นางสาววิจิตรา บัวคำ 62100105102 สาขานาฏศิลป์ไทย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาราชภัฏอุดรธานี โรงเรียนหนองบัวพิทยาคาร ตำ บลลำ ภู อำ เภอเมืองหนองบัวลำ ภู จังหวัดหนองบัวลำ ภู ส นักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเลย หนองบัวลำ ภู
แฟ้มปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา โรงเรียนหนองบัวพิทยาคาร อ าเภอเมืองหนองบัวล าภู จังหวัดหนองบัวล าภู ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเลย หนองบัวล าภูเขต 19 จัดท าโดย นางสาววิจิตรา บัวค า รหัสนักศึกษา 62100105102 นักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา สาขานาฏศิลป์ไทย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ปีการศึกษา 2566
ค าน า แฟ้มปฏิบัติการสอนในสถานศึกษานี้ ได้รวบรวมหลักฐานที่เกี่ยวกับการสอน วิชานาฏศิลป์ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 และมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่เกิดจาการวิเคราะห์สภาพการจัดการเรียนการสอน เพื่อวางแผน พัฒนาการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพ โดยทุกขั้นตอนได้ค าปรึกษา และตรวจสอบดูแลอย่างใกล้ชิดจาก ผู้เชี่ยวชาญ ด้านต่างๆ เป็นอย่างดี แฟ้มปฏิบัติการสอนในสถานศึกษานี้ ประกอบด้วย ขั้นตอนการวิเคราะห์สภาพปัญหาการสอน การวางแผนการวัดผลและประเมินผลอย่างละเอียด ตัวอย่างเครื่องมือวัดผล และตัวอย่างชิ้นงานนักเรียน ซึ่งทุกชิ้นได้ผ่านการตรวจ สอบแล้ว เช่นเดียวกัน ขอขอบคุณ ดร.สุขเกษม พาพินิจ ผู้อ านวยการสถานศึกษา โรงเรียนหนองบัวพิทยาคาร คณะกรรมการพัฒนางานวิชาการโรงเรียน ผู้เชี่ยวชาญทุกท่าน ตลอดจนผู้ที่มีส่วนร่วมในการให้ก าลังใจในการ จัดท าทุกขั้นตอน หวังเป็นอย่างยิ่งว่าสิ่งที่ดีงามเหล่านี้จะเป็นประโยชน์และผลดีต่อการพัฒนาผู้เรียน พัฒนาการเรียนการสอนและพัฒนาการศึกษาต่อไป นางสาววิจิตรา บัวค า นักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา สาขาวิชานาฏศิลป์ไทย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
สารบัญ เรื่อง หน้า ค าน า สารบัญ ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป 1 ประวัติผู้จัดท า 2 ประวัติการศึกษา 3 ประวัติสถานศึกษา 4 ส่วนที่ 2 ข้อมูลการพัฒนาตนเองทางด้านวิชาชีพครู 17 1. ด้านการเรียนการสอน 18 1) สภาพการจัดการเรียนการสอน 18 2) การวิเคราะห์สภาพปัญหาการจัดการเรียนการสอน 18 3) การวิเคราะห์และประเมินทางเลือกในการแก้ไขปัญหาการเรียนการสอน 19 (1) การวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล 19 (2) การวิเคราะห์หลักสูตร 20 ก. หลักการ ข. จุดมุ่งหมาย ค. โครงสร้าง ง. เวลาเรียน จ. แนวด าเนินการ ฉ. การวัดประเมินผล ช. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 4) หนังสือส่งตัวจากคณะครุศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี 28 5) ตารางสอน 29 6) ตารางวิเคราะห์หลักสูตร 30 ก. ตารางวิเคราะห์กิจกรรมการเรียนการสอน ข. ตารางวิเคราะห์สื่อการเรียนรู้/แหล่งเรียนรู้ ค. ตารางวิเคราะห์เนื้อหาและชิ้นงาน 7) ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ 39 8) ตัวอย่างเครื่องมือการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 43 ปฏิทินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ตัวอย่างชิ้นงานที่นักเรียนต้องปฏิบัติ
สารบัญ เรื่อง หน้า 9) บันทึกผลหลังการสอน 56 10) แบบบันทึกนักเรียนเป็นรายบุคคล 55 11) แบบประเมินตนเองในการจัดการเรียนรู้ของครู 55 12) รายงานผลการจัดการเรียนรู้ 55 ส่วนที่ 3 การปฏิบัติงานพิเศษ 59 1. โครงการทางการศึกษาที่รับผิดชอบ 60 2. การวิจัยทางการศึกษา/การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ 60 ส่วนที่ 4 การปฏิบัติตน 69 ค าสั่งแต่งตั้ง 70
1 ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป ประวัติผู้จัดท า ประวัติการศึกษา ประวัติสถานศึกษา
2
3
4 ประวัติสถานศึกษา ข้อมูลเกี่ยวกับสถานที่ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ประวัติความเป็นมาของโรงเรียน โรงเรียนหนองบัวพิทยาคารเป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ สังกัดกรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่คุ้มศรีสง่าเมือง ถนนยุทธศาสตร์ อุดรธานี-เลย เขตเทศบาลเมืองหนองบัวล าภู อ าเภอเมือง จังหวัดหนองบัวล าภู ได้รับอนุมัติให้จัดตั้งเมื่อวันที่ 2 เมษายน 2514 รับสมัครนักเรียนสหศึกษา เปิดสอนระดับมัธยมศึกษา ในปีแรก ๆ อาศัยเรียนที่โรงเรียนหนองบัวล าภูซึ่งเป็นโรงเรียนประถมศึกษาสังกัด กรมสามัญศึกษาในสมัยนั้น อาคารถาวรหลังแรกของโรงเรียนสร้างขึ้นเมื่อปี 2516 (ปัจจุบัน คือ อาคาร 3) เป็นอาคารแบบ 216 โดยในครั้งแรกนั้นมีเฉพาะส่วนกลางของอาคารจ านวน 8 ห้องเรียน มีเนื้อที่ทั้งหมด 34 ไร่ ครู-อาจารย์ 3 คน นักเรียน 90 คน ต่อมาภายหลังได้ต่อเติมเต็มรูปแบบและมีอาคารหลังอื่นๆ เพิ่มขึ้นมา[3] ในปีการศึกษา 2518 กระทรวงศึกษาธิการได้สั่งยุบและรวมโรงเรียนหนองบัวล าภูสังกัดกองการ ประถมศึกษา กรมสามัญศึกษา ซึ่งมีอาณาเขตติดต่อกันเป็นโรงเรียนหนองบัวพิทยาคาร ท าให้เนื้อที่เพิ่มเป็น 59 ไร่เศษ เมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม 2518 มีครูอาจารย์ รวม 19 คน นักการภารโรง 2 คน โรงเรียนได้เข้า โครงการ คมช รุ่นที่ 13 ในปี พ.ศ. 2519 และเปิดสอนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในปีการศึกษา 2521 และปี 2535 ได้เข้าร่วม โครงการขยายโอกาสทางการศึกษา ก่อนการจัดตั้งจังหวัดหนองบัวล าภูมีฐานะเป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาประจ าอ าเภอหนองบัวล าภู จังหวัด อุดรธานี เมื่อมีพระราชบัญญัติประกาศจัดตั้งจังหวัดหนองบัวล าภู ณ วันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2536 โรงเรียน หนองบัวพิทยาคารจึงมีฐานะเป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาประจ าจังหวัดหนองบัวล าภู ในปัจจุบันโรงเรียนหนองบัวพิทยาคารเปิดสอน ตั้งแต่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 จ านวน 99 ห้องเรียน เป็นนักเรียนประมาณ 3,602 คน ลูกจ้างประจ า 12 คน ครูอาจารย์ประมาณ 218 คน ภายใต้การน า ของท่านผู้อ านวยการ ดร.สุขเกษม พาพินิจ ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนหนองบัวพิทยาคาร อ าเภอเมือง จังหวัดหนองบัวล าภู สังกัดส านักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) กระทรวงศึกษาธิการ ก าหนดแผนการจัดชั้นเรียน ระดับชั้น มัธยมศึกษาตอนต้น และระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย 15:18:17/17:16:16 รวม 99 ห้องเรียน มีครูและ บุคลากรทางการศึกษารวม 218 คน นักเรียนประมาณ 3,602 คน มีอาคารเรียนถาวร 6 หลัง(ไม่รวมอาคาร ปทุมมาลย์ภิรมย์ 1 อาคารอ านวยการ) สถานภาพส าคัญที่หน่วยงานต้นสังกัด คือ กระทรวงศึกษาธิการและ ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ก าหนดภารกิจ ให้ด าเนินการอย่างมีมาตรฐานคุณภาพ ดังต่อไปนี้
