื่อการเกษตร
มีเหตผุ ล พอประมาณ
1. เพือ่ ใหม้ คี วามรเู้ ข้าใจเกี่ยวกบั การส่งน้า 3. เตรียม เลือกใช้ วสั ดุ อปุ กรณไ์ ด้ มภี ูมคิ ุม้ กนั
ชลประทานเพื่อการเกษตรโดยระบบ เหมาะสมกับการการเรียน
ทอ่ 4. เขา้ ใจหลกั การติดตงั ระบบท่อส่ง
2. เพ่ือให้มีความรเู้ ข้าใจการออกแบบทอ่ น้าเพอื่ การเกษตร
สง่ น้าเพ่อื การเกษตร
5. แสดงกจิ นสิ ยั ทดี่ ีในการทา้ งาน
3. เพ่ือให้มีความรเู้ ขา้ ใจการตดิ ตังท่อส่ง
น้าและอุปกรณ์ ดว้ ยความเปน็ ระเบยี บ สะอาด
ประณตี ปลอดภัย และรักษา
สภาพแวดลอ้ ม
การติดตัง้ ระบบท่อส่งน้าเพอื่
การเกษตร
ความรู้ + ทักษะ คุณธรรม
1. การส่งน้าชลประทานเพื่อการเกษตรโดยระบบทอ่ 1. มคี วามรับผดิ ชอบ
2. มีระเบียบวินยั
2. การออกแบบท่อสง่ น้าชลประทานเพื่อการเกษตร 3. มีความสนใจใฝร่ ู้
3. ทอ่ และอปุ กรณท์ ่ีใช้ในการติดตังระบบท่อสง่ นา้ วัฒนธรร54ม.. มมคีีมวนาษุ มยเสชัม่ือมพสั่นันงิ่ ใแธน์วตดนลเออ้ งม
3 3,4,5
4. กกาารรตใหดิ น้ ตา้ังสกทงัับ่อคพสมง่ืชนแา้ลแะลแะปอลุปงกปรลณูกผ์ ักเใศนรระษบฐบกทิจ่อให้นา้
5. 1, 2, 3 1, 2, 3,
20
แผนการจดั การเรียนรู้รายหนว่ ย
รหัสวิชา 2501 – 2003 ชือ่ วิชาช่างเกษตรเบอ้ื งตน้ 3 (4) ชม./ สปั ดาห์ สอนครัง้ ที่ 8-9
หน่วยที่ 4 ชอื่ หน่วยการเชือ่ มโลหะดว้ ยแกส๊ เวลา 8 ชม.
1. สาระส้าคัญ
การส่งน้า หมายถึงการน้าน้าจากแหล่งน้าเข้าระบบส่งน้าเพื่อส่งเข้าพืนท่ีเพาะปลูกโดยตรงหรือแหล่งเก็บ
ส้ารองน้า เพื่อให้มีน้าเพียงพอกับความต้องการของพืช ขนาดพืนท่ีเพาะปลูก และเวลาท่ีพืชต้องการให้น้า ดังนัน
แหล่งน้าอาจเป็นแหล่งน้าขาดใหญ่ และขนาดกลางตามแต่ขนาดของโครงการซึ่งโดยมาอาจเป็นโครงการท่ีรัฐจัดให้
เกษตรกรในแต่ละเขตพืนที่ของโครงการ ระยะทางในการจัดส่งน้าอาจมีระยะทางไกลและแผ่ครอบคลุมพืนที่ในเขต
โครงการทังหมด การจัดส่งน้าชลประทานสามารถแบ่งการจัดส่งออกเป็น 2 ลักษณะตามสภาพการส่งล้าเลียงน้า
ดงั นีคอื 1. การสง่ น้าชลประทานแบบอาศัยแรงดงึ ดดู โลก 2. การสง่ น้าชลประทานโดยอาศัยการสูบน้า
2. สมรรถนะประจา้ หนว่ ย
1. แสดงความรู้เกยี่ วกับการสง่ น้าชลประทานเพ่ือการเกษตรโดยระบบท่อ
2. แสดงความรู้เกยี่ วกับการออกแบบท่อสง่ นา้ เพ่ือการเกษตร
3. แสดงความรู้เก่ียวกับการตดิ ตังทอ่ สง่ นา้ และอปุ กรณ์
4. ค้านงึ ถงึ ความปลอดภัยในการใช้เครอ่ื งมือและอปุ กรณ์การการติดตงั ท่อส่งน้าและอุปกรณ์
5. แสดงกิจนสิ ัยทด่ี ใี นการทา้ งานด้วยความเปน็ ระเบยี บ สะอาด ประณตี ปลอดภยั และรกั ษาสภาพแวดลอ้ ม
3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
3.1 จดุ ประสงค์ทั่วไป
1. เพ่ือให้มีความรู้ความเข้าใจการส่งน้าชลประทานเพ่ือการเกษตรโดยระบบท่อ
2. เพอ่ื ใหม้ คี วามรู้ความเขา้ ใจการออกแบบท่อส่งนา้ เพื่อการเกษตร
3. เพอ่ื ให้มคี วามรู้ความเข้าใจการติดตงั ท่อส่งน้าและอปุ กรณ์
4. เพื่อใหม้ ีกิจนิสยั ท่ีดีในการท้างานด้วยความเปน็ ระเบียบ สะอาด ประณีต ปลอดภยั และรักษา
สภาพแวดลอ้ ม
3.2 จุดประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม
1. อธิบายความส้าคัญการสง่ น้าชลประทานเพ่ือการเกษตรโดยระบบท่อ
2. อธิบายการใช้การออกแบบท่อส่งนา้ เพื่อการเกษตร
3. ปฏิบตั ิการใช้การตดิ ตังท่อส่งนา้ และอุปกรณ์
21
4. แสดงและรับฟังความคดิ เห็นของผู้อ่ืน ใหค้ วามรว่ มมือในการปฏิบตั งิ าน มคี วามกระตือรือรน้
ปฏิบัติตามขันตอน และมีความคดิ หลากหลายในการแก้ปัญหา
4. สาระการเรียนรู้
1. การสง่ นา้ ชลประทานเพื่อการเกษตรโดยระบบทอ่
2. การออกแบบท่อส่งน้าชลประทานเพื่อการเกษตร
3. ท่อและอปุ กรณ์ท่ีใช้ในการติดตงั ระบบท่อสง่ น้า
4. การติดตงั ท่อส่งนา้ และอุปกรณ์
5. การใหน้ ้ากบั พชื และแปลงปลูกผกั ในระบบท่อให้น้า
5. กิจกรรมการเรยี น (คร้ังท่ี 8)
