The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

บันทึกการเรียนรู้ นายนราธิปแก้วปีลา104

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ตู้หนังสือนราธิป, 2021-05-05 12:03:14

บันทึกการเรียนรู้ นายนราธิปแก้วปีลา104

บันทึกการเรียนรู้ นายนราธิปแก้วปีลา104

บนั ทกึ การเรยี นรู้
รายวิชาการวิจัยเพ่ือพฒั นาการเรยี นรู้

โดย

61101201104: นายนราธิป แกว้ ปี ลา



รายวชิ าการวจิ ยั เพ่อื พัฒนาการเรยี นรู้



คานา ก

บันทึกการเรียนรู้ รายวิชาวิจัยเพ่ือพัฒนาการเรียนรู้ จัดทาขึ้นเพ่ือเป็นการสรุป
เนื้อหาท่ีเข้าใจได้ง่ายและมีคุณค่าและสามารถทาความเข้าใจได้อย่างรวดเร็ว มุ่งหวัง
เป็นอย่างย่ิงว่าจะเป็นประโยชน์ต่อข้าพเจ้าในอนาคตและสามารถนามาเป็นแนวทางใน
การศกึ ษาในรายวิชานี้อีกด้วย

ในการจัดทาข้าพเจ้าขอขอบพระคุณ รองศาสตราจารย์ ดร.สาราญ กาจัดภัย
อาจารย์ผู ส้ อนรายวชิ าการวิจัยเพ่ือพัฒนาการเรียนรู้เป็นอยา่ งสูงย่งิ ท่ีให้ความกรุณา
ในการชี้ แนะและแนะนาให้มีแรงบนั ดาลใจจัดทาหนังสือเล่มนข้ี ้ึนมา

อน่ึงข้าพเจ้าหวังเป็นอย่างย่ิงว่าจะเป็นประโยชน์สาหรับการศึกษาของผู ้ท่ีค้นคว้า
สอนามาคารตไถดน้อายค่าวงาดมยี ร่ิงู้และประสบการณ์ท่ีได้ไปปรับประยุกต์ใช้ ในชี วิตประจาวันและใน

นราธิป แกว้ ปี ลา
ผู ้จัดทา

สารบญั ข
หนา้

คานา.....................................................................................................ก
สารบัญ.................................................................................................ข
แนะนาตัวเอง.........................................................................................1
อาจารย์ผูส้ อน......................................................................................2
สปั ดาหท์ ่ี 1 ปฐมนเิ ทศ...........................................................................3
สัปดาหท์ ่ี 2 ความรูเ้ บอื้ งต้นเก่ียวกับการวจิ ยั ………………………………..8
สปั ดาหท์ ่ี 3 ตวั แปร & ขอ้ มูล………………………………………….…………12
สัปดาหท์ ่ี 4 ประชากรและกลุม่ ตัวอยา่ ง………………………………….......15
สัปดาหท์ ่ี 5 สมมุตฐิ าน…………………………………………………………….20
สัปดาหท์ ่ี 6 เคร่อื งมอื เก็บรวบรวมข้อมูล………………………………..…..22
สปั ดาหท์ ่ี 7 การจัดทาโครงร่างวจิ ยั ………………………………………..…27

สารบญั (ต่อ) ค
หนา้
สปั ดาหท์ ่ี 8 วิธกี ารตรวจสอบคณุ ภาพเคร่ืองมอื ………………………….29
สปั ดาห์ท่ี 9 เอกสารและงานวจิ ยั ท่ีเก่ียวข้อง………………………………..33
สปั ดาหท์ ่ี 10 บทท่ี 4 & SPSS .………………………………………………..35
สปั ดาหท์ ่ี 11 บทท่ี 4 ……………………………………………………………….37
สปั ดาห์ท่ี 12 การทดสอบคา่ T …………………………………………………39
สัปดาห์ท่ี 13 บทท่ี 5 ……………………………………………………………….41
สัปดาห์ท่ี 14 การวิเคราะหข์ อ้ สอบ (SPSS) …………………………………43
สัปดาห์ท่ี 15 การวจิ ยั ปฏิบตั ิการในชั้นเรยี น ........................................45
บทสรุป …………………………………………………………………………........49
บทส่งทา้ ย …………………………………………………………………………….40
สญั ญาการเรียน ………………………………………………………………......51