5 1. โรงเรียนยอดนิยม ที่นักเรียนและผู้ปกครองให้ความสนใจ จึงต้องยกระดับคุณภาพการศึกษาให้ได้ มาตรฐาน 2. โรงเรียนผู้น าการเปลี่ยนแปลงตามกรอบกระจายอ านาจการบริหารและการจัดการศึกษา ด าเนินงาน โดยเน้น “ห้องเรียนคุณภาพ” เพื่อผู้เรียนเป็นส าคัญ 3. โรงเรียนแกนน าการใช้หลักสูตร ดังนี้ o 3.1 หลักสูตรปกติ ประกอบด้วย 1) หลักสูตรโรงเรียนหนองบัวพิทยาคาร ตามแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ในชั้น ม.1 - ม.6 o 3.2 โครงการห้องเรียนพิเศษ ประกอบด้วย 1) โครงการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการเป็นภาษาอังกฤษ (English Program : EP) ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น 2) โครงการห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ (Gifted Education Program) ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น 3) โครงการห้องเรียนพิเศษส าหรับพัฒนาและส่งเสริมผู้มีความสามารถพิเศษ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (SC) ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย 4) โครงการห้องเรียนพิเศษส าหรับพัฒนาและส่งเสริมผู้มีความสามารถพิเศษ วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ (SM) ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย 5) โครงการห้องเรียนพิเศษภาษาจีนและภาษาอังกฤษ (Intensive Chinese and English Program : ICE) ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย 6) โรงเรียนมาตรฐานสากล (World Class Standard School : WCSS) ต้องจัด หลักสูตร จัดการเรียนการสอนเทียบเคียงมาตรฐานสากล (World Class Standard) และบริหารจัดการระบบคุณภาพ (Quality management System) ให้ผู้เรียนมี ศักยภาพเป็นพลโลก (World Citizen) ปัจจุบัน โรงเรียนหนองบัวพิทยาคารเป็น 1 ในโรงเรียนมาตรฐานสากล (World Class Standard School) ร่วมกับ โรงเรียนศรีบุญเรืองวิทยาคาร โรงเรียนค าแสนวิทยาสรรค์โรงเรียนนาวังศึกษาวิชและ โรงเรียนสุวรรณคูหาพิทยาสรรค์และยังเป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาของจังหวัดหนองบัวล าภู ที่เข้าร่วมใน โครงการห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ของ สสวท. ร่วมกับโรงเรียนศรีบุญเรืองวิทยาคาร
6 1.รายนามผู้บริหาร ท าเนียบผู้บริหารโรงเรียนหนองบัวพิทยาคาร ล าดับ รายนาม ต าแหน่ง วุฒิการศึกษา วาระด ารงต าแหน่ง 1 นายสาลี ธรเสนา ครูใหญ่ พ.จ. พ.ศ. 2514 - พ.ศ. 2515 2 นายวีระพงษ์ ชีวะค านวณ ครูใหญ่ – อาจารย์ใหญ่ กศ.บ. พ.ศ. 2515 - พ.ศ. 2523 3 นายฉลาด นิเทศ ผู้อ านวยการระดับ 8 กศ.บ. พ.ศ. 2523 - พ.ศ. 2529 4 นายณรงค์ ชาติภรต ผู้อ านวยการระดับ 8 กศ.บ. พ.ศ. 2529 - พ.ศ. 2535 5 นายสงบ ผลินยศ ผู้อ านวยการระดับ 8 กศ.บ. พ.ศ. 2535 - พ.ศ. 2541 6 นางสาวนิวรณ์ สุทธิบุญ ผู้อ านวยการระดับ 9 กศ.ม. พ.ศ. 2541 - พ.ศ. 2544 7 นายวีระ พรหมภักดี ผู้อ านวยการเชี่ยวชาญ กศ.ม. พ.ศ. 2544 - พ.ศ. 2550 8 นายประสิทธิ์ ศรีเชียงสา ผู้อ านวยการเชี่ยวชาญ ศษ.ม. พ.ศ. 2550 - พ.ศ. 2553 9 นายสนิท วงศ์แสงตา ผู้อ านวยการช านาญการ พิเศษ กศ.บ. ค.ม.(จุฬา) พ.ศ. 2554 - พ.ศ. 2556 10 นางวิลาวัณย์ พรหมโส ผู้อ านวยการเชี่ยวชาญ ศษ.ม. พ.ศ. 2557 - พ.ศ. 2560 11 ดร.เล็ก ขมิ้นเขียว ผู้อ านวยการเชี่ยวชาญ ค.ม.(จุฬา) ปร.ด. พ.ศ. 2561 - พ.ศ. 2562 12 นายบุญมา ภูเงิน ผู้อ านวยการช านาญการ พิเศษ ศษ.ม. พ.ศ. 2562 - พ.ศ. 2563 13 ดร.สุขเกษม พาพินิจ ผู้อ านวยการช านาญการ พิเศษ ศษ.ม. ปร.ด. พ.ศ. 2563 - ปัจจุบัน
7 2.ข้อมูลทั่วไป เว็บไซต์โรงเรียน : www.buapit.ac.th E-mail : [email protected] สีประจ าโรงเรียน : ชมพู-ฟ้า ███ ชมพูหมายถึง ความอ่อนโยนสดชื่นของสรรพสิ่งชีวิตภายในโลก ███ ฟ้า ฟ้า หมายถึง ความสดใสที่เกิดจากปัญญา อักษรย่อโรงเรียน : น.พ. ตราสัญลักษณ์โรงเรียน : รูปดอกบัวตูมและดอกบัวบาน หมายถึง นักเรียนที่ได้รับ การศึกษาแล้วและ ก าลังศึกษาอยู่และภายใต้ระเบียบวินัยแห่งโรงเรียน พระแสงดาบของสมเด็จพระ นเรศวนมหาราช อันเป็นสิ่ง ศักดิ์สิทธิ์คุ้มครอง ปรัชญาโรงเรียน : ปญญา โลกสมิ ปชโชโต (ปัญญาเป็นเครื่องน าทางชีวิตในโลก) คติพจน์โรงเรียน : เรียนดี มีวินัย สามัคคี กีฬาเด่น 3. แผนการเรียนที่เปิดสอน โรงเรียนหนองบัวพิทยาคารมีแผนการเรียนให้นักเรียนเลือกตามความถนัดและความชอบ โดยยึดตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้แก่ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 1) ห้องเรียนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม (Enrichment program of Science Mathematics Technology and Environment : SMTE) 2) ห้องเรียน English integrated study (EIS) 3) ห้องเรียนพิเศษอัจฉริยภาพทางคณิตศาสตร์ (Genius Math Program : G-MATH) 4 ) ห้องเรียนพิเศษอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตร์ (Genius Science Program : GSCIENCE) 5) ห้องเรียนอัจฉริยภาพทางภาษาอังกฤษ (Nongbuapit Intensive English : NPIE)
8 6) ห้องเรียน Mini English Program (MEP) 7) ห้องเรียนความสามารถพิเศษทางด้านกีฬา 8) แผนการเรียนปกติ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 1) ห้องเรียนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม (Enrichment program of Science Mathematics Technology and Environment : SMTE) 2) ห้องเรียน English integrated study (EIS) 3) ห้องเรียนพิเศษอัจฉริยภาพทางคณิตศาสตร์ (Genius Math Program : G-MATH) 4) ห้องเรียนพิเศษอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตร์ (Genius Science Program : GSCIENCE) 5) ห้องเรียนพิเศษภาษาญี่ปุ่น จีน เกาหลี แบบเข้ม (Intensive Japanese Chinese Korean Program : IJCK) 6) ห้องเรียนความสามารถพิเศษทางด้านกีฬา 7) ห้องเรียนพิเศษเพชรบัวพิทย์ (Diamond NPK Classroom) เฉพาะนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 (วิทย์-คณิต) 8) แผนการเรียนวิทย์-คณิต 9) แผนการเรียนภาษา-คณิต (เน้นภาษาอังกฤษ) 10) แผนการเรียนภาษา-คณิต (เน้นภาษาเกาหลี) 11) แผนการเรียนภาษา-คณิต (เน้นภาษาเกาญี่ปุ่น) 12) แผนการเรียนภาษา-คณิต (เน้นภาษาเกาจีน) 4. เกียรติประวัติโรงเรียนหนองบัวพิทยาคาร 1) รางวัลคุณภาพระดับองค์กร (SCQA : School Quality Awards) จากส านักงาน คณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2) รางวัลคุณภาพแห่งส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (OBECQA : Office of the Basic Education Commission Quality Awards) จากส านักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน 3) สถานศึกษาพอเพียงต้นแบบ ประจ าปีการศึกษา 2558 จาก ส านักงานเขตพื้นที่ การศึกษา มัธยมศึกษาเขต 19 4) โรงเรียนสีขาว เฉลิมพระเกียรติ ปลอดยาเสพติด ประจ าปี 2542 จาก กระทรวงศึกษาธิการ 5) โรงเรียนรักษาศีล 5 จากกระทรวงศึกษาธิการ 5. ที่ตั้ง / สภาพภูมิศาสตร์ ที่ตั้งโรงเรียนหนองบัวพิทยาคาร 273/1 หมู่ 10 คุ้มบ้านศรีสง่าเมือง ถนนยุทธศาสตร์อุดรธานี- เลย ต าบลล าภู อ าเภอเมืองหนองบัวล าภู จังหวัดหนองบัวล าภู39000
9 6. วิสัยทัศน์ / พันธกิจ / เป้าหมาย 6.1 วิสัยทัศน์(Vision) โรงเรียนคุณภาพเพื่อนักเรียน 6.2 พันธกิจ (Mission) โรงเรียนหนองบัวพิทยาคารได้ก าหนดพันธกิจส าคัญไว้ 6 ประการ คือ 1) พัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานสากล และปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2) พัฒนาหลักสูตรและกระบวนการจัดการเรียนรู้เทียบเคียงมาตรฐานสากล 3) พัฒนาศักยภาพครูและบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถสู่ครูมืออาชีพ 4) พัฒนาการบริหารจัดการศึกษา โดยการมีส่วนร่วมอย่างมีคุณภาพ 5) พัฒนาแหล่งเรียนรู้ สื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ 6) สร้างภาคีเครือข่ายทางการศึกษาทั้งภายในและภายนอกอย่างต่อเนื่อง 6.3 เป้าประสงค์(Goal) 1) ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ 2) ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้ และพัฒนาตนเอง ต่อเนื่อง 3) ผู้เรียนมีความสามารถในการคิด อย่างเป็นระบบคิดสร้างสรรค์ ตัดสินใจ แก้ปัญหาได้ อย่างมีสติสมเหตุผล 4) ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จ าเป็นตามหลักสูตรสถานศึกษา 5) ผู้เรียนมีทักษะในการท างาน รักการท างาน สามารถท างานร่วมกับผู้อื่นได้และมีเจตคติที่ ดีต่ออาชีพ 6) ผู้เรียนมีสุขภาวะที่ดีและมีสุนทรียภาพ 7) สถานศึกษาบริหารงานได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยมีส่วนร่วมจากทุกส่วนที่เกี่ยวข้อง 8) ครูจัดการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นนักเรียนเป็นส าคัญ 9) สถานศึกษาจัดหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ และกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่าง รอบด้าน มุ่งสู่ระดับสากล 10) สถานศึกษาจัดสภาพแวดล้อมและการบริการที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาเต็มศักยภาพ 11) สถานศึกษาเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้