1. ครูผู้สอนกล่าวต้อนรับนักเรียนและตรวจสอบรายชื่อ จ้านวนนักเรียน ผู้เรียนรับฟังการตรวจสอบและขาน
รับการตรวจสอบ
2. ครูผู้สอนตรวจสอบอุปกรณ์การเรียน และตรวจสอบเคร่ืองแต่งกาย หากพบว่าไม่เรียบร้อย ครูว่ากล่าว
ตกั เตอื น และตัดคะแนนในแบบประเมนิ คณุ ธรรมจริยธรรมในท้ายคาบเรยี น
3. ครูผู้สอนบรรยายตามใบความรูท้ ่ี 6 และใบงาน ในเร่อื ง การติดตังระบบท่อสง่ น้าเพือ่ การเกษตร
4. ครูผสู้ อนถามตอบเนือหาที่บรรยายตามใบความรู้ท่ี 6 ในเรอ่ื ง การติดตงั ระบบท่อส่งนา้ เพือ่ การเกษตร
5. นักเรียนสาธติ การใช้เคร่อื งมือและอปุ กรณก์ ารติดตังระบบทอ่ ส่งนา้
6. นกั เรียนและครรู ่วมกันสรปุ เนือหาสาระส้าคัญ นักเรยี นจดบนั ทึกเพมิ่ เตมิ
7. ครูผู้สอนให้นักเรียนร่วมกนั ท้าความสะอาดชนั เรียน และพืนภายการเรยี นการสอน
8. ครูผสู้ อน อบรมคุณธรรม จรยิ ธรรม เรือ่ งการตรงต่อเวลา
5. กจิ กรรมการเรยี น (ครั้งท่ี 9)
1. ครูผู้สอนกล่าวทักทายพร้อมทังตรวจสอบรายช่ือ จ้านวนนักเรียน ผู้เรียนรับฟังการตรวจสอบและขานรับ
การตรวจสอบ
2. ครูผู้สอนตรวจสอบอุปกรณ์การเรียน และตรวจสอบเคร่ืองแต่งกาย หากพบว่าไม่เรียบร้อย ครูว่ากล่าว
ตักเตอื น และตัดคะแนนในแบบประเมินคุณธรรมจรยิ ธรรมในท้ายคาบเรยี น
3. ครูผู้สอนบรรยายต่อ ตามใบความรทู้ ี่ 6 ในเร่ือง การติดตงั ระบบท่อสง่ นา้ เพ่ือการเกษตร
4. ครผู ู้สอนถามตอบเนือหาที่บรรยายตามใบความรทู้ ี่ 6 ในเรื่อง การติดตงั ระบบทอ่ สง่ นา้ เพอ่ื การเกษตร
5. นักเรยี นสาธิตการใช้เคร่ืองมือและอปุ กรณ์การติดตังระบบท่อส่งน้า
6. นักเรยี นและครรู ่วมกันสรุปเนอื หาสาระส้าคัญ นักเรียนจดบันทกึ เพมิ่ เตมิ
7. ครผู สู้ อนให้นกั เรยี นรว่ มกันทา้ ความสะอาดชันเรยี น
8. ครผู สู้ อน อบรมคุณธรรม จริยธรรม เรือ่ งความมิวินัยต่อการเรยี น
22
การบรู ณาการกบั หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
1. ความพอประมาณ
- มีใบงานให้ค้านวณขนาดของวสั ดทุ ีท่ ้าให้ไมเ่ หลอื เศษทิงขวา้ ง
- จัดเวรให้นกั เรยี นเบกิ เคร่อื งมือและอุปกรณ์ ใหพ้ อดีเหมาะสมกบั ความจา้ เป็นทต่ี ้องใช้ในการปฏบิ ัตงิ านแตล่ ะครัง
2. ความมเี หตุผล
- ใหน้ กั ศึกษารว่ มกันสรปุ การติดตงั ระบบท่อส่งนา้ เพื่อการเกษตร
3. การมภี มู ิคุ้มกนั ในตัวทีด่ ี
- ปลกู ฝงั ให้นกั เรียนปฏบิ ัติตามกฎระเบียบอย่างเครง่ ครดั
- ก้าหนดกฎระเบยี บและขอ้ บังคับในการท้างานเกย่ี วกบั การใชเ้ คร่อื งมือ และ การบา้ รงุ รักษาก่อนและหลงั การ
ปฏบิ ตั ิงาน
- สาธิตการปฏิบตั ิงานการใช้เครือ่ งมือแบบผิดๆซ่ึงจะก่อให้เกิดการเสยี หายของเคร่ืองมืออุปกรณ์ ก่อนปฏบิ ตั ิงาน
เหล่านัน
4. เง่อื นไขความรู้
- มคี วามรู้ความเขา้ ใจถกู ต้องเกี่ยวกับการ การติดตังระบบทอ่ ส่งน้าเพ่ือการเกษตร
5. เง่ือนไขคุณธรรม
- ผเู้ รียนมีความรับผิดชอบ มีระเบียบวินัย มีความสนใจใฝ่รู้ มีมนษุ ยสัมพนั ธ์ และมีความเชอ่ื ม่ันในตนเอง
การบรู ณาการกบั มาตรฐานสถานศกึ ษา 3 ดี
1. ดา้ นประชาธปิ ไตย
- ผู้เรยี นสามารถตดั สนิ ใจเลอื กกลุ่มตามความสมคั รใจ และในการจดั กลมุ่ ครงั ทส่ี องผ้เู รียนมโี อกาสออกเสยี งท่ีจะ
จัดตามกลมุ่ เดิมหรอื จัดกล่มุ ใหม่ และเคารพในผลการออกเสยี ง
- ผู้เรียนแสดงและรบั ฟงั ความคิดเห็นของผู้อน่ื
2. ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและความเป็นไทย
- ผเู้ รียนมีความรบั ผดิ ชอบ มีระเบียบวินยั มีความสนใจใฝร่ ู้ มีมนษุ ยสัมพนั ธ์ และมคี วามเชื่อมั่นในตนเอง
3. ด้านภมู ิคุ้มกนั ภยั จากยาเสพติด
- ผู้เรียนใช้เวลาว่างในการทา้ รายงานผลการปฏิบตั ิกิจกรรมและตอบคา้ ถามทา้ ยกิจกรรม
รวมทังท้าแบบฝึกหัดส่งในสัปดาหถ์ ดั ไป
การบรู ณการคา่ นยิ มหลักของคนไทย 12 ประการ ตามนโยบายของ คสช.
