The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ SLI Model

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Janchai Pokmoonphon, 2022-06-13 23:30:33

นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ SLI Model

นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ SLI Model



บทสรุปผบู้ รหิ าร
รายงานนวัตกรรมด้านการจัดการเรียนรู้ เร่ือง การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยกระบวนการ

SLI Model (Strategy & Framework Learning Improvement & Innovation Model) ๑) เพือ่ พฒั นาคุณภาพ
การศึกษาของโรงเรยี นโพธนิ ิมิตวทิ ยาคม โดยมีเป้าหมายพฒั นาพฒั นานวตั กรรมการจัดการเรยี นรู้ตามกระบวนการ
SLI Model (Strategy & Framework Learning Improvement & Innovation Model) ๒ ) เ พื่ อ ย ก ร ะ ดับ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนโรงเรียนโพธินิมิตวิทยาคม ปีการศึกษา ๒๕๖๔ และเป้าหมายของ
การดาเนินงานคอื ๑) จานวนนักเรียนท่มี ผี ลการเรยี นติดค้างในปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ ลดลงเม่อื เทยี บกับปีการศึกษา
๒๕๖๓ ๒) จานวนครโู รงเรียนโพธนิ มิ ติ วิทยาคมรอ้ ยละ ๘๐ มีการนารูปแบบนวตั กรรม SLI Model (Strategy &
Framework Learning Improvement & Innovation Model) มาใช้งาน ๓) มีนวัตกรรมระบบการติดตาม
คะแนน/ ภาระงาน เกิดขึ้น อย่างน้อย ๑ ชิ้น ๔) จานวนครูโรงเรียนโพธินิมิตวิทยาคมร้อยละ ๘๐
มีการใช้งานระบบการติดตามคะแนน/ภาระงาน ของนักเรียน แบบระบบเปิด ด้วยเครื่องมือ Google Sheet
โดยได้ขับเคลื่อนเครือข่ายการนิเทศร่วมกับหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องกับก ารจัดการศึกษาในพื้นท่ีการศึกษา
ได้แก่ ๑. สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานนทบุรี ๒. สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ (PIM)
๓. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ๔. สโมสร เมืองทอง ยูไนเต็ด ๕.เทศบาลนครปากเกร็ด
๖. องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวัดนนทบุรี ๗. โรงเรยี นสวนกหุ ลาบวิทยาลัย นนทบรุ ี ในการสรา้ งนวตั กรรมทางด้าน
การจดั การเรยี นรู้เพือ่ ยกระดับผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นของนักเรียน โรงเรยี นโพธินมิ ติ วทิ ยาคม

ผลการดาเนินงาน
๑. ผลการออกแบบและพฒั นานวัตกรรมด้านการจดั การเรียนรู้ เร่อื ง การยกระดับผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน
ด้ว ยก ร ะ บว น ก าร SLI Model (Strategy & Framework Learning Improvement & Innovation Model)
เพ่ือยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน โรงเรียนโพธินิมิตวิทยาคม เป็นการพัฒนานวัตกรรม
ทางการศึกษา คือ ระบบติดตามคะแนน/ภาระงาน ของนักเรียน แบบระบบเปิด ด้วยเครื่องมือ Google Sheet
และระบบปิด On-line ดว้ ยเคร่ืองมือ LINE OA
๒. ในการสร้างนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ของโรงเรียนโพธินิมิตวิทยาคม ได้มีการนาแนวคิด
ของกระบวนการ DALI มาประยกุ ตแ์ ละปรับใช้ให้สอดคลอ้ งและมีความเหมาะสมกับโรงเรียน โดยได้มีการกาหนด
SLI Model (Strategy & Framework Learning Improvement & Innovation Model) ในการจัดทา
๓. ผลลัพธ์ท่ีเกิดจากการพัฒนาและนานวตั กรรมไปใช้งาน คือ (๑) ผลท่ีเกิดกับสถานศึกษา ได้นวัตกรรม
ด้านการจดั การเรียนรู้ SLI Model (Strategy & Framework Learning Improvement & Innovation Model)
ของโรงเรียนโพธินิมิตวิทยาคม (๒) ผลที่เกิดกับครูผู้สอน ครูได้มีการพัฒนาการจัดการเรยี นร้แู ละนานวัตกรรมไป
ใช้ในการแก้ปัญหาผู้เรียน (๓) ผลที่เกิดกับผู้เรียน จานวนนักเรียนที่มีผลการเรียนติดค้าง ปีการศึกษา ๒๕๖๔
ทุกช้นั ปีมีผลการเรยี นติดคา้ งลดลงในโดยเปรยี บเทียบกับปีการศึกษา ๒๕๖๓ และ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นระดับดี
(เกรด ๓) ข้ึนไประดับกลุ่มสาระของนักเรียน ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น
และมัธยมศกึ ษาตอนปลายส่วนใหญเ่ พิ่มสงู ขน้ึ เมือ่ เปรียบเทยี บกับปีการศกึ ษา ๒๕๖๔



ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
๑. โรงเรียนควรมีการกาหนดนโยบายในการขยายผลการดาเนินงานในด้านนวตั กรรม หรือผลการปฏิบัติ
ที่เปน็ เลศิ ให้แกค่ รเู พอื่ นาไปใชภ้ ายในโรงเรยี น รวมถึงควรใหม้ กี ารตอ่ ยอดนวัตกรรมทสี่ ามารถพฒั นาไดใ้ นอนาคต
๒. โรงเรียนควรมีการพัฒนาและต่อยอดทีมพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนให้มีความเข้มแข็ง
รวมถึงการสร้างเครอื ข่ายในการรว่ มกันพฒั นานวัตกรรมด้านการเรยี นการสอนกับสถาบันการศึกษา หรอื โรงเรียน
อ่ืนๆ ในระดับอาเภอ และระดับจังหวัดอย่างสม่าเสมอเพ่ือเป็นการแลกเปล่ียนเรียนรู้ และนามาประยุกต์
ใช้ในโรงเรียน
๓. โรงเรยี นควรมีการวางแผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาร่วมกนั ระหว่างผู้บรหิ าร ครผู ้สู อนรวมถึงผู้ปกครอง
อย่างตอ่ เนอื่ งและเป็นระบบเพอ่ื ให้การพฒั นาเป็นไปอย่างรอบด้านและตรงกับความตอ้ งการของทุกภาคส่วน



คำนำ

ตามที่สานักงานศึกษาธิการจังหวัดนนทบุรี สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ได้ดาเนินงานโครงการ
Innovation For Thai Education (IFTE) ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.๒๕๖๕ และมกี จิ กรรมการคัดเลือกแนวทาง
หรอื รปู แบบการพัฒนานวัตกรรมการศกึ ษา ๓ ดา้ น ได้แก่ ดา้ นการบรหิ ารจัดการ การจดั การเรยี นรู้ และการนเิ ทศ
ตดิ ตาม และประเมินผล โดยทางโรงเรยี นโพธินมิ ติ วทิ ยาคมไดร้ ับทราบแล้วนน้ั

ส่วนด้านการจัดการเรียนรู้ได้มีการพัฒนานวัตกรรม เรื่อง การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ด้วยกระบวนการ SLI Model (Strategy & Framework Learning Improvement & Innovation Model)
ขน้ึ มาเพื่อการติดตามคะแนน/ภาระงาน/การสอบกลางภาค ของนกั เรียนในชว่ งสถานการณโ์ ควิด-๑๙ ทส่ี ่งผลทา
ใหค้ ณุ ภาพนกั เรียนมผี ลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนท่ีสงู ขึ้น

บดั นโ้ี รงเรียนโพธินมิ ติ วทิ ยาคม ไดจ้ ดั ทารายงานการจดั ทานวตั กรรมเสรจ็ สน้ิ แลว้ ทางโรงเรียนขอขอบคุณ
คณะครูและบุคลากรทางการศกึ ษาของโรงเรยี นท่าหลวงวทิ ยาคมทุกคน ผทู้ ม่ี สี ว่ นเกีย่ วข้องทกุ ฝา่ ย ทมี่ ีสว่ นร่วม
ในการจดั ทานวัตกรรมการศึกษาในครง้ั น้ี

โรงเรียนโพธินิมิตวิทยาคม

สารบัญ ง

เรื่อง หน้า
บทสรปุ ของผู้บรหิ าร ก
คานา ค
สารบัญ ง
สารบญั ตาราง จ
สารบญั ภาพ ฉ
สว่ นที่ ๑ บทนา
ช่ือผลงานนวตั กรรม ๑
ช่ือผู้พัฒนานวัตกรรม ๑
รายชอ่ื เครอื ข่ายความรว่ มมือ (MOU) ๑
กรอบแนวคดิ ในการนวัตกรรม ๒
ความเปน็ มาและความสาคญั ๓
วัตถปุ ระสงค์ ๕
ขอบเขตการดาเนนิ งาน/กลุ่มเป้าหมาย ๕
ระยะเวลาดาเนนิ การ ๖
ส่วนท่ี ๒ หลักการ แนวคิด ทฤษฎีทีเ่ กี่ยวข้อง
หลกั การแนวคิด ทฤษฎที ใี่ ชใ้ นการพฒั นาคุณภาพด้านการจัดการเรยี นรู้ ๗
วงจรบริหารงานคณุ ภาพ PDCA ๗
วงจรบรหิ ารงานคุณภาพ PDSA ๑๐
การปฏบิ ตั งิ านของวงจร DALI ๑๑
รูปแบบการสอน ๑๓
รปู แบบการเรยี นการสอนผา่ นเว็บ (Web – Base Instruction) ๑๓
รูปแบบการเรียนการสอนออนไลน์ (Online- Learning) ๑๖
รปู แบบการจัดการเรียนการสอนแบบปกติ (On - Site) ๑๘
รปู แบบการเรยี นแบบผสมผสาน (Blended- Learning) ๑๘
การจัดการเรียนการสอนแบบเชงิ รุก (Active Learning) ๒๒
ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน ๒๔
ส่วนท่ี ๓ ผลการดาเนินงาน
กระบวนการออกแบบและพฒั นานวตั กรรม ๒๙
รายละเอียดของนวัตกรรม ๓๓
รปู แบบและวธิ กี ารนานวตั กรรมไปใช้ ๓๕
ผลลพั ธท์ ่ีเกิดจากการพฒั นาและนานวตั กรรมไปใชง้ าน ๓๖
ปัจจยั ความสาเร็จ ปัญหา อุปสรรคและข้อเสนอแนะ ๔๐
การเผยแพรน่ วัตกรรมด้านการจดั การเรยี นรู้ ๔๑
เอกสารอ้างอิง ๔๓



สารบัญตาราง หนา้
๓๖
เรอ่ื ง
ตารางท่ี ๑ การใชง้ านนวตั กรรมระบบตดิ ตามคะแนน/ภาระงานของนกั เรยี น ๓๗
๓๗
ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔
ตารางท่ี ๒ เปรียบเทียบจานวนนักเรียนท่มี ผี ลการเรียนตดิ คา้ ง ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓-๒๕๖๔ ๓๘
ตารางท่ี ๓ รอ้ ยละของนักเรยี นทมี่ รี ะดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับดี ( เกรด ๓ ) ขึน้ ไป
๓๙
ระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้
ตารางที่ ๔ รอ้ ยละของนักเรียนทม่ี ีระดบั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นระดับดี ( เกรด ๓ ) ขน้ึ ไป ๔๐

ระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
ตารางท่ี ๕ รายงานผลการเปรียบเทยี บผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นระดับกลมุ่ สาระการเรยี นรู้

ของนกั เรยี นปกี ารศึกษา ๒๕๖๓-๒๕๖๔
ตารางท่ี ๖ ตารางสรปุ ความพึงพอใจการใชง้ านนวัตกรรมด้านการจดั การเรียนรู้



สารบญั ภาพ หนา้

เร่อื ง ๑๗
ภาพประกอบที่ ๑ กรอบแนวคดิ ในการพัฒนานวัตกรรมดา้ นการจัดการเรยี นรู้
ภาพประกอบท่ี ๒ องค์ประกอบของระบบการเรยี นการสอนออนไลน์ ๑๙

ที่มา : ฐาปนีย์ ธรรมเมธา (2557 : 11-17) ๒๙
ภาพประกอบที่ ๓ Model แสดงนยิ ามความหมายของการเรียนรู้แบบผสมผสาน
๓๒
(Blended Learning) ที่มา: limitlesseducation.net
ภาพประกอบที่ ๔ กรอบแนวคดิ ในการออกแบบ SLI Model (Strategy & Framework ๓๓

Learning Improvement & Innovation Model) ๓๔
ภาพประกอบท่ี ๕ การนา SLI Model (Strategy & Framework Learning

Improvement & Innovation Model) มาใช้เพื่อให้เกิดนวตั กรรม
ภาพประกอบท่ี ๖ นวตั กรรมการติดตามคะแนน/ ภาระงานของนกั เรียน แบบระบบเปิด

ดว้ ยเครื่องมือ Google Sheet
ภาพประกอบท่ี ๗ LINE OFFICIAL ACCOUNT



สว่ นท่ี ๑
บทนำ

๑) ชื่อนวตั กรรม

การยกระดบั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นดว้ ยกระบวนการ SLI Model (Strategy & Framework Learning
Improvement & Innovation Model)

๒) ช่อื ผพู้ ฒั นำนวตั กรรม/ผู้ร่วมพฒั นำนวัตกรรม

๑. นางดวงพร ไชยรุตม์ ตาแหน่ง ครู

๒. นายนิธิ ทองเปี่ยม ตาแหน่ง ครู
ตาแหนง่ ครู
๓. นายเกยี รติศักด์ิ จนั ทรอ์ ปุ ตาแหน่ง ครู

๔. นายสรุ โชค สงั ฆะธรรม ตาแหนง่ ครู
ตาแหน่ง ครู
๕. นางสาวปิยนชุ เหลา่ ชาติ
ตาแหน่ง ครู
๖. นางสาวฑชิ า โมฬีชาติ ตาแหนง่ ครู

๗. นางสาวกมลมาศ ยรู กั คุณ

๘. นางสาวอังศุมาลนิ อินทร์สุวรรณ์

๓) รำยช่อื เครอื ข่ำยควำมรว่ มมอื (MOU)/ กำรบูรณำกำรเพื่อใชน้ วตั กรรม
- สานักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษานนทบุรี

- สถาบนั การจดั การปญั ญาภิวฒั น์ (PIM)
- มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
- สโมสร เมอื งทอง ยไู นเตด็

- เทศบาลนครปากเกรต็
- องค์การบรหิ ารส่วนจงั หวัดนนทบรุ ี

- โรงเรียนสวนกุหลาบวทิ ยาลัย นนทบรุ ี



๔) กรอบแนวคิดในกำรพัฒนำนวตั กรรม

ภำพประกอบที่ ๑ กรอบแนวคดิ ในกำรพฒั นำนวัตกรรมดำ้ นกำรจัดกำรเรียนรู้

กรอบแนวคิดในการพัฒนานวัตกรรมของโรงเรียนโพธินิมิตวิทยาคมจะดาเนินการ โดยเร่ิมต้นจาก
การศึกษาบริบทที่เกี่ยวข้องที่ส่งผลกระทบต่อการดาเนินงานและเป้าหมายของโรงเรียน เช่น หลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง นโยบายกระทรวง ซ่ึงถูกถ่ายทอดเป็นแผนปฏิบัติราชการของโรงเรียน จากน้ันจึงดาเนินการ
ศึกษาแนวคิดในการพฒั นานวัตกรรมของโรงเรียน เช่น วงจรบริหารงานคุณภาพ PDCA หลักการ แนวคิด ทฤษฎี
PDSA
การปฏบิ ตั ิงานของวงจร DALI รปู แบบการเรียนการสอนในรูปแบบต่าง ๆ เพือ่ นามากาหนดกรอบในการดาเนินงาน
เพ่ือพัฒนานวัตกรรม โดยการนาการปฏิบัติงานของวงจร DALI มาปรับใช้เพื่อเป็นกรอบในการดาเนินงานพฒั นา
นวตั กรรมของโรงเรียน

จากนั้นจึงวิเคราะห์สภาพปัญหา/โอกาสในการปรับปรุงของโรงเรียน ในปีการศึกษา 2564
ซึง่ ประกอบดว้ ย สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 และการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและพฤติกรรม
ของนักเรียน เพ่ือนาไปสู่การออกแบบ นานวัตกรรมไปใช้ และประเมินผลท่ีเกิดขึ้นจากการใช้นวัตกรรมในด้าน
ประสิทธิภาพของนวัตกรรม ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และความพึงพอใจในการใช้นวัตกรรมของครู นักเรียน
และผู้ปกครอง



๕) ควำมเป็นมำและควำมสำคญั
ในยุคประเทศไทย ๔.๐ เป็นยุคท่ีกระทรวงศึกษาธิการ ได้กาหนดนโยบายเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้

โดยส่งเสรมิ การพัฒนากระบวนการเรยี นรูท้ ่สี ง่ เสริมคณุ ลกั ษณะท่ีจาเปน็ สาหรับผู้เรียนในศตวรรษท่ี ๒๑ การพฒั นา
กระบวนการจัดการเรียนรู้เชิงบูรณาการ องค์ความรู้แบบสหวิทยาการ การปฏิบัติจริง Ministry of Education
(๒๐๑๘) มีเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานทุกคนให้มีพัฒนาการเหมาะสมตามวัย
มีคุณภาพ และทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ ซึ่งประกอบด้วย ๑) พัฒนาผู้เรียนระดับก่อนประถมศึกษา
ให้มีพัฒนาการ ทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา ให้มีความพร้อมเข้าสู่การเรียนในระดับ
ทสี่ ูงข้นึ ๒) ส่งเสริม สนับสนนุ ใหผ้ ้เู รยี นสามารถอ่านออกเขียนได้ตามช่วงวยั ๓) ส่งเสรมิ สนับสนุน ใหผ้ ้เู รยี นมนี ิสัย
รักการอ่าน ๔) ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ท่ีให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ผ่านกิจกรรมการปฏิบัติจริง (Active Learning)
เน้นทักษะ กระบวนการให้เกิดทักษะการคิดวิเคราะห์คิดแก้ปัญหา และคิดสร้างสรรค์ในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้
ท้ังในและนอกห้องเรียน ๕) ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ และ ๖) ปลูกฝังทักษะ
กระบวนการวิทยาศาสตร์ และจิตวิทยาศาสตร์ (OBEC, ๒๐๑๗) ได้ให้ความสาคัญของการจัดการเรียนรู้โดย
กระบวนการ Active Learning โดย การส่งเสริมให้ครูจัดทาหนว่ ยการเรียนรู้ Active Learning ด้วยการคัดเลือก
ผลงานเพื่อ เชิดชูเกียรติจาแนกเป็นระดับ ระดับดี ดีเด่น ดีเยี่ยม ทั้งมีกิจกรรมเสริมเติมเต็มความรู้เก่ียวกับการ
จัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ให้แก่ครูผู้ ส่งผลงานท่ีได้รับการคัดเลือกด้วย ซึ่งการส่งเสริมให้มีการจัดทา
หน่วยการเรียนรู้ดังกล่าวจะส่งผลให้คุณครูได้นา หน่วยการเรียนรู้ที่ได้ออกแบบขึ้นน้ัน ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้
เพื่อการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่างต่อเนอ่ื ง ครอบคลุมทุกตัวชี้วัดของมาตรฐานการเรียนรู้อย่างมปี ระสิทธิภาพใน
การจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning น้ี ครูผู้สอนจาเป็นต้องปรับเปลี่ยนวิธีการจัดการเรียนการสอนให้
สอดคลอ้ งกับการเปล่ยี นแปลงของสงั คม เทคโนโลยี และการเรียนรูข้ องผเู้ รียนตอ้ งเปล่ยี นจากผู้สอนเปน็ ผู้ถา่ ยทอด
โดยปรับเปลี่ยนบทบาทเป็นผู้ช้ีแนะ แนะนาวธิ ีการ ค้นคว้าหาความร้เู พือ่ พฒั นาผู้เรยี น ให้สามารถแสวงหาความรู้
และประยุกต์ใช้ทกั ษะต่าง ๆ โดยการสร้างความเข้าใจ ดว้ ยตนเองจนเกิดเปน็ การเรยี นรู้อย่างมีความหมาย ในการ
จัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning มปี จั จยั เกยี่ วข้องท่มี คี วามสาคัญตอ่ การจัดการเรยี นการสอนดังกล่าว
ประกอบด้วย ผู้สอน และสภาพแวดล้อม โดยด้าน ผู้สอนต้องมีการเตรียมตัวค่อนข้างมากเกี่ยวกับการ
จัดสง่ิ แวดล้อมและอปุ กรณ์ให้เอื้อตอ่ การประกอบกิจกรรมของ ผเู้ รียน เพอื่ ช่วยใหผ้ เู้ รยี นไดค้ วามรู้จากสิ่งท่ีผู้เรียน
ปฏิบัติ สว่ นผู้เรยี นตอ้ งรว่ มคิดและแก้ปัญหาด้วยตัวเอง (PanawanWong, ๒๐๑๓)

ครูเป็นบุคคลท่ีมีความสาคัญอย่างย่ิง จนอาจกล่าวได้ว่าเป็นหัวใจ หรือฟันเฟืองสาคัญของกระบวนการ
จัดการศึกษา เน่ืองจากครูเป็นผู้ท่ีมีหน้าที่ในการจัดการเรียนการสอน ส่งผลโดยตรงต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน
คุณสมบัติ ของครูจึงเป็นตัวแปรสาคัญที่สามารถทานายหรือคาดหมายคุณภาพของผู้เรียนโดยตรง การพัฒนาครู
โดยทั่วไป มักใช้วิธีการประชุมอบรมซึ่งสามารถพัฒนาครูจานวนมากภายในเวลาอันสั้น เตรียมการ
และดาเนินการง่าย แต่ไมส่ ง่ ผล ให้ครูเปล่ียนแปลงการสอน วิธีการพฒั นาครูท่ีเนน้ เชิงปริมาณ ไม่ได้ใช้ขอ้ มูลบริบท
ความต้องการ หรือปัญหาท่ี แท้จริงของครู เป็นจุดอ่อนของการดาเนินการพัฒนาครู ท่ีมีเป้าหมายพัฒนาครู
ใหส้ ามารถปรบั วิธเี รยี นเปล่ียนวธิ สี อน เชอ่ื มโยงความรู้ ทกั ษะท่ีมอี ย่ไู ปสกู่ ารปฏิบตั ิจรงิ ในชั้นเรยี น และสง่ ผลต่อไป
ยังคุณภาพของนกั เรยี น

การบูรณาการนวัตกรรมเทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอนจึงเป็นปัจจัยที่สาคัญ ประการหนึ่ง
ในการปฏิรูปการศึกษาเพื่อตอบสนองต่อนโยบายประเทศไทย ๔.๐ (Thailand ๔.๐) และการศึกษาปัจจุบัน



ในยุคศตวรรษที่ ๒๑ ทีเ่ อือ้ อานวยต่อการเรยี นรู้และพฒั นาความคิดสร้างสรรค์ลงสู่ พื้นทีแ่ ละชุมชน ทง้ั การพัฒนา
แหล่งเรียนรู้ การจัดให้มีเวทีหรือช่องทางการพัฒนาและแสดงออกของ นักคิดและนักสร้างสรรค์ และเสริมสร้าง
ต้นแบบท่ีเหมาะสม และเป็นยุคของข้อมูลข่าวสารและการ เปล่ียนแปลง ด้วยความก้าวหน้าของเทคโนโลยีซึ่ง
นักเรียนตอ้ งเรยี นรทู้ กั ษะทจ่ี าเปน็ เพื่อให้ประสบ ความสาเรจ็ ในยคุ ปจั จุบนั นี้ ได้แก่ ทกั ษะการเรยี นร้แู ละนวตั กรรม
หรือ 3Rและ ๘C ซึ่งมีองค์ประกอบ ดังนี้ ๓R คือ Reading-อ่านออก, (W) Writing-เขียนได้, (A) Rithmatic
มที กั ษะในการคานวณและ ๘C ได้แก่ Critical Thinking and Problem Solving มที ักษะในการคิดวิเคราะห์ การ
คิดอย่างมี วิจารณญาณ และแก้ไขปัญหาได้Creativity and Innovation คิดอย่างสร้างสรรค์ คิดเชิงนวัตกรรม
Collaboration Teamwork and Leadership ความร่วมมอื การทางานเปน็ ทีม และภาวะผูน้ า Communication
Information and Media Literacy ทักษะในการส่ือสาร และการรู้เท่าทันสื่อ Cross-cultural Understanding
ความเข้าใจความแตกต่างทางวัฒนธรรม กระบวนการคิดข้ามวัฒนธรรมComputing and ICT Literacy ทักษะ
การใช้คอมพิวเตอร์ และการรู้เท่าทันเทคโนโลยี Career and Learning Skills ทักษะทางอาชีพ และการเรียนรู้
Compassion มคี ุณธรรม มีเมตตา กรณุ า มรี ะเบียบวินยั ซงึ่ เปน็ คณุ ลักษณะพ้ืนฐานสาคญั ของทกั ษะขั้นตน้ ทงั้ หมด
และเปน็ คุณลกั ษณะ ที่เดก็ ไทยจาเป็นต้องมี