10 12) สถานศึกษามีอัตลักษณ์ที่โดดเด่น บรรลุผลส าเร็จตามบรรลุผลส าเร็จเป้าหมายตาม วิสัยทัศน์ ปรัชญา และจุดเน้นที่ก าหนดขึ้น เป็นที่ยอมรับของชุมชนและท้องถิ่น 13) สถานศึกษาจัดกิจกรรมพัฒนาและส่งเสริมให้สถานศึกษามีคุณภาพสูงขึ้นตามนโยบาย จุดเน้น ตามแนวทางปฏิรูปการศึกษา 14) ผู้เรียนมีศักยภาพในการแข่งขันระดับชาติ 15) ผู้เรียนมีความพร้อมสู่ประชาคมโลก 6.4 เอกลักษณ์(Uniqueness) เคารพด้วยการไหว้ เรียนรู้ก้าวไกลด้วย ICT 6.5 อัตลักษณ์ (Identity) ใฝ่เรียนรู้ ชูมารยาท ใส่ใจสิ่งแวดล้อ
11 7. จ านวนบุคลากรจ านวนนักเรียน โรงเรียนหนองบัวพิทยาคารมีบุคลลากร จ านวนทั้งหมด 218 คน เป็นชาย 77 คน หญิง 141 คน จ าแนกครูจ าแนกตามสายงาน ต าแหน่ง วิทยฐานะ และเพศ ดังตารางนี้ ตารางที่ 2 แสดงจ านวนบุคลากรภายในโรงเรียนหนองบัวพิทยาคาร ต าแหน่ง วิทยาฐานะ ระดับ ต าแหน่ง ข้าราชครูและบุคลากรทางการศึกษา (คน) ชาย หญิง รวม 1.ผู้อ านวยการ โรงเรียน - คศ.1 0 0 0 ช านาญการ คศ.2 0 0 0 ช านาญการพิเศษ คศ.3 1 0 1 เชี่ยวชาญ คศ.4 0 0 0 เชี่ยวชาญพิเศษ คศ.5 0 0 0 รวม - 1 0 1 2.รองผู้อ านวยการ โรงเรียน - คศ.1 0 0 0 ช านาญการ คศ.2 0 0 0 ช านาญการพิเศษ คศ.3 4 0 4 เชี่ยวชาญ คศ.4 0 0 0 เชี่ยวชาญพิเศษ คศ.5 0 0 0 รวม - 4 4 3.ครู - คศ.1 14 34 53 ช านาญการ คศ.2 12 25 37 ช านาญการพิเศษ คศ.3 21 47 68 เชี่ยวชาญ คศ.4 0 2 2 เชี่ยวชาญพิเศษ คศ.5 0 0 0 รวม - 52 108 160 4.ครูผู้ช่วย - ครูผู้ช่วย 0 8 8 5.ลูกจ้างประจ า - - 1 0 1 6.พนักงานราชการ - - 6 10 16 7.ลูกจ้างชั่วคราว - - 13 15 28 รวม 77 141 218
12 8. จ านวนนักเรียน โรงเรียนหนองบัวพิทยาคารมีจ านวนนักเรียน จ านวนทั้งหมด 3627 คน เป็นชาย 1412 คน หญิง 2271 คน จ าแนกตามระดับชั้นที่เปิดสอน ดังตารางนี้ ตารางที่ 3 แสดงจ านวนนักเรียนภายในโรงเรียนหนองบัวพิทยาคาร ระดับชั้น จ านวนห้อง จ านวนนักเรียนทั้งหมดแยกตามเพศ ชาย หญิง รวม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 18 310 358 688 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 17 268 388 656 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 17 281 365 646 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 16 205 397 602 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 15 185 366 551 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 16 163 397 560 รวม 97 1412 2271 3683
13 9.แผนผังโรงเรียน ภาพที่ 1 แผนผังบริเวรโรงเรียนหนองบัวพิทยาคาร
14 9.1 อาคารและสถานที่ภายในโรงเรียน ตารางที่ 4 แสดงอาคารภายในโรงเรียนหนองบัวพิทยาคาร หมายเลขอาคาร ชื่ออาคาร ห้องเรียน 1 อาคารปทุมมาลย์ภิรมย์ (อาคาร อ านวยการ) -ส านักผู้อ านวยการ -ห้องการเงิน -ห้องประชุมบัวบรรพต -ห้องพัสดุ 2 อาคารอุดมสัตบงกช -กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ -ห้องวิชาการ -ห้องแนะแนว -ห้องเรียนสีเขียว -ห้องกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน -ห้องเรียนวิชาดนตรี 3 อาคารบรรพตโกมล -กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคม ศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม -ห้องอาเซียน -ห้อง E-Classroom สังคม ศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 อาคารวิมลจงกลนี -กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี -ห้องวิทยาศาสตร์ 1-2-3 -ห้องปฏิบัติการชีววิทยา 1-2 -ห้องธรณีวิทยา/ดาราศาสตร์ -ห้องปฏิบัติการเคมี 1-2 -ศูนย์ AFS Thailand -ห้องประชุมกลุ่มสาระการ เรียนรู้วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี
15 5 อาคารมณีสัตตบุษย์ -กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ -ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ 1 -ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ 2 -ห้องประชุมนครเขื่อนขันธ์ -ห้องสมุด -ห้องมินิเธียเตอร์กรุงไทยสาน ฝัน 6 อาคารพิสุทธิ์อุบล -กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย -กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ (ดนตรีไทย-นาฏศิลป์) -ห้องเรียน English integrated study Classroom -ห้อง To Be Number One -ห้องประชุมกาบแก้วบัวบาน 7 อาคารสุคนธ์บุญฑริก -ห้องเรียนMEP -ห้องเรียนNPIE -ห้องเรียนEIS -ห้องเรียนG-MATH -ห้องเรียนSMTE -ห้องเรียนG-SCIENCE -ห้องเรียนIJCK โรงฝึกงานอุตสาหกรรม -ห้องเรียน Independent Study (IS) อาคารศิลปะและดนตรี -ห้องทัศนศิลป์ -ห้องดนตรี โรงฝึกงานอุตสาหกรรมและค หกรรม -ห้องโภชนาการ
16 ห้องกิจการนักเรียน -ห้องกิจการนักเรียน -คลินิกเสมารักษ์ -ศูนย์ครอบครัวพอเพียง -ห้องสภานักเรียน -ห้องประชาสัมพันธ์ -ห้องโรงฝึกงานอุตสาหกรรม อาคารพละศึกษา -กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษา และพละศึกษา -ลานกีฬาปิงปอง -ห้องเรียนสุขศึกษา -สนามบาสเกตบอล -ห้องประชุมศรีบัวพิทย์ อาคารหอประชุมหลังเก่า -หอประชุมหลังเก่า (ก าลัง ปรับปรุง) โรงอาหาร -โรงอาหาร 1 พยาบาล -ห้องพยาบาล ลงชื่อ............................................... (นางสาววิจิตรา บัวค า) ต าแหน่ง นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู วันที่........เดือน...........พ.ศ...........
17 ส่วนที่ 2 ข้อมูลการพัฒนาตนเองทางด้านวิชาชีพครู
18 1.ด้านการเรียนการสอน 1.1 สภาพการจัดการเรียนการสอน 1.2 การวิเคราะห์สภาพปัญหาการจัดการเรียนการสอน จากสภาพปัญหาที่พบในการเรียนการสอนรายวิชานาฏศิลป์ โรงเรียนหนองบัวพิทยาคาร จากการสังเกตในชั้นที่ผู้วิจัยท าการสอนพบว่านักเรียนมีความสนใจใฝ่รู้ในรายวิชานาฏศิลป์ ค่อนข้างน้อย มักจะเล่นโทรศัพท์มือถือหรือเล่นเกมในระหว่างการเรียนการสอนไม่ให้ความส าคัญต่อการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ภายในห้องเรียนเท่าที่ควรและชอบท าลายบรรยากาศในการเรียนการสอน ท าให้ได้รับความรู้ไม่เต็มที่ ครูผู้สอนต้องทบทวนเนื้อหาซ้ าหลายครั้งในเรื่องเดิม ผู้วิจัยได้ท าการสัมภาษณ์นักเรียนในชั้นที่ท าการสอนเพื่อ ค้นหาสาเหตุของสรุปได้ว่าสาเหตุของปัญหาสืบเนื่องมาจากกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่ไม่น่าสนใจและเสียง ครูผู้สอนเบาด้วย เนื้อหาที่จะส่งเสริมทักษะการปฏิบัติทางนาฏศิลป์ของนักเรียนยังไม่มีประสิทธิภาพ สื่อสิ่งเร้า ต่างๆ ที่มาในรูปของสังคมออนไลน์สามารถดึงดูดความสนใจของนักเรียนได้มากกว่าการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ของครูผู้สอน แสดงให้เห็นถึงข้อจ ากัดของการจัดการเรียนรู้ที่เน้นการสื่อสารภายในห้องเรียนเพียงอย่างเดียว
19 ท าให้โอกาสในการสื่อสารระหว่างครูครูผู้สอนและนักเรียนในสภาพการณ์ที่ต่างกัน ลดน้อยลงและเป็นอุปสรรค ต่อการจัดการเรียนรู้ ปัจจุบันการพัฒนาด้านเทคโนโลยีและการสื่อสารได้น ามาใช้เป็นเครื่องมือ ช่วยในการท างาน การศึกษา การเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพและสะดวกสบายมากขึ้น การเรียนรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารที่ผ่านมาอาจไม่เพียงพอส าหรับการด าเนินชีวิตในยุคเศรษฐกิจดิจิทัลที่ต้องมีพื้นฐานความรู้และ ทักษะเพื่อแก้ปัญหาในชีวิตจริงหรือพัฒนานวัตกรรม และใช้ทรัพยากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารในการสร้างองค์ความรู้หรือสร้างมูลค่าให้เกิดขึ้นได้อย่างสร้างสรรค์นั่นก็คือการสอนโดยใช้สื่อออนไลน์ หรือนวัตกรรมการเรียนการสอนโดยใช้ระบบ E-learning เป็นสื่อกลางในการเรียน การจัดการเรียนการสอน ในการสอนแบบนี้โดยทดลองแล้วเกิดผลดีต่อนักเรียนและครูด้วย วิชาวิทยาการค านวณ มีเปาาหมายที่ส าคัญใน การพัฒนาผู้เรียนกล่าวคือเพื่อให้ผู้เรียนมีความสามารถใช้ทักษะการคิดเชิงค านวณในการคิดวิเคราะห์แก้ปัญหา อย่างเป็นขั้นตอนและเป็นระบบ มีทักษะในการค้นหาข้อมูลหรือสารสนเทศ ประเมิน จัดการ วิเคราะห์ สังเคราะห์ และน