The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการสอนไมโครคอนโทรลเลอร์ 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by saroch.tech, 2022-01-11 04:22:42

แผนการสอนไมโครคอนโทรลเลอร์

แผนการสอนไมโครคอนโทรลเลอร์ 2564

แหลง่ กำรเรียนรู้

ในสถำนศกึ ษำ
19. ห้องสมุดวทิ ยาลยั ฯ
20. ห้องปฏิบตั กิ ารคอมพวิ เตอร์ ศึกษาหาข้อมูลทาง Internet

นอกสถำนศกึ ษำ
ผู้ประกอบการ สถานประกอบการ ในทอ้ งถิน่

กำรบรู ณำกำร/ควำมสมั พนั ธ์กบั วิชำอน่ื

28. การบูรณาการกบั วชิ าภาษาไทย ดา้ นบคุ ลิกภาพในการนาเสนอหนา้ ชั้นเรียน
29. การบูรณาการกบั วชิ าคณิตศาสตร์ ในเรอ่ื ง คานวณสูตร
30. การบรู ณาการกับวิชาอังกฤษ เก่ยี วกับคาศัพท์

กำรประเมินผลกำรเรียนรู้

หลกั กำรประเมินผลกำรเรียนรู้
ก่อนเรยี น
ทดสอบของเนื้อหาในรายวิชาก่อนนาเขา้ สู่บทเรยี น

ขณะเรยี น
สงั เกตพฤตกิ รรมตา่ ง ๆ ของนักเรยี นแต่ละคน

หลังเรียน
ถามตอบเกย่ี วกับเน้ือหาทีเ่ รยี นดูสรุปผลการทดลองวา่ ถกู ต้องหรือไม่

คำถำม
- นกั เรยี นร้จู กั เซอรโ์ วมอเตอร์หรือไม่
- ให้นักเรียนยกตวั อย่างเซอร์โวมอเตอร์ใช้ในอุปกรณช์ นดิ ใดบา้ ง

ไมโครคอนโทรลเลอร์

รำยละเอียดกำรประเมนิ ผลกำรเรียนรู้

จุดประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม ข้อท่ี 1 สามารถอธิบายการต่อใช้งาน Arduino กบั เซอร์โวมอเตอร์

31. วิธีการประเมิน : ทดสอบ

32. เครอื่ งมอื : แบบทดสอบ

33. เกณฑ์การให้คะแนน : สามารถอธิบายการต่อใชง้ าน Arduino กับเซอร์โวมอเตอร์

จะได้ 5 คะแนน

จดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม ข้อท่ี 2 สามารถเขยี นโปรแกรมไมโครคอนโทรลเลอร์ Arduino กับ

เซอร์โวมอเตอร์

34. วธิ ีการประเมนิ : ตรวจผลงาน

35. เครื่องมอื : แบบประเมิน

36. เกณฑ์การใหค้ ะแนน : สามารถเขยี นโปรแกรมไมโครคอนโทรลเลอร์ Arduino กับ

เซอร์โวมอเตอร์ จะได้ 5 คะแนน

ไมโครคอนโทรลเลอร์

ใบประเมินผลวชิ ำ ไมโครคอนโทรลเลอร์ ค่าน้าหนัก ค่านา้ หนกั
หนว่ ยท่ี ………….…ชอ่ื หนว่ ย…………………….………………………..……………… คะแนน คะแนนท่ี
เร่อื ง…………………………………..…………………….………………..…………………. ขณะวดั แทจ้ รงิ
ชื่อ-สกุล………………………………………………….ชน้ั ………..…..เลขท่.ี ............. (คะแนน) (คะแนน)
ลาดบั ท่ี รายการแบบประเมนิ
30 3
1. แบบฝกึ หดั 60 6
2. ใบงาน
10 1
- การเตรียมเกบ็ รักษาเครื่องมือ (10)
- ทกั ษะในการปฏบิ ัติงาน (20) 100 10
- ปฏบิ ัตงิ านถกู ต้องตามขั้นตอน (15)
- ความถกู ต้องของใบงาน (15)
3. คุณธรรมจรยิ ธรรม
- ความตรงต่อเวลา (2)
- การแต่งกาย (2)
- ความตั้งใจในการปฏบิ ตั งิ าน (2)
- การทางานร่วมกบั ผู้อ่ืน (2)
- ความรบั ผดิ ชอบ (2)

คะแนนรวมทีไ่ ด้

ข้อเสนอแนะ……………………………………………………………………………………..……………………………

ลงช่อื ……….…….………………………..ผ้ปู ระเมนิ
(………………………………………….)
………/…………./……….

ไมโครคอนโทรลเลอร์

แบบบันทึกสรุปผลคะแนนประจำวิชำไมโครคอนโทรลเลอร์

หน่วยท่.ี ..............ช่อื หนว่ ย…………………….………………………..………………

รายการแบบประเมิน แบบฝึกหัด
ใบงาน
คุณธรรมจริยธรรม
รวมคะแนน ี่ทไ ้ด

ค่าน้าหนักคะแนนทีแ่ ทจ้ รงิ 3 6 1 10
เลขที่ ชือ่ -สกลุ คะแนนท่ีได้

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20

ไมโครคอนโทรลเลอร์

เฉลยแบบฝกึ หดั หนว่ ยท่ี 11
ตอนท่ี 1 ให้นกั เรียนทาเคร่ืองหมายกากบาท (X) ลงบนคาตอบที่ถูกทส่ี ดุ เพยี งคาตอบเดียว

1. อุปกรณ์ประเภทใดมเี ซอรโ์ วมอเตอร์ 7. เมื่อปอ้ นสญั ญาณพลั ส์บวกกวา้ ง 1.5
ก. รถบังคบั วทิ ยุ ข. รถยนต์ มลิ ลวิ นิ าที เซอร์โวมอเตอร์เคล่อื นทไี่ ป
ค. พัดลม ง. เครื่องซักผา้ ตาแหนง่ ใด

2. ส่วนประกอบของเซอรโ์ วมอเตอร์ไม่มขี ้อใด ก. ตาแหน่ง 270 องศา
ก. ชุดเฟืองเกียร์ ข. ตาแหนง่ 0 องศา
ข. มอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสตรง ค. ตาแหน่ง 90 องศา
ค. วงจรขับมอเตอร์ ง. ตาแหนง่ 180 องศา
ง. Arduino 8. เม่อื ป้อนสญั ญาณพัลสบ์ วกกวา้ ง 1
มลิ ลิวนิ าที เซอรโ์ วมอเตอร์เคล่อื นทไ่ี ป
3. การควบคมุ ตาแหนง่ เซอรโ์ วมอเตอร์ทาได้ ตาแหนง่ ใด
ไม่เกินกอี่ งศา ก. ตาแหน่ง 0 องศา
ข. ตาแหน่ง 90 องศา
ก. 0-360 องศา ค. ตาแหนง่ 180 องศา
ข. 0-270 องศา ง. ตาแหน่ง 270 องศา
ค. 0-180 องศา 9. เมอ่ื ปอ้ นสัญญาณพัลสบ์ วกกวา้ ง 2
ง. 0-120 องศา มิลลวิ นิ าที เซอร์โวมอเตอรเ์ คลือ่ นทไ่ี ป
4. เซอร์โวมอเตอร์สามารถควบคุมตาแหนง่ ได้ ตาแหน่งใด
โดยวธิ ีใด ก. ตาแหนง่ 270 องศา
ก. ส่งข้อมลู แบบขนาน ข. ตาแหน่ง 0 องศา
ข. ปรบั ความกว้างของสัญญาณพัลส์ ค. ตาแหน่ง 180 องศา
ค. ส่งขอ้ มลู แบบอนุกรม ง. ตาแหนง่ 90 องศา
ง. การสง่ คา่ อนาลอ็ ก 10. คาสงั่ ท่ใี ช้สาหรบั ควบคุมตาแหนง่ ของ
5. สายสญั ญาณของเซอรโ์ วมอเตอร์มีจานวน เซอรโ์ วมอเตอร์ คือข้อใด
เทา่ ใด ก. myservo.write()
ก. 2 สาย ข. 3 สาย ข. digital.write
ค. 4 สาย ง. 5 สาย ค. analog.write
6. ขอ้ ใดไมใ่ ช่สายสญั ญาณของเซอรโ์ วมอเตอร์ ง. myservo.read()

ก. สายกราวด์
ข. สายควบคุมความเร็ว
ค. สายไฟเลี้ยงวงจร
ง. สายสญั ญาณเพ่ือควบคุมตาแหนง่

ไมโครคอนโทรลเลอร์

เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 11
ตอนที่ 2 ใหน้ ักเรยี นตอบคาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
1. จงบอกส่วนประกอบของเซอรโ์ วมอเตอร์

เซอรโ์ วมอเตอร์ไฟฟา้ กระแสตรง (DC servo motor) ซ่งึ เปน็ มอเตอร์ท่สี ามารถรบั แรงบิดไดส้ ูง
นา้ หนกั เบา และมขี นาดเล็ก มอเตอรช์ นดิ น้ีสามารถนาไปใช้งานไดห้ ลายอยา่ ง เช่น รถบงั คับวทิ ยุ, เรือบงั คับ
วทิ ยุ, เฮลคิ อปเตอร์, เครื่องบินบงั คบั วิทยุ, ห่นุ ยนต์ หรอื ควบคุมการเคลอื่ นท่ีของแมคคานกิ สใ์ นอุปกรณต์ ่างๆ
เปน็ ต้น อุปกรณ์ภายในเซอรโ์ วมอเตอร์มีส่วนประกอบดงั นี้ มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง ชุดเฟอื งเกียร์ วงจรขบั
มอเตอรแ์ ละวงจรควบคมุ ตาแหนง่

สายสัญญาณทีต่ อ่ ออกจากเซอรโ์ วมอเตอร์ทงั้ หมด 3 สาย ได้แก่
- สายไฟเลยี้ ง เซอรโ์ วมอเตอร์สว่ นมากใช้ไฟเลี้ยง 4.8 - 5 V หรอื 4.8 - 6.6 V มีสแี ดง
- สายกราวด์ มสี ีนา้ ตาลหรอื สดี า
- สายสญั ญาณ เปน็ สายทีใ่ ชค้ วบคุมตาแหน่งของเซอรโ์ วมอเตอร์ มสี ีเหลืองหรือขาว

2. จงอธบิ ายวิธีการควบคมุ ตาแหน่งของเซอรโ์ วมอเตอร์
เซอรโ์ วมอเตอร์สามารถเขยี นโปรแกรมเพ่ือการควบคุมตาแหน่งไดป้ ระมาณ 180 องศา โดยการป้อน

ความกวา้ งของสัญญาณพัลส์ สาหรบั การควบคมุ ตาแหนง่ หรอื ทศิ ทางทาได้โดยการปรบั ความกวา้ งของสญั ญาณ
พัลส์รปู คลนื่ สี่เหลย่ี มให้มีความกวา้ ง 1 ลูกคลนื่ เทา่ กบั 20 มิลลวิ ินาที (mS.) ถ้าต้องการใหเ้ ซอร์โวมอเตอรห์ มุน
ไปทางซ้ายหรือทวนเขม็ นาฬกิ า (CCW) ต้องสร้างสญั ญาณพัลส์บวกให้มีขนาด 2 มลิ ลิวนิ าที (mS.) แตถ่ า้
ตอ้ งการให้เซอรโ์ วมอเตอร์หมุนไปทางขวาหรอื ตามเข็มนาฬิกา (CW) ตอ้ งทาการสรา้ งสญั ญาณพัลสบ์ วกให้มี
ขนาด 1 มิลลวิ ินาที (mS.) และถ้าต้องการให้เซอรโ์ วมอเตอรเ์ คลอ่ื นที่ไปตาแหนง่ ก่ึงกลาง(Center) ต้องสร้าง
สัญญาณพัลส์บวก ขนาด 1.5 มิลลวิ ินาที (mS.)

ไมโครคอนโทรลเลอร์

บันทกึ หลงั กำรสอน

หนว่ ยที่ 11 Arduino กบั เซอร์โวมอเตอร์
ผลกำรใชแ้ ผนกำรเรียนรู้

1. เน้ือหาสอดคลอ้ งกับจดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม
2. สามารถนาไปใช้ปฏบิ ัติการสอนได้ครบตามกระบวนการเรียนการสอน
3. สอื่ การสอนเหมาะสมดี

ผลกำรเรยี นของนักเรียน

1. นักเรยี นสว่ นใหญม่ คี วามสนใจใฝ่รู้ เข้าใจในบทเรียน อภิปรายตอบคาถามในกล่มุ และร่วมกันปฏิบัติ
ใบงานท่ีไดร้ บั มอบหมาย

2. นักเรยี นกระตอื รือร้นและรบั ผิดชอบในการทางานกล่มุ เพ่ือให้งานสาเรจ็ ทนั เวลาทกี่ าหนด
3. นกั เรยี นเข้าใจและรู้จกั ช่วยเหลือผู้อ่ืน ในเร่อื ง Arduino กบั เซอรโ์ วมอเตอร์

ผลกำรสอนของครู

1. สอนเนอ้ื หาไดค้ รบตามหลักสูตร
2. แผนการสอนและวธิ กี ารสอนครอบคลมุ เนื้อหาการสอนทาใหผ้ ู้สอนสอนได้อย่างมน่ั ใจ
3. สอนไดท้ ันตามเวลาทีก่ าหนด

ไมโครคอนโทรลเลอร์

แผนกำรสอน/แผนกำรเรยี นรู้ หน่วยท่ี 12
สอนสัปดาห์ท่ี 13
แผนการสอน/การเรียนรู้ ทฤษฎี 1 คาบ
ปฏิบตั ิ 3 คาบ
ช่อื วิชา ไมโครคอนโทรลเลอร์
ช่ือหน่วย Arduino กับลาโพงบซั เซอร์ จานวนคาบ 4 คาบ

ช่ือเรือ่ ง Arduino กับลาโพงบัซเซอร์

หัวขอ้ เร่ือง

1. ลาโพงบซั เซอร์ (Buzzer)
2. การสรา้ งความถ่เี สยี งของ Arduino
3. การสรา้ งความถเี่ สยี งโน้ตดนตรขี อง Arduino

