The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนยุทธศาสตร์สถาบันพระบรมราชชนก 2565-2569 พร้อมปก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by settavanit, 2022-06-08 09:36:56

แผนยุทธศาสตร์สถาบันพระบรมราชชนก 2565-2569 พร้อมปก

แผนยุทธศาสตร์สถาบันพระบรมราชชนก 2565-2569 พร้อมปก

แผนยุทธศาสตร์

สพถ.ศา.บ๒ัน๕พ๖ร๕ะบ– ร๒ม๕ร๖า๙ชชนก

แผนยุทธศาสตรสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙

แผนยุทธศาสตรสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙

จัดทําโดย สถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข
ถนนติวานนท ตําบลตลาดขวัญ อําเภอเมือง
จังหวัดนนทบุรี ๑๑๐๐๐

โทรศัพท ๐ ๒๕๙๐ ๑๘๑๙

Website www.pi.ac.th

ที่ปรึกษา ศาสตราจารยพิเศษนายแพทยวิชัย เทียนถาวร
อธิการบดีสถาบันพระบรมราชชนก
นายแพทยวิศิษฎ ต้ังนภากร
รองอธิการบดีสถาบันพระบรมราชชนก
รองศาสตราจารยอรัญญา เชาวลิต
รองอธิการบดีสถาบันพระบรมราชชนก

กองบรรณาธิการ ดร.ศุกรใจ เจริญสุข
รักษาราชการแทนผูชวยอธิการบดีสถาบันพระบรมราชชนก
ผูอํานวยการวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ชลบุรี
นางวรนุช ทัศบุตร
ปฏิบัติหนาท่ีรักษาการผูอํานวยการกองยุทธศาสตร
นางหทัยรัตน เศรษฐวนิช
นักวิเคราะหนโยบายและแผนชํานาญการ

จัดรูปเลม นางหทัยรัตน เศรษฐวนิช
นักวิเคราะหนโยบายและแผนชํานาญการ
นายชัยวัฒน กุลวิวัฒน
นักวิเคราะหนโยบายและแผน

เนอ้ื หาและภาพประกอบ คณะ สํานัก กอง ศูนย และวิทยาลัยในสังกัดพระบรมราชชนก



แผนยุทธศาสตรสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙

คํานํา

ตามที่กระทรวงสาธารณสุข ไดจัดทําแผนยุทธศาสตรกระทรวงสาธารณสุข ภายใตแผนยุทธศาสตรชาติ
ระยะ ๒๐ ป (ดานสาธารณสุข) ที่มีความเช่ือมโยงกับแผนยุทธศาสตรชาติ ระยะ ๒๐ ป แผนปฏิรูปประเทศ
ดานสาธารณสุข (ราง) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ ๑๓ ประเทศไทย ๔.๐ นโยบายรัฐบาล
พระราชบัญญัติการอดุ มศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๒ แนวคดิ ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง แผนพัฒนาสขุ ภาพแหงชาติ ฉบบั ท่ี ๑๒
โดยแผนยุทธศาสตรดังกลาว ประกอบดวย ยุทธศาสตร ๔ ดาน คือ ดานการสรางกําลังคนดานสุขภาพท่ีมีคุณภาพ
มาตรฐานสูชุมชน ดานการสรางองคความรูและนวัตกรรมดานสุขภาพเพ่ือพัฒนาสุขภาวะของชุมชนและสังคมอาเซียน
ดานการพัฒนาศูนยการเรียนรูระดับสากล ดานบริการวิชาการ และใหบริการทางการแพทยและสาธารณสุข
ดานการพัฒนาองคกรสมรรถนะสูงภายใตหลักธรรมาภิบาล ประกอบกับแผนอุดมศึกษาระยะยาว ๒๐ ป
(พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐) เพ่ือเปนกรอบการดําเนินงานของหนวยงานภายใตสังกัดสถาบันพระบรมราชชนก
ใหสามารถดําเนินการภายใตแผนยุทธศาสตรสถาบันพระบรมราชชนก ใหมีประสิทธิภาพ สอดคลองกับยุทธศาสตร
ทุกระดับ

สถาบันพระบรมราชชนก เปนสถาบันอุดมศึกษาเฉพาะทางในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ตามพระราชบัญญัติ
สถาบนั พระบรมราชชนก พ.ศ. ๒๕๖๒ (ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา เลม ๑๓๖ ตอนท่ี ๔๓ ก เมอื่ วนั ท่ี ๕ เมษายน ๒๕๖๒)
มีสถานะเปนนิติบุคคล มีภารกิจหลักท่ีสําคัญในการผลิตและพัฒนาบุคลากรทางดานสุขภาพ และเปนสถานศึกษา
เฉพาะทางดานสุขภาพท่ีจัดการศึกษาดานการพยาบาล การสาธารณสุขและสหเวชศาสตร มีวิทยาลัยในสังกัด
กระจายตัวอยูทั่วประเทศจํานวน ๓๙ แหง สามารถผลิตบุคลากรดานสุขภาพได ๕,๐๐๐ – ๘,๐๐๐ คนตอปการศึกษา
สามารถผลิตกําลังคนดานสาธารณสุขท่ีมีความสอดคลองกับแผนของกระทรวงสาธารณสุข มีความพรอมในทุกดาน
สามารถจัดการศึกษาที่มีคุณภาพ ขยายโอกาสทางการศึกษาใหกับเยาวชน นักเรียน นักศึกษา ผลิตงานวิจัยท่ีนําไปใช
ในการแกปญหาสุขภาพในชุมชน รวมทั้งพัฒนาหลักสูตรการอบรม เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการแพทย
และสาธารณสุข ตอบสนองความตองการของประชาชนและชุมชนใหเปนวงกวางมากย่ิงข้ึน ดังนั้น เพื่อใหทิศทาง
และนโยบายการพัฒนาสถาบันพระบรมราชชนก มีความชัดเจน สอดคลองและตอบสนองตอวิสัยทัศน เปาหมาย
การพัฒนากําลังคนดานสาธารณสุข จึงไดจัดทําแผนยุทธศาสตรสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙ ขึ้น
เพื่อเปนแนวทางใหหนวยงานในสังกัดสถาบันพระบรมราชชนก เพื่อนําไปใชเปนกรอบในการพัฒนา เพื่อให
สถาบันพระบรมราชชนก เปนสวนหนึ่งในการขับเคลื่อนและพัฒนาประเทศสูความย่ังยืน ตอไป

ทั้งน้ี สถาบันพระบรมราชชนก ขอขอบคุณผูบริหารและบุคลากรสถาบันพระบรมราชชนก ท้ังสวนกลาง
และสวนวิทยาลัย ที่มีสวนรวมในการจัดทําแผนยุทธศาสตร สถาบันพระบรมราชชนก ฉบับน้ี ใหมีความสมบูรณ
และหวงั เปน อยา งยง่ิ วา จะเปน ประโยชนใ นการพฒั นางานการผลติ และพฒั นาบคุ ลากรทางดา นสขุ ภาพ ใหก บั หนว ยงาน
ในสังกัดสถาบันพระบรมราชชนก ตอไป



แผนยุทธศาสตรสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙

สารบัญ

บทสรุปผู้บริหาร ๑

บทที่ ๑ ข้อมูลท่ัวไป ๕

๑.๑ ประวัติความเปนมา ๖
๑.๒ ปรัชญา ๗
๑.๓ ปณิธาน ๗
๑.๔ พันธกิจ ๗
๑.๕ อัตลักษณบัณฑิตของสถาบันพระบรมราชชนก ๗
๑.๖ สมรรถนะหลักของบัณฑิตสถาบันพระบรมราชชนก ๘
๑.๗ คานิยมรวมสถาบันพระบรมราชชนก ๘
๑.๘ วัฒนธรรมองคกร ๘
๑.๙ โครงสรางหนวยงาน ๘
๑.๑๐ อัตรากําลัง ๑๒
๑.๑๑ งบประมาณ ๑๓
๑.๑๒ หลักสูตรการจัดการศึกษา ๑๔

บทท่ี ๒ กรอบแนวคดิ การจดั ทาํ แผนยทุ ธศาสตร์ สถาบนั พระบรมราชชนก ๑๙
๒๐
๒.๑ กรอบแนวคิดในการจัดทําแผนยุทธศาสตร ๒๐
สถาบันพระบรมราชชนก (พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙) ๒๑
๒๓
๒.๒ เปาหมายการพัฒนาที่ย่ังยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) ๒๔
๒.๓ แผนยุทธศาสตรชาติ ๒๐ ป (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐) ๒๕
๒.๔ (รา ง) แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาติ ฉบบั ที่ ๑๓ (พ.ศ. ๒๕๖๖ – ๒๕๗๐) ๒๖
๒.๕ แผนการศึกษาแหงชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙) ๒๖
๒.๖ แผนอุดมศึกษาระยะยาว ๑๕ ป ฉบับที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๔) ๒๗
๒.๗ การพัฒนาสูประเทศไทย ๔.๐ (Thailand ๔.๐) ดานสาธารณสุข ๒๘
๒.๘ พระราชบัญญัติการอุดมศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๒ ๒๘
๒.๙ นโยบายรัฐบาล (พลเอกประยุทธ จันทรโอชา) ๒๙
๒.๑๐ นโยบายของรัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุข
๒.๑๑ สถานการณปจจุบันและการเปล่ียนแปลง
๒.๑๒ ข้ันตอนดําเนินการจัดทําแผนยุทธศาสตร

แผนยุทธศาสตรสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙

บทที่ ๓ วเิ คราะหบ์ รบิ ททเี่ กย่ี วขอ้ งกบั สถาบนั สถาบนั พระบรมราชชนก ๓๓
๓๔
๓.๑ จุดยืนทางยุทธศาสตร (Strategic Positioning) ๓๔
๓.๒ การประเมินศักยภาพทางยุทธศาสตร ๓๙
๓.๓ ทิศทางการพัฒนาตามศักยภาพ

บทที่ ๔ ยทุ ธศาสตรส์ ถาบนั พระบรมราชชนก ๔๑
๔๒
• แผนยุทธศาสตรสถาบันพระบรมราชชนก ป ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙ ๔๓
• แผนที่ยุทธศาสตร (Strategy Map) สถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙ ๔๔
๔.๑ การกําหนดทิศทางขององคกรการประเมินศักยภาพทางยุทธศาสตร ๔๕
๔๕
ยุทธศาสตรที่ ๑ ๔๕
ยุทธศาสตรท่ี ๒ ๔๖
ยุทธศาสตรท่ี ๓ ๔๗
ยุทธศาสตรท่ี ๔
• ความเช่ือมโยงกลยุทธและตัวชี้วัดการดําเนินงานภายใตแผนยุทธศาสตร
สถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙

บทท่ี ๕ การขบั เคลอื่ นยทุ ธศาสตรส์ ถาบนั พระบรมราชชนก ๕๗
๕๘
๕.๑ การขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตรไปสูการปฏิบัติ ๕๘
๕.๒ แผนงานโครงการที่สําคัญ/โครงการหลัก

บทท่ี ๖ การกาํ กบั ตดิ ตามผลการดาํ เนนิ งานตามยทุ ธศาสตร์ ๖๑
๖๒
๖.๑ การกํากับติดตามผลการดําเนินงานตามยุทธศาสตรสถาบันพระบรมราชชนก

เอกสารอ้างอิง ๖๓
๖๕
ภาคผนวก ๖๖
๗๐
• คําสั่งคณะกรรมการและคณะทํางานจัดทําแผนยุทธศาสตรสถาบันพระบรมราชชนก
• คําสั่งคณะกรรมการบริหารสถาบันพระบรมราชชนก

แผนยุทธศาสตรสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙

บทสรุปผู้บริหาร

สถาบันพระบรมราชชนก เปนสถาบันอุดมศึกษาเฉพาะทางดานวิทยาศาสตรสุขภาพท่ีจัดการศึกษา
ระดับอุดมศึกษาตามกฎหมายวาดวยการศึกษาแหงชาติ มีฐานะเปนนิติบุคคลและเปนสวนราชการตามกฎหมาย
วาดวยวิธีการงบประมาณ อยูในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขแหงแรก ตามพระราชบัญญัติสถาบันพระบรมราชชนก
พ.ศ. ๒๕๖๒ (ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม ๑๓๖ ตอนที่ ๔๓ ก เมื่อวันท่ี ๕ เมษายน ๒๕๖๒) มีพันธกิจที่สําคัญ
คือ ๑) ผลิตบัณฑิตและพัฒนาบุคลากรใหสอดคลองกับแนวนโยบายแหงรัฐ เพื่อใหมีความรู ความสามารถทางวิชาการ
และทักษะในวิชาชีพ มีคุณธรรม จริยธรรม มีความสํานึกตอสังคมและเพื่อใหมีศักยภาพในการเรียนรูดวยตนเอง
๒) จดั การศกึ ษา วจิ ยั สง เสรมิ สนบั สนนุ การวจิ ยั เพอ่ื สรา งหรอื พฒั นาองคค วามรู และนาํ ความรนู นั้ ไปใชเ พอื่ ประโยชน
ในการพัฒนาสังคมและประเทศชาติ ๓) พัฒนาองคความรูดานวิทยาศาสตรสุขภาพใหมีมาตรฐานและคุณภาพ
ทางวชิ าการใหเ ปน ทยี่ อมรบั ในระดบั ประเทศและนานาชาติ ๔) สง เสรมิ ใหเ กดิ โอกาสและความเสมอภาคทางการศกึ ษา
ตามความตองการของชุมชน ๕) ใหบริการทางวิชาการแกสังคมโดยเนนความรวมมือกับชุมชน ๖) ใหบริการ
ดานการแพทยและการสาธารณสุข ๗) สงเสริมและทะนุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม ดังนั้น สถาบันพระบรมราชชนก
จําเปนตองมีการปรับทิศทางขององคกรเพ่ือใหการดําเนินงานของสถาบันเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ จึงไดมีการจัดทํา
แผนยุทธศาสตรสถาบันพระบรมราชชนก โดยความรวมมือจากหนวยงานสวนกลาง และวิทยาลัยในสังกัด โดยใช
กระบวนการการวางแผนยุทธศาสตร (Strategic Planning) เพ่ือกําหนดทิศทางในอนาคตของสถาบัน ตลอดจนตองมี
การนําแผนยุทธศาสตรที่กําหนดสูการปฏิบัติที่มีประสิทธิภาพดวย โดยมีการดําเนินการ ดังนี้

๑. การศึกษาความตองการเชิงยุทธศาสตรที่มีตอสถาบันพระบรมราชชนก จากการประชุมระดมสมอง
โดยรว มกนั พจิ ารณาแผนยทุ ธศาสตรช าติ ๒๐ ป แผนยทุ ธศาสตรก ระทรวงสาธารณสขุ ๒๐ ป แผนการศกึ ษาชาติ ๒๐ ป
พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ และ พระราชบัญญัติสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. ๒๕๖๒ พบวา

- ความตองการเชิงยุทธศาสตรท่ีมีตอสถาบันพระบรมราชชนกในระดับนโยบาย ตองการ
ใหสถาบันพระบรมราชชนก ๑) มีการผลิตบัณฑิตและพัฒนาบุคลากรดานสาธารณสุขที่สอดคลองกับความตองการ
ของระบบสุขภาพท่ีมีคุณภาพ ๒) มีการพัฒนาหลักสูตรการจัดการเรียนการสอนในสาขาท่ีขาดแคลนดานวิทยาศาสตร
สุขภาพและระบบสุขภาพมีความตองการสูง ๓) มีการพัฒนาหลักสูตรฝกอบรมที่ตอบสนองระบบสุขภาพ
๔) มีการผลิตผลงานวิจัย ผลงานวิชาการและนวัตกรรมท่ีหนวยบริการสามารถนําไปใชประโยชนในทางปฏิบัติ
เพอ่ื ตอบสนองระบบสขุ ภาพ เพอื่ การพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ คนไทยทกุ กลมุ วยั ๕) มกี ารสอ่ื สารการตลาดและประชาสมั พนั ธ
ในหลักสูตรการใหบริการวิชาการเพื่อเพ่ิมการเขาถึงกลุมเปาหมาย และ ๖) มีระบบบริหารจัดการแบบบูรณาการ
ดานทะนุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรมเพื่อสืบสานศิลปะและวัฒนธรรมอยางยั่งยืน

- ความตองการของบุคลากรในองคกร จากการศึกษาพบวา บุคลากรของสถาบันมีความตองการ
ท่ีมีอิสระทางวิชาการ (Academic Freedom) ในการพัฒนาหลักสูตรการจัดการศึกษาและยกระดับการจัดการศึกษา
ของสถาบันถึงระดับบัณฑิตศึกษา มีความคลองตัวในการบริหารจัดการองคการทั้งในดานงบประมาณและการบริหาร
บุคคล มีความกาวหนาในสายงานวิชาการ และสายสนับสนุน

- ความตองการของเครือขายความรวมมือและผูมีสวนไดสวนเสีย ลูกคาและผูรับบริการท่ีมีตอองคกร
จากการศึกษา พบวา ผูรับบริการตองการใหสถาบันเปนแหลงเรียนรูทางวิชาการดานสุขภาพ สามารถใหคําปรึกษา
ดานวิจัย ดานวิชาการสุขภาพแกหนวยงาน สังคมและชุมชน เปนสถาบันการผลิตบัณฑิตดานสุขภาพที่ตอบสนอง
ความตองการของชุมชนในพ้ืนที่แตละภูมิภาคท่ีมีบริบทแตกตางกัน กระจายโอกาสทางการศึกษาใหกับเยาวชน
ที่อยูในชุมชนทุกระดับใหมีความเสมอภาคในการเขาถึงการศึกษาดานสุขภาพ เปนสถาบันที่จัดใหมีการศึกษาตอเน่ือง
เพ่ือยกระดับคุณวุฒิการศึกษาใหกับบุคลากรในระบบสุขภาพ รวมไปถึงเปดโอกาสใหบุคลากรในระบบที่มีความรู
ความสามารถไดเขามามีสวนรวมในการผลิตบัณฑิตของสถาบัน



แผนยุทธศาสตรสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙
๒. การวิเคราะหสภาพแวดลอมองคกรท้ังภายในและภายนอก การวางแผนยุทธศาสตรการพัฒนา
สถาบันพระบรมราชชนกในครั้งน้ี ไดใชกระบวนการวิเคราะหท่ีเกิดจากการประชุมระดมความคิดเห็นของผูบริหาร
คณาจารยและบุคลากร คณะทํางานไดนําขอเสนอมาวิเคราะหศักยภาพขององคกรเพ่ือนําไปสูการกําหนดสถานะ
ทางยุทธศาสตร โดยใชเครื่องมือทางการบริหาร SWOT Analysis พบวามีสภาพแวดลอมองคกรโดยสรุป ดังนี้

- จุดแข็ง เปนสถาบันการศึกษาผลิตบัณฑิตท่ีมีคุณภาพและไดมาตรฐานตามมาตรฐานวิชาชีพ
มีสถาบันการศึกษาต้ังอยูในทุกภูมิภาคของประเทศ สามารถสรางโอกาสทางการศึกษาสูระดับชุมชน อาจารยมีคุณวุฒิ
ทางการศึกษาระดับปริญญาเอกมากกวา ๔๐๐ คน มีความเช่ียวชาญหลากหลายสาขา ทําใหมีศักยภาพในการ
ขยายหลักสูตรฝกอบรม หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาและหลักสูตรนานาชาติได มีโครงสรางพื้นฐานปจจัยเกื้อหนุน
และมีงบประมาณเพียงพอในการดําเนินงานทุกพันธกิจของสถาบัน และการเปนนิติบุคคลเอื้อตอการขยายการจัดการ
ศึกษาในทุกระดับ

- จุดออน พบวา การวางแผนกลยุทธทางการตลาดและประชาสัมพันธยังไมมีประสิทธิภาพเพียงพอ
ระบบและกลไกในการพัฒนาองคกรสูการเปนองคกรสมรรถนะสูงยังไมชัดเจน บุคลากรสวนใหญมีสมรรถนะที่จําเปน
ในศตวรรษที่ ๒๑ ไมเปนไปตามมาตรฐาน/เปาหมายที่กําหนด ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศยังไมตอบสนอง
ตอการบริหารจัดการและพันธกิจของสถาบัน

- โอกาส พบวา กระทรวงสาธารณสุขและหนวยงานภายนอกมีความตองการบุคลากรดานสุขภาพ
เพื่อตอบสนองตอระบบสุขภาพของประเทศ และมีศักยภาพดานงบประมาณในการผลิตใหกับสถาบัน (PCC & Aging)
มีเครือขายกับสํานักวิชาการและหนวยงานอื่น ๆ ของกระทรวงสาธารณสุขรวมท้ังสถาบันการศึกษาในประเทศ
และตา งประเทศ ทาํ ใหเ กดิ โอกาสพฒั นาทกุ พนั ธกจิ ของสถาบนั วชิ าชพี ดา นสขุ ภาพยงั เปน ความตอ งการในตลาดแรงงาน
ความกาวหนาทางเทคโนโลยีสรางโอกาสในการพัฒนาระบบการจัดการศึกษาและการบริหารองคกร

- ภัยคุกคาม ไดแก ธุรกิจดานการศึกษาและการพัฒนากําลังคนดานสุขภาพมีการแขงขันสูง
ทําใหเกิดทางเลือกในการศึกษา สงผลใหจํานวนลูกคามีแนวโนมลดลง และสงผลตอคาใชจายในการจัดการศึกษา
เพ่ิมข้ึน นโยบายและความไมแนนอนดานการผลิตและพัฒนาบุคลากรทางดานสุขภาพของผูบริหารและปญหา
ทางการเงินของหนวยบริการสงผลตอการจางงาน

๓. การกําหนดวิสัยทัศน พันธกิจ ประเด็นยุทธศาสตร เปาประสงค กลยุทธ แผนยุทธศาสตรสถาบัน
พระบรมราชชนก พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๖๙ จัดทําขึ้น ภายใตวิสัยทัศน “มุงสรางผูนําและนวัตกรรมสุขภาพสูชุมชน
เพ่ือคุณภาพชีวิตที่ยั่งยืน” ซ่ึงในการดําเนินการเพื่อขับเคล่ือนไปสูวิสัยทัศนดังกลาว ไดกําหนดกรอบการพัฒนา
ของแผนยุทธศาสตรส ถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๖๙ โดยมปี ระเดน็ ยุทธศาสตร ๔ ประเด็นยทุ ธศาสตร
๑๐ เปาประสงค ๑๘ กลยุทธ รายละเอียดสรุปดังน้ี



แผนยุทธศาสตรสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๑ : การผลิตกําลังคนด้านสุขภาพที่มีคุณภาพ
ตามมาตรฐานสากล สอดคล้องกับ
ความต้องการของระบบสุขภาพ ชุมชน สังคม

เปาประสงคที่ ๑ : ผูสําเร็จการศึกษามีคุณภาพตามมาตรฐานสากลในศตวรรษท่ี ๒๑ และสมรรถนะการจัดการ
สุขภาวะชุมชนบนพื้นฐานการดูแลดวยหัวใจความเปนมนุษย
กลยุทธ

๑.๑ พัฒนาหลักสูตรที่หลากหลายตอบสนองระบบสุขภาพของประเทศตามมาตรฐานสากล
๑.๒ พัฒนานักศึกษาใหมีคุณภาพตามมาตรฐานสากลในศตวรรษท่ี ๒๑
๑.๓ พัฒนานักศึกษาใหมีอัตลักษณของสถาบันและสมรรถนะการจัดการสุขภาวะชุมชนบนพ้ืนฐาน การดูแล
ดวยหัวใจความเปนมนุษย
เปาประสงคท่ี ๒ : อาจารยมีสมรรถนะในการจัดการเรียนรูตามมาตรฐานสากล
กลยุทธ
๒.๑ พัฒนาศักยภาพอาจารยใหมีสมรรถนะการจัดการเรียนรูในศตวรรษท่ี ๒๑

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๒ : การสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมด้านสุขภาพ
เพื่อพัฒนาสุขภาวะของชมุ ชนและสังคมอยา่ งยงั่ ยนื

เปาประสงคที่ ๑ : มีผลงานวิจัย ผลงานวิชาการและนวัตกรรมที่มีคุณภาพระดับชาติและนานาชาติ
กลยุทธ

๑.๑ เรง รดั การผลติ เผยแพร ผลงานวจิ ยั ผลงานวชิ าการ และนวตั กรรมทมี่ คี ณุ ภาพในระดบั ชาติ และนานาชาติ
๑.๒ ผลักดันใหมีการแสวงหาทุนวิจัยจากแหลงทุนภายนอก ทั้งภายในประเทศและตางประเทศ
เปาประสงคที่ ๒ : มีผลงานวิจัย ผลงานวิชาการและนวัตกรรมที่สามารถนําไปใชประโยชน เพ่ือพัฒนาสุขภาวะ
ของชุมชนและสังคม
กลยุทธ
๒.๑ พัฒนาระบบกลไกการนาํ ผลงานวิจัยและนวตั กรรมไปใชประโยชนเ พือ่ พฒั นาสุขภาวะของชุมชนและสงั คม

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๓ : การบริการวิชาการแก่สังคมเพื่อตอบสนองระบบ
สุขภาพโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน

เปาประสงคที่ ๑ : เปนศูนยบริการวิชาการในการพัฒนาสมรรถนะบุคลากรดานสุขภาพและสุขภาวะชุมชน
กลยุทธ

๑.๑ พัฒนาระบบและกลไกในการสรางความเขมแข็งของศูนยบริการวิชาการและการจัดต้ังศูนยบริการ
วิชาการ (Training Center)

๑.๒ พัฒนาศักยภาพบุคลากรของสถาบันใหมีความเชี่ยวชาญในการบริการวิชาการใหเปนที่ยอมรับ
จากหนวยงานภายนอกท้ังระดับชาติและนานาชาติ

๑.๓ พัฒนาสมรรถนะบุคลากรดานสุขภาพ ประชาชน เพื่อตอบสนองความตองการของระบบสุขภาพ



แผนยุทธศาสตรสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙

เปาประสงคที่ ๒ : เปนสถาบันอุดมศึกษาที่มีศักยภาพในการบริการวิชาการ
กลยุทธ

๒.๑ พัฒนาระบบและกลไกสนับสนุนการจัดบริการวิชาการ
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๔ : การบริหารจัดการสู่องค์กรสมรรถนะสูงภายใต้

หลักธรรมาภิบาล
เปาประสงคท่ี ๑ : ผูบริหารและบุคลากรของสถาบันมีสมรรถนะตามท่ีสถาบันกําหนด
กลยุทธ

๑.๑ พัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการบุคลากรดานอัตรากําลังและสมรรถนะ เพื่อตอบสนอง
พันธกิจหลักของสถาบัน

๑.๒ ยกระดับสมรรถนะของผูบริหารและบุคลากรทุกระดับของสถาบันเพื่อขับเคลื่อนสูองคกรสมรรถนะสูง
เปาประสงคท่ี ๒ : เปนสถาบันอุดมศึกษาที่มีคุณภาพตามเกณฑคุณภาพการศึกษาเพ่ือการดําเนินการที่เปนเลิศ
(EdPEx)
กลยุทธ

๒.๑ พัฒนาระบบและกลไกการดาํ เนินงานตามเกณฑคุณภาพการศึกษาเพ่ือการดาํ เนนิ การท่เี ปน เลิศ (EdPEx)
เปาประสงคที่ ๓ : เปนสถาบันที่มีการบริหารจัดการภายใตองคกรคุณธรรม ทะนุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม
และรักษสิ่งแวดลอม
กลยุทธ

๓.๑ พัฒนาองคกรตามแนวทางการบริหารจัดการภายใตองคกรคุณธรรมและความโปรงใสในการดําเนินงาน
ของหนวยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment: ITA)

๓.๒ สงเสริมการนําการควบคุมภายในเปนเคร่ืองมือในการขับเคลื่อนสูองคกรสมรรถนะสูง
๓.๓ สงเสริมการทะนุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม และรักษสิ่งแวดลอม
เปาประสงคท่ี ๔ : มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารงานและการจัดการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ
กลยุทธ
๔.๑ พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพและสงเสริมการนําเทคโนโลยีมาใชในการ
จัดการเรียนการสอน
เพื่อเปนกรอบแนวทางการดําเนินงานในการขับเคลื่อนนโยบายสูการปฏิบัติของหนวยงานภายใตสังกัด
สถาบนั พระบรมราชชนก ใหส ามารถดาํ เนนิ การภายใตแ ผนยทุ ธศาสตรข องสถาบนั พระบรมราชชนก สถาบนั อดุ มศกึ ษา
เฉพาะทาง ในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ไดอยางตรงตามเปาหมายของแผนยุทธศาสตรชาติระยะ ๒๐ ป
ท่ีกระทรวงสาธารณสุขท่ีต้ังไว อยางมีประสิทธิภาพ เปนสวนหนึ่งในการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศสูความม่ันคง
มั่งค่ัง และย่ังยืน ตอไป



แผนยุทธศาสตรสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙

๑ ข้อมูลท่ัวไป



แผนยุทธศาสตรสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙

๑.๑ ประวัติความเป็นมา

สถาบันพระบรมราชชนก เดิมช่ือ "สถาบันพัฒนากําลังคนดานสาธารณสุข"
เปนหนวยงานใหมตามพระราชบัญญัติโอนอํานาจหนาท่ีและกิจการบริหารสวนราชการ
ของกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๖ และพระราชฎีกาแบงสวนราชการ สํานักงาน
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๖ ซ่ึงกําหนดใหมีฐานะสูงกวากอง แตต่ํากวากรม
โดยไดร วมหนว ยงานดา นการผลติ และพฒั นาบคุ ลากรดา นสาธารณสขุ จากกรม กองตา ง ๆ
ไดแก วิทยาลัยพยาบาล วิทยาลัยการสาธารณสุขภาค โรงเรียนตาง ๆ ในสังกัด
กรมการแพทย กรมควบคุมโรคติดตอ กรมวิทยาศาสตรการแพทย กรมอนามัย
กองฝกอบรม และกองงานวิทยาลัยพยาบาล สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ในป พ.ศ. ๒๕๓๗ วิทยาลัยการสาธารณสุข ไดรับพระราชทานนามเปลี่ยนเปน
"วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร" วิทยาลัยพยาบาลไดรับพระราชทานนามเปล่ียนเปน
"วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี"
พ.ศ. ๒๕๑๗ มกี ารปรบั โครงสรา งกระทรวงสาธารณสขุ โดยมพี ระราชกฤษฎกี า แบง สว นราชการของกรมตา ง ๆ
และจัดตั้ง “กองงานวิทยาลัยพยาบาล” โดยการโอนสถาบันการศึกษาที่ผลิตพยาบาลและผูชวยพยาบาล ซึ่งเคยสังกัด
ในกองการศึกษา กรมการแพทยและกรมอนามัย ไปสังกัดกองงานวิทยาลัยพยาบาลนอกจากนี้ยังมีการจัดตั้ง
“กองฝกอบรม” โดยใหศูนยฝกอบรมอนามัยภาคท้ัง ๔ ภาค มาอยูในสังกัดกองฝกอบรม พ.ศ. ๒๕๓๕ ไดมีการรวม
หนวยงานที่ทําหนาท่ีผลิตและพัฒนากําลังคนดานสุขภาพโดยตรงเขาดวยกันทําใหเกิด “สถาบันพัฒนากําลังคน
ดานสาธารณสุข” และใชช่ือยอวา สพค. ขึ้น
พ.ศ. ๒๕๓๗ สถาบนั พฒั นากาํ ลงั คนดา นสาธารณสขุ ไดร บั พระราชทานพระบรมราชานญุ าตเชญิ พระนามาภไิ ธย
สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก เปนชื่อสถาบันวา “สถาบันพระบรมราชชนก”
เมอื่ วนั ที่ ๒๗ กนั ยายน ๒๕๓๗ โดยมกี ารตราเปน พระราชกฤษฎกี าแบง สว นราชการสาํ นกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ
กระทรวงสาธารณสขุ (ฉบบั ที่ ๒) และประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา เลม ท่ี ๑๑๒ ตอนท่ี ๕๓ ก วนั ท่ี ๒๕ ธนั วาคม ๒๕๓๘
ท้ังน้ี ในป พ.ศ. ๒๕๓๗ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ พระราชทานช่ือ
วิทยาลัยพยาบาลในสังกัดวา วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี และตอทายชื่อจังหวัด สวนวิทยาลัยท่ีไดรับพระราชทาน
ชื่ออยูกอนแลวใหคงชื่อท่ีไดรับพระราชทานตอไป ซ่ึงไดแก วิทยาลัยพยาบาลพระปกเกลา จันทบุรี วิทยาลัยพยาบาล
ศรมี หาสารคาม วทิ ยาลยั พยาบาลพระจอมเกลา จงั หวดั เพชรบรุ ี และสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า เจา ฟา มหาจกั รสี ริ นิ ธร
รัฐสีมาคุณากรปยชาติ สยามบรมราชกุมารี (พระอิสริยยศในขณะนั้น) ไดพระราชทานพระราชานุญาตใหอัญเชิญ
พระนามาภิไธย “สิรินธร” และพระนามาภิไธยยอ “สธ” มาเปนช่ือของวิทยาลัยการสาธารณสุข โดยเปล่ียนชื่อเปน
“วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร” และตอทายช่ือจังหวัด สถาบันพระบรมราชชนก จึงถือเอาวันที่ ๒๗ กันยายน
ของทุกปเปนวันสถาปนาสถาบันพระบรมราชชนก อยางเปนทางการมาจนถึงปจจุบัน
พ.ศ. ๒๕๓๙ วทิ ยาลยั เทคโนโลยที างการแพทยแ ละสาธารณสขุ ไดร บั พระราชทานนามเปน "วทิ ยาลยั เทคโนโลยี
ทางการแพทยแ ละสาธารณสขุ กาญจนาภเิ ษก" พรอ มทงั้ ใหป ระดษิ ฐานตราสญั ลกั ษณง านฉลองศริ ริ าชสมบตั คิ รบ ๕๐ ป
พ.ศ. ๒๕๖๒ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ มหิศรภูมิพลราชวรางกูร
กิติสิริสมบูรณอดุลยเดช สยามินทราธิเบศรราชวโรดม บรมนาถบพิตร พระวชิรเกลาเจาอยูหัว มีพระราชโองการ
โปรดเกลาฯ ใหประกาศวา โดยที่เปนการสมควรมีกฎหมายวาดวยสถาบันพระบรมราชชนก จึงทรงพระกรุณา
โปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญัติสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. ๒๕๖๒ ขึ้นไว และประกาศในราชกิจจานุเบกษา



แผนยุทธศาสตรสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙

เลม ๑๓๖ ตอนท่ี ๔๓ ก วันท่ี ๕ เมษายน ๒๕๖๒ ใหสถาบันพระบรมราชชนก เปนสถาบันอุดมศึกษาเฉพาะทาง
ในสงั กดั กระทรวงสาธารณสขุ เปน สถาบนั อดุ มศกึ ษาในกาํ กบั ของกระทรวงสาธารณสขุ แหง แรก มสี ถานะเปน นติ บิ คุ คล
มีภารกิจหลักในการผลิตและพัฒนาบุคลากรทางดานสุขภาพ และเปนสถานศึกษาเฉพาะทาง

๑.๒ ปรัชญา

สถาบันพระบรมราชชนกเชื่อวา การผลิตบัณฑิตและพัฒนาบุคลากร โดยการจัดการศึกษาและการอบรม
ตลอดจนการพฒั นาองคค วามรดู า นวทิ ยาศาสตรส ขุ ภาพนน้ั เปน ไปเพอ่ื ประโยชนข องประชาชน สงั คม และประเทศชาติ
ดังพระราชปณิธานของสมเด็จพระราชบิดาท่ีวา

“ความสําเร็จท่ีแทจริง ไมไดอยูที่การเรียนรู แตอยูท่ีการนําความรูไปประยุกตใชเพื่อประโยชนสุข
แกมวลมนุษยชาติ”

True success is not in the learning, but in its application to the benefit of mankind.