าสารสนเทศไปใช้ในการแก้ปัญหา สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ สื่อ ดิจิทัล เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในการแก้ปัญหาในชีวิตจริง การท างานร่วมกันอย่างสร้างสรรค์ เพื่อประโยชน์ต่อตนเองหรือสังคม และสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารอย่างปลอดภัย รู้เท่า ทัน มีความรับผิดชอบมีจริยธรรม 1.3 การวิเคราะห์และประเมินทางเลือกในการแก้ไขปัญหาการเรียนการสอน การแก้ไขปัญหา คือครูจะกล่าวตักเตือนในช่วงแรกและสร้างข้อตกลงในการเล่น โทรศัพท์มือถือ หรือให้เก็บโทรศัพท์ไว้กับครูก่อนในช่วงท าการเรียนการสอน เมื่อเรียนเสร็จค่อยส่งคืนแก่ นักเรียนและการงานที่ไม่ส่งครูก็จะให้ท าส่งในคาบ ทั้งงานใหม่ที่เรียนและงานที่ยังค้าง จะไม่ให้เอาไปท าที่บ้าน เพราะถ้าเอาไปท าก็ไม่ท า เลยแก้ปัญหาให้ท าส่งในคาบที่เรียน และก็ได้น าระบบการสอนโดยใช้ระบบ Elearning เป็นสื่อกลางในการเรียนรู้ให้แก่เด็กและการจัดการเรียนสอนนี้เกิดผลสัมฤทธิ์ที่ดีมาก 1.3.1 การวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ในการวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคลก็จะมีแบบฟอร์มการวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล ให้ นักเรียนน าไปกรอกที่บ้าน เพื่อที่จะได้ทราบข้อมูล และได้รู้จักตัวตนเบื้องต้นของนักเรียน
20 1.3.2 การวิเคราะห์หลักสูตร วิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคลชั้นมัธยมศึกษา ………………..……..…ปีการศึกษา ............................... โรงเรียน........................................................ อ าเภอ.......................................... จังหวัด......................................... 1. ชื่อ …………………………............. นามสกุล.......………………….…….. ชื่อเล่น………............................ 2. วัน เดือน ปีเกิด ……………………………………อายุ……………ปี 3. ชื่อบิดา………………………………………………………..อาชีพ…............................................……… ชื่อมารดา…………………………………………………….อาชีพ…...........................................……… สภาพครอบครัว อยู่ด้วยกัน แยกกันอยู่ หย่าร้าง เสียชีวิต 4. จ านวนพี่น้องในครอบครัว ....................คน พี่…………..คน น้อง……….คน นักเรียนเป็นคนลูกที่…............… ฐานะของครอบครัว ยากจน ปานกลาง มีอันจะกิน 5. ปัจจุบันอาศัยอยู่กับ……………………………ชื่อ………..…..............................นามสกุล.............…………………….บ้านเลขที่…… หมู่ที่……….ถนน……………………ซอย…………………ต าบล……….............………อ าเภอ….........………. จังหวัด……………………รหัสไปรษณีย์…………โทรศัพท์………………………………… 7. ข้อมูลด้านสุขภาพ น้ าหนัก………….กก. ส่วนสูง………….ซม. ปกติ ต่ า โรคประจ าตัว……………………………………………………………………. 8. เพื่อนสนิทชื่อ 1……………………………………………………………….…... 2………………………………………………………………..….. 9. กิจกรรมที่ชอบ / สนใจ 1 . กิจกรรมเคลื่อนไหว และจังหวะ 2. กิจกรรมสร้างสรรค์ 3. กิจกรรมเสริมประสบการณ์ ( กิจกรรมวงกลม ) 4. กิจกรรมกลางแจ้ง 5. กิจกรรมเล่นตามมุม 6. กิจกรรมเกมการศึกษา 10. จุดเด่นของนักเรียน……………………………………………………………… 11. จุดด้อยของนักเรียน……………………………………………………………... 12. ความสามารถพิเศษ……………………………………………………………. 13. อาหารที่ชอบ…………………………………………………………………….. ลงชื่อ………………….............…………ผู้บันทึกข้อมูล ลงชื่อ……………......…………………..ผู้ให้ข้อมูล (…………...............………………….) (…………................……………………) ต าแหน่ง ครู โรงเรียน........................ ผู้ปกครองนักเรียน
21 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีหลักการที่ส าคัญดังนี้ 1. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อความเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการเรียนรู้ เป็น เปาาหมายส าหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรม บนพื้นฐานของความเป็นไทย ควบคู่กับความเป็นสากล 2. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาคและมี คุณภาพ 3. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอ านาจ ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาให้ สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของท้องถิ่น 4. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่มีโครงสร้างยืดหยุ่นทั้งด้านสาระการเรียนรู้ เวลาการจัดการเรียนรู้ 5. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ 6. เป็นหลักสูตรการศึกษาส าหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัยครอบคลุมทุก กลุ่มเปาาหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรียนรู้ และประสอบการณ์ จุดมุ่งหมาย หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข มีศักยภาพ ในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ จึงก าหนดเป็นจุดหมาย เพื่อให้เกิดกับผู้เรียนเมื่อจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ดังนี้ 1. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตน ตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2. มีความรู้อันเป็นสากลและมีความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหาการใช้ เทคโนโลยี และมีทักษะชีวิต 3. มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสัย และรักการออกก าลังกาย 4. มีความรักชาติ มีจิตส านักในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิตและการ ปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 5. มีจิตส านึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม มีจิตสาธารณะที่มุ่งท าประโยชน์และสร้างสิ่งที่ดีงามในสังคม และอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข
22 โครงสร้างเวลาเรียน หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ก าหนดกรอบโครงสร้างเวลาเรียน ดังนี้ กลุ่มสาระการเรียนรู้/ กิจกรรม เวลาเรียน ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ระดับ มัธยมศึกษา ตอนปลาย ป. 1 ป. 2 ป. 3 ป. 4 ป. 5 ป. 6 ม. 1 ม. 2 ม. 3 ม. 4 – 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย 200 200 200 160 160 160 120 (3นก.) 120 (3นก.) 120 (3นก.) 240 (6 นก.) คณิตศาสตร์ 200 200 200 160 160 160 120 (3นก.) 120 (3นก.) 120 (3นก.) 240 (6 นก.) วิทยาศาสตร์ 80 80 80 80 80 80 120 (3นก.) 120 (3นก.) 120 (3นก.) 240 (6 นก.) สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 80 80 80 80 80 80 120 (3นก.) 120 (3นก.) 120 (3นก.) 240 (6 นก.) สุขศึกษาและพล ศึกษา 80 80 80 80 80 80 80 (2นก.) 80 (2นก.) 80 (2นก.) 120 (2นก.) ศิลปะ 80 80 80 80 80 80 80 (2นก.) 80 (2นก.) 80 (2นก.) 120 (2นก.) การงานอาชีพและ เทคโนโลยี 80 80 80 80 80 80 80 (2นก.) 80 (2นก.) 80 (2นก.) 120 (2นก.) ภาษาต่างประเทศ 40 40 40 80 80 80 80 (3นก.) 80 (3นก.) 80 (3นก.) 120 (2นก.) รวมเวลาเรียน (พื้นฐาน) 800 800 800 800 800 800 840 (23นก) 840 (23นก.) 840 (23นก.) 1,560 (39 นก.) กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 120 120 120 120 120 320 120 120 120 360