สำระสำคัญ

การใชง้ าน Arduino กับลาโพงบซั เซอร์แบบพาสซีฟ ดงั นั้นการใชง้ านตอ้ งทาการเขยี นโปรแกรมเพอ่ื สง่
ความถจ่ี าก Arduino เข้าไปยังลาโพงบซั เซอร์ ปัจจุบนั เครอื่ งใชไ้ ฟฟ้าโดยทว่ั ไปมลี าโพงบัซเซอรต์ ดิ ตั้งอยภู่ ายใน
ด้วย เชน่ ในคอมพวิ เตอรใ์ ช้ลาโพงบัซเซอร์เพ่ือส่งสญั ญาณใหท้ ราบวา่ สถานะของคอมพวิ เตอร์มปี ัญหาอะไร หรือ
ในเครื่องซกั ผา้ อตั โนมตั ิ เครื่องปรับอากาศ เม่ือทาการกดปุ่มบนเคร่อื งหรือรโี มทคอนโทรลจะไดย้ นิ เสยี งปบิ๊ ดัง
ข้ึนมาด้วยเพ่ือบอกให้รูว้ า่ ขณะนี้ทาการกดสวติ ช์แล้ว

สมรรถนะอำชีพประจำหนว่ ย

สามารถเขยี นโปรแกรม Arduino ควบคุมลาโพงบัซเซอร์

ไมโครคอนโทรลเลอร์

จดุ ประสงคก์ ำรสอน/กำรเรียนรู้

จุดประสงคท์ ั่วไป / บูรณำกำรเศรษฐกจิ พอเพียง

35. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับการต่อวงจร Arduino กับลาโพงบซั เซอร์ (ด้านความรู้)
36. เพ่ือให้มีทักษะในการเขยี นโปรแกรม Arduino กับลาโพงบัซเซอร์ (ดา้ นทกั ษะ)
37. เพื่อใหม้ เี จตคติทด่ี ีต่อการเตรียมความพร้อมด้านการเตรยี ม วสั ดุ อุปกรณ์ และการปฏิบัติงานอยา่ ง

ถกู ต้อง สาเร็จภายในเวลาที่กาหนด มเี หตุและผลตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (ด้านคณุ ธรรม
จรยิ ธรรม)

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม / บูรณำกำรเศรษฐกิจพอเพยี ง

48. สามารถอธิบายการต่อใช้งาน Arduino กับลาโพงบัซเซอร์
49. สามารถเขียนโปรแกรมไมโครคอนโทรลเลอร์ Arduino ควบคมุ ลาโพงบัซเซอร์
50. เตรยี มความพร้อมดา้ นวสั ดุ อปุ กรณ์สอดคล้องกบั งานไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง (ด้านคุณธรรม จริยธรรม/

บรู ณาการเศรษฐกิจพอเพียง)
51. ปฏิบตั งิ านได้อยา่ งถูกต้อง และสาเรจ็ ภายใน เวลาท่ีกาหนดอย่างมีเหตุและผลตามหลักปรชั ญาของ

เศรษฐกจิ พอเพยี ง (ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม/บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง)

ไมโครคอนโทรลเลอร์

เน้อื หำสำระกำรสอน/กำรเรียนรู้

• ด้ำนควำมรู(้ ทฤษฎ)ี

1. ลำโพงบัซเซอร์ (Buzzer) (จุดประสงค์เชงิ พฤติกรรมข้อที่1)
ลาโพงบัซเซอร์ เป็นอุปกรณ์ทีใ่ หก้ าเนดิ เสยี งทาหนา้ ท่ีเปล่ียนสญั ญาณไฟฟ้าให้อยู่ในรูปสญั ญาณเสยี ง

ลาโพงบัซเซอร์มอี ยู่ 2 ประเภทได้แก่
1. แบบแอคทฟี (Active Buzzer) ลาโพงชนดิ นี้มีวงจรกาเนิดความถ่ีอยู่ภายใน สามารถสรา้ ง

สัญญาณเสียงเตือนได้ทันทเี พียงแค่จ่ายแรงดันไฟฟา้ เข้าไป
2. แบบพาสซีฟ (Passive Buzzer) ลาโพงชนิดนี้ทางานเหมือนลาโพงขนาดเลก็ คือถา้ ป้อนแรงดันไฟฟา้

กระแสตรงเขา้ ไปไม่มเี สียง ถ้าต้องการใหม้ ีสัญญาณเสียงต้องทาการป้อนสัญญาณความถเ่ี ข้าไป ลาโพงชนดิ น้ี
สามารถกาเนิดเสียงท่ีมีความแตกต่างกันตามความถี่ที่ปอ้ นเขา้ มา
2. กำรสร้ำงควำมถเ่ี สียงของ Arduino (จุดประสงค์เชงิ พฤตกิ รรมขอ้ ท่ี1)

การต่อใชง้ านระหวา่ ง Arduino กบั ลาโพงบซั เซอร์สามารถตอ่ ได้โดยตรงจากพอร์ตดจิ ติ อล ขาอกี ดา้ นหน่ึง
ของลาโพงต่อลงกราวด์ การสร้างความถเี่ สียงสามารถทาไดโ้ ดยง่ายเพียงนาโปรแกรมไฟกระพรบิ มาประยกุ ต์งาน
ดว้ ยการสง่ สัญญาณลอจกิ “1” และลอจิก “0” ให้อยู่ในช่วงความถเี่ สยี งท่มี นุษย์ไดย้ ินซง่ึ อยู่ในช่วงความถี่ 20 –
20,000 เฮริ ์ท (Hz.)
3. กำรสร้ำงควำมถ่ีเสียงโน้ตดนตรีของ Arduino (จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรมข้อท่ี1)

Arduino มคี วามสามารถในการผลติ ความถเี่ สยี งสูง เสยี งต่า หรือผลติ เปน็ เสียงโน้ตดนตรีไดน้ ้ันเอง โดย
ความถ่เี สยี งโน้ตดนตรีมดี ังนี้ โนต้ C มคี วามถี่ 262, โนต้ D มีความถ่ี 294, โนต้ E มคี วามถ่ี 330, โน้ต F มคี วามถ่ี
349, โน้ต G มคี วามถ่ี 392, โนต้ A มีความถี่ 440, โน้ต B มีความถ่ี 494, โนต้ C มีความถี่ 524

• ด้ำนทักษะ(ปฏิบตั ิ)

ใบงานท่ี 12 เร่ือง โปรแกรม Arduino ควบคุมลาโพงบัซเซอร์ (จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมขอ้ ที่2)

• ดำ้ นคุณธรรม/จรยิ ธรรม/จรรยำบรรณ/บรู ณำกำรเศรษฐกจิ พอเพียง

(จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรมขอ้ ที่3-4)
1. การเตรียมความพรอ้ มด้านการเตรยี ม วัสดุ อปุ กรณ์นกั เรยี นจะต้องกระจายงานได้ทั่วถึง และตรง
ตามความสามารถของสมาชิกทุกคน มีการจัดเตรยี มสถานท่ี ส่อื วัสดุ อุปกรณไ์ ว้อย่างพร้อมเพรยี ง
2. ความมีเหตุมผี ลในการปฏิบัติงาน ตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง นกั เรียนจะต้องมีการใช้
เทคนิคที่แปลกใหม่ ใชส้ อื่ และเทคโนโลยี ประกอบการ นาเสนอทน่ี า่ สนใจ นาวสั ดใุ นท้องถนิ่ มาประยุกต์ใช้
อยา่ งคุ้มคา่ และประหยัด

ไมโครคอนโทรลเลอร์

กจิ กรรมกำรเรยี นกำรสอนหรอื กำรเรียนรู้

ขนั้ ตอนการสอนหรอื กิจกรรมของครู ข้ันตอนการเรียนรหู้ รอื กจิ กรรมของนักเรียน

1. ขั้นนำเข้ำสู่บทเรียน (15 นำที ) 1. ขั้นนำเข้ำสู่บทเรียน (15 นำที )
จัดใหน้ ักเรยี นศึกษา Arduino กบั ลาโพงบัซเซอร์ ใน นักเรยี นศึกษา Arduino กับลาโพงบซั เซอร์ ในบทเรยี น
บทเรยี น
23. ผเู้ รียนเตรียมอปุ กรณแ์ ละ ฟังครูผูส้ อนแนะนา
34. ผสู้ อนจัดเตรยี มเอกสาร พร้อมกบั แนะนา รายวิชา วธิ ีการให้คะแนนและวิธกี ารเรียนเรือ่ ง
รายวชิ า วธิ กี ารใหค้ ะแนนและวิธกี ารเรียนเรื่อง Arduino กับลาโพงบซั เซอร์
Arduino กับลาโพงบซั เซอร์
24. ผู้เรียนทาความเข้าใจเก่ยี วกับจุดประสงค์การ
35. ผสู้ อนแจง้ จดุ ประสงค์การเรียนของหนว่ ยที่ เรยี นของหน่วยที่ 12 และการใหค้ วามร่วมมือในการทา
12 และขอให้ผเู้ รยี นรว่ มกนั ทากิจกรรมการเรยี นการ กจิ กรรม
สอน
3. ผู้เรยี นแสดงความรเู้ กี่ยวกับ เรอ่ื ง Arduino กบั
36. ผู้สอนใหผ้ ู้เรียนแสดงความร้เู ก่ียวกบั เรือ่ ง กบั ลาโพงบัซเซอร์
Arduino กับลาโพงบัซเซอร์

2. ขั้นใหค้ วำมรู้ (45 นำที) 2. ขนั้ ใหค้ วำมรู้ (45 นำที )
15. ผูส้ อนเปดิ PowerPoint หน่วยท่ี 12 เร่ือง 23. ผเู้ รยี นศกึ ษา PowerPoint หน่วยท่ี 12 เรื่อง
Arduino กบั ลาโพงบซั เซอร์
Arduino กับลาโพงบัซเซอร์ 24. ผเู้ รยี นฟังผู้สอนอธบิ ายเนื้อหาในหนว่ ยที่ 12
16. ผสู้ อนอธิบายเนือ้ หาในหน่วยท่ี 12 เรือ่ ง
เรอ่ื ง Arduino กบั ลาโพงบัซเซอร์
Arduino กับลาโพงบัซเซอร์

3. ขั้นประยกุ ต์ใช้ ( 150 นำที ) 3. ขัน้ ประยุกตใ์ ช้ ( 150 นำที )
24. ผู้สอนใหผ้ เู้ รยี นทาใบงานที่ 12 เรอ่ื ง 24. ผเู้ รยี นทาใบงานท่ี 12 เรื่อง โปรแกรม Arduino

โปรแกรม Arduino ควบคุมลาโพงบัซเซอร์ ควบคุมลาโพงบัซเซอร์
25. ผสู้ อนให้ผู้เรยี นทาแบบฝึกหดั หน่วยที่ 12 25. ผเู้ รียนทาแบบฝึกหดั หนว่ ยท่ี 12

4. ขัน้ สรุปและประเมนิ ผล ( 30 นำที ) 4. ขั้นสรุปและประเมนิ ผล ( 30 นำที )
23. ผสู้ อนและผู้เรยี นร่วมกนั สรปุ เน้ือหาที่ได้ 23. ผสู้ อนและผเู้ รียนรว่ มกันสรุปเนือ้ หาที่ได้เรียน

เรียนให้มคี วามเขา้ ใจในทิศทางเดยี วกัน เพ่ือให้มคี วามเข้าใจในทิศทางเดยี วกนั
24. ผสู้ อนใหผ้ เู้ รียนศึกษาเพิ่มเติมนอกห้องเรยี น 24. ผเู้ รยี นศกึ ษาเพิ่มเติมนอกหอ้ งเรียน ด้วย

จากเว็บไซดเ์ น้ือหาเก่ียวกบั Arduino บทเรยี นคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่จดั ทาขึ้น Arduino

(บรรลุจดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรมข้อที่ 1-4) (บรรลจุ ดุ ประสงค์เชงิ พฤติกรรมขอ้ ท่ี 1-4)

ไมโครคอนโทรลเลอร์

งำนท่มี อบหมำยหรือกจิ กรรมกำรวดั ผลและประเมินผล

กอ่ นเรียน

1. จัดเตรียมเอกสาร สอ่ื การเรียนการสอนหนว่ ยที่ 12
2. ศกึ ษาเน้อื หา ในหน่วยที่ 12
3. ทาความเขา้ ใจเก่ียวกบั จุดประสงคก์ ารเรยี นของหน่วยที่ 12 และใหค้ วามร่วมมือในการทากิจกรรม
ในหน่วยที่ 12

ขณะเรียน

23. ปฏบิ ตั ติ ามกจิ กรรมการเรียนการสอนขนั้ ที่ 2 และ 3 เร่ือง Arduino กับลาโพงบซั เซอร์
24. รว่ มกนั สรุปเน้ือหาเร่ือง Arduino กบั ลาโพงบซั เซอร์

หลงั เรยี น

12.ทาแบบประเมนิ การเรียนรู้

ผลงำน/ชิ้นงำน/ควำมสำเร็จของผู้เรยี น

10. ใบงานที่ 12 เร่ือง โปรแกรม Arduino ควบคุมลาโพงบัซเซอร์
3. แบบฝกึ หัดหนว่ ยที่ 12 เรอื่ ง Arduino กบั ลาโพงบซั เซอร์

สอ่ื กำรเรยี นกำรสอน/กำรเรียนรู้

ส่อื สิง่ พิมพ์
56. เอกสารประกอบการสอนวิชา ไมโครคอนโทรเลอร์ (ใช้ประกอบการเรยี นการสอนจดุ ประสงค์
เชงิ พฤติกรรมข้อท่ี 1-4)
57. ใบความรทู้ ี่ 12 เร่ือง Arduino กบั ลาโพงบซั เซอร์ (ใชป้ ระกอบการเรยี นการสอนขั้นให้ความรู้ เพอ่ื ให้
บรรลจุ ุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ขอ้ ที่ 1-4)
58. แบบฝกึ หัดหนว่ ยท่ี 12 สรุปและประเมินผล
59. แบบประเมินผลงานตามใบงาน
60. แบบประเมินพฤตกิ รรมการทางาน ใช้ประกอบการสอนข้ันประยกุ ตใ์ ช้ ขั้นสรุปและประเมนิ ผล