23
1. มีความรกั ชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์
2. ซอื่ สตั ย์ เสยี สละ อดทน มีอุดมการณ์ในสงิ่ ทีด่ ีงามเพ่ือสว่ นรวม
3. กตญั ญูต่อพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครบู าอาจารย์
4. ใฝห่ าความรู้ หมน่ั ศกึ ษาเล่าเรียนทังทางตรง และทางอ้อม
5. รกั ษาวัฒนธรรมประเพณีไทยอนั งดงาม
6. มีศีลธรรม รกั ษาความสัตย์ หวงั ดตี อ่ ผอู้ นื่ เผ่ือแผ่และแบ่งปนั
7. เขา้ ใจเรียนรกู้ ารเปน็ ประชาธปิ ไตย อันมีพระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมขุ ที่ถกู ต้อง
8. มรี ะเบยี บวินยั เคารพกฎหมาย ผู้นอ้ ยรจู้ ักการเคารพผู้ใหญ่
9. มสี ติรูต้ วั รูค้ ิด รู้ท้า รู้ปฏบิ ัติตามพระราชด้ารัสของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อย่หู ัว
10. ร้จู ักด้ารงตนอยูโ่ ดยใช้หลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงตามพระราชดา้ รัสของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั
รจู้ กั อดออมไวใ้ ช้เม่ือยามจ้าเป็น มไี ว้พอกนิ พอใช้ ถ้าเหลือก็แจกจ่ายจา้ หน่าย และพร้อมทจ่ี ะขยายกิจการเม่ือมีความ
พรอ้ ม เมื่อมีภมู ิคุ้มกันท่ดี ี
11. มีความเข้มแข็งทังร่างกาย และจิตใจ ไมย่ อมแพต้ ่ออ้านาจฝ่ายต่า้ หรอื กเิ ลส มีความละอายเกรงกลัวต่อ
บาปตามหลกั ของศาสนา
12. คา้ นงึ ถึงผลประโยชนข์ องสว่ นรวม และของชาติมากกว่าผลประโยชน์ของตนเอง
6. ส่อื การเรียนรู้
ส่ือสงิ่ พมิ พ์
1. การจดั การดินและการให้น้า. ของ กิตพงษ์ วุฒจิ ้านงค.์
2. ปม๊ั และระบบสูบนา้ ของ วบิ ลู ย์ บญุ ยธโรกลุ
3. แบบทดสอบกอ่ นเรียนแบบเลือกตอบ จ้านวน 15 ข้อ
ส่อื อิเลก็ ทรอนกิ ส์
1. Power Point เรือ่ งการติดตงั ระบบท่อส่งนา้ เพื่อการเกษตร
สื่อของจริง
1. แผงสาธิตระบบสง่ น้าเพือ่ การเกษตร
2. เครอื่ งมอื ที่อุปกรณใ์ ชใ้ นงานการตดิ ตังระบบทอ่ ส่งน้าเพ่ือการเกษตร
24
7. หลักฐานการเรียนรู้
7.1 หลกั ฐานความรู้
1. ผลการทดสอบ
2. ผลการทา้ แบบฝกึ หัด
3. ผลการตอบค้าถามท้ายกิจกรรม
7.2 หลกั ฐานการปฏบิ ตั งิ าน
1. แบบรายงานผลการทา้ กจิ กรรม
2. แผนผงั ความคดิ เรอ่ื งการติดตังระบบท่อสง่ นา้ เพ่ือการเกษตร
8. การวดั ผลประเมินผล
การวดั ผล
1. สงั เกตพฤติกรรมการแสดงและรบั ฟังความคิดเหน็ ของผู้อืน่ การให้ความร่วมมือในการปฏบิ ตั ิงาน ความ
กระตือรือรน้ ปฏิบตั งิ านตามขันตอน การปฏบิ ัติงานอย่างระมดั ระวงั และมคี วามสะอาด การมีความคดิ หลากหลาย
ในการแก้ปญั หา โดยใชแ้ บบสังเกตพฤติกรรม
2. สงั เกตการนา้ เสนอผลงาน โดยใชแ้ บบประเมินกจิ กรรม
3. ตรวจแบบฝึกหัด โดยใชใ้ บเฉลยแบบฝกึ หัด
4. ตรวจรายงานผลการทา้ กิจกรรม
5. ตรวจแบบทดสอบหลงั เรยี น หน่วยท่ี 4 การตดิ ตังระบบทอ่ สง่ นา้ เพือ่ การเกษตรโดยใชใ้ บเฉลย
แบบทดสอบ
การประเมินผล
นักเรยี นทไี่ ด้คะแนนรอ้ ยละ 60 ขึนไป ถอื ว่าผ่านการประเมิน
9. กจิ กรรมเสนอแนะ/งานที่มอบหมาย (ถ้ามี)
- .ใหน้ กั เรียนไปคน้ ควา้ หาความร้เู ร่ืองการติดตังระบบท่อส่งนา้ เพ่ือการเกษตร
10. เอกสารอา้ งอิง
1. กิตพงษ์ วุฒิจา้ นงค.์ การจดั การดินและการให้นา้ . เอกสารอัดสา้ เนาประกอบคา้ สอน. เชยี งใหม่ :
สถาบนั เทคโนโลยีการเกษตรแมโ่ จ,้ 2526
2. วบิ ลู ย์ บญุ ยธโรกลุ . ป๊ัมและระบบสูบนา้ . ภาควิชาวศิ กรรมชลประทาน คณะวิศกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร,์ ม.ป.ท., 2529
11. บนั ทึกหลังสอน
25
11.1 ข้อสรุปหลังการจัดการเรียนรู้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
11.2 ปัญหาอุปสรรคท่ีพบ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
11.3 แนวทางแกป้ ัญหาหรือพฒั นา
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
25
การออกแบบการจัดการเรยี นรู้หนว่ ยที่ 5
เรอ่ื งการวางผังกอ่ สร้างและงานหล่อคอนกรตี เสรมิ เหล็ก
มีเหตุผล พอประมาณ
1. เพอ่ื ใหม้ คี วามรเู้ ข้าใจเก่ียวกับการวาง 3. เตรียม เลอื กใช้ วสั ดุ อุปกรณไ์ ด้ มภี มู ิคมุ้ กัน
ผังกอ่ สรา้ ง เหมาะสมกับการการเรียน
4. เข้าใจหลกั การการวางผงั
2. เพอื่ ใหม้ ีความรเู้ ขา้ ใจงานหล่อคอนกรีต
3. เพอื่ ใหม้ ีความรเู้ ขา้ ใจความปลอดภยั ใน ก่อสรา้ งและงานหล่อคอนกรตี
เสรมิ เหล็ก
งานกอ่ สรา้ ง
5. แสดงกิจนสิ ยั ท่ีดีในการทางาน
ด้วยความเปน็ ระเบยี บ สะอาด
ประณตี ปลอดภยั และรักษา
สภาพแวดล้อม
การวางผงั ก่อสรา้ งและงานหล่อ
คอนกรตี เสรมิ เหล็ก
ความรู้ + ทกั ษะ เศรษฐกจิ คณุ ธรรม
1. การวางผงั การก่อสร้าง 1. มคี วามรบั ผดิ ชอบ
2. งานคอนกรตี เสริมเหลก็ 2. มรี ะเบียบวนิ ยั
3. มคี วามสนใจใฝร่ ู้
สังคม
วัฒนธร54ร..ม มมคมีี วนาษุ มยเสชมัอ่ื มพัน่นัสใธ่ิงน์ แตวนดเอลง้อม
26
1, 2, 3 1, 2, 3, 3 3,4,5
แผนการจัดการเรียนรู้รายหน่วย
รหสั วชิ า 2501 – 2003 ชื่อวิชาช่างเกษตรเบือ้ งตน้ 3 (4) ชม./ สปั ดาห์ สอนครง้ั ที่ 10-12
หนว่ ยที่ 5 ช่อื หน่วยการวางผังกอ่ สรา้ งและงานหล่อคอนกรตี เสริมเหล็ก เวลา 12 ชม.