23 รายวิชา / กิจกรรมที่ สถานศึกษาจัดเพิ่มเติม ตามความพร้อมและ จุดเน้น ปีละไม่เกิน 80 ชั่วโมง ปีละไม่เกิน 240 ชั่วโมง ไม่น้อย กว่า 3,560 ชั่วโมง รวมเวลาเรียนทั้งหมด ไม่เกิน 1,000 ชั่วโมง/ปี ไม่เกิน 1,200 ชั่วโมง/ปี รวม 3 ปี ไม่ น้อย กว่า 3,600 ชั่วโมง การก าหนดโครงสร้างเวลาเรียนพื้นฐาน และเพิ่มเติม สถานศึกษาสามารถด าเนินการ ดังนี้ ระดับประถมศึกษา สามารถปรับเวลาเรียนพื้นฐานของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ ได้ตามความ เหมาะสม ทั้งนี้ ต้องมีเวลาเรียนรวมตามที่ก าหนดไว้ในโครงสร้างเวลาเรียนพื้นฐาน และผู้เรียนต้องมีคุณภาพ ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดที่ก าหนด ระดับมัธยมศึกษา ต้องจัดโครงสร้างเวลาเรียนพื้นฐานให้เป็นไปตามที่ก าหนดและสอดคล้องกับเกณฑ์ การจบหลักสูตร ส าหรับเวลาเรียนเพิ่มเติมทั้งในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ให้จัดเป็นรายวิชาเพิ่มเติม หรือ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนโดยพิจารณาให้สอดคล้องกับความพร้อม จุดเน้นของสถานศึกษาและเกณฑ์การจบ หลักสูตรเฉพาะระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3 สถานศึกษาอาจจัดให้เป็นเวลาส าหรับสาระการเรียนรู้พื้นฐาน ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนที่ก าหนดไว้ในชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีละ 120 ชั่วโมง และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 จ านวน 360 ชั่วโมงนั้น เป็นเวลาส าหรับปฏิบัติกิจกรรมแนะแนวกิจกรรมนักเรียน และกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ในส่วนกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ให้สถานศึกษา จัดสรรเวลาให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติกิจกรรม ดังนี้ ระดับประถมศึกษา (ป.1-6) รวม 4 ปี จ านวน 60 ชั่วโมง ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.1-3) รวม 3 ปี จ านวน 45 ชั่วโมง ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4-6) รวม 3 ปี จ านวน 60 ชั่วโมง เวลาเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 1 ภาคเรียน จ านวน 40 ชั่วโมง (วิชาเพิ่มเติม) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 1 ภาคเรียน จ านวน 40 ชั่วโมง (วิชาเพิ่มเติม) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 1 ภาคเรียน จ านวน 40 ชั่วโมง (วิชาเพิ่มเติม)
24 แนวด าเนินการการจัดการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้เป็นกระบวนการส าคัญในการน าหลักสูตรสู่การปฏิบัติ หลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน เป็นหลักสูตรที่มีมาตรฐานการเรียนรู้ สมรรถนะส าคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน เป็นเปาาหมายส าหรับพัฒนาเด็กและเยาวชน ใน ก า รพั ฒน า ผู้เ รี ยนให้มี คุณ สมบั ติ ต า มเ ปา าห ม า ย ห ลั ก สู ต ร ผู้ สอน พ ย า ย า ม คั ด ส ร ร กระบวนการเรียนรู้ จัดการเรียนรู้โดยช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้ผ่านสาระที่ก าหนดไว้ในหลักสูตร 8 กลุ่มสาระการ เรียนรู้ รวมทั้งปลูกฝังเสริมสร้างคุณลักษณะอันพึงประสงค์ พัฒนาทักษะต่าง ๆ อันเป็นสมรรถนะส าคัญให้ ผู้เรียนบรรลุตามเปาาหมาย 1. หลักการจัดการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถตามมาตรฐานการเรียนรู้ สมรรถนะส าคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามที่ก าหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน โดยยึดหลักว่า ผู้เรียนมีความส าคัญที่สุด เชื่อว่าทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนา ตนเองได้ยึดประโยชน์ที่เกิดกับผู้เรียน กระบวนการจัดการเรียนรู้ต้องส่งเสริมให้ผู้เรียน สามารถพัฒนาตาม ธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ ค านึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาการทางสมอง เน้นให้ ความส าคัญทั้งความรู้ และคุณธรรม 2. กระบวนการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ ผู้เรียนจะต้องอาศัยกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย เป็น เครื่องมือที่จะน าพาตนเองไปสู่เปาาหมายของหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ที่จ าเป็นส าหรับผู้เรียน อาทิ กระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการ กระบวนการสร้างความรู้ กระบวนการคิด กระบวนการทางสังคม กระบวนการเผชิญสถานการณ์และแก้ปัญหา กระบวนการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง กระบวนการปฏิบัติ ลง มือท าจริง กระบวนกา รจัดการ ก ระบวนการ วิจัย กระบวนการเรียน รู้การเรียน รู้ของตนเอง กระบวนการพัฒนาลักษณะนิสัย กระบวนการเหล่านี้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้ที่ผู้เรียนควรได้รับการฝึกฝน พัฒนา เพราะจะ สามารถช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี บรรลุเปาาหมายของหลักสูตร ดังนั้น ผู้สอนจึงจ าเป็นต้องศึกษาท า ความเข้าใจในกระบวนการเรียนรู้ต่าง ๆ เพื่อให้สามารถเลือกใช้ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 3. การออกแบบการจัดการเรียนรู้ ผู้สอนต้องศึกษาหลักสูตรสถานศึกษาให้เข้าใจถึงมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สมรรถนะส าคัญ ของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และสาระการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียน แล้วจึงพิจารณาออกแบบ การจัดการเรียนรู้โดยเลือกใช้วิธีสอนและเทคนิคการสอน สื่อ/แหล่งเรียนรู้ การวัดและประเมินผล เพื่อให้ ผู้เรียนได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพและบรรลุตามเปาาหมายที่ก าหนด
25 บทบาทของผู้สอนและผู้เรียน การจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามเปาาหมายของหลักสูตร ทั้งผู้สอนและผู้เรียนควรมี บทบาท ดังนี้ 4.1 บทบาทของผู้สอน 1) ศึกษาวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล แล้วน าข้อมูลมาใช้ในการวางแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ ท้าทายความสามารถของผู้เรียน 2) ก าหนดเปาาหมายที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน ด้านความรู้และทักษะกระบวนการ ที่เป็น ความคิดรวบยอด หลักการ และความสัมพันธ์ รวมทั้งคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 3) ออกแบบการเรียนรู้และจัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลและ พัฒนาการทางสมอง เพื่อน าผู้เรียนไปสู่เปาาหมาย 4) จัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ และดูแลช่วยเหลือผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้ 5) จัดเตรียมและเลือกใช้สื่อให้เหมาะสมกับกิจกรรม น าภูมิปัญญาท้องถิ่นเทคโนโลยีที่ เหมาะสมมาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอน 6) ประเมินความก้าวหน้าของผู้เรียนด้วยวิธีการที่หลากหลาย เหมาะสมกับธรรมชาติของวิชา และระดับพัฒนาการของผู้เรียน 7) วิเคราะห์ผลการประเมินมาใช้ในการซ่อมเสริมและพัฒนาผู้เรียน รวมทั้งปรับปรุงการจัดการ เรียนการสอนของตนเอง 4.2 บทบาทของผู้เรียน 1) ก าหนดเปาาหมาย วางแผน และรับผิดชอบการเรียนรู้ของตนเอง 2) เสาะแสวงหาความรู้ เข้าถึงแหล่งการเรียนรู้ วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อความรู้ตั้งค าถาม คิด หาค าตอบหรือหาแนวทางแก้ปัญหาด้วยวิธีการต่าง ๆ 3)ลงมือปฏิบัติจริง สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ด้วยตนเอง และน าความรู้ไปประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ ต่าง ๆ 4) มีปฏิสัมพันธ์ ท างาน ท ากิจกรรมร่วมกับกลุ่มและครู 5) ประเมินและพัฒนากระบวนการเรียนรู้ของตนเองอย่างต่อเนื่อง การวัดประเมินผล การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนต้องอยู่บนหลักการพื้นฐานสองประการคือการประเมิน เพื่อพัฒนาผู้เรียนและเพื่อตัดสินผลการเรียน ในการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน ให้ประสบผลส าเร็จ นั้น ผู้เรียนจะต้องได้รับการพัฒนาและประเมินตามตัวชี้วัดเพื่อให้บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้ สะท้อน สมรรถนะส าคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนซึ่งเป็นเปาาหมายหลักในการวัดและประเมินผลการ เรียนรู้ในทุกระดับไม่ว่าจะเป็นระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และระดับชาติ การ วัดและประเมินผลการเรียนรู้ เป็นกระบวนการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนโดยใช้ผลการประเมินเป็นข้อมูลและ สารสนเทศที่แสดงพัฒนาการ ความก้าวหน้า และความส าเร็จทางการเรียนของผู้เรียน ตลอดจนข้อมูลที่เป็น