๑.๓ ปณิธาน

“สร้างบ้าน สร้างคน สร้างชุมชน สร้างสุข”

๑.๔ พันธกิจ

(๑) ผลิตบัณฑิตและพัฒนาบุคลากรใหสอดคลองกับแนวนโยบายแหงรัฐ เพื่อใหมีความรู ความสามารถ
ทางวิชาการและทักษะในวิชาชีพ มีคุณธรรม จริยธรรม มีความสํานึกตอสังคม และเพ่ือใหมีศักยภาพ
ในการเรียนรูดวยตนเอง

(๒) จัดการศึกษา วิจัย สงเสริม สนับสนุนการวิจัย เพ่ือสรางหรือพัฒนาองคความรู และนําความรูนั้นไปใช
เพื่อประโยชนในการพัฒนาสังคมและประเทศชาติ

(๓) พัฒนาองคความรูดานวิทยาศาสตรสุขภาพใหมีมาตรฐานและคุณภาพ ทางวิชาการใหเปนที่ยอมรับ
ในระดับประเทศและนานาชาติ

(๔) สงเสริมใหเกิดโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาตามความตองการของชุมชน
(๕) ใหบริการทางวิชาการแกสังคมโดยเนนความรวมมือกับชุมชน
(๖) ใหบริการดานการแพทยและการสาธารณสุข
(๗) สงเสริมและทะนุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม

๑.๕ อัตลักษณ์บัณฑิตของสถาบันพระบรมราชชนก

“วินัย หน้าที่ สามัคคี เสียสละ สัจจะ กตเวที”



แผนยุทธศาสตรสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙

๑.๖ สมรรถนะหลักของบัณฑิตสถาบันพระบรมราชชนก

Critical Thinker เปนนักคิดวิเคราะห
Communicator เปนผูสื่อสารอยางสรางสรรค
Collaborator เปนนักสานสัมพันธ
Creator เปนผูสรางสรรคนวัตกรรม

๑.๗ ค่านิยมร่วมสถาบันพระบรมราชชนก

“สบช”
ส : สถาบันฯ ผลิตบัณฑิตมีสมรรถนะ ๔ Cs for C
บ : บูรณาการดาน บริการวิชาการ วิจัย และนวัตกรรมสุขภาพเปนเลิศ
ช : ชุมชนใหมีคุณภาพชีวิตท่ีดี ย่ังยืน

๑.๘ วัฒนธรรมองค์กร

“PBRI” รวมแรงรวมใจ
P : Participation รักใครผูกพัน
B : Bonding มุงม่ันรับผิดชอบ
R : Responsibility สงมอบคุณธรรม
I : Integrity

๑.๙ โครงสร้างหน่วยงาน

สถาบันพระบรมราชชนกหนวยงานที่ต้ังหนวยงาน ณ สวนกลาง จังหวัดนนทบุรี และสถานศึกษาในสังกัด
ท่ีตั้งอยูในสวนภูมิภาค จํานวน ๓๙ แหง ประกอบดวย

๑. สาํ นกั งานสภาสถาบนั
๒. สาํ นกั งานสภาวชิ าการ
๓. สาํ นกั งานอธกิ ารบดี

๓.๑ กองบรหิ ารกลาง
๓.๒ กองทรพั ยากรบคุ คล
๓.๓ กองยทุ ธศาสตรแ ละแผนงาน
๔. สาํ นกั วชิ าการ
๔.๑ กองพฒั นาการศกึ ษา
๔.๒ กองวจิ ยั นวตั กรรม บรกิ ารวชิ าการ และวเิ ทศสมั พนั ธ



แผนยุทธศาสตรสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙

๕. คณะพยาบาลศาสตร ประกอบดว ย จาํ นวน ๒๗ แหง
๕.๑ สาํ นกั งานคณบดี จาํ นวน ๓ แหง
๕.๒ วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี จาํ นวน ๗ แหง
๕.๓ วทิ ยาลยั พยาบาล จาํ นวน ๑ แหง
จาํ นวน ๑ แหง
๖. คณะสาธารณสขุ ศาสตรแ ละสหเวชศาสตร ประกอบดว ย
๖.๑ สาํ นกั งานคณบดี
๖.๒ วทิ ยาลยั การสาธารณสขุ สริ นิ ธร
๖.๓ วทิ ยาลยั เทคโนโลยที างการแพทยแ ละสาธารณสขุ กาญจนาภเิ ษก
๖.๔ วทิ ยาลยั การแพทยแ ผนไทยอภยั ภเู บศร จงั หวดั ปราจนี บรุ ี



แผนยุทธศาสตรสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙โครงสร้างหน่วยงาน

๑๐ กระทรวงสาธารณสุข

สถาบันพระบรมราชชนก

สํานักงานสภาสถาบัน สภาสถาบัน

สํานักงานสภา สภาวิชาการ อธิการบดี สภาคณาจารย์และผู้ปฏิบัติงาน
หน่วยตรวจสอบภายใน

สํานกั งานอธกิ ารบดี สํานกั วชิ าการ คณะพยาบาลศาสตร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์
และสหเวชศาสตร์
• กองบริหารกลาง •• กองพัฒนาการศึกษา •• สํานักงานคณบดี
• กองทรัพยากรบุคคล กองวิจัย นวัตกรรม วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี •• สํานักงานคณบดี
• กองยุทธศาสตร์และแผนงาน วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร
บริการวิชาการ และวิเทศสัมพันธ์ • ๒๗ แห่ง
วิทยาลัยพยาบาล ๓ แห่ง • ๗ แห่ง
วิทยาลยั เทคโนโลยที างการแพทย์
และสาธารณสุข กาญจนาภิเษก

• ๑ แห่ง
วิทยาลัยการแพทย์แผนไทย
อภัยภูเบศร
จังหวัดปราจีนบุรี ๑ แห่ง

แผนยุทธศาสตรสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙

ท่ีตั้งของวิทยาลัยในสังกัดสถาบันพระบรมราชชนก

วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี พะเยา วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อตุ รดิตถ์
วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี แพร่ วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี พุทธชนิ ราช
วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครลาํ ปาง วทิ ยาลัยการสาธารณสุขสิรนิ ธร จังหวัดพิษณโุ ลก
วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี เชยี งใหม่

วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อดุ รธานี
สวรรคป์ ระชารกั ษ์ นครสวรรค์ วทิ ยาลัยการสาธารณสุขสิรนิ ธร จงั หวัดขอนแก่น
วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ชยั นาท
วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สระบุรี วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี ขอนแก่น
วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี พระพุทธบาท วิทยาลัยพยาบาลศรีมหาสารคาม
วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุพรรณบรุ ี
วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จงั หวดั สุพรรณบรุ ี วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี นครราชสีมา
วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จักรรี ชั วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สุรินทร์
วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ราชบุรี
วิทยาลัยพยาบาลพระจอมเกลา้ วทิ ยาลยั การสาธารณสุขสิรนิ ธร
จังหวดั เพชรบุรี จงั หวดั อบุ ลราชธานี

วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี ตรงั วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี
วทิ ยาลัยการสาธารณสุขสิรนิ ธร จงั หวดั ตรงั สรรพสิทธประสงค์
วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี ยะลา
วิทยาลยั การสาธารณสุขสิรินธร จังหวดั ยะลา วิทยาลัยการแพทยแ์ ผนไทยอภัยภเู บศร จังหวัดปราจนี บุรี
วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี ชลบุรี

วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดชลบรุ ี
วิทยาลยั พยาบาลพระปกเกลา้ จันทบุรี

วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี กรุงเทพ
วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นพรตั นว์ ชริ ะ

วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี จงั หวัดนนทบุรี
วทิ ยาลยั เทคโนโลยที างการแพทยแ์ ละสาธารณสุข กาญจนาภิเษก

วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุราษฎร์ธานี
วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี นครศรธี รรมราช

วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สงขลา

วิทยาลัยพยาบาล/วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี (๓๐ แห่ง)
วทิ ยาลยั การสาธารณสุขสิรินธร (๗ แห่ง)
วิทยาลยั เทคโนโลยีทางการแพทยแ์ ละสาธารณสุข (๑ แหง่ )
กาญจนาภเิ ษก
วิทยาลยั การแพทยแ์ ผนไทยอภัยภูเบศร (๑ แหง่ )
จงั หวดั ปราจีนบุรี

๑๑

แผนยุทธศาสตรสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙

๑.๑๐ อัตรากําลัง

แผนยุทธศาสตรส ถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ.2565 - 2569

ตามประใเภนทป1งต1.บ9ํา.9แปอหรตัอะนรตั มงารากาดณํากังลาํ น๒ังล้ี งั๕ใน๖ป๕งบปสรถะามบาณันพ25ร6ะ5บรสมถารบาันชพชรนะบกรมมรีอาแชัตผชรนนยากุทกธมําศาีอลสตัังตรรรสาวถกามาํ บลทันังพั้งรรหวะมบมรทมดัง้ รหาจชมชําดนนกจวพาํ นน.ศว.2น๕565,๓5,3๕-52๙956คค9นน โดยจําแนก
โดโยดจยาํจแาํ นแกนตกาตมาปมรปในะรเปะภเงทภบจตทปําตํารแะาํนหแมวนหาณนงจนํางดแ2นงัดล5วนงั ะ6น้ีนร5แ้ี อลสะยถรลาอบะยันลบพะุครบะลุคบาลรากมกรรราจจชําําชแแนนกนกมกตีอตาตั มารหมานกหาํวลนยังงวราวยนมงทา้งั นหมด จํานวน 5,359 คน

สํานักงานสภาสถาบจันาํพพนรรวะะนบบแรรมลมระราราชอชยชลนะกบุคลากรจําแนกตามหนว ยงาน สํานกั วิชาการ
สาํช0นน.กั0กง9า%นสภ(5าสคถนา)บนั พระบรมราช
ชส0คนําสอน.ค2น0ํากธ)น.นกัิ93)งักา%1ารง%นบา(นด5อ(ี 1ธิก2า4รบคดนี ) 1.ส0าํ 1น%ักว(ิช5า4กาครน)
1.01% (54 คน)

อ2ธ.ิก3า1ร%บด(ี 124 คน) 55,3,35599 คณะพยาบาลศาสตร
คณะสาธารณสุขศาสตร ค7ณ1.ะ2พ3ย%าบา(3ล,ศ8า1ส7ตรค น)
คแลณแแ2ะลละส5ะะสหสส.า3เหหธว6าเเชวว%รศชชณาศศ(สสาา1ุขตสส,ศ3รตตา5รรส9ตรค น) 71.23% (3,817 คน)
แ2ล5ะส.3ห6เว%ชศ(า1ส,3ต5ร9 คน)

ที่มา : กองทรัพทยมี่ าา:กกรอบงทุครคัพลยาขกอรบมุคูลคลณขอวมันลู ทณี่ ๒ว๔นั ทก่ี 2.พ4.ก๖.พ๕. 65

ท่มี า: กองทรัพยากรบุคคล ขอมูล ณ วันที่ 24 ก.พ. 65

จํานวนจาํ แนลวะนรแลอะยรลอ ยะลบะุคบลคุ ลาากกรรจจําําแแนนกกตตามาปมรปะเรภะทเภท
พนักงานราชการ จํานวนและรอยละบคุ ลากรจําแนกตามประเภท ลกู จา งเหมา
พ4น%กั งา(น1ร9า7ชกคานร) ลูกจ2า0งลเ%กูหบจมรา(ิก1งบาเ,รห0ิกม7าาร4
4% (197 คน) 20%บร(กิ 1า,ร074 คน)
ลูกจา งชัว่ คราว
พนักงานกระทรวงสาธารณสุข 53,534,,943,89385ค5นค9น9 ลกู 2จ%า งช(8ัว่ ค7ราว
พน2กั 4ง%านก(1ระ,2ท9รว3งสาธารณสุข 2% (87 คน)
24คน%) (1,293 คน)
คน)

ขาราชการ ลูกจา งประจาํ
ขา 4ร8าช%กา(ร2,568 คน) 2ล%ูกจา(1งป4ร0ะจคําน)
ทมี่ า: กอ4งท8ร%ัพยา(ก2ร,บ5ุค6คล8ขคอนม)ูล ณ วนั ที่ 24 ก.พ. 65 2% (140 คน)

ทมี่ า: กองทรพั ยากรบคุ คล ขอมลู ณ วันที่ 24 ก.พ. 65

ที่มา : กองทรัพยากรบุคคล ขอมูล ณ วันที่ ๒๔ ก.พ. ๖๕ 12
12

๑๒

แผนยุทธศาสตรสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙

แผนยุทธศาสตรสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ.2565 - 2569

จํานวจนําแนลวนะแรลอะยรลอยะลบะุคบคุลลาากกรรจจําําแแนนกกวฒุวุฒกิ าิกรศากึ รษศาึกแษละาสแาลยงะาสนายงาน

จํานวนคน แผนยุทธศาสตรสถาบันพระบรม(52รา9,ช6.ช75น34ก%พ).ศ.2565 - 2569
3,000

2,500 จาํ นวนและรอ ยละบคุ ลากรจําแนกวุฒิการศึกษาและสายงาน (40.27%)
2จ,0าํ 0นว0นคน 1,789
13,5,00000
1,102 1,261 (529,6.7534%)

12,0,50000 841 402 (40.27%)
25,00000 604 21 1,789
1,50-0
150 62
1,102 1,261

1,000 150 841 สายสนับสนนุ 402
500 604
62 21
สายวิชาการ

ท่ีมา : กองทรัพ1ยท.า1่มี กา0ร: บกงอุคบงคทปรล-รัพะขยมาอกามรณบูลคุ ณคล ขอมูล ณ วนั ที่ 24 ก.พ. 65

วันที่ ๒๔ ก.พ. ๖๕

๑.๑๑ ง2,3บท5่ีม5าป:,ก0ปอร8งงบ3ทะปร,4พัมร0ยะาม0าการบณณบาุคทพคล.โศดข.งยอ 2บจม5ปลูาํ 6แรณะน5มกวสานัตณถทาามี่ ร2บหา4สนัยมาพกจวย.ดารพวะยร.ชิ บาป6ายรร5กจมะาารจรยาําชปดชงงั นบนก้ีปสไรดาะยร มับสาจนณัดบั สสพรนร.ศุนงบ.2ป5ร6ะม5าณ รวมทัง้ ส้ิน
ปง บปร1ะม.1า0ณงพบ.ปศร. ะ๒ม๕า๖ณ๕ สถาบนั พระบรมราชชนกไดร บั จดั สรรงบประมาณ รวมทง้ั สน้ิ ๒,๓๕๕,๐๘๓,๔๐๐ บาท
โดยจําแนกตา2ม,ห35มง2บ5ว2เ,ด.ง0ป6ินร8ง7อาบ3%ดุยป,4หจร0น(ะา5ม0ุนย2าบณ9ดา.ัง3ทพน3.โศ้ีด.คย2นจ5)ํา6แน5กสตถาามบหนั มพวดระรบายรจมารยาชดชงั นนกี้ ไดร ับจัดสรรงบประมาหณนว รยวม: ลทา ั้งนสบิ้นาท
งบปรงะบมปารณะมราาณยรจายาจยา ปยประระจจําาํ ปปงงบบปประรมะามณาณพ.ศพ.2.5ศ6.๒5๕๖๕

งบเลงงินทอนุ ดุ หนนุ 2,355.0834 54.32%หหนน(ว1งย,บ2:บล6คุา8นลน.บาบ3ากา0ททร)
1272..0687%% ((359289..8343 คคนน))

งงบบดลาํ งเนทินนุ งาน 2,355.0834 งบบคุ ลากร
51.974.0%8%(1(3389.680.84คนค)น) 54.32% (1,268.30)

งบดาํ เนนิ งาน 13
5.94% (138.60 คน)
13

๑๓

แผนยุทธศาสตรสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙

๑.๑๒ หลักสูตรการจัดการศึกษา

สถาบันพระบรมราชชนกมีการจัดการเรียนการสอนทั้งในระดับปริญญาเอก ปริญญาโท ปริญญาตรี
และระดับประกาศนียบัตร โดยมีหลักสูตรท่ีเปดสอนในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ดังนี้

๑. ระดับปริญญาเอก ไดแก
หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรดุษฎีบัณฑิต

๒. ระดับปริญญาโท ไดแก
๒.๑ หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต
๒.๒ หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตร International)
๒.๓ หลักสูตรแพทยแผนไทยมหาบัณฑิต

๓. ระดับปริญญาตรี ไดแก
๓.๑ หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต
๓.๒ หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน
๓.๓ หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาทันตสาธารณสุข
๓.๔ หลักสูตรการแพทยแผนไทยบัณฑิต สาขาวิชาการแพทยแผนไทย/หลักสูตรการแพทยแผนไทย

ประยุกตบัณฑิต สาขาวิชาการแพทยแผนไทยประยุกต
๓.๕ หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเวชระเบียน
๓.๖ หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารังสีเทคนิค
๓.๗ หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
๓.๘ หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาฉุกเฉินการแพทย
๓.๙ หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขานวัตกรรมและการสื่อสาร

๔. ระดับตํ่ากวาปริญญาตรี ไดแก
๔.๑ หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชาเทคนิคเภสัชกรรม
๔.๒ หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง สาขาปฏิบัติการฉุกเฉินทางการแพทย
๔.๓ หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชาเวชระเบียน
๔.๔ หลักสูตรประกาศนียบัตรผูชวยพยาบาล