1. สาระสาคญั
การก่อสร้างอาคารที่อยอู่ าศัย ห้องแถว ตึกแถว อาคารพาณิชย์ อาคารโรงเรือนพิเศษ หรืออาคารโรงเรือน
ต่างๆๆทางด้านการเกษตร ซึ่งจะเป็นอาคารท่ีมีขนาดเล็กหรือใหญ่ก็แล้วแต่จาเป็นต้องมีแบบแปลนก่อสร้าง และ
จะต้องมีการวางผังในขั้นตอนแรกๆของการก่อสร้างเสมอ เพ่ือเป็นการกาหนดตาแหน่งรูปแบบของตัวอาคาร ในแนว
ระนาบของพื้นที่ เพื่อกาหนดตาแหน่งของเสาและฐานรากของอาคารหรือสง่ิ ปลูกสรา้ ง และใช้เพื่อการตรวจสอบความ
ถูกต้องของแนวทิศทาง ระยะต่างๆของอาคารให้ตรงตามที่ออกแบบไว้และให้ถูกต้องตามข้อบังคับ ข้อกฎหมายที่
เกีย่ วขอ้ งดว้ ย
2. สมรรถนะประจาหน่วย
1. แสดงความรู้เก่ียวกับการวางผังก่อสรา้ ง
2. แสดงความรู้เก่ียวกับงานหล่อคอนกรีต
3. คานึงถงึ ความปลอดภัยในงานก่อสร้าง
4. แสดงกิจนิสัยท่ดี ใี นการทางานด้วยความเปน็ ระเบียบ สะอาด ประณีต ปลอดภัย และรักษาสภาพแวดล้อม
3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้
3.1 จดุ ประสงค์ท่ัวไป
1. เพื่อใหม้ คี วามรู้ความเขา้ ใจการวางผงั ก่อสร้าง
2. เพื่อใหม้ คี วามรู้ความเข้าใจงานหล่อคอนกรตี
3. เพ่อื ใหม้ คี วามรู้ความเขา้ ใจความปลอดภยั ในงานกอ่ สร้าง
4. เพอื่ ใหม้ กี ิจนิสัยท่ีดีในการทางานดว้ ยความเป็นระเบียบ สะอาด ประณตี ปลอดภัย และรักษา
สภาพแวดล้อม
3.2 จุดประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม
1. อธบิ ายความสาคัญการวางผงั ก่อสรา้ ง
2. อธิบายการใช้งานหล่อคอนกรีต
27
3. ปฏบิ ัติการงานหล่อคอนกรีต
4. แสดงและรับฟงั ความคดิ เห็นของผู้อื่น ใหค้ วามร่วมมือในการปฏบิ ัตงิ าน มคี วามกระตือรอื รน้
ปฏบิ ตั ติ ามขั้นตอน และมคี วามคดิ หลากหลายในการแกป้ ัญหา
4. สาระการเรียนรู้
1. การวางผังการก่อสรา้ ง
2. งานคอนกรตี เสรมิ เหลก็
5. กิจกรรมการเรียน (ครงั้ ท่ี 10)
1. ครูผู้สอนกล่าวต้อนรับนักเรียนและตรวจสอบรายช่ือ จานวนนักเรียน ผู้เรียนรับฟังการตรวจสอบและขาน
รบั การตรวจสอบ
2. ครูผู้สอนตรวจสอบอุปกรณ์การเรียน และตรวจสอบเคร่ืองแต่งกาย หากพบว่าไม่เรียบร้อย ครูว่ากล่าว
ตักเตือน และตัดคะแนนในแบบประเมินคุณธรรมจรยิ ธรรมในทา้ ยคาบเรยี น
3. ครผู ู้สอนบรรยายตามใบความรู้ท่ี 7 และใบงาน ในเร่ือง การวางผงั ก่อสร้างและงานหล่อคอนกรตี เสริม
เหลก็
4. ครผู สู้ อนถามตอบเน้ือหาท่ีบรรยายตามใบความรทู้ ี่ 7 ในเรอื่ ง การวางผังกอ่ สร้างและงานหล่อคอนกรีต
เสริมเหลก็
5. นกั เรียนสาธติ การใช้เครื่องมือและอปุ กรณ์การเช่อื มโลหะด้วยแก๊ส
6. นกั เรยี นและครูรว่ มกนั สรุปเน้ือหาสาระสาคัญ นักเรยี นจดบนั ทกึ เพมิ่ เตมิ
7. ครผู ูส้ อนใหน้ กั เรียนร่วมกันทาความสะอาดช้นั เรียน และพน้ื ภายในโรงงานช่างยนต์
8. ครผู สู้ อน อบรมคุณธรรม จรยิ ธรรม เรื่องการตรงตอ่ เวลา
5. กิจกรรมการเรียน (ครั้งที่ 11)
1. ครูผู้สอนกล่าวทักทายพร้อมทั้งตรวจสอบรายช่ือ จานวนนักเรียน ผู้เรียนรับฟังการตรวจสอบและขานรับ
การตรวจสอบ
2. ครูผู้สอนตรวจสอบอุปกรณ์การเรียน และตรวจสอบเครื่องแต่งกาย หากพบว่าไม่เรียบร้อย ครูว่ากล่าว
ตักเตอื น และตัดคะแนนในแบบประเมินคุณธรรมจริยธรรมในทา้ ยคาบเรยี น
3. ครผู ู้สอนบรรยายต่อ ตามใบความร้ทู ี่ 7 ในเรื่อง การวางผังกอ่ สรา้ งและงานหล่อคอนกรตี เสรมิ เหลก็
4. ครผู ู้สอนถามตอบเน้ือหาที่บรรยายตามใบความรทู้ ่ี 7 การวางผงั ก่อสรา้ งและงานหล่อคอนกรีตเสรมิ
เหลก็
5. นักเรยี นสาธิตการใช้เครอื่ งมือและอุปกรณ์การเชอื่ มโลหะด้วยแก๊ส
6. นกั เรียนและครรู ่วมกนั สรุปเน้ือหาสาระสาคัญ นักเรียนจดบนั ทกึ เพิ่มเติม
7. ครูผสู้ อนให้นักเรียนร่วมกันทาความสะอาดช้ันเรยี น
8. ครูผู้สอน อบรมคุณธรรม จรยิ ธรรม เรอ่ื งความมิวนิ ยั ต่อการเรยี น
28
5. กิจกรรมการเรียน (ครั้งที่ 12)
1. ครูผู้สอนกล่าวทักทายพร้อมท้ังตรวจสอบรายชื่อ จานวนนักเรียน ผู้เรียนรับฟังการตรวจสอบและขานรับ
การตรวจสอบ
2. ครูผู้สอนตรวจสอบอุปกรณ์การเรียน และตรวจสอบเครื่องแต่งกาย หากพบว่าไม่เรียบร้อย ครูว่ากล่าว
ตักเตอื น และตดั คะแนนในแบบประเมินคณุ ธรรมจรยิ ธรรมในท้ายคาบเรยี น
3. ครผู ู้สอนบรรยายต่อ ตามใบความรูท้ ี่ 7 ในเร่ือง การวางผงั ก่อสรา้ งและงานหล่อคอนกรตี เสรมิ เหล็ก
4. ครูผสู้ อนถามตอบเนื้อหาท่ีบรรยายตามใบความร้ทู ่ี 7 การวางผังก่อสรา้ งและงานหล่อคอนกรีตเสรมิ
เหล็ก
5. นกั เรยี นสาธติ การใช้เคร่อื งมอื และอุปกรณ์การเชือ่ มโลหะด้วยแกส๊
6. นักเรยี นและครรู ว่ มกนั สรุปเนอ้ื หาสาระสาคญั นกั เรยี นจดบันทกึ เพ่มิ เติม
7. ครูผูส้ อนให้นกั เรียนรว่ มกันทาความสะอาดชน้ั เรยี น
8. ครผู ูส้ อน อบรมคุณธรรม จริยธรรม เรอ่ื งความมิวินัยต่อการเรยี น
การบูรณาการกับหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
1. ความพอประมาณ
- มใี บงานให้คานวณขนาดของวสั ดทุ ีท่ าให้ไมเ่ หลือเศษท้ิงขว้าง