26 ประโยชน์ต่อการส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิด การพัฒนาและเรียนรู้อย่างเต็มตามศักยภาพ การวัดและประเมินผล การเรียนรู้ คือ ระดับชั้นเรียน มีรายละเอียด ดังนี้ การประเมินระดับชั้นเรียน เป็นการวัดและประเมินผลที่อยู่ในกระบวนการจัดการเรียนรู้ ผู้สอน ด าเนินการเป็นปกติและสม่ าเสมอ ในการจัดการเรียนการสอน ใช้เทคนิคการประเมินอย่างหลากหลาย เช่น การซักถาม การสังเกต การตรวจการบ้าน การประเมินโครงงาน การประเมินชิ้นงาน/ ภาระงาน แฟามสะสม งาน การใช้แบบทดสอบ ฯลฯ โดยผู้สอนเป็นผู้ประเมินเองหรือเปิดโอกาส ให้ผู้เรียนประเมินตนเอง เพื่อน ประเมินเพื่อน ผู้ปกครองร่วมประเมิน ในกรณีที่ไม่ผ่านตัวชี้วัดให้มีการสอนซ่อมเสริม การประเมินระดับชั้นเรียนเป็นการตรวจสอบว่า ผู้เรียนมีพัฒนาการความก้าวหน้าในการเรียนรู้ อัน เป็นผลมาจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหรือไม่ และมากน้อยเพียงใด มีสิ่งที่จะต้องได้รับการพัฒนา ปรับปรุงและส่งเสริมในด้านใด นอกจากนี้ยังเป็นข้อมูลให้ผู้สอนใช้ปรับปรุงการเรียนการสอนของตนด้วย ทั้งนี้ โดยสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด เกณฑ์การวัดและประเมินผลการเรียน 1. การตัดสิน การให้ระดับและการรายงานผลการเรียน 1.1 การตัดสินผลการเรียน ในการตัดสินผลการเรียนของกลุ่มสาระการเรียนรู้ การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนนั้น ผู้สอนต้องค านึงถึงการพัฒนาผู้เรียนแต่ละคนเป็นหลัก และต้องเก็บ ข้อมูลของผู้เรียนทุกด้านอย่างสม่ าเสมอและต่อเนื่องในแต่ละภาคเรียน รวมทั้งสอนซ่อมเสริมผู้เรียนให้พัฒนา จนเต็มตามศักยภาพ ระดับมัธยมศึกษา (1) ตัดสินผลการเรียนเป็นรายวิชา ผู้เรียนต้องมีเวลาเรียนตลอดภาคเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเวลาเรียนทั้งหมดในรายวิชานั้น ๆ (2) ผู้เรียนต้องได้รับการประเมินทุกตัวชี้วัด และผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษาก าหนด (3) ผู้เรียนต้องได้รับการตัดสินผลการเรียนทุกรายวิชา (4) ผู้เรียนต้องได้รับการประเมิน และมีผลการประเมินผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษาก าหนด ในการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน การพิจารณาเลื่อน ชั้นทั้งระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ถ้าผู้เรียนมีข้อบกพร่อง เพียงเล็กน้อย และสถานศึกษาพิจารณาเห็น ว่าสามารถพัฒนาและสอนซ่อมเสริมได้ ให้อยู่ในดุลพินิจของสถานศึกษาที่จะผ่อนผันให้เลื่อนชั้นได้ แต่หาก ผู้เรียนไม่ผ่านรายวิชาจ านวนมาก และมีแนวโน้มว่าจะเป็นปัญหาต่อการเรียนในระดับชั้นที่สูงขึ้น สถานศึกษา อาจตั้งคณะกรรมการพิจารณาให้เรียนซ้ าชั้นได้ ทั้งนี้ให้ค านึงถึงวุฒิภาวะและความรู้ความสามารถของผู้เรียน เป็นส าคัญ 1.2 การให้ระดับผลการเรียน ระดับมัธยมศึกษา ในการตัดสินเพื่อให้ระดับผลการเรียนรายวิชา ให้ใช้ ตัวเลขแสดงระดับผลการเรียนเป็น 8 ระดับ การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน และคุณลักษณะอัน
27 พึงประสงค์นั้น ให้ระดับผลการประเมินเป็น ดีเยี่ยม ดี และผ่านการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จะต้อง พิจารณาทั้งเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม การปฏิบัติกิจกรรมและผลงานของผู้เรียน ตามเกณฑ์ที่สถานศึกษา ก าหนด และให้ผลการเข้าร่วมกิจกรรมเป็นผ่าน และไม่ผ่าน ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง - เข้าใจกระบวนการท างานที่มีประสิทธิภาพ ใช้กระบวนการกลุ่มในการท างาน มีทักษะ การแสวงหาความรู้ ทักษะกระบวนการแก้ปัญหาและทักษะการจัดการ มีลักษณะนิสัยการท างานที่เสียสละ มี คุณธรรม ตัดสินใจอย่างมีเหตุผลและถูกต้อง และมีจิตส านึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากร และสิ่งแวดล้อมอย่าง ประหยัดและคุ้มค่า - เข้าใจกระบวนการเทคโนโลยีและระดับของเทคโนโลยี มีความคิดสร้างสรรค์ ในการ แก้ปัญหาหรือสนองความต้องการ สร้างสิ่งของเครื่องใช้หรือวิธีการตามกระบวนการเทคโนโลยี อย่างถูกต้อง และปลอดภัย โดยถ่ายทอดความคิดเป็นภาพฉายเพื่อน าไปสู่การสร้างชิ้นงานหรือแบบจ าลองความคิดและการ รายงานผล เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ต่อชีวิต สังคม สิ่งแวดล้อม และมีการจัดการเทคโนโลยีด้วยการ ลดการใช้ทรัพยากรหรือเลือกใช้เทคโนโลยีที่ไม่มีผลกระทบกับสิ่งแวดล้อม - เข้าใจหลักการเบื้องต้นของการสื่อสารข้อมูล เครือข่ายคอมพิวเตอร์ หลักการและวิธี แก้ปัญหา หรือการท าโครงงานด้วยกระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ มีทักษะการค้นหาข้อมูล และการ ติดต่อสื่อสารผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์อย่างมีคุณธรรมและจริยธรรม การใช้คอมพิวเตอร์ ในการแก้ปัญหา สร้างชิ้นงานหรือโครงงานจากจินตนาการ และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศน าเสนองาน - เข้าใจแนวทางการเลือกอาชีพ การมีเจตคติที่ดีและเห็นความส าคัญของการประกอบอาชีพ วิธีการหางานท า คุณสมบัติที่จ าเป็นส าหรับการมีงานท า วิเคราะห์แนวทางเข้าสู่อาชีพ มีทักษะพื้นฐาน ที่ จ าเป็นส าหรับการประกอบอาชีพ ประสบการณ์ต่ออาชีพที่สนใจ และประเมินทางเลือกในการประกอบอาชีพที่ สอดคล้องกับความรู้ ความถนัด และความสนใจ
28 2. หนังสือส่งตัวจากคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
29 3. ตารางสอน
30 4. ตารางวิเคราะห์หลักสูตร ก าหนดการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ รายวิชานาฏศิลป์ รหัสวิชา ศ๒๑๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๖ โรงเรียนหนองบัวพิทยาคาร อ าเภอเมือง จังหวัดหนองบัวล าภู สัปดาห์ที่ หน่วยการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ จ านวน/ ชั่วโมง สื่อ และแหล่งการเรียนรู้ การจัด/การประเมิน ๑-๒ หน่วยการเรียนที่ ๑ ความหมายและ ความเป็นมาของ นาฏศิลป์ ๑. ครูขออาสาสมัคร มาเป็นต้นแบบการใส่ โจงกระเบน ๑ คน ๒. นักเรียนที่เหลือ จับคู่เพื่อนุ่งโจง กระเบนให้กันตาม ขั้นตอนที่ครูสอน ๓. เมื่อทุกคนใส่เสร็จ แล้วนักเรียนนั่งเป็น แถวเรียบร้อย ๒ ๑. หนังสือเรียน นาฏศิลป์ ม.๑ ๒. PowerPoint เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ ๑. การสังเกต ๒. แบบสังเกต พฤติกรรมนักเรียน ๒-๓ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ อิทธิพลด้านการ แสดงของไทย(โขน) ๑. ครูน าเสนอ เรื่อง อิทธิพลด้านการแสดง ของไทย(โขน) ว่ามี อะไรบ้าง และ ยกตัวอย่างสิ่งใกล้ตัว เพื่อให้นักเรียนเข้าใจ ง่าย ๒. จากนั้นครูบรรยาย เกี่ยวกับประเภทของ โขน ให้นักเรียนได้ เข้าใจ ๓. นักเรียนฝึก วิเคราะห์อิทธิพลด้าน การแสดงของไทย ๑ ๑. หนังสือเรียน นาฏศิลป์ ม.๑ ๒. PowerPoint เรื่อง องค์ประกอบของ นาฏศิลป์ ๑. การสังเกต ๒. แบบสังเกต พฤติกรรมนักเรียน
31 (โขน) โดยครูจะ ยกตัวอย่างการแสดง แล้วให้นักเรียนอธิบาย ๔. ครูคอยให้ ค าแนะน าเกี่ยวกับสิ่งที่ นักเรียนวิเคราะห์มา ๓-๔ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ อิทธิพลด้านการ แสดงของไทย (ละครร า) ๑. ครูน าเสนออิทธิพล ด้านการแสดงของไทย (ละครร า) ว่ามี อะไรบ้าง และ ยกตัวอย่างสิ่งใกล้ตัว เพื่อให้นักเรียนเข้าใจ ง่าย ๒. จากนั้นครูบรรยาย เกี่ยวกับอิทธิพลด้าน การแสดงของไทย (ละครร า)ให้นักเรียน ฟัง ๓. นักเรียนฝึก วิเคราะห์รูปแบบของ นาฏศิลป์ โดยครูจะ ยกตัวอย่างการแสดง แล้วให้นักเรียนอธิบาย ๔. ครูคอยให้ ค าแนะน าเกี่ยวกับสิ่งที่ นักเรียนวิเคราะห์มา ๑ ๑. หนังสือเรียน นาฏศิลป์ ม.๑ ๒. PowerPoint เรื่อง รูปแบบของนาฏศิลป์ ๑. การสังเกต ๒. แบบสังเกต พฤติกรรมนักเรียน ๔-๕ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ การพัฒนารูปแบบ การแสดง(ลิเก) ๑. ครูน าเสนอ เรื่อง อิทธิพลด้านการแสดง ของไทย(โขน) ว่ามี อะไรบ้าง และ ยกตัวอย่างสิ่งใกล้ตัว เพื่อให้นักเรียนเข้าใจ ง่าย ๑ ๑. หนังสือเรียน นาฏศิลป์ ม.๑ ๒. PowerPoint เรื่อง รูปแบบของนาฏศิลป์ ๑. การสังเกต ๒. แบบสังเกต พฤติกรรมนักเรียน