ส่ือโสตทศั น์
23. เครือ่ งไมโครคอมพวิ เตอร์
24. PowerPoint เรื่อง Arduino กับลาโพงบซั เซอร์

ไมโครคอนโทรลเลอร์

แหล่งกำรเรยี นรู้

ในสถำนศกึ ษำ
21. หอ้ งสมุดวทิ ยาลยั ฯ
22. หอ้ งปฏิบตั กิ ารคอมพิวเตอร์ ศกึ ษาหาขอ้ มูลทาง Internet

นอกสถำนศกึ ษำ
ผ้ปู ระกอบการ สถานประกอบการ ในท้องถน่ิ

กำรบรู ณำกำร/ควำมสมั พันธ์กับวชิ ำอ่ืน

31. การบูรณาการกับวชิ าภาษาไทย ดา้ นบุคลิกภาพในการนาเสนอหนา้ ชน้ั เรียน
32. การบูรณาการกับวชิ าคณิตศาสตร์ ในเรอื่ ง คานวณสูตร
33. การบรู ณาการกับวชิ าองั กฤษ เกี่ยวกับคาศัพท์

กำรประเมนิ ผลกำรเรียนรู้

หลกั กำรประเมนิ ผลกำรเรียนรู้
ก่อนเรียน
ทดสอบของเน้ือหาในรายวิชากอ่ นนาเข้าสู่บทเรียน

ขณะเรยี น
สงั เกตพฤตกิ รรมตา่ ง ๆ ของนักเรยี นแตล่ ะคน

หลงั เรยี น
ถามตอบเก่ยี วกบั เนื้อหาท่เี รียนดูสรปุ ผลการทดลองวา่ ถกู ต้องหรือไม่

คำถำม
- นักเรียนรู้จกั ลาโพงบซั เซอร์หรือไม่
- ให้นกั เรยี นยกตัวอย่างลาโพงบัซเซอร์ใช้ในอุปกรณ์ชนิดใดบ้าง

ไมโครคอนโทรลเลอร์

รำยละเอยี ดกำรประเมนิ ผลกำรเรียนรู้

จุดประสงค์เชงิ พฤติกรรม ข้อท่ี 1 สามารถอธิบายการต่อใช้งาน Arduino กบั ลาโพงบซั เซอร์

34. วธิ กี ารประเมนิ : ทดสอบ

35. เคร่อื งมือ : แบบทดสอบ

36. เกณฑ์การใหค้ ะแนน : สามารถอธบิ ายการต่อใชง้ าน Arduino กับลาโพงบซั เซอร์

จะได้ 5 คะแนน

จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม ข้อที่ 2 สามารถเขยี นโปรแกรมไมโครคอนโทรลเลอร์ Arduino กับ

ลาโพงบัซเซอร์

37. วธิ ีการประเมิน : ตรวจผลงาน

38. เครื่องมอื : แบบประเมิน

39. เกณฑ์การใหค้ ะแนน : สามารถเขยี นโปรแกรมไมโครคอนโทรลเลอร์ Arduino กบั

ลาโพงบัซเซอร์ จะได้ 5 คะแนน

ไมโครคอนโทรลเลอร์

ใบประเมินผลวชิ ำ ไมโครคอนโทรลเลอร์ ค่าน้าหนัก ค่านา้ หนกั
หนว่ ยท่ี ………….…ชอ่ื หนว่ ย…………………….………………………..……………… คะแนน คะแนนท่ี
เร่อื ง…………………………………..…………………….………………..…………………. ขณะวดั แทจ้ รงิ
ชื่อ-สกุล………………………………………………….ชน้ั ………..…..เลขท่.ี ............. (คะแนน) (คะแนน)
ลาดบั ท่ี รายการแบบประเมนิ
30 3
1. แบบฝกึ หดั 60 6
2. ใบงาน
10 1
- การเตรียมเกบ็ รักษาเครื่องมือ (10)
- ทกั ษะในการปฏบิ ัติงาน (20) 100 10
- ปฏิบัตงิ านถกู ต้องตามขั้นตอน (15)
- ความถกู ต้องของใบงาน (15)
3. คุณธรรมจรยิ ธรรม
- ความตรงต่อเวลา (2)
- การแต่งกาย (2)
- ความตั้งใจในการปฏบิ ตั งิ าน (2)
- การทางานร่วมกบั ผู้อ่ืน (2)
- ความรบั ผดิ ชอบ (2)

คะแนนรวมทีไ่ ด้

ข้อเสนอแนะ……………………………………………………………………………………..……………………………

ลงช่อื ……….…….………………………..ผ้ปู ระเมนิ
(………………………………………….)
………/…………./……….

ไมโครคอนโทรลเลอร์

แบบบันทึกสรุปผลคะแนนประจำวิชำไมโครคอนโทรลเลอร์

หน่วยท่.ี ..............ช่อื หน่วย…………………….………………………..………………

รายการแบบประเมิน แบบฝึกหัด
ใบงาน
คุณธรรมจริยธรรม
รวมคะแนน ี่ทไ ้ด

ค่าน้าหนักคะแนนทีแ่ ทจ้ ริง 3 6 1 10
เลขที่ ชือ่ -สกลุ คะแนนท่ีได้

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20

ไมโครคอนโทรลเลอร์

เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 12
ตอนท่ี 1 ให้นกั เรียนทาเครื่องหมายกากบาท (X) ลงบนคาตอบที่ถกู ทสี่ ดุ เพียงคาตอบเดียว

1. อปุ กรณ์กาเนดิ เสียงหมายถึงข้อใด 6. ความถโ่ี นต้ ดนตรตี ัว C มีความถ่ีเท่าใด
ก. ทรานซสิ เตอร์ ข. คอนเดนเซอร์ ก. 349 เฮิร์ต
ค. ลาโพง ง. รซี ิสเตอร์ ข. 330 เฮิร์ต
ค. 294 เฮิรต์
2. ลาโพงบซั เซอรท์ าหน้าที่อะไร ง. 262 เฮิร์ต
ก. เปล่ียนสัญญาณเสยี งเป็นสัญญาณไฟฟา้
ข. เปลยี่ นพลงั งานกลเป็นสญั ญาณเสียง 7. ความถี่โน้ตดนตรตี ัว A มีความถ่ีเทา่ ใด
ค. เปลย่ี นสญั ญาณไฟฟ้าเป็นสัญญาณกล ก. 294 เฮิร์ต
ง. เปลีย่ นสญั ญาณไฟฟ้าเป็นสญั ญาณเสียง ข. 440 เฮริ ต์
ค. 349 เฮริ ต์
3. มนุษยไ์ ดย้ นิ เสียงอยู่ในช่วงความถีใ่ ด ง. 262 เฮริ ์ต
ก. 20 – 20 กโิ ลเฮริ ์ต
ข. 20 – 40 กโิ ลเฮิร์ต 8. ความถโ่ี นต้ ดนตรีตวั E มคี วามถ่ีเทา่ ใด
ค. 200 – 40,000 เฮิร์ต ก. 440 เฮิร์ต
ง. 20 – 2,000 เฮิร์ต ข. 330 เฮริ ์ต
ค. 294 เฮริ ์ต
4. สูตรในการคานวณหาคา่ ความถี่เสียงคือข้อ ง. 494 เฮิร์ต
ใด
9. ความถ่ีโน้ตดนตรตี ัว B มคี วามถีเ่ ทา่ ใด
ก. ความถ่ี (F) = 1 / ไซเคิล (cycles) ก. 349 เฮริ ต์
ข. delaytime = 1 second ข. 392 เฮิรต์
ค. 494 เฮริ ์ต
2 x toneFrequency ง. 524 เฮิร์ต

ค. ความถ่ี (F) = วนิ าที (second) / ไซเคิล 10. คาส่ังใดใชส้ าหรบั การกาเนิดความถเ่ี สยี ง
ก. delay(500);
(cycles) ข. const int SpeakerPin = 8;
ง. ความถี่ (F) = 1 / คาบเวลา (T) ค. tone(8, 494, 500);
ง. delayMicroseconds(500);
5. ลาโพงบัซเซอร์ แบ่งออกเป็นกช่ี นิด
ก. 1 ชนิด ข. 2 ชนิด
ค. 3 ชนดิ ง. 4 ชนดิ

ไมโครคอนโทรลเลอร์

เฉลยแบบฝกึ หดั หน่วยท่ี 12
ตอนที่ 2 ให้นักเรยี นตอบคาถามต่อไปน้ใี ห้ถูกต้อง
1. จงอธบิ ายการสรา้ งความถีเ่ สยี งของ Arduino

การตอ่ ใช้งานระหวา่ ง Arduino กับลาโพงบัซเซอร์สามารถต่อได้โดยตรงจากพอรต์ ดิจิตอล ขาอีกด้าน
หนึง่ ของลาโพงตอ่ ลงกราวด์ การสร้างความถี่เสยี งสามารถทาได้โดยงา่ ยเพียงนาโปรแกรมไฟกระพรบิ มา
ประยกุ ตง์ านดว้ ยการส่งสัญญาณลอจิก “1” และลอจิก “0” ใหอ้ ยใู่ นชว่ งความถเ่ี สียงที่มนษุ ย์ได้ยินซง่ึ อยูใ่ นชว่ ง
ความถี่ 20 – 20,000 เฮริ ์ท (Hz.)
สูตรการคานวณหาค่าการหน่วงเวลา

delaytime = 1 second (1 second = 1,000,000 microsecond)
2 x toneFrequency

2. จงอธบิ ายการสร้างความถเี่ สียงโนต้ ดนตรขี อง Arduino
Arduino มคี วามสามารถในการผลิตความถี่เสยี งสูง เสียงต่า หรือผลิตเปน็ เสียงโนต้ ดนตรีไดน้ ัน้ เอง

โดยความถเี่ สียงโนต้ ดนตรีดูได้ในตาราง

โนต๊ ควำมถ่ี
C 262
D 294
E 330
F 349
G 392
A 440
B 494
C 524

ไมโครคอนโทรลเลอร์

บนั ทึกหลงั กำรสอน

หนว่ ยท่ี 12 Arduino กบั ลำโพงบัซเซอร์
ผลกำรใช้แผนกำรเรยี นรู้

1. เน้ือหาสอดคลอ้ งกับจุดประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม
2. สามารถนาไปใช้ปฏิบตั กิ ารสอนได้ครบตามกระบวนการเรยี นการสอน
3. ส่ือการสอนเหมาะสมดี

ผลกำรเรยี นของนักเรยี น

1. นกั เรียนส่วนใหญม่ ีความสนใจใฝร่ ู้ เขา้ ใจในบทเรียน อภปิ รายตอบคาถามในกลุ่ม และรว่ มกันปฏบิ ตั ิ
ใบงานท่ีได้รบั มอบหมาย

2. นักเรียนกระตอื รือรน้ และรับผิดชอบในการทางานกลุ่มเพ่ือใหง้ านสาเรจ็ ทันเวลาทีก่ าหนด
3. นกั เรียนเขา้ ใจและรจู้ กั ช่วยเหลือผ้อู ืน่ ในเรอ่ื ง Arduino กบั ลาโพงบัซเซอร์

ผลกำรสอนของครู

1. สอนเน้อื หาได้ครบตามหลกั สตู ร
2. แผนการสอนและวิธีการสอนครอบคลุมเนื้อหาการสอนทาใหผ้ สู้ อนสอนได้อย่างม่ันใจ
3. สอนไดท้ ันตามเวลาทก่ี าหนด

ไมโครคอนโทรลเลอร์

แผนกำรสอน/แผนกำรเรียนรู้ หน่วยท่ี 13
สอนสปั ดาห์ท่ี 14
แผนการสอน/การเรยี นรู้ ทฤษฎี 1 คาบ
ปฏิบัติ 3 คาบ
ชื่อวชิ า ไมโครคอนโทรลเลอร์
ชอื่ หน่วย Arduino กบั เซ็นเซอรว์ ัดความชน้ื จานวนคาบ 4 คาบ

และอณุ หภมู ิ

ช่ือเรื่อง Arduino กับเซ็นเซอรว์ ัดความชน้ื และอณุ หภมู ิ

หวั ขอ้ เร่ือง

1. เซน็ เซอร์วดั ความช้ืนและอณุ หภมู ิ
2. การต่อใช้งาน Arduino กับเซ็นเซอรว์ ัดความชน้ื และอุณหภูมิ

สำระสำคญั

เซน็ เซอร์วดั ความชืน้ และอุณหภูมิ (Humidity & Temperature Sensor) ทาหน้าท่ีสาหรบั วัดค่าความช้นื
และค่าอุณหภมู ใิ นอากาศเพ่ือแสดงผลเป็นขอ้ มูลสถิตินาไปใชใ้ นงานต่างๆ เช่น การบนั ทึกขอ้ มูลเกย่ี วกบั อุณหภูมิ
และความช้ืนภายในห้อง การควบคมุ ความช้นื และอุณหภูมิภายในโรงเรอื นเพาะชาตา่ งๆ เปน็ ตน้

สมรรถนะอำชพี ประจำหน่วย

สามารถเขยี นโปรแกรม Arduino กบั เซ็นเซอรว์ ัดความช้ืนและอุณหภมู ิ

ไมโครคอนโทรลเลอร์

จดุ ประสงคก์ ำรสอน/กำรเรยี นรู้

จุดประสงคท์ ัว่ ไป / บูรณำกำรเศรษฐกจิ พอเพยี ง

38. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกบั การต่อวงจร Arduino กับเซน็ เซอรว์ ัดความช้ืนและอุณหภมู ิ
(ด้านความร)ู้

39. เพ่อื ให้มีทักษะในการเขยี นโปรแกรม Arduino กับเซ็นเซอรว์ ดั ความชนื้ และอุณหภูมิ (ด้านทักษะ)
40. เพอ่ื ใหม้ ีเจตคติทด่ี ีต่อการเตรียมความพร้อมด้านการเตรยี ม วัสดุ อุปกรณ์ และการปฏบิ ัตงิ านอยา่ ง

ถกู ต้อง สาเร็จภายในเวลาที่กาหนด มีเหตแุ ละผลตามหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ด้านคุณธรรม
จริยธรรม)

จดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม / บูรณำกำรเศรษฐกิจพอเพยี ง