- จัดเวรให้นักเรยี นเบกิ เครอ่ื งมือและอปุ กรณ์ ใหพ้ อดเี หมาะสมกับความจาเปน็ ท่ีต้องใชใ้ นการปฏบิ ตั ิงานแต่ละครง้ั
2. ความมเี หตุผล
- ให้นักศึกษาร่วมกันสรุป การวางผงั ก่อสร้างและงานหล่อคอนกรตี เสรมิ เหล็ก
3. การมภี ูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
- ปลกู ฝงั ใหน้ ักเรยี นปฏบิ ตั ติ ามกฎระเบยี บอย่างเคร่งครัด
- กาหนดกฎระเบียบและขอ้ บังคับในการทางานเก่ยี วกบั การใชเ้ ครอ่ื งมือ และ การบารงุ รักษาก่อนและหลังการ
ปฏิบตั ิงาน
- สาธิตการปฏิบัติงานการใช้เครอื่ งมือแบบผดิ ๆซึ่งจะกอ่ ให้เกิดการเสียหายของเคร่ืองมืออุปกรณ์ ก่อนปฏิบตั งิ าน
เหล่านน้ั
4. เง่ือนไขความรู้
- มีความรู้ความเขา้ ใจถูกต้องเก่ียวกับการวางผังกอ่ สร้างและงานหลอ่ คอนกรตี เสริมเหลก็
5. เง่ือนไขคุณธรรม
- ผู้เรียนมีความรบั ผิดชอบ มรี ะเบียบวนิ ยั มีความสนใจใฝร่ ู้ มีมนษุ ยสัมพันธ์ และมีความเช่อื มั่นในตนเอง
การบูรณาการกบั มาตรฐานสถานศึกษา 3 ดี
29
1. ด้านประชาธิปไตย
- ผเู้ รียนสามารถตัดสนิ ใจเลือกกลุ่มตามความสมัครใจ และในการจัดกลุม่ ครง้ั ทสี่ องผูเ้ รยี นมีโอกาสออกเสยี งที่จะ
จดั ตามกล่มุ เดิมหรือจดั กลุม่ ใหม่ และเคารพในผลการออกเสยี ง
- ผเู้ รยี นแสดงและรบั ฟงั ความคิดเหน็ ของผู้อื่น
2. ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรมและความเปน็ ไทย
- ผเู้ รียนมีความรบั ผิดชอบ มรี ะเบียบวินยั มีความสนใจใฝ่รู้ มีมนุษยสัมพันธ์ และมคี วามเช่ือมั่นในตนเอง
3. ดา้ นภูมคิ มุ้ กนั ภัยจากยาเสพตดิ
- ผ้เู รยี นใช้เวลาวา่ งในการทารายงานผลการปฏิบัตกิ จิ กรรมและตอบคาถามทา้ ยกจิ กรรม
รวมทัง้ ทาแบบฝึกหัดส่งในสัปดาหถ์ ดั ไป
การบรู ณการคา่ นิยมหลักของคนไทย 12 ประการ ตามนโยบายของ คสช.
1. มคี วามรกั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์
2. ซ่ือสัตย์ เสียสละ อดทน มีอุดมการณใ์ นสิ่งทดี่ ีงามเพื่อส่วนรวม
3. กตญั ญูต่อพ่อแม่ ผปู้ กครอง ครบู าอาจารย์
4. ใฝ่หาความรู้ หมน่ั ศกึ ษาเล่าเรยี นทัง้ ทางตรง และทางอ้อม
5. รกั ษาวัฒนธรรมประเพณีไทยอนั งดงาม
6. มีศีลธรรม รกั ษาความสัตย์ หวังดีตอ่ ผูอ้ ื่น เผอื่ แผ่และแบ่งปนั
7. เขา้ ใจเรียนรู้การเป็นประชาธปิ ไตย อนั มีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมขุ ที่ถูกต้อง
8. มรี ะเบยี บวนิ ัย เคารพกฎหมาย ผนู้ อ้ ยรู้จกั การเคารพผู้ใหญ่
9. มีสติรตู้ วั รู้คดิ รทู้ า รปู้ ฏิบัติตามพระราชดารสั ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั
10. รจู้ กั ดารงตนอยู่โดยใช้หลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งตามพระราชดารัสของ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ วั
ร้จู ักอดออมไว้ใชเ้ ม่ือยามจาเป็น มไี วพ้ อกนิ พอใช้ ถ้าเหลอื ก็แจกจา่ ยจาหนา่ ย และพร้อมที่จะขยายกิจการเม่ือมคี วาม
พรอ้ ม เมอื่ มภี ูมคิ ุม้ กันที่ดี
11. มคี วามเข้มแข็งทัง้ รา่ งกาย และจติ ใจ ไมย่ อมแพ้ต่ออานาจฝ่ายตา่ หรือกิเลส มคี วามละอายเกรงกลวั ต่อ
บาปตามหลกั ของศาสนา
12. คานึงถงึ ผลประโยชนข์ องส่วนรวม และของชาตมิ ากกว่าผลประโยชนข์ องตนเอง
6. สื่อการเรียนรู้
สอื่ สงิ่ พิมพ์
1. เทคโนโลยีไมแ้ ละคอนเกรตี ของ ถาวร สทุ ธพิ ันธ์.
2. คอนกรีตเทคโนโลยี ของ บุญเลิศ น้อยสระ และประเสริฐ ธงไชย
3. ชา่ งปูนกอ่ สร้าง ของ พภิ พ สุนทรสมัย
30
4. แบบทดสอบกอ่ นเรียนแบบเลือกตอบ จานวน 15 ข้อ
ส่อื อิเลก็ ทรอนกิ ส์
1. Power Point เรอื่ งการวางผังกอ่ สร้างและงานหล่อคอนกรตี เสริมเหล็ก
สื่อของจรงิ
1. อาคาร โรงเรอื น ต่างๆ
2. เคร่อื งมือที่อุปกรณ์ใชใ้ นการวางผงั ก่อสร้างและงานหลอ่ คอนกรตี เสรมิ เหลก็
7. หลกั ฐานการเรยี นรู้
7.1 หลกั ฐานความรู้
1. ผลการทดสอบ
2. ผลการทาแบบฝกึ หดั
3. ผลการตอบคาถามท้ายกจิ กรรม
7.2 หลักฐานการปฏิบตั งิ าน
1. แบบรายงานผลการทากิจกรรม
2. แผนผังความคดิ เรอื่ งการวางผังกอ่ สร้างและงานหล่อคอนกรีตเสริมเหล็ก
8. การวัดผลประเมินผล
การวดั ผล
1. สังเกตพฤติกรรมการแสดงและรบั ฟังความคิดเหน็ ของผู้อ่นื การให้ความรว่ มมือในการปฏบิ ตั งิ าน ความ
กระตือรือร้น ปฏิบตั ิงานตามขนั้ ตอน การปฏบิ ตั งิ านอยา่ งระมดั ระวงั และมคี วามสะอาด การมีความคิดหลากหลาย
ในการแก้ปัญหา โดยใชแ้ บบสงั เกตพฤตกิ รรม
2. สงั เกตการนาเสนอผลงาน โดยใช้แบบประเมินกิจกรรม
3. ตรวจแบบฝกึ หดั โดยใช้ใบเฉลยแบบฝึกหดั
4. ตรวจรายงานผลการทากิจกรรม
5. ตรวจแบบทดสอบหลงั เรยี น หน่วยท่ี 3 การเช่ือมโลหะด้วยแก๊ส โดยใช้ใบเฉลยแบบทดสอบ
การประเมินผล
นักเรียนท่ีได้คะแนนรอ้ ยละ 60 ขน้ึ ไป ถือว่าผ่านการประเมนิ
9. กิจกรรมเสนอแนะ/งานที่มอบหมาย (ถา้ มี)
- .ให้นักเรยี นไปค้นคว้าหาความรู้เร่อื งการวางผงั กอ่ สร้างและงานหล่อคอนกรตี เสริมเหล็ก
10. เอกสารอ้างองิ