การระบาดของเช้ือไวรัส โควิด-๑๙ ส่งผลต่อระบบการศึกษาเป็นอย่างมาก ต้ังแต่เชื้อไวรัสเร่ิมระบาด
ในประเทศจีนปลายปีที่ ๒๕๖๒ จนถึงปัจจุบัน UNESCO รายงานว่ารัฐบาล ๑๙๑ ประเทศท่ัวโลก ประกาศปิด
สถานศึกษาท้ังประเทศ มีผู้เรียนได้รับผลกระทบกว่า ๑.๕ พันล้านคน (มากกว่าร้อยละ ๙๐ ของผู้เรียนท้ังหมด)
สาหรับประเทศไทยสถานการณ์การระบาดเกิดขึ้นในช่วงที่สถานศึกษาปิดภาคเรยี น โดยในช่วงต้น เดือนเมษายน
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบให้เล่ือนวันเปิดเทอมภาคเรียนที่ ๑ ไปเป็นวันท่ี ๑ กรกฎาคม ๒๕๖๓
ไทยจึงมีโอกาสทบทวนบทเรียนจากต่างประเทศเพื่อเตรียมตัวให้พร้อมในการจัดการเรยี นการสอนรูปแบบใหม่ท่ี
สอดรับกับมาตรการป้องกันการระบาด พร้อมกับเตรียมมาตรการต่าง ๆ เพื่อป้องกันไมใ่ ห้ผู้เรียนได้รับผลกระทบ
จากรูปแบบการเรียนท่ีเปลี่ยนไปในสถานการณ์โควิด-๑๙ ระบาด เราควรเปล่ียนให้ทุก ๆ ท่ีกลายเป็น โรงเรียน
เพราะการเรยี นรยู้ งั ตอ้ งดาเนนิ อยแู่ ม้นักเรียนไม่สามารถไปโรงเรียนตามปกติ ในหลายประเทศท่ีประกาศมาตรการ
ปิดโรงเรียน รัฐบาลมักจะออกมาตรการด้านการเรียนรู้มารองรับ ด้วยการเรียนทางไกล รูปแบบต่าง ๆ
โดยพิจารณาจากเง่ือนไขความพร้อมด้านอุปกรณ์ ความพร้อมของพ่อแม่ และความพร้อมตาม ช่วงวัยของเด็ก
(พงศ์ทศั วนชิ านันท์, ๒๕๖๓ : ออนไลน์)

สถานการณ์เรียนการสอนออนไลน์ในช่วงปลายปี พ.ศ.๒๕๖๒ ภายใต้ปัญหาการแพร่ระบาดของ
สถานการณ์โควิด ๑๙ ส่งผลกระทบต่อคนทั่วโลกและประเทศไทย สร้างความเสียหายต่อเศรษฐกิจและสังคม
โดยเฉพาะระบบการศึกษาเพราะสถานศึกษาไม่สามารถทาการจัดการเรียนการสอนแบบปกติได้ อย่างไรก็ตาม
ในยุคทก่ี ารสอ่ื สารไรพ้ รมแดนและมีเคร่อื งมอื ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศทีห่ ลากหลาย ทาให้สถานศึกษาหลายแห่ง
สามารถดาเนินการเรียนการสอนต่อไปไดโ้ ดยใชเ้ ทคโนโลยีดา้ นตา่ ง ๆ มาเปน็ เครือ่ งมือชว่ ยในการพฒั นา เปน็ ระบบ
การเรียนการสอนแบบออนไลน์ เพื่อให้สามารถดาเนินการเรียนการสอนของตนต่อไปได้ (นงลักษณ์ อัจนปัญญา,
2563)

จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ส่งผลให้รูปแบบการเรียนการสอนในแต่ละภูมิภาค
ของประเทศต้องมีความแตกต่างกันไปตามความเหมาะสม กระทรวงศึกษาธิการได้เตรยี มความพร้อมโดยกาหนด
รูปแบบการเรียนการสอนของโรงเรียนในแต่พ้ืนที่ไว้ ท้ังหมด 5 รูปแบบ ประกอบด้วย การเรียน



แบบ On- site คือ การเดินทางมาเรียนท่ีโรงเรียนซ่ึงเหมาะสาหรับโรงเรียนที่มีปริมาณนักเรียนน้อยสามารถ
จัดพื้นท่ีแบบเว้นระยะห่างและเข้มงวดการสวมหน้ากากอนามัยตามมาตรการด้านสาธารณสุข การเรียน
แบบ On-Air ผ่านระบบมูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม หรือ DLTV การเรียนแบบ On-Line ครูผู้สอน
ทาการสอนผ่านระบบอิเลคทรอนิกส์ การเรียนแบบ On-demand ผ่านระบบแอพพลิเคชั่นและการเรียน
แบบ On- hand ครูผู้สอนเดินทางไปแจกเอกสารใบงานให้กับนักเรียนท่ีบ้าน อย่างไรก็ตามการเรียนการสอน
ทั้ง 5 รูปแบบ จะต้องได้รับการยินยอมจาก ศบค. ของแต่ละจังหวัดเพ่ือให้สามารถจัดการเรียนการสอน
ทีเ่ หมาะสมของแตล่ ะพืน้ ท่ีไดบ้ นพน้ื ฐานความปลอดภยั ทั้งครผู ้สู อนและนักเรียนเป็นอนั ดับแรก

โรงเรียนโพธนิ ิมิตวิทยาคม ต้ังอยู่ในจังหวดั นนทบุรี ซึ่งเป็นพ้ืนท่ีท่ีมีการระบาด การจัดการเรียนการสอน
จึงต้องมีการปรับเปลี่ยนตามบริบทของมาตรการ ศบค. บริบทของนักเรียน และชุมชน ดังน้ันรูปแบบของการ
จัดการเรียนรู้ ในปีการศึกษา 2564 ของโรงเรียนโพธินิมิตวิทยาคม ได้ดาเนินการปรับเปลี่ยน ซ่ึงในส่วนของ
โรงเรยี นโพธนิ ิมติ วทิ ยาคม ไดเ้ ลือกจัดการศึกษาแบบ On-Line, On -hand, On-Demand หรอื On-Air เปน็ หลัก
ในช่วงระบาดของสถานการณโ์ ควิด -19

จากการจัดการเรียนการสอน ในปีการศึกษา 2564 พบว่านักเรียน โรงเรียนโพธินิมิตวิทยาคม
มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนต่ากว่าเกณฑ์ท่ีกาหนด มากกว่าร้อยละ 50 ซ่ึงสาเหตุมาจากนักเรียนขาดเรียน
ขาดการตดิ ตามงานและส่งงาน ทางโรงเรียนจึงไดม้ กี จิ กรรม PLC ระหวา่ งครผู สู้ อนและครูประจารายวชิ า ในสาย
ระดับชั้นและระดับโรงเรียน เพ่ือร่วมกันหาแนวทางแก้ปัญหาดังกล่าว ซ่ึงดาเนินการแก้ปัญหาในข้ันต้น
แต่เน่ืองจากครูแต่ละคนรับผิดชอบนักเรียนจานวนมากและภาระงานท่ีเพิ่มข้ึนในช่วงสถานการณ์โควิ ด -๑๙
ทาให้การตดิ ต่อส่ือสารระหวา่ งครูและนักเรยี น ไมส่ ามารถดาเนินการติดตามนักเรียนเปน็ รายบคุ คลได้ทงั้ หมด

ดังน้ัน จึงได้ดาเนินการจัดทานวัตกรรมการศึกษา ด้านการจัดการเรียนรู้ เรื่อง การยกระดับผลสัมฤทธิ์
ทางการเรยี นดว้ ยกระบวนการ SLI Model (Strategy & Framework Learning Improvement & Innovation
Model) น้ขี ้ึนมาเพื่อ การตดิ ตามคะแนน/ภาระงาน/การสอบกลางภาค ของนกั เรยี นในช่วงสถานการณโ์ ควิด -๑๙
ทีส่ ง่ ผลทาใหค้ ณุ ภาพนกั เรยี นมีผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นทส่ี ูงเพม่ิ ขน้ึ กวา่ เกณฑ์ท่กี าหนด

๖) วัตถุประสงค์
๑) เพอ่ื พัฒนานวัตกรรมการจดั การเรยี นรตู้ ามกระบวนการ SLI Model (Strategy & Framework

Learning Improvement & Innovation Model)
๒) เพ่ือยกระดับผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นของนกั เรยี นโรงเรียนโพธินิมติ วทิ ยาคม ปกี ารศกึ ษา 2564

๗) ขอบเขตกำรดำเนินงำน กลุ่มเปำ้ หมำย ประชำกร / กลมุ่ ตัวอยำ่ ง
ขอบเขตกำรดำเนนิ งำน
กลุ่มเป้ำหมำย
กลมุ่ เปา้ หมายทใี่ ช้ในการพัฒนานวัตกรรมทางการศกึ ษาด้านการจดั การเรียนรใู้ นคร้งั นี้ ประกอบดว้ ย

ครู นกั เรียน ผปู้ กครอง ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ โรงเรียนโพธนิ มิ ิตวิ ิทยาคม
รูปแบบนวตั กรรม SLI Model (Strategy & Framework Learning Improvement & Innovation

Model)



ประชำกร
๑) ครโู รงเรียนโพธนิ ิมิตวิทยาคม ปีการศึกษา ๒๕๖๔ จานวน ๖๗ คน
๒) นกั เรยี นโรงเรยี นโพธินิมติ วทิ ยาคม ปีการศึกษา ๒๕๖๔ จานวน ๑,๐๑๔ คน

เป้ำหมำยเชงิ ปรมิ ำณ
๑) จานวนนักเรยี นทมี่ ีผลการเรียนตดิ ค้างในปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ ลดลงเมือ่ เทียบกับปีการศกึ ษา ๒๕๖๓
๒) จานวนครูโรงเรียนโพธนิ มิ ิตวิทยาคมรอ้ ยละ ๘๐ มกี ารนารปู แบบนวัตกรรม SLI Model (Strategy &

Framework Learning Improvement & Innovation Model) มาใชง้ าน
๓) มีนวัตกรรมระบบการตดิ ตาม คะแนน/ ภาระงาน เกดิ ข้นึ อย่างนอ้ ย ๑ ชิ้น
๔) จานวนครโู รงเรียนโพธนิ มิ ิตวทิ ยาคมร้อยละ ๘๐ มีการใชง้ านระบบการตดิ ตามคะแนน/ภาระงาน

ของนกั เรยี น แบบระบบเปดิ ด้วยเคร่ืองมอื Google Sheet

เป้ำหมำยเชงิ คณุ ภำพ
๑) มีผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นสูงข้นึ เมือ่ เทียบกับปกี ารศึกษา ๒๕๖๓
๒) รอ้ ยละของจานวนนักเรียนทีม่ ีผลการเรียนติดคา้ งในปีการศึกษา ๒๕๖๔ ลดลงเม่อื เทียบกบั

ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓

๘) ระยะเวลำในกำรดำเนนิ งำน
ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ (๑๖ พฤษภาคม ๒๕๖๔ - ๓๐ มีนาคม ๒๕๖๕)



สว่ นที่ ๒
หลกั กำร แนวคิด ทฤษฎที ่ีเก่ียวขอ้ ง

๑. หลกั การแนวคดิ ทฤษฎที ่ีใชใ้ นการพัฒนาคุณภาพด้านการจัดการเรยี นรู้
๑.๑ วงจรบรหิ ารงานคุณภาพ PDCA
๑.๒ วงจรบรหิ ารงานคณุ ภาพ PDSA
๑.๓ การปฏิบตั ิของวงจร DALI

๒. รูปแบบการสอน
๒.๑ รูปแบบการเรยี นการสอนผา่ นเว็บ (Web - Base Instruction)
๒.๒ รปู แบบการเรียนการสอนแบบออนไลน์ (Online - Learning)
๒.๓ รปู แบบการจดั การเรียนการสอนแบบปกติ (On-Site)
๒.๔ รปู แบบการเรียนแบบผสมผสาน (Blended Learning)

๓. การจดั การเรียนการสอนแบบเชงิ รุก (Active Learning)
๔. ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น

๑. หลักกำรแนวคิด ทฤษฎีทีใ่ ชใ้ นกำรพฒั นำคุณภำพดำ้ นกำรจดั กำรเรยี นรู้
๑.๑ วงจรบริหำรงำนคณุ ภำพ PDCA
๑.๑.๑ ควำมหมำยวงจรบรหิ ำรงำนคณุ ภำพ PDCA
สธุ าสินี โพธิจนั ทร์ (๒๕๕๘) กล่าวถงึ วงจรคณุ ภาพของเดมมิง่ ว่า PDCA เปน็ หัวใจสาคัญของการกระทา

การปรับปรุงอย่างต่อเน่ือง หากมีการวางแผนไว้เป็นอย่างดี มักมีโอกาสบรรลุ เป้าหมายได้มากกว่า
ทาโดยไม่มีการวางแผนหรือมีแผนที่ไม่เอ้ือต่อการนาไปปฏิบัติได้จริง อย่างไรก็ตามการวางแผนยังไม่ใช่คาตอบ
สุดท้ายของความสาเร็จ บ่อยคร้ังท่ีมักพบว่ามีแผนที่ดีและจัดเก็บเข้าแฟ้ม ส่วนการดาเนินงานก็ทากันไป ตาม
สถานการณ์ ไมน่ าแผนสูก่ ารปฏบิ ตั ิ โอกาสของความสาเร็จคงไม่เป็นไปตามทีต่ ้ังคา่ เป้าหมายไว้

พิชายุต วงศ์สกุ ฤต (๒๕๖๐) กลา่ วถึง ประโยชนข์ องกระบวนการทางานดว้ ยระบบ PDCA จะสามารถช่วย
กาหนดมาตรฐานในการทางานรว่ มกนั ในองค์กร ทาใหพ้ นกั งานทราบถึง ขน้ั ตอนการปฏบิ ัตงิ านท่ีชัดเจน ลดความ
สับสน และสามารถเตรียมความพรอ้ มล่วงหน้าได้ จงึ ส่งผลให้การทางานเกิดความราบร่นื เปน็ ไปในทศิ ทางเดียวกัน
และนาไปสู่การบรรลุวัตถุประสงค์ท่ีต้ังไว้ร่วมกันได้ ทาให้องค์กรมีวิธีการวางแผนและการทางานท่ีมีความรัดกุม
มากข้ึน รวมไปถงึ ช่วยให้ ทราบลาดับความสาคญั ของงานต่าง ๆ และชว่ ยลดโอกาสทีเ่ กิดปัญหาเดิมซ้า ๆ ในระยะ
ยาว เม่ือเกิดปัญหาหรือข้อบกพร่องจากการทางานจะสามารถรับมือและพัฒนาแผนได้ทันที รวมไปถึงช่วยให้
เราคน้ หาวิธกี ารทดี่ ีกว่าเดิมมาพัฒนาการทางานของตนเองอยเู่ สมอ

Guidotti (๒๐๑๘) กล่าวว่า วงจรเดมมิ่งเป็นกระบวนการบริหารงานหรือการจัดระบบการ ทางานให้มี
ประสิทธิภาพเพ่ือให้ผลผลิตท่ีออกมามีคุณภาพได้มาตรฐานตรงตามเป้าหมายกาหนด อีก ทั้ง Deming, W.
Edwards (1986) ได้คิดค้นวงจรเด็มม่ิง (อังกฤษ: Deming Cycle) คือ วงจรการ ควบคุมคุณภาพ ประกอบดว้ ย
๔ ขั้นตอน คอื



๑. Plan (วางแผน) หมายถึง การวางแผนการดาเนินงานอย่างรอบคอบและครอบคลุมถึง การกาหนด
หัวข้อที่ต้องการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง ซึ่งรวมถึงการพัฒนาส่ิงใหม่ ๆ การแก้ปัญหาที่ เกิดขึ้นจากการปฏิบัติงาน
ประกอบด้วย การกาหนดเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ของการดาเนินงาน การจัดอันดับความสาคัญของเป้าหมาย
กาหนดการดาเนินงาน กาหนดระยะเวลา กาหนด ผู้รับผิดชอบหรือผู้ดาเนินการ และกาหนดงบประมาณท่ีจะใช้
การเขยี นแผนดงั กล่าวอาจปรบั เปลย่ี น ไดต้ ามความเหมาะสมของลกั ษณะของการดาเนินงาน

๒. Do (ปฏบิ ตั ติ ามแผน) หมายถงึ การดาเนนิ การตามแผน ประกอบดว้ ย การมี โครงสรา้ งรองรบั การ
ดาเนนิ การ มีวิธีการดาเนนิ การ และมีผลของการดาเนินการ

๓. Check (ตรวจสอบการปฏิบัติตามแผน) หมายถึง การประเมินแผน ประกอบด้วย การประเมิน
โครงสร้างที่รองรับการดาเนินการ การประเมินขั้นตอนการดาเนินงาน และการประเมินผล ของการดาเนินงาน
ตามแผนท่ีได้ตั้งไว้ โดยในการประเมินดังกล่าวสามารถทาได้เอง โดย คณะกรรมการที่รับผิดชอบแผนการ
ดาเนนิ งานนัน้ ๆ

๔. Act (ปรับปรุงแก้ไข) หมายถึง การนาผลการประเมินมาพัฒนาแผน ประกอบด้วย การนาผลการ
ประเมินมาวิเคราะห์วา่ การปฏิบัติงานใดที่ควรปรับปรุงหรือพัฒนา สิ่งที่ดีอยู่แล้วให้ดี ยิ่งข้ึนไปอีก และสังเคราะห์
รปู แบบการดาเนินการใหม่ท่ีเหมาะสมสาหรับการดาเนินการในปีต่อไป

จึงกล่าวได้ว่าการบริหารงานตามวงจรควบคุมคุณภาพนั้น มี ๔ ข้ันตอน ประกอบด้วย การจัดทา
และการวางแผน (Plan) ที่ต้องทาความเข้าใจวัตถุประสงค์ให้ชัดเจน หลังจากน้ันเป้าหมายที่ต้องการบรรลุ
และกาหนดวิธีดาเนินการเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย ต่อมาการ ปฏิบัติตามแผน (Do) ต้องหาความรู้เก่ียวกับ
วิธีดาเนินการเพื่อดาเนินการตามวิธีการท่ีกาหนด และ เก็บรวบรวมบันทึกข้อมูล ถัดจากการปฏิบัติตามแผน
คือ การตรวจสอบ ติดตาม และประเมินผล (Check) ซึ่งมีความจาเป็นอย่างมาก โดยจะต้องตรวจสอบว่าการ
ปฏิบัติงานเตรงตามมาตรฐานท่ี วางแผนไว้หรือไม่ ตรวจสอบว่าค่าการทางานที่วัดได้ และตรวจสอบว่าได้ตาม
เป้าหมายที่วางไว้ หรือไม่ สุดท้ายคือกาหนดมาตรฐานแก้ไขปัญหาและข้อเสนอแนะที่ทาให้ไม่เป็นไปตามแผน
(Act) โดยการปรับปรุงระบบการทางานเมอื่ งานมีปญั หาหรือไม่ตรงตามความตอ้ งการหรือเปา้ หมายท่ีวางไว้

๑.๑.๒ ข้นั ตอนกำรปฏบิ ตั งิ ำน
โครงสรา้ งการบรหิ ารงานใหป้ ระสบความสาเร็จมีประสทิ ธิภาพและมปี ระสิทธผิ ลตามวงจร PDCA
ประกอบด้วย 4 ขน้ั ตอน โดยมรี ายละเอยี ดในแต่ละด้านดังน้ี (ยทุ ธนา เก้อื กลู , ๒๕๖๔ : ๑๒๙ – ๑๖๐)
๑. ขน้ั ตอนการวางแผน (Planning)
เป็นการกาหนดเป้าหมาย วัตถุประสงค์ในการดาเนินงานวิธีการและข้ันตอนท่ีจาเป็น เพ่ือให้การ
ดาเนินงานบรรลุเป้าหมาย การวางแผนจะต้องทาความเข้าใจกับเป้าหมาย วัตถุประสงค์ให้ชัดเจน เป้าหมาย
ที่กาหนดต้องเป็นไปตามนโยบาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจขององค์กรเพื่อก่อให้เกิดการพัฒนาท่ีเป็นไปในแนวทาง
เดียวกันท่ัวท้ังองค์กร การวางแผนในบางด้านอาจจาเป็นต้องกาหนดมาตรฐานของวิธีการทางานหรือเกณฑ์
มาตรฐานตา่ ง ๆ ไปพรอ้ มกนั ดว้ ยข้อกาหนดท่เี ปน็ มาตรฐานน้จี ะช่วยให้การวางแผนมีความสมบรู ณ์ยง่ิ ขน้ึ เพราะใช้
เป็นเกณฑ์ในการตรวจสอบการปฏิบัติงานให้เป็นไปตามมาตรฐานท่ีได้ระบุไว้ในแผน การวางแผนช่วยให้ผู้บริหาร
รับรู้สภาพปัจจุบันและการเปลีย่ นแปลงท่จี ะเกิดขึ้นในอนาคตโดยอาศัยประสบการณ์ ทักษะ และความรู้ทแ่ี ตล่ ะคน
สงั่ สมมาอย่างลงตัว



ดงั น้ัน การบรหิ ารจดั การในสถานศึกษา ตอ้ งมกี ารวางแผนให้เปน็ ระบบ ครอบคลุม เพ่อื ให้การบรหิ ารงาน
ดา้ นตา่ ง ๆ มีประสทิ ธิภาพและประสทิ ธผิ ลตามแผนที่วางไว้ทุกประการ

๒. ข้นั ตอนการปฏบิ ตั ิ (Doing)
เป็นการปฏิบัติให้เป็นไปตามแผนท่ีได้กาหนดไว้ซ่ึงก่อนท่ีจะปฏิบัติงานใด ๆ จาเป็นต้องศึกษาข้อมูล
และเงื่อนไขต่าง ๆ ของสภาพงานที่จะลงมือปฏิบัติให้ถ่องแท้ก่อน ในกรณีที่เป็นงานประจาที่เคย ปฏิบัติ
หรือเป็นงานเล็กอาจใช้วิธีการเรียนรู้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง แต่ถ้าเป็นงานใหม่หรืองานใหญ่ท่ีต้องใช้บุคลากร
จานวนมากอาจต้องจัดให้มีการฝึกอบรม ก่อนท่ีจะปฏิบัติจริง การปฏิบัติจะต้องดาเนินการไปตามแผน วิธีการ
และขั้นตอนทไ่ี ดก้ าหนดไว้และจะต้องเก็บรวบรวมและบนั ทึกขอ้ มูลที่เกีย่ วข้องกบั การปฏิบตั ิงานไว้ด้วย เพอ่ื ใชเ้ ป็น
ข้อมลู ในการดาเนนิ งานในขน้ั ตอนต่อไป
ดังนน้ั ทุกครง้ั ท่ีมีการปฏิบัตงิ าน ผู้ปฏบิ ตั งิ านต้องมกี ารตั้งเจตนาท่ดี ใี นการปฏิบัตติ ่าง ๆ การบรหิ ารจดั การ
แบบค่อยเป็นค่อยไปจึงมีความจาเป็นและผู้บรหิ ารต้องทราบถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล และพยายามให้พวก
เขาได้ปฏิบัติงานอย่างมีความสุขและยึดม่ันกับองค์กร การที่องค์กรมีผู้ปฏิบัติงานท่ีมีความรู้ความสามารถนบั เปน็
จุดดีและจดุ ได้เปรยี บขององค์กร
๓. ขน้ั ตอนการตรวจสอบ (Checking)
เป็นขั้นตอนการเพ่ือประเมินผลว่ามีการปฏิบัติงานตามแผน หรือไม่มีปัญหาเกิดขึ้นในระหว่างการ
ปฏบิ ตั งิ านหรือไม่ ข้นั ตอนน้มี คี วามสาคัญ เนื่องจากในการดาเนนิ งานใด ๆ มักจะเกดิ ปัญหาแทรกซ้อนท่ีทาให้การ
ดาเนินงานไม่เป็นไปตามแผนอยู่เสมอ ซ่ึงเป็นอุปสรรคต่อประสิทธิภาพและคุณภาพของการทางานการติดตาม
การตรวจสอบ และการประเมินปัญหาจึงเป็นส่ิงสาคัญท่ีต้องกระทาควบคู่ไปกับการดาเนินงาน เพื่อจะได้ทราบ
ข้อมูลท่ีเป็นประโยชน์ในการปรับปรุงคุณภาพของการดาเนินงานต่อไปในการตรวจสอบ และการประเมินการ
ปฏิบัติงานจะต้องตรวจสอบด้วยว่าการปฏิบัตินั้น เป็นไปตามมาตรฐานที่กาหนดไว้หรือไม่ทั้งนีเ้ พ่ือเป็นประโยชน์
ต่อการพัฒนาคุณภาพของงาน การตรวจสอบ เป็นการประเมินและติดตามการปฏิบัติงานต่าง ๆ ในองค์กรอย่าง
เปน็ ระบบ เริ่มตงั้ แตก่ ารวางแผนและเข้าสูก่ ารปฏิบัติงานในองคก์ ร โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการปรับปรุง และแก้ไข
กระบวนการทางานต่าง ๆ ให้ดยี ง่ิ ขนึ้ ตามลาดบั
จากท่ีกล่าวมาข้างต้น ช้ีให้เห็นว่า ผู้นาองค์กรจะต้องให้ความสาคัญกับการกาหนดหน้าท่ีและบทบาท
ของผู้ใต้บังคับบัญชาอย่างชัดเจน และต้องม่ันใจว่ามีคุณสมบัติเหมาะสมเพียงพอท่ีจะปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าว
โดยผู้นาต้องตรวจสอบว่าพวกเขาได้ปฏิบัติหน้าท่ีตามท่ีได้กาหนดไว้หรือไม่เพียงใด และหากปฏิบัติหน้าท่ีอย่างดี
ตามที่ได้รับมอบหมายและเป็นไปตามวัตถุประสงค์ขององค์กร ก็ถือว่าประสบผลสาเร็จและสามารถขับเคลื่อน
องค์กรไปได้ แตห่ ากบกพรอ่ งในการปฏบิ ตั ิงานกต็ ้องมกี ารปรบั ปรุงแก้ไขใหด้ ีขนึ้ ตอ่ ไป

๔. ขนั้ ตอนการปรับปรงุ (Action)
เป็นขั้นตอนของการแก้ไขปัญหาที่เกิดข้ึนหลังจากได้ทาการตรวจสอบแล้ว การปรับปรุงอาจเป็น
การแกไ้ ขแบบเร่งด่วนเฉพาะหน้า หรอื การค้นหาสาเหตุท่ีแท้จรงิ ของปญั หา เพอ่ื ป้องกันไม่ให้เกดิ ปัญหาซา้ รอยเดิม
ก า ร ป รั บ ป รุ ง อ า จ น า ไ ป สู่ ก า ร ก า ห น ด ม า ต ร ฐ า น ข อ ง วิ ธี ก า ร ท า ง า น ท่ี ต่ า ง จ า ก เ ดิ ม เ ม่ื อ มี ก า ร ด า เ นิ น ง า น
ตามวงจร PDCA ในรอบใหม่ข้อมูลท่ีได้จากการปรับปรุงจะช่วยให้การวางแผนมีความสมบูรณ์และมีคุณภาพ