52. สามารถอธิบายการต่อใชง้ าน Arduino กบั เซ็นเซอรว์ ัดความช้ืนและอุณหภมู ิ
53. สามารถเขียนโปรแกรมไมโครคอนโทรลเลอร์ Arduino กับเซน็ เซอร์วดั ความช้ืนและอุณหภูมิ
54. เตรียมความพรอ้ มดา้ นวัสดุ อปุ กรณ์สอดคล้องกบั งานไดอ้ ย่างถกู ต้อง (ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม/

บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง)
55. ปฏิบตั ิงานได้อยา่ งถูกต้อง และสาเร็จภายใน เวลาทก่ี าหนดอยา่ งมีเหตุและผลตามหลักปรัชญาของ

เศรษฐกิจพอเพยี ง (ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม/บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง)

ไมโครคอนโทรลเลอร์

เนื้อหำสำระกำรสอน/กำรเรยี นรู้

• ดำ้ นควำมรู้(ทฤษฎ)ี

1. เซน็ เซอร์วัดควำมช้ืนและอุณหภูมิ (จดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อที่1)
เซน็ เซอรว์ ดั ความช้ืนและอุณหภูมิ (Humidity & Temperature Sensor) ทาหนา้ ทสี่ าหรบั วดั คา่ ความชื้น

และคา่ อณุ หภมู ิในอากาศเพอื่ แสดงผลเป็นข้อมลู สถติ นิ าไปใชใ้ นงานต่างๆ เชน่ การบนั ทึกข้อมลู เกีย่ วกับอุณหภมู ิ
และความชน้ื ภายในห้อง การควบคมุ ความชืน้ และอุณหภูมิภายในโรงเรือนเพาะชาตา่ งๆ เป็นต้น
2. กำรตอ่ ใช้งำน Arduino กบั เซ็นเซอร์วดั ควำมชน้ื และอุณหภูมิ (จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรมข้อที่1)

การต่อใชง้ าน Arduino กับเซ็นเซอร์วดั ความชืน้ และอุณหภมู ิโดยปกตสิ ายสญั ญาณระหว่าง ตวั เซน็ เซอร์
กับบอรด์ Arduino ควรห่างกันไม่เกิน 20 เมตร และต้องต่อตัวตา้ นทานพูลอัฟ (Pull up resistor) ค่า 5 กิโลโอห์ม
กับสายดาตา้ ไวด้ ว้ ย ถ้าต้องการตอ่ สายดาตา้ ท่มี คี วามยาวมากกว่าน้ีต้องเปล่ยี นตวั ตา้ นทานพลู อัฟให้มีคา่ ท่ี
เหมาะสมด้วย

• ดำ้ นทักษะ(ปฏบิ ัติ)

ใบงานท่ี 13 เรือ่ ง โปรแกรม Arduino กบั เซน็ เซอรว์ ดั ความช้ืนและอุณหภูมิ (จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรมขอ้ ที่2)

• ดำ้ นคุณธรรม/จรยิ ธรรม/จรรยำบรรณ/บูรณำกำรเศรษฐกจิ พอเพยี ง

(จดุ ประสงค์เชงิ พฤติกรรมขอ้ ท่ี3-4)
1. การเตรียมความพรอ้ มดา้ นการเตรียม วสั ดุ อุปกรณน์ กั เรียนจะต้องกระจายงานไดท้ ัว่ ถึง และตรง
ตามความสามารถของสมาชิกทุกคน มกี ารจัดเตรยี มสถานที่ ส่อื วสั ดุ อุปกรณไ์ ว้อย่างพรอ้ มเพรียง
2. ความมเี หตุมผี ลในการปฏิบัติงาน ตามหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง นักเรียนจะต้องมีการใช้
เทคนคิ ทแ่ี ปลกใหม่ ใช้ส่ือและเทคโนโลยี ประกอบการ นาเสนอท่นี า่ สนใจ นาวสั ดใุ นท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้
อยา่ งคุ้มคา่ และประหยัด

ไมโครคอนโทรลเลอร์

กิจกรรมกำรเรยี นกำรสอนหรือกำรเรียนรู้

ขน้ั ตอนการสอนหรือกจิ กรรมของครู ขัน้ ตอนการเรยี นรู้หรือกจิ กรรมของนกั เรียน

1. ขัน้ นำเขำ้ ส่บู ทเรียน (15 นำที ) 1. ข้นั นำเข้ำสูบ่ ทเรยี น (15 นำที )

จดั ให้นกั เรียนศึกษา Arduino กับเซ็นเซอรว์ ัดความชื้น นกั เรียนศกึ ษา Arduino กับเซน็ เซอร์วัดความชื้นและ

และอุณหภมู ิ ในบทเรยี น อณุ หภูมิ ในบทเรยี น

37. ผสู้ อนจดั เตรยี มเอกสาร พร้อมกับแนะนา 25. ผ้เู รียนเตรียมอปุ กรณแ์ ละ ฟังครผู ้สู อนแนะนา

รายวชิ า วธิ กี ารใหค้ ะแนนและวธิ ีการเรียนเรื่อง รายวชิ า วธิ กี ารให้คะแนนและวธิ ีการเรยี นเร่อื ง

Arduino กับเซ็นเซอร์วัดความชน้ื และอุณหภมู ิ Arduino กบั เซ็นเซอรว์ ดั ความชืน้ และอุณหภูมิ

38. ผสู้ อนแจ้งจดุ ประสงคก์ ารเรยี นของหนว่ ยที่ 26. ผู้เรียนทาความเข้าใจเก่ียวกบั จุดประสงค์การ

13 และขอให้ผเู้ รียนร่วมกันทากจิ กรรมการเรียนการ เรียนของหน่วยท่ี 13 และการให้ความรว่ มมือในการทา

สอน กิจกรรม

39. ผู้สอนให้ผูเ้ รยี นแสดงความรเู้ กยี่ วกบั เรื่อง 3. ผูเ้ รยี นแสดงความรู้เกีย่ วกับ เร่ือง Arduino กบั
Arduino กับเซน็ เซอร์วดั ความช้ืนและอุณหภูมิ เซน็ เซอรว์ ดั ความช้นื และอุณหภูมิ

2. ขนั้ ให้ควำมรู้ (45 นำที) 2. ข้ันให้ควำมรู้ (45 นำที )
17. ผสู้ อนเปดิ PowerPoint หนว่ ยท่ี 13 เรอื่ ง 25. ผเู้ รยี นศึกษา PowerPoint หน่วยที่ 13 เรอื่ ง

Arduino กับเซน็ เซอรว์ ดั ความชืน้ และอุณหภมู ิ Arduino กับเซ็นเซอร์วัดความช้ืนและอุณหภูมิ
18. ผู้สอนอธิบายเนื้อหาในหน่วยท่ี 13 เร่อื ง 26. ผเู้ รียนฟงั ผู้สอนอธิบายเนื้อหาในหน่วยที่ 13

Arduino กับเซ็นเซอรว์ ดั ความช้ืนและอุณหภูมิ เร่อื ง Arduino กบั เซน็ เซอรว์ ัดความช้ืนและอณุ หภูมิ

3. ข้ันประยกุ ตใ์ ช้ ( 150 นำที ) 3. ขัน้ ประยุกตใ์ ช้ ( 150 นำที )
26. ผู้สอนให้ผเู้ รียนทาใบงานที่ 13 เรือ่ ง 26. ผเู้ รียนทาใบงานท่ี 13 เร่ือง โปรแกรม Arduino

โปรแกรม Arduino ควบคมุ เซ็นเซอรว์ ัดความชื้นและ กับเซน็ เซอร์วัดความชืน้ และอุณหภมู ิ
อุณหภูมิ 27. ผูเ้ รยี นทาแบบฝึกหัดหน่วยท่ี 13

27. ผสู้ อนใหผ้ ู้เรียนทาแบบฝกึ หดั หนว่ ยท่ี 13

4. ขั้นสรปุ และประเมินผล ( 30 นำที ) 4. ข้นั สรุปและประเมนิ ผล ( 30 นำที )
25. ผ้สู อนและผเู้ รยี นร่วมกนั สรปุ เนื้อหาที่ได้ 25. ผสู้ อนและผู้เรยี นรว่ มกนั สรุปเน้ือหาท่ีไดเ้ รยี น

เรียนใหม้ ีความเข้าใจในทิศทางเดียวกัน เพ่ือให้มคี วามเขา้ ใจในทศิ ทางเดยี วกัน
26. ผ้สู อนใหผ้ ูเ้ รียนศึกษาเพิ่มเติมนอกห้องเรยี น 26. ผ้เู รยี นศกึ ษาเพิม่ เติมนอกห้องเรยี น ดว้ ย

จากเว็บไซด์เนื้อหาเกีย่ วกบั Arduino บทเรยี นคอมพิวเตอรช์ ่วยสอนทีจ่ ดั ทาขน้ึ Arduino

(บรรลุจุดประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรมขอ้ ท่ี 1-4) (บรรลุจดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรมขอ้ ท่ี 1-4)

ไมโครคอนโทรลเลอร์

งำนทม่ี อบหมำยหรอื กจิ กรรมกำรวดั ผลและประเมนิ ผล

ก่อนเรียน

1. จัดเตรียมเอกสาร ส่ือการเรียนการสอนหน่วยท่ี 13
2. ศกึ ษาเนอื้ หา ในหนว่ ยที่ 13
3. ทาความเขา้ ใจเกย่ี วกับจดุ ประสงคก์ ารเรยี นของหนว่ ยท่ี 13 และใหค้ วามร่วมมือในการทากิจกรรม
ในหน่วยท่ี 13

ขณะเรียน

25. ปฏบิ ัตติ ามกิจกรรมการเรยี นการสอนข้นั ที่ 2 และ 3 เรื่อง Arduino กบั เซน็ เซอรว์ ัดความชืน้
และอุณหภมู ิ

26. ร่วมกันสรุปเนอ้ื หาเร่ือง Arduino กับเซน็ เซอร์วัดความชืน้ และอุณหภูมิ

หลงั เรียน

13.ทาแบบประเมนิ การเรียนรู้

ผลงำน/ช้ินงำน/ควำมสำเร็จของผ้เู รียน

11. ใบงานท่ี 13 เรื่อง โปรแกรม Arduino กับเซ็นเซอรว์ ัดความชื้นและอุณหภูมิ
3. แบบฝึกหัดหนว่ ยที่ 13 เรอื่ ง Arduino กับเซ็นเซอร์วัดความชืน้ และอุณหภมู ิ

สอ่ื กำรเรียนกำรสอน/กำรเรียนรู้

สื่อส่ิงพิมพ์
61. เอกสารประกอบการสอนวิชา ไมโครคอนโทรเลอร์ (ใช้ประกอบการเรยี นการสอนจดุ ประสงค์
เชงิ พฤติกรรมข้อท่ี 1-4)
62. ใบความรทู้ ่ี 13 เร่ือง Arduino กบั เซน็ เซอร์วัดความชื้นและอุณหภมู ิ (ใช้ประกอบการเรียนการสอน
ขนั้ ให้ความรู้ เพ่ือใหบ้ รรลุจดุ ประสงค์เชงิ พฤติกรรม ข้อที่ 1-4)
63. แบบฝกึ หดั หนว่ ยท่ี 13 สรุปและประเมนิ ผล
64. แบบประเมินผลงานตามใบงาน
65. แบบประเมนิ พฤติกรรมการทางาน ใช้ประกอบการสอนขั้นประยกุ ต์ใช้ ข้นั สรปุ และประเมนิ ผล

สอ่ื โสตทศั น์
25. เครอ่ื งไมโครคอมพิวเตอร์
26. PowerPoint เรอื่ ง Arduino กบั เซ็นเซอร์วดั ความช้ืนและอุณหภมู ิ

ไมโครคอนโทรลเลอร์

แหลง่ กำรเรยี นรู้

ในสถำนศกึ ษำ
23. หอ้ งสมุดวทิ ยาลยั ฯ
24. หอ้ งปฏบิ ตั ิการคอมพวิ เตอร์ ศกึ ษาหาข้อมลู ทาง Internet

นอกสถำนศึกษำ
ผปู้ ระกอบการ สถานประกอบการ ในท้องถิน่

กำรบูรณำกำร/ควำมสมั พันธ์กบั วิชำอนื่

34. การบรู ณาการกับวิชาภาษาไทย ด้านบคุ ลิกภาพในการนาเสนอหนา้ ชั้นเรยี น
35. การบูรณาการกบั วิชาคณิตศาสตร์ ในเร่อื ง คานวณสตู ร
36. การบูรณาการกบั วิชาอังกฤษ เกี่ยวกบั คาศัพท์

กำรประเมนิ ผลกำรเรียนรู้

หลักกำรประเมินผลกำรเรยี นรู้
ก่อนเรียน
ทดสอบของเนื้อหาในรายวิชาก่อนนาเข้าสู่บทเรียน

ขณะเรยี น
สงั เกตพฤตกิ รรมตา่ ง ๆ ของนักเรยี นแตล่ ะคน

หลงั เรยี น
ถามตอบเก่ียวกับเนอื้ หาที่เรยี นดูสรุปผลการทดลองว่าถูกต้องหรือไม่

คำถำม
- นกั เรียนรจู้ กั เซน็ เซอรว์ ดั ความชน้ื และอุณหภมู ิหรือไม่
- ให้นักเรียนยกตวั อย่างเซ็นเซอร์วัดความชน้ื และอุณหภมู ิใชใ้ นอุปกรณช์ นิดใดบ้าง

ไมโครคอนโทรลเลอร์

รำยละเอียดกำรประเมนิ ผลกำรเรยี นรู้

จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม ข้อท่ี 1 สามารถอธิบายการต่อใช้งาน Arduino กบั เซน็ เซอรว์ ัดความชน้ื

และอุณหภูมิ

37. วธิ ีการประเมิน : ทดสอบ

38. เครือ่ งมือ : แบบทดสอบ

39. เกณฑ์การใหค้ ะแนน : สามารถอธิบายการต่อใชง้ าน Arduino กบั เซ็นเซอร์วดั ความช้ืน

และอุณหภูมิ จะได้ 5 คะแนน

จุดประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม ข้อท่ี 2 สามารถเขยี นโปรแกรมไมโครคอนโทรลเลอร์ Arduino กบั

เซ็นเซอรว์ ดั ความช้ืนและอุณหภูมิ

40. วธิ ีการประเมนิ : ตรวจผลงาน

41. เครื่องมอื : แบบประเมนิ

42. เกณฑ์การใหค้ ะแนน : สามารถเขียนโปรแกรมไมโครคอนโทรลเลอร์ Arduino กับ

เซ็นเซอร์วัดความชนื้ และอุณหภูมิ จะได้ 5 คะแนน

ไมโครคอนโทรลเลอร์

ใบประเมินผลวชิ ำ ไมโครคอนโทรลเลอร์ ค่าน้าหนัก ค่านา้ หนกั
หนว่ ยท่ี ………….…ชอ่ื หนว่ ย…………………….………………………..……………… คะแนน คะแนนท่ี
เร่อื ง…………………………………..…………………….………………..…………………. ขณะวดั แทจ้ รงิ
ชื่อ-สกุล………………………………………………….ชน้ั ………..…..เลขท่.ี ............. (คะแนน) (คะแนน)
ลาดบั ท่ี รายการแบบประเมนิ
30 3
1. แบบฝกึ หดั 60 6
2. ใบงาน
10 1
- การเตรียมเกบ็ รักษาเครื่องมือ (10)
- ทกั ษะในการปฏบิ ัติงาน (20) 100 10
- ปฏบิ ัตงิ านถูกต้องตามขั้นตอน (15)
- ความถกู ต้องของใบงาน (15)
3. คุณธรรมจรยิ ธรรม
- ความตรงต่อเวลา (2)
- การแต่งกาย (2)
- ความตั้งใจในการปฏบิ ตั งิ าน (2)
- การทางานร่วมกบั ผู้อ่ืน (2)
- ความรบั ผดิ ชอบ (2)

คะแนนรวมทีไ่ ด้

ข้อเสนอแนะ……………………………………………………………………………………..……………………………

ลงช่อื ……….…….………………………..ผ้ปู ระเมนิ
(………………………………………….)
………/…………./……….