แนะนาตวั เอง “ความพยายาม 1
ไมท่ าใคห้ใวคราแพม้ ทอ้ แท้
ไมท่ าใหใ้ ครชนะ ”

นายนราธิป แก้วปี ลา (บุก๊ )

NARA BOOK วนั /เดอื น/ปี เกดิ : 21 พฤษภาคม 2542
อายุ: 21 ปี
ภูมลิ าเนา: อาเภอศรีสงคราม จังหวดั นครพนม
ปั จจุ บัน: นักศึกษาชั้นปี ท่ี 3 สาขาวชิ าการสอน

ภาษาไทย คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลัย
ราชภัฏสกลนคร
โทร. 06-3456-9059 Line ID: narabook

อาจารย์ผู ส้ อน 2

รองศาสตราจารย์ ดร.

สาราญ กาจดั ภัย

รายวิชา: การวิจัยเพ่ือพัฒนาการเรยี นรู้
(Research for learning development)

รหัสวชิ า: 21044010 จานวนหน่วยกติ : 3(2-2-5)
โทร. 09-4486-4639

28IDECI2020 สปั ดาหท์ ่ี 1 3

ปฐมนเิ ทศ

ามคอ.3 สญั ญก รเรยี น กแนาวรคิดเเรก่ยียี วกนบั รู้ 8/15

แบบทดสอบ

4

สรา้ ง

ปฐมนิเทศLine Group Classroom

แจกใบสัญญาการเรียน ช้ี แจง มคอ. 3

แนวคดิ เก่ยี วกับการเรยี นรู้ 5

คคววาามมหหมมาายย

การเรียนรู้ (Learning) = “การเปล่ยี นแปลงพฤติกรรม
ท่คี อ่ นข้างถาวร อนั เน่ืองมาจากการได้รบั ประสบการณ์”

“การเปล่ียนแปลง” หมายถึง การทาให้มีลกั ษณะแตกต่างไปจากเดมิ

“พฤติกรรม” หมายถึง กิรยิ าอาการตา่ ง ๆ ท่เี กิดข้ึนกบั มนษุ ย์เม่อื ได้
เผชิ ญกับส่งิ เรา้ ทัง้ ท่เี ป็นพฤติกรรมภายนอก
“ค่อนข้างถาวร” และพฤติกรรมภายใน

หมายถึง มคี วามคงทนหรือคงอยู่ค่อนขา้ งยาวนาน

“การได้รับ ในท่นี ้ีหมายถึง การไดเ้ ผชิ ญเหตกุ ารณ์ในธรรมชาติรอบกาย
ประสบการณ์” หรอื การไดก้ ระทาส่งิ ตา่ ง ๆ ดว้ ยตนเองผ่านประสาท
สัมผัสทงั้ 5

พุ ทธิพิสัยพฤตกิ รรมการเรียนรู้ด้าน จติ พสิ ยัพฤติกรรมการเรยี นรูด้ ้าน 6

เกดิ จากพลงั ความสามารถ พฤตกิ รรมท่เี ก่ียวข้องกบั ทักษะพิสัยพฤติกรรมการเรยี นรูด้ ้าน
ทางสมอง ซ่ึ งไปมีปฏิสมั พันธ์ ความรูส้ กึ ความเช่ื อ เจตคติ
กับส่ิงแวดลอ้ ม หรือส่ิงเร้าทา ค่านิยม ซ่ึ งเป็นรากฐานท่ีกอ่ ความสามารในการใช้
ให้เกดิ การเรียนรู้ข้ึนในตวั เกิดบุคลิกภาพหรือลักษณะ อวัยวะตา่ ง ๆ ทางาน
บุคคล โดย Bloom และ นสิ ยั ของบุคคล ดงั แสดงเป็น ประสานสมั พันธก์ นั รับรู้และ
คณะ ไดจ้ าแนกออกเป็น 6 ลาดับขนั้ ได้ ดงั น้ี เลยี นแบบ ลงมือและทาได้
ระดับ ดงั น้ี ลดความผดิ พลาด ปฏิบัติได้
1. ขนั้ รับรู้ ชัดเจนต่อเน่อื ง ปฏบิ ัติไดเ้ ป็น
1. ความรู้ 2. ขนั้ ตอบสนอง
2. ความเข้าใจ 3. ขนั้ เห็นคณุ คา่ ธรรมชาติ
3. การนาไปใช้ 4. ขนั้ จัดระบบคา่ นยิ ม
4. การวิเคราะห์ 5. ขนั้ สร้างลักษณะจาก
5. การสังเคราะห์
6. การประเมนิ ค่า คา่ นยิ ม