32 ๒. จากนั้นครูบรรยาย เกี่ยวกับประเภทของ โขน ให้นักเรียนได้ เข้าใจ ๓. นักเรียนฝึก วิเคราะห์อิทธิพลด้าน การแสดงของไทย (โขน) โดยครูจะ ยกตัวอย่างการแสดง แล้วให้นักเรียนอธิบาย ๔. ครูคอยให้ ค าแนะน าเกี่ยวกับสิ่งที่ นักเรียนวิเคราะห์มา ๕-๖ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ฝึกท่าเบื้องต้น ๑. ครูอธิบายการฝึก ท่ า เ บื้ อ ง ต้ น แ ล ะ ยกตัวอย่างประกอบ จากสื่อ PowerPoint และสื่อมัลติมีเดีย ๒. ครูสาธิตการฝึกท่า เบื้องต้นให้นักเรียนดู และให้นักเรียนปฏิบัติ ตาม สังเกตและบันทึก ผลว่านักเรียนส่วนใหญ่ ป ฏิ บั ติ ท่ า ถู ก ต้ อ ง หรือไม่ ๓.ครูแบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มละ ๓–๕ คน ให้ ฝี ก ซ้ อ ม ก า ร ฝึ ก ท่ า เบื้องต้นเวลา ๑๕ นาที โ ด ย ค รู ค อ ย ใ ห้ ค า แ น ะ น าใ น ข ณ ะ นักเรียนก าลังฝึกซ้อม และสอบเก็บคะแนน ๑ ๑. คุณครู ๒. PowerPoint ๓. สื่อมัลติมีเดีย การ ฝึกท่าเบื้องต้น ๑. การสังเกต ๒. แบบสังเกต พฤติกรรมนักเรียน
33 ท้ายชั่วโมง ๔. หลังจากครบ ๑๕ นาที ครูเรียกนักเรียน กลุ่มแรกมาสอบปฏิบัติ เก็บคะแนนจนครบทุก ๖-๘ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ นาฏยศัพท์หรือ ศัพท์ทางการละคร ในการแสดง ๑. ครูน าเสนอเนื้อหา เรื่อง นาฏยศัพท์ ว่ามี ลักษณะอย่างไร แบ่งเป็นอะไรบ้าง โดย บรรยายและ ยกตัวอย่างประกอบ จากสื่อบัตรรูปภาพ และสื่อมัลติมีเดีย ๒. ครูสาธิตภาษาท่าให้ นักเรียนดูและให้ นักเรียนปฏิบัติตาม สังเกตและบันทึกผลว่า นักเรียนส่วนใหญ่ ปฏิบัติท่าถูกต้อง หรือไม่ ๓. ครูแบ่งกลุ่ม นักเรียน กลุ่มละ ๕ – ๖ คน ให้ฝีกซ้อมภาษา ท่าเวลา ๑๐ นาที โดย ครูคอยให้ค าแนะน า ในขณะนักเรียนก าลัง ฝึกซ้อม และสอบเก็บ คะแนนท้ายชั่วโมง ๔. หลังจากครบ ๑๐ นาที ครูเรียกนักเรียน กลุ่มแรกมาสอบปฏิบัติ เก็บคะแนนจนครบทุก กลุ่ม โดยครูจะให้ ๒ ๑. หนังสือเรียน นาฏศิลป์ ม.๑ ๒. PowerPoint ๓. บัตรรูปภาพ ๔. สื่อมัลติมีเดีย เรื่อง นาฏยศัพท์และภาษา ท่า ๑. การสังเกต ๒. แบบสังเกต พฤติกรรมนักเรียน
34 นักเรียนมาสอบตาม ความสมัครใจแต่ตั้ง กติกาว่าสอบภายใน คาบเรียนนี้เท่านั้น ๘-๑๐ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ภาษาท่า ๑. ครูอธิบายเกี่ยวกับ ภาษาท่าว่ามี ความหมายว่าอะไร และแบ่งได้ทั้งหมดกี่ ประเภท ๒. ครูตั้งค าถามว่า นักเรียนรู้จักท่าภาษา ท่าท่าใดบ้างพร้อม ปฏิบัติให้ดูจาก ประสบการณ์เดิม ๓. นักเรียนปฏิบัติท่า ภาษาท่าจาก ประสบการณ์เดิมโดย ให้นักเรียน ๑ คนพูด ชื่อท่า ๑ ท่า แล้ว ปฏิบัติพร้อมกันทั้งห้อง โดยห้ามพูดซ้ าคนเดิม ครูคอยแนะน าลักษณะ ท่าทางนักเรียนปฏิบัติ ให้ถูกต้อง สังเกตและ บันทึกผลว่านักเรียน ส่วนใหญ่ปฏิบัติท่า ถูกต้องหรือไม่ ๔. ครูคอยเสริมท่า ภาษาท่าบางท่าที่ นักเรียนไม่ทราบ โดย การสาธิตการปฏิบัติ ท่านั้นๆแล้วให้นักเรียน ปฏิบัติตามให้ถูกต้อง ๒ ๑. หนังสือเรียน นาฏศิลป์ ม.๑ ๒. วีดีโอ ๑.การสังเกต ๒.แบบสังเกต พฤติกรรมนักเรียน
35 ๑๐-๑๒ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ระบ าเบ็ดเตล็ด ๑. ครูอธิบายเกี่ยวกับ ระบ าเบ็ดเตล็ดมี ความหมายว่าอะไร ๒. ครูตั้งค าถามว่า นักเรียนรู้จักระบ า เบ็ดเตล็ดมากน้อย เพียงได ๓. ครูคอยเสริมหัวข้อ ที่นักเรียนไม่ทราบ โดยการอธิบายให้ นักเรียนฟัง ๒ ๑. หนังสือเรียน นาฏศิลป์ ม.๑ ๒. วีดีโอ ๓.powerpoint ๑. การสังเกต ๒. แบบสังเกต พฤติกรรมนักเรียน ๑๒-๑๔ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ร าวงมาตรฐาน ๑.ครูอธิบายความ เป็นมาของร าวง มาตรฐานให้นักเรียน ฟัง ๒.ครูพานักเรียนร้อง เพลงร าวงมาตรฐานใน เพลงงามแสงเดือน ๓.หลังจากนั้นให้ นักเรียนซ้อมร้องงาม แสงเดือน ๔. ครูสังเกตและ บันทึกผลว่านักเรียน แต่ละคนร้องเพลง ถูกต้องหรือไม่ ๒ ๑. หนังสือเรียน นาฏศิลป์ ม.๑ ๒. วีดีโอ ๓. powerpoint ๑. การสังเกต ๒. แบบสังเกต พฤติกรรมนักเรียน ๑๔-๑๖ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ร าวงมาตรฐาน ๑. กลุ่มที่ ๑ เริ่มแสดง โดยตัวแทนกลุ่มที่ ๒ เปิดเพลงให้ สลับไป เรื่อยๆจนถึงกลุ่ม สุดท้าย ๒. ครูสังเกตและ บันทึกผลว่านักเรียน แต่ละกลุ่มปฏิบัติท่า ๒ ๑. หนังสือเรียน นาฏศิลป์ ม.๑ ๒. วีดีโอ ๑. การสังเกต ๒. แบบสังเกต พฤติกรรมนักเรียน
36 เหมาะสม ถูกต้อง หรือไม่ ๑๖-๑๘ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ องค์ประกอบของ นาฏศิลป์ ๑. ครูน าเสนอเนื้อหา เรื่อง องค์ประกอบของ นาฏศิลป์ไทย และ ปัจจัยที่มีผลต่อการ เปลี่ยนแปลงของ นาฏศิลป์ว่ามีลักษณะ อย่างไร โดยบรรยาย และยกตัวอย่าง ประกอบจากสื่อ Power Point ๒. ครูยกตัวอย่าง นิทานอีสปเรื่อง กระต่ายกับเต่า โดยครู และนักเรียนร่วมกัน วิเคราะห์องค์ประกอบ ของบทละครเรื่อง ดังกล่าว ๓. ครูและนักเรียน ร่วมกันวิเคราะห์ปัจจัย ที่มีผลต่อการ เปลี่ยนแปลงของละคร ๒ ๑. หนังสือเรียน นาฏศิลป์ ม.๑ ๒. PowerPoint ๓. รูปภาพการแสดง ละคร ๑. การสังเกต ๒. แบบสังเกต พฤติกรรมนักเรียน ๑๘-๒๐ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓ ประเภทของละคร ไทย ๑. ครูแจกใบความรู้ ให้นักเรียน และ อธิบายเกี่ยวกับละคร โดยใช้สื่อการสอน Microsoft PowerPoint เรื่อง ละคร ๒. ครูอธิบายในแต่ละ หัวข้อพร้อมยกตัวอย่าง สิ่งใกล้ตัว หรือ ให้ ๒ ๑. หนังสือเรียน นาฏศิลป์ ม.๑ ๒. PowerPoint ๓. วีดิทัศน์การแสดง ละคร ๑. การสังเกต ๒. แบบสังเกต พฤติกรรมนักเรียน
37 ความรู้เพิ่มเติม ๓. หลังจากเนื้อหา เสร็จแล้ว ครูจะเปิด คลิปวีดิโอเรื่อง จีบได้ แฟนตายแล้ว ให้ นักเรียนชม ๔. เมื่อชมการแสดง เสร็จครูลองให้นักเรียน ช่วยกันวิเคราะห์ องค์ประกอบบทละคร ตามหัวข้อของ อริสโตเติล ทั้ง ๖ หัวข้อ และครูคอยสรุป อีกครั้ง ๕. จากนั้นครูเปิดคลิป คลิปวีดิโอเพลง ตัว ปลอม เมื่อชมการ แสดงเสร็จครูลองให้ นักเรียนช่วยกัน วิเคราะห์องค์ประกอบ บทละครตามหัวข้อ ของอริสโตเติล ทั้ง ๖ หัวข้อ และครูคอยสรุป ร่วมกับนักเรียนอีกครั้ง
38 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ รายวิชาพื้นฐาน รายวิชา นาฏศิลป์ 1 รหัสวิชา ศ21101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เวลาเรียน 20 ชั่วโมง/ภาคเรียน (1 ชั่วโมง/สัปดาห์) จ านวน 0.5 หน่วยกิต ค าอธิบายรายวิชา ศึกษาความหมายและความเป็นมาของนาฏศิลป์ไทย อิทธิพลของนักแสดงชื่อดังที่มีผลต่อการโน้มน้าว อารมณ์หรือความคิดของผู้ชมใช้ นาฏยศัพท์หรือศัพท์ทางการละครในการแสดง ระบุปัจจัยที่มีผลต่อการ เปลี่ยนแปลงของนาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นบ้าน ร าวงมาตรฐาน ละครไทยและละครพื้นบ้านบรรยายประเภท ของละครไทยในแต่ละยุคสมัย ฝึกทักษะนาฏยศัพท์และภาษาท่า กระบวนการคิด การเปรียบเทียบเพื่อให้เกิดทักษะความช านาญ การท างานเป็นกลุ่มสามารถน าไปใช้ในชีวิตประจ าวันได้ เพื่อการอนุรักษ์ ตระหนักถึงคุณค่าของนาฏศิลป์ที่ถือเป็นเอกลักษณ์ประจ าชาติและนิยมไทย กล้าแสดงออกทางศิลปะอย่างสร้างสรรค์ เห็นคุณค่า ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ น าความรู้ไปประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจ าวันตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง มีงานท า มีจริยธรรม คุณธรรม และ ค่านิยมที่เหมาะสม ตัวชี้วัด รหัสตัวชี้วัด ศ 3.1 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3, ม.1/4, ม.1/5 ศ 3.2 ม.1/1, ม.1/2 รวม 7 ตัวชี้วัด
39 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ รายวิชาพื้นฐาน รายวิชา นาฏศิลป์ 4 รหัสวิชา ศ23104 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เวลาเรียน 20 ชั่วโมง/ภาคเรียน (1 ชั่วโมง/สัปดาห์) จ านวน 0.5 หน่วยกิต ค าอธิบายรายวิชา ศึกษาเกี่ยวกับศิลปะแขนงอื่น ๆ เกี่ยวกับการแสดงนาฏศิลป์ไทยและสากล แสง สี เสียง ฉาก เครื่อง แต่งกาย อุปกรณ์ หลักและวิธีสร้างสรรค์การแสดงโดยใช้องค์ประกอบนาฏศิลป์และการละคร หลักและวิธี วิเคราะห์การแสดง วิธีการวิเคราะห์ วิจารณ์การแสดงนาฏศิลป์ และการละครความสัมพันธ์ของนาฏศิลป์หรือ การละครกับสาระการเรียนรู้อื่น ๆ การฝึกปฏิบัติการแสดงนาฏศิลป์ไทยและนาฏศิลป์สากล มีสร้างสรรค์การแสดงโดยใช้องค์ประกอบ นาฏศิลป์และการละครโดยใช้ทักษะกระบวนการคิด ทักษะกระบวนการแก้ปัญหาการท างานเป็นกลุ่ม เพื่อเห็นคุณค่าความส าคัญ ชื่นชมงานนาฏศิลป์และละครที่สามารถน ามาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน เกี่ยวกับความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ความเป็นไทย ความมีวินัย ความซื่อสัตย์ ความเป็นประชาธิปไตย ความมุ่งมั่นในการท างานและสร้างสรรค์กิจกรรมการแสดงที่ตนสนใจและอยู่บนรากฐานของความพอเพียง ตัวชี้วัด รหัสตัวชี้วัด ศ 3.1 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3, ม.3/4, ม.3/5, ม.3/6, ม.3/7 ศ 3.2 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3 รวม 10 ตัวชี้วัด