๑๔

ตารางท่ี ๑ แผนการผลิตของสถาบันพระบรมราชชนก ปการศึกษา ๒๕๖๕ - ๒๕๗๐

ลําดับ หลักสูตร แผนผลิต ปีการศึกษา

๒๕๖๕ ๒๕๖๖ ๒๕๖๗ ๒๕๖๘ ๒๕๖๙ ๒๕๗๐

คณะแพทยศาสตร - ๑๔๔ ๒๗๒ ๔๐๐ ๕๒๘ ๕๒๘
๑ แพทยศาสตรบัณฑิต - ๔๔ ๒๗๒ ๔๐๐ ๕๒๘ ๒๘
๔,๒๒๐ ๔,๒๒๐ ๔,๒๒๐ ๔,๒๒๐ ๔,๒๒๐ ๔,๒๒๐
คณะพยาบาลศาสตร ๔,๒๒๐ ๔,๒๒๐ ๔,๒๒๐ ๔,๒๒๐ ๔,๒๒๐ ๔,๒๒๐
๒ พยาบาลศาสตรบัณฑิต ๒,๕๑๔ ๓,๒๖๔ ๓,๒๖๔ ๓,๒๖๔ ๓,๒๖๔ ๓,๒๖๔
๗ ๗ ๗
คณะสาธารณสุขศาสตรและสหเวชศาสตร ๗ ๗ ๗ ๗ ๗ ๗
ระดับปริญญาเอก ๑๕๒ ๑๕๒ ๗ ๗ ๗ ๑๕๒
๑๒๒ ๑๒๒ ๑๕๒ ๑๕๒ ๑๕๒ ๑๒๒
๓ สาธารณสุขศาสตรดุษฎีบัณฑิต ๑๐ ๑๐ ๑๒๒ ๑๒๒ ๑๒๒ ๑๐
ระดับปริญญาโท ๒๐ ๒๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๒๐
๒๐ ๒๐ ๒๐
๔ สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต
๕ สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตร International)
๖ แพทยแผนไทยมหาบัณฑิต
แผนยุทธศาสตรสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙

๑๕

แผนยุทธศาสตรสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙ลําดับหลักสูตรแผนผลิต ปีการศึกษา
๒๕๖๖ ๒๕๖๗ ๒๕๖๘ ๒๕๖๙
๑๖ ๒๕๖๕ ๒๕๗๐

ระดับปริญญาตรี ๑,๖๙๕ ๒,๔๔๕ ๒,๔๔๕ ๒,๔๔๕ ๒,๔๔๕ ๒,๔๔๕

๖ สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน ๖๘๕ ๙๘๕ ๙๘๕ ๙๘๕ ๙๘๕ ๙๘๕

๗ สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาทันตสาธารณสุข ๓๔๐ ๓๔๐ ๓๔๐ ๓๔๐ ๓๔๐ ๓๔๐

๘ การแพทยแ ผนไทยบณั ฑติ สาขาวชิ าการแพทยแ ผนไทย/ประยกุ ต ๓๖๕ ๔๑๕ ๔๑๕ ๔๑๕ ๔๑๕ ๔๑๕

๙ วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเวชระเบียน ๑๑๐ ๑๑๐ ๑๑๐ ๑๑๐ ๑๑๐ ๑๑๐

๑๐ วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารังสีเทคนิค ๕๕ ๕๕ ๕๕ ๕๕ ๕๕ ๕๕

๑๑ วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ๕๐ ๑๕๐ ๑๕๐ ๑๕๐ ๑๕๐ ๑๕๐

๑๒ วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาฉุกเฉินการแพทย ๔๐ ๙๐ ๙๐ ๙๐ ๙๐ ๙๐

๑๓ เทคโนโลยีบัณฑิต สาขานวัตกรรมและการสื่อสาร ๕๐ ๕๐ ๕๐ ๕๐ ๕๐ ๕๐

๑๔ สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเภสัชกรรม - ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐

๑๕ เภสัชศาสตรบัณฑิต - ๕๐ ๕๐ ๕๐ ๕๐ ๕๐

ระดับตํ่ากวาปริญญาตรี ๖๖๐ ๖๖๐ ๖๖๐ ๖๖๐ ๖๖๐ ๖๖๐

๑๖ ประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง สาขาวิชาเทคนิคเภสัชกรรม ๓๓๐ ๓๓๐ ๓๓๐ ๓๓๐ ๓๓๐ ๓๓๐

๑๗ ประกาศนียบัตรวชิ าชีพชั้นสงู สาขาปฏบิ ตั กิ ารฉุกเฉินการแพทย์ ๒๑๐ ๒๑๐ ๒๑๐ ๒๑๐ ๒๑๐ ๒๑๐

๑๘ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชาเวชระเบียน ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐

รวมทั้งส้ิน ๖,๗๓๔ ๗,๖๒๘ ๗,๗๕๖ ๗,๘๘๔ ๘,๐๑๒ ๘,๐๑๒

ตารางท่ี ๒ แผนการผลิตหลักสูตรผูชวยพยาบาลของสถาบันพระบรมราชชนก ปการศึกษา ๒๕๖๕ - ๒๕๖๘

ลําดับ หลักสูตร แผนผลิต ปีการศึกษา

๑ ผูชวยพยาบาล ๒๕๖๕ ๒๕๖๖ ๒๕๖๗ ๒๕๖๘
รวมทั้งส้ิน
๓,๐๐๐ ๑,๐๐๐ ๑,๐๐๐ ๑,๐๐๐
๓,๐๐๐
๑,๐๐๐ ๑,๐๐๐ ๑,๐๐๐

แผนยุทธศาสตรสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙

๑๗

๑๘

แผนยุทธศาสตรสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙

๒ กรอบแนวคิด
การจัดทําแผนยุทธศาสตร์
สถาบันพระบรมราชชนก

๑๙

แผนยุทธศาสตรสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙

๒.๑ กรอบแนวคิดในการจัดทําแผนยุทธศาสตร์
สถาบันพระบรมราชชนก (พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๕๙)

ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี / เป้าหมายการพัฒนาท่ีย่ังยืน (SDGs)

ยุทธศาสตร์ / เป้าหมายการพัฒนาประเทศ

แผนปฏริ ปู ประเทศ / (รา ง) แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหง ชาติ ฉบับที่ ๑๓
/ แผนการศึกษาแหง ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๕

/ Thailand ๔.๐ / พระราชบญั ญตั ิการอุดมศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๒ / นโยบายรฐั บาล

ยุทธศาสตร์ / เป้าหมายกระทรวงสาธารณสุข

๑.) ดานสงเสริมสุขภาพ ปองกันโรค และคุมครองผูบริโภคเปนเลิศ
๒.) ดานบริการเปนเลิศ ๓.) ดานบุคลากรเปนเลิศ
๔.) บริหารเปนเลิศดวยธรรมาภิบาล

แผนอุดมศึกษาระยะยาว ยุทธศาสตร์ / เป้าหมาย สถานการณ์ปัจจุบัน
สถาบันพระบรมราชชนก

๒.๒ เป้าหมายการพัฒนาท่ียั่งยืน
(Sustainable Development Goals: SDGs)

การจัดลําดับความสําคัญและเจตนารมณของ SDGs
เพ่ือเปนแนวทางใหพรอมรับมือกับความทาทาย และสรางอนาคต
ท่ีดีกวาเดิมสําหรับทุกคนภายในป พ.ศ. ๒๕๗๓ โดยเปาหมาย
เหลานี้มุงหวังที่จะขจัดความยากจน กระตุนการพัฒนาเศรษฐกิจ
ลดความเหล่ือมลํ้า ปกปองสิ่งแวดลอม จัดการรับมือกับ
การเปลยี่ นแปลงสภาพอากาศในขณะเดยี วกนั สง เสรมิ ธรรมาภบิ าล
ขับเคลื่อนสันติภาพ และความม่ันคงปลอดภัย เกือบท่ัวทุกประเทศ และภาคสวนตาง ๆ รวมถึงระดับอุดมศึกษา
เปนกลไกท่ีสําคัญในการมีสวนรวมของเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) มหาวิทยาลัยมีบทบาทสําคัญอยางมากใน
การสรางองคความรู ชี้นําแนวทางและสรางนวัตกรรมเพื่อสนับสนุนเปาหมายการพัฒนาท่ียั่งยืน หัวใจหลัก
ของเปาหมายการพัฒนาท่ีย่ังยืนประกอบดวย ๑๗ เปาหมายหลักโดยมี ๑๖๙ เปาหมายยอย สําหรับการขับเคลื่อน
ของสถาบัน สามารถตอบสนองเปาหมายการพัฒนาท่ียั่งยืนภายใต ๓ เปาหมายไดแก

๒๐

แผนยุทธศาสตรสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙

เปาหมายท่ี ๓ มีสุขภาพและความเปนอยูท่ีดี
เปาหมายที่ ๔ การศึกษาที่เทาเทียม
เปาหมายท่ี ๑๗ ความรวมมือเพ่ือการพัฒนาท่ียั่งยืน

๒.๓ แผนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐)

ยุทธศาสตรชาติเปนแผนแมบทหลักในการพัฒนาประเทศ
ท่สี ว นราชการและหนวยงานตาง ๆ ตอ งใชเ ปนแนวทางในการจัดทาํ
แผนยทุ ธศาสตรก ารพฒั นาเพอ่ื ใหบ รรลวุ สิ ยั ทศั น ประเทศมคี วามมน่ั คง
ม่ังคั่ง ย่ังยืน เปนประเทศพัฒนาแลวดวยการพัฒนาตามปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง นําไปสูการพัฒนาใหคนไทยมีความสุข
และตอบสนองตอการบรรลุซึ่งผลประโยชนของชาติ ในการท่ีจะ
พัฒนาคุณภาพชีวิต สรางรายไดระดับสูง เปนประเทศพัฒนาแลว
และสรา งความสขุ ของคนไทย สงั คมมคี วามมนั่ คง เสมอภาคและเปน ธรรม ประเทศสามารถแขง ขนั ไดใ นระบบเศรษฐกจิ
ประกอบดวย ๖ ยุทธศาสตรหลัก ดังน้ี
ยทุ ธศาสตรท ่ี ๑ ดานความม่ันคง มีเปาหมายการพัฒนาท่ีสําคัญ คือ ประเทศชาติม่ันคง ประชาชน
มีความสุข เนนการบริหารจัดการสภาวะแวดลอมของประเทศใหมีความม่ันคง ปลอดภัย เอกราช อธิปไตย
และมีความสงบเรียบรอยในทุกระดับ ตั้งแตระดับชาติ สังคม ชุมชน มุงเนนการพัฒนาคน เคร่ืองมือ เทคโนโลยี
และระบบฐานขอมูลขนาดใหญใหมีความพรอมสามารถรับมือกับภัยคุกคามและภัยพิบัติ ไดทุกรูปแบบ และทุกระดับ
ความรุนแรง ควบคไู ปกบั การปอ งกันและแกไขปญหาดา นความม่ันคงท่ีมีอยู ในปจ จบุ ัน และทีอ่ าจจะเกดิ ขึ้นในอนาคต
ใชกลไกการแกไขปญหาแบบบูรณาการท้ังกับสวนราชการ ภาคเอกชน ประชาสังคม และองคกรท่ีไมใชรัฐ รวมถึง
ประเทศเพอื่ นบา น และมติ รประเทศทวั่ โลกบนพนื้ ฐานของหลกั ธรรมาภบิ าล เพอื่ เออื้ อาํ นวยประโยชนต อ การดาํ เนนิ การ
ของยุทธศาสตรชาติดานอื่น ๆ ใหสามารถขับเคล่ือนไปไดตามทิศทางและเปาหมายท่ีกําหนด
ยทุ ธศาสตรท ่ี ๒ ดานการสรางความสามารถในการแขงขัน มีเปาหมายการพัฒนาที่มุงเนน การยกระดับ
ศักยภาพของประเทศในหลากหลายมิติ บนพ้ืนฐานแนวคิด ๓ ประการ ไดแก (๑) “ตอยอดอดีต” โดยมองกลับ
ไปท่ีรากเหงาทางเศรษฐกิจ อัตลักษณ วัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิต และจุดเดนทางทรัพยากร ธรรมชาติท่ีหลากหลาย
รวมท้ังความไดเ ปรยี บเชิงเปรยี บเทยี บของประเทศในดา นอนื่ ๆ นํามาประยุกต ผสมผสานกบั เทคโนโลยแี ละนวัตกรรม
เพ่ือใหสอดรับกับบริบทของเศรษฐกิจและสังคมโลกสมัยใหม (๒) “ปรับปจจุบัน” เพ่ือปูทางสูอนาคต ผานการพัฒนา
โครงสรางพ้ืนฐานของประเทศในมิติตาง ๆ ทั้งโครงขาย ระบบคมนาคมและขนสง โครงสรางพ้ืนฐานวิทยาศาสตร
เทคโนโลยี และดิจิทัล และการปรับสภาพแวดลอม ใหเอื้อตอการพัฒนาอุตสาหกรรมและบริการอนาคต
และ (๓) “สรา งคณุ คา ใหมใ นอนาคต” ดว ยการเพม่ิ ศกั ยภาพของผปู ระกอบการ พฒั นาคนรนุ ใหม รวมถงึ ปรบั รปู แบบธรุ กจิ
เพื่อตอบสนองตอความตองการของตลาดผสมผสานกับยุทธศาสตรที่รองรับอนาคต บนพื้นฐานของการตอยอดอดีต
และปรับปจจุบัน พรอมท้ังการสงเสริมและสนับสนุนจากภาครัฐใหประเทศไทยสามารถสรางฐานรายได
และการจางงานใหม ขยายโอกาส ทางการคา และการลงทุนในเวทีโลก ควบคูไปกับการยกระดับรายได
และการกินดีอยูดี รวมถึงการเพ่ิมข้ึนของคนชั้นกลาง และลดความเหลื่อมลํ้าของคนในประเทศไดในคราวเดียวกัน

๒๑

แผนยุทธศาสตรสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙

ยทุ ธศาสตรท ่ี ๓ ดานการพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพทรัพยากรมนุษย มีเปาหมาย การพัฒนาท่ีสําคัญ
เพื่อพัฒนาคนในทุกมิติและในทุกชวงวัยใหเปนคนดีเกง และมีคุณภาพ โดยคนไทยมีความพรอมทั้งกาย ใจ สติปญญา
มีพัฒนาการที่ดีรอบดานและมีสุขภาวะที่ดีในทุกชวงวัย มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบตอสังคมและผูอื่น มัธยัสถอดออม
โอบออมอารีมีวินัย รักษาศีลธรรม และเปนพลเมืองดีของชาติมีหลักคิดท่ีถูกตองมีทักษะท่ีจําเปนในศตวรรษที่ ๒๑
มีทักษะส่ือสาร ภาษาอังกฤษและภาษาที่สาม และอนุรักษภาษาทองถิ่น มีนิสัยรักการเรียนรู และการพัฒนาตนเอง
อยางตอเน่ืองตลอดชีวิต สูการเปนคนไทยท่ีมีทักษะสูง เปนนวัตกร นักคิด ผูประกอบการ เกษตรกรยุคใหม และอื่น ๆ
โดยมีสัมมาชีพตามความถนัดของตนเอง

ยทุ ธศาสตรท ี่ ๔ ดานการสรางโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม มีเปาหมาย การพัฒนา ท่ีใหความ
สําคัญกับการดึงเอาพลังของภาคสวนตาง ๆ ทั้งภาคเอกชน ประชาสังคม ชุมชน ทองถ่ิน มารวมขับเคล่ือน
โดยการสนบั สนนุ การรวมตวั ของประชาชนในการรว มคดิ รว มทาํ เพอื่ สว นรวม การกระจายอาํ นาจและความรบั ผดิ ชอบ
ไปสูกลไกบริหารราชการแผนดินในระดับทองถิ่น การเสริมสรางความเขมแข็งของชุมชนในการจัดการตนเอง
และการเตรียมความพรอมของประชากรไทย ท้ังในมิติสุขภาพ เศรษฐกิจ สังคม และสภาพแวดลอมใหเปนประชากร
ที่มีคุณภาพ สามารถพ่ึงตนเองและทําประโยชนแกครอบครัว ชุมชน และสังคมใหนานท่ีสุด โดยรัฐใหหลักประกัน
การเขาถึงบริการ และสวัสดิการที่มีคุณภาพอยางเปนธรรมและท่ัวถึง

ยทุ ธศาสตรท ่ี ๕ ดานการสรางการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม มีเปาหมายการพัฒนา
ท่ีสําคัญเพื่อนําไปสูการบรรลุเปาหมายการพัฒนาที่ย่ังยืนในทุกมิติ ทั้งดานสังคม เศรษฐกิจสิ่งแวดลอมธรรมาภิบาล
และความเปนหุนสวนความรวมมือระหวางกันทั้งภายในและภายนอกประเทศอยางบูรณาการใชพื้นท่ีเปนตัวตั้ง
ในการกําหนดกลยุทธและแผนงาน และการใหทุกฝายท่ีเก่ียวของไดเขามามีสวนรวม ในแบบทางตรงใหมากท่ีสุด
เทาที่จะเปนไปไดโดยเปนการดําเนินการบนพื้นฐานการเติบโตรวมกันไมวาจะเปนทางเศรษฐกิจ ส่ิงแวดลอม
และคณุ ภาพชวี ติ โดยใหค วามสาํ คญั กบั การสรา งสมดลุ ทงั้ ๓ ดา น อนั จะนาํ ไปสคู วามยงั่ ยนื เพอื่ คนรนุ ตอ ไปอยา งแทจ รงิ

ยทุ ธศาสตรท ี่ ๖ ดานการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ มีเปาหมายการพัฒนา
ที่สําคัญเพื่อปรับเปลี่ยนภาครัฐที่ยึดหลัก “ภาครัฐของประชาชนเพื่อประชาชน และประโยชนสวนรวม” โดยภาครัฐ
ตอ งมขี นาดทเ่ี หมาะสมกบั บทบาทภารกจิ แยกแยะบทบาท หนว ยงานของรฐั ทท่ี าํ หนา ทใ่ี นการกาํ กบั หรอื ในการใหบ รกิ าร
ในระบบเศรษฐกิจที่มีการแขงขัน มีสมรรถนะสูง ยึดหลักธรรมาภิบาล ปรับวัฒนธรรมการทํางานใหมุงผลสัมฤทธ์ิ
และผลประโยชนสวนรวม มีความทันสมัย และพรอมท่ีจะปรับตัวใหทันตอการเปล่ียนแปลงของโลกอยูตลอดเวลา
โดยเฉพาะอยางย่ิง การนํานวัตกรรม เทคโนโลยีขอมูลขนาดใหญ ระบบการทํางานท่ีเปนดิจิทัลเขามาประยุกตใช
อยางคุมคา และปฏิบัติงานเทียบไดกับมาตรฐานสากล รวมทั้งมีลักษณะเปดกวาง เชื่อมโยงถึงกันและเปดโอกาสให
ทุกภาคสวนเขามามีสวนรวมเพื่อตอบสนองความตองการของประชาชนไดอยางสะดวก รวดเร็ว และ โปรงใส
โดยทุกภาคสวนในสังคมตองรวมกันปลูกฝงคานิยม ความซ่ือสัตยสุจริต ความมัธยัสถและสราง จิตสํานึกในการปฏิเสธ
ไมยอมรับการทุจริตประพฤติมิชอบอยางส้ินเชิง นอกจากนั้น กฎหมายตองมีความชัดเจน มีเพียงเทาท่ีจําเปน
มีความทันสมัย มีความเปนสากล มีประสิทธิภาพ และนําไปสูการลดความเหลื่อมล้ําและเอื้อตอการพัฒนา
โดยกระบวนการยุติธรรมมีการบริหารท่ีมีประสิทธิภาพ เปนธรรม ไมเลือกปฏิบัติและการอํานวยความยุติธรรม
ตามหลักนิติธรรม