“พฤตกิ รรม” “คอ่ นข้างถาวร” 7

หมายถึง กริ ยิ าอาการตา่ ง ๆ ท่เี กิดขึน้ กับ หมายถึง มีความคงทนหรอื คงอยู่คอ่ นข้างยาวนาน
มนษุ ย์เม่อื ได้เผชิ ญกบั ส่งิ เรา้ ทงั้ ท่เี ป็น
พฤตกิ รรมภายนอก และพฤติกรรมภายใน “การได้รบั ประสบการณ์”

“การเปล่ียนแปลง” การเรียนรู้ (Learning) = “การเปล่ยี นแปลงพฤตกิ รรมท่ี ในท่ีน้ีหมายถงึ การได้
คอ่ นข้างถาวร อันเน่ืองมาจากการได้รบั ประสบการณ์” เผชิ ญเหตุการณใ์ นธรรมชาติ
หมายถงึ การทาให้มี รอบกาย หรือการได้กระทา
ลกั ษณะแตกต่างไปจากเดิม ความหมาย ส่งิ ต่าง ๆ ดว้ ยตนเองผา่ น
ประสาmสัมผัสทงั้ 5
แนวคดิ เก่ียวกับการเรยี นรู้

พุ ทธิพิสยั พพฤฤตกิกิ รรรรมม จิตพิสยั

1. ความรู้ ทกั ษะพิสัย 1. ขนั้ รบั รู้
2. ความเข้าใจ 2. ขนั้ ตอบสนอง
3. การนาไปใช้ 1. รบั รูแ้ ละเลยี นแบบ 3. ขนั้ เหน็ คณุ คา่
4. การวเิ คราะห์ 2. ลงมือและทาได้ 4. ขนั้ จดั ระบบคา่ นิยม
5. การสังเคราะห์ 3. ลดความผดิ พลาด 5. ขนั้ สรา้ งลักษณะจากคา่ นิยม
6. การประเมนิ คา่ 4. ปฏบิ ัตไิ ด้ชัดเจนตอ่ เน่อื ง
5. ปฏบิ ัตไิ ด้เป็นธรรมชาติ

04IJANI2021 สปั ดาห์ท่ี 8

2

การวิจยัความรู้เบ้ืองตน้ เก่ยี วกบั

การวจิ ยัความรู้เบอ้ื งตน้ เก่ยี วกับ ตัวแปรและประเภทของตวั แปร 15/16

แบบทดสอบ

การวิจยัความรู้เบื้องต้นเก่ียวกบั ความหมาย 9

การวิจยั (Research) เป็นการคน้ หาความจริง

ในประเดน็ ท่สี นใจศกึ ษา โดยใช้วธิ กี ารท่เี ป็นระบบ คาตอบหรอื
ความจรงิ ท่ีคน้ พบ มคี วามถูกต้องเช่ือถอื ได้

ความจรงิ กับการคน้ หาความจรงิ

“ความจรงิ ” คือ ส่งิ ท่ีเช่ือวา่ จรงิ ณ เวลานัน้ ๆ แบ่งเป็น 2 ลกั ษณะ
ไดแ้ ก่ ความจรงิ ท่วั ไป และความจริงยดื หยุน่ ตามบริบท วธิ กี ารค้นหาความจรงิ มี
หลายวธิ ี จาแนกออกเป็น 3 ลกั ษณะ ได้แก่