๑๐

เพิ่มขึ้นได้ด้วย การปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงกระบวนการทางานต่าง ๆ ในองค์กรให้มีประสิทธิภาพ
และประสิทธิผลเพิม่ มากขนึ้

ดงั น้ัน วงจรคุณภาพ PDCA คือ วงจรบริหารงานคณุ ภาพ ประกอบไปดว้ ย ๔ ขัน้ ตอน Plan-Do-Check-Act
เป็นกระบวนการที่ใชป้ รบั ปรงุ การทางานขององค์กรอย่างเป็นระบบ โดยมีเปา้ หมายเพือ่ แกป้ ัญหาและเกดิ การพัฒนา
อย่างต่อเน่ือง (Continuous improvement) จุดเด่น คือ เป็นกระบวนการที่ทาซ้าได้เรื่อย ๆ จนกลายเป็น วงจร
(Cycle) วนลูปนนั่ เอง

๑.๒ วงจรบรหิ ำรงำนคณุ ภำพ PDSA
๑.๒.๑ แนวคดิ และทฤษฎี PDSA

PDSA หรือ Plan-Do-Study-Act เป็นโมเดลการแก้ปัญหา ๔ ข้ันตอนแบบเป็นวงล้อ (Cycle)
ใช้สาหรับแก้ไขปัญหา ปรับปรุงกระบวนการผลิตหรือบรกิ ารอย่างต่อเน่ืองและย่ังยืน และยังเป็นท่ีรู้จักกันในนาม
Deming Wheel หรอื Deming Cycle ซงึ่ เปน็ รูปแบบการเรียนรู้แบบบูรณาการ

องคป์ ระกอบของ PDSA
๑. Plan (การวางแผน) ข้ันตอนแรกคือการระบุเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ที่ชัดเจนในสิ่งท่ีต้องการ
จะแก้ไขหรือพัฒนาให้ดีข้นึ การกาหนดทฤษฎี การกาหนดตวั ชี้วัดความสาเร็จ และการนาแผนท่ีได้วางไว้ทั้งหมดไป
ปฏบิ ัตจิ รงิ ในข้นั ตอนต่อไป
๒. Do (การลงมือทดสอบ) เป็นข้ันตอนที่จะนาส่วนประกอบของแพลนท่ีวางไว้ในข้ันตอนการวางแผน
มาใช้งาน ดาเนินการตามขั้นตอนท่ีแพลนไว้ทุกอย่างรวบรวมข้อมูลที่จาเป็นให้ครบ จากนั้นก็ทาการบันทึก
ประสบการณ์ ปญั หาและความผดิ พลาดทเี่ กดิ ข้นึ ในข้นั ตอนการลงมอื ทานด้ี ้วย
๓. Study (การเรียนรู้) ขั้นตอนน้ีจะมีการวิเคราะห์สิ่งท่ีได้ลงมือทดสอบไปในขั้นตอนการลงมือทดสอบ
รวมถึงผลลัพธ์ด้วยว่าออกมาตรงตามจุดประสงค์หรือเกิดข้อผิดพลาดที่จุดไหนบ้าง ไตร่ตรองส่ิงที่ได้เรียนรู้
จากข้ันตอนท่ีผ่านมา ที่สาคัญคือต้องเปรียบเทียบผลลัพธ์ท่ีได้มาหลังทดสอบแล้วกับส่ิงท่ีคาดหวังต้ังแต่ข้ันตอน
การวางแผน จากน้นั คอ่ ยสรุปออกมาตามขอ้ มลู ทีได้ทาการวเิ คราะหไ์ ปทงั้ หมด
๔. Act (การสรปุ ผล) ขั้นตอนสุดทา้ ยเปน็ ขั้นตอนทตี่ อ้ งตัดสินใจว่าจะมกี ารปรบั ปรุงหรือแก้ไขเพิ่มเติม
หรือไม่ และจะต้องจาเปน็ ในกระบวนการเปลี่ยนแปลง ถ้าไมถ่ ูกใจหรอื ไม่ตรงตามเป้าทีต่ ้ังไวต้ อนแรกก็อาจต้องมี
การทดสอบเพ่ิมเตมิ อกี ซง่ึ กจ็ ะวนไปขนั้ ตอนการวางแผนใหมอ่ ีกครง้ั

๑.๒.๒ ประโยชน์ของ PDSA
วงจร PDSA เป็นวิธีการท่ีจะช่วยให้ตรวจสอบว่าวิธีแก้ปัญหาหรือวิธีพัฒนาส่ิงต่าง ๆ ท่ีคิดไว้ก่อนหน้าน้ี
จะได้ผลจริงหรือไม่ มีส่วนไหนต้องปรับแก้หรือเพ่ิมเติมอีกบ้าง เป็นวิธีการท่ีง่ายและได้ผลจริง ใช้ได้กับ
ทุกสถานการณ์ นอกจากนี้ยังเสริมสร้างการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบภายในองค์กร เป็นแบบแผนในการคิดวิธี
แกป้ ัญหาแบบต่าง ๆ และเมื่อทดลองไปแลว้ ไมไ่ ด้ผลลัพธ์ตรงตามเป้าก็จะไดเ้ ปลีย่ นวธิ ใี หมไ่ ปเร่อื ย ๆ ไม่ต้องกลับมา
วนซ้าวิธีเดิม ที่สาคัญการทดลองทาก่อนลงมือทาจริงยอ่ มเป็นผลดีกวา่ เพราะหากลงมือทาจรงิ ไปแล้ว แต่ผลลัพธ์
กลับออกมาไม่ตรงตามเปา้ ก็จะย่ิงเสียเวลา เสยี งบประมาณ

๑๑

๑.๒.๓ กำรเปรยี บเทียบ PDSA กบั PDCA
วงจรท้ังสองน้ีใช้กันอย่างแพร่หลายเพ่ือแก้ปัญหาและปรับปรุงกระบวนการต่าง ๆ ทางคุณภาพ
ซ่ึงจุดกาเนิดของโมเดลท้ังสองน้ีเกิดจาก W. Edwards Deming ซ่ึงเป็นนักคิดและนักนวัตกรรมด้านการจัดการ
ชั้นนาทั้งวงจร PDSA และ PDCA ต่างก็ใช้วิธีการแบบทาทีละข้ันตอนและทาเป็นวัฎจักร ถ้าทดลองในคร้ังแรก
แ ล้ ว ยั ง ไ ม่ ป ร ะ ส บ ผ ล ส า เ ร็ จ ก็ ส า ม า ร ถ ว น ก ลั บ ไ ป ท า วิ ธี เ ดิ ม ซ้ า ต้ั ง แ ต่ ต้ น ใ ห ม่ จ น ก ว่ า จ ะ ไ ด้ ผ ล ลั พ ธ์ ต ร ง ต า ม
เปา้ หมาย ซ่งึ เหมาะมากสาหรบั การทางานท่ีตอ้ งมกี ารปรับปรงุ หรือแกป้ ญั หา
ท้ังสองรูปแบบเป็นความแตกต่างที่ค่อนข้างซับซ้อน แต่ก็ยังมีความคล้ายคลึงกันอยู่มาก
ทั้ง PDSA และ PDCA เปน็ แบบจาลอง ๔ ขัน้ ตอนทีอ่ อกแบบมาเพอ่ื ใหเ้ กดิ การเปลีย่ นแปลงในเชงิ บวกและเพอื่ ช่วย
สร้างโครงการปรับปรุง วิธีการทั้งสองแบบทาให้สามารถทดสอบหรือทบทวนแนวคิดใหม่หลาย ๆ ครั้ง
ว่าเห็นผลดีหรือไม่ดีอย่างไรบ้าง และท้ังสองวิธีก็มีเป้าหมายที่จะนาไปสู่ แนวทางการปรับปรุงวัฒนธรรม
หรือปรับปรุงทั่วทั้งองค์กร ท้ังสองวงจรจะใช้ขั้นตอน Plan Do และ Act เหมือนกัน มีเพียงข้ันตอนเดียว
ทไี่ มเ่ หมือนกัน คอื Check และ Study
ดงั นั้น วงจรคุณภาพ PDSA คือ เป็นโมเดลการแก้ปัญหาส่ีข้ันตอนแบบเปน็ วงลอ้ (Cycle) ใชส้ าหรบั แก้ไข
ปัญหา ปรับปรุงกระบวนการผลิตหรือบริการอย่างต่อเน่ืองและย่ังยืน ในช่วงแรกจะมีแค่วงจร PDCA เท่าน้ัน
แต่หลาย ๆ การศึกษาท่ีใช้วิธี PDCA เริ่มรู้สึกว่าข้ันตอน Check ไม่ค่อยเหมาะสมกับการทางานหรือปัญหาของ
องค์กรมากเท่าไหร่ จึงได้มีการพัฒนาข้ึนเป็น PDSA เกิดจากการแทนท่ีขั้นตอน Check ด้วยข้ันตอน Study
ซ่ึงหัวใจของ PDSA ก็คือการแสวงหาการเรียนรู้อยา่ งต่อเนื่อง

๑.๓ กำรปฏบิ ตั ิงำนของวงจร DALI
Design Action Learning Improvement (DALI) เปน็ เครอ่ื งมือสาหรบั พัฒนางาน ใช้ให้เกิดผล
อยา่ งเปน็ รูปธรรมในการสรา้ งสิ่งอะไรใหม่ๆ ท่สี ร้างสรรค์ ไม่วา่ จะเป็นระบบ การทางาน การสรา้ งผลติ ภัณฑ์ใหม่
ความหมายขององคป์ ระกอบแตล่ ะส่วน คือ
๑. Design คือ หมายถึง การวางแผนการดาเนินงานอย่างรอบคอบ ครอบคลุมถึงการกาหนดหัวข้อ
ท่ีต้องการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง ซึ่งรวมถึงการพัฒนาสิ่งใหม่ๆ การแก้ปัญหาท่ีเกิดขึ้นจากการปฏิบัติงาน
อาจประกอบด้วย การกาหนดเป้าหมาย หรือวัตถุประสงค์ของการดาเนินงาน Plan การจัดอันดับความสาคัญ
ของเป้าหมาย กาหนดการดาเนนิ งาน กาหนดระยะเวลาการดาเนินงาน กาหนดผู้รับผิดชอบหรือผู้ดาเนนิ การและ
กาหนดงบประมาณที่จะใช้ การเขียนแผนดังกล่าวอาจปรับเปลี่ยนไ ด้ตามความเหมาะสมของลักษณะ
การดาเนินงาน การวางแผนยงั ช่วยให้เราสามารถคาดการณ์ส่ิงท่ีเกิดขึ้นในอนาคต และช่วยลดความสูญเสียต่างๆ
ท่ีอาจเกิดขึ้นได้ เทียบได้กับคาว่า PLAN ในวงจร PDSA คือ การออกแบบกระบวนการ Triage ตามมาตรฐาน
หรือแนวทางท่จี ะนามาปรบั ใช้
๒. Action คือ การดาเนินการตามแผน อาจประกอบด้วย การมีโครงสร้างรองรับ การดาเนินการ
(เช่น คณะกรรมการหรือหน่วยงานของคณะ) มีวิธีการ ดาเนินการ (เช่น มีการประชุมของคณะกรรมการ
มีการจัดการเรียน การสอน มีการแสดงความจานงขอรับนักศึกษาไปยังทบวงมหาวิทยาลัย) และมีผลของการ
ดาเนินการ (เช่น รายชื่อนักศึกษาที่รับในแต่ละปี) รวมทั้งในการประเมินผลเป็นระยะ เทียบได้กับคาว่า DO
ในวงจร PDSA คือ การนาลงปฏบิ ตั ใิ นหน้างานตามแนวทางทว่ี างไว้ เช่น ER

๑๒

๓. Learning คือ การประเมินแผน อาจประกอบด้วย การประเมินโครงสร้างที่รองรับ การดาเนินการ
การประเมินข้นั ตอนการดาเนนิ งาน และการประเมินผลของ การดาเนินงานตามแผนท่ไี ด้ตงั้ ไว้ โดยในการประเมิน
ดังกล่าวสามารถ ทาได้เอง โดยคณะกรรมการท่ีรับผิดชอบแผนการดาเนินงานน้ัน ๆ ซึ่งเป็นลักษณะของการ
ประเมินตนเอง หรือไม่จาเป็นต้องคิดเครื่องมือหรือแบบประเมิน ท่ียุ่งยากซับซ้อน เทียบได้กับคาว่า STUDY
ในวงจร PDSA คือการเรียนรู้จากการนาแนวทางของการ Triage มาปฏิบัติในหน้างานว่าเป็นอย่างไร เช่นทาได้ดี
หรือไม่ สง่ิ ท่ีดีคอื อะไร อะไรคือโอกาสในการพัฒนา

๔. Improvement คือ การปรับปรงุ พัฒนาจากสิ่งที่เราเรียนรู้มา คือในสว่ นท่ดี ีเราจะขยายผลต่ออย่างไร
และในส่วนที่ยังทาได้ไม่ดีหรือมีโอกาสพัฒนาเราจะปรับปรุงหรืออกแบบกระบวนการใหม่หรือขั้นตอนใหม่
(DESIGN) อย่างไรให้เกิดการพฒั นาที่ดีย่งิ ข้ึนหรือบรรลุเป้าหมาย เทียบไดก้ ับคาว่า Action ในวงจร PDSA คอื การ
นาโอกาสในการพัฒนาของการปฏิบัติของการใช้ Triage มาปรับปรุงกระบวนการ Triage ใหม่ให้มีคุณภาพ
และความปลอดภยั มากขึน้

๑.๓.๑ ข้ันตอนกำรดำเนินงำนของวงจร DALI
๑.๓.๑.๑ ขนั้ Design ดำเนนิ กำร
๑) รวบรวมข้อมลู องคค์ วามรู้ ท่ีเกีย่ วข้อง ทง้ั ความรู้ทีช่ ัดเจน และความรฝู้ ังลึก
๒) วิเคราะหส์ ภาพปัจจบุ นั กับสภาพทต่ี อ้ งการ
๓) จัดทาแผน กาหนดแนวทางทตี่ ้องดาเนนิ การ
๔) กาหนดผู้รับผิดชอบ คา่ ใช้จา่ ย ทรัพยากรอน่ื ๆ ท่จี าเป็น
๕) ใหค้ วามรูแ้ ก่ผู้เกี่ยวข้องก่อนลงมอื ทา
๑.๓.๑.๒ ขนั้ Action ดำ เนนิ กำร
๑) ดาเนนิ การตามแผน
๒) การนาระบบหรอื เคร่อื งมือมาใชไ้ ดอ้ ยา่ งกลมกลืนสอดคลอ้ งกับขน้ั ตอน Design
๓) มีการติดตาม วดั ประเมนิ ผล เป็นระยะ ๆ และผลการปฏบิ ัติงานระหวา่ งชว่ งการปฏบิ ัติงาน
๑.๓.๑.๓ ขน้ั Learning ดำเนินกำร
๑) เกบ็ รวบรวม วเิ คราะหข์ อ้ มูล จากขนั้ Action
๒) ถอดบทเรียน
๓) จดั ความรู้ใหเ้ ปน็ ระบบ
๔) สรา้ งความรใู้ หม่
๕) ขยายความรูไ้ ปยังผู้เก่ียวข้อง
๑.๓.๑.๔ ขน้ั Improve ดำเนินกำร
๑) จากความรู้ใหม่ ๆ ทไ่ี ดร้ ับในขนั้ Learning นาสกู่ ารยกระดับพฒั นาอย่างตอ่ เนอื่ ง
๒) คิดพฒั นาไปในเชิงนวตั กรรม

๑๓

๒. รูปแบบกำรสอน
๒.๑ รูปแบบกำรเรียนกำรสอนผ่ำนเว็บ (Web - Base Instruction)
๒.๑.๑ ควำมหมำยกำรเรียนกำรสอนผำ่ นเวบ็ (Web - Base Instruction)
กิดานันท์ มลิทอง (๒๕๔๓, หน้า ๓๔๔) ได้ให้ความหมายของการเรียนการสอนผ่านเว็บเป็นการใช้เว็บ

ในการเรียนการสอน โดยอาจใช้เว็บเพ่ือนาเสนอบทเรียนในลักษณะสื่อหลายมิติของวิชาทั้งหมดตามหลักสูตร
หรือใช้ในการเพียงการเสนอข้อมูลบางอย่างเพ่ือประกอบการสอนก็ได้รวมท้ังใช้ประโยชน์จากคุณลักษณะต่าง ๆ
ของการสื่อสารท่ีมีอยู่ในระบบอินเตอร์เน็ต เช่น การเขียน ข้อความโตตอบกลับทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์
(E-mail) และการพูดคยุ ด้วยขอ้ ความและเสยี งมา ใช้ประกอบด้วยเพอื่ ให้เกิดประสิทธภิ าพสงู สุด

ถนอมพร เลาหจรัสแสง (๒๕๔๔, หน้า ๘๗) ให้ความหมายไววา่ เป็นการผสมผสานกันระหว่างเทคโนโลยี
ปัจจุบันกระบวนการออกแบบการเรียนการสอน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ทางการเรียนรู้และแก้ปัญหาในเร่ือง
ข้อจากัดทางด้านสถานที่และเวลาโดยการสอนบนเว็บจะประยุกต์ใช้และทรัพยากรของเวิลด์ไวล์ ในการจัด
สภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมและ สนับสนุนการเรียนการสอน ซ่ึงการเรียนการสอนท่ีจัดข้ึนผ่านเว็บอาจเป็นบางสว่ น
หรอื ท้งั หมด ของกระบวนการเรยี นการสอนกไ็ ด้

ไชยยศ เรืองสุวรรณ (๒๕๕๓, น. ๒๔) กล่าวว่า บทเรียนบนเว็บ หมายถึง การใช้โปรแกรมสื่อ หลายมิติ
ที่อาศัยประโยชน์จากคุณลักษณะและทรัพยากรของอินเทอร์เน็ต และเวิลด์ไวด์เว็บ มาออกแบบ เป็นเว็บเพื่อ
การเรียนการสอน สนับสนุน และส่งเสริม ให้เกิดการเรียนรู้อย่างมีความเช่ือมโยงเป็น เครือข่ายการเรียนรู้
ท่ีสามารถเรียนได้ทุกสถานท่ีทุกเวลาโดยมีลักษณะที่ผู้สอนและผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์ โดยผ่านระบบเครือข่าย
คอมพิวเตอรท์ ี่เชอ่ื มโยงกันและกัน

อายัติ เอ่ียมบาง (๒๕๕๖) กล่าวว่า การเรียนการสอนผ่านเว็บ (Web-Based Instruction) เป็น
การออกแบบการเรียนการสอนโดยการใช้เทคโนโลยีเว็บกับกระบวนการเรียนการสอน เพื่อให้เกิด ประสิทธิภาพ
และแก้ปัญหาทางการเรียนการสอนในข้อจากัด ด้านเวลา สถานที่ และบริบทความ พร้อมในการเรียนรู้
การสอนบนเว็บน้ันจะจัดสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมและสนับสนุนการเรียนการ สอนโดยจะประยุกต์ใช้คุณสมบัติ
และทรัพยากรของ เวิลด์ ไวด์ เว็บ เพราะเป็นบริการบนเครือข่าย อินเตอร์เน็ตที่ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย
ในปัจจบุ ัน

จากนิยาม ดังท่ีกล่าวมาแล้วน้ันสามารถสรุปได้ว่า การเรียนการสอนผ่านเว็บหมายถึง เครื่องมือหรือสื่อ
ท่ีจดั ทาข้ึนในลักษณะสือ่ หลายมติ ิมาชว่ ยในการเรียนรู้ โดยใชเ้ ทคโนโลยขี องเวบ็ และเบราเซอรเ์ ป็นตวั จัดการให้เกิด
ประโยชน์สูงสุด สามารถปรับปรุงพัฒนาเน้ือหาให้ทันสมัยได้อย่างรวดเร็วและตลอดเวลาอีกทั้งยังช่วยขจัดปัญหา
เร่ืองสถานทแ่ี ละเวลาอีกด้วย

๒.๑.๒ กำรจัดกำรเรยี นกำรสอนผ่ำนเว็บ
การจัดการเรียนผ่านเว็บมีลักษณะการเรียนการสอนท่ีแตกต่างไปจากการเรียนการสอนในช้ันเรียนปกติ
ซ่ึงการจัดการเรียนการสอนแบบด้ังเดิมในชั้นเรียนส่วนใหญจ่ ะมีลักษณะที่เน้นให้ผู้สอนเป็นผู้ป้อน ความรู้ ให้แก่
ผเู้ รียนทาให้ผูเ้ รียนไม่ใฝ่ทจ่ี ะหาความรเู้ พม่ิ เตมิ
เองเจลโล (Angelo, ๑๙๙๓ อ้างใน วชิ ุดา รตั นเพียร, ๒๕๔๒) ได้สรปุ หลกั การพืน้ ฐานของการจัดการ
เรยี นการสอนกับการเรยี นการสอนผ่านเว็บ ๕ ประการดงั นี้คือ

๑๔

๑. ในการจัดการเรียนการสอนโดยท่ัวไปแล้ว ควรส่งเสรมิ ให้ผูเ้ รยี นและผู้สอนสามารถติดต่อ สอื่ สารกันได้
ตลอดเวลา การติดต่อระหว่างผู้เรียนและผู้สอนมีส่วนสาคัญในการสร้างความกระตือรือร้นกับ การเรียนการสอน
โดยผู้สอนสามารถให้ความช่วยเหลือผู้เรียนได้ตลอดเวลาในขณะกาลังศึกษา ทั้งยังช่วย เสริมสร้างความคิด
และความเข้าใจ ผเู้ รียนที่เรยี นผ่านเวบ็ สามารถสนทนาแลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ รวมทง้ั ซกั ถามข้อข้องใจกับผู้สอน
ได้โดยทันทีทันใด เช่น การมอบหมายงานส่งผ่านอินเทอร์เนต็ จากผู้สอน ผู้เรียน เมื่อได้รับมอบหมายก็จะสามารถ
ทางานทไ่ี ดร้ ับมอบหมายและสง่ ผ่านอนิ เทอร์เน็ต กลบั ไปยังอาจารยผ์ ้สู อน หลงั จากนัน้ อาจารยผ์ สู้ อนสามารถตรวจ
และใหค้ ะแนนพร้อมท้งั ส่งผลย้อนกลบั ไปยงั ผู้เรียนไดใ้ นเวลาอัน รวดเรว็ หรอื ในทันทีทนั ใด

๒. การจัดการเรียนการสอนควรสนับสนุนให้มีการพัฒนาความร่วมมือระหว่างผู้เรียน ความร่วมมือ
ระหว่างกลุ่มผู้เรียนจะช่วยพัฒนาความคิดความเข้าใจได้ดีกว่าการท างานคนเดียว ท้ังยังสร้างความสัมพันธ์
เป็นทีมโดยการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกันเพื่อหาแนวทางท่ีดีที่สุด เป็นการพัฒนาการแก้ไขปัญหา
การเรยี นรู้และการยอมรบั ความคิดเห็นของคนอ่นื มาประกอบเพ่อื หาแนวทางทด่ี ีที่สุด ผเู้ รยี นท่ีเรียนผ่านเวบ็ แม้วา่
จะเรียนจากคอมพิวเตอร์ที่อยู่กันคนละที่ แต่ด้วยความสามารถของเครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่เชื่อมโยง เครือข่าย
คอมพวิ เตอรท์ ั่วโลกไว้ด้วยกัน ทาใหผ้ เู้ รียนสามารถติดตอ่ ส่ือสารกนั ได้ทนั ทีทันใด เช่น การใช้ บริการสนทนาแบบ
ออนไลนท์ ีส่ นับสนนุ ใหผ้ ู้เรียนติดต่อสอ่ื สารกนั ได้ต้งั แต่ 2 คนข้ึนไปจนถึงผู้เรียนทีเ่ ป็นกลมุ่ ใหญ่

๓. ควรสนับสนุนให้ผู้เรียนรู้จักแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง (Active Learners) หลีกเลี่ยงการกากับ
ใหผ้ ูส้ อนเปน็ ผ้ปู อ้ นข้อมูลหรอื คาตอบ ผู้เรียนควรเป็นผู้ขวนขวายใฝ่หาข้อมูลองคค์ วามรู้ต่าง ๆ เองโดยการ แนะนา
ของผู้สอน เป็นที่ทราบดีอยู่แล้ววา่ อินเทอร์เน็ตเปน็ แหล่งข้อมูลที่ใหญ่ที่สุดในโลก ดังน้ันการจัดการ เรียนการสอน
ผ่านเวบ็ น้ี จะช่วยใหผ้ เู้ รยี นสามารถหาขอ้ มลู ไดด้ ้วยความสะดวกและรวดเร็ว ทง้ั ยงั หาข้อมูลได้ จากแหลง่ ขอ้ มูลทั่ว
โลกเปน็ การสร้างความกระตือรือรน้ ในการใฝห่ าความรู้

๔. การให้ผลย้อนกลับแก่ผู้เรียนโดยทันทีทันใดช่วยให้ผู้เรียนได้ทราบถึงความสามารถของตน อีกทั้ง
ยังช่วยให้ผู้เรียนสามารถปรบั แนวทางวธิ ีการหรอื พฤติกรรมให้ถูกต้องได้ ผู้เรียนท่ีเรียนผ่านเว็บ สามารถ ได้รับผล
ย้อนกลบั จากท้งั ผสู้ อนเองหรือแมก้ ระท่ังจากผ้เู รยี นคนอน่ื ๆ ได้ทนั ทที ันใด แม้ว่าผเู้ รียนแตล่ ะคน จะไมไ่ ด้น่งั เรียน
ในช้ันเรียนแบบเผชิญหน้ากนั ก็ตาม