ไมโครคอนโทรลเลอร์

แบบบันทึกสรุปผลคะแนนประจำวิชำไมโครคอนโทรลเลอร์

หน่วยท่.ี ..............ช่ือหนว่ ย…………………….………………………..………………

รายการแบบประเมิน แบบฝึกหัด
ใบงาน
คุณธรรมจริยธรรม
รวมคะแนน ี่ทไ ้ด

ค่าน้าหนักคะแนนทีแ่ ท้จรงิ 3 6 1 10
เลขที่ ชือ่ -สกลุ คะแนนท่ีได้

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20

ไมโครคอนโทรลเลอร์

เฉลยแบบฝกึ หัดหน่วยที่ 13
ตอนที่ 1 ให้นกั เรียนทาเคร่ืองหมายกากบาท (X) ลงบนคาตอบที่ถูกทส่ี ุดเพียงคาตอบเดียว

1. อุปกรณ์ขอ้ ใดวดั ใช้ความช้ืนและอุณหภูมิ ง. อุณหภมู ิ 0-100 องศาเซลเซียส
7. การต่อใช้งานเซ็นเซอร์วัดความชืน้ และ
ก. เซ็นเซอร์ DHT11 ข. เซน็ เซอร์ NTC อณุ หภมู ิ รุ่น DHT11 ขาดาต้าต้องต่อ
ตัวต้านทานพลู อฟั คา่ เทา่ ใด
ค. เซ็นเซอร์เทอร์มสิ เตอร์
ก. 500 โอหม์
ง. เซ็นเซอร์ PTC ข. 1 กิโลโอหม์
ค. 5 กโิ ลโอหม์
2. ขอ้ ใดไมใ่ ช่เซ็นเซอร์วัดความชื้นและ ง. 15 กิโลโอห์ม
8. การต่อใช้งานเซ็นเซอรว์ ัดความช้ืนและ
อุณหภูมิ อุณหภมู ิ รนุ่ DHT11 กบั บอร์ด Arduino ควร
มรี ะยะห่างไม่เกนิ เท่าใด
ก. DHT01 ข. DHT11 ก. 5 เมตร
ข. 10 เมตร
ค. DHT21 ง. DHT22 ค. 15 เมตร
ง. 20 เมตร
3. เซน็ เซอรว์ ัดความช้นื และอุณหภมู ิ รุ่น 9. การสง่ ขอ้ มูลดาตา้ เพ่ือส่งค่าความชื้นและ
อุณหภมู ิ ตอ้ งส่งข้อมูลท้ังหมดกี่บิต
DHT11 มีขาต่อใชง้ านทั้งหมดเทา่ ใด ก. 40 บิต ข. 45 บติ
ค. 50 บติ ง. 55 บติ
ก. 1 ขา ข. 2 ขา 10. ในการใชง้ านเซ็นเซอรว์ ดั ความช้นื และ
อุณหภมู ิ รนุ่ DHT11 ตอ้ งติดตั้งไลบราลีใด
ค. 3 ขา ง. 4 ขา กอ่ น
ก. LiquidCrystal.h
4. เซน็ เซอรว์ ดั ความชืน้ และอุณหภูมิ รนุ่ ข. DHT.h
ค. dht.setup
DHT11 ใชแ้ รงดันไฟเลี้ยงเท่าใด ง. delay.h

ก. 5 โวลต์ ข. 6 โวลต์

ค. 7 โวลต์ ง. 8 โวลต์

5. เซน็ เซอรว์ ัดความช้นื และอุณหภูมิ รุ่น

DHT11 สามารถวดั ความชน้ื ในยา่ นใด

ก. ความชน้ื 10-50% RH

ข. ความชน้ื 50-100% RH

ค. ความชื้น 0-100% RH

ง. ย่านความชืน้ 20-90% RH

6. เซน็ เซอรว์ ัดความชนื้ และอุณหภูมิ รนุ่

DHT11 สามารถวดั อุณหภมู ิ ในยา่ นใด

ก. อณุ หภมู ิ 0-80 องศาเซลเซยี ส

ข. อณุ หภมู ิ 20-80 องศาเซลเซียส

ค. อุณหภูมิ 0-50 องศาเซลเซยี ส

ไมโครคอนโทรลเลอร์

เฉลยแบบฝกึ หัดหนว่ ยที่ 13
ตอนที่ 2 ให้นักเรียนตอบคาถามตอ่ ไปนใ้ี หถ้ ูกต้อง
1. จงบอกคุณสมบัติของเซน็ เซอร์วดั ความช้นื และอณุ หภมู ิ รนุ่ DHT11
คณุ สมบัตขิ องเซ็นเซอร์วัดความชน้ื และอุณหภูมิ ร่นุ DHT11 มีดังนี้

1. ย่านการวัดความชน้ื 20-90% RH มีค่าความแม่นยา +- 5% RH ความละเอียดในการวดั 1 %
แสดงผลแบบ 8 บิต

2. ย่านการวดั อุณหภูมิ 0-50 องศาเซลเซียส โดยมีคา่ ความแมน่ ยา +-2 องศาเซลเซยี ส ความละเอยี ด
ในการวดั 1 องศาเซลเซยี ส แสดงผลแบบ 8 บติ

3. มขี าตอ่ ใชง้ าน 4 ขารายละเอียดตามดงั รูปท่ี 13.1 ขา 1 ไฟบวก +(VCC) ใชแ้ รงดนั ไฟเล้ยี ง 3 - 5.5
โวลต์ ขา 2 เป็นขาดาตา้ (DAT) ขา 3 ไมไ่ ด้ใช้งาน และขา 4 ขาไฟกราวด์

4. เซน็ เซอร์วดั อุณหภมู ิและความชืน้ รุ่น DHT11 ขณะทาการวดั คา่ กนิ กระแส 0.5 - 2.5 mA
5. การส่งขอ้ มลู ของเซน็ เซอร์ทาการส่งข้อมูลทกุ ๆ 1 วนิ าที

2. จงอธิบายการต่อใช้งาน Arduino กบั เซน็ เซอร์วดั ความช้ืนและอุณหภมู ิ
การต่อใช้งาน Arduino กับเซน็ เซอร์วดั ความช้นื และอณุ หภูมิโดยปกติสายสัญญาณระหว่าง ตวั

เซน็ เซอร์กับบอร์ด Arduino ควรห่างกนั ไมเ่ กิน 20 เมตร และต้องต่อตวั ตา้ นทานพูลอฟั (Pull up resistor) ค่า
5 กิโลโอห์มกบั สายดาตา้ ไว้ด้วย ถา้ ต้องการต่อสายดาตา้ ท่ีมคี วามยาวมากกวา่ น้ีต้องเปลี่ยนตวั ต้านทานพูลอัฟ
ใหม้ คี า่ ที่เหมาะสมด้วย วธิ กี ารอา่ นข้อมูลระหวา่ ง Arduino กบั เซน็ เซอรว์ ัดความชนื้ และอุณหภมู ิน้นั ในการอ่าน
ขอ้ มูลจากเซน็ เซอรใ์ ช้สายสญั ญาณเพยี งเส้นเดียวคอื สายดาต้า (DATA) แบบสองทศิ ทาง สถาวะปกติสญั ญาณ
ดาต้า (DATA) มีคา่ เป็น HIGH

ไมโครคอนโทรลเลอร์

บนั ทึกหลังกำรสอน

หน่วยที่ 13 Arduino กับเซน็ เซอรว์ ัดควำมชน้ื และอุณหภมู ิ
ผลกำรใชแ้ ผนกำรเรยี นรู้

1. เนอื้ หาสอดคล้องกับจดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม
2. สามารถนาไปใชป้ ฏบิ ตั ิการสอนได้ครบตามกระบวนการเรยี นการสอน
3. ส่ือการสอนเหมาะสมดี

ผลกำรเรยี นของนักเรียน

1. นกั เรียนสว่ นใหญ่มีความสนใจใฝร่ ู้ เขา้ ใจในบทเรียน อภปิ รายตอบคาถามในกล่มุ และรว่ มกันปฏบิ ตั ิ
ใบงานท่ีไดร้ บั มอบหมาย

2. นักเรยี นกระตือรือรน้ และรับผดิ ชอบในการทางานกล่มุ เพื่อใหง้ านสาเร็จทนั เวลาทีก่ าหนด
3. นักเรยี นเขา้ ใจและร้จู ักช่วยเหลือผู้อน่ื ในเร่อื ง Arduino กับเซน็ เซอรว์ ดั ความช้ืนและอุณหภูมิ

ผลกำรสอนของครู

1. สอนเนือ้ หาได้ครบตามหลกั สตู ร
2. แผนการสอนและวิธีการสอนครอบคลมุ เนื้อหาการสอนทาใหผ้ ูส้ อนสอนได้อย่างมั่นใจ
3. สอนไดท้ ันตามเวลาท่ีกาหนด

ไมโครคอนโทรลเลอร์

แผนกำรสอน/แผนกำรเรยี นรู้ หนว่ ยท่ี 14
สอนสปั ดาห์ท่ี 15
แผนการสอน/การเรยี นรู้ ทฤษฎี 1 คาบ
ปฏบิ ัติ 3 คาบ
ช่อื วิชา ไมโครคอนโทรลเลอร์
ชือ่ หนว่ ย Arduino กบั เซ็นเซอรอ์ ัลตราโซนิก จานวนคาบ 4 คาบ

ชอื่ เรอื่ ง Arduino กับเซน็ เซอรอ์ ัลตราโซนกิ

หัวข้อเรอ่ื ง

1. เซ็นเซอรอ์ ัลตราโซนิก
2. การต่อใช้งาน Arduino กับเซน็ เซอร์อัลตราโซนิก

สำระสำคัญ

เซน็ เซอร์อัลตราโซนิก (Ultrasonic Sensor) เป็นโมดูลทใ่ี ช้สาหรับการตรวจจบั วัตถหุ รือวดั ระยะทาง
ด้วยคลน่ื อัลตราโซนกิ ซง่ึ สามารถนาไปประยุกต์ใช้งานได้หลากหลาย เชน่ เปน็ เซน็ เซอร์สาหรบั ตรวจจับผบู้ กุ รกุ
เป็นเซ็นเซอรส์ าหรับตรวจจับสง่ิ กีดขวางของหนุ่ ยนต์ขณะเคลือ่ นท่ี หรอื เครื่องวดั ระยะทางดว้ ยคลนื่ อัลตราโซนิก
โมดลู สาหรับการตรวจจบั วตั ถหุ รือวดั ระยะทางด้วยคลืน่ อลั ตราโซนิกมใี หเ้ ลือกใชง้ านหลายรุน่ แลว้ แตผ่ ู้ผลิต
คุณภาพ สว่ นราคามีตงั้ แตร่ าคาถกู หลักร้อยบาท ไปจนถึงราคาหลักพนั บาท

สมรรถนะอำชีพประจำหน่วย

สามารถเขียนโปรแกรม Arduino กับเซ็นเซอร์อลั ตราโซนิก

ไมโครคอนโทรลเลอร์

จดุ ประสงคก์ ำรสอน/กำรเรียนรู้

จดุ ประสงคท์ ว่ั ไป / บรู ณำกำรเศรษฐกิจพอเพยี ง

41. เพื่อใหม้ ีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการต่อวงจร Arduino กบั เซน็ เซอร์อลั ตราโซนิก (ด้านความร)ู้
42. เพ่ือใหม้ ที ักษะในการเขียนโปรแกรม Arduino กับเซ็นเซอรอ์ ัลตราโซนิก (ดา้ นทักษะ)
43. เพ่อื ให้มเี จตคติที่ดตี ่อการเตรียมความพร้อมด้านการเตรียม วสั ดุ อปุ กรณ์ และการปฏิบัติงานอยา่ ง

ถกู ต้อง สาเรจ็ ภายในเวลาท่กี าหนด มีเหตุและผลตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ด้านคุณธรรม
จรยิ ธรรม)

จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม / บรู ณำกำรเศรษฐกิจพอเพียง

56. สามารถอธิบายการต่อใชง้ าน Arduino กบั เซน็ เซอร์อัลตราโซนิก
57. สามารถเขียนโปรแกรมไมโครคอนโทรลเลอร์ Arduino กับเซน็ เซอร์อลั ตราโซนิก
58. เตรยี มความพรอ้ มดา้ นวัสดุ อปุ กรณส์ อดคล้องกบั งานได้อย่างถกู ต้อง (ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม/