“นริ นัย (Deductive)” “อุปนัย (Inductive)” วิธีการทางวิทยาศาสตร์

เป็นการนาความรูพ้ นื้ ฐาน เปน็ วิธีการค้นหาความจรงิ เป็นวิธีการท่ีนาเอากระบวนการทาง
ซ่ึงอาจเป็นกฎ ขอ้ ตกลง ความ ผา่ นประสบการณ์โดยใช้การสงั เกต วทิ ยาศาสตรม์ าใช้ในการคน้ หาความจรงิ
เช่ือ หรือบทนิยาม ซ่ึงเป็นส่งิ ท่รี ู้ ด้วยประสาทสัมผสั ทงั้ หา้ หรอื การ ดงั น้ี
มากอ่ น และยอมรับว่าเป็นความ ทดลองหลายครงั้ แลว้ นามาสรุป
จรงิ เพ่ือหาเหตผุ ลนาปไปสขู่ ้อสรุป เป็นความรู้แบบท่ัวปป เน่อื งจาก ขนั้ ท่ี 1 สงั เกตปรากฏการณ์ในธรรมชาตแิ ลว้
เป็นการอา้ งเหตุผลท่ีมีขอ้ สรุป การใหเ้ หตุผลแบบอุปนยั เปน็ การ กาหนดปัญหา
ตามเนื้อหาสาระท่ีอยูภ่ ายใน สรุปผลเกิดจากหลักฐาขอ้ เทจ็ จรงิ
ขอบเขตของขอ้ อา้ งท่กี าหนด ท่ีมอี ยู่ ขน้ั ท่ี 2 คาดคะเนคาตอบอย่างมเี หตุผล เรยี กว่า
“ตง้ั สมมุตฐิ าน”

ขั้นท่ี 3 ลงมอื เกบ็ รวบรวมขอ้ มูล
ขนั้ ท่ี 4 นาข้อมูลท่ปี ด้มาทาวิเคราะห์
ขน้ั ท่ี 5 สรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูล

วา่ สอดคลอ้ งกบั สมมุตฐิ านหรอื ปม่

ข้อสงั เกต
ขน้ั ท่ี 1 ถึงขน้ั ท่ี 2 ใช้วธิ กี าร “นริ นัย” ส่วน ขัน้ ท่ี 3 ถงึ ขน้ั ท่ี 5 ใช้วิธกี าร “อุปนยั ”

ขนั้ ตอนทวั่ ไปของการวจิ ยั 10

1 2 3 4 5
ตระหนกั ถึงปัญหา เขยี นโครงรา่ ง
กาหนดขอบเขตของ ศึกษาเอกสารและ ต้งั สมมุตฐิ าน
ปัญหา งานวจิ ัย (ถา้ จาเป็น)

10 9 8 7 6

เผยแพรผ่ ลงานวิจัย สรุปผลและเขียน วเิ คราะหข์ อ้ มูล ดาเนนิ การเก็บรวบรวม สร้างหรือเลอื ก
(ถ้าต้องการ) รายงานการวจิ ัย ขอ้ มูล เคร่ืองมอื

เพ่อื บรรยายเหปร้ ือาพหรมรณานยาขเอพง่ืออกธาบิ ารยวจิ ัย ๑.ซ่ื อสตั ย์ จรรยาบรรณนกั วจิ ยั
เพ่ือทานาย เพ่ือควบคมุ ๒.ตระหนักถงึ พันธกรณี

๓.มีพ้นื ฐานความรู้
๔.มีความรบั ผิดชอบ

แบง่ ตามลักษณะข้อมูลและวธิ ีการท่ไี ด้มา ประเภทของ ๕.เคารพสิทธิของมนุษย์
๖.มีอิสระทางความคดิ ปราศจากอคติ
วจิ ยั เชิ งปริมาณ วิจัยเชิ งคณุ ภาพ
การวจิ ัยแบ่งตามประโยชนก์ ารนาไปใช้ ๗๘..นเคาาผรลพวคิจวัยไาปมใคชิด้ใเนหท็นาขงอทง่ชีผอู ้อบ่นื