๒๒

แผนยุทธศาสตรสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙

๒.๔ (ร่าง) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ฉบับที่ ๑๓ (พ.ศ. ๒๕๖๖ – ๒๕๗๐)

ไดกําหนดเปาหมายหลักจํานวน ๕ ประการ ประกอบดวย

๑. การปรับโครงสรางการผลิตสูเศรษฐกิจฐานนวัตกรรม โดยยกระดับขีดความสามารถในการแขงขัน
ของภาคการผลิตและบริการสําคัญใหสูงขึ้น และสามารถตอบโจทยพัฒนาการของเทคโนโลยีและสังคมยุคใหม
และเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม เช่ือมโยงเศรษฐกิจทองถ่ินและผูประกอบการรายยอยกับหวงโซมูลคาของภาคการผลิต
และบริการเปาหมาย รวมถึงพัฒนาระบบนิเวศท่ีสงเสริมการคาการลงทุนและนวัตกรรม

๒. การพัฒนาคนสําหรับโลกยุคใหม โดยพัฒนาใหคนไทยมีทักษะและคุณลักษณะท่ีเหมาะสมกับโลกยุคใหม
ทั้งทักษะในดานความรู ทักษะทางพฤติกรรม และคุณลักษณะตามบรรทัดฐานท่ีดีของสังคม เตรียมพรอมกําลังคน
ท่ีมีคุณภาพสอดคลองกับความตองการของตลาดแรงงาน เอื้อตอการปรับโครงสรางเศรษฐกิจไปสูภาคการผลิต
และบริการเปาหมายท่ีมีศักยภาพและผลิตภาพสูงข้ึน รวมท้ังพัฒนาหลักประกันและความคุมครองทางสังคม
เพ่ือสงเสริมความม่ันคงในชีวิต

๓. การมุงสูสังคมแหงโอกาสและความเปนธรรม โดยลดความเหล่ือมลํ้าทั้งในเชิงรายได ความม่ังคั่ง และโอกาส
ในการแขง ขนั ของภาคธรุ กจิ สนบั สนนุ ชว ยเหลอื กลมุ เปราะบางและผดู อ ยโอกาสใหม โี อกาสในการเลอ่ื นชน้ั ทางเศรษฐกจิ
และสังคม รวมถึงจัดใหมีบริการสาธารณะท่ีมีคุณภาพอยางท่ัวถึงและเทาเทียม

๔. การเปลย่ี นผา นไปสคู วามยงั่ ยนื โดยปรบั ปรงุ การใชท รพั ยากรธรรมชาตใิ นการผลติ และบรโิ ภคใหม ปี ระสทิ ธภิ าพ
และสอดคลอ งกบั ขดี ความสามารถในการรองรบั ของระบบนเิ วศ แกไ ขปญ หามลพษิ สาํ คญั ดว ยวธิ กี ารทย่ี งั่ ยนื โดยเฉพาะ
มลพิษทางอากาศ ขยะ และมลพิษทางนํ้า และลดการปลอยกาซเรือนกระจก เพื่อมุงสูความเปนกลางทางคารบอน
(Carbon Neutrality) ภายในคร่ึงแรกของศตวรรษน้ี

๕. การเสริมสรางความสามารถของประเทศในการรับมือกับการเปล่ียนแปลงและความเสี่ยงภายใตบริบท
โลกใหม โดยการสรางความพรอมในการรับมือและแสวงหาโอกาสจากการเปนสังคมสูงวัย การเปล่ียนแปลง
สภาพภูมิอากาศ ภัยโรคระบาด และภัยคุกคามทางไซเบอร พัฒนาโครงสรางพื้นฐานและกลไกทางสถาบัน
ทเ่ี ออื้ ตอ การเปลย่ี นแปลงสดู จิ ทิ ลั รวมทง้ั ปรบั ปรงุ โครงสรา งและระบบการบรหิ ารงานของภาครฐั ใหส ามารถตอบสนอง
ตอ การเปลีย่ นแปลงของบรบิ ททางเศรษฐกจิ สังคม และเทคโนโลยีไดอ ยา งทันเวลา มปี ระสทิ ธภิ าพ และมธี รรมาภิบาล

ไดกําหนดหมุดหมายการพัฒนา จํานวน ๑๓ ประการ แบงออกไดเปน ๔ มิติ ดังน้ี

๑. มิติภาคการผลิตและบริการเปาหมาย

หมุดหมายท่ี ๑ ไทยเปนประเทศชั้นนําดานสินคาเกษตรและเกษตรแปรรูปมูลคาสูง
หมุดหมายท่ี ๒ ไทยเปนจุดหมายของการทองเที่ยวท่ีเนนคุณภาพและความย่ังยืน
หมุดหมายที่ ๓ ไทยเปนฐานการผลิตยานยนตไฟฟาที่สําคัญของโลก
หมุดหมายที่ ๔ ไทยเปนศูนยกลางทางการแพทยและสุขภาพมูลคาสูง
หมุดหมายท่ี ๕ ไทยเปนประตูการคาการลงทุนและยุทธศาสตรทางโลจิสติกสที่สําคัญของภูมิภาค
หมุดหมายท่ี ๖ ไทยเปนฐานการผลิตอุปกรณอิเล็กทรอนิกสอัจฉริยะท่ีสําคัญของโลก

๒. มิติโอกาสและความเสมอภาคทางเศรษฐกิจและสังคม
หมุดหมายท่ี ๗ ไทยมีวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมที่เขมแข็ง มีศักยภาพสูง และสามารถแขงขันได
หมุดหมายที่ ๘ ไทยมีพื้นท่ีและเมืองอัจฉริยะที่นาอยู ปลอดภัย เติบโตไดอยางยั่งยืน
หมุดหมายท่ี ๙ ไทยมีความยากจนขามรุนลดลง และคนไทยทุกคนมีความคุมครองทางสังคม ที่เพียงพอ
เหมาะสม
๒๓

แผนยุทธศาสตรสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙

๓. มิติความยั่งยืนของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
หมุดหมายที่ ๑๐ ไทยมีเศรษฐกิจหมุนเวียนและสังคมคารบอนตํ่า
หมุดหมายท่ี ๑๑ ไทยสามารถลดความเส่ียงและผลกระทบจากภัยธรรมชาติและการเปล่ียนแปลง

สภาพภูมิอากาศ
๔. มิติปจจัยผลักดันการพลิกโฉมประเทศ
หมุดหมายที่ ๑๒ ไทยมีกําลังคนสมรรถนะสูง มุงเรียนรูอยางตอเนื่อง ตอบโจทยการพัฒนา แหงอนาคต
หมุดหมายที่ ๑๓ ไทยมีภาครัฐที่ทันสมัย มีประสิทธิภาพ และตอบโจทยประชาชน

๒.๕ แผนการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙)

มีวิสัยทัศน คือ “คนไทยทุกคนไดรับการศึกษาและเรียนรูตลอดชีวิตอยางมีคุณภาพ ดํารงชีวิตอยางเปนสุข
สอดคลอ งกบั หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และการเปลีย่ นแปลงของโลก ศตวรรษที่ ๒๑” มี ๖ ยุทธศาสตร ดงั นี้

๑) การจัดการศึกษาเพื่อความม่ันคงของสังคมและประเทศชาติ มีเปาหมาย คือ คนทุกชวงวัยมีความรัก
สถาบันหลักของชาติ และยึดมั่นการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข คนทุกชวงวัย
ในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใตและพื้นที่พิเศษไดรับการศึกษาและเรียนรูอยางมีคุณภาพ
และคนทุกชวงวัยไดรับการศึกษา การดูแล และปองกันจากภัยคุกคามในชีวิตรูปแบบใหม

๒) การผลิตและพัฒนากําลังคน การวิจัยและนวัตกรรมเพ่ือสรางขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศ
มีเปาหมายคือ กําลังคนมีทักษะท่ีสําคัญจําเปนและมีสมรรถนะตรงตามความตองการของตลาดงานและการพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมของประเทศ สถาบันการศึกษาและหนวยงานที่จัดการศึกษา ผลิตบัณฑิตที่มีความเชี่ยวชาญ
และเปนเลิศเฉพาะดาน และการวิจัยและพัฒนาเพื่อสรางองคความรูและนวัตกรรมท่ีสรางผลผลิตและมูลคาเพิ่ม
ทางเศรษฐกิจ

๓) การพัฒนาศักยภาพคนทุกชวงวัยและการสรางสังคมแหงการเรียนรู มีเปาหมาย คือ ผูเรียนมีทักษะ
และคุณลักษณะพื้นฐานของพลเมืองไทยและทักษะและคุณลักษณะที่จําเปนในศตวรรษที่ ๒๑ คนทุกชวงวัยมีทักษะ
ความรูความสามารถและสมรรถนะตามมาตรฐานการศึกษาและ มาตรฐานวิชาชีพและพัฒนาคุณภาพชีวิตได
ตามศักยภาพ สถานศึกษาทุกระดับการศึกษาสามารถจัดกิจกรรม/กระบวนการเรียนรูตามหลักสูตรอยางมีคุณภาพ
และมาตรฐานแหลงเรียนรู สื่อตําราเรียน นวัตกรรม และส่ือการเรียนรูมีคุณภาพและมาตรฐานและประชาชน
สามารถเขาถึงไดโดยไมจํากัดเวลาและสถานที่ ระบบและกลไกการวัดการติดตามและประเมินผลมีประสิทธิภาพ
ระบบการผลิตครู อาจารย และบุคลากรทางการศึกษาไดมาตรฐานระดับสากล และครู อาจารย และบุคลากร
ทางการศึกษาไดรับการพัฒนาสมรรถนะตามมาตรฐาน

๔) การสรางโอกาสความเสมอภาคและความเทาเทียมทางการศึกษา มีเปาหมาย คือ ผูเรียนทุกคน
ไดรับโอกาสและความเสมอภาคในการเขาถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ การเพ่ิมโอกาสทางการศึกษาผานเทคโนโลยีดิจิทัล
เพ่ือการศึกษาสําหรับคนทุกชวงวัย และระบบขอมูลรายบุคคลและสารสนเทศทางการศึกษาท่ีครอบคลุม ถูกตอง
เปนปจจุบัน เพ่ือการวางแผน การบริหารจัดการศึกษา การติดตามประเมินและรายงานผล

๕) การจัดการ ศึกษาเพ่ือสรางเสริมคุณภาพชีวิตท่ีเปนมิตรกับส่ิงแวดลอม มีเปาหมาย คือ คนทุกชวงวัย
มีจิตสํานึกรักษส่ิงแวดลอม มีคุณธรรม จริยธรรม และนําแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสูการปฏิบัติ
หลักสูตร แหลงเรียนรู และสื่อการเรียนรูท่ีสงเสริมคุณภาพชีวิตท่ีเปนมิตรกับส่ิงแวดลอม คุณธรรม จริยธรรม
และการนําแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสูการปฏิบัติ และการวิจัยเพ่ือพัฒนาองคความรู
และนวัตกรรมดานการสรางเสริมคุณภาพชีวิตที่เปนมิตรกับส่ิงแวดลอม

๒๔

แผนยุทธศาสตรสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙

๖) การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษามีเปาหมาย คือ โครงสราง บทบาทและระบบ
การบริหารจัดการการศึกษามีความคลองตัว ชัดเจน และสามารถตรวจสอบได ระบบการบริหารจัดการศึกษา
มปี ระสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ลสง ผลตอ คณุ ภาพและมาตรฐานการศกึ ษาทกุ ภาคสว นของสงั คมมสี ว นรว มในการจดั การ
ศกึ ษาทต่ี อบสนองความตอ งการของประชาชนและพนื้ ท่ี กฎหมายและรปู แบบการบรหิ ารจดั การทรพั ยากรทางการศกึ ษา
รองรับลักษณะที่แตกตางกันของผูเรียน สถานศึกษา และความตองการกําลังแรงงานของประเทศและระบบบริหาร
งานบุคคลของ ครู อาจารย และ บุคลากรทางการศึกษา มีความเปนธรรมสรางขวัญกําลังใจ และสงเสริมใหปฏิบัติงาน
ไดอยางเต็มตามศักยภาพ

๒.๖ แผนอุดมศึกษาระยะยาว ๑๕ ปี ฉบับท่ี ๓
(พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๔)

แผนแมบ ททกี่ าํ หนดกรอบการพฒั นาอดุ มศกึ ษาในภาพรวมมเี ปา หมายคอื การยกระดบั คณุ ภาพอดุ มศกึ ษาไทย
เพื่อผลิตและพัฒนาบุคลากรท่ีมีคุณภาพสามารถปรับตัวสําหรับงานที่เกิดข้ึนตลอดชีวิต พัฒนาศักยภาพอุดมศึกษา
ในการสรางความรูและนวัตกรรม เพื่อเพ่ิมขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศในโลกาภิวัตนสนับสนุน
การพัฒนาท่ียั่งยืนของทองถิ่นไทย โดยใชกลไกของธรรมาภิบาลการเงินการกํากับมาตรฐานและเครือขาย
อุดมศึกษาบนพื้นฐานของเสรีภาพทางวิชาการ ความหลากหลายและเอกภาพเชิงระบบ ประกอบดวย ๔ ยุทธศาสตร

ยุทธศาสตรท่ี ๑ Reorientation of Higher Education System การกําหนด Core Competencies
ของระบบอุดมศึกษา เพ่ือการพัฒนาประเทศสูอนาคต

• การสรางบัณฑิตที่มีคุณภาพ
• การพัฒนาและการรักษาอาจารยที่มีคุณภาพ เปนนักการศึกษามืออาชีพ
• การสรางสรรคนวัตกรรม เทคโนโลยี และการวิจัย
• Digital Education
• Education Links
• Industry Links
• Global Benchmarking/Local Priority
• Assessment and Quality Assurance
• การเรียนรูในศตวรรษท่ี ๒๑
ยุทธศาสตรท่ี ๒ Reprofiling of Higher Education Institutions การปรบั ยทุ ธศาสตรข องสถาบนั อดุ มศกึ ษา
ที่เนนจุดเดน ของแตละสถาบันเพ่ือการพัฒนาประเทศ
• Self Improvement / Self Development Process
• การสนับสนุนเพ่ือการพัฒนาท่ีมั่นคงและย่ังยืน
• การจัดกลุม จัดประเภทตามอัตลักษณและระดับของพัฒนาการของสถาบัน
ยุทธศาสตรที่ ๓ Restructuring of Higher Education System การปรับโครงสรางของระบบอุดมศึกษา
เพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพ ของระบบอุดมศึกษา
• โครงสรางการผลิตกําลังคนที่เหมาะสม สอดคลองกับการพัฒนาประเทศ
• โครงสรางการวิจัย เทคโนโลยีและนวัตกรรม
• โครงสรางบุคลากร การสอน การวิจัย บริการวิชาการ

๒๕

แผนยุทธศาสตรสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙

• โครงสรางตนทุน และความสูญเปลาทางการศึกษา
• บทบาทของสถาบันอุดมศึกษาเอกชนใหมีสวนรวมท่ีสําคัญ ในการพัฒนาประเทศ
ยุทธศาสตรท่ี 4 Reorganization of Higher Education System การจัดองคการใหมในระบบอุดมศึกษา
เพ่ือใหเกิดกลไกการกําหนด นโยบาย การสนับสนุน การติดตามตรวจสอบ ที่มีประสิทธิภาพ (Regulator and
Providers) และตอบสนองความตองการในการพัฒนาประเทศ
• กลไกการวางแผน และการจัดสรรทรัพยากร
• กลไกการพัฒนาระบบขอมูลสารสนเทศเพื่อการวางแผน การประเมินผลและการประกันคุณภาพ
• ระบบการวิจัยนโยบายอุดมศึกษา
• ระบบการประเมินและการประกันคุณภาพ
• ระบบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาตอในระดับอุดมศึกษา (Admission System)

๒.๗ การพัฒนาสู่ประเทศไทย ๔.๐
(Thailand ๔.๐) ด้านสาธารณสุข

ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ไ ด  มี ก า ร พั ฒ น า ท า ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ
และอุตสาหกรรมมาอยางตอเนื่อง โดยในระยะแรก
มีการใชโมเดลประเทศไทย ๑.๐ ที่เนนการขับเคล่ือน
ภาคเศรษฐกิจของประเทศไทยดวยเกษตรกรรม มีการ
สงออกสินคาการเกษตรไปยังตางประเทศ ระยะที่สอง
ประเทศไทยมีการใชโมเดลประเทศไทย ๒.๐ ซ่ึงเขาสู
ยคุ ของอตุ สาหกรรมเบา และตามมาดว ยโมเดลประเทศไทย
๓.๐ ที่เนนการพัฒนาอุตสาหกรรมหนัก เนนการผลิต
เพ่ือการสงออกมากขึ้น อยางไรก็ตามโมเดลประเทศไทย ๓.๐ ที่เปนอยูในปจจุบันยังไมสามารถทําใหประเทศไทย
หลุดพนกับดักจากการเปน ๑) เปนประเทศท่ีมีรายไดขนาดปานกลาง (Middle Income Trap) ๒) ความเหล่ือมล้ํา
ของการกระจายรายได (Inequality Trap) และ ๓) ความไมสมดุลของการพัฒนา (Imbalance Trap) ดังนั้น
โมเดลประเทศไทย ๔.๐ จึงเปนเครื่องมือสําคัญในการนําประเทศใหกาวไปสูการเปนประเทศในโลกท่ีหนึ่งท่ีมี
ความม่ันคั่ง และย่ังยืน พัฒนาจากประเทศท่ีมีรายไดขนาดปานกลาง เปนประเทศท่ีมีรายไดสูง โดยจะตองมี
การปรับเปล่ียน โครงสรางเศรษฐกิจจากเดิมท่ีขับเคล่ือนดวยการพัฒนาประสิทธิภาพในการผลิตอุตสาหกรรม
ไปสูเศรษฐกิจท่ี ขับเคล่ือนดวยเทคโนโลยีและนวัตกรรม