บรู ณาการเศรษฐกจิ พอเพียง)
59. ปฏบิ ัติงานได้อยา่ งถูกต้อง และสาเรจ็ ภายใน เวลาทก่ี าหนดอย่างมเี หตุและผลตามหลักปรัชญาของ

เศรษฐกจิ พอเพยี ง (ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม/บรู ณาการเศรษฐกิจพอเพยี ง)

ไมโครคอนโทรลเลอร์

เนอื้ หำสำระกำรสอน/กำรเรียนรู้

• ด้ำนควำมร(ู้ ทฤษฎี)

1. เซน็ เซอร์อัลตรำโซนกิ (จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อที่1)
สาหรับเซ็นเซอร์อลั ตราโซนกิ รุน่ HC-SR04 นี้เป็นแผงวงจรวดั ตรวจจับวัตถหุ รอื วัดระยะ ทางด้วยคลน่ื

อัลตราโซนิคทม่ี ีความเทย่ี งตรงสูง โดยสามารถตรวจจับวตั ถุหรอื วดั ระยะไดต้ ้งั แต่ 2 เซนติเมตรไปจนถึง 400
เซนตเิ มตร โดยการสง่ สญั ญาณคลื่นอัลตราโซนิคความถ่ี 40 kHz ไปทีว่ ัตถแุ ละทาการรับสัญญาณคล่ืนอัลตราโซนคิ
ที่สะท้อนกลบั มา และทาการจบั เวลาเพื่อนามาใชใ้ นการคานวณระยะทางนั้น
2. กำรต่อใช้งำน Arduino กบั เซ็นเซอร์อลั ตรำโซนิก (จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อท่ี1)

ไมโครคอนโทรลเลอร์ Arduino ตอ้ งสรา้ งสัญญาณพลั ส์ความกวา้ ง 10 ไมโครวินาที (mS.) ป้อนเข้าทีข่ า
Trig ของเซน็ เซอร์อลั ตราโซนิก จากนัน้ ตัวส่ง (T) เซ็นเซอร์อัลตราโซนคิ จะส่งคล่นื อลั ตราซาวนดอ์ อกเป็น
สัญญาณพลั ส์ท้ังหมด 8 พลั ส์ท่คี วามถ่ี 40 กโิ ลเฮิรท์ (KHz) เม่อื ตวั รบั (R) เซน็ เซอร์อัลตราโซนิกสามารถรบั คลืน่ ที่
สะท้อนวัตถุกลับมาแล้วทีข่ า Echo จะมสี ญั ญาณพัลสเ์ กิดข้ึนความกว้างของสญั ญาณมีคา่ ตั้งแต่ 150 ไมโครวนิ าที
(uS) – 25 มิลลวิ ินาที (mS) แต่ถา้ มีความกว้างเกนิ กว่านี้ถือว่าไม่พบวตั ถุ หลังจากนั้น Arduino ต้องสร้างสัญญาณ
พลั ส์ความกว้าง 10 ไมโครวนิ าที (mS.) ออกไปอีกครง้ั สญั ญาณทขี่ า Trig และขา Echo

• ด้ำนทกั ษะ(ปฏิบัต)ิ

ใบงานท่ี 14 เรื่อง โปรแกรม Arduino กับเซน็ เซอร์อัลตราโซนิก (จุดประสงค์เชงิ พฤติกรรมข้อท่ี2)

• ดำ้ นคุณธรรม/จรยิ ธรรม/จรรยำบรรณ/บูรณำกำรเศรษฐกจิ พอเพียง

(จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรมขอ้ ท่ี3-4)
1. การเตรียมความพร้อมด้านการเตรยี ม วัสดุ อุปกรณน์ กั เรยี นจะต้องกระจายงานไดท้ ่ัวถึง และตรง
ตามความสามารถของสมาชิกทกุ คน มีการจดั เตรยี มสถานที่ สื่อ วัสดุ อปุ กรณ์ไว้อย่างพร้อมเพรยี ง
2. ความมเี หตมุ ีผลในการปฏบิ ัตงิ าน ตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง นักเรียนจะต้องมกี ารใช้
เทคนิคทีแ่ ปลกใหม่ ใช้สือ่ และเทคโนโลยี ประกอบการ นาเสนอทีน่ ่าสนใจ นาวสั ดใุ นท้องถิน่ มาประยุกต์ใช้
อย่างคุ้มค่าและประหยัด

ไมโครคอนโทรลเลอร์

กิจกรรมกำรเรียนกำรสอนหรือกำรเรียนรู้

ขนั้ ตอนการสอนหรือกจิ กรรมของครู ข้ันตอนการเรียนรหู้ รอื กจิ กรรมของนักเรยี น

1. ข้ันนำเขำ้ สบู่ ทเรยี น (15 นำที ) 1. ขน้ั นำเขำ้ สบู่ ทเรยี น (15 นำที )

จดั ใหน้ กั เรยี นศึกษา Arduino กบั เซ็นเซอร์ นักเรียนศกึ ษา Arduino กับเซน็ เซอร์อลั ตราโซนกิ ใน

อลั ตราโซนกิ ในบทเรยี น บทเรียน

40. ผสู้ อนจัดเตรยี มเอกสาร พร้อมกับแนะนา 27. ผู้เรียนเตรียมอปุ กรณแ์ ละ ฟังครผู ้สู อนแนะนา

รายวชิ า วธิ กี ารให้คะแนนและวิธีการเรียนเร่ือง รายวิชา วธิ ีการใหค้ ะแนนและวิธีการเรียนเร่ือง

Arduino กับเซน็ เซอร์อลั ตราโซนิก Arduino กับเซ็นเซอร์อัลตราโซนิก

41. ผู้สอนแจ้งจดุ ประสงค์การเรยี นของหน่วยที่ 28. ผเู้ รียนทาความเขา้ ใจเกยี่ วกบั จดุ ประสงค์การ

14 และขอให้ผู้เรียนรว่ มกนั ทากจิ กรรมการเรียนการ เรยี นของหน่วยท่ี 14 และการใหค้ วามร่วมมือในการทา

สอน กิจกรรม

42. ผสู้ อนใหผ้ เู้ รียนแสดงความร้เู กยี่ วกับ เรอ่ื ง 3. ผเู้ รยี นแสดงความรูเ้ กีย่ วกับ เรอ่ื ง Arduino กบั
Arduino กับเซ็นเซอร์อัลตราโซนิก เซ็นเซอร์อลั ตราโซนิก

2. ข้นั ให้ควำมรู้ (45 นำที) 2. ขัน้ ให้ควำมรู้ (45 นำที )
19. ผสู้ อนเปิด PowerPoint หน่วยท่ี 14 เร่อื ง 27. ผ้เู รยี นศึกษา PowerPoint หน่วยท่ี 14 เร่ือง

Arduino กบั เซ็นเซอร์อลั ตราโซนกิ Arduino กบั เซ็นเซอร์อลั ตราโซนกิ
20. ผสู้ อนอธิบายเนอ้ื หาในหน่วยที่ 14 เร่อื ง 28. ผเู้ รยี นฟงั ผสู้ อนอธบิ ายเนื้อหาในหนว่ ยที่ 14

Arduino กบั เซน็ เซอร์อัลตราโซนิก เร่ือง Arduino กับเซน็ เซอร์อัลตราโซนิก

3. ขั้นประยกุ ตใ์ ช้ ( 150 นำที ) 3. ขน้ั ประยกุ ต์ใช้ ( 150 นำที )
28. ผสู้ อนให้ผเู้ รยี นทาใบงานที่ 14 เรอ่ื ง 28. ผเู้ รียนทาใบงานที่ 14 เรื่อง โปรแกรม Arduino

โปรแกรม Arduino ควบคุมเซน็ เซอร์อัลตราโซนิก กบั เซ็นเซอรอ์ ลั ตราโซนิก
29. ผสู้ อนใหผ้ เู้ รยี นทาแบบฝึกหดั หนว่ ยที่ 14 29. ผเู้ รยี นทาแบบฝึกหัดหน่วยที่ 14

4. ข้ันสรุปและประเมนิ ผล ( 30 นำที ) 4. ขั้นสรปุ และประเมินผล ( 30 นำที )
27. ผสู้ อนและผู้เรยี นร่วมกนั สรุปเน้อื หาท่ีได้ 27. ผสู้ อนและผู้เรียนร่วมกนั สรุปเน้ือหาท่ีได้เรยี น

เรยี นใหม้ ีความเขา้ ใจในทศิ ทางเดียวกัน เพ่ือใหม้ ีความเขา้ ใจในทศิ ทางเดยี วกนั
28. ผ้สู อนใหผ้ ูเ้ รียนศึกษาเพ่ิมเตมิ นอกห้องเรยี น 28. ผู้เรยี นศกึ ษาเพม่ิ เติมนอกหอ้ งเรียน ดว้ ย

จากเว็บไซด์เน้ือหาเกย่ี วกับ Arduino บทเรยี นคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอนทจี่ ัดทาขึน้ Arduino

(บรรลุจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อท่ี 1-4) (บรรลุจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อที่ 1-4)

ไมโครคอนโทรลเลอร์

งำนทมี่ อบหมำยหรือกจิ กรรมกำรวดั ผลและประเมินผล

กอ่ นเรยี น

1. จดั เตรียมเอกสาร สอ่ื การเรียนการสอนหน่วยที่ 14
2. ศกึ ษาเนื้อหา ในหน่วยท่ี 14
3. ทาความเขา้ ใจเกย่ี วกบั จดุ ประสงคก์ ารเรียนของหน่วยท่ี 14 และให้ความร่วมมอื ในการทากิจกรรม
ในหน่วยท่ี 14

ขณะเรียน

27. ปฏิบัตติ ามกิจกรรมการเรยี นการสอนขนั้ ท่ี 2 และ 3 เร่ือง Arduino กับเซ็นเซอร์อลั ตราโซนิก
28. ร่วมกนั สรุปเนือ้ หาเร่ือง Arduino กบั เซ็นเซอร์อลั ตราโซนกิ

หลงั เรียน

14.ทาแบบประเมนิ การเรยี นรู้

ผลงำน/ชิ้นงำน/ควำมสำเรจ็ ของผู้เรยี น

12. ใบงานท่ี 14 เร่ือง โปรแกรม Arduino กบั เซน็ เซอร์อัลตราโซนกิ
3. แบบฝกึ หดั หนว่ ยท่ี 14 เร่อื ง Arduino กับเซ็นเซอรอ์ ลั ตราโซนิก

สื่อกำรเรียนกำรสอน/กำรเรยี นรู้

ส่อื ส่ิงพิมพ์
66. เอกสารประกอบการสอนวชิ า ไมโครคอนโทรเลอร์ (ใชป้ ระกอบการเรียนการสอนจดุ ประสงคเ์ ชงิ
พฤติกรรมข้อท่ี 1-4)
67. ใบความร้ทู ี่ 14 เรื่อง Arduino กบั เซ็นเซอรอ์ ลั ตราโซนกิ (ใช้ประกอบการเรียนการสอนขั้นใหค้ วามรู้
เพอ่ื ใหบ้ รรลุจุดประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม ข้อที่ 1-4)
68. แบบฝกึ หัดหน่วยท่ี 14 สรปุ และประเมินผล
69. แบบประเมินผลงานตามใบงาน
70. แบบประเมนิ พฤตกิ รรมการทางาน ใช้ประกอบการสอนข้ันประยุกตใ์ ช้ ขัน้ สรุปและประเมินผล

สอ่ื โสตทัศน์
27. เครือ่ งไมโครคอมพิวเตอร์
28. PowerPoint เร่ือง Arduino กับเซ็นเซอร์อลั ตราโซนิก

ไมโครคอนโทรลเลอร์

แหลง่ กำรเรียนรู้

ในสถำนศกึ ษำ
25. ห้องสมดุ วิทยาลยั ฯ
26. ห้องปฏิบตั ิการคอมพิวเตอร์ ศกึ ษาหาขอ้ มูลทาง Internet

นอกสถำนศึกษำ
ผู้ประกอบการ สถานประกอบการ ในทอ้ งถ่นิ

กำรบรู ณำกำร/ควำมสมั พันธ์กับวชิ ำอน่ื

37. การบรู ณาการกับวิชาภาษาไทย ดา้ นบคุ ลิกภาพในการนาเสนอหนา้ ชนั้ เรยี น
38. การบรู ณาการกับวชิ าคณิตศาสตร์ ในเร่อื ง คานวณสตู ร
39. การบูรณาการกับวิชาองั กฤษ เกย่ี วกบั คาศัพท์

กำรประเมินผลกำรเรียนรู้

หลักกำรประเมนิ ผลกำรเรียนรู้
ก่อนเรียน
ทดสอบของเน้ือหาในรายวชิ าก่อนนาเขา้ สบู่ ทเรยี น

ขณะเรยี น
สังเกตพฤตกิ รรมต่าง ๆ ของนักเรยี นแตล่ ะคน

หลังเรยี น
ถามตอบเก่ยี วกับเน้อื หาท่เี รียนดูสรุปผลการทดลองว่าถกู ต้องหรือไม่

คำถำม
- นักเรียนรจู้ กั เซ็นเซอรอ์ ัลตราโซนกิ หรือไม่
- ให้นกั เรยี นยกตวั อยา่ งเซน็ เซอร์อัลตราโซนกิ ใช้ในอุปกรณ์ชนดิ ใดบา้ ง

ไมโครคอนโทรลเลอร์

รำยละเอียดกำรประเมนิ ผลกำรเรยี นรู้

จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม ข้อท่ี 1 สามารถอธิบายการต่อใช้งาน Arduino กบั เซน็ เซอร์อัลตราโซนิก

40. วิธีการประเมิน : ทดสอบ

41. เครอื่ งมอื : แบบทดสอบ

42. เกณฑ์การให้คะแนน : สามารถอธบิ ายการต่อใช้งาน Arduino กับเซน็ เซอร์อัลตราโซนกิ

จะได้ 5 คะแนน

จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม ข้อท่ี 2 สามารถเขยี นโปรแกรมไมโครคอนโทรลเลอร์ Arduino กับ

เซ็นเซอรอ์ ัลตราโซนิก

43. วธิ กี ารประเมิน : ตรวจผลงาน

44. เคร่ืองมอื : แบบประเมิน

45. เกณฑ์การใหค้ ะแนน : สามารถเขยี นโปรแกรมไมโครคอนโทรลเลอร์ Arduino กบั

เซ็นเซอร์อัลตราโซนกิ จะได้ 5 คะแนน

ไมโครคอนโทรลเลอร์

ใบประเมินผลวชิ ำ ไมโครคอนโทรลเลอร์ ค่าน้าหนัก ค่านา้ หนกั
หนว่ ยท่ี ………….…ชอ่ื หนว่ ย…………………….………………………..……………… คะแนน คะแนนท่ี
เร่อื ง…………………………………..…………………….………………..…………………. ขณะวดั แทจ้ รงิ
ชื่อ-สกุล………………………………………………….ชน้ั ………..…..เลขท่.ี ............. (คะแนน) (คะแนน)
ลาดบั ท่ี รายการแบบประเมนิ
30 3
1. แบบฝกึ หดั 60 6
2. ใบงาน
10 1
- การเตรียมเกบ็ รกั ษาเครื่องมือ (10)
- ทกั ษะในการปฏบิ ตั ิงาน (20) 100 10
- ปฏบิ ัตงิ านถกู ต้องตามขั้นตอน (15)
- ความถกู ต้องของใบงาน (15)
3. คุณธรรมจรยิ ธรรม
- ความตรงต่อเวลา (2)
- การแต่งกาย (2)
- ความตั้งใจในการปฏบิ ตั งิ าน (2)
- การทางานร่วมกบั ผู้อ่ืน (2)
- ความรบั ผดิ ชอบ (2)

คะแนนรวมทีไ่ ด้

ข้อเสนอแนะ……………………………………………………………………………………..……………………………

ลงช่อื ……….…….………………………..ผ้ปู ระเมนิ
(………………………………………….)
………/…………./……….