๕. ควรสนบั สนนุ การจัดการเรยี นการสอนท่ไี มม่ ีขีดจากดั สาหรบั บคุ คลท่ีใฝ่หาความรู้ การเรยี นการ สอน
ผ่านเว็บเป็นการขยายโอกาสให้กับทุก ๆ คนท่ีสนใจศึกษา เน่ืองจากผู้เรียนไม่จาเป็นจะต้องเดินทางไปเรียน
ณ ที่ใดที่หน่ึง ผู้ที่สนใจสามารถเรียนได้ด้วยตนเองในเวลาที่สะดวก จะเห็นได้ว่าการเรียนการสอนผ่าน เว็บน้ี
มคี ุณลกั ษณะทช่ี ว่ ยสนับสนนุ หลกั พ้ืนฐานการจดั การเรยี นการสอนทัง้ 5 ประการไดอ้ ย่างมี ประสิทธิภาพ

๒.๑.๓ กระบวนกำรออกแบบและพฒั นำบทเรยี นบนเวบ็
ในการออกแบบและพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บ ให้มีประสิทธิภาพน้นั มีนักการศึกษา หลายท่านให้
ขอ้ เสนอแนะเกย่ี วกบั กระบวนการทจ่ี ะใช้เปน็ แนวทางในการออกแบบการเรียนการสอน ดงั น้ี
มนตช์ ัย เทยี นทอง (๒๕๕๔, น. ๙๐-๙๔) กลา่ วว่า ADDIE เป็นรูปแบบการสอนท่ีถูกออกแบบ ขึ้นมาเพอ่ื ใช้
ในการออกแบบและพัฒนาระบบการเรียนการสอน รปู แบบการสอน ADDIE MODEL มขี ั้นตอนดังน้ี
๑. ขนั้ ตอนการวิเคราะห์ (Analysis) ประกอบด้วย รายละเอยี ดแตล่ ะสว่ น ดงั น้ี

๑.๑ การกาหนดหัวเรื่องและวตั ถุประสงค์ท่วั ไป

๑๕

๑.๒ การวเิ คราะหผ์ ู้เรียน
๑.๓ การวเิ คราะห์วัตถปุ ระสงคเ์ ชิงพฤติกรรม
๑.๔ การวเิ คราะห์เนอื้ หา
๒. ข้ันตอนการออกแบบ (Design) ประกอบดว้ ยรายละเอียดแต่ละสว่ นดงั น้ี
๒.๑ การออกแบบ Courseware (การออกแบบบทเรียน) ซ่ึงจะประกอบด้วย ส่วนต่าง ๆ ได้แก่
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม เน้ือหา แบบทดสอบก่อนบทเรียน (Pre-test) สื่อกิจกรรม วิธีการนาเสนอ
และแบบทดสอบหลงั บทเรยี น (Post-test)
๒.๒ การออกแบบผังงาน (Flowchart) การออกแบบบทดาเนนิ เร่อื ง (Storyboard)
๒.๓ การออกแบบหน้าจอภาพ (Screen Design) การออกแบบหน้าจอภาพ หมายถึง
การจัดพ้ืนที่ของจอภาพเพ่อื ใชใ้ นการนาเสนอเนื้อหาภาพและส่วนประกอบอ่ืน ๆ สงิ่ ที่ตอ้ ง พจิ ารณามดี ังน้ี
๒.๓.๑ การกาหนดความละเอียดภาพ (Resolution)
๒.๓.๒ การจัดพื้นท่แี ต่ละหนา้ จอภาพในการนาเสนอ
๒.๓.๓ การเลอื กรูปแบบและขนาดของตวั อักษรทัง้ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
๒.๓.๔ การกาหนดสี ได้แก่ สีของตัวอักษร (Font Color), สีของฉากหลัง (Background),
สขี องสว่ นอน่ื ๆ
๒.๓.๕ การกาหนดส่วนอนื่ ๆ ทเ่ี ปน็ สิง่ อานวยความสะดวกในการใชบ้ ทเรยี น
๓. ข้ันตอนการพัฒนา (Development) เป็นขั้นตอนการสร้าง เขียนโปรแกรมและผลิตเอกสาร
ประกอบการเรียน ประกอบดว้ ย รายละเอยี ดแตล่ ะสว่ นดังนี้
๓.๑ การเตรียมการเก่ียวกบั องค์ประกอบดังน้ี
๓.๑.๑ การเตรยี มขอ้ ความ
๓.๑.๒ การเตรียมภาพ
3.1.3 การเตรียมเสยี ง
3.1.4 การเตรยี มโปรแกรมจดั การบทเรียน
3.2 การสร้างบทเรียน หลังจากได้เตรียมข้อความภาพเสียงและส่วนอ่ืนเรียบร้อย แล้วข้ันตอนต่อไป
เป็นการสร้างบทเรียนโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์จัดการ เพื่อเปล่ียนสตอร่ีบอร์ด ให้กลายเป็นบทเรียน
คอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน
3.3 การสร้างเอกสารประกอบการเรียน หลังจากสร้างบทเรียนเสร็จส้ินแล้ว ในขั้นต่อไปเป็นการ
ตรวจสอบและทดสอบความสมบรู ณข์ ้นั ต้นของบทเรียน
4. ขน้ั ตอนการนาไปใช้ (Implementation) การนาบทเรียนคอมพวิ เตอร์ไปใช้โดยใชก้ บั กลมุ่ ตัวอย่าง เพอ่ื
ตรวจสอบความเหมาะสม ของบทเรียนในข้ันต้นหลังจากนั้นจึงทาการปรับปรุงแก้ไขก่อนท่ีจะนาไปใช้กับ
กลุ่มเป้าหมายเพ่ือหา ประสิทธิภาพของบทเรียนและนาไปให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบความเหมาะสม
และประสทิ ธิภาพ
5. ขน้ั ตอนการประเมนิ ผล (Evaluation) การประเมนิ ผล คอื ข้ันตอนสดุ ทา้ ยของรปู แบบ ADDIE Model
เพ่ือประเมินบทเรียนและนาผลท่ีได้ไป ปรับปรุงแก้ไข เพื่อให้ได้บทเรียนที่มีคุณภาพ ประกอบด้วยการดาเนินการ
ตา่ ง ๆ ดังน้ี

๑๖

5.1 จัดทาเอกสารโครงการ (Document Project)
5.2 ทดสอบบทเรยี น (Testing)
5.3 ปรบั บทเรยี นใหใ้ ชง้ านได้ (Validation)
สรุปได้ว่า การจัดบทเรียนบนเว็บนั้น ผู้สอนและผู้เรียนจะต้องมีปฏิสัมพันธ์กัน โดยผ่าน ระบบเครือข่าย
คอมพิวเตอร์ที่เช่ือมโยงคอมพิวเตอร์ของผู้เรียนเข้าไว้กับเคร่ืองคอมพิวเตอร์ของ ผู้ให้บริการเครือข่าย
(File Server) และเคร่ืองคอมพิวเตอร์ของผู้ให้บริการเว็บ (Web Server) อาจเป็น การเชื่อมโดยระยะใกล้หรือ
เช่ือมโยงระยะไกลผ่านทางระบบการสื่อสาร และอินเทอร์เน็ตผู้สอนจะต้อง จัดการเรียนการสอน 8 ขั้นตอน
คอื กาหนดจดุ ประสงค์ วิเคราะห์ผ้เู รยี น ออกแบบเนือ้ หารายวิชา กาหนดกิจกรรมการเรยี นการสอนทางเครือข่าย
เตรียมความพร้อมด้านส่ิงแวดล้อมการเรียนการสอน ทางอินเทอร์เน็ต ปฐมนิเทศผู้เรียน จัดการเรียนการสอน
ตามรปู แบบที่กาหนดไวแ้ ละประเมินผล

2.2 รูปแบบกำรเรยี นกำรสอนออนไลน์ (Online - Learning)
2.2.1 ควำมหมำยกำรเรียนกำรสอนออนไลน์ (Online - Learning)
จักรกฤษณ์ โพดาพล (2563) การจัดการเรียนรู้ออนไลน์: วีถีท่ีเป็นไปทางการศึกษา ด้วยการ เติบโต

อย่างรวดเร็วของเครือข่ายอินเทอร์เน็ตและเทคโนโลยีดิจิตอลส่งผลให้เว็บไซต์ถือเป็น เครื่องมือที่มีพลัง
และมีประสิทธิภาพด้วยเป็นเครื่องมือที่มีความยืดหยุ่น แพร่หลายไปท่ัวโลก มีความคล่องตัวในการจัดการเรยี นรู้
โดยเฉพาะการจัดการเรียนการสอนทางไกล (Taylor, 2014) การเรียนการสอนออนไลน์เหมือนกบการเรียน
การสอนในช้ันเรียนตรงท่ีครูผู้สอนจะต้องจัดเตรียม กิจกรรมและประสบการณ์เรียนให้กับผู้เรียนโดยคานึงถึง
และการเรียนการสอนทดี่ ีนน้ั ผู้เรียนและ ผูส้ อนควรตอ้ งปฏสิ ัมพันธร์ ะหวา่ งกนั โดยคานงึ ถึงผ้เู รียนเปน็ สาคัญ

Worathan Technology (2563) ได้อธิบายไวว้ ่า การเรยี นการสอนออนไลน์ (Online learning) จัดเปน็
นวัตกรรมทางการศึกษาในอีกรูปแบบหนึง่ ซงึ่ สามารถเปลีย่ นแปลงวธิ ีเรยี นในรูป แบบเดมิ ๆ ใหเ้ ปน็ การเรยี นใหม่
ท่ีใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วยทาการสอน นอกจากนี้ความหมายอีกใน หน่ึง หมายถึง การเรียนทางไกล,การเรียนผา่ น
เว็บไซต์ หรือการเรียนรู้แบบเปิด คือการเรียนรู้ตาม เวลา ตามความต้องการ และสถานที่ของตนเองการเรียน
การสอนแบบออนไลน์ (Online Learning) จะเป็นเรียนทางผ่านทางอินเทอร์เน็ต โดยอยู่ในรูปแบบของ
คอมพิวเตอร์ เป็นการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ บวกเข้ากับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต สร้างการศึกษาท่ีมีปฏิสัมพันธ์
คุณภาพสูง โดยไม่จาเป็นต้องเดินทางเกิดความสะดวกและเข้าถึงได้อย่างรวดเร็ว เป็นการสร้าง การศึกษาตลอด
ชีวติ ท้งั ผูเ้ รยี น , ผสู้ อน และเพ่ือนร่วมช้นั ทกุ คน สามารถตดิ ตอ่ สื่อสาร ปรึกษา แลกเปล่ียนความคิดเห็นแบบเดียว
กบการเรียนในชัน้ เรียนทัว่ ไป โดยการใช้ E-mail, Chat, Social Network เปน็ ต้น

สรุปความหมายของการเรียนการสอนออนไลน์ หมายถึง เป็นรูปแบบการเรียนการสอนที่มกี ารออกแบบ
การเรียนการสอนไวอ้ ย่างเป็นระบบจะอยู่ในรปู แบบสือ่ ผสมอเิ ล็กทรอนกิ ส์ (Electronic Multimedia) ซงึ่ ออกแบบ
ไว้ในลักษณะ ซอฟต์แวร์รายวิชา (Courseware) ประกอบด้วยส่ือผสม ได้แก่ ข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคล่ือนไหว
เสียง และที่สาคัญ คือ ผู้เรียน สามารถโต้ตอบกับบทเรียนและผู้สอนได้โดยมีซอฟต์แวร์ประเภทบริหารจัดการ
การเรียนรู้ (Learning Management System : LMS) ทาหน้าทใี่ นการบริหารจัดการอย่างอัตโนมตั ิ

๑๗

2.2.2 องคป์ ระกอบของกำรจัดกำรเรียนกำรสอนออนไลน์
ฐาปนยี ์ ธรรมเมธา (2557 : 11-17) แบ่งองค์ประกอบของการจัดการเรยี นการสอนออนไลนอ์ อกเปน็ 6
องค์ประกอบ 1) เน้ือหาและส่ือการเรียน 2) ระบบนาส่งสารสนเทศและการสื่อสาร 3) ระบบการส่ือสาร
และปฏิสัมพันธ์ทางการเรียน 4) ระบบการวัดและการประเมินผล 5) ระบบสนับสนุนการเรียน 6) ผู้สอนและ
ผู้เรียน ดังแสดงในภาพประกอบท่ี 2

ภำพประกอบท่ี ๒ องค์ประกอบของระบบกำรเรยี นกำรสอนออนไลน์
ท่ีมำ : ฐำปนยี ์ ธรรมเมธำ (2557 : 11-17)

2.2.3 ปจั จยั ต่อควำมสำเร็จกำรเรียนรู้ผำ่ นบทเรียนออนไลน์
ปัจจัยต่อความสาเร็จการเรียนรู้ผ่านบทเรียนออนไลน์มีส่วนประกอบหรือปัจจัยต่อความสาเร็จ
ผ่านการเรียนรู้จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ โดยนาปัจจัยที่มีบทบาทสาคัญมา 4 ปัจจัย (พชร ล่ิมรัตนมงคล
และ จิรัชฌา วเิ ชยี รปญั ญา, 2556)
1. ปัจจัยด้านผู้สอน คือ ผู้ท่ีกาหนดการสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต พัฒนาบทเรียนด้วย ตนเอง
โดย ทาการสอน สนับสนุนการเรียนรู้ ให้คาปรึกษา ช่วยตรวจสอบความก้าวหน้าต่อผู้เรียน ดูแล ผู้เรียนให้อยู่
ในขอบข่ายทเี่ หมาะสม ส่งเสริมให้ผู้เรยี นมีปฏสิ มั พนั ธ์ในชั้นเรียน กระตุน้ ให้ผูเ้ รียนเกิดการ เรยี นรดู้ ้วยตนเอง
2. ปัจจัยด้านผู้เรียน คือ ผู้เรียนมีทักษะการใช้คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต โดยเรียนรู้ผ่านสื่อ
อิเล็กทรอนิกส์ได้ คือ เข้าสู่แอพพลิแคช่ัน ไลน์ สามารถเข้าใจและติดต่อส่ือสารกับผู้สอน เพื่อนร่วม ชั้นเรียนได้
ทันที มีความเข้าใจและปฏิสัมพันธ์กับเทคโนโลยีมากขึ้น ใช้เวลามากข้ึนในการพูดคุย ซักถาม กันในกลุ่มผู้เรยี น
และทมี งาน ท้ัง ยังมคี วามรับผิดชอบ กระตือรือร้น มแี รงจงู ใจในการเรยี นมากขน้ึ
3. ปัจจัยด้านบทเรียน คือ การเรียนการสอนมิใช่เป็นข้อความตัวหนังสือ แต่สามารถปรับ เป็นรูปภาพ
เสียง เพื่อให้บทเรียนดนู ่าสนใจมากขึ้น ประกอบด้วย สื่อบทเรียนต้องสัมพนั ธก์ ับเนื้อหา บทเรียนและจุดมุ่งหมาย
ท่ีสอนเลือกส่ือท่ีมีเนื้อหาถูกต้องทันสมัย น่าสนใจ เหมาะสมกับวัย ระดับชั้น ความรู้และประสบการณ์ของผเู้ รยี น
วิธกี ารไม่ ยุ่งยากซบั ซอ้ น
4. ปัจจัยด้านเทคโนโลยี คือ เทคโนโลยีสารสนเทศ ท่ีประกอบด้วย คอมพิวเตอร์ และ เครือข่าย
โทรคมนาคมที่ต่อเชื่อมกัน ความสะดวกในการใช้งานท่ีจุดใช้งาน (access point) (มนต์ชัย เทียนทอง, 2545)
เพอ่ื ส่งและรับขอ้ มลู เกยี่ วกบั ความรทู้ ่ีสะดวก รวดเรว็ เรียนรู้และพฒั นาไดอ้ ย่างต่อเน่ือง

๑๘

2.3 รูปแบบกำรจัดกำรเรยี นกำรสอนแบบปกติ (On - Site)
2.3.1 ควำมหมำยกำรจดั กำรเรียนกำรสอนแบบปกติ (On - Site)
Natthaphon Teepsuwan (2020) กล่าวถึงการเรียนการสอน On - Site Education เป็นการจัดการ

เรียนการ สอนใหน้ ักเรียนที่มีความตอ้ งการพิเศษ โดยจะมีการนัดหมายเป็นระยะ เพ่อื ให้ครมู าสอนเป็นกรณีพิเศษ
ซึ่งอาจจะเปน็ การจัดกลุม่ นกั เรยี นขนาดเลก็ ที่โรงเรยี น หรอื ให้ครไู ปสอนนกั เรียนทีบ่ า้ น

Amphorn Phinasa (2021) กล่าวถึงการเรียนการสอน On - Site Education หมายถึงการมาเรียน
ตามปกติได้ใน พื้นท่ีท่ีไม่ใช่สีแดง แต่ต้องเว้นระยะหรือลดจานวนนักเรียนต่อห้องลง สาหรับจังหวัดพ้ืนที่สีเขียว
สามารถจดั การเรียน การสอนในโรงเรียนได้ตามปกติ

สรุปได้ว่า การจัดการศึกษา แบบ On - Site Education เป็นการเรียนการสอนท่ีเน้นการจัดกิจกรรม
การเรียนรู้ ในโรงเรียนหรือในช้ันเรียนเป็นหลักโดยครูผู้สอนสามารถนารูปแบบการเรียนการสอนอ่ืน ๆ
มาบูรณาการใช้กับการ เรียนในชั้นเรียนได้ เช่น การเรียนผ่านโทรทัศน์ (On-Air) หรือ การเรียนผ่านอินเทอร์เน็ต
(Online) เป็นต้น โรงเรียนมี การปฏิบัติตามมาตรการด้านสาธารณสุข และมาตรการของกระทรวงศึกษาธิการมี
แนวทางการวัดผลแนะประเมนิ ผล ให้สอดคล้องกับบริบทการจดั การเรยี นการสอน

2.4 รปู แบบกำรเรยี นแบบผสมผสำน (Blended Learning)
2.4.1 ควำมหมำยรูปแบบกำรเรยี นแบบผสมผสำน (Blended Learning)
การเรียนรู้แบบผสมผสาน (Blended Learning) อ่าน “เบล็น-เดด เลิร์นนิ่ง” ถือเป็นการเรียนรู้

ทม่ี ีการวางแผนการจัดกระบวนการเรยี นแบบเผชญิ หนา้ ทีใ่ ชว้ ธิ กี ารสอนที่หลากหลายผสมผสานกับการ เรียนระบบ
ออนไลน์ทนี่ าเทคโนโลยีเขา้ ใช้ให้ผู้เรยี นเข้าถงึ การเรยี นร้ไู ดร้ วดเร็วมากขึ้น

Horn and Staker (2011) ได้นิยามเก่ียวกับการเรียนแบบผสมผสานของผู้เรียนในระดับ
K-12 หมาย ถึง การเรียนรู้ที่ผู้เรียนได้รับมวล ประสบการณ์ทางการเรียนรู้อย่างเป็นอิสระผ่านระบบเครือข่าย
คอมพิวเตอร์ โดยนักเรียนสามารถควบคุมตัวแปรทางการเรียนรู้ด้วยตนเองทั้งในด้านเวลา สถานที่ แนวทางการ
เรยี นรู้และ อัตราการเรียนรู้ของตนเอ

เกรแฮม (2012) แห่งมหาวิทยาลัย Brigham Young University ประเทศ สหรัฐอเมริกาได้สรุป
นิยามของการเรียนแบบผสมผสานไว้วา่ เปน็ ระบบการเรยี นการสอนทีผ่ สมผสานระหว่าง การเรยี นแบบ เผชญิ หนา้
กบั การสอนผ่านระบบเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์

เบอรน์ าท (2012) ได้สรปุ วา่ การเรยี นแบบผสมผสานหรือ Blended Learning หมายถงึ โปรแกรม
ทางการเรียนรู้ที่ใช้วิธีการผสมผสานระหว่างการเรียนรู้จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์หรือ E-learning กับการสอน
ในชนั้ เรียน

จากนิยามดังกลา่ วสรุปได้วา่ การเรียนรู้แบบผสมผสาน (Blended Learning) การเรยี นการ สอนที่มี
การวางแผนการจดั กระบวนการเรียนการสอนแบบเผชญิ หน้าทีใ่ ชว้ ธิ ีการสอนที่หลากหลาย ผสมผสานกบั การเรียน
การสอนระบบออนไลนท์ ่ีนาเทคโนโลยเี ขา้ ใชใ้ ห้ผเู้ รียนเขา้ ถงึ การเรียนร้ไู ดร้ วดเรว็ มากข้ึน

๑๙

ภำพประกอบที่ ๓ Model แสดงนยิ ำมควำมหมำยของกำรเรียนรแู้ บบผสมผสำน (Blended Learning)
ทีม่ ำ: limitlesseducation.net

2.4.2 องค์ประกอบของกำรเรยี นรแู้ บบผสมผสำน
นั ก อ อ ก แ บ บ ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น แ ล ะ นั ก ก า ร ศึ ก ษ า น า เ ส น อ แ น ว คิ ด เ ก่ี ย ว กั บ อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ
ของการจดั การเรียนการสอนแบบผสมผสานไว้ดังนี้
มนตช์ ยั เทยี นทอง (2549 ก: 48) กลา่ ววา่ การเรียนรู้แบบผสมผสานประกอบด้วย
องคป์ ระกอบสาคัญ 2 ประการหลักๆ ไดแ้ ก่
1. ประเภทออฟไลน์ (Off Line Group) หมายถึงเทคโนโลยีนวัตกรรมและวิธีการที่ใช้ในการเรียนรู้
แบบผสมผสานท่ีเน้นการใช้งานเพียงลาพังเฉพาะผู้เรียนเพียงคนเดียวไม่ได้มีการเชื่อมต่อกับผู้สอนหรือผู้เรียน
คนอื่นใดในขณะเวลาดงั กลา่ วแบ่งเป็น 5 ประเภทไดแ้ ก่

1.1 การเรียนรู้ในที่ทางาน (Workplace Learning) หรือการเรียนรู้ในที่พักอาศัยได้แก่การศึกษา
บทเรยี นการเรยี นรจู้ ากการทาโครงงานการตดิ ตามผลการศึกษารายกรณีเปน็ ตน้

1.2 การสอนเสริมแบบเผชิญหน้า (Face-to-Face Tutoring) ได้แก่การสอนเสริม (Tutoring)
การให้คาแนะนา (Coaching) หรอื การให้คาปรกึ ษา (Mentoring) ทก่ี ระทาในลักษณะเผชิญหนา้ กัน

1.3 การเรียนรู้ในชั้นเรียน (Classroom Learning) ได้แก่การเรียนรู้ในช้ันเรียนปกติการสัมมนา
การศึกษาในสถานการณ์จาลองการปฏิบตั ิการจาลองบทบาทสมมตแิ ละการประเมนิ ผลเปน็ ต้น

1.4 ส่ือสิ่งพิมพ์ (Print Media) ได้แก่เอกสารหนังสือวารสารและบทความเป็นต้นท่ีเน้นการใช้งาน
โดยลาพัง

1.5 สอื่ กระจายเสียง (Broadcast Media) ได้แก่วิทยุโทรทัศน์วีดิทัศน์และซีดีรอมเป็นต้น
ท่ใี ชง้ านโดยลาพัง

2.ประเภทออนไลน์ (Online Group) หมายถึงเทคโนโลยีนวัตกรรมและวิธีการท่ีใช้ในการเรียนรู้
แบบผสมผสานทม่ี กี ารใชง้ านร่วมกันหลายคนทั้งผ้สู อนผเู้ รียนผ้สู อนเสรมิ หรือผู้ทีเ่ กย่ี วข้องอื่นๆ โดยการต่อเชื่อมเข้า
กนั ด้วยกนั ผา่ นทางเครอื ขา่ ยอินเทอรเ์ นต็ แบง่ เป็น 6 ชนดิ ไดแ้ ก่

2.1 การเรียนรูแ้ บบออนไลน์ (Online Learning) ไดแ้ ก่ E-Learning, Online learning เปน็ ตน้
2.2 การสอนเสรมิ แบบใช้อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (E-tutoring) ไดแ้ ก่ E-Coaching, E-Mentoring เปน็ ต้น

๒๐

2.3 การเรยี นร้แู บบรว่ มมอื (Collaborative Learning) ไดแ้ ก่ E-Learning, Video
Conferencing เปน็ ตน้

2.4 การจัดการเรียนรู้แบบออนไลน์ (Online Knowledge Management) ไดแ้ ก่ระบบบริหาร
การจัดการบทเรียน (LMS) ระบบบริหารจัดการเนื้อหาบทเรียน (CMS) ระบบบริหารการจัดการแบบทดสอบ
(TMS) และระบบบริหารจัดการนาส่งบทเรียน (DMS) รวมท้ังระบบต่าง ๆ ที่ใช้ในการจัดการ เช่น เหมืองข้อมูล
(Data Mining) ระบบผู้เช่ียวชาญ (Expert System) เป็นตน้

2.5 เว็บ (Web) ได้แก่เว็บช่วยสอน (WBI/WBT) และเครื่องมือต่าง ๆ ท่ีมีบริการอยู่บนเว็บ ได้แก่
การสนทนาผ่านเครือข่าย ( Internet Relay Chat) การประชุมทางไกลผ่านเครือข่าย ( Web-Based
Conferencing) การสมั มนาผา่ นเวบ็ (Webinars)

2.6 การเรียนรู้ผ่านเครื่องคอมพิวเตอร์พกพา (Mobile Learning) ได้แก่บทเรียน
M-Learningบน PDA หรอื โทรศัพท์มือถอื