๒.๘ พระราชบัญญัติการอุดมศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๒

กฎหมายการอุดมศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๒ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๖๒ มีผลใช
บังคับตั้งแตวันท่ี ๒ พฤษภาคม ๒๕๖๒ จํานวนรวม ๘๐ มาตรา โดยเหตุผลและความสําคัญ คือ ใหสถาบันอุดมศึกษา
มีบทบาทสําคัญ ในการเสริมสรางพ้ืนฐานของการพัฒนากําลังคนของประเทศ และการขับเคลื่อนประเทศไทย
ใหมีความเจริญกาวหนา ตามนโยบายของรัฐบาล อยางมีคุณภาพ และมาตรฐานทัดเทียมนานาอารยประเทศ

๒๖

แผนยุทธศาสตรสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙

มาตรา ๕ ไดบัญญัติไววา การจัดการอุดมศึกษาตองเปนไปเพ่ือบรรลุวัตถุประสงค ดังตอไปน้ี
(๑) พัฒนาทรัพยากรบุคคลใหมีความเช่ียวชาญตามสาขาวิชาการหรือวิชาชีพท่ีตนถนัด สามารถตอบสนอง
ตอความตองการของประเทศและสรางขีดความสามารถในการแขงขันในระดับโลกได
(๒) พัฒนาบุคคลใหเปนมนุษยท่ีสมบูรณทั้งรางกาย จิตใจ สติปญญา ความรู และทักษะ ที่จําเปน เปนคนดี
มีวินัย ภูมิใจในชาติ เขาใจสังคมและวัฒนธรรมในการดํารงชีวิต สามารถปรับเปลี่ยนตนเองเพื่อรองรับสังคมโลก
ที่จะเปลี่ยนแปลงในอนาคต มีความรับผิดชอบตอครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ รวมกันแกปญหาสังคม
และสามารถอยูรวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุข
มาตรา ๖ ไดบัญญัติไววา ใหสถาบันอุดมศึกษาพัฒนาความรู จัดการเรียนการสอน การวิจัยและการสราง
นวัตกรรม ตลอดจนการปฏิบัติหนาท่ีอ่ืนใหสอดคลองกับมาตรา ๕
มาตรา ๗ ไดบัญญัติไววา รัฐพึงจัดสรรงบประมาณและทรัพยากรทางการศึกษาใหเหมาะสมสอดคลอง
กับความตองการและความจําเปนของสถาบันอุดมศึกษา และสอดคลองกับยุทธศาสตรชาติ แผนแมบท แผนการ
ปฏิรูปประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ แผนการศึกษาแหงชาติ และแผนดานการอุดมศึกษา
นอกจากงบประมาณและทรัพยากรทางการศึกษาตามวรรคหน่ึง สถาบันอุดมศึกษาพึงจัดสรร งบประมาณ
เงินรายไดของสถาบันอุดมศึกษานั้นเพ่ือการบริหารงานสถาบันอุดมศึกษาอยางมีประสิทธิภาพ รวมถึงการพัฒนา
คุณภาพของการผลิตบัณฑิตและการวิจัยและนวัตกรรม
มาตรา ๙ การจัดการอุดมศึกษาตองเปนไปตามหลักการ ดังตอไปน้ี
(๑) หลักความรับผิดชอบตอสังคม
(๒) หลักเสรีภาพทางวิชาการ
(๓) หลักความเปนอิสระ
(๔) หลักความเสมอภาค
(๕) หลักธรรมาภิบาล
(๖) หลักการอื่นตามท่ีกําหนดในพระราชกฤษฎีกา

๒.๙ นโยบายรัฐบาล (พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา)

นโยบายของคณะรัฐมนตรี พลเอกประยุทธ จันทรโอชา นายกรัฐมนตรีแถลงตอสภานิติบัญญัติแหงชาติ
เม่ือวันที่ ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๖๒

๑. การปกปองและเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย ๒๗
๒. การสรางความมั่นคงและความปลอดภัยของประเทศ และความสงบสุขของประเทศ
๓. การทะนุบํารุงศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม
๔. การสรางบทบาทของไทยในเวทีโลก
๕. การพัฒนาเศรษฐกิจและความสามารถในการแขงขันของไทย
๖. การพัฒนาพ้ืนที่เศรษฐกิจและการกระจายความเจริญสูภูมิภาค
๗. การพัฒนาสรางความเขมแข็งจากฐานราก
๘. การปฏิรูปกระบวนการเรียนรูและการพัฒนาศักยภาพของคนไทยทุกชวงวัย
๙. การพัฒนาระบบสาธารณสุขและหลักประกันทางสังคม
๑๐. การฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติและการรักษาส่ิงแวดลอมเพ่ือสรางการเติบโตอยางยั่งยืน
๑๑. การปฏิรูปการบริหารจัดการภาครัฐ
๑๒. การปองกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ และกระบวนการยุติธรรม

แผนยุทธศาสตรสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙

๒.๑๐ นโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข

นายอนทุ นิ ชาญวรี กลู รองนายกรฐั มนตรแี ละรฐั มนตรวี า การกระทรวงสาธารณสขุ ไดม อบนโยบายการดาํ เนนิ งาน
กระทรวงสาธารณสุขประจําปงบประมาณ ๒๕๖๕ แกผูบริหารกระทรวงสาธารณสุขสวนกลาง และภูมิภาค
เม่ือวันจันทรที่ ๑๘ ตุลาคม ๒๕๖๔ ณ หองประชุมชัยนาทนเรนทร ช้ัน ๒ อาคาร ๑ ตึกสํานักงานปลัดกระทรวง
สาธารณสุข ผานระบบออนไลน โดยขอใหบุคลากรทุกคนยึดมั่นแนวนโยบายของรัฐบาลและการสนองโครงการ
พระราชดําริทางดานสาธารณสุข ในพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว และพระบรมวงศทุกพระองค เปนภารกิจลําดับแรก
สวนการขับเคล่ือนและพัฒนาระบบบริการสุขภาพใหเขมแข็ง นําองคความรูดานสาธารณสุข สรางชาติ ฟนฟูเศรษฐกิจ
ของประเทศดว ยสาธารณสขุ วถิ ใี หม เพอ่ื ใหบ รรลวุ ตั ถปุ ระสงค “ประชาชน แขง็ แรง เศรษฐกจิ ไทยแขง็ แรง ประเทศไทย
แข็งแรง” มี ๙ ประเด็นสําคัญ ไดแก

๑. ใชมาตรการสาธารณสุขขับเคลื่อนและฟนฟูเศรษฐกิจของประเทศไทยทุกมิติ เพื่อเตรียมการเปดประเทศ
รับนักทองเที่ยวจากตางประเทศ โดยยึดความปลอดภัยของคนไทยเปนสําคัญ

๒. พฒั นาศกั ยภาพสถานพยาบาลของรฐั ใหร องรบั สถานการณว กิ ฤตโรคระบาด โรคอบุ ตั ใิ หม และการเปลย่ี นแปลง
ดานตาง ๆ

๓. พัฒนาและเสริมสรางศักยภาพการแพทยปฐมภูมิทั้งเขตชุมชนและเขตเมือง จัดต้ังหนวยบริการปฐมภูมิ
และเครอื ขา ยหนว ยบรกิ ารปฐมภมู ิ ๓,๐๐๐ ทมี จงั หวดั ละ ๑ อาํ เภอ สนบั สนนุ ใหค นไทยทกุ ครอบครวั มหี มอประจาํ ตวั
ครบ ๓ คน ๓๐ ลานคน

๔. พัฒนาและเสริมศักยภาพ รพ.สต. เปนศูนยการสาธารณสุขประจําตําบล ใหบริการสงเสริม ปองกัน รักษา
ฟนฟู และคุมครองผูบริโภค

๕. บูรณาการดูแลสุขภาพผูสูงอายุแบบองครวมครบดาน ทั้งสมอง จิตใจ ฟน ตา หู และหัวใจ
๖. พัฒนาและเสริมสรางศักยภาพงานบริการ ดวยการตอยอด ๓๐ บาทรักษาทุกท่ี เขารับบริการโดยไมตองมี
ใบสงตัว เพ่ืออํานวยความสะดวก ลดความยุงยากดานเอกสารและรายจายของประชาชน
๗. พัฒนาและเสริมสรางศักยภาพการรักษามะเร็งทุกที่ ท้ังการผาตัด เคมีบําบัด และรังสีรักษา
๘. พัฒนาพชื สมนุ ไพร กญั ชา กญั ชง กระทอ ม และภมู ปิ ญ ญาไทย เพอื่ เพมิ่ มลู คา ผลติ ภณั ฑ สรา งงานสรา งอาชพี
และสรางรายไดแกประชาชน
๙. พฒั นาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ (ICT) เปน ศนู ยก ลางขอ มลู สขุ ภาพประชาชน เพอ่ื เขา ถงึ บรกิ ารสาธารณสขุ
สวนบุคคลอยางรวดเร็ว

๒.๑๑ สถานการณ์ปัจจุบันและการเปลี่ยนแปลง

๑. ความกาวหนาดานเทคโนโลยีสารสนเทศ และการเปล่ียนแปลงแบบกาวกระโดด กอใหเกิดการเปลี่ยนแปลง
ดานเทคโนโลยีอยางชัดเจน นอกจากจะสงผลกระทบตอระบบเศรษฐกิจแลว ยังสงผลตอการดํารงชีวิตของประชาชน
ทวั่ โลก ทตี่ อ งเผชญิ กบั เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ในชวี ติ ประจาํ วนั มากมาย ทงั้ ดา นการเรยี น การสอน การเดนิ ทาง การใชข อ มลู
ขาวสารเพ่ือการบริหารและการจัดการทํางาน

๒. การเขาสูสังคมสูงวัย ประเทศไทยกําลังเขาสูสังคมผูสูงอายุอยางสมบูรณ (Aged Society) จากการ
คาดประมาณประชากรของไทยป ๒๕๕๓ – ๒๕๘๒ ของสาํ นกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาติ
(สศช.) กลุมผูสูงอายุท่ีมีแนวโนมเพ่ิมากข้ึน ทําใหมีผูปวยเรื้อรังตางๆ เพ่ิมมากข้ึน สะทอนภาระคาใชจายดานสุขภาพ

๒๘

แผนยุทธศาสตรสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙

ขณะเดยี วกนั ผสู งู อายจุ าํ นวนมากมรี ายไดไ มเ พยี งพอตอ การยงั ชพี และสง ผลใหอ ตั ราการพงึ่ พงิ ของประชากรวยั แรงงาน
ท่ีตองแบกรับการดูแลผูสูงอายุเพิ่มข้ึน

๓. สถานการณการระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ที่มีการระบาดใหญไปท่ัวโลก
เปนการระบาดใหญ ที่มีการติดเช้ือแพรระบาดจากคนสูคนไดงาย โดยเกิดข้ึนพรอมกันในหลายพ้ืนที่ท่ัวโลก
และเกิดขึ้นหลายระลอก ใชระยะเวลานานในการควบคุมโรค สรางผลกระทบมหาศาล ซึ่งสงผลกระทบตอเศรษฐกิจ
การศึกษา การทํางานและการใชชีวิตประจําวัน

๒.๑๒ ขั้นตอนดําเนินการจัดทําแผนยุทธศาสตร์

ขน้ั ตอน กระบวนการทํางาน ระยะเวลาดําเนินการ ผลผลิต
การดําเนินงาน
เร่ิมตน – กรอบการจัดทํา
๑. ข้ันเตรียมการ คณะทาํ งานจดั ทาํ แผนยทุ ธศาสตรส ถาบนั แผนยุทธศาสตร
จัดทําแผน พระบรมราชชนก ศึกษาผลการ สถาบันพระบรม
ยุทธศาสตร ดําเนินงานตามยุทธศาสตรที่ผานมา ราชชนก
– ขอมูล
๒. จัดทํา จัดทํา (ราง) แผนยุทธศาสตร สถานการณ/
แผนยุทธศาสตร ๑. วิเคราะหความจําเปนในการจัดทํา ปจจัยภายนอก
ของสถาบัน แผนยุทธศาสตรของสถาบัน – ผลการ SWOT
๒. วิเคราะห กําหนดจุดยืนการพัฒนา Analysis
ยุทธศาสตร จัดทําแผน
๓. วิเคราะห การประเมินศักยภาพ ยุทธศาสตร - (ราง) แผน
ทางยุทธศาสตร ของสถาบัน ยทุ ธศาสตร สถาบนั
๔. การกาํ หนดทศิ ทางการพฒั นาตาม ผา นคณะกรรมการ
ศกั ยภาพและสภาพแวดลอ มภายนอก บริหารฯ
๕. การกําหนดยุทธศาสตร
๖. จัดทําแผนท่ียุทธศาสตร
๗. จดั ทาํ ความเชอื่ มโยงกลยทุ ธแ ละตวั ชว้ี ดั
การดําเนินงานภายใตยุทธศาสตร
๘. การแปลงแผนยทุ ธศาสตรสกู ารปฏิบัติ
๙. จัดทํารางการประเมินผลสําเร็จ
ของแผน (KPI Template)

๓. เสนอคณะ จัดทํา (ราง) แผนยุทธศาสตร กพรรจิคมาณรกะณาราฯ ไมเ หน็ ชอบ
กรรมการบริหาร พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙ เพ่อื เสนอขอความ
ของสถาบัน เห็นชอบตอคณะกรรมการบริหารของ เหน็ ชอบ
พระบรมราชชนก สถาบันพระบรมราชชนก

๒๙

แผนยุทธศาสตรสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙

ขัน้ ตอน กระบวนการทํางาน ระยะเวลาดําเนินการ ผลผลิต
การดาํ เนนิ งาน

จดั ทาํ รปู เลม แผนยทุ ธศาสตร จัดทํารูปเลม – รปู เลม แผน
สถาบนั พระบรมราชชนก แผนยุทธศาสตร ยทุ ธศาสตร
พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙ สถาบนั
ของสถาบัน – แผนยทุ ธศาสตร
สถาบนั
๔. เสนอสภา นําเสนอ (ราง) แผนยุทธศาสตร ไมเ หน็ ชอบ ผา นสภาสถาบนั
สถาบัน สถาบันพระบรมราชชนก
พระบรมราชชนก พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙ ตอสภาสถาบัน สภาสถาบัน – แผนยทุ ธศาสตร
พิจารณาอนุมัติ พิจารณา ไดร บั การถา ยทอด
สหู นว ยงาน
๕. ถายทอด ๑. จัดประชุมถายทอดแผนยุทธศาสตร เหน็ ชอบ ทเ่ี กย่ี วขอ ง
แผนยุทธศาสตร สูหนวยงานที่เกี่ยวของ – ผลการดาํ เนนิ งาน
สูการปฏิบัติ ๒. ประชาสัมพันธใน WEBSITE / ถายทอด ตามแผน
จัดทําแฟมประชาสัมพันธ แผนยุทธศาสตร ยทุ ธศาสตรว งรอบ
๖ เดอื น และ
สูการปฏิบัติ ๑๒ เดอื น

๖. กํากับติดตาม ๑. ติดตามผลการดําเนินงานตาม กํากับ
ผลการดาํ เนนิ งาน แผนยุทธศาสตรวงรอบ ๖ เดือน ติดตาม
ผลการดาํ เนินงาน
และ ๑๒ เดือน
๒. จัดทํารายงานผลการดําเนินงาน
วงรอบ ๖ เดือน เสนอตอคณะกรรมการ
บริหาร เพื่อพิจารณาใหขอเสนอแนะ
ในการปรับแผนยุทธศาสตรกลางป (ถามี)
๓. จัดทํารายงานผลการดําเนินงาน
วงรอบ ๑๒ เดือน เสนอตอ
คณะกรรมการบริหาร เพื่อพิจารณา
ใหขอเสนอแนะในการจัดทํา
หรือปรับแผนยุทธศาสตร (ถามี)

๓๐

แผนยุทธศาสตรสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙

ขั้นตอน กระบวนการทํางาน ระยะเวลาดําเนินการ ผลผลิต
การดาํ เนินงาน

๗. พิจารณาผล / คณะกรรมการบรหิ าร พจิ ารณา พจิ ารณา /
ใหขอเสนอแนะ ผลการดาํ เนนิ งานตามแผนยทุ ธศาสตร ใหข อ เสนอแนะ

และใหข อ เสนอแนะในการพฒั นา เผยแพร
วงรอบ ๖ เดอื น และ ๑๒ เดอื น ผลการ
๘. เผยแพร ดําเนินงาน
ผลการดาํ เนนิ งาน
และการพิจารณา
ขอเสนอแนะ
ของคณะกรรมการ
บริหาร

สิ้นสุด

๓๑

แผนยุทธศาสตรสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙

๓๒

แผนยุทธศาสตรสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙

๓ วิเคราะห์บริบทท่ีเกี่ยวข้องกับ
สถาบันพระบรมราชชนก
๓๓

แผนยุทธศาสตรสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙

๓.๑ จุดยืนทางยุทธศาสตร์ (Strategic Positioning)

สถาบันพระบรมราชชนก (สบช.) โดยความรวมมือจากบุคลากรในหนวยงานสวนกลางคณะและวิทยาลัย
ในสังกัดไดรวมกันจัดทําแผนยุทธศาสตรสถาบันพระบรมราชชนก เพื่อใชเปนเข็มทิศนําทางสูความสําเร็จในภารกิจ
ขององคกรในอนาคต โดยไดกําหนดจุดยืนทางยุทธศาสตรการพัฒนาจากการวิเคราะหสภาพแวดลอมภายใน
และภายนอกสถาบัน นําเปนปจจัยนําเขาเชิงนโยบาย รวมทั้งความตองการของผูที่มีสวนไดสวนเสีย และสถานการณ
ของการดําเนินภารกิจที่เปนอยูในปจจุบัน และคาดการณภาพท่ีควรจะเปนในอนาคต