วจิ ัยพ้นื ฐาน วิจัยประยุกต์ วจิ ยั ปฏบิ ตั ิการ

แบ่งตามความตอ้ งการข้อสรุปเชิ งเหตุผลหรอื ไม่ ๙.มคี วามรับผิดชอบต่อสงั คม

วจิ ัยเชิ งทดลอง วิจยั ศึกษาย้อนหาเหตุผล วิจยั เชิ งสหสัมพันธ์ วิจัยเชิ งสารวจ

ตวั แปรและประเภทของตวั แปร 11

ตัวแปร (Variable) = คณุ ลกั ษณะของส่งิ ตา่ ง ๆ ท่สี ามารถแปลคา่ ได้ ตงั้ แต่ 2
คา่ ข้ึนไป ในรูปแบบปรมิ าณ หรอื คณุ ภาพ

ประเภทของตัวแปร

แบง่ ตามประเภทของการวิจัย แบ่งตามลกั ษณะข้อมูล

วจิ ัยเชิงทดลอง แบ่งตวามความเป็นเหตุ ตัวแปรเชิงปริมาณ = จานวนหรือตวั เลข
ตวั แปรจดั กระทา = กระทากับกลุม่ ทดลอง เป็นผลตอ่ กัน ตวั แปรต่อเน่อื ง = มีไม่จากัด
ตวั แปรตาม = ผลของตวั แปรจดั กระทา ตวั แปรไม่ตอ่ เน่ือง = นับค่าได้
ตัวแปรแทรกซ้อน = ผูว้ จิ ัยควบคมุ ตัวแปรอิสระ = เกดิ ขน้ึ (เป็นเหตุ) ตัวแปรเชิงคุณภาพ = แปรค่าได้แตไ่ มใ่ ช่
ตัวแปรสอดแทรก = ผู้วจิ ยั ไมไ่ ด้ควบคุม ตวั แปรตาม = ผลจากตัวแปรอสิ ระ
ตัวแปรกลาง = ดงึ เขา้ มาศกึ ษารว่ ม ตวั เลข

วิจยั เชิงทานาย
ตวั แปรเกณฑ์ = ตวั แปรตาม
ตัวแปรทานาย = พยากรณค์ วามผนั แปร
ของตวั แปรเกณฑ์

11IJANI2021 สัปดาห์ท่ี 3 12

ออนไลน์

ข้อมูลและประเภทของข้อมูล ประชากรและกลุ่มตวั อย่าง 13/15

แบบทดสอบ

ขอ้ มูลและประเภทของขอ้ มูล 13
ประเภทของขอ้ มูล
1 แบง่ ตามลกั ษณะของข้อมูล รราายยลละขเะขอ้อเอ้อมียมยีูลดูลดขคขอคือองืองสขส่ิงข้อ่ิงต้อเตท่าเทา่ง็จงจ็ จๆจรๆริงทงิหท่รี หร่รีวรอืวบอื บรรววมม
ทจทจางั้ าังก้ทกท่กีเป่กเี าป็นาร็นตรนตนัวับวัเับลเกลขกาขแารแลรวละวัดไะดัไมมก่ใกช่ใา่ชาตร่ ตรสวั สัวังเลังเเลกขเกขตตฯฯลลฯฯ
ข้อมูลเชิ งปริมาณ : เป็นตวั เลข
แบบต่อเน่อื ง เช่ น น้าหนกั ส่วนสูง
แบบไมต่ อ่ เน่ือง เช่ น จานวนคน สัตว์

ข้อมูลเชิ งคณุ ภาพ : ระบุไม่ไดว้ า่ มากนอ้ ย มักอยูใ่ นรูปแบบขอ้ ความ

2 แบ่งตามแหล่งท่มี าของข้อมูล
-ขอ้ มูลปฐมภมู ิ : ผู ้วจิ ยั เก็บดว้ ยตนเอง
-ขอ้ มูลทุติยภมู ิ : ผู ว้ จิ ยั คดั ลอกจากผู ้อ่ืน