2.4.๓ แนวทำงกำรจดั กำรเรยี นกำรสอนแบบผสมผสำน
การจดั การเรียนการสอนแบบผสมผสาน (ม.ป.ป.) สามารถกาหนดแนวทางได้ 6 แนวทางดงั นี้
1. บูรณาการระหว่างสถานศึกษากบั บ้านพกั เพือ่ จัดกระบวนการเรยี นรู้ให้สอดคล้องกับความต้องการ
ของผู้เรียนตามหลักการเรียนรู้ที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางโดยมุ่งเน้นการจัดการศึกษาให้ ค ร อ บ ค ลุม ทุก ร ะ บบ
ทั้งการศึกษาในระบบนอกระบบและตามอัธยาศัยซ่ึงแนวทางนี้ ICT จะเป็นเทคโนโลยีที่สาคัญในการจัด
กระบวนการเรยี นรโู้ ดยเฉพาะการศึกษาทางไกลแบบผสมผสานเพ่อื ให้ผู้เรียนศกึ ษาบทเรียนท่ีสถานศึกษาสว่ นหน่ึง
ตามโปรแกรมการเรียนรู้
2. บูรณาการระหว่างเนอื้ หาสาระกับกระบวนการการเรยี นรู้โดยการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ให้มีความ
หลากหลายตามเน้ือหาสาระแต่ละส่วนซึ่งพิจารณาความแตกต่างของผู้เรียนเป็นหลักทาให้ในรายวิชาหน่ึง ๆ
มกี จิ กรรมการเรยี นรูแ้ ตกต่างกนั ทีส่ อดคล้องกบั ความแตกตา่ งของผเู้ รยี น
3. บูรณาการระหว่างเน้ือหาภาคทฤษฎีกับภาคปฏิบัติโดยการวางแผนการจัดสัดส่วนของการเรียนรู้
ภาคทฤษฎีกับภาคปฏิบัติให้กลมกลืนกันเนื่องจากการเรียนรู้จะมีประสิทธิภาพมากข้ึนถ้าให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติ

หรอื ทดลองด้วยตนเอง
4. บูรณาการระหว่างการพัฒนาความรู้กับพัฒนาจิตพิสัยโดยการวางแผนการจัดการแสวงหาความรู้

ควบคู่กับการพัฒนาจิตพิสัยได้แก่คุณธรรมจรยิ ธรรมค่านยิ มความสุนทรีย์และความซมึ ซบั เพื่อมุ่งให้ผู้เรียนได้ใช้สมอง
ซีกขวาในการเรยี นรเู้ ชิงมิติสมั พันธ์และการเสรมิ สรา้ งคุณธรรมมากขนึ้

5. บูรณาการระหว่างวิชาต่าง ๆ โดยการวางแผนให้ผู้เรียนเกิดความรู้ทักษะและประสบการณ์พร้อม ๆ กัน
หลายวิชาเพ่ือมุ่งเน้นให้ผู้เรียนสามารถนาไปใช้ประโยชน์ในการแก้ปัญหาต่าง ๆ ในชีวิตจริงแนวทางน้ีเป็นแนวทาง
ที่มีการนาไปใช้จัดการเรียนรู้แบบผสมผสานมากรูปแบบหนึ่งโดยเฉพาะในยุค ICT สามารถวางแผนให้ผู้เรียน
จดั การเรยี นรหู้ ลายสาขาวิชาได้มปี ระสทิ ธิภาพมาก

6. บูรณาการแบบรวมโดยการผสานทุกรูปแบบเข้าด้วยกันท้ังบูรณาการวิชาต่าง ๆ การจัดกิจกรรม
ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติและสถานศึกษากับบ้านพักด้วยกันตามสัดส่วนที่วางแผนไว้อย่างรอบคอบและรัดกุม

๒๑

เพือ่ จัดกจิ กรรมการเรียนรู้ใหส้ อดคลอ้ งกับความแตกตา่ งระหว่างบคุ คลซ่ึงเน้นผู้เรยี นเปน็ สาคญั แนวทางน้ีนับว่าเป็น
การผสมผสานทมี่ คี วามหลากหลายมากทส่ี ุด

2.4.๔ ประโยชนข์ องกำรเรียนกำรสอนแบบผสมผสำน
ข้อได้เปรียบของการเรียนร้แู บบผสมผสาน เมื่อเปรียบเทียบกับการเรียนแบบเผชิญหน้าท่ีจากัด

เฉพาะ การเรียนในห้องเรียนอย่างเดียวหรือการเรียนออนไลน์อย่างเดียว Graham. (2006); สมใจ จันทร์เต็ม
(2553, หน้า 86); สมบรู ณ์ กลางมณี (2554, หนา้ 76) ได้กล่าวถึงไว้นัน้ ผ้เู ขยี นสรุปไดด้ ังน้ี

1. การรับส่งข้อมูลแบบช่องทางเดียว มีข้อจากัดท่ีจะทาให้บรรลุผลการเรียนและการถ่ายโอนความรู้
อย่างแน่นอน ดังน้ันการเรียนการสอนแบบผสมผสานจึงทาให้เกดิ ช่องทางการเรียนรู้ที่กวา้ งขวางขึ้นและสามารถ
กระจายความรไู้ ด้มากข้ึน เพราะสามารถแลกเปลีย่ นเรียนร้ไู ดท้ ง้ั การเรียนแบบเผชิญหน้าและการเรียนออนไลน์

2. การผสมผสานระหว่างการเรียนการสอนในช้ันเรียนและการเรียนการสอนแบบอีเลิร์นน่ิง ทาให้
การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพและประสทิ ธผิ ลมากขึน้ กว่าการเรียนการสอนเพียงรูปแบบเดียวเท่านั้น

3. ช่วยพัฒนาทักษะการเขียน และกระบวนการเรยี นรู้โดยอาศัยอินเทอรเ์ น็ต ด้วยเหตุท่ีผู้เรยี น ส่วนใหญ่
อาจไม่กล้าแสดงความเห็นในห้องเรียน ก็สามารถแสดงความคิดเห็นได้เต็มที่ผ่านทางระบบออนไลน์ เป็นการ
ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความกระตือรือรน้ ที่จะค้นควา้ หาความรู้มากขึน้ เป็นการฝึกให้ผู้เรยี นมีความมั่นใจขึ้น เมื่อต้อง
เขา้ กลุ่มแลกเปล่ยี นความคดิ เห็นในชั้นเรยี น

4. ช่วยปรับปรุงการสอน (Improve Pedagogy) ทาให้เกิดการปฏิสัมพันธ์ในการสอนมากยิ่งขึ้น
ซ่ึงเน้นการสร้างกลยุทธ์ในการเรียน ให้ผู้เรียนมีความกระตือรือร้น ( Active Learning Strategy) กลยุทธ์
การเรียนรู้ระหว่างผู้เรียนด้วยกันมากข้ึน (Peer-to-Peer Learning Strategy) และกลยุทธ์การเรียนการสอน
ทเ่ี น้นผู้ เรยี นเป็นสาคัญ (Learner-Centered Strategy) ใหม้ ีมากขึ้นในการเรียนการสอน

5. เพิม่ ทกั ษะการติดตอ่ สื่อสารและช่องทางการปฏสิ มั พนั ธ์ (Interactive Learning) ได้หลายทาง ระหวา่ ง
ผู้สอนกับผู้เรียน และผู้เรียนกับผู้เรียนมากกว่าใช้วิธีการสอนแบบใดแบบหนึ่งเพียงวิธีเดียว เช่น การอภิปราย
แลกเปลย่ี นความคิดเหน็ อาจทาในห้องเรยี นแลว้ ต่อด้วยทางออนไลนห์ รืออาจเร่ิมจาก การแลกเปล่ยี นความคิดเห็น
โตต้ อบทางออนไลนแ์ ล้วนากลบั มาอภปิ รายต่อในหอ้ งเรยี น

6. เพิ่มประสิทธิภาพและผลของการลงทุน (Increased Cost-Effectiveness) การลงทุนทางด้าน
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารโดยเฉพาะทางด้านโครงสร้างสารสนเทศพ้ืนฐานเป็นค่าใช้จ่ายที่มหาศาล
ดังนั้น แต่ละสถาบันการศึกษาจาเป็นต้องพิจารณาหาวิธีการใช้เทคโนโลยีดังกล่าวให้คุ้มค่ากับการลงทุน
และ เกิดประสิทธิผลให้ได้มากท่ีสุด การเพ่ิมปริมาณและวิธีการใช้เทคโนโลยีเพ่ือให้เกิดประโยชน์ต่อการเรียน
การสอนในช้ันเรียนจะช่วยให้เกิดความคุ้มค่าจากการศึกษาเก่ียวกับประโยชน์ของการเรียนการสอนแบบ
ผสมผสาน พบว่า การเรียนการสอนแบบผสมผสานทาให้การเรียนการสอนบนเว็บมีประสิทธิภาพมากข้ึนเพราะ
เป็นการลดข้อจากัดของการเรียนการสอนบนเว็บ การเรียนการสอนแบบผสมผสานจึงเหมาะสมท่ี จะนามา
พัฒนาการเรียนการสอนในสถาบนั การศกึ ษาใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพมากยังข้ึน

๒๒

3. กำรจัดกำรเรยี นกำรสอนแบบเชิงรุก Active Learning
3.1 แนวคิดและทฤษฎขี องกำรจัดกำรเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning)
การจดั การเรยี นรู้เชิงรุก (Active learning) เป็นกระบวนการเรียนการสอนท่ีสง่ เสริมให้ ผู้เรยี นมสี ่วนร่วม

ในชั้นเรียน สร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูผู้สอนกับผู้เรียน มุ่งให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติ โดยมี ครูเป็น ผู้อานวย
ความสะดวก (Facilitator) สร้างแรงบันดาลใจ ให้คาปรึกษา ดูแล แนะนา ทาหน้าท่ี เป็นโค้ชและพ่เี ล้ียง (Coach
& Mentor) แสวงหาเทคนิควิธีการจัดการเรียนรู้ และแหล่งเรียนรู้ที่ หลากหลายให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างมี
ความหมาย (Meaningful learning) ผูเ้ รยี นสรา้ งองค์ความรูไ้ ด้ มี ความข้าใจในตนเอง ใชส้ ตปิ ญั ญา คิด วเิ คราะห์
สร้างสรรค์ผลงานนวัตกรรมท่ีบ่งบอกถึงการมีสมรรถนะ สาคัญในศตวรรษที่ 21 มีทักษะวิชาการ ทักษะชีวิต
และทักษะวิชาชีพ บรรลุเป้าหมายการเรียนรู้ตาม ระดับช่วงวัย (สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน,
2562: 4)

3.2 ควำมหมำยของกำรจัดกำรเรียนูร้เชิงรุก (Active Learning)
Active Learning เป็นกระบวนการจดั การเรียนรตู้ ามแนวคดิ การสรา้ งสรรคท์ างปัญญา (Constructivism)
ทเ่ี นน้ กระบวนการเรียนรมู้ ากกว่าเนอ้ื หาวิชา เพอื่ ชว่ ยใหผ้ ูเ้ รียนสามารถเชอ่ื มโยง ความรู้ หรือสร้างความรู้ให้เกดิ ข้ึน
ในตนเอง ด้วยการลงมือปฏิบัติจริงผ่านส่ือหรือกิจกรรมการเรียนรู้ที่มี ครูผู้สอนเป็นผู้แนะนา กระตุ้น
หรืออานวยความสะดวก ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ข้ึน โดยกระบวนการคิด ขั้นสูง (Higher order thinking)
กล่าวคือ ผู้เรียนมีการวิเคราะห์สังเคราะห์ และการประเมินค่าจากส่ิงที่ ได้รับจากกิจกรรมการเรียนรู้ ทาให้การ
เรียนรู้เป็นไปอย่างมีความหมาย และนาไปใช้ในสถานการณ์อ่ืน ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ (สถาพร พฤฑฒิกุล,
2558) นักการศึกษาท้ังในและต่างประเทศได้กล่าวถึง ความหมายของคาว่า Active Learning เอาไว้โดย
นักการศึกษาของประเทศไทยใช้คาภาษาไทยคาว่า “การเรียนเชิงรุก” แทน Active Learning ซึ่งมีการนิยาม
ความหมายดงั ตอ่ ไปนี้
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน (2562: 4) ได้ให้ความหมายของการจัดการเรียนรูเ้ ชิงรกุ
(Active Learning) คือ การเรียนท่ีเน้นให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับการเรียนการสอน กระตุ้น ให้ผู้เรียน
เกดิ กระบวนการคิดขั้นสงู (Higher-Order Thinking) ดว้ ยการวเิ คราะห์สงั เคราะหแ์ ละ ประเมนิ ค่า ไมเ่ พยี งแต่เปน็
ผู้ฟัง ผู้เรียนต้องอ่าน เขียน ต้ังคาถามและถาม อภิปรายร่วมกัน ผู้เรียนลงมือ ปฏิบัติจริง โดยต้องคานึงถึงความรู้
เดิมและความต้องการของผู้เรียนเป็นสาคัญ ท้ังน้ีผู้เรียนจะถูกเปล่ียน บทบาทจากผู้รับความรู้ไปสู่
การมีส่วนร่วมในการสร้างความรู้
สรุปว่า การจัดการเรียนรู้ Active Learning เป็น กระบวนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
เน้นบทบาทและการมีส่วนร่วมของผู้เรียน โดยให้ ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติ เรียนรู้และดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ
ด้วยตนเอง โดยมีครูเป็นผู้ให้คาแนะนา ช้ีแนะ กระตุ้น หรืออานวยความสะดวก ให้ผู้เรียนได้เกิดการเรียนรู้
ผ่านกระบวนการคิดวิเคราะห์ สงั เคราะห์ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหวา่ งผู้เรียน และการนาเสนอขอ้ มูล

3.3 ลกั ษณะของกำรจัดกำรเรียนรู้แบบเชิงรกุ (Active Learning)
กระบวนการเรียนรู้ Active Learning ทาให้ผู้เรียนสามารถรักษาผลการเรียนรู้ให้อยู่คงทน ได้มาก
และนานกว่ากระบวนการเรียนรู้ Passive Learning เพราะกระบวนการเรียนรู้Active Learning สอดคล้องกับ
การทางานของสมองท่ีเกี่ยวข้องกับความจา โดยสามารถเก็บและจาส่ิงที่ผู้เรียนเรียน รู้อย่าง มีส่วนร่วม

๒๓

มีปฏิสัมพันธ์กับเพื่อน ผู้สอน สิ่งแวดล้อม การเรียนรู้ได้ผ่านการปฏิบัติจริง จะสามารถเก็บจา ในระบบความจา
ระยะยาว (Long Term Memory) ทาให้ผลการเรียนรู้ ยังคงอยู่ได้ในปริมาณท่ีมากกว่า ระยะยาวกว่า

3.4 กระบวนกำรออกแบบกจิ กรรมกำรจดั กำรเรยี นรู้แบบเชิงรกุ (Active Learning)
สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน (2562: 5) ได้เสนอกระบวนการจดั การเรียนรู้

ดังน้ี
1. จดั การเรยี นร้ทู ี่พฒั นาศักยภาพทางสมอง ไดแ้ ก่ การคิด การแก้ปัญหาและการนาความรู้

ไปประยุกต์ใช้
2. จดั การเรยี นรู้ท่ีเปิดโอกาสใหผ้ ูเ้ รียนมสี ่วนรว่ มในกระบวนการเรยี นรู้สงู สุด
3. จัดให้ผเู้ รียนสร้างองค์ความรู้และจัดกระบวนการเรยี นรู้ด้วยตนเอง
4. จัดใหผ้ ู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรยี นรู้ทงั้ ในด้านการสรา้ งองคค์ วามร้กู ารสรา้ งปฏสิ ัมพันธ์

รว่ มกันสรา้ งร่วมมือกันมากกว่าการแข่งขัน
5. จดั ให้ผูเ้ รียนเรียนรเู้ รอ่ื งความรับผดิ ชอบรว่ มกัน การมีวนิ ัยในการทางานและการแบง่ หน้าท่ี

ความรบั ผดิ ชอบในภารกจิ ต่าง ๆ
6. จัดกระบวนการเรยี นทีส่ รา้ งสถานการณ์ให้ผ้เู รียนอา่ น พดู ฟัง คดิ อยา่ งลุ่มลึก ผู้เรยี น

จะเปน็ ผจู้ ัดระบบการเรียนร้ดู ว้ ยตนเอง
7. จัดกิจกรรมการจัดการเรียนรทู้ ่เี นน้ ทกั ษะการคิดข้ันสูง
8. จดั กิจกรรมทเ่ี ปิดโอกาสให้ผเู้ รยี นบูรณาการข้อมลู ขา่ วสาร หรือสารสนเทศและหลักการ

ความคิดรวบยอด
9. ผูส้ อนจะเป็นผู้อานวยความสะดวกในการจดั การเรยี นรู้ เพื่อให้ผู้เรียนเปน็ ผปู้ ฏิบัติดว้ ย ตนเอง
10. จดั กระบวนการสรา้ งความรทู้ ี่เกิดจากประสบการณ์ การสร้างองคค์ วามรูแ้ ละการสรปุ

ทบทวนของผเู้ รยี น

3.5 กำรจัดกิจกรรมกำรเรยี นรแู้ บบเชงิ รุก (Active Learning)
วารินท์พร ฟันเฟื่องฟู (2562: 142) ได้กล่าวถึง Active Learning สู่การ ปฏิบัติไว้ว่า การนา

รปู แบบหรอื เทคนคิ การจัดกิจกรรมการเรยี นร้ตู ามแนวคิด Active Learning ไป ปฏิบัติเพ่อื ใหเ้ กดิ ประสิทธภิ าพน้ัน
ผู้สอนและผู้เรียนลว้ นมีบทบาทสาคญั และมีลกั ษณะเฉพาะ ผสู้ อนจึง ตอ้ งศกึ ษาทาความเข้าใจเพ่ือที่จะจัดกิจกรรม
การเรียนรูใ้ หเ้ กดิ ประสิทธิภาพสูงสุด และจากการวิเคราะห์ และสงั เคราะห์บทบาทผู้สอนในการจัดการเรียนรู้จาก
นักการศึกษา สามารถจาแนกบทบาทของผู้สอนได้ ดังน้ี

1. วิเคราะห์เป้าหมายของการเรียนรู้และเลือกเทคนิคการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ สนับสนุนการเรียนรู้
ตามแนว Active Learning 1-2 วธิ ี ทเี่ หมาะสมกบั เนื้อหาและส่งิ ท่ีตอ้ งการให้ ผู้เรียนปฏบิ ัติ

2. เลือกใช้เทคนิคการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีง่ายและใช้เวลาไม่มากสาหรับการเริ่มต้น เช่น
“one minute paper” และ “Think-pair-share” หรือให้ผู้เรียนแข่งขันกันตอบคาถามที่เก่ียวข้อง กับเร่ือง
ทจี่ ะเรียนต่อไป เป็นตน้

3. มีการมอบหมายงานให้ผู้เรียนเพ่ือการเตรียมตัวหรือเตรียมความรู้ก่อนการเข้าเรียน เช่น มีการ
มอบหมายใหอ้ ่านเน้อื หาสาระทีจ่ ะเรยี นหรอื เรอ่ื งที่เกยี่ วข้องในสิ่งทจี่ ะเรียนลว่ งหน้า

๒๔

4. บอกถึงกิจกรรมและประโยชนท์ จ่ี ะไดร้ ับจากการรว่ มกจิ กรรม
5. กระต้นุ ใหผ้ ู้เรยี นคน้ หาคาตอบด้วยตนเอง มีความเข้าใจและสรา้ งมโนทศั นท์ ่ีได้จาก การเรียนรู้และ
สรา้ งองค์ความรดู้ ว้ ยตนเองได้เช่น มอบหมายให้ผู้เรียนศกึ ษาส่อื วีดีโอโดยมีการตง้ั คาถาม และใหผ้ เู้ รียนหาคาตอบ
6. การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ควรจัดเปน็ กลุ่มเพอื่ การเรยี นรรู้ ว่ มกนั และกระตุน้ ให้ ผ้เู รยี นมสี ่วนรว่ มใน
การทากิจกรรมการเรียนรอู้ ย่างมีชีวิตชีวา
7. สรา้ งสรรคก์ จิ กรรมอยา่ งหลากหลายมีความยืดหยนุ่ เพ่อื ขยายประสบการณก์ าร เรยี นรขู้ องผ้เู รยี น
ด้วยการลงมอื ปฏิบตั ิ
8. ให้ความสาคญั และกระตุ้นใหเ้ กิดการสร้างปฏิสัมพนั ธใ์ นช้นั เรียนโดยใช้ทกั ษะการ สอื่ สารแลกเปลยี่ น
เรียนรู้
9. กิจกรรมการเรียนรู้ยึดปัญหาเป็นสาคัญและกระตุ้นให้ผู้เรียนเลือกใช้วิธีแก้ปัญหาอย่างหลากหลาย
เป็นระบบ
10. กระต้นุ ให้ผเู้ รยี นเกิดทกั ษะการคิดข้นั สูง
11. ให้ผเู้ รียนรับผดิ ชอบในผลงาน โดยกาหนดเวลาและงบประมาณท่ใี ช้
12. มกี ารสรุปแลกเปลยี่ นเรียนรกู้ ันก่อนเร่ิมเนอ้ื หาใหม่

3.6 กำรวดั และประเมนิ ผลกำรจัดกำรเรยี นรู้แบบเชงิ รกุ (Active Learning)
การวัดและประเมินผลการจัดการเรียนรู้ เป็นกระบวนการในการตรวจสอบผลการ ดาเนินกิจกรรม

วา่ บรรลตุ ามเป้าหมายที่กาหนดไว้หรอื ไม่ มสี ่วนใดตอ้ งปรับปรุงแกไ้ ขเพ่ือพัฒนาต่อไปโดยประเมินท้งั กระบวนการ
ในการจัดกิจกรรม และประเมินคุณภาพของผู้เรียน ใช้การประเมิน หลากหลายวิธี ให้ทุกฝ่ายได้มีโอกาสในการ
ประเมิน เช่น ครูประเมินผู้เรียน ผู้เรียนประเมินเพื่อน ผู้เรียน ประเมินตนเอง วิธีการในการประเมินควรถูกต้อง
เหมาะสมกับความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะของผู้เรียน ท่ีกาหนดไว้ในเป้าหมายของการจัดกิจกรรมนั้น ๆ
การประเมินผลการเรียนรู้เชิงรุก ควรใช้หลักการประเมินตามสภาพจริงและนาผลการ ประเมินมาพัฒนาผู้เรียน
อย่างต่อเนอ่ื ง โดยมีลกั ษณะ ดงั น้ี

1) ใช้ผู้ประเมนิ จากหลายฝา่ ย เช่น ผู้เรียน เพอื่ น ผสู้ อน ผู้เกยี่ วขอ้ ง
2) ใชว้ ิธกี ารหลากหลายวธิ /ี ชนิด เช่น การสงั เกต การปฏิบตั ิ การทดสอบ การ รายงานตนเอง
3) ประเมินหลายๆ ครั้งในแต่ละช่วงเวลาของการเรยี นรู้ เช่น ก่อนเรยี น ระหวา่ ง เรยี น สน้ิ สุดการเรียน
ตดิ ตามผล
4) สะทอ้ นผลการประเมนิ แกผ่ ูเ้ รยี นและผู้เกยี่ วข้อง เพ่อื นาไปสู่การพฒั นาผู้เรยี น

4 ผลสมั ฤทธ์ิทำงกำรเรียน
4.1 ควำมหมำยของผลสมั ฤทธิ์ทำงกำรเรียน
สุวิมล ติรการนันท์ (2550: 81) ให้ความหมายของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ระดับ ความรู้

ความเขา้ ใจของกลุม่ เปา้ หมายท่ไี ดจ้ ากการเรยี นร้ใู นช้นั เรยี น

๒๕

สมบัติ ท้ายเรือคา (2551: 72) ความหมายของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการ เรียนว่าหมายถึง
แบบทดสอบวัดระดับความสามารถของผู้เรียนว่ามีความรู้ ความสามารถและทักษะ ในเนื้อหาวิชาที่เรียนไปแล้ว
มากน้อยเพียงใด

ชวาล แพรัตกุล (2552: 13) ให้ความหมายว่า ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเป็นความสาเร็จใน ด้านความรู้
ทักษะ และสมรรถภาพด้านต่าง ๆ ของสมอง น่ันคือสัมฤทธิ์ผลทางการเรียน ควรจะ ประกอบด้วยสิ่งสาคัญอย่าง
น้อย 3 สง่ิ คือ ความรู้ ทกั ษะ และสมรรถภาพของสมองดา้ นต่าง ๆ

จากการศกึ ษา สรุปได้ว่า แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น หมายถึง ชดุ ของ คาถามท่ีมุง่ วัดความรู้
ความสามารถ ทักษะ และพฤติกรรมการเรียนของนักเรยี นว่านกั เรยี นมีความรู้มที ักษะ และสมรรถภาพทางสมอง
ดา้ นต่าง ๆ ในเรอื่ งทเ่ี รียนร้อู ันเกดิ ข้ึนจากกิจกรรมการเรยี นการ สอนท่ผี ้สู อนสอนไปแล้วมากน้อยเพียงใด

4.2 ลกั ษณะของแบบผลสัมฤทธ์ิทำงกำรเรียนทดี่ ี
สมนึก ภัททิยธนี (2551: 67-71) ได้กล่าวถึง ลักษณะแบบทดสอบที่มีคุณภาพควรมี ลักษณะทด่ี ี

10 ประการ ดงั นี้
1) ความเที่ยงตรง (Validity) หมายถึง คุณภาพของแบบทดสอบท่ีสามารถวัดได้ตรง

กับจุดมุ่งหมายที่ต้องการ หรือวัดในสิ่งที่ต้องการวดั ได้อยา่ งถูกต้องแมน่ ยา ความเที่ยงตรงจึง เปรียบเสมือนหัวใจ
ของแบบทดสอบ ลักษณะความเท่ียงตรงของแบบทดสอบ แบ่งออกเป็น 4 ชนิด คือ ความเที่ยงตรงตามเนื้อหา
ความเทยี่ งตรงโครงสร้าง ความเทย่ี งตรงตามสภาพ และความเท่ียงตรงตาม การพยากรณ์