ไมโครคอนโทรลเลอร์

แบบบันทึกสรุปผลคะแนนประจำวิชำไมโครคอนโทรลเลอร์

หน่วยท่.ี ..............ช่อื หนว่ ย…………………….………………………..………………

รายการแบบประเมิน แบบฝึกหัด
ใบงาน
คุณธรรมจริยธรรม
รวมคะแนน ี่ทไ ้ด

ค่าน้าหนักคะแนนทีแ่ ทจ้ รงิ 3 6 1 10
เลขที่ ชือ่ -สกลุ คะแนนท่ีได้

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20

ไมโครคอนโทรลเลอร์

เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 14
ตอนท่ี 1 ให้นักเรียนทาเครื่องหมายกากบาท (X) ลงบนคาตอบที่ถกู ที่สุดเพยี งคาตอบเดียว

1. อปุ กรณ์ข้อใดเปน็ อปุ กรณ์ท่ีใชใ้ นการวัด 6. เซน็ เซอร์อัลตราโซนิกรนุ่ HC-SR04 ใช้
ระยะทาง
คลืน่ อัลตราโซนกิ ในการรบั ส่งความถเี่ ท่าใด
ก. เซ็นเซอร์ DHT21 ข. เซน็ เซอร์ NTC
ค. เซ็นเซอร์ HC-SR04 ก. 38 กิโลเฮิรท์
ง. เซน็ เซอร์ PTC
2. ข้อใดเปน็ การประยุกตใ์ ช้งานเซน็ เซอร์ ข. 40 กโิ ลเฮิร์ท
อัลตราโซนิก
ก. เครือ่ งคน้ หาโลหะ ค. 42 กโิ ลเฮริ ์ท
ข. ตลบั เมตรไร้สาย
ค. เครอื่ งวัดความเร็วรอบ ง. 45 กิโลเฮิรท์
ง. เครื่องวดั ความเข็มแสง
3. ขอ้ ใดไมใ่ ช้เปน็ การประยุกตใ์ ชง้ านเซ็นเซอร์ 7. ขา Trig ของเซน็ เซอร์อัลตราโซนกิ รนุ่
อลั ตราโซนกิ
ก. วงจรตรวจจบั การชน HC-SR04 ทาหนา้ ท่ีใด
ข. วงจรตรวจจับผู้บุกรุก
ค. วงจรวัดระดับของเหลว ก. เป็นขาอินพตุ เพื่อรบั คล่ืนอลั ตราโซนิก
ง. วงจรวัดการรัว่ ไฟของกระแสไฟฟ้า
4. เซ็นเซอร์อัลตราโซนิกรุ่น HC-SR04 ใช้ ข. เปน็ ขาเอาต์พุตเพ่ือส่งคล่ืนอัลตราโซนิก
แรงดันไฟเล้ียงเทา่ ใด
ก. 5 โวลต์ ข. 6 โวลต์ ค. เปน็ ขาอินพุตใช้ในการรับสญั ญาณพัลส์
ค. 7 โวลต์ ง. 8 โวลต์
5. เซ็นเซอร์อัลตราโซนิกรนุ่ HC-SR04 กิน ง. เปน็ ขาเอาต์พตุ ใชใ้ นการส่งสญั ญาณพลั ส์
กระแสไฟฟ้าเทา่ ใด
ก. 30 มลิ ลิแอมป์ 8. ขา Echo ของเซน็ เซอร์อลั ตราโซนกิ รนุ่
ข. 35 มลิ ลิแอมป์
ค. 40 มิลลแิ อมป์ HC-SR04 ทาหน้าท่ีใด
ง. 45 มิลลิแอมป์
ก. เปน็ ขาอินพุตเพ่ือรบั คล่ืนอัลตราโซนกิ

ข. เป็นขาเอาตพ์ ุตเพ่ือส่งคลน่ื อัลตราโซนกิ

ค. เปน็ ขาอินพตุ ใช้ในการรับสัญญาณพลั ส์

ง. เป็นขาเอาตพ์ ุตใชใ้ นการสง่ สัญญาณพัลส์

9. เซน็ เซอร์อัลตราโซนิกรุน่ HC-SR04 มขี าต่อ

ใชง้ านทัง้ หมดกข่ี า

ก. 2 ขา ข. 3 ขา

ค. 4 ขา ง. 5 ขา

10. คาสงั่ สาหรับใชใ้ นการอา่ นคา่ ระยะจาก

เซ็นเซอร์อัลตราโซนกิ คือคาสง่ั ใด

ก. digitalWrite(trigPin, LOW);

ข. digitalWrite(trigPin, HIGH);

ค. digitalRrad(echoPin, HIGH);

ง. pulseIn(echoPin, HIGH);

ไมโครคอนโทรลเลอร์

เฉลยแบบฝกึ หดั หน่วยที่ 14
ตอนท่ี 2 ใหน้ ักเรยี นตอบคาถามตอ่ ไปน้ีใหถ้ ูกต้อง
1. จงบอกคุณสมบตั ิของเซน็ เซอร์อัลตราโซนิกรนุ่ HC-SR04
คุณสมบตั ขิ องเซ็นเซอร์อัลตราโซนิกร่นุ HC-SR04 มีดงั นี้

1. ใช้แรงดนั ไฟเลี้ยง +5 โวลต์ กนิ กระแสไฟฟ้า 30 มิลลิแอมป์
2. ตวั รบั และส่งสัญญาณใชค้ ลื่นอัลตราโซนิกใชค้ วามถ่ี 40 กิโลเฮิร์ท ในการทางาน
3. สามารถตรวจจับวตั ถหุ รือวัดระยะได้ตง้ั แต่ 2 เซนติเมตรไปจนถึง 400 เซนติเมตร
4. ความกวา้ งของสญั ญาณพัลส์ (Pulse) สาหรับการกระตนุ้ (Trigger) มีความกว้างอยา่ งน้อย 10
ไมโครวนิ าที
5. ความกว้างเชิงมุมสาหรับใช้ในการวัด (measuring angle) 15 องศา
6. ระดบั แรงดันลอจกิ สาหรบั ขา TRIG และ ECHO มีคา่ 5 V. TTL

2. จงอธิบายการต่อใชง้ าน Arduino กับเซ็นเซอร์อลั ตราโซนิกรนุ่ HC-SR04
เซ็นเซอร์อลั ตราโซนิกรุ่น HC-SR04 นี้มีขาตอ่ ใชง้ านทง้ั หมด 4 ขาเพื่อตอ่ การใชง้ านกบั บอร์ด Arduino

การตอ่ ใชง้ านเบ้ืองตน้
- ขา VCC ต่อกับแรงดันไฟเลย้ี ง 5 โวลต์
- ขา Trig เป็นขาอินพตุ ใชใ้ นการรบั สัญญาณพัลสค์ วามกว้าง 10 ไมโครวินาทีเพ่ือกระตุ้นการสรา้ ง

คล่นื อลั ตราโซนิกความถ่ี 40 กิโลเฮิรท์ (KHz) ออกส่อู ากาศจากตวั ส่ง (T)
- ขา Echo เปน็ ขาเอาตพ์ ตุ ใช้ในการส่งสญั ญาณพัลสอ์ อกจากโมดลู เซน็ เซอร์อลั ตราโซนิกไปยงั บอร์ด

Arduino เพื่อตรวจจับความกว้างของสญั ญาณพลั สแ์ ละนามาคานวณเปน็ ระยะทาง
- ขา GND ต่อไฟกราวด์

ไมโครคอนโทรลเลอร์

บนั ทกึ หลังกำรสอน

หน่วยท่ี 14 Arduino กบั เซน็ เซอรอ์ ลั ตรำโซนกิ
ผลกำรใช้แผนกำรเรยี นรู้

1. เนอ้ื หาสอดคลอ้ งกับจดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม
2. สามารถนาไปใช้ปฏิบัตกิ ารสอนได้ครบตามกระบวนการเรยี นการสอน
3. สื่อการสอนเหมาะสมดี

ผลกำรเรียนของนักเรียน

1. นักเรยี นสว่ นใหญม่ ีความสนใจใฝ่รู้ เขา้ ใจในบทเรยี น อภปิ รายตอบคาถามในกลมุ่ และรว่ มกันปฏบิ ตั ิ
ใบงานที่ได้รับมอบหมาย

2. นักเรียนกระตอื รือร้นและรบั ผดิ ชอบในการทางานกล่มุ เพื่อให้งานสาเรจ็ ทนั เวลาทีก่ าหนด
3. นักเรยี นเขา้ ใจและร้จู ักชว่ ยเหลอื ผู้อื่น ในเรอ่ื ง Arduino กับเซน็ เซอร์อลั ตราโซนกิ

ผลกำรสอนของครู

1. สอนเนอ้ื หาได้ครบตามหลกั สตู ร
2. แผนการสอนและวธิ กี ารสอนครอบคลมุ เนื้อหาการสอนทาใหผ้ ู้สอนสอนได้อย่างม่ันใจ
3. สอนไดท้ ันตามเวลาทีก่ าหนด

ไมโครคอนโทรลเลอร์

แผนกำรสอน/แผนกำรเรียนรู้ หนว่ ยท่ี 15
สอนสปั ดาหท์ ี่ 16
แผนการสอน/การเรียนรู้ ทฤษฎี 1 คาบ
ปฏบิ ัติ 3 คาบ
ช่อื วิชา ไมโครคอนโทรลเลอร์
ชอ่ื หนว่ ย Arduino กบั รโี มตคอนโทรล จานวนคาบ 4 คาบ

ชอ่ื เร่ือง Arduino กบั รีโมตคอนโทรล

หวั ข้อเร่อื ง

1. รโี มตคอนโทรล
2. การตอ่ ใช้งาน Arduino กับรีโมตคอนโทรล

สำระสำคญั

รโี มตคอนโทรล (remote control) ย่อมาจาก รโี มตคอนโทรลเลอร์ (remote controller) เป็น
เทคโนโลยกี ารสื่อสารแบบไรส้ ายทีพ่ บเหน็ โดยท่ัวไป มีราคาไมแ่ พงและใช้งานงา่ ย อปุ กรณอ์ ิเล็กทรอนิกสช์ นิดน้ี
ทาหนา้ ทสี่ ั่งงานควบคมุ อปุ กรณเ์ ครือ่ งใช้ไฟฟา้ ตา่ งๆ จากระยะไกลโดยไมใ่ ชส้ ายไฟเปน็ ตวั ส่งสญั ญาณ แตใ่ ช้แสง
อินฟราเรดแทน โดยมรี ะยะห่างในการควบคมุ อุปกรณไ์ ม่ไกล มากนกั มีระยะการส่งและรบั สัญญาณประมาณ
10 เมตร อปุ กรณ์เครอื่ งใชไ้ ฟฟา้ ท่ีใช้รีโมตคอนโทรลควบคุม เชน่ เครอื่ งรับโทรทัศน์ เคร่ืองเสียง เคร่ืองเลน่ ดีวีดี

สมรรถนะอำชพี ประจำหนว่ ย

สามารถเขยี นโปรแกรม Arduino กบั รโี มตคอนโทรล

ไมโครคอนโทรลเลอร์

จุดประสงคก์ ำรสอน/กำรเรียนรู้

จดุ ประสงค์ทั่วไป / บูรณำกำรเศรษฐกิจพอเพยี ง

44. เพ่ือใหม้ ีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกบั การต่อวงจร Arduino กับรีโมตคอนโทรล (ดา้ นความร)ู้
45. เพอื่ ให้มีทักษะในการเขียนโปรแกรม Arduino กบั รโี มตคอนโทรล (ด้านทกั ษะ)
46. เพอ่ื ใหม้ ีเจตคติท่ีดตี ่อการเตรียมความพร้อมด้านการเตรียม วัสดุ อปุ กรณ์ และการปฏิบัตงิ านอยา่ ง

ถกู ต้อง สาเร็จภายในเวลาทก่ี าหนด มีเหตแุ ละผลตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง (ด้านคณุ ธรรม
จรยิ ธรรม)

จดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม / บูรณำกำรเศรษฐกจิ พอเพยี ง

60. สามารถอธิบายการต่อใชง้ าน Arduino กับรีโมตคอนโทรล
61. สามารถเขยี นโปรแกรมไมโครคอนโทรลเลอร์ Arduino กับรีโมตคอนโทรล
62. เตรยี มความพร้อมดา้ นวสั ดุ อปุ กรณ์สอดคล้องกบั งานไดอ้ ยา่ งถูกต้อง (ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม/