40 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ(สาระนาฏศิลป์ศ๒๑๑๐๑) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ เรื่องการแสดงนาฏศิลป์ เวลา ๑๖ ชั่วโมง เรื่อง ความหมายและความเป็นมาของนาฏศิลป์ เวลา ๒ ชั่วโมง ครูผู้สอน นางสาววิจิตรา บัวค า ต าแหน่ง นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ................................................................................................................................................................... ๑. มาตรฐาน/ตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ ศ ๓.๑ เข้าใจและแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่านาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน ศ ๓.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์ ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าของนาฏศิลป์ที่ เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล ตัวชี้วัด (ศ ๓.๒ ม.๑/๑) ระบุปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของนาฏศิลป์ นาฏศิลป์พื้นบ้าน ละครไทย และละครพื้นบ้าน ๒. สาระส าคัญ นาฏศิลป์ไทยเป็นศิลปะการแสดงประกอบดนตรีของไทย ที่แสดงถึงความเป็นเอกลักษณ์ของชาติเป็น มรดกทางวัฒนธรรมส าคัญตามวิถีชีวิตของคนไทย เป็นการแสดงความบันเทิงที่สะท้อนให้เห็นถึงลักษณะของ สังคมไทย ๓.สาระการเรียนรู้ ๑. ความหมายและความเป็นมาของนาฏศิลป์ไทย ๓.๑ สาระการเรียนรู้(ต่อ) ๒. ประเภทของนาฏศิลป์ไทย ๓. การนุ่งโจงกระเบน ๔.จุดประสงค์การเรียนรู้ ๔.๑ ด้านความรู้ (K) ๑. นักเรียนสามารถอธิบายความหมายและความเป็นมาของนาฏศิลป์ไทยได้ ๒. นักเรียนสามารถอธิบายประเภทของนาฏศิลป์ไทยได้ ๓. นักเรียนสามารถวิจารณ์และเปรียบเทียบประเภทของนาฏศิลป์ไทยได้
41 ๔.๒ ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) ๑. นักเรียนสามารถนุ่งโจงกระเบนได้ถูกต้อง ๒. นักเรียนสามารถปฏิบัติตามกฎระเบียบกติกาการเข้าห้องเรียนอย่างเคร่งครัด ๔.๓ ด้านเจตคติ (A) ๓. นักเรียนปฏิบัติตามกฎระเบียบและนุ่งโจงกระเบนได้ทันเวลาและถูกต้อง ๕. สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน ๑. ความสามารถในการสื่อสาร ๒. ความสามารถในการคิด ๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา ๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๑. มีวินัย ๒. ใฝ่เรียนรู้ ๓. มุ่งมั่นในการท างาน ๔. รักความเป็นไทย ๗. สื่อและแหล่งเรียนรู้ ๑. หนังสือเรียน นาฏศิลป์ ม.๑ ๒. PowerPoint เรื่องการแสดงนาฏศิลป์ ๘. กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน ๑. นักเรียนท าความเคารพครูครูแนะน าตนเอง ๒. ครูตั้งค าถาม “นาฏศิลป์คืออะไร” “ถ้าได้ยินค าว่านาฏศิลป์คิดถึงอะไร” แล้วให้นักเรียน ช่วยกันตอบค าถามพร้อมแสดงความคิดเห็น ๓. ครูเชื่อมโยงสิ่งที่นักเรียนตอบกับ เรื่องการแสดงนาฏศิลป์ ขั้นการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ๑. ครูขออาสาสมัครมาเป็นต้นแบบการใส่โจงกระเบน ๑ คน ๒. นักเรียนที่เหลือจับคู่เพื่อนุ่งโจงกระเบนให้กันตามขั้นตอนที่ครูสอน ๓. เมื่อทุกคนใส่เสร็จแล้วนักเรียนนั่งเป็นแถวเรียบร้อย
42 ขั้นการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน (ต่อ) ๔. ครูเชื่อมโยงเนื้อหาว่าการใส่โจงกระเบนเป็นการอนุรักษ์นาฏศิลป์อย่างหนึ่งแล้วอธิบายถึง เนื้อหาเรื่อง ประวัติความเป็นมาและประเภทต่างๆ ของนาฏศิลป์ไทย ว่ามีลักษณะอย่างไรแบ่งเป็น อะไรบ้าง โดยบรรยายและยกตัวอย่างประกอบจากสื่อ Power Point ๕.ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายความแตกต่างของนาฏศิลป์ไทย โดยให้นักเรียน เปรียบเทียบการแสดงแต่ละประเภท ขั้นสรุปผลการเรียนรู้ ๑. ครูสุ่มเลขที่นักเรียน โดยให้นักเรียนสรุปเรื่องที่ครูสอนในคาบนี้ เพื่อตรวจสอบความเข้าใจ ของนักเรียน ๒. ครูแจ้งเนื้อหาในคาบต่อไป และมอบหมายให้นักเรียนไปศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับ องค์ประกอบของการแสดงนาฏศิลป์ไทย
43 ๙. กระบวนการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ จุดประสงค์การประเมิน วิธีการวัด เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน ด้านความรู้ ๑. นักเรียนสามารถอธิบาย ความหมายและความเป็นมาของ นาฏศิลป์ไทยได้ ๒. นักเรียนสามารถอธิบาย ประเภทของนาฏศิลป์ไทยได้ - การถามตอบ - ค าถาม นักเรียนร้อยละ ๗๐ ตอบถูก ถือว่าผ่าน ด้านทักษะ ๑. นักเรียนสามารถวิจารณ์และ เปรียบเทียบประเภทของนาฏศิลป์ ไทยได้ ๒. นักเรียนสามารถนุ่งโจงกระเบน ได้ถูกต้อง - การประเมิน ทักษะปฏิบัติ - แบบประเมิน ทักษะปฏิบัติ ร้อยละ ๖๐ ถือว่าผ่าน ด้านคุณลักษณะ นั กเ รี ยน ส า ม า ร ถป ฏิบัติ ต า ม กฎระเบียบกติกาการเข้าห้องเรียน อย่างเคร่งครัด - การสังเกต - แบบสังเกต เกิน ๒ คะแนนถือว่าผ่าน จุดประสงค์การประเมิน วิธีการวัด เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน มีสมรรถนะทางความสามารถใน ด้านสื่อสาร ด้านการคิด และด้าน การแก้ปัญหา การใช้ทักษะชีวิต การประเมิน ส ม ร ร ถ น ะ ส าคัญ แบบประเมิน สมรรถนะส าคัญ ผ่านเกณฑ์ในระดับดีขึ้นไป คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้าน มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการ ท างาน รักความเป็นไทย ก า รป ระ เมิน คุณลักษณะอัน พึงประสงค์ แบบประเมิน คุณลักษณะอัน พึงประสงค์ ร้อยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์
44 ๑๐.บันทึกหลังแผนการจัดการเรียนรู้ ๑๐.๑ ผลการจัดการเรียนรู้ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ๑๐.๒ ปัญหาและอุปสรรค .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ๑๐.๓ ข้อเสนอแนะ/วิธีการแก้ไข .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ................................................................. (นางสาววิจิตรา บัวค า) ต าแหน่ง นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู วันที่………เดือน………............พ.ศ…………
45 ข้อเสนอแนะของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ มีองค์ประกอบของแผนครบถ้วน และถูกต้องตามหลักวิชาการ มีกิจกรรมการเรียนรู้เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ ใช้สื่อและแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย เหมาะสม มีการวัดและประเมินผลสอดคล้องกับจุดประสงค์และกระบวนการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิธีการที่หลากหลาย แผนการจัดการเรียนรู้น าไปสู่การปฏิบัติได้ สอดคล้องกับหลักสูตร บริบท สภาพของผู้เรียนและ ชุมชน ลงชื่อ .............................................. (นายกฤษฎา อาจแก้ว) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ วันที่ ......... เดือน .................... พ.ศ............... ข้อเสนอแนะของหัวหน้างานวัดและประเมินผลการศึกษา มีองค์ประกอบของแผนครบถ้วน สมบูรณ์ และถูกต้องตามหลักวิชาการ มีกิจกรรมการเรียนรู้เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ มีการใช้สื่อและแหล่งเรียนรู้หลากหลาย เหมาะสม มีการวัดและประเมินผลครอบคลุมพฤติกรรมพุทธิพิสัย จิตพิสัย ทักษะพิสัย ลงชื่อ ................................................. (นางสาวจันทิรา แวงวงษ์) หัวหน้างานวัดและประเมินผลการศึกษา วันที่ ......... เดือน ..................... พ.ศ...............