1. ถาวร สทุ ธพิ ันธ.์ เทคโนโลยีไม้และคอนเกรีต เอกสารอดั สาเนาประกอบคาสอน. เชยี งใหม่ : ภาควชิ า
เกษตรกลวธิ าน คณะผลติ กรรมการเกษตร สถาบนั เทคโนโลยกี ารเกษตร, 2520
31
2. บญุ เลศิ นอ้ ยสระ และประเสริฐ ธงไชย. คอนกรีตเทคโนโลย.ี กรุงเทพ : สานักเอมพันธ์, 2544
3. พภิ พ สุนทรสมยั . ชา่ งปนู กอ่ สรา้ ง.กรุงเทพ : สที องกจิ พิศาล, 2523
4. อุทยั อนันต.์ ประมาณราคางานกอ่ สรา้ ง. กรงุ เทพ : สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตเทคนคิ
กรุงเทพ, 2533
11. บนั ทึกหลังสอน
11.1 ขอ้ สรุปหลังการจดั การเรยี นรู้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
11.2 ปัญหาอุปสรรคที่พบ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
11.3 แนวทางแกป้ ญั หาหรือพฒั นา
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
31
การออกแบบการจดั การเรยี นรหู้ นว่ ยท่ี 6
เร่ืองการใช้และบารุงรกั ษาเคร่ืองยนต์เลก็
มีเหตุผล พอประมาณ
1. เพื่อใหม้ คี วามรเู้ ข้าใจเกยี่ วกบั การใช้ 3. เตรยี ม เลอื กใช้ วสั ดุ อปุ กรณไ์ ด้ มภี ูมิคมุ้ กนั
งานเครื่องยนตเ์ ลก็ เหมาะสมกบั การการเรยี น
4. เข้าใจหลกั การการใช้งานและ
2. เพ่อื ให้มคี วามรเู้ ขา้ ใจการบารุงรกั ษา
เครื่องยนตเ์ ลก็ บารงุ รกั ษาเครอื่ งยนต์เล็ก
3. เพอ่ื ให้มีความรเู้ ขา้ ใจความปลอดภยั ใน 5. แสดงกิจนิสยั ทดี่ ใี นการทางาน
การใชเ้ ครอ่ื งยนต์เล็ก
ดว้ ยความเปน็ ระเบยี บ สะอาด
ประณตี ปลอดภยั และรกั ษา
สภาพแวดลอ้ ม
การใชแ้ ละบารงุ รกั ษา
เครอ่ื งยนตเ์ ล็ก
ความรู้ + ทักษะ คณุ ธรรม
1. ความหมายของเครื่องยนต์เล็ก 1. มคี วามรับผดิ ชอบ
2. หลักการทั่วไปของเคร่ืองยนต์และกลวตั รการ
2. มรี ะเบยี บวนิ ัย
ทางานของเครื่องยนต์เล็ก
3. การจาแนกชนดิ ของเครื่องยนต์ 3. มีความสนใจใฝ่รู้
4. สว่ นประกอบของเครอื่ งยนตเ์ ลก็
4. มีมนษุ ยสมั พันธ์
5. การเปรียบสเังทคียมบเคร่อื งยนตเ์ ลก็ เพ่ือเศเลรือษกฐใชก้งิจาน
6. การบารุง1ร,กั 2ษ,าเ3คร่ืองยนตเ์ ล็ก 1, 2, 3, 5. มคี วามเชื่อมน่ั ในตนเอง
วัฒนธรรม สง่ิ แวดลอ้ ม
3 3,4,5
32
แผนการจัดการเรียนรู้รายหนว่ ย
รหสั วิชา 2501 – 2003 ชื่อวชิ าช่างเกษตรเบือ้ งตน้ 3 (4) ชม./ สปั ดาห์ สอนครง้ั ท่ี 13-15
หนว่ ยที่ 6 ชื่อหนว่ ยการใช้และบารงุ รกั ษาเคร่ืองยนตเ์ ลก็ เวลา 12 ชม.
1. สาระสาคญั
เคร่ืองยนต์คือเคร่ืองจักรท่ีสามารถเปลี่ยนพลังงานความร้อน ให้เป็นพลังงาน ให้เป็นพลังงานกลคือการหมุน
ของส่วนประกอบที่เรียกว่า เพลาข้อเหวี่ยงและล้อช่วยแรงและล้อช่วยแรง แล้วต่อนาไปใช้งานต่างๆได้ เคร่ืองยนต์
เป็นหน่ึงในเคร่ืองต้นกาลังทสี าคัญซึ่งนิยมใช้กันอยา่ งแพร่หลายเกือบทุกวงการในปัจจุบัน เนื่องจากสามารถจัดส่งกาลัง
ให้กับส่วนประกอบและอุปกรณ์เคร่ืองทุ่นแรงต่างๆเพื่อให้เกิดการขับเคลื่อนหรือทางานได้ จึงถือได้ว่าเครื่องยนต์เป็น
สงิ่ หนง่ึ ท่ีสามารถทาประโยชนใ์ หก้ บั มนษุ ยไ์ ด้อย่างมหาศาล
2. สมรรถนะประจาหนว่ ย
1. แสดงความรเู้ กยี่ วกบั ความหมายของเคร่ืองยนต์เล็ก
2. แสดงความรู้เกยี่ วกบั หลกั การท่ัวไปของเคร่ืองยนต์และกลวัตรการทางานของเครื่องยนต์เลก็
3. แสดงความรเู้ กี่ยวกับส่วนประกอบของเครื่องยนต์เล็ก
4. แสดงความรู้เกย่ี วกับการบารุงรกั ษาเครอ่ื งยนต์เลก็
5. คานงึ ถงึ ความปลอดภยั ในการใช้งานเคร่อื งยนตเ์ ล็ก
6. แสดงกิจนสิ ยั ที่ดีในการทางานด้วยความเปน็ ระเบยี บ สะอาด ประณีต ปลอดภยั และรักษาสภาพแวดลอ้ ม
3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
3.1 จุดประสงคท์ ่ัวไป
1. เพ่ือให้มีความรู้ความเขา้ ใจความหมายของเครือ่ งยนต์เลก็
2. เพอ่ื ใหม้ ีความรู้ความเข้าใจหลกั การทวั่ ไปของเคร่ืองยนต์และกลวตั รการทางานของเคร่อื งยนตเ์ ลก็ ได้
3. เพ่ือให้มคี วามรู้ความเขา้ ใจประกอบของเครื่องยนตเ์ ล็ก
4. เพื่อใหม้ คี วามรู้ความเข้าใจการบารงุ รกั ษาเครื่องยนตเ์ ลก็
5. เพอื่ ใหม้ คี วามรู้ความเข้าใจความปลอดภัยในการใชง้ านเคร่ืองยนตเ์ ล็ก
6. เพ่อื ให้มกี ิจนสิ ยั ท่ีดีในการทางานดว้ ยความเป็นระเบยี บ สะอาด ประณตี ปลอดภัย และรักษา
สภาพแวดล้อม
3.2 จุดประสงค์เชงิ พฤติกรรม
33
1. อธบิ ายความหมายของเครื่องยนต์เล็กได้
2. อธิบายหลกั การท่วั ไปของเคร่อื งยนต์และกลวตั รการทางานของเครื่องยนตเ์ ลก็ ได้
3. อธิบายสว่ นประกอบของเคร่ืองยนต์เลก็ ได้
4. อธิบายการบารงุ รักษาเครื่องยนตเ์ ลก็ ได้
5. อธบิ ายความปลอดภยั ในการใชง้ านเคร่ืองยนต์เล็กได้
6. แสดงและรับฟังความคดิ เหน็ ของผู้อื่น ให้ความรว่ มมือในการปฏบิ ัตงิ าน มีความกระตือรอื รน้
ปฏิบตั ติ ามข้ันตอน และมีความคิดหลากหลายในการแกป้ ญั หา
4. สาระการเรยี นรู้
1. ความหมายของเคร่อื งยนตเ์ ลก็
2. หลกั การท่ัวไปของเคร่ืองยนต์และกลวตั รการทางานของเครื่องยนต์เล็ก
3. การจาแนกชนดิ ของเครื่องยนต์