3 แบ่งตามระดบั ของการวัด
-ขอ้ มูลระดับนามบญั ญัติ : จดั ประเภท เช่ น เพศ ศาสนาท่นี ับถอื
-ขอ้ มูลระดับเรยี งอันดบั : จดั ประเภท จัดอนั ดบั เช่ น วุฒิการศกึ ษา ตาแหนง่ การประกวด
-ขอ้ มูลระดับอันตรภาค : เชิ งปรมิ าณ ไมใ่ ช่ ศนู ย์แท้ เช่ น อุณหภูมิ
-ข้อมูลระดับอตั ราส่วน : เชิ งปรมิ าณ ศนู ยแ์ ท้ เช่ น น้าหนัก ส่วนสูง ระยะทาง ความเร็ว

ประชากรและกลุ่มตวั อยา่ ง 14

ประชากร (Population) = ทงั้ หมด กลมุ่ ตวั อยา่ ง (Sample) = ส่วน
ของทุกหนว่ ยของส่ิงท่ีเราสนใจศึกษา เช่ น หน่งึ ของประชากรท่ีถกู เลือกดว้ ย
บุคคล องค์กร สัตว์ ส่งิ ของ เทคนิคการเลอื กกล่มุ ตัวอย่างท่ี
เหมาะสม “ตอ้ งเป็นตวั แทนท่ดี ี
ประชากรแบง่ เป็น ๒ ประเภท คือ ประชากรท่มี จี านวนจากัด
แจงนบั จานวนได้ครบถว้ น และประชากรท่ีไม่มีจานวนจากัด ไม่ ของประชากร”
สามารถแจงนบั จานวนได้ครบถ้วน

1. เหตุผลของการเลอื กตัวอยา่ ง การกาหนดและ 2. การกาหนดขนาดตัวอยา่ ง
-ประหยัดค่าใช้จา่ ย เลอื กกลุ่มตวั อยา่ ง การประมาณขนาดตัวอย่างท่ีใช้
-ประหยดั เวลาและแรงงาน ในงานวิจัย (เนน้ เชิ งบรรยาย)
-สะดวกและปฏิบตั ิไดจ้ ริง สามารถประมาณได้ 3 แบบคือ
-ถูกตอ้ งแม่นยา นา่ เช่ื อถอื
-ศึกษาข้อมูลไดก้ ว้างขวางและ -แบบใช้ สูตรคานวณ
ลกึ ซึ้ ง -แบบใช้ตารางสาเรจ็ รูป
ของ Yamane หรอื ของ
Krejcie และ Morgan

18IJANI2021 สปั ดาหท์ ่ี 4 15

นาเสนองาน

เทคนคิ การเลอื ก

กลมุ่ ตัวอย่าง

กลเทมุ่ คนตคิ กัวารอเลยือก่าง 16

การเลอื กกลุ่มตัวอยา่ งโดยใช้หลักความน่าจะเป็น การเลอื กกล่มุ ตวั อย่างโดยไม่ใช้หลักความนา่ จะเป็น

การเลอื กตวั อย่างโดยการสุ่มอย่างง่าย การเลือกตัวอยา่ งแบบตามสะดวก
(Simple random sampling) (Convenience sampling)

การเลอื กตวั อยา่ งโดยการสุ่มเป็นระบบ การเลือกตัวอย่างแบบโควตา
(Systematic random sampling) (Quota sampling)

การเลอื กตัวอย่างโดยการส่มุ แบบแบ่งชั้น การเลอื กตวั อย่างแบบเจาะจง
(Stratified random sampling) (Purposive sampling)
การเลือกตวั อย่างโดยการส่มุ แบบกลมุ่
(Cluster random sampling) การเลอื กตัวอยา่ งแบบลูกโซ่
การเลือกตวั อย่างโดยการสมุ่ แบบหลายขนั้ ตอน (Snowball sampling)
(Multi-stage random sampling)

การเลอื กกลุ่มตัวอย่างโดยใช้หลักความน่าจะเป็น 17

1. การเลอื กตวั อย่างโดยการสมุ่ อย่างง่าย (Simple
random sampling) เป็นการเลอื กตวั อยา่ งท่ีให้แตล่ ะหน่วยในประชากรมี