ความตองการเชิงยุทธศาสตรท่ีมีตอสถาบันพระบรมราชชนกในฐานะท่ีเปนสถาบันอุดมศึกษาเฉพาะทาง
สงั กดั กระทรวงสาธารณสขุ จากการประชมุ ระดมสมองโดยรว มกนั พจิ ารณาแผนยทุ ธศาสตรช าติ ๒๐ ป แผนยทุ ธศาสตร
กระทรวงสาธารณสขุ ๒๐ ป แผนการศกึ ษาชาติ ๒๐ ป พระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแหง ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ พระราชบญั ญตั ิ
การอุดมศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๒ และพระราชบัญญัติสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. ๒๕๖๒ พบวา

- ความตองการเชิงยุทธศาสตรที่มีตอสถาบันพระบรมราชชนกในระดับนโยบาย ตองการใหสถาบัน
พระบรมราชชนก ๑) มีการผลิตบัณฑิตและพัฒนาบุคลากรดานสาธารณสุขท่ีสอดคลองกับความตองการของระบบ
สุขภาพที่มีคุณภาพ ๒) มีการพัฒนาหลักสูตรการจัดการเรียนการสอนในสาขาที่ขาดแคลนดานวิทยาศาสตรสุขภาพ
และระบบสุขภาพมีความตองการสูง ๓) มีการพัฒนาหลักสูตรฝกอบรมท่ีตอบสนองระบบสุขภาพ ๔) มีการผลิต
ผลงานวิจัย ผลงานวิชาการและนวัตกรรมที่หนวยบริการสามารถนําไปใชประโยชนในทางปฏิบัติเพ่ือตอบสนอง
ระบบสุขภาพ เพ่ือการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทยทุกกลุมวัย ๕) มีการสื่อสารการตลาดและประชาสัมพันธในหลักสูตร
การใหบริการวิชาการเพื่อเพ่ิมการเขาถึงกลุมเปาหมาย และ ๖) มีระบบบริหารจัดการแบบบูรณาการดานทะนุบํารุง
ศิลปะและวัฒนธรรมเพ่ือสืบสานศิลปะและวัฒนธรรมอยางยั่งยืน

- ความตองการของบุคลากรในองคกร พบวา บุคลากรของสถาบันมีความตองการยกระดับ
การจดั การเรยี นการสอนของสถาบนั มคี วามคลอ งตวั ในการบรหิ ารจดั การองคก ารทง้ั ในดา นงบประมาณและการบรหิ าร
บุคคล มีความกาวหนาทั้งในสายงานวิชาการ และสายสนับสนุน

- ความตองการของเครือขายความรวมมือและผูมีสวนไดสวนเสีย ลูกคาและผูรับบริการที่มีตอองคกร
จากการศึกษา พบวา ผูรับบริการตองการใหสถาบันเปนแหลงเรียนรูทางวิชาการดานสุขภาพ สามารถใหคําปรึกษา
ด้านวิจัย ดานวิชาการสุขภาพแกหนวยงาน สังคมและชุมชน เปนสถาบันการผลิตบัณฑิตดานสุขภาพท่ีตอบสนอง
ความตองการของชุมชนในพื้นที่แตละภูมิภาคที่มีบริบทแตกตางกัน ตองการใหสถาบันกระจายโอกาสทางการศึกษา
ใหกับเยาวชนท่ีอยูในชุมชนทุกระดับใหมีความเสมอภาคในการเขาถึงการศึกษาดานสุขภาพเปนสถาบันที่จัดให
มีการศึกษาตอเน่ืองเพื่อยกระดับคุณวุฒิการศึกษาใหกับบุคลากรในระบบสุขภาพ

๓.๒ การประเมินศักยภาพทางยุทธศาสตร์

การวางแผนยุทธศาสตรการพัฒนาสถาบันพระบรมราชชนกในคร้ังน้ี ไดใชกระบวนการวิเคราะหที่เกิดจาก
การประชุมระดมความคิดเห็นของผูบริหาร คณาจารยและบุคลากร คณะทํางานไดนําขอเสนอมาวิเคราะหศักยภาพ
ขององคกรเพื่อนําไปสูการกําหนดสถานะทางยุทธศาสตร โดยใชเครื่องมือทางการบริหาร SWOT Analysis พบวา
มีสภาพแวดลอมองคกรโดยสรุป ดังน้ี

- จุดแข็ง เปนสถาบันการศึกษาผลิตบัณฑิตท่ีมีคุณภาพและไดมาตรฐานตามมาตรฐานวิชาชีพ มีสถาบัน
การศึกษาต้ังอยูในทุกภูมิภาคของประเทศ สามารถสรางโอกาสทางการศึกษาสูระดับชุมชนไดอยางท่ัวถึง ผูนําองคกร
มีวิสัยทัศนที่โดดเดนและมีประสบการณสูง อาจารยมีคุณวุฒิทางการศึกษาระดับปริญญาเอกมากกวา ๔๐๐ คน

๓๔

แผนยุทธศาสตรสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙

มีความเชี่ยวชาญหลากหลายสาขา ทําใหมีศักยภาพในการขยายหลักสูตรฝกอบรม หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา
และหลักสูตรนานาชาติได มีโครงสรางพื้นฐานปจจัยเกื้อหนุนและมีงบประมาณเพียงพอในการดําเนินงานทุกพันธกิจ
ของสถาบัน และการเปนนิติบุคคลเอื้อตอการขยายการจัดการศึกษาในทุกระดับ

- จุดออน พบวา การวางแผนกลยุทธทางการตลาดและประชาสัมพันธยังไมมีประสิทธิภาพเพียงพอ
ระบบและกลไกในการพัฒนาองคกรสูการเปนองคกรสมรรถนะสูงยังไมชัดเจน บุคลากรสวนใหญมีสมรรถนะที่จําเปน
ในศตวรรษท่ี ๒๑ ไมเปนไปตามมาตรฐาน/เปาหมายท่ีกําหนด ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศยังไมตอบสนอง
ตอการบริหารจัดการและพันธกิจของสถาบัน

- โอกาส พบวา กระทรวงสาธารณสุขและหนวยงานภายนอกมีความตองการบุคลากรดานสุขภาพ
เพื่อตอบสนองตอระบบสุขภาพของประเทศ และมีศักยภาพดานงบประมาณในการผลิตใหกับสถาบัน (PCC & Aging)
มีเครือขายกับสํานักวิชาการและหนวยงานอ่ืน ๆ ของกระทรวงสาธารณสุขรวมทั้งสถาบันการศึกษาในประเทศ
และตา งประเทศ ทาํ ใหเ กดิ โอกาสพฒั นาทกุ พนั ธกจิ ของสถาบนั วชิ าชพี ดา นสขุ ภาพยงั เปน ความตอ งการในตลาดแรงงาน
ความกาวหนาทางเทคโนโลยีสรางโอกาสในการพัฒนาระบบการจัดการศึกษาและการบริหารองคกร

- ภัยคุกคาม ไดแก ธุรกิจดานการศึกษาและการพัฒนากําลังคนดานสุขภาพมีการแขงขันสูงทําให
เกิดทางเลือกในการศึกษา สงผลใหจํานวนลูกคามีแนวโนมลดลง และสงผลตอคาใชจายในการจัดการศึกษาเพิ่มข้ึน

ตารางสรุปการวิเคราะหปจจัยเชิงกลยุทธภายในองคกร

ปัจจัยภายใน ระดับ คะแนน
ค่าน้ําหนัก คะแนน รวม
จุดแข็ง (๐ - ๑.๐) (๑ - ๕)

S๑ เปนสถาบันการศึกษาผลิตบัณฑิตท่ีมีคุณภาพและได ๐.๐๕ ๔ ๐.๒๐
มาตรฐานตามมาตรฐานวิชาชีพ

S๒ มีสถาบันการศึกษาต้ังอยูในทุกภูมิภาคของประเทศ ๐.๐๗ ๕ ๐.๓๕
สามารถสรางโอกาสทางการศึกษาสูระดับชุมชน

S๓ อาจารยมีวุฒิทางการศึกษาระดับปริญญาเอกจํานวนมาก ๐.๐๓ ๓ ๐.๐๙
มีความเช่ียวชาญหลากหลายสาขาตอการผลิตและพัฒนา
กําลังคนดานสุขภาพ มีศักยภาพในการขยายหลักสูตร
ฝกอบรม หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาและหลักสูตร
นานาชาติได

S๔ มีโครงสรางพ้ืนฐานและทรัพยากรมากพอตอการสนับสนุน ๐.๐๔ ๓.๕ ๐.๑๔
การเรียนรูในการผลิตและพัฒนากําลังคนดานสุขภาพ
ท่ีเอ้ือตอการดําเนินงานทุกพันธกิจของสถาบัน

๓๕

แผนยุทธศาสตรสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙

ปัจจัยภายใน ระดับ คะแนน
ค่านํ้าหนัก คะแนน รวม
(๐ - ๑.๐) (๑ - ๕)
๐.๓๕
S๕ การเปนสถาบันอุดมศึกษาเฉพาะทางดานวิทยาศาสตร ๐.๐๗ ๕
สุขภาพในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขเพ่ือผลิตและพัฒนา ๐.๒
S๖ บุคลากรตามความตองการของกระทรวงสาธารณสุข ๐.๒
S๗ และตอบสนองความตองการระบบบริการสุขภาพ
S๘ ของประเทศ สงเสริมใหเกิดการขยายโอกาสทางการศึกษา ๐.๐๙
S๙ สูชุมชน ๐.๓
S๑๐
ผูบริหารมีวิสัยทัศนเอ้ือตอการผลิตและพัฒนากําลังคน ๐.๐๕ ๔ ๐.๒
W๑ ดานสุขภาพ ๒.๑๒
W๒ ๐.๒
W๓ มีขอมูลวิจัยดานสุขภาพเปนที่ยอมรับในระดับชาติ ๐.๐๕ ๔
W๔ ในฐานขอมูลของศูนยดัชนีการอางอิงวารสารไทย (TCI) ๐.๒
W๕ จํานวนมาก ๐.๑๖
W๖ ๐.๑๖
มีเครือขายความรวมมือทางวิชาการระดับชาติ ๐.๐๓ ๓ ๐.๓
๓๖ และระดับสากล ๐.๒๐

โครงสรางองคกร มีสายบังคับบัญชา และกระจายอํานาจ ๐.๐๖ ๕
โครงสรางการบริหารงานของสถาบันพระบรมราชชนก
ครอบคลุมในทุกเขตสุขภาพของกระทรวงสาธารณสุข

ผูนําองคกรมีวิสัยทัศนท่ีโดดเดน และมีประสบการณ ๐.๐๕ ๔
การบริหาร ๐.๕ ๔๐.๕

รวม

จุดอ่อน

การปรับเปล่ียนโครงสรางการบริหารองคกรสงผลกระทบ ๐.๐๕ ๔
ตอการเตรียมความพรอมของบุคลากรและการบริหาร
จัดการองคกร ๐.๐๕ ๔
ขาดระบบการส่ือสารการตลาดและประชาสัมพันธ ๐.๐๔ ๔
ระบบและกลไกในการปฏิบัติงานทุกภาคสวนยังขาด ๐.๐๔ ๔
ความเชื่อมโยงกัน ๐.๐๖ ๕
บุคลากรสวนใหญมีสมรรถนะท่ีจําเปนในศตวรรษที่ ๒๑ ๐.๐๕ ๔
ไมเปนไปตามมาตรฐาน/เปาหมายที่กําหนด
ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศยังไมตอบสนองตอการ
บริหารจัดการและพันธกิจของสถาบัน

บุคลากรสายสนับสนุนทํางานไมตรงตามสาขาตําแหนง
ขาดทักษะ องคความรู ความคิดสรางสรรค
หรือประสบการณในบทบาทหนาท่ีท่ีรับผิดชอบ

แผนยุทธศาสตรสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙

ปัจจัยภายใน ระดับ คะแนน
ค่านํ้าหนัก คะแนน รวม
(๐ - ๑.๐) (๑ - ๕)

W๗ บุคลากรขาดสมรรถนะดานการส่ือสารภาษาอังกฤษ ๐.๐๕ ๔ ๐.๒

W๘ มีผลงานวิจัยท่ีตีพิมพในวารสารวิชาการระดับนานาชาตินอย ๐.๐๖ ๕ ๐.๓

W๙ รอยละของบุคลากรที่มีตําแหนงทางวิชาการ ๐.๑๐ ๕ ๐.๕
ไมเปนไปตามเกณฑมาตรฐาน สกอ.

รวม ๐.๕ ๒.๒๒

รวมทั้งหมด ๑.๐ ๔.๓๔

ตารางสรุปการวิเคราะหปจจัยเชิงกลยุทธภายนอกองคกร

ปัจจัยภายนอก ระดับ คะแนน
ค่าน้ําหนัก คะแนน รวม
(๐ - ๑.๐) (๑ - ๕)

โอกาส

O๑ นโยบายชาติและกระทรวงสาธารณสุข รวมถึงหนวยงาน ๐.๐๗ ๕ ๐.๓๕
ภายนอก มีความตองการ บุคลากรดานสุขภาพ
เพื่อตอบสนองตอระบบสุขภาพของประเทศ และสนับสนุน
งบประมาณในการผลิตและพัฒนาบุคลากรดานสุขภาพ
และพฒั นาหลกั สตู รเรง ดว นทตี่ อบสนองตอ สภาวการณป จ จบุ นั

O๒ มีโอกาสสรางความรวมมือทางวิชาการและรับทุน ๐.๐๖ ๔ ๐.๒๔
จากเครือขายความรวมมือ ท้ังในและตางประเทศ
ทําใหเกิดโอกาสพัฒนาทุกพันธกิจของสถาบัน

O๓ วิชาชีพดานสุขภาพยังเปนความตองการอยางมาก ๐.๐๗ ๔ ๐.๒๘
ในตลาดแรงงาน และในสภาวการณว ิกฤติของประเทศ

O๔ ความกาวหนาทางเทคโนโลยีสรางโอกาสในการพัฒนา ๐.๐๗ ๔ ๐.๒๘
ระบบการจัดการศึกษา การบริหารองคกร การผลิต
และพัฒนากําลังคนดานสุขภาพ

O๕ นโยบายของกระทรวงสาธารณสุขใหงบประมาณสนับสนุน ๐.๐๖ ๓ ๐.๑๘
ในการผลิตและพัฒนากาํ ลังคนดา นสุขภาพ ซึ่งเปน การสรา ง
โอกาส ขยายโอกาสทางการศึกษา และรายไดแกชุมชน

O๖ ชุมชนเขามามีสวนรวมในการจัดการการศึกษา ๐.๐๘ ๕ ๐.๔๕
ซ่ึงตอบสนองความตองการตามบริบทของพื้นท่ี

O๗ มีศษิ ยเ กา ของสถาบนั พระบรมราชชนก ซง่ึ กระจายอยทู กุ ภมู ภิ าค ๐.๐๘ ๕ ๐.๔
ของประเทศ และมีสวนรวมสนับสนุนพันธกิจของสถาบัน

รวม ๐.๕ ๓๐ ๒.๑๘

๓๗

แผนยุทธศาสตรสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙

แผนยุทธศาสตรสถาบนั พระบรมราชชนก พ.ศ.2565 - 2569

ปัจจปัจยจภัยาภยายนนออกก (0ค(น๐ํ้า่า-คหน1-านํ้า.กั0ห๑)น.๐ัก)(ค1ระะแ(-ดคน๑บั5รนะ)ะแ-ดนับ๕นค)ะรแวนมนคระแวนมน

ภัยคุกคาม

T๑ T๑ มธสุรีงกใธหกผรุากเิจลรกจิ ดแิดใดหทขาาานจนงงกเขํากลานันือราศกวรสึกในศนูงษกทึกลาาแํษูากรลศใคาะหกึ กแาษเาภมลการัยพีะแสิดคฒักงนทผุกนาวลาคารใโงกหานพเํามจลลมัฒาํ ังือนลคนวกนดนาดใลลกนา ูกงนํากคสลาา ุขมังรภคีแศานพนึกวมดโษนกี าาามนรลแดสขลุขงงขภันาสพูงทาํ ๐.๑๔ ๓ ๐.๔๒

0.14 3 0.42

T๒ T๒ สถสาถนานกกาารณปปจ จจจบุ ุบันันสังสคังมคโลมกโลแลกะโแรลคอะุบโรัตคิใหอมุบ ทัตพี่ ิใลหวมตั สทงผ่ีพลลตวอ ัต 0.1๐4.๑๔ 3 ๓ 0.42 ๐.๔๒
สคงวคคเกผาววณลมาามมตฑตสตอมอนอ าคงงใตจกวกรใาาาฐนรมรากอนอสาัตกันตรราเารใขรกจาาดาํใศกาํ ลนกเึํางันกษขลินาาอังงสรงขาาแเนขอยหสวางลูคิทศแงวยงึกหาาามษลนศเาาลงปสสงดน ตาลาเรลนงยสิศลวุขตทิดภายลงาๆพางศสางผสลตตรอส คุขวภามาพ
T๓ T๓ 00..11๐11.๑๑ 4 ๔ 0.44 ๐.๔๔
T4 ๐.๑๑ 3 0.33
T๔ เกเณช่ือฑมมน่ั ขาอตงรกฐาารจนัดกอาันรดดับํามเหนาินวิทงยาานลสัยูคช้ันวนามํา เปนเลิศตาง ๆ ๓ ๐.๓๓
สงผลตอความเช่ือมั่นของการรวจมัดอันดับมหาวิทยาลัยช้ันนํา 0.5
รรววมทมงั้ หมด 1.61
รวมทั้งหมด 1๐.๕
๑ 3.79 ๑.๖๑
๓.๗๙

TOTWOWNN MMAATTRRIXIX

ชอื่ แผนภูมิ

O S

2.5
2

1.5
1

0.5

W0

T

หมายเหหตมุ ายเหตุ
Strengths = ๒.๑๒ Weaknesses = ๒.๒๒ Threats = ๑.๖๑ Opportunity = ๒.๑๘ 36

๓๘

แผนยุทธศาสตรสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙

๓.๓ ทิศทางการพัฒนาตามศักยภาพ

จากการทบทวนวเิ คราะหส ภาพแวดลอ มภายในและภายนอก เพอ่ื ใหเ กดิ การบรหิ ารเชงิ กลยทุ ธท ม่ี คี วามตอ เนอ่ื ง
และเกิดการพัฒนาสถาบันเชิงกลยุทธท่ีมีประสิทธิภาพ มีกรอบทิศทางในการพัฒนาท้ังเชิงรุก และการควบคุมปญหา
อุปสรรคท่ีคาดวาจะเกิดขึ้น