2) ความเชื่อม่ัน (Reliability) หมายถึง ลักษณะของแบบทดสอบท้ังฉบับที่สามารถ วัดได้คงท่ีคงวา
ไมเ่ ปล่ียนแปลง ไมว่ า่ จะทาการทดสอบใหมก่ ีค่ ร้งั กต็ าม

3) ความยตุ ิธรรม (Fair) หมายถงึ ลักษณะของแบบทดสอบท่ไี มเ่ ปิดโอกาสให้มคี วาม ได้เปรียบเสยี เปรียบ
ในกลุ่มผู้เขา้ สอบดว้ ยกัน ไมเ่ ปดิ โอกาสให้นกั เรียนทาข้อสอบไดโ้ ดยการเดา ไมใ่ ห้ นกั เรยี นท่ไี มส่ นใจในการเรียนทา
ขอ้ สอบไดด้ ี ผู้ที่ทาข้อสอบไดค้ วรเปน็ นักเรียนทีเ่ รียนเก่ง และขยนั

4) ความลึกของคาถาม (Searching) ข้อสอบแต่ละข้อจะต้องไม่ถามผิวเผินหรือถาม ประเภทความรู้
ความจา แตต่ ้องถามให้นกั เรยี นนาความรู้ความเข้าใจไปคดิ ดัดแปลงแก้ปญั หาจงึ จะ ตอบขอ้ สอบไดh

5) ความยว่ั ยุ (Exemplary) หมายถงึ แบบทดสอบท่ีนกั เรียนทาดว้ ยความสนุก เพลิดเพลนิ ไม่เบื่อหนา่ ย
6) ความจาเพาะเจาะจง (Definition) หมายถึง ข้อสอบท่ีมีแนวทางหรือทิศทางการ ถาม การตอบต้อง
ชดั เจน ไม่คลมุ เครือ ไมแ่ ฝงกลเม็ดให้นักเรียนงง
7) ความเปน็ ปรนยั (Objective) แบบทดสอบจะเปน็ ปรนัยจะต้องมีคุณสมบตั ิ 3 ประการคือ

7.1) ต้ังคาถามให้ชัดเจน ทาให้ผู้เข้าสอบทุกคนเข้าใจความหมายได้ถูกต้องและ ตรงกัน
เม่ือส้ินสุดการเรยี นการสอน ครูผ้สู อนจะทาการตรวจสอบระดับความสามารถของผเู้ รียน โดย ทาการวดั ผลสมั ฤทธ์ิ
ซึ่งจะวดั แบบใดขนึ้ อยูก่ บั ลักษณะและธรรมชาตขิ องวิชา อาจวัดดา้ นการปฏบิ ตั ิ หรือดา้ นเนือ้ หา ถ้าเปน็ ดา้ นเน้อื หา
นิยมวัดโดยใชแ้ บบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ิ ที่สามารถวัดได้ครอบคลมุ ท้ังดา้ นเนือ้ หาและจดุ ประสงค์การเรยี นรู้

7.2) ตรวจใหค้ ะแนนได้ตรงกัน แม้ว่าจะตรวจหลายครงั้ หรือหลายคนกต็ าม
7.3) แปลความหมายของคะแนนได้เหมอื นกนั

๒๖

8) ประสิทธิภาพ (Efficiency) หมายถึง แบบทดสอบท่ีมีจานวนข้อมากพอประมาณ ใช้เวลาพอเหมาะ
ประหยัดค่าใช้จ่าย จัดทาแบบทดสอบด้วยความประณีต สามารถตรวจให้คะแนนได้ อย่างรวดเร็ว รวมถึงการมี
สง่ิ แวดลอ้ มในการสอนทดี่ ี

9) อานาจจาแนก (Discrimination) หมายถึง ความสามารถของข้อสอบในการ จาแนกผู้สอบ
ทม่ี ีคณุ ลกั ษณะ หรือความสามารถแตกต่างกนั ออกจากกันได้ข้อสอบที่ดจี ะต้องมีอานาจ จาแนกสูง

10) ความยาก (Difficulty) หมายถึง จานวนคนท่ีตอบข้อสอบได้ถูกหรืออัตราส่วน ของคนตอบถูกกับ
จานวนคนทั้งหมดที่เข้าสอบมากน้อยเพียงใด ข้ึนอยู่กับทฤษฎีที่เป็นหลักยึด เช่น ตามทฤษฎีการวัดแบบอิงกลุ่ม
ข้อสอบที่ดีคือข้อสอบที่ไม่ง่ายหรือยากเกินไป หรือความยากง่าย พอเหมาะ ส่วนทฤษฎีการวัดแบบอิงเกณฑ์นั้น
ความยากง่ายไม่ใช่ส่ิงสาคัญ สิ่งสาคัญอยู่ท่ีข้อสอบนนั้ ได้ วัดในจุดประสงค์ท่ีต้องการวัดได้จรงิ หรือไม่ ถ้าวัดได้จริง
กน็ ับวา่ เป็นขอ้ สอบท่ดี ี

ชวาล แพรัตกุล (2552: 81-82) ได้กล่าวถึง ลักษณะของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนที่ดี
ซึง่ สรุปได้วา่ แบบทดสอบทดี่ ีควรมลี กั ษณะ 10 ประการ ดงั นี้

1) เที่ยงตรง (Validity) หมายถึง คุณสมบัติท่ีจะทาให้ผู้ใช้บรรลุถึงวัตถุประสงค์ แบบทดสอบที่มีความ
เทยี่ งตรงสูง คอื แบบทดสอบทสี่ ามารถทาหน้าทว่ี ัดสิง่ ที่ต้องการวัดไดอ้ ย่าง ถกู ตอ้ งตามความมุง่ หมาย

2) ยุติธรรม (Fair) เป็นแบบทดสอบที่ให้ความเสมอภาคเท่าเทียมกันที่ผู้สอบจะทา ข้อสอบได้ตาม
ความสามารถจริงของเขาในวิชานั้น ๆ ซ่ึงลักษณะที่สาคัญ คือ ต้องไม่มีความลาเอียง เข้าข้างกลุ่มใดและไม่เปิด
โอกาสให้คนเกง่ หรอื ออ่ นเดาข้อสอบใด

3) ถามลึก (Searching) เป็นแบบทดสอบทท่ี าใหผ้ ้สู อบได้คิดคาตอบด้าน ความสามารถในระดบั สตปิ ัญญา
ทอ่ี ยใู่ นขนั้ สงู ข้อสอบจะตอ้ งลว้ งลึกซ่ึงจะทาให้ผสู้ อบได้พัฒนา ความสามารถท่กี ล้าแข็งต่อไป

4) ยั่วยุ (Exemplary) เป็นข้อสอบท่ีลักษณะท้าทาย ชวนให้คิดต่อ เด็กสอบแล้วมี ความอยากรู้เรื่องราว
ใหก้ วา้ งขวางยิง่ ขึน้

5) จาเพาะเจาะจง (Definite) เด็กอ่านคาถามแล้วต้องเข้าใจแน่ชัดว่า ครูถามถึงอะไร หรือให้คิดอะไร
ไมถ่ ามคลุมเครอื

6) เป็นปรนัย (Objectivity) มี คุณสมบัติ3 ประการ คือชัดเจนในความหมายของ คาถาม ชัดเจน
ในวิธกี ารตรวจหรอื มาตรฐานการใหค้ ะแนน และชัดเจนในการแปลความหมายของ คะแนน

7) มีประสิทธิภาพ (Efficiency) สามารถให้คะแนนได้เที่ยงตรงที่สุด โดยใช้เวลา แรงงาน เงินทองน้อย
ทีส่ ดุ

8) ยากพอเหมาะ (Difficulty) ข้อสอบในแต่ละข้อไม่ยากหรือง่ายเกนิ ไป ขอ้ สอบทีม่ ี ความยากปานกลาง
เปน็ ขอ้ สอบทีด่ ีเพราะชว่ ยแปลความหมายของคะแนนได้ดี

9) มีอานาจจาแนก (Discrimination) คอื สามารถแยกเดก็ ออกเป็นประเภท ๆ ไดท้ กุ ระดับตง้ั แต่อ่อนสุด
ถงึ เกง่ สุด

10) ต้องเช่ือม่ันได้ (Reliability) คือ ข้อสอบน้ันสามารถให้คะแนนได้ตรงทีแ่ นน่ อนไม่ แปรผนั
จากการศึกษา สรุปได้ว่า แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดีน้ัน ต้องมีความ ตรง ความเที่ยง
ความยากพอเหมาะ โดยคา่ ความยากระหว่าง 0.20 ถงึ 0.80 มีคา่ อานาจจาแนกตง้ั แต่ 0.20 ข้นึ ไป มคี วามเป็น
ปรนัย มีการถามลกึ และมีความยุตธิ รรม

๒๗

4.๓ แนวทำงกำรยกระดับผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรยี น
มีผกู้ ล่าวถึงแนวทางในการยกระดบั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นไวด้ งั นค้ี ือ
Peter Senge(รศ. สุเทพ พงศ์ศรีวัฒน์ ออนไลน์ ,2560) กล่าวว่า การประยุกต์ใช้แนวคิด เรื่ององคก์ าร
แห่งการเรียนรู้ (Learning organization) การสร้างสรรค์ให้เกดิ องค์การแห่งการ เรียนรู้ที่เข้มแข็งกค็ ือ การทาให้
คนในองค์การรู้จักเรียนรู้การทางานร่วมกันเป็นทีมงานท่ีดีจนสามารถ ยกระดับผลสาเร็จขององค์การให้สูงยิ่งขนึ้
ท้ังนี้ในกระบวนการพัฒนาทีมงานให้เป็นทีมงานชั้นยอด จนสามารถร่วมสร้างและร่วมขับเคล่ือนวิสัยทัศน์ร่วม
(Shared vision) ได้น้ัน สมาชิกแต่ละคน ของทีมงานจะได้รับการพัฒนาความรู้และทักษะใหม่ๆ ท่ีใช้ปฏิบัติงาน
เพือ่ ยกระดับผลงานใหส้ งู ขึน้ และจากการมีโอกาสทางานรว่ มกันเช่นนท้ี าใหส้ มาชกิ ของทมี งานได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้
ซึ่งกันและกัน พร้อมไปกับการเรียนรู้วิธีทางานของตนให้มีประสิทธิผลย่ิงข้ึน โดย Senge หลักการ (หรือวินัย) 5
เพือ่ สรา้ งโรงเรียนแห่งการเรียนรู้ (Learning school) ตามกรอบแนวคดิ ของ Senge ดังนี้
หลักการที่ 1 : ต้องพัฒนาความรอบรู้แห่งตน (Personal mastery) ของสมาชิก ความรอบรู้แห่งตน
หมายความวา่ ทกุ คนที่อยูใ่ นโรงเรยี นท่เี ปน็ องค์การแห่งการเรยี นรู้ จะต้องเขา้ ใจวา่ ตนมีส่วนร่วมรบั ผดิ ชอบตอ่ การ
สร้างผลงานหรือความสาเร็จของโรงเรียนโดยรวม ครูแต่ละคนจะต้องตระหนักว่า ตนต้องปฏิบัติงานในฐานะ
เป็นสมาชิกของทีมงานที่จะต้องร่วมกัน นาพาและยกระดับผลสัมฤทธิ์ของนักเรียน ตลอดจนความสาเร็จของ
ผู้ปกครองและของชุมชนให้ สูงข้ึน ความรอบรู้แห่งตน จึงหมายความว่า ครูทุกคนจะต้องมีพันธะผูกพันต่อการ
ประกอบวิชาชีพ ครขู องตนเย่ยี งมืออาชพี และต้องเป็นสมาชิกท่ดี ี เพ่ือชว่ ยเหลือใหท้ ีมงานของตนมีผลงานระดับสูง
ยิ่งข้ึนเท่าท่ีจะทาได้ ครูแต่ละคนจะต้องมีความผูกพันต่อเพ่ือนร่วมงานด้วยการสร้างบรรยากาศท่ีดี ของที่ทางาน
และรว่ มมือรว่ มใจกนั ยกระดับคุณภาพการเรียนการสอนของนกั เรียนให้ดีท่ีสดุ การสรา้ งความรอบรู้แห่งตนของครู
ก็คือ การร่วมการเรียนรู้ไปกับนักเรียน ครูจึงมีบทบาทต้องเป็นผู้ เรียนรู้ (Teachers as learners) ในขณะท่ี
ปฏิบตั ิงานสอนอีกด้วย
หลกั การท่ี 2 : ต้องมีแบบแผนความคิดอ่าน (Mental model) แบบแผนความคดิ อ่าน หมายถึง ความเช่อื
ที่ฝังลึกอยู่ภายในบุคคล (unconscious assumptions) ท่ีมีต่อส่ิงต่าง ๆ จึงมีลักษณะไม่เป็นคาพูด (unspoken
norms) แตม่ อี ทิ ธิพลในการกาหนดวา่ โรงเรียนของตนจะดาเนนิ การตอ่ ภารกจิ ต่าง ๆ อย่างไร ตลอดจนการใช้ภาวะ
ผู้นาได้อย่างไร เป็นต้น เน่ืองจากแบบแผนความคิดอ่านเหล่าน้ีมักไม่ได้ถูกหยิบยกขึ้นมาพิจารณาว่ามีความ
เหมาะสมเพยี งไร มอี ะไรบา้ งท่โี รงเรียนได้ทาหรือมอี ะไรบ้างทีค่ วรทาแต่ ยงั ไมไ่ ดท้ า ดังนั้นถา้ เปน็ โรงเรียนแห่งการ
เรียนรู้แล้ว ประเด็นต่างๆ ท่ีเป็นแบบแผนความคิดอ่าน ดังกล่าวเหล่านี้ จะถูกหยิบยกขึ้นมาพิจารณาตรวจสอบ
ร่วมกัน ของทุกฝ่ายท่ีมีส่วนได้เสีย (Stakeholders) เช่น ส่ิงท่ีโรงเรียนเช่ือและใช้เป็นแนวทางจัดการศึกษาอย่นู ้ัน
สอดคลอ้ งกบั สง่ิ ท่ี เปน็ วิสัยทัศนข์ องโรงเรียนซึง่ ทุกฝ่ายร่วมกาหนดข้นึ หรือไม่ หรือนักเรยี นไดร้ ับการส่งเสริมให้เกิด
การเรียนรู้อย่างเต็มศักยภาพหรือไม่ และสอดคล้องกับความคาดหวังของผู้ปกครองและชุมชนเพียงไร ตลอดจน
กฎเกณฑ์ ระเบียบปฏิบัติ และวิธีการต่าง ๆ ท่ีโรงเรียนใช้ดาเนินการอยู่นั้น มีความ สอดคล้องหรือขัดแย้งกับ
ความเช่ือ วถิ ีชวี ติ และวิสัยทศั น์ท่สี งั คมคาดหวงั ต่อโรงเรียนหรือไมเ่ พยี งไร เป็นตน้
หลักการท่ี 3 : ต้องสร้างวิสัยทัศน์ร่วม (Shared vision) ของโรงเรียน วิสัยทัศน์ร่วม หมายถึง ภาพ
ในอนาคตของโรงเรยี นที่ทุกคนร่วมกันวาดฝัน และ ปรารถนาท่ีจะให้เกิดขึ้นจริงกับโรงเรียนของตน วิสัยทัศน์ร่วม
จงึ ทรงพลงั ท่ีชว่ ยยึดเหน่ียวทุกคนใหเ้ กิด ความเป็นน้าหนงึ่ ใจเดียวขึน้ และมคี วามรสู้ ึกรว่ มในเป้าหมายท่จี ะต้องก้าว
ไปให้ถึง ดังนั้นวิสัยทัศน์ ร่วมจึงเป็นพลังขับเคล่ือน ให้ภารกิจทุกอย่างของโรงเรียนมุ่งไปสู่เป้าหมายเดียวกัน

๒๘

วิสัยทัศน์ร่วมมิได้ เกิดข้ึนหรือเป็นของผู้หน่ึงผู้ใดโดยเฉพาะ วิสัยทัศน์ร่วมท่ีดีควรมีความชัดเจนท้ังเป้าหมาย
และ แนวทางที่สามารถบรรลุได้จรงิ และไม่ควรเปน็ เพยี งแต่ขอ้ ความส้ันๆ ที่กระชับชัดเจนดึงดดู ใจเท่านัน้ แตค่ วร
มีพลังในการกากับพฤติกรรมของบุคคลให้ปฏิบัติงานสอนได้ตรงกับความคาดหวัง อย่างมี ความหวังและมีความ
เต็มใจท่ีจะปฏิบัติภารกิจทั้งของส่วนตนและของทีมงานโดยเต็มความสามารถ โดยยึดหลักการทาเพื่อส่วนรวม
ร่วมกนั

หลักการที่ 4 : สง่ เสริมใหเ้ กิดการเรียนรู้แบบทีม (Team learning) การเรียนรแู้ บบทีมเป็นปัจจยั ท่ีสาคัญ
สาหรับโรงเรียนแห่งการได้โดยการใช้วิธีเสวนา (Dialogue) และวิธีอภิปรายถกปัญหา (Discussion) โดยทีมงาน
อาจประกอบด้วย ผู้บริหาร ครูผู้สอน และผู้ปกครอง มาร่วมกันถกปัญหาในประเด็นต่าง ๆ ท่ีโรงเรียนดาเนินการ
อยู่ เช่น วิธีการจัด ช้ันเรียน (Classroom structure) การจัดตารางสอน เทคนิควิธีสอน วิธีวัดผลประเมินผล
วิธีจงู ใจใหน้ กั เรยี นมนี ิสัยใฝร่ ใู้ ฝ่เรียน ตลอดจนการบรหิ ารจดั การโรงเรยี นในดา้ นตา่ ง ๆ

หลักการที่ 5 : พัฒนาการคิดอย่างเป็นระบบ (System thinking) การคิดอย่างเป็นระบบ หมายถึง
ความสามารถของสมาชกิ ในองคก์ ารแห่งการเรียนรู้ ท่ี สามารถมองเห็นองคก์ ารในลกั ษณะของภาพรวมซงึ่ ประกอบ
ข้ึนจากองค์ประกอบย่อยต่าง ๆ (See the forest for the trees) กล่าวคือ ในโรงเรียนแห่งการเรียนรู้ครูจะมี
แนวโน้มท่ีเห็นว่าการปฏิบัติงานของแต่ละคนก็ดีหรือกิจกรรมต่าง ๆ ที่จัดข้ึนก็ดี ล้วนมีความสัมพันธ์เช่ือมโยง
ต่อการดาเนิน ภารกิจโดยรวมทัง้ หมดของโรงเรียน การคดิ อย่างเปน็ ระบบของโรงเรียนแห่งการเรียนรู้

๒๙

ส่วนท่ี ๓
ผลกำรดำเนินงำน

1. กระบวนกำรออกแบบนวัตกรรม
(1) กำรออกแบบ SLI Model เพ่อื สร้ำงนวตั กรรม
แนวทางการสร้างนวตั กรรมทางด้านการจัดการเรียนรู้ เพื่อยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียน

โรงเรียนโพธินิมิตวิทยาคม ได้แนวคิดจากนวัตกรรมทางการบริหารจัดการศึกษา โรงเรียนโพธินิมิตวิทยาคม เพ่ือ
คุณภาพการศึกษาผ่านการมีส่วนรว่ มอย่างยัง่ ยนื P.N . SGDQ นามาสู่การพัฒนานวัตกรรมด้านการจดั การเรียนรู้
SLI Model (Strategy & Framework Learning Improvement & Innovation Model ในการจดั ทานวัตกรรม
การจัดการเรียนรู้ ซึ่งในไปสู่การพฒั นานวัตกรรมทางการศึกษา คือ ระบบติดตามคะแนน/ภาระงาน ของนกั เรยี น
แบบระบบเปิด ดว้ ยเครื่องมอื Google Sheet และระบบปดิ On-line ดว้ ยเครอ่ื งมือ Line OA ดงั นี้

ภำพประกอบที่ ๔ กรอบแนวคดิ ในกำรออกแบบ SLI Model
(Strategy & Framework Learning Improvement & Innovation Model)
โรงเรียนโพธินิมิตวิทยาคมนาแนวการปฏิบัติของ PNSDQ Model มาใช้เพื่อเป็นกรอบในการบริหาร
จัดการด้านการเรียนรู้ และสร้างเคร่ืองมือในการพัฒนาด้านคุณภาพครู ด้านคุณภาพผู้เรียน เพื่อให้เกิดประโยชน์
อย่างเป็นรูปธรรม เกิดนวัตกรรมการสร้างสรรค์ใหม่ส่งผลต่อการพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการศึกษาภายใต้
การกระบวนการออกแบบ DALI เพ่ือพัฒนาผ่านการมีส่วนร่วมอย่างย่ังยืน “P.N. SDGQ Model” ส่งผลให้เกิด
นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้เพ่ือยกระดับคุณภาพของผู้เรียน ของโรงเรียนโพธินิมิติวิทยาคม ประจาปีการศึกษา
2564 มี 3 ข้นั ตอน ดงั น้ี
1. การกาหนดเป้าหมาย
1.๑ รู้หลกั (Concept) ๑.2 รโู้ จทย์ (Context) และ ๑.๓ ร้เู กณฑ์ (Criteria) จากน้นั นาทั้ง 3 ข้นั ตอน

๓๐

มาต้ังเป้าหมายขององค์กรโดยใช้หลักการ S.M.A.R.T ท้ังน้ีสถานศึกษาได้ให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียใน
สถานศกึ ษาไดม้ ีสว่ นร่วมในการต้งั เปา้ หมายในการจดั ทานวัตกรรมการจัดการเรยี นรู้ เพือ่ ให้เกิดเป้าหมายทชี่ ัดเจน
ในการพฒั นาระบบการบริหารจดั การในสถานศึกษา

2. กระบวนการในการดาเนนิ งาน
จากการตั้งเป้าหมายในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ โรงเรียนโพธินิมิตวิทยาคมได้ กาหนดการพัฒนา
ผลสมั ฤทธทิ์ างการศึกษาในปีการศกึ ษา 2564 และใชว้ งจร DALI ในการขบั เคล่อื นการดาเนนิ งาน ดงั ตอ่ ไปนี้
1. D (Design) โรงเรียนได้กาหนดค่าเป้าหมายในการประกันคุณภาพการศึกษาโดยใช้ข้อมูลสารสนเทศ
และรายงานการปฏิบัติงานประจาปี ท่ีผ่านมาเพื่อกาหนดทิศทางในการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาในปี
การศึกษา 2564 จากค่าเป้าหมายในการประกันคุณภาพการศึกษาในแต่ละกลุ่มสาระการเรยี นรู้ ส่งผลให้ครูทุก
คนจัดทาบันทึกสัญญายกระดับคุณภาพนักเรยี น ประจาปีการศึกษา 2564 กลุ่มการบริหารงานวิชาการได้จัดทา
การบริหารความเส่ียงจากงานควบคุมภายในเพอ่ื จัดการความเส่ยี งของปัญหาผลสัมฤทธ์ทิ างการศึกษาที่จะเกิดขึ้น
ในปีการศึกษา 2564 คณะกรรมการบริหารวชิ าการได้จัดทาการปรับปรุงหลักสูตรและจัดทาอัตรากาลัง และได้
นากจิ กรรมตา่ ง ๆ ดาเนินการจดั ทาแผนปฏิบัตปิ ระจาปขี องโรงเรยี น
2. A (Action) เป็นขน้ั ตอนการดาเนนิ งาน โดยใช้ขอ้ มลู มาเพ่ือดาเนินงานในกลมุ่ การบริหารงานวชิ าการ
โดย ส่งเสริม สนับสนุนให้ครูผู้สอนใยแต่ละรายวิชา จัดทาแผนการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยใช้
รูปแบบการจัดการเรียนรู้ในห้องเรียนแบบผสมผสาน (Blended learning) เพ่ือให้สอดคล้องกับสถานการณ์โรค
ระบาดโควิด19 และมีการติดตามการวัดผลประเมินผล ติดตามนักเรียนในช้ันเรียนด้วยเคร่ืองมือ รูปแบบสื่อ
ออนไลน์มีการใช้ Google Sheet เป็นระบบเปิด และใช้ LINE OA เป็นระบบปิด ซ่ึงในการดาเนินกิจกรรมการ
จัดการเรียนการสอนของโรงเรียนโพธินิมิติวิทยาคมได้ใช้ LINE Application ในการจัดการเรียนการสอนทั้งช้ัน
เรียน และสนับสนุนใหค้ รูในแต่ละรายวิชาวัดผลประเมินผลนกั เรียนด้วยการประเมนิ พัฒนาการของนักเรยี น
3. L (Learning) จากการจัดกระบวนการดาเนินงานโดยให้ครูได้ใช้การจัดการเรียนรู้ที่ระบบบริหาร
โรงเรียนได้วางแผนไว้ ในขั้นการเรียนรู้ โรงเรียนโพธินิมิติวิทยาคมได้จัดให้มีกิจกรรม PLC เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์
ทางการเรยี น สองครงั้ ในหนงึ่ ภาคเรียน คือ หลังจากการสอบกลางภาค ทง้ั ในระดบั กลมุ่ สาระการเรียนรู้ และระดบั
โรงเรียน
4. I (Improvement) จากการที่โรงเรียนมีระบบการบริหารจัดการเพื่อส่งผลให้เกิดนวัตกรรมโดยใช้
แผนการจดั การเรยี นรู้แบบ Active Learning ในห้องเรียนรูปแบบผสมผสาน (Blended Learning) ผา่ นนวตั กรรม
การจัดการเรียนรู้ คือ การติดตามคะแนน/ ภาระงานของนักเรียนระบบเปิดด้วยเคร่ืองมือ Google Sheet และ
ระบบปดิ On - line ด้วยเครอ่ื งมือ Line OA
3. ยดึ หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและมาตรการหลกั 8 มาตรการ
การยดึ หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
การจัดการศึกษาขัน้ พ้นื ฐานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมุ่งปลูกฝงั จติ นึกพอเพียงใหเ้ กิดขึ้นเพ่ือ
นักเรยี นตระหนกั ถงึ ความพอประมาณในการดาเนินชวี ติ มกี ารตัดสินใจบนพืน้ ฐานของเหตผุ ล ฝึกใหม้ ีการมองก้าว
ไปขา้ งหน้าและเตรยี มตวั ให้พร้อมรบั ต่อความผนั ผวนของเหตุการณ์ตา่ ง ๆ อย่างรเู้ ทา่ ทนั รวมถึงการหมัน่ แสวงหา
ความรู้เพื่อให้เกิดความรอบรู้ในด้านต่าง ๆ ฝึกฝน ตนเองให้มีความรอบคอบและระมัดระวัง โดยใช้สติปัญญา
ในการทางานและในการดาเนินชีวิตที่สาคัญ แนวคิด หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงยังเน้นให้ผู้เรียน