โสอากมาาสรถถกูแจเลกอื แกจเงทรา่ ายๆช่กื อันไดใค้ นรแบตทล่ กุ ะหคนร่วงั้ ยขอปงรกะชาารกเลรอื แกลซะ่ึแงใตชล่ ้เะมห่ือนป่วรยะมชีคากุณรลมกั จี ษาณนวะนทจ่สี านกใจดั
ศึกษาเหมือน ๆ กัน หรอื ใกลเ้ คยี งกนั (มคี วามเป็นเอกพนั ธ์ (Homogeneity))

2. การเลอื กตัวอยา่ งโดยการสมุ่ เป็นระบบ (Systematic random
sampling) เป็นการเลือกตวั อยา่ งจากหนว่ ยประชากรท่มี คี ุณลกั ษณะของส่งิ ท่ีผู้วจิ ัยสนใจศึกษาเหมือน ๆ กนั หรอื

ใกล้เคยี งกัน แบบสุม่ เป็นช่ วง ๆ โดยท่คี วามกวา้ งของช่ วงการสมุ่ (Sampling interval) จะตอ้ งเทา่ กัน การเลอื กตวั อย่าง
แบบน้ใี ช้ในกรณีหน่วยย่อยของประชากรมีขนาดจากัด และจัดเรียงไว้อยา่ งเป็นระบบอยู่แล้ว

3. การเลอื กตัวอย่างโดยการสุ่มแบบแบง่ ชั้น
(Stratified random sampling) เป็นการเลือกตวั อยา่ ง

ท่มี ีการจัดประชากรออกเป็นพวกหรอื ชั้น (Stratum)โดยยดึ หลกั ว่าภายในชั้น
เดียวกนั จะตอ้ งมคี ณุ ลักษณะท่ีตอ้ งการศกึ ษาเหมอื น ๆ กนั หรือใกล้เคยี งกัน
มากท่ีสุด

การเลอื กกล่มุ ตัวอยา่ งโดยใช้หลักความนา่ จะเป็น 18

(ตอ่ )

4. การเลือกตวั อย่างโดยการสุ่มแบบกลมุ่

(Cluster random sampling)
เป็นการเลือกตวั อย่างแบบท่ีประชากรอยู่รวมกนั เป็นกลุ่ม ๆ (Cluster)
โดยท่ีภายในของแต่ละกลมุ่ มคี ุณลักษณะท่ีผูว้ ิจยั สนใจศกึ ษาครบ

ทุกลักษณะ และทุกกลุ่มมีคุณลักษณะตา่ ง ๆ เหลา่ นเี้ หมอื น ๆ กัน
หรือคลา้ ยคลงึ กัน ซ่ึ งการเลือกตัวอย่างนนั้ เลอื กโดยการสุ่มเพยี ง

หบราืองกมลากมุ่ มกาวท่ากาก็ไดาร้)ศแกึ ลษะาเม่อื(อสาุ่มจไใดช้ก้วลิธุ่มกี ใาดรแสลุ่มว้ อยสา่มงางช่าิ กยทมงั้ าหเพมดยี ขงอกงลกมุ่ ลเดุ่มียว

นนั้ กค็ อื สมาชิ กของกล่มุ ตัวอย่าง 5. การเลอื กตวั อย่างโดยการสมุ่ แบบหลาย

ขนั้ ตอน (Multi-stage random sampling)

หรือบางตาราใช้คาว่า “การเลอื กตัวอยา่ งแบบผสมผสานเทคนคิ วธิ ี
(Combined-strategy sampling)” การเลือกตัวอยา่ งแบบนี้ หมายความถงึ

ทงั้ การเลือกตัวอยา่ งโดยใช้เทคนคิ การสุ่มเกนิ 1 เทคนิค (ไม่รวมการสุ่มอย่าง
ไงป่าย) )แลและเะทกคานริคเลเดือยกี วตใวั นอทย่ีน่า้มี งักโดเปย็นใช้“เทกคานรสิคมุ่เดแียบวบหกลลามุ่ ย” ๆ ครงั้ (ตงั้ แต่ 2 ครงั้ ขึ้น
หรอื ไม่กเ็ ป็น “การสมุ่ แบบ

แบง่ ชั้น”