บรู ณาการเศรษฐกิจพอเพียง)
63. ปฏิบตั งิ านได้อยา่ งถูกต้อง และสาเร็จภายใน เวลาทก่ี าหนดอย่างมีเหตุและผลตามหลักปรัชญาของ

เศรษฐกจิ พอเพียง (ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม/บรู ณาการเศรษฐกจิ พอเพียง)

ไมโครคอนโทรลเลอร์

เนือ้ หำสำระกำรสอน/กำรเรียนรู้

• ด้ำนควำมรู(้ ทฤษฎ)ี

1. รีโมตคอนโทรล (จดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อที่1)
รโี มตคอนโทรล (remote control) ยอ่ มาจาก รีโมตคอนโทรลเลอร์ (remote controller) เปน็

เทคโนโลยกี ารสอ่ื สารแบบไร้สายที่พบเห็นโดยทั่วไป มรี าคาไม่แพงและใช้งานงา่ ย อุปกรณอ์ ิเลก็ ทรอนิกสช์ นิดนี้ทา
หนา้ ท่ีส่งั งานควบคุมอุปกรณเ์ คร่อื งใช้ไฟฟา้ ต่างๆ จากระยะไกลโดยไม่ใช้สายไฟเป็นตัวสง่ สัญญาณ แต่ใช้แสง
อินฟราเรดแทน โดยมีระยะห่างในการควบคุมอุปกรณไ์ ม่ไกล มากนักมีระยะการสง่ และรบั สญั ญาณประมาณ 10
เมตร อุปกรณเ์ คร่ืองใชไ้ ฟฟา้ ท่ใี ช้รีโมตคอนโทรลควบคมุ เช่น เครอื่ งรบั โทรทัศน์ เครื่องเสยี ง เครือ่ งเล่นดีวีดี
2. กำรตอ่ ใช้งำน Arduino กบั รีโมตคอนโทรล (จุดประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรมขอ้ ที่1)

สาหรบั ในบทน้ีภาคสง่ สญั ญาณจากรีโมตคอนโทรลจะใช้รโี มตคอนโทรลจากเคร่ืองใช้ไฟฟ้าท่ีทาสาเร็จรูป
แลว้ ซึง่ อาจนามาจากรีโมตคอนโทรลของโทรทัศน์ เคร่อื งเสียง เครอื่ งเลน่ DVD เคร่ืองรับสญั ญาณดาวเทียม เพื่อใช้
ในการส่งสญั ญาณมายงั ภาครับซง่ึ ใชโ้ มดลู รบั สญั ญาณอินฟราเรด เบอร์ AX-1838HS หรอื เบอร์ TSOP4838
ขาต่อการใชง้ านของโมดูลรับสัญญาณอนิ ฟราเรด เบอร์ AX-1838HS มที ั้งหมด 3 ขา ได้แก่ ขาไฟเล้ยี ง Vcc
สาหรับตอ่ ไฟบวก 3 - 5 โวลต์, ขา GND สาหรับต่อไฟกราวด์ และขา Vout สาหรบั ตอ่ สัญญาณเอาต์พุตกบั
ไมโครคอนโทรลเลอรเ์ พื่อเขียนโปรแกรมการควบคุม

• ดำ้ นทกั ษะ(ปฏิบตั ิ)

ใบงานที่ 15 เรอ่ื ง โปรแกรม Arduino กับรโี มตคอนโทรล (จุดประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรมข้อที่2)

• ด้ำนคณุ ธรรม/จริยธรรม/จรรยำบรรณ/บรู ณำกำรเศรษฐกิจพอเพียง

(จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรมข้อที่3-4)
1. การเตรยี มความพรอ้ มด้านการเตรยี ม วสั ดุ อุปกรณ์นกั เรยี นจะต้องกระจายงานไดท้ ่วั ถึง และตรง
ตามความสามารถของสมาชิกทุกคน มีการจดั เตรียมสถานท่ี สอ่ื วัสดุ อปุ กรณไ์ ว้อย่างพรอ้ มเพรียง
2. ความมีเหตมุ ีผลในการปฏบิ ตั ิงาน ตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง นกั เรียนจะตอ้ งมกี ารใช้
เทคนิคที่แปลกใหม่ ใช้ส่ือและเทคโนโลยี ประกอบการ นาเสนอทีน่ า่ สนใจ นาวัสดใุ นท้องถ่ินมาประยุกต์ใช้
อย่างคุ้มคา่ และประหยัด

ไมโครคอนโทรลเลอร์

กจิ กรรมกำรเรียนกำรสอนหรือกำรเรียนรู้

ขน้ั ตอนการสอนหรือกจิ กรรมของครู ข้นั ตอนการเรียนรูห้ รือกิจกรรมของนักเรยี น

1. ข้ันนำเข้ำสู่บทเรยี น (15 นำที ) 1. ขัน้ นำเขำ้ สู่บทเรยี น (15 นำที )

จัดใหน้ กั เรยี นศึกษา Arduino กบั รโี มตคอนโทรล ใน นกั เรยี นศึกษา Arduino กับรีโมตคอนโทรล ในบทเรียน

บทเรียน

43. ผู้สอนจัดเตรียมเอกสาร พร้อมกบั แนะนา 29. ผู้เรียนเตรยี มอุปกรณแ์ ละ ฟังครผู สู้ อนแนะนา

รายวชิ า วธิ กี ารให้คะแนนและวิธกี ารเรยี นเรอ่ื ง รายวชิ า วธิ กี ารให้คะแนนและวิธีการเรียนเรอ่ื ง

Arduino กับรีโมตคอนโทรล Arduino กับรโี มตคอนโทรล

44. ผู้สอนแจ้งจุดประสงคก์ ารเรียนของหน่วยท่ี 30. ผูเ้ รียนทาความเข้าใจเกยี่ วกับจุดประสงค์การ

15 และขอให้ผู้เรยี นรว่ มกนั ทากิจกรรมการเรยี นการ เรยี นของหน่วยที่ 15 และการใหค้ วามร่วมมือในการทา

สอน กิจกรรม

45. ผู้สอนให้ผู้เรยี นแสดงความรู้เกย่ี วกบั เรื่อง 3. ผ้เู รียนแสดงความร้เู กย่ี วกับ เร่อื ง Arduino กับ
Arduino กบั รีโมตคอนโทรล รโี มตคอนโทรล

2. ข้นั ให้ควำมรู้ (45 นำที) 2. ข้ันให้ควำมรู้ (45 นำที )
21. ผูส้ อนเปดิ PowerPoint หนว่ ยที่ 15 เรอ่ื ง 29. ผู้เรียนศึกษา PowerPoint หนว่ ยที่ 15 เร่ือง

Arduino กับรีโมตคอนโทรล Arduino กับรโี มตคอนโทรล
22. ผู้สอนอธบิ ายเนื้อหาในหนว่ ยที่ 15 เรอ่ื ง 30. ผเู้ รียนฟงั ผู้สอนอธิบายเน้ือหาในหน่วยที่ 15

Arduino กับรีโมตคอนโทรล เรอื่ ง Arduino กบั รีโมตคอนโทรล

3. ข้นั ประยุกตใ์ ช้ ( 150 นำที ) 3. ขน้ั ประยกุ ตใ์ ช้ ( 150 นำที )
30. ผู้สอนให้ผเู้ รยี นทาใบงานที่ 15 เร่อื ง 30. ผู้เรียนทาใบงานที่ 15 เรื่อง โปรแกรม Arduino

โปรแกรม Arduino กบั รีโมตคอนโทรล กบั รโี มตคอนโทรล
31. ผสู้ อนให้ผ้เู รยี นทาแบบฝกึ หัดหนว่ ยที่ 15 31. ผเู้ รียนทาแบบฝึกหัดหนว่ ยที่ 15

4. ขนั้ สรปุ และประเมินผล ( 30 นำที ) 4. ขน้ั สรปุ และประเมินผล ( 30 นำที )
29. ผู้สอนและผ้เู รยี นรว่ มกนั สรปุ เน้อื หาท่ีได้ 29. ผูส้ อนและผู้เรยี นร่วมกนั สรุปเนอื้ หาท่ีได้เรยี น

เรียนใหม้ ีความเขา้ ใจในทิศทางเดียวกัน เพ่อื ใหม้ ีความเขา้ ใจในทิศทางเดยี วกัน
30. ผู้สอนใหผ้ เู้ รยี นศกึ ษาเพ่ิมเติมนอกห้องเรียน 30. ผู้เรียนศกึ ษาเพม่ิ เติมนอกหอ้ งเรียน ด้วย

จากเว็บไซดเ์ นื้อหาเกี่ยวกบั Arduino บทเรียนคอมพวิ เตอรช์ ่วยสอนทีจ่ ดั ทาขึ้น Arduino

(บรรลุจดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรมขอ้ ที่ 1-4) (บรรลุจุดประสงค์เชงิ พฤติกรรมข้อที่ 1-4)

ไมโครคอนโทรลเลอร์

งำนที่มอบหมำยหรอื กจิ กรรมกำรวดั ผลและประเมนิ ผล

กอ่ นเรยี น

1. จดั เตรียมเอกสาร ส่ือการเรยี นการสอนหน่วยท่ี 15
2. ศกึ ษาเนอื้ หา ในหน่วยที่ 15
3. ทาความเข้าใจเกี่ยวกบั จดุ ประสงคก์ ารเรียนของหนว่ ยท่ี 15 และให้ความร่วมมอื ในการทากิจกรรม
ในหน่วยท่ี 15

ขณะเรียน

29. ปฏบิ ัติตามกจิ กรรมการเรียนการสอนขน้ั ที่ 2 และ 3 เรื่อง Arduino กับรโี มตคอนโทรล
30. ร่วมกนั สรุปเนอื้ หาเร่ือง Arduino กับรโี มตคอนโทรล

หลงั เรียน

15.ทาแบบประเมินการเรียนรู้

ผลงำน/ช้นิ งำน/ควำมสำเรจ็ ของผ้เู รยี น

13. ใบงานที่ 15 เร่ือง โปรแกรม Arduino กบั รีโมตคอนโทรล
3. แบบฝึกหัดหน่วยที่ 15 เรอื่ ง Arduino กบั รโี มตคอนโทรล

สอ่ื กำรเรยี นกำรสอน/กำรเรียนรู้

สอ่ื สิ่งพิมพ์
71. เอกสารประกอบการสอนวิชา ไมโครคอนโทรเลอร์ (ใชป้ ระกอบการเรียนการสอนจดุ ประสงค์เชิง
พฤติกรรมข้อที่ 1-4)
72. ใบความร้ทู ่ี 15 เรื่อง Arduino กบั รีโมตคอนโทรล (ใช้ประกอบการเรยี นการสอนขน้ั ให้ความรู้ เพ่ือให้
บรรลจุ ุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ขอ้ ท่ี 1-4)
73. แบบฝกึ หดั หน่วยที่ 15 สรุปและประเมนิ ผล
74. แบบประเมนิ ผลงานตามใบงาน
75. แบบประเมินพฤตกิ รรมการทางาน ใช้ประกอบการสอนข้ันประยกุ ต์ใช้ ขนั้ สรปุ และประเมนิ ผล

ส่ือโสตทศั น์
29. เครอ่ื งไมโครคอมพวิ เตอร์
30. PowerPoint เรอื่ ง Arduino กับรโี มตคอนโทรล

ไมโครคอนโทรลเลอร์

แหล่งกำรเรียนรู้

ในสถำนศึกษำ
27. ห้องสมดุ วทิ ยาลัยฯ
28. หอ้ งปฏิบัติการคอมพวิ เตอร์ ศกึ ษาหาข้อมลู ทาง Internet

นอกสถำนศึกษำ
ผปู้ ระกอบการ สถานประกอบการ ในทอ้ งถ่ิน

กำรบรู ณำกำร/ควำมสมั พนั ธก์ บั วิชำอื่น

40. การบูรณาการกับวิชาภาษาไทย ด้านบคุ ลิกภาพในการนาเสนอหน้าช้ันเรยี น
41. การบรู ณาการกบั วชิ าคณิตศาสตร์ ในเร่อื ง คานวณสตู ร
42. การบรู ณาการกบั วิชาองั กฤษ เก่ยี วกบั คาศัพท์

กำรประเมินผลกำรเรยี นรู้

หลกั กำรประเมินผลกำรเรียนรู้
กอ่ นเรียน
ทดสอบของเน้ือหาในรายวชิ ากอ่ นนาเข้าสบู่ ทเรียน

ขณะเรียน
สังเกตพฤติกรรมตา่ ง ๆ ของนักเรยี นแต่ละคน

หลงั เรยี น
ถามตอบเกี่ยวกบั เน้อื หาที่เรียนดสู รปุ ผลการทดลองว่าถูกต้องหรือไม่

คำถำม
- นักเรยี นรจู้ กั รโี มตคอนโทรลหรือไม่
- ให้นักเรียนยกตัวอยา่ งรีโมตคอนโทรลใชใ้ นอุปกรณ์ชนดิ ใดบ้าง

ไมโครคอนโทรลเลอร์

รำยละเอยี ดกำรประเมนิ ผลกำรเรยี นรู้

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ข้อท่ี 1 สามารถอธิบายการต่อใช้งาน Arduino กบั รโี มตคอนโทรล

43. วธิ กี ารประเมิน : ทดสอบ

44. เคร่อื งมือ : แบบทดสอบ

45. เกณฑ์การให้คะแนน : สามารถอธบิ ายการตอ่ ใชง้ าน Arduino กับรีโมตคอนโทรล

จะได้ 5 คะแนน

จุดประสงค์เชงิ พฤติกรรม ข้อที่ 2 สามารถเขียนโปรแกรมไมโครคอนโทรลเลอร์ Arduino กบั

รโี มตคอนโทรล

46. วธิ กี ารประเมนิ : ตรวจผลงาน

47. เครอื่ งมอื : แบบประเมิน

48. เกณฑ์การให้คะแนน : สามารถเขียนโปรแกรมไมโครคอนโทรลเลอร์ Arduino กับ

รโี มตคอนโทรล จะได้ 5 คะแนน

ไมโครคอนโทรลเลอร์


Click to View FlipBook Version