๓๑

มีคุณธรรม จริยธรรม มีความอดทน ความขยันหม่ันเพียร ความซื่อสัตย์สุจริตไม่เบียดเบียนผู้อื่นแบ่งปัน
และช่วยเหลือซ่ึงกันและกัน ท้ังน้ีโดยมุ่งหวังให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามแนวทางของหลักปรัชญา
ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

วางแผนขับเคล่อื นโครงการโรงเรียนคณุ ภาพโดยใช้ ๘ มาตรการ
สร้างความรู้เข้าใจให้กับครู นกั เรยี น และผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง (stakeholders) เพ่ือการขับเคลือ่ นโรงเรียน
ท้ังระบบโดยใช้ ๘ มาตรการ ได้แก่ การจัดการข้อมูล (Data Management) การใช้ข้อมูลสารสนเทศ
(Information) การใช้เทคโนโลยี (Technology) สถานศึกษาปลอดภัย (Safe School) ชุมชนแห่งการเรียนรู้
(PLC) การจัดการความเส่ียง (Risk Management) หลักธรรมาภิบาล (Good Government) และ เครือข่าย
(Network)
กรอบแนวคิดในการกาหนดนวตั กรรมการจัดการเรียนรู้ของโรงเรยี นโพธนิ ิมิตวิทยาคม ได้มกี ารนาแนวคิด
ของกระบวนการ DALI มาประยุกต์และปรับใช้ให้มีสอดคล้องและมีความเหมาะสมกับโรงเรียน โดยได้มีการ
กาหนด SLI Model ในการจดั ทานวัตกรรมการจดั การเรียนรู้
1. S (Strategy & Framework) ข้นั การวางแผนกลยทุ ธ์ - โดยในขนั้ น้ไี ดร้ วบรวม ข้ัน D (Design)
และข้ัน A (Action) เพอื่ นาข้อมลู ตา่ ง ๆ ของโรงเรียนมาออกแบบ วางแผน กลยทุ ธ์ในการจดั การเรียนรู้
เพือ่ ส่งเสริม พฒั นาใหผ้ ลสมั ฤทธ์ทิ างการศกึ ษาในปกี ารศกึ ษา 2564 สูงขั้น
2. L (Learning) ข้ันการจัดการเรยี นรู้ – น้ีครูมีการอบรมพฒั นาตนเอง (ข้ัน L- Learning) สามารถสร้าง
แผนการจัดการเรียนรู้ กระบวนการจัดการเรียนการสอน สื่อการสอน ให้สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียน
เครื่องมือที่ใช้ในการติดตามนักเรียนและการวัดผลและประเมินผลของครูผู้สอนในแต่ละรายวิชาในรูปแบบท่ี
หลากหลาย รวมท้ังมกี ารจัดกิจกรรม PLC เพื่อพัฒนาผลสมั ฤทธ์ิทางการศกึ ษาและแก้ปญั หาการติดตามภาระงาน
/ การทดสอบของนักเรียน ช่วยให้ครูในแต่ละรายวิชาได้ติดตามผลการเรียนของนักเรียนทุกคน ทั้งในระดับกลุ่ม
สาระการเรยี นรู้ และระดับโรงเรียนโดยแบ่งแยกเปน็ ระดับช้ัน
3. I (Innovation & Improvement) ขั้นนวัตกรรมและการพัฒนา จากการสะท้อนผลของการติดตาม
การเรยี นนกั เรียนจากกิจกรรม PLC ทาให้เกดิ การใช้เครอื่ งมอื ทางเทคโนโลยี และข้อมูลสารสนเทศ
จงึ ส่งผลทาให้เกดิ แบบตดิ ตามผลการเรยี นแบบ Google Sheet ระบบเปิด และ LINE OA ในระบบปดิ
ซึงผลจากการดาเนินการตามกระบวนการ SLI MODEL (Strategy & Framework Learning
Improvement & Innovation Model) นาไปสกู่ ารพบโอกาสในการปรบั ปรงุ เพ่ือแกไ้ ขปญั หาโดยมีขน้ั ตอนในการ
ดาเนินงาน เริ่มตั้งแต่การวิเคราะห์ปัญหาจากการเรียนการสอน ศึกษาเอกสาร แนวคิด วิธีการที่เก่ียวข้อง
สร้างและทดสอบนวัตกรรม และนานวัตกรรมไปใช้ในการพัฒนาครู พัฒนานักเรียน ซ่ึงส่งผลทาให้ผลสัมฤทธิ์
ทางการเรยี นเฉล่ียรวมสูงขึน้ เมือ่ เทียบกบั ปกี ารศกึ ษา 2563

(2) วธิ ดี ำเนนิ กำร ในกำรสร้ำงนวัตกรรม
กรอบแนวคดิ ในการกาหนดนวตั กรรมการจัดการเรียนรู้ของโรงเรียนโพธินิมติ วิทยาคม ได้มีการนาแนวคิด

ของกระบวนการ DALI มาประยุกต์และปรับใช้ให้มีสอดคล้องและมีความเหมาะสมกับโรงเรียน โดยได้มีการ
กาหนด SLI Model (Strategy & Framework Learning Improvement & Innovation Model) ในการจัดทา
นวัตกรรมการจัดการเรยี นรู้ ซึง่ มีรายละเอยี ดดังน้ี

๓๒

ภำพประกอบที่ ๕ กำรนำ SLI Model (Strategy & Framework Learning Improvement &
Innovation Model) มำใชเ้ พอื่ ให้เกิดนวัตกรรม

S : (Strategy& Framework)
ในการจัดทานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้มีการคานึงถึง บริบท (Context) ในการพัฒนามาตรฐาน
(Criteria) และสิ่งท่ีโรงเรียนเป็น (Core value and Concept) จากนโยบายของหน่วยงานที่เก่ียวข้องผ่าน
การจัดทาแผนปฏิบัติราชการประจาปีของโรงเรียนท่ีมีการการกาหนดค่าเป้าหมายของงานประกันคุณภาพ
เป็นเป้าหมายในภาพรวมที่ชัดเจน โดยการประชุมคณะครูและบุคลากรเพ่ือร่วมกาหนดค่าเป้าหมายของงาน
ประกันคุณภาพการศึกษาซ่ึงเป็นแนวทางให้ครูและบุคลากรปฏิบัติงานตามเป้าหมายท่ีกาหนดโดยมีการจัดทา
แผนปฏบิ ัติการประจาปขี องสถานศึกษาถอื เป็นการวางเป้าหมายในการทางานในแตล่ ะปีให้มีโอกาสบรรลุเป้าหมาย
ตามท่ีกาหนดโดยนาข้อมูลสารสนเทศของสถานศึกษาในปีการศึกษาท่ีผ่านมาเป็นข้อมูลประกอบการจัดทา
แผนปฏิบตั ิการประจาปี และยังคานงึ ถึงแผนบริหารความเสีย่ งจากงานควบคุมภายในส่วนของกลุ่มการบริหารงาน
วิชาการโดยออกแบบและจัดทา MOU การจัดการเรียนการสอนกาหนดวางแผนอัตรากาลังให้ครอบคลุมกับ
เนือ้ หาวิชาของแตล่ ะกลมุ่ สาระการเรยี นรู้และปรับปรงุ หลักสตู รสถานศกึ ษาออกแบบการวดั และประเมนิ ผลเพ่ือให้
เข้ากับบริบทของผู้เรยี นและชุมชน มีการปรับปรงุ หลักสูตรและวางแผนอตั รากาลัง เพ่ือเป็นกรอบแนวทางในการ
ดาเนินงานของบุคลากรภายในโรงเรียน (Framework) รวมถึงการออกแบบการวัดผลที่เอ้ือต่อผู้เรียน ซึ่ง
กระบวนการในข้ันต้นจะเป็นกรอบแนวทางในการออกแบบ (D : Design) และดาเนินการ (A : Action) จัดทา
นวตั กรรมตามของโรงเรียน
L: (Learning)
โรงเรียนโพธินิมิตวิทยาคมมีแนวทางในการสร้างองค์ความรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ รวมถึงบรรยากาศ
ท่ีทาให้เกิดการเรียนรู้ ท้ังในแบบที่เป็นทางการ และบุคลากรในเรียนเรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง และในแบบ
กลุ่ม ผ่านทางการประเมินพัฒนาการของผู้เรียน ที่จะให้รู้ถึงปัญหา ความต้องการ โอกาสของผู้เรียน การพัฒนา
โครงสรา้ งหลักสูตร การติดตามประเมนิ ผลการดาเนินงาน การตดิ ตามผูเ้ รยี น กจิ กรรมชมุ ชนการเรียนร้ทู างวิชาชีพ
(Professional Learning Community: PLC) การรวมถึงการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา มีตัวแทน
ผปู้ กครอง ตัวแทนชุมชน
ซึง่ กระบวนการและกจิ กรรมทงั้ หมดล้วนเปน็ กจิ กรรมทสี่ รา้ งให้เกิดการเรียนรูด้ ้วยตนเองและเกดิ การได้รับ
ข้อมูลท่ีจะนาไปพัฒนาในเกิดองค์ความรู้ ซึ่งนาไปสู่การสร้างนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ ผ่านช่องทางต่าง ๆ

๓๓

เช่น องค์ความรู้ที่ได้รับจากการทากิจกรรม PLC หรือข้อมูลจากการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษามีตัวแทน
ผู้ปกครอง ตวั แทนชุมชน เปน็ ต้น

I : (Improvement & Innovation)
โรงเรียนโพธินิมิตวิทยาคมมีกิจกรรม แนวทางในการปรับปรุง พัฒนาและสร้างบรรยากาศของโรงเรียน
ให้เกิดการสร้างนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ โดยกาหนดให้บุคลากรจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้แบบ Active
Learning การจดั การเรียนการสอนในรูปแบบผสมผสาน (Blended Learning) ที่มคี วามเหมาะสมกับสถานการณ์
ที่เกิดขึ้น โดยมีการอบรมให้ความรู้และสนับสนุนในด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ การพัฒนาช่องทางในการเรียน
การสอนให้เหมาะสมกับพฤติกรรมของผูเ้ รียนท่ีมีการเปลีย่ นไปตามเทคโนโลยตี ่าง ๆ ในปจั จบุ ัน และส่งเสรมิ ใหเ้ กิด
การสร้างนวัตกรรมโดยการประกวดส่ือ นวัตกรรมทางการศึกษา เพื่อให้เกิดการเรียนรู้และนาไปพัฒนาการเรยี น
การสอนไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพมากยงิ่ ขนึ้

2. รำยละเอียดของนวัตกรรม
จากการดาเนินการตาม SLI Model ตามท่ีกล่าวมาข้างต้น ในปีการศึกษา ๒๕๖๔ โรงเรียนโพธินิมิต

วิทยาคมมีนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ คือ การติดตามคะแนน/ภาระงาน ของนักเรียน แบบระบบเปิด
ด้วยเคร่ืองมือ Google Sheet และระบบปิด Online ด้วยเคร่ืองมือ LINE OA โดยมีแนวคิดและวิธีดาเนินการ
เพื่อแก้ไขปัญหาในเรื่องการติดตามและส่งงานของนักเรียนด้วย Google Sheet ซ่ึงจะช่วยให้นกั เรียนติดตามงาน
ได้ร้อยละ 100 และช่วยให้นักเรียนส่งงานไดค้ รบมากกวา่ ร้อยละ ๙๐ และการนา LINE Official Account (LINE
OA) มาใช้เพอื่ ช่วยให้นกั เรียนสามารถเรียนรูเ้ น้อื หาไดด้ ว้ ยตนเองตลอด ๒๔ ช่วั โมง ซ่ึงมีรายละเอียด ดังนี้

(1) นวัตกรรมกำรติดตำมคะแนน/ภำระงำนของนักเรียน แบบระบบเปิด ด้วยเครื่องมือ Google
Sheet

ภำพประกอบที่ ๖ นวัตกรรมกำรตดิ ตำมคะแนน/ ภำระงำนของนกั เรยี น
แบบระบบเปดิ ดว้ ยเครอื่ งมือ Google Sheet

กระทรวงศึกษาธกิ ารได้ส่ังการให้โรงเรียนดาเนินการปรับเปล่ียนรูปแบบการเรยี นการสอน จากการ
สอน On - Site เป็น Online, On - hand, On - Demand หรือ On - Air ซึ่งจากการจัดการเรียนการสอน

๓๔

ช่วงสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของ Covid -๑๙ ในภาคเรยี นท่ี ๑ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ โรงเรียนโพธินมิ ิตวทิ ยาคม
ได้เปิดทาการเรียนการสอนตั้งแต่วันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๖๔ จัดการเรียนการสอนแบบ Online เป็นหลัก
ผ่าน Application Line Group โดยใช้ Line Meeting ในการสอนสด ใช้ Line Note ในการส่ังงาน, ส่งงาน
และเผยแพร่สื่อการสอนสาหรับนัก เรียนที่ต้องการเรียนซ้าหรือเข้าเรียนไม่ทัน ใช้ Google Form,
Live Worksheet ในสร้างแบบฝึกหัดเพ่ือวัดผลประเมินผลนักเรียนรวมถึงเช็คช่ือนักเรียนเป็นรายบุคคล ในส่วน
ของนกั เรียนที่ไมม่ อี ปุ กรณ์ในการเรียนแบบ Online หรอื On - Demand นั้น ทางครูประจาวิชาได้จัดชุดกิจกรรม
ให้นักเรยี นได้เรยี นควบคู่ไปกบั หนังสือเรียน โดยดาเนินการจัดสง่ และจัดเกบ็ ชดุ กิจกรรมผา่ นครูที่ปรกึ ษา

ซ่ึงจากการจัดการเรียนการสอนแบบ Online ตั้งแต่วันท่ี ๑ มิถุนายน ๒๕๖๔ จนถึงวันท่ี ๓๐ กรกฎาคม
๒๕๖๔ พบว่านักเรียนไม่ส่งงานและไม่มีคะแนน โดยทางกลุ่ม PLC ได้ดาเนินการแก้ปัญหาในขั้นต้น คือให้
ครูประจาวิชาติดต่อกับนักเรียนเป็นรายบุคคล ซึ่งผลจากการแก้ปัญหาดังกล่าว สามารถแก้ปัญหาได้ในระดับดี
แต่เนื่องจากครูแต่ละคนรับผิดชอบนักเรียนจานวนมาก จึงไม่สามารถติดตามนักเรียนเป็นรายบุคคลได้ทันเวลา
จากปัญหาดังกล่าวจึงได้มีความสนใจท่ีจะนาระบบติดตามและตรวจสอบการส่งงานด้วย Google Sheet
มาใช้แก้ปัญหาหรือพัฒนานักเรียนให้นักเรียนสามารถติดตามและตรวจสอบการส่งงานของนักเรียนได้ตัวเอง
มีการ Update ผลการส่งงานอย่างสม่าเสมอ อย่างน้อยสัปดาห์ละ ๑ คร้ัง มีการแจ้งการ Update ให้นักเรียนได้
ทราบ นอกจากนีย้ งั อานวยความสะดวกใหน้ ักเรียนสามารถติดตามสง่ งานตา่ ง ๆ ได้ตลอดเวลา

ในการจัดทาระบบการติดตามคะแนน/ภาระงาน ของนักเรียนแบบระบบเปิด ด้วยเครื่องมือ Google
Sheet มีการศึกษาทฤษฎีในเรื่องการติดตามงาน ซ่ึงหมายถึง การกาหนดวิธีการ แหล่งข้อมูล และความถ่ี
ในการติดตามงาน รวมทั้งการกระตุ้นจูงใจให้ผู้อื่นทางานให้ประสบผลสาเร็จตามเป้าหมายที่กาหนด ตลอดจน
การแจ้งผลความก้าวหน้าของงานได้อย่างครบถ้วนถูกต้อง ดังนั้นการติดตามงาน (Follow Up) จึงเป็น
ความสามารถ (Competency) อย่างหนึ่งท่ีจัดอยู่ในกลุ่มของความสามารถด้านการบริหารหรือจัดการงาน
(Managerial Competency) ซึ่ง Competency ประเภทน้ีจะมีได้ท้ังในระดับบริหาร (Executive Level)
และระดับพนักงาน (Non-Executive Level) ทั้งน้ีมีหลายองค์กรได้นา Competency ในด้าน "การติดตามงาน"
เป็นปัจจัยช้ีวัดผลการทางานด้านหน่ึงท่ีเกี่ยวกับพฤติกรรมท่ีแสดงออก ซ่ึงพฤติกรรมการติดตามงานจะมี
ระดับทแ่ี ตกตา่ งกนั ไป

(2) กำรนำ LINE Official Account (LINE OA) มำใช้ในกำรเรยี นกำรสอน

ในการเรียนออนไลน์ นักเรียนต้องมีครูเป็นผู้ช่วยเหลือ แนะนา ดูแล
ในการเรียนต้ังแต่ข้ันตอนการเข้าเรียน การส่งงาน การติดตามงาน การตรวจสอบ
ผลการเรียนเป็นระยะ ปัญหาท่ีครูต้องพบเจอ คือ นักเรียนไม่สามารถปรับตัวในการ
เรียนออนไลน์ได้ทันท่วงทีในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา
(โควิด-๑๙) ส่งผลให้นักเรียนส่งงานล่าช้า ขาดส่งงานในระยะแรกเป็นจานวนมาก
และขาดครูผู้แนะนาช่วยเหลือ เม่ือครูไม่สามารถตอบไลน์ได้ทันท่วงที ซ่ึงการ
แกป้ ญั หาของครูผู้สอนในรายวิชาภาษาไทย จงึ จัดทา หุ่นไลก่ า ภาษาไทย PN CARE
เพ่ือดูแลช่วยเหลือนักเรียนเหมือนกับการมีหุ่นไล่กาท่ีชาวนาได้สร้างไว้เพ่ือให้คอย
ช่วยเหลือชาวนาและช่วยดูแลรักษาผลผลิตในนาข้าว จากปัญหาดังกล่าวครูผู้สอน
จึงพัฒนาเทคโนโลยี Line BOT ห่นุ ไลก่ า ภาษาไทย PN CARE เพ่อื ช่วยเหลือนกั เรยี น
ภำพประกอบท่ี ๗ โดยการส่ังงานผ่านแอปพลิเคช่ัน Line Official และสามารถตรวจสอบผลการเรียน
LINE OFFICIAL ACCOUNT รายบคุ คลผา่ น Dialog flow

๓๕

ซ่ึงเป็นการเรียนการสอนร่วมกันระหว่างการเรียนการสอนแบบปกติและการเรียนการสอนแบบออนไลน์
ซ่ึงในการรวมกันน้ันจะนาข้อดีหรือคุณลักษณะเด่นของการเรียน มาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกัน
และมีการใช้ส่ือเทคโนโลยีที่หลากหลายเพ่ือสนับสนุนการเรียนการสอนใช้แหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย
และตอบสนองความแตกต่างระหวา่ งบคุ คลเพ่ือใหผ้ ้เู รยี นบรรลเุ ป้าหมายในเรยี นรู้ท้ังนี้ การกาหนดอตั ราส่วนในการ
ผสมผสานระหว่างการเรยี นแบบปกติและการเรยี นแบบออนไลน์น้นั อตั ราสว่ นของการเรยี นแบบออนไลน์จะไมน่ ้อย
กว่าอัตราส่วนในการเรียนแบบปกติ และการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning โดยเน้นกระบวนการ
เรียนรมู้ ากกวา่ เนอ้ื หาวชิ า เพ่ือชว่ ยให้ผู้เรยี นสามารถเชอื่ มโยง ความรู้ หรอื สร้างความรใู้ หเ้ กิดขึ้นในตนเอง ด้วยการ
ลงมือปฏิบัติจริงผ่านสื่อหรือกิจกรรมการเรียนรู้ที่มี โดยการใช้ LINE Official Account (LINE OA) สาหรับจัดทา
บทเรียนสาเร็จรูปที่ผู้สอนจัดทาขึ้นเพ่ือใช้เป็นเครื่องมือในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง
ในแต่ละสาระการเรียนรู้ท่ีกาหนดไว้ในแต่ละบทเรียน โดยเร่ิมจากเน้ือหาสาระที่ง่าย ๆ ไปสู่เน้ือหาที่ยากข้ึนไป
ตามลาดับ เป็นบทเรียนท่ีสร้างขึ้นโดยกาหนดวัตถุประสงค์ เน้ือหา วิธีการ และสื่อการเรียนการสอนไว้ล่วงหน้า
ผู้เรยี นสามารถศกึ ษา ค้นคว้า และประเมินผลการเรยี นด้วยตนเองตามข้นั ตอนทกี่ าหนดไว้

3. รูปแบบและวิธีกำรนำนวัตกรรมไปใช้
นวัตกรรมการติดตามคะแนน/ภาระงานของนักเรียน แบบระบบเปิด ด้วยเครื่องมือ Google Sheet

และ LINE Official Account (LINE OA) มาใช้ในการเรียนการสอน มีรูปแบบและวิธีการนานวัตกรรมไปใช้ดังน้ี

(1) นวัตกรรมกำรติดตำมคะแนน/ภำระงำนของนักเรยี น แบบระบบเปดิ ด้วยเคร่อื งมอื Google Sheet
สร้างระบบติดตาม ตรวจสอบการส่งงาน ของนักเรียนด้วย Google Sheet จานวน 1 โปรแกรม

โดยดาเนินการศึกษาหลักการ เทคนิค กระบวนการใช้งาน Google Sheet วิเคราะห์การจัดเก็บคะแนน
เพอ่ื ออกแบบระบบให้เหมาะสาหรับนักเรียน ผู้ปกครอง และครทู ี่ปรกึ ษา ในการตรวจสอบ และติดตามงานได้ด้วย
ตนเอง รวมถึงการเขียนฟงั ก์ชันสูตรการคานวณการเก็บคะแนนต่างๆ ท้ังก่อนกลางภาค กลางภาค หลังกลางภาค
และปลายภาค โดยดาเนินการสร้าง Spreadsheet ท้ังหมด 5 หน้า พร้อมท้ังเชอื่ มโยงลิงค์สาหรับการติดตามงาน
ใหน้ ักเรยี นสามารถติดตามงานด้วยตนเองได้

มีการสร้างแบบประเมินทดสอบโปรแกรมแบบสอบถามที่ใช้เป็นเครื่องมือประเมินทดสอบโปรแกรม
มี ๒ ตอน แบ่งเป็นตอนท่ี ๑ เป็นแบบประเมินระดับความพึงพอใจ และตอนท่ี ๒ เป็นข้อเสนอแนะท่ีผู้ตอบ
จะแนะนาส่วนของการแก้ไข เพิ่มเติม ตัดทอน เพ่ือให้สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของโปรแกรมให้กับผู้ใช้งานได้
รวมถึงการประเมินหาความสอดคล้อง (Index of consistency : IOC) ของผู้เช่ียวชาญ จานวน ๓ ท่าน
และทดสอบการใช้งานระบบการตรวจสอบและติดตาม โดยแนะนาวิธีการใช้งานถ่ายทอดให้นักเรียนระดับ
ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๖/๑ ได้ทดสอบอีกครั้ง และนาข้อมูลมาทาการปรับปรุงระบบให้สามารถใช้งานได้ง่าย
เหมาะสมกับอุปกรณ์ที่หลากหลายในการเข้าใช้งานของนักเรียน รวมถึงตรวจสอบการกาหนดสิทธิ์ในการเข้าถึง
ขอ้ มลู เพ่อื เตรยี มนาไปใช้งานจรงิ โดยมีวธิ ีการนานวัตกรรมไปใช้ คอื

(๑) มีการจัดทาคลปิ วีดโี อและคูม่ อื การใช้งาน ระบบติดตาม ตรวจสอบการสง่ งาน
(๒) เปิดระบบใหน้ ักเรยี นไดส้ ามารถติดตาม และตรวจสอบการสง่ งานของตนเองได้

๓๖

(๓) ประเมินผลการใช้งานระบบตดิ ตาม ตรวจสอบการส่งงาน ของนักเรยี นดว้ ย Google Sheet
ใน ๒ ประเดน็ โดยใชแ้ บบทดสอบ ๕ ระดบั เป็นเครื่องมือในการวัด ๑ ประเด็น คอื ความพึงพอใจทไี่ ดร้ บั หลังจาก

นาระบบมาใช้งาน ของนกั เรยี น ผปู้ กครองและครูทป่ี รึกษา
(2) กำรนำ LINE Official Account (LINE OA) มำใช้ในกำรเรยี นกำรสอน

พัฒนาบทเรียนสาเร็จรูปโดยการใช้ line official บูรณาการฟีเจอร์ต่างๆของ line official
สาหรบั การจัดการเรยี นการสอนภาษาไทย เพอ่ื สง่ เสริมทกั ษะการเรยี นรู้สาหรบั ผเู้ รียนเพอื่ แก้ปัญหาการเรยี นในชั้น
เรียนแล้วไม่สามารถกลับไปทบทวนบทเรียน และฝึกฝนได้ตามหลักสูตร จึงมีแนวคิด ในการปรับรูปแบบการสอน

ให้ผู้เรียนมีพฤติกรรมอยากรู้ อยากเห็น อยากเรียนรู้ในรายวิชาภาษาไทย โดยปรับจากรูปแบบการขายสินค้า
ออนไลน์ของ line official สอดคล้องกับเน้ือหารายวิชาภาษาไทย ซึ่ง Line หุ่นไล่กา ภาษาไทย Care สามารถ