S-O W-O

ดานการผลิตบัณฑิต
พัฒนาหลักสูตรเพื่อผลิตบัณฑิตท่ีมีคุณภาพ พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
มีความรู มีทักษะตามคุณลักษณะของบัณฑิตสถาบัน สนับสนุนการจัดการเรียนการสอน
พระบรมราชชนกเพื่อสงเสริมการพัฒนาศักยภาพ ในสังคมปกติวิถีใหม
ของผูเรียนใหมีสมรรถนะของบัณฑิตในศตวรรษที่ ๒๑
มอี ตั ลกั ษณข องสถาบนั และสมรรถนะการจดั การสขุ ภาพ
ชุมชนบนพ้ืนฐานการดูแลดวยหัวใจความเปนมนุษย

กลยุท ์ธ ดานวิจัยและนวัตกรรม
พัฒนาการบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมโดยสราง สนับสนุนการนําผลงานวิจัย

ความรว มมอื ระหวา งสถาบนั การศกึ ษา หนว ยงานภาครฐั และงานสรางสรรค พัฒนาเปนนวัตกรรม
และเอกชนทั้งในประเทศและตางประเทศ เพื่อสราง ตอยอด เพื่อแสวงหารายไดเชิงพาณิชย
ผลงานวิจัย นวัตกรรมและทรัพยสินทางปญญา
ที่เปนประโยชนตอสังคม และสงเสริมใหมีการตีพิมพ
เผยแพรในระดับชาติ และนานาชาติรองรับการพัฒนา
เศรษฐกิจ

ดานบริการวิชาการ
พัฒนาศูนยการเรียนรู เพ่ือเปนศูนยกลางการเรียนรู พัฒนาการส่ือสารการตลาด

และการใหบริการวิชาการท่ีตอบสนองความตองการ และประชาสัมพันธเพิ่มการเขาถึง
ของชุมชน สังคม และระบบบริการสุขภาพ โดยนํา กลุมเปาหมายในการใหบริการวิชาการ
องคความรู เทคโนโลยี และนวัตกรรมที่เกิดจากผลงาน
วิจัยไปสรางมูลคาเพ่ิม และถายทอดการเรียนรูสูชุมชน

ดานทะนุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม พัฒนาระบบบริหารจัดการแบบบูรณาการ
พัฒนางานทะนุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม
ทเ่ี ปน ประโยชนต อ ชมุ ชนและประเทศ ดว ยการบรู ณาการ ดานทะนุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม
กบั พนั ธกจิ ดา นอนื่ ๆ ของสถาบนั โดยการสรา งเครอื ขา ย
ความรวมมือดานทะนุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม
กับหนวยงานภาครัฐและเอกชน เพ่ืออนุรักษ
และตอยอดวัฒนธรรมภูมิปญญาของประเทศ

๓๙

แผนยุทธศาสตรสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙

S-O W-O

ดานบริหารจัดการ
พัฒนาและบริหารสถาบันแบบบูรณาการ คลองตัว พัฒนาศักยภาพบุคลากรอยางตอเนื่อง

โปรงใส และเปนธรรม เพ่ือเปนสถาบันอุดมศึกษา ๔.๐ เพื่อใหมีความเปนมืออาชีพ
พัฒนาระบบบริหารจัดการและระบบ

สารสนเทศ รองรับการเปนสถาบัน
อุดมศึกษา ๔.๐

S-T W-T

ดานการผลิตบัณฑิต เรงพัฒนาการส่ือสารประชาสัมพันธ
พัฒนาหลักสูตรที่ทันสมัย นําเทคโนโลยีมาใชในการ เพ่ือเพิ่มความสนใจในการเขาศึกษา
สายวิทยาศาสตรสุขภาพ
จัดการเรียนการสอนเพิ่มเพิ่มโอกาสทางการศึกษา
แกประชาชนทุกกลุมวัย

กลยุท ์ธ ดานวิจัยและนวัตกรรม เรงรัดการผลิตและเผยแพรงานวิจัย
สนับสนุนการทําวิจัยรวมกับเครือขายท้ังใน ในระดับชาติและนานาชาติ
พัฒนาสมรรถนะบุคลากรสายสนับสนุน
และตางประเทศเพ่ือเพิ่มความเชื่อม่ันในการจัดอันดับ เพื่อรองรับการใหบริการวิชาการ
ของมหาวิทยาลัย แบบมืออาชีพ
ดานการบริการวิชาการ

พัฒนาความรวมมือกับเครือขายทั้งใน
และตางประเทศเพ่ือเพิ่มการเขาถึงกลุมเปาหมาย
ท่ีหลากหลายระหวางหนวยงานภาครัฐและเอกชน

ดานทะนุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม N/A
พัฒนาระบบฐานขอมูลดานศิลปะวัฒนธรรม

เพ่ือรองรับการบูรณาการ

ดานบริหารจัดการ ปรับโครงสรางองคกรใหมีความคลองตัว
พัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษา และมีประสิทธิภาพ

รองรับมาตรฐานการศึกษาในระดับสากล

๔๐

แผนยุทธศาสตรสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙

๔ ยุทธศาสตร์
สถาบันพระบรมราชชนก
๔๑

แผนยุทธศาสตร์สถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙
แผนยุทธศาสตรสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙

๔๒
วิสัยทัศน์ สถาบันพระบรมราชชนก

มุ่งสร้างผู้นําและนวัตกรรมสุขภาพ สู่ชุมชน เพ่ือคุณภาพชีวิตที่ยั่งยืน

พันธกิจ
(๑) ผลิตบัณฑิตและพัฒนาบุคลากรใหสอดคลองกับแนวนโยบายแหงรัฐเพื่อใหมีความรู ความสามารถทางวิชาการและทักษะในวิชาชีพ มีคุณธรรม จริยธรรม มีความสํานึกตอสังคม และเพ่ือใหมีศักยภาพในการเรียนรูดวยตัวเอง
(๒) จัดการศึกษา วิจัย สงเสริม สนับสนุนการวิจัย เพ่ือสรางหรือพัฒนาองคความรูและนําความรูนั้นไปใชเพื่อประโยชนในการพัฒนาสังคมและประเทศชาติ (๓) พัฒนาองคความรูดานวิทยาศาสตรสุขภาพใหมีมาตรฐาน
และคุณภาพทางวิชาการใหเปนที่ยอมรับในระดับประเทศและนานาชาติ (๔) สงเสริมใหเกิดโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาตามความตองการของชุมชน (๕) ใหบริการทางวิชาการแกสังคมโดยเนนความรวมมือ
กับชุมชน (๖) ใหบริการดานการแพทยและการสาธารณสุข (๖) สงเสริมและทะนุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม

ประเด็นยุทธศาสตร์ ๒. การสรางองคความรูและนวัตกรรมดานสุขภาพ ๓. การบริการวิชาการแกสังคมเพื่อตอบสนอง ๔. การบริหารจัดการสูองคกรสมรรถนะสูง
๑. การผลิตกําลังคนดานสุขภาพที่มีคุณภาพ เพื่อพัฒนาสุขภาวะของชุมชนและสังคมอยางยั่งยืน ระบบสุขภาพ โดยการมีสวนรวมของชุมชน ภายใตหลักธรรมาภิบาล
ตามมาตรฐานสากล สอดคลอ งกบั ความตองการของ
ระบบสุขภาพ ชุมชน สังคม

เป้าประสงค์ ๑. มีผลงานวิจัย ผลงานวิชาการและนวัตกรรม ๑. เปนศูนยบริการวิชาการในการพัฒนาสมรรถนะ ๑. ผูบริหารและบุคลากรของสถาบันมีสมรรถนะ
๑. ผูสําเร็จการศึกษามีคุณภาพตามมาตรฐานสากล ท่ีมีคุณภาพระดับชาติและนานาชาติ บุคลากรดานสุขภาพ และสุขภาวะชุมชน ตามที่สถาบันกําหนด
ในศตวรรษท่ี ๒๑ และสมรรถนะการจัดการสุขภาวะ ๒. มีผลงานวิจัย ผลงานวิชาการและนวัตกรรม ๒. เปนสถาบันอุดมศึกษาที่มีศักยภาพในการบริการ ๒. เปนสถาบันอุดมศึกษาท่ีมีคุณภาพตามเกณฑ
ชุมชนบนพ้ืนฐานการดูแลดวยหัวใจความเปนมนุษย ที่สามารถนําไปใชประโยชนเพื่อพัฒนาสุขภาวะ วิชาการ คุณภาพการศึกษาเพื่อการดําเนินการที่เปนเลิศ
๒. อาจารยมีสมรรถนะในการจัดการเรียนรู ของชุมชนและสังคม (EdPEx)
ตามมาตรฐานสากล ๓. เปนสถาบันท่ีมีการบริหารจัดการภายใตองคกร
คุณธรรม ทะนุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม
และรักษส่ิงแวดลอม
๔.มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารงาน
และการจัดการศึกษาท่ีมีประสิทธิภาพ

กลยุทธ์ ๑. เรงรัดการผลิต เผยแพร ผลงานวิจัย ผลงาน ๑. พัฒนาระบบและกลไกในการสรางความเขมแข็ง ๑. พัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการบุคลากรดาน
๑. พัฒนาหลักสูตรที่หลากหลายตอบสนอง วิชาการและนวัตกรรมที่มีคุณภาพในระดับชาติ ของศูนยบริการวิชาการและการจัดต้ังศูนยบริการ อตั รากาํ ลงั และสมรรถนะเพอื่ ตอบสนอง พนั ธกจิ หลกั ของสถาบนั
ระบบสุขภาพของประเทศตามมาตรฐานสากล และนานาชาติ วิชาการ (Training Center) ๒. ยกระดับสมรรถนะของผูบริหารและบุคลากรทุกระดับ
๒. พัฒนานักศึกษาใหมีคุณภาพตามมาตรฐานสากล ๒. ผลักดันใหมีการแสวงหาทุนวิจัยจากแหลงทุน ๒. พัฒนาศักยภาพบุคลากรของสถาบันใหมี ของสถาบันเพ่ือขับเคล่ือนสูองคกรสมรรถนะสูง
ในศตวรรษท่ี ๒๑ ภายนอกทั้งภายในประเทศและตางประเทศ ความเช่ียวชาญในการบรกิ ารวิชาการใหเปนทีย่ อมรับ ๓. พัฒนาระบบและกลไกการดําเนินงานตามเกณฑคุณภาพ
๓. พัฒนานักศึกษาใหมีอัตลักษณของสถาบัน ๓. พัฒนาระบบกลไกการนําผลงานวิจัย จากหนวยงานภายนอกทั้งระดับชาติและนานาชาติ การศึกษาเพ่ือการดําเนินการที่เปนเลิศ (EdPEx)
และสมรรถนะการจัดการสุขภาวะชุมชนบนพื้นฐาน และนวัตกรรมไปใชประโยชนเพื่อพัฒนาสุขภาวะ ๓. พัฒนาสมรรถนะบุคลากรดานสุขภาพ ประชาชน ๔. พัฒนาองคกรตามแนวทางการบริหารจัดการภายใตองคกร
การดูแลดวยหัวใจความเปนมนุษย ของชุมชนและสังคม เพ่ือตอบสนองความตองการของระบบสุขภาพ คุณธรรมและความโปรงใสในการดําเนินงานของหนวยงาน
๔. พัฒนาศักยภาพอาจารยใหมีสมรรถนะ ๔. พัฒนาระบบและกลไกสนับสนุนการจัดบริการ ภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment: ITA)
การจัดการเรียนรูในศตวรรษที่ ๒๑ วิชาการ ๕. สงเสริมการนําการควบคุมภายในเปนเคร่ืองมือในการ
ขับเคลื่อนสูองคกรสมรรถนะสูง
๖. สง เสรมิ การทะนบุ าํ รงุ ศลิ ปะและวฒั นธรรม และรกั ษส ง่ิ แวดลอ ม
๗. พฒั นาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพและสง เสรมิ
การนําเทคโนโลยีมาใชในการจัดการเรียนการสอน

วิสัยทัศน์ (Vision) แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map) สถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙

มุ่งสร้างผู้นําและนวัตกรรมสุขภาพ สู่ชุมชน เพ่ือคุณภาพชีวิตท่ีย่ังยืน

ประเด็นยุทธศาสตร์ ๑. การผลิตกําลังคนดานสุขภาพที่มีคุณภาพ ๒. การสรางองคความรูและนวัตกรรมดานสุขภาพ ๓. การบริการวิชาการแกสังคมเพ่ือตอบสนอง ๔. การบริหารจัดการสูองคกรสมรรถนะสูง
ตามมาตรฐานสากล สอดคลองกับความตองการ เพื่อพัฒนาสุขภาวะของชุมชนและสังคมอยางย่ังยืน ระบบสุขภาพ โดยการมีสวนรวมของชุมชน ภายใตหลักธรรมาภิบาล
(Strategic Issues) ของระบบสุขภาพ ชุมชน สังคม

เป้าประสงค์ (Goal) ๑. ผูสําเร็จการศึกษามีคุณภาพตามมาตรฐานสากล ๑. มีผลงานวิจัย ผลงานวิชาการและนวัตกรรม ๑. เปนศูนยบริการวิชาการในการพัฒนาสมรรถนะ ๑. ผูบริหารและบุคลากรของสถาบันมีสมรรถนะ
ในศตวรรษท่ี ๒๑ และสมรรถนะการจัดการสุขภาวะ ท่ีมีคุณภาพระดับชาติและนานาชาติ บุคลากรดานสุขภาพ และสุขภาวะชุมชน ตามที่สถาบันกําหนด
ชุมชนบนพ้ืนฐานการดูแลดวยหัวใจความเปนมนุษย ๒. มีผลงานวิจัย ผลงานวิชาการและนวัตกรรม ๒. เปนสถาบันอุดมศึกษาท่ีมีศักยภาพในการบริการ ๒. เปนสถาบันอุดมศึกษาที่มีคุณภาพตามเกณฑ
๒. อาจารยมีสมรรถนะในการจัดการเรียนรู ท่ีสามารถนําไปใชประโยชน เพื่อพัฒนาสุขภาวะ วิชาการ คณุ ภาพการศกึ ษาเพอื่ การดาํ เนนิ การทเ่ี ปน เลศิ (EdPEx)
ตามมาตรฐานสากล ของชุมชนและสังคม ๓. เปนสถาบันที่มีการบริหารจัดการภายใตองคกร
คุณธรรม ทะนุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม และ
รักษสิ่งแวดลอม
๔.มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารงาน
และการจัดการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ
แผนยุทธศาสตรสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙
กลยุทธ์ (Strategic) ๑. พัฒนาหลักสูตรที่หลากหลายตอบสนองระบบสุขภาพ ๒. พัฒนานักศึกษาใหมีคุณภาพตามมาตรฐานสากล ๓. พัฒนานักศึกษาใหมีอัตลักษณของสถาบันและสมรรถนะ
๔๓ ของประเทศตามมาตรฐานสากล ในศตวรรษท่ี ๒๑ การจัดการสุขภาวะชุมชนบนพ้ืนฐานการดูแลดวยหัวใจความเปนมนุษย
Customer

Financial ๕. เรงรัดการผลิต เผยแพร ผลงานวจิ ยั ผลงานวิชาการ และนวัตกรรมทม่ี ีคุณภาพในระดับชาติและนานาชาติ ๖. ผลักดันใหมีการแสวงหาทุนวิจัยจากแหลงทุนภายนอก ทั้งภายในประเทศและตางประเทศ

Internal Process ๗. พฒั นาระบบกลไก ๘. พฒั นาประสิทธภิ าพ ๑๐. พฒั นาระบบและ ๑๑. พัฒนาองคก ร ๑๒. สงเสรมิ การนํา ๑๔. พฒั นาระบบ ๑๕. พัฒนาระบบและ ๑๘. พัฒนาระบบ
การนาํ ผลงานวจิ ัยและ ของระบบบริหารจดั การ กลไกการดาํ เนนิ งาน ตามแนวทางการบริหาร การควบคุมภายใน เทคโนโลยสี ารสนเทศ กลไกในการสราง และกลไกสนับสนุน
นวัตกรรมไปใชป ระโยชน บุคลากรดา นอตั รากาํ ลัง ตามเกณฑค ุณภาพ จัดการภายใตองคก ร เปนเคร่ืองมือในการ ท่มี ปี ระสทิ ธภิ าพและ ความเขม แขง็ ของ
เพอ่ื สุขภาวะของชมุ ชน การศกึ ษาเพื่อการ ขบั เคลอื่ นสอู งคกร สงเสรมิ การนาํ เทคโนโลยี ศูนยบรกิ ารวชิ าการ การจดั บริการ
และสมรรถนะเพ่ือ ดําเนินการท่ีเปน เลศิ คุณธรรมและความ มาใชใ นการจัดการเรยี น และการจดั ต้งั ศูนย วชิ าการ
และสงั คม ตอบสนอง พนั ธกิจหลกั โปรงใสในการดําเนนิ งาน สมรรถนะสงู การสอน (Integrity and บริการวิชาการ
(EdPEx) ของหนวยงานภาครฐั (Training Center)
ของสถาบนั Transparency
Assessment : ITA)

Learning ๔. พัฒนาศกั ยภาพอาจารยใ หมี ๙. ยกระดับสมรรถนะของผูบริหาร ๑๓. สงเสริมการทะนุบํารุงศิลปะ ๑๖. พัฒนาศักยภาพบุคลากร ๑๗. พัฒนาสมรรถนะบุคลากร
and Growth สมรรถนะการจดั การเรียนรู และบุคลากรทุกระดับของสถาบัน และวัฒนธรรมและรักษสิ่งแวดลอม ของสถาบันใหมีความเชี่ยวชาญในการ ดานสุขภาพ ประชาชน เพ่ือตอบสนอง
ในศตวรรษท่ี ๒๑ เพ่ือขับเคลื่อนสูองคกรสมรรถนะสูง บริการวิชาการใหเปนที่ยอมรับจาก
ความตองการของระบบสุขภาพ
หนวยงานภายนอกท้ังระดับชาติ
และนานาชาติ


Click to View FlipBook Version