4. ส่วนประกอบของเครอื่ งยนต์เลก็
5. การเปรียบเทียบเคร่ืองยนต์เลก็ เพื่อเลือกใช้งาน
6. การบารงุ รกั ษาเครื่องยนตเ์ ล็ก
5. กจิ กรรมการเรยี น (ครงั้ ที่ 13)
1. ครูผู้สอนกล่าวต้อนรับนักเรียนและตรวจสอบรายช่ือ จานวนนักเรียน ผู้เรียนรับฟังการตรวจสอบและขาน
รับการตรวจสอบ
2. ครูผู้สอนตรวจสอบอุปกรณ์การเรียน และตรวจสอบเครื่องแต่งกาย หากพบว่าไม่เรียบร้อย ครูว่ากล่าว
ตักเตอื น และตัดคะแนนในแบบประเมนิ คุณธรรมจริยธรรมในทา้ ยคาบเรียน
3. ครูผู้สอนบรรยายตามใบความรู้ท่ี 8 และใบงาน ในเร่ือง การใชแ้ ละบารงุ รกั ษาเคร่ืองยนต์เล็ก
4. ครผู สู้ อนถามตอบเนื้อหาที่บรรยายตามใบความรทู้ ่ี 8 ในเรื่อง การใช้และบารุงรกั ษาเคร่อื งยนตเ์ ลก็
5. นักเรยี นสาธติ การใช้เครื่องมอื และอปุ กรณ์การเชื่อมโลหะด้วยแกส๊
6. นกั เรียนและครูร่วมกันสรปุ เน้อื หาสาระสาคัญ นักเรยี นจดบันทึกเพิ่มเติม
7. ครูผู้สอนใหน้ กั เรียนรว่ มกนั ทาความสะอาดชัน้ เรียน และพ้ืนภายในโรงงานชา่ งยนต์
8. ครูผู้สอน อบรมคุณธรรม จริยธรรม เรือ่ งการตรงตอ่ เวลา
5. กจิ กรรมการเรียน (คร้งั ท่ี 14)
1. ครูผู้สอนกล่าวทักทายพร้อมท้ังตรวจสอบรายช่ือ จานวนนักเรียน ผู้เรียนรับฟังการตรวจสอบและขานรับ
การตรวจสอบ
2. ครูผู้สอนตรวจสอบอุปกรณ์การเรียน และตรวจสอบเครื่องแต่งกาย หากพบว่าไม่เรียบร้อย ครูว่ากล่าว
ตกั เตือน และตดั คะแนนในแบบประเมินคุณธรรมจรยิ ธรรมในทา้ ยคาบเรยี น
3. ครูผู้สอนบรรยายต่อ ตามใบความรูท้ ี่ 8 ในเรื่อง การใช้และบารงุ รักษาเครอื่ งยนต์เล็กเวลา
4. ครผู ูส้ อนถามตอบเนื้อหาที่บรรยายตามใบความรู้ที่ 8 การใช้และบารงุ รักษาเครื่องยนตเ์ ล็กเวลา
5. นักเรียนสาธติ การใช้เคร่ืองมือและอุปกรณ์การเช่อื มโลหะด้วยแก๊ส
34
6. นักเรียนและครรู ่วมกนั สรปุ เน้ือหาสาระสาคญั นักเรียนจดบันทกึ เพมิ่ เติม
7. ครูผ้สู อนใหน้ ักเรียนรว่ มกันทาความสะอาดชน้ั เรียน
8. ครูผ้สู อน อบรมคุณธรรม จรยิ ธรรม เรอื่ งความมิวินยั ต่อการเรยี น
5. กจิ กรรมการเรยี น (คร้งั ที่ 15)
1. ครูผู้สอนกล่าวทักทายพร้อมท้ังตรวจสอบรายชื่อ จานวนนักเรียน ผู้เรียนรับฟังการตรวจสอบและขานรับ
การตรวจสอบ
2. ครูผู้สอนตรวจสอบอุปกรณ์การเรียน และตรวจสอบเครื่องแต่งกาย หากพบว่าไม่เรียบร้อย ครูว่ากล่าว
ตักเตือน และตดั คะแนนในแบบประเมินคณุ ธรรมจริยธรรมในท้ายคาบเรียน
3. ครูผู้สอนบรรยายตอ่ ตามใบความรทู้ ่ี 8 ในเรื่อง การใชแ้ ละบารงุ รักษาเคร่ืองยนตเ์ ล็กเวลา
4. ครผู ู้สอนถามตอบเนื้อหาที่บรรยายตามใบความรทู้ ่ี 8 การใช้และบารงุ รกั ษาเคร่อื งยนต์เลก็ เวลา
5. นกั เรยี นสาธติ การใช้เคร่อื งมือและอปุ กรณ์การเชื่อมโลหะด้วยแก๊ส
6. นกั เรียนและครรู ่วมกันสรปุ เนอ้ื หาสาระสาคัญ นกั เรียนจดบันทกึ เพิ่มเติม
7. ครผู ู้สอนใหน้ กั เรยี นร่วมกันทาความสะอาดช้ันเรียน
8. ครผู สู้ อน อบรมคุณธรรม จริยธรรม เร่อื งความมิวินยั ต่อการเรยี น
การบูรณาการกบั หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
1. ความพอประมาณ
- มใี บงานให้คานวณขนาดของวัสดุทท่ี าให้ไม่เหลือเศษทิ้งขวา้ ง
- จดั เวรใหน้ ักเรยี นเบกิ เครื่องมือและอปุ กรณ์ ให้พอดเี หมาะสมกับความจาเป็นทต่ี ้องใช้ในการปฏบิ ตั ิงานแตล่ ะครง้ั
2. ความมเี หตุผล
- ใหน้ ักศึกษาร่วมกันสรุป การใช้และบารุงรักษาเครือ่ งยนต์เล็ก
3. การมภี มู ิคุ้มกันในตัวทด่ี ี
- ปลูกฝงั ให้นกั เรียนปฏิบัตติ ามกฎระเบียบอย่างเครง่ ครดั
- กาหนดกฎระเบียบและขอ้ บังคับในการทางานเก่ียวกบั การใช้เครือ่ งมือ และ การบารุงรกั ษาก่อนและหลังการ
ปฏบิ ตั งิ าน
- สาธิตการปฏิบัติงานการใชเ้ คร่ืองมือแบบผิดๆซึ่งจะก่อให้เกิดการเสยี หายของเคร่ืองมืออุปกรณ์ ก่อนปฏบิ ตั ิงาน
เหล่าน้นั
4. เง่อื นไขความรู้
- มีความรู้ความเขา้ ใจถูกต้องเกี่ยวกับการใชแ้ ละบารงุ รักษาเครอ่ื งยนตเ์ ลก็
5. เงื่อนไขคุณธรรม
- ผเู้ รียนมีความรับผิดชอบ มรี ะเบียบวนิ ัย มีความสนใจใฝ่รู้ มีมนุษยสัมพนั ธ์ และมคี วามเชือ่ ม่ันในตนเอง
การบูรณาการกบั มาตรฐานสถานศกึ ษา 3 ดี
1. ดา้ นประชาธปิ ไตย
35
- ผูเ้ รยี นสามารถตดั สนิ ใจเลือกกล่มุ ตามความสมคั รใจ และในการจัดกลุ่มครงั้ ท่ีสองผูเ้ รียนมีโอกาสออกเสยี งทีจ่ ะ
จดั ตามกลุม่ เดิมหรือจัดกลมุ่ ใหม่ และเคารพในผลการออกเสียง
- ผูเ้ รียนแสดงและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
2. ด้านคุณธรรม จริยธรรมและความเป็นไทย
- ผูเ้ รยี นมีความรบั ผดิ ชอบ มีระเบยี บวนิ ยั มีความสนใจใฝร่ ู้ มีมนษุ ยสมั พนั ธ์ และมีความเชอ่ื ม่นั ในตนเอง
3. ดา้ นภูมิคุ้มกันภยั จากยาเสพตดิ
- ผเู้ รยี นใชเ้ วลาวา่ งในการทารายงานผลการปฏิบตั กิ ิจกรรมและตอบคาถามท้ายกจิ กรรม
รวมทงั้ ทาแบบฝึกหัดส่งในสปั ดาห์ถัดไป
การบรู ณการคา่ นยิ มหลักของคนไทย 12 ประการ ตามนโยบายของ คสช.