แก้ไขปัญหาการเรียนช่วงเรียนออนไลน์ โดยนอกจากความสามารถเรื่องการติดตามคะแนนแล้ว ยังช่วย
ลดผลกระทบทางจิตใจหรือความเครียดจากการเรียนออนไลน์ เน่ืองจากเด็กนักเรียนโรงเรียนโพธินิมิตวิทยาคม
แต่ละคนมีศักยภาพในการตดิ ตามงานแตกต่างกนั แตล่ ะคนต่างมคี วามจาเปน็ ส่วนตวั ตา่ งกัน

มีการนา LINE Official Account (LINE OA) หุ่นไล่กาไปใช้กับนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษา ๑
วิชา ภาษาไทย จานวน ๔ ห้องเรียน ได้แก่ ม.๑/๒ ม.๑/๓ ม.๑/๔ และ ม.๑/๕ ต้ังแต่วันที่ ๑ มิถุนายน

-๑๗ กันยายน ๒๕๖๔ ซึ่ง Line หุ่นไล่กา ภาษาไทย Care สามารถช่วยยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนโดยใช้
กระบวนการสรา้ งความตระหนักรู้สาหรับนักเรยี น และเปน็ ชอ่ งทางสื่อสารความเข้าใจรว่ มกนั กับผู้ปกครองในการ
กากบั ติดตามนักเรยี นในช่วงการเรียนออนไลนไ์ ดเ้ ป็นอยา่ งดี

๔. ผลลัพธ์ที่เกดิ จำกกำรพฒั นำและนำนวตั กรรมไปใช้งำน

1) จานวนครโู รงเรียนโพธนิ ิมติ วิทยาคมทม่ี ีการใช้งานการระบบตดิ ตามคะแนน/ภาระงานของนกั เรยี น
แบบระบบเปดิ ดว้ ยเครอ่ื งมือ Google Sheet

กลมุ่ สำระ จำนวนครู จำนวนครูท่ีใช้งำนระบบ ร้อยละ

ภาษาไทย 5 5 100

สงั คมศึกษา 7 7 100

ภาษาตา่ งประเทศ 9 9 100

คณติ ศาสตร์ 7 7 100

วิทยาศาสตร์ 13 13 100

สขุ ศกึ ษา 5 5 100

ศลิ ปะ 5 5 100

การงานอาชีพ 2 2 100

รวม ๕๓ ๕๓ ๑๐๐

ตำรำงที่ ๑ กำรใช้งำนนวตั กรรมระบบติดตำมคะแนน/ภำระงำนของนักเรยี น ปกี ำรศกึ ษำ 2564

๓๗

2) จานวนนักเรียนท่ีมผี ลการเรยี นติดค้าง ปีการศึกษา 2564 ทกุ ช้นั ปีมผี ลการเรียนติดค้างลดลง
ในโดยเปรียบเทยี บกบั ปีการศึกษา 2563 โดยในภาพรวมมีผลการเรยี นตดิ คา้ งลดลง ร้อยละ 33.01 ดงั ตาราง
ดงั น้ี

ชนั้ ปีกำรศึกษำ ร้อยละ ปกี ำรศึกษำ 2564 ร้อยละ ผลตำ่ ง

2563

ม.1 116 59.49 34 17.71 -41.78

ม.2 144 64.29 46 24.86 -39.43

ม.3 109 45.61 11 4.76 -40.85

ม.4 78 58.21 64 38.55 -19.66

ม.5 59 62.11 24 18.60 -43.51

ม.6 71 51.45 5 5.26 -46.19

รวม 577 56.29 184 18.44 -33.01

ตำรำงท่ี ๒ เปรียบเทยี บจำนวนนกั เรยี นทมี่ ผี ลกำรเรยี นตดิ คำ้ ง ปกี ำรศกึ ษำ 2563 -2564

2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับดี (เกรด 3) ข้ึนไประดับกลุ่มสาระของนักเรียน ปีการศึกษา 2564

ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลายส่วนใหญ่เพิ่มสูงข้ึนเมื่อเปรียบเทียบกับปีการศึกษา
2563 โดยมผี ลการเปรียบเทยี บผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนระดับกล่มุ สาระของนกั เรียนปกี ารศกึ ษา 2563 – 2564
เฉล่ยี รวม 8 กลุ่มสาระ เพ่มิ ขึน้ ร้อยละ 0.17

รำยงำนผลกำรเปรียบเทียบผลสัมฤทธทิ์ ำงกำรเรยี นระดับดี (เกรด 3) ข้ึนไป

ระดับกลุ่มสำระของนกั เรยี น ปีกำรศกึ ษำ 2563 - 2564

มธั ยมศึกษำตอนตน้

รอ้ ยละของนักเรียนทม่ี รี ะดับผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนระดับดี ( เกรด 3 ) ข้ึนไป

ชน้ั ภาษาไทย สงั คมศึกษา ภาษาต่างประเทศ คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์

2563 2564 2563 2564 2563 2564 2563 2564 2563 2564

ม.1 53.76 63.08 92.96 76.41 19.09 45.64 66.33 45.64 31.15 28.21

ม.2 76.54 76.60 59.29 48.40 43.36 29.26 48.67 32.45 39.82 38.30

ม.3 67.08 75.76 52.91 68.40 54.58 41.56 49.16 51.08 41.25 60.17

เฉล่ยี 65.79 71.81 68.39 64.40 39.01 38.82 54.72 43.06 37.41 42.23
รวม

ตำรำงที่ ๓ รอ้ ยละของนกั เรยี นท่ีมรี ะดบั ผลสัมฤทธท์ิ ำงกำรเรยี นระดบั ดี ( เกรด 3 ) ข้นึ ไป

ระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษำตอนตน้

๓๘

รอ้ ยละของนักเรยี นทีม่ รี ะดบั ผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนระดับดี ( เกรด 3 ) ขน้ึ ไป

ชนั้ สขุ ศกึ ษำ ศลิ ปะ กำรงำนอำชีพ เฉลย่ี รวม 8 กลุม่ สำระ

2563 2564 2563 2564 2563 2564 2563 2564

ม.1 75.87 91.28 44.72 34.36 98.49 64.10 68.02 56.09

ม.2 85.39 88.30 96.01 80.32 65.92 96.28 64.38 61.24

ม.3 93.75 99.57 67.08 58.87 56.66 66.23 60.31 65.21

เฉล่ยี รวม 85.00 93.05 69.27 57.85 73.69 75.54 64.24 60.85

ตำรำงท่ี ๓ รอ้ ยละของนักเรยี นทีม่ ีระดบั ผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรยี นระดบั ดี ( เกรด 3 ) ข้นึ ไป
ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษำตอนตน้ (ตอ่ )

ระดบั กลุม่ สำระของนักเรียน ปีกำรศึกษำ 2563 - 2564

มธั ยมศึกษำตอนปลำย

ร้อยละของนักเรียนที่มรี ะดบั ผลสัมฤทธ์ทิ ำงกำรเรียนระดับดี ( เกรด 3 ) ข้ึนไป

ชัน้ ภำษำไทย สงั คมศกึ ษำ ภำษำตำ่ งประเทศ คณติ ศำสตร์ วทิ ยำศำสตร์

2563 2564 2563 2564 2563 2564 2563 2564 2563 2564

ม.4 61.31 22.62 51.82 59.52 42.25 47.62 32.11 28.57 19.70 23.81

ม.5 69.07 92.37 91.75 80.15 71.13 60.31 38.14 51.15 35.05 70.23

ม.6 56.52 45.26 92.02 95.79 75.36 75.79 67.39 10.53 69.56 51.58

เฉล่ยี รวม 62.30 53.42 78.53 78.49 62.91 61.24 45.88 30.08 41.44 48.54

ตำรำงที่ ๔ รอ้ ยละของนกั เรยี นทมี่ ีระดับผลสมั ฤทธทิ์ ำงกำรเรียนระดบั ดี ( เกรด 3 ) ขึ้นไป

ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษำตอนปลำย

รอ้ ยละของนกั เรยี นทีม่ รี ะดบั ผลสัมฤทธ์ทิ ำงกำรเรยี นระดับดี ( เกรด 3 ) ข้ึนไป

ชน้ั สขุ ศึกษำ ศลิ ปะ กำรงำนอำชีพ เฉลี่ยรวม 8 กลุ่มสำระ

2563 2564 2563 2564 2563 2564 2563 2564

ม.4 62.04 85.71 85.40 37.50 81.81 72.22 50.08 54.56

ม.5 100.00 87.79 96.90 95.42 72.16 67.18 64.55 71.78

ม.6 78.26 97.89 88.40 100.00 69.76 100.00 59.41 74.66

เฉล่ยี รวม 80.10 90.46 90.23 77.64 74.58 79.8 58.01 67.00

ตำรำงท่ี ๔ รอ้ ยละของนกั เรียนทมี่ รี ะดบั ผลสมั ฤทธิ์ทำงกำรเรยี นระดบั ดี ( เกรด 3 ) ขนึ้ ไป
ระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษำตอนปลำย

รำยงำนผลกำรเปรยี บเทียบผลสมั ฤทธ์ิทำงกำรเรียนระดบั กล่มุ สำระของนักเรียน

๓๙

ปกี ำรศึกษำ 2563 – 2564

ปี ภำษำไทย สงั คม ภำษำ คณติ ศำสตร์ วทิ ยำศำสตร์ สุข ศิลปะ กำรงำน เฉลย่ี
กำรศึกษำ ศกึ ษำฯ ตำ่ งประเทศ ศึกษำ อำชพี รวม 8
กลมุ่
2563 2.81 2.78 2.64 2.51 2.61 3.74 3.35 2.93 สำระฯ

2564 3.07 2.96 2.77 2.49 2.95 3.86 3.16 3.44 2.92

ผลตำ่ ง +0.26 +0.18 +0.13 -0.02 +0.34 +0.12 -0.19 +0.51 3.09
ตำรำงท่ี ๕ รำยงำนผลกำรเปรียบเทยี บผลสัมฤทธิท์ ำงกำรเรียนระดับกล่มุ สำระของนกั เรยี นปกี ำรศึกษำ 2563 2564
ทมี่ ำ : งำนวดั ผลประเมนิ ผลโรงเรยี นโพธินิมติ วิทยำคม ปี 2565 +0.17

ตารางสรุปความพึงพอใจการใชง้ านนวตั กรรมด้านการจัดการเรียนรู้

ประเด็นวดั ความพงึ พอใจ ๕ ระดับความพงึ พอใจ ๑ ̅ ผลการ
๔ ๓๒ ประเมนิ

ดา้ นคุณภาพขององค์ประกอบในนวตั กรรม มากทส่ี ดุ
มากที่สดุ
1. วตั ถปุ ระสงค์ เปา้ หมายของนวตั กรรม สอดคลอ้ ง 71.90 28.10 0.00 0.00 0.00 4.72 มากท่สี ุด
มำกท่ีสุด
กับสภาพปญั หาความตอ้ งการพฒั นา
มากทส่ี ดุ
2. เนื้อหาสาระของนวตั กรรมมคี วามสมบูรณ์ 86.03 13.97 0.00 0.00 0.00 4.86 มากท่สี ุด
มากทส่ี ดุ
3. เนื้อหาถูกต้องตามหลักวชิ าการ 80.95 19.05 0.00 0.00 0.00 4.81 มำกที่สุด

คำ่ เฉล่ยี ดำ้ นคณุ ภำพขององค์ประกอบในนวัตกรรม 4.80 มากทส่ี ุด
มากที่สดุ
ด้ำนกำรออกแบบนวตั กรรม

1. มีแนวคดิ ทฤษฎีรองรับอยา่ งสมเหตสุ มผล 78.57 21.43 0.00 0.00 0.00 4.79

สามารถอ้างอิงได้

2. แนวคดิ ทฤษฎที รี่ ะบมุ คี วามเปน็ ไปได้ในการ 74.13 25.87 0.00 0.00 0.00 4.74

พฒั นานวตั กรรมใหส้ มั ฤทธิ์ผล

3. นวัตกรรมมีความสอดคลอ้ งตามแนวคิดทฤษฎีท่ี 80.48 19.52 0.00 0.00 0.00 4.80

ระบุ

ค่ำเฉลย่ี ด้ำนกำรออกแบบนวัตกรรม 4.78

ดำ้ นประสิทธภิ ำพของนวัตกรรม

1. กระบวนการหาประสิทธภิ าพของนวตั กรรม 73.02 26.98 0.00 0.00 0.00 4.73
ถกู ต้องตามหลกั วชิ าการ 73.33 26.67 0.00 0.00 0.00 4.73

2. นวัตกรรมมีประสทิ ธิภาพตามเกณฑ์ทกี่ าหนด

๔๐

3. วิธีการหาประสิทธภิ าพของนวัตกรรมครอบคลมุ 76.67 23.33 0.00 0.00 0.00 4.77 มากทส่ี ดุ
ในดา้ นเนื้อหาและโครงสรา้ ง
มำกท่สี ุด
คำ่ เฉลยี่ ดำ้ นประสิทธิภำพของนวัตกรรม 4.74
มากที่สดุ
ด้ำนควำมสำมำรถในกำรแกป้ ัญหำหรอื พฒั นำ
มากที่สุด
1. สอดคลอ้ งตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายทร่ี ะบุ 79.52 20.48 0.00 0.00 0.00 4.80
ไดค้ รบถว้ น มากทส่ี ดุ
มำกที่สดุ
2. นาไปประยุกต์ใช้ในสภาพบริบททีม่ ีลักษณะ 73.33 26.67 0.00 0.00 0.00 4.73
ใกล้เคยี งกนั มากท่ีสุด

3. แก้ปัญหาหรือพัฒนาได้ตรงตามกลุม่ เปา้ หมาย 78.10 21.90 0.00 0.00 0.00 4.78 มากท่สี ุด
มากที่สดุ
ค่ำเฉลยี่ ดำ้ นควำมสำมำรถในกำรแกป้ ัญหำหรือพฒั นำ 4.77 มากที่สดุ
มำกที่สุด
ด้ำนประโยชน์ต่อบคุ คล มำกทสี่ ดุ

1. ผลงานสง่ ผลใหเ้ กิดประโยชน์ตอ่ ผู้บรหิ าร 80.00 20.00 0.00 0.00 0.00 4.80
สถานศกึ ษา

2. ผลงานสง่ ผลใหเ้ กิดประโยชน์ต่อครู 78.89 21.11 0.00 0.00 0.00 4.79

3. ผลงานส่งผลใหเ้ กิดประโยชน์ต่อผู้เรยี น 79.21 20.79 0.00 0.00 0.00 4.79

4. ผลงานสง่ ผลให้เกิดประโยชน์ตอ่ ผู้ปกครอง 71.75 28.25 0.00 0.00 0.00 4.72

คำ่ เฉลยี่ ด้ำนประโยชน์ตอ่ บคุ คล 4.77

ค่ำเฉลีย่ รวม 4.77

ตารางที่ ๖ ตารางสรปุ ความพงึ พอใจการใช้งานนวตั กรรมดา้ นการจดั การเรยี นรู้

จากตารางท่ี ๖ พบว่า ความพงึ พอใจของผูต้ อบแบบประเมินนวตั กรรมด้านการจัดการเรยี นรู้ SLI Model

จากกลุ่มตัวอย่าง จานวน 630 คน มีความพึงพอใจต่อนวัตกรรมด้านการจัดการเรียนรู้ SLI Model ระดับมาก
ท่ีสุดและมีคะแนนค่าเฉล่ียท่ี 4.77 โดยเรียงลาดับความพึงพอใจแต่ละด้านจากมากไปน้อย ดังน้ี ด้านคุณภาพ

ขององค์ประกอบในนวัตกรรมมคี ่าเฉล่ียที่ 4.80 ดา้ นการออกแบบนวตั กรรมมคี ่าเฉลย่ี ที่ 4.78 ดา้ นความสามารถ
ในการแก้ปัญหาหรอื พฒั นาและด้านประโยชน์ต่อบุคคลมีค่าเฉล่ียเท่ากันที่ 4.77 ลาดับสุดท้ายด้านประสิทธภิ าพ
ของนวัตกรรมมคี า่ เฉล่ีย 4.74

๕. ปัจจัยควำมสำเร็จ ปญั หำ อุปสรรคและขอ้ เสนอแนะ

๕.๑ ปจั จัยควำมสำเรจ็
ในการยกระดบั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนด้วยกระบวนการ SLI Model ของโรงเรียนโพธินิมิตวิทยาคม
ท่สี ง่ ผลให้เกิดนวัตกรรมการตดิ ตามคะแนน/ภาระงานของนักเรียน แบบระบบเปดิ ด้วยเครื่องมือ Google Sheet
และการนา LINE Official Account (LINE OA) มาใชใ้ นการเรียนการสอน มีปัจจยั ในความสาเร็จ ดงั นี้

๔๑

1) ผู้บริหารของโรงเรียนโพธินิมิตวิทยาคม มีกาหนดทิศทาง นโยบายท่ีชัดเจน รวมถึงให้ความสาคัญ
ของการพัฒนานวัตกรรมของโรงเรียน เพ่ือแกไ้ ขปญั หา และพัฒนาประสทิ ธิภาพ รวมถงึ พฒั นาผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรยี นของนักเรียน

2) ครู และบุคลากรของโรงเรียนโพธินิมิตวิทยาคมมีความรู้ ความเข้าใจ และมีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์
ในการพัฒนาการเรียนการสอนให้เกิดนวัตกรรม ซึ่งเป็นผลมาจากการที่โรงเรียนมีกิจกรรมให้ความรู้
กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ รวมถึงการสร้างบรรยากาศให้เกิดการพัฒนานวัตกรรม เช่น จัดให้มีการประกวด
ส่ือ นวัตกรรมทางการศึกษา เพื่อให้เกิดการเรียนรู้และนาไปพฒั นาการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพมาก
ย่งิ ขึน้ เปน็ ต้น

3) โรงเรียนโพธินิมิตวิทยาคมมีการประชาสัมพันธ์ และสร้างความรู้ ความเข้าใจในการดาเนินการ
ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมให้นักเรียน และผู้ปกครองรับทราบ และสามารถนาไปดาเนินการปฏิบัติให้เป็นไปตาม
วตั ถุประสงคไ์ ด้อย่างชัดเจน

๕.๒ ปญั หำ อปุ สรรคและข้อเสนอแนะ
๕.๒.๑ นวัตกรรมการติดตามคะแนน/ภาระงานของนักเรียน แบบระบบเปิด ด้วยเครื่องมือ
Google Sheet ที่ได้มีการดาเนินการและพัฒนาขึ้นในปีการศึกษา 2564 เป็นการพัฒนาขึ้นโดยใช้ Google
Sheets ซ่ึงเป็นแอปพลิเคชั่นในกลุ่มของ Google Drive ซึ่งมีลักษณะการทางานคล้ายกันกับ Microsoft Excel
ที่เข้าถึงได้ง่าย และครูกับนักเรียนมีความคุ้นเคยต่อการใช้งาน แต่อย่างไรก็ตามลักษณะการใช้งานท่ีทุกคน
ที่มี Link สาหรับเข้าใช้งาน สามารถเข้าถึงข้อมูลท้ังหมดได้ อาจส่งผลต่อข้อมูลส่วนบุคคลของนักเรียนท่ีควรเป็น
ข้อมูลส่วนบุคคลเฉพาะตัวที่สามารถเข้าถึงได้ อีกทั้งการใช้แอปพลิเคช่ันในกลุ่มของ Google Drive ซึ่งเป็นของ
เอกชน อาจสง่ ผลต่อความปลอดภัยของขอ้ มูล ดังน้นั ข้อเสนอสาหรับการดาเนนิ การในระยะต่อไป ควรการพัฒนา
ระบบตดิ ตามคะแนน/ภาระงานของนกั เรยี นให้นักเรยี นสามารถเขา้ ไปติดตาม ตรวจสอบข้อมลู ได้เฉพาะของตนเอง
เท่าน้ัน และควรมีการนาแนวคิดจากนวัตกรรมที่เกิดข้ึนมาพัฒนาเป็นระบบที่อยู่ภายใต้การดูแลของโรงเรียน
เพ่อื ใหเ้ กดิ ความปลอดภยั ของขอ้ มลู
๕.2.๒ การนา LINE Official Account (LINE OA) มาใช้ในการเรียนการสอน เป็นกระบวนการท่ผี ู้พฒั นา
นวัตกรรมต้องมีความรู้ ความเข้าใจในกระบวนการใช้ Application Line การนามาใช้กับการเรียนการสอน
ค่อนข้างสูง ดังนั้นในการพัฒนานวัตกรรมให้มีการนาไปใช้อย่างแพร่หลายในโรงเรียน ควรมีการให้ความรู้
ในเชิงปฏิบัติ และการจัดทาคู่มือในการนา LINE Official Account (LINE OA) เพื่อให้ง่ายต่อการพัฒนา
และนาไปใช้

๖. การเผยแพร่นวตั กรรมด้านการจัดการเรียนรู้

เผยแพร่ผลการใชน้ วัตกรรมทางเวบ็ ไซตโ์ รงเรียน
www.potinimit.ac.th

๔๒

ตัวอย่างการใช้นวัตกรรม การติดตามคะแนน/ภาระงานของนักเรยี น แบบระบบเปดิ ด้วยเครอื่ งมือ Google Sheet
และ LINE Official Account (LINE OA)

เผยแพร่ผลการใชน้ วัตกรรมทางกจิ กรรมประกวดสือ่ นวัตกรรมทางการศึก

เผยแพรผ่ ลการใช้นวตั กรรมกบั โรงเรียนอน่ื ๆ

๔๓

เอกสารอ้างอิง

กฤษณา สกิ ขมาน. (2554). การศกึ ษาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นรายวิชาการสอ่ื สารภาษาอังกฤษธุรกิจโดยการ
ใช้การสอนแบบ E-Learning (รายงานการวิจยั ). กรงุ เทพฯ: มหาวทิ ยาลยั ศรปี ทมุ .

กระทรวงศกึ ษาธิการ. (2552). “บทบาทของครใู นการเรยี นร้แู บบ Active Learning.” เขา้ ถงึ เมือ่ 9 มถิ ุนาย
2563. เขา้ ถึงไดจ้ าก: http://www.moe.go.th/moe/th/news/detail.php?NewsID=12972&Key.

กนกวรรณ โพธท์ิ อง. (2545). รายงานการวจิ ยั เรอื่ ง การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทกั ษะ การคดิ
อยางมวี จิ ารณญาณในวชิ าเคมีของเรียนช้นั มธั ยมศึกษาปท่ี 5 โดยวธิ กี ารเรยี นแบบรวมมือแบงกลุม
คละผลสมั ฤทธิ.์

กรมวิชาการ. 2544. หลักสูตรการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน. พมิ พครงั้ ที่ 2. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพองคการรบั ส่ง
สินคาและพสั ดุภัณฑ

ฐาปนีย์ ธรรมเมธา. (2557). อเี ลริ ์นนงิ : จากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ e-Learning: from theory to practice.
โครงการมหาวทิ ยาลยั ไซเบอร์ไทย. กรุงเทพฯ: ส านกั คณะกรรมการการอุดมศึกษา.

ดารารัตน์ มากมีทรพั ย์. (2553). “การศกึ ษาผลการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณและผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนด้วยการ
เรียน

แบบผสมผสานโดยใช้กระบวนการแก้ปัญหาวิชาการเลือกและการใช้สื่อการเรยี นการสอนของ
นกั ศกึ ษาระดับปรญิ ญาตร.ี ”วทิ ยานพิ นธป์ รญิ ญามหาบณั ฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยกี ารศึกษา คณะครุศาสตร์

มหาวิทยาลยั ศิลปากร.
ทพิ เนตร ขรรค์ทพั ไทย. (2554). “การพฒั นารูปแบบการเรยี นการสอนแบบผสมผสานเพือ่ การเรียนรู้รายวิชา

เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือชีวิตของนักศึกษาระดับปริญญาตรีในมหาวิทยาลัยราชภัฏ.” วทิ ยานพิ นธ์
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลัย
มหาสารคาม.
เนาวนติ ย์ สงคราม. (2553). รายงานการวิจัยการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนบนเว็บแบบผสมผสานด้วย
การเรียนรเู้ ป็นทมี และกระบวนการส่งเสรมิ ความคิดสร้างสรรค์เพื่อสร้างนวัตกรรมของนิสิตนักศึกษาระดับ
ปริญญาบัณฑิต. กรุงเทพฯ: คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลยั .
ประพรรธน์ พละชีวะ. (2550). “การนาเสนอรปู แบบการเรยี นการสอนแบบผสมผสานดว้ ยการเรียนรู้ร่วมกนั ใน
โครงการวทิ ยาศาสตร์สาหรับการฝึกแก้ปญั หาของนกั เรียนมธั ยมศึกษาปีท่ี 1.”วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหา
บัณฑิต สาขาวิชาโสตทศั นศึกษา คณะครศุ าสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั .
ภพ เลาหไพบูลย์. (2542). แนวการสอนวทิ ยาศาสตร์ (พมิ พค์ รงั้ ท่ี 3). กรุงเทพฯ: ไทยวฒั นาพานิชย.์
มนต์ชัย เทียนทอง. (2549). “Blended Learning : การเรียนรู้แบบผสมผสานในยคุ ICT (ตอนท1ี่ ).”
วารครุศาสตรอ์ ตุ สาหกรรม 1, 1 (เมษายน 2549 ก): 48-57.
เยาวดี วิบูลศรี (2551: 16) การวดั ผลและการสร้างแบบสอบผลสัมฤทธ์ิ : กรงุ เทพฯ : สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์
มหาวทิ ยาลยั
วรรณี ภิรมยค์ า (2546). การเปรยี บผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนกล่มุ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทยเร่อื ง คาและ
ความสัมพันธข์ องคา. คณะศกึ ษาศาสตร์มหาวิทยาลยั ศิลปากร.


Click to View FlipBook Version