1. มคี วามรักชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์
2. ซอื่ สัตย์ เสียสละ อดทน มีอุดมการณใ์ นส่ิงทด่ี ีงามเพื่อสว่ นรวม
3. กตญั ญูตอ่ พ่อแม่ ผู้ปกครอง ครบู าอาจารย์
4. ใฝห่ าความรู้ หม่ันศกึ ษาเล่าเรยี นทัง้ ทางตรง และทางอ้อม
5. รักษาวัฒนธรรมประเพณีไทยอันงดงาม
6. มีศลี ธรรม รักษาความสัตย์ หวังดีต่อผูอ้ ื่น เผ่อื แผ่และแบ่งปัน
7. เขา้ ใจเรียนรกู้ ารเป็นประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมขุ ท่ีถูกต้อง
8. มรี ะเบยี บวนิ ัย เคารพกฎหมาย ผูน้ ้อยรู้จกั การเคารพผู้ใหญ่
9. มีสติร้ตู ัว รคู้ ดิ ร้ทู า รูป้ ฏิบตั ิตามพระราชดารสั ของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั
10. รู้จกั ดารงตนอยูโ่ ดยใชห้ ลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งตามพระราชดารัสของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั
รู้จกั อดออมไว้ใช้เม่ือยามจาเป็น มไี ว้พอกนิ พอใช้ ถ้าเหลือก็แจกจ่ายจาหนา่ ย และพร้อมท่จี ะขยายกิจการเมอื่ มคี วาม
พรอ้ ม เมื่อมีภูมิคุม้ กันทีด่ ี
11. มีความเข้มแข็งทงั้ รา่ งกาย และจิตใจ ไมย่ อมแพ้ต่ออานาจฝ่ายต่าหรือกิเลส มีความละอายเกรงกลวั ต่อ
บาปตามหลักของศาสนา
12. คานงึ ถึงผลประโยชน์ของส่วนรวม และของชาตมิ ากกว่าผลประโยชนข์ องตนเอง
6. สื่อการเรยี นรู้
สือ่ สงิ่ พมิ พ์
1. เทคโนโลยีไมแ้ ละคอนเกรตี ของ ถาวร สทุ ธิพันธ.์
2. คอนกรีตเทคโนโลยี ของ บุญเลิศ น้อยสระ และประเสริฐ ธงไชย
3. ชา่ งปนู ก่อสร้าง ของ พภิ พ สุนทรสมยั
4. แบบทดสอบกอ่ นเรียนแบบเลือกตอบ จานวน 15 ข้อ
สือ่ อิเลก็ ทรอนิกส์
36
1. Power Point เร่อื งการใช้และบารงุ รกั ษาเครอ่ื งยนต์เลก็
ส่ือของจริง
1. เครื่องยนตเ์ ล็กแบบผ่า
2. เครอื่ งมือท่ีอุปกรณใ์ ช้ในการใช้และบารงุ รักษาเครื่องยนตเ์ ล็ก
7. หลกั ฐานการเรียนรู้
7.1 หลักฐานความรู้
1. ผลการทดสอบ
2. ผลการทาแบบฝกึ หดั
3. ผลการตอบคาถามท้ายกิจกรรม
7.2 หลกั ฐานการปฏบิ ตั งิ าน
1. แบบรายงานผลการทากจิ กรรม
2. แผนผงั ความคิดเรอื่ งการใชแ้ ละบารงุ รกั ษาเครื่องยนต์เล็ก
8. การวัดผลประเมินผล
การวัดผล
1. สงั เกตพฤติกรรมการแสดงและรับฟังความคดิ เหน็ ของผู้อน่ื การให้ความร่วมมือในการปฏบิ ตั งิ าน ความ
กระตือรือร้น ปฏิบตั งิ านตามข้ันตอน การปฏบิ ัตงิ านอย่างระมัดระวงั และมีความสะอาด การมีความคดิ หลากหลาย
ในการแกป้ ญั หา โดยใช้แบบสงั เกตพฤตกิ รรม
2. สังเกตการนาเสนอผลงาน โดยใช้แบบประเมินกิจกรรม
3. ตรวจแบบฝึกหัด โดยใช้ใบเฉลยแบบฝึกหดั
4. ตรวจรายงานผลการทากิจกรรม
5. ตรวจแบบทดสอบหลังเรยี น หนว่ ยท่ี 3 การเชอื่ มโลหะด้วยแก๊ส โดยใชใ้ บเฉลยแบบทดสอบ
การประเมนิ ผล
นักเรียนท่ีได้คะแนนร้อยละ 60 ขน้ึ ไป ถือวา่ ผ่านการประเมิน
9. กิจกรรมเสนอแนะ/งานที่มอบหมาย (ถา้ มี)
- .ให้นักเรียนไปค้นควา้ หาความรูเ้ ร่อื งการใช้และบารงุ รักษาเครอ่ื งยนต์เล็ก
10. เอกสารอ้างองิ
1. ถาวร สทุ ธพิ นั ธ.์ เทคโนโลยีไม้และคอนเกรีต เอกสารอัดสาเนาประกอบคาสอน. เชียงใหม่ : ภาควชิ า
เกษตรกลวิธาน คณะผลิตกรรมการเกษตร สถาบนั เทคโนโลยีการเกษตร, 2520
2. บญุ เลิศ นอ้ ยสระ และประเสริฐ ธงไชย. คอนกรีตเทคโนโลย.ี กรุงเทพ : สานักเอมพันธ,์ 2544
37
3. พภิ พ สุนทรสมัย. ช่างปนู ก่อสรา้ ง.กรุงเทพ : สีทองกิจพิศาล, 2523
4. อุทัย อนนั ต์. ประมาณราคางานกอ่ สรา้ ง. กรงุ เทพ : สถาบันเทคโนโลยรี าชมงคล วทิ ยาเขตเทคนคิ
กรงุ เทพ, 2533
11. บันทึกหลังสอน
11.1 ข้อสรุปหลังการจัดการเรียนรู้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
11.2 ปัญหาอปุ สรรคท่ีพบ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
11.3 แนวทางแกป้ ญั หาหรือพัฒนา
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………