19

การเลอื กกลมุ่ ตัวอยา่ งโดยไมใ่ ช้หลักความน่าจะเป็น

1. การเลอื กตวั อยา่ งแบบตามสะดวก (Convenience sampling) หรือการเลอื กตวั อยา่ งโดยบงั เอิญ (Accidental
sampling) เป็นวธิ กี ารเลอื กตัวอย่างท่ไี ม่มีหลกั เกณฑ์นนั่ คือเลอื กใครหรือหน่วยตัวอย่างใดกไ็ ด้จากแหล่งท่เี ป็นศูนย์รวม
ของขอ้ มูลท่ีผู้วิจัยคาดวา่ น่าจะมผี ูใ้ หข้ ้อมูลในส่ิงท่ีสนใจศกึ ษาได้

2. การเลือกตวั อยา่ งแบบโควตา (Quota sampling)
นนั้ ควรนจักะวมิจีคัยวจาะมทสามั กพารนั จธา์กแบั นตกัวปแรปะรชอาิสกรระอทอ่สี กนเใปจ็นศสึก่วษนายอ่ เชย่ นๆเพหศรืออเปา็นยุชรั้นะด(Sบั tกrาaรtaศ)ึกษกาอ่ นอาโดชี พยตเัวปแ็นปตรน้ ท่ีใจชา้ใกนนกนั้าจรจึงาแนก
พิจารณาขนาดตวั อย่างของแต่ละส่วนยอ่ ยเพ่ือกาหนดเป็นโควตา

3น.กั กวาิจรยั เเลปอื ็นกหตลัวกั อในยก่างารแพบบิจเาจราณะจางเล(อื Pกuตrpัวoอsยiา่vงeวs่าamมลี pักliษnณg)ะสเปอ็นดกคาลรอ้ เลงอืหกรอืตเวั ปอ็นยต่าวั งแโทดนยใทช่ดี ้ดีขุลอพงินปิจรแะชลาะกกราทรต่กี ดัาหสนนิ ใดจขแอละง
เป็นไปตามจุ ดมุ่งหมายของการวิจยั หรือไม่

4. การเลือกตวั อยา่ งแบบลูกโซ่ (Snowball sampling) วธิ ีการเลือกตัวอยา่ งน้ี จะเร่มิ ต้นจากการค้นหาหน่วย
ตตัววั ออยยา่า่ งงตมา่อบไปาใงนสล่วักนษ(ณอาะตจ่อมกเี พนั ียเปง็น1ทอหรดือๆ2กหานรว่เลยอื กกไ็ ตดวั้)อแยล่าะงจแะใบชบ้หนนี้เหว่ มยาตะวั ใอนยก่ารงณนีทน้ี ่ผีาทู้วาจิ งยั ไไปมสส่ ู่กาามราหราถหหนา่วหยน่วย
ตัวอยา่ งได้ง่ายอาจเป็นเพราะไม่สามารถรูไ้ ด้วา่ ประชากรเป็นใครบา้ ง หรอื ยู่ท่ีไหน

25IJANI2021 สัปดาห์ท่ี 5 20

สมมุติฐาน

10 7/15 /7
แบบทดสอบ
สมมุตฐิ านแบบทดสอบ ททาางงกสาถริตวิ ิจยั
มอบหมายงาน

21

สมมุตฐิ านทางการวจิ ยั และสมมตฐิ านทางสถติ ิ

สมมติฐานทางการวิจยั แบบไม่มีทิศทาง แบบมที ศิ ทาง
(Research hypothesis) เป็น
การเขยี นข้นึ เพ่อื แสดงคาตอบ นกั เรียนชายหญิง นกั เรียนท่ีเรียนด้วย
ของปั ญหาการวจิ ัยท่คี าดคะเน มีเจตคติตอ่ การ วธิ ีสอน A มี
ไวล้ ว่ งหนา้ อย่างมีเหตุผล เรยี นภาษาอังกฤษ
ผลสมั ฤทธทิ์ างการ
สมมตฐิ านทางสถิติ แตกต่างกนั เรียนมากกวา่
(Statistical hypothesis )
กาหนดขึน้ สาหรบั ใช้เพ่ือการ นกั เรยี นท่เี รยี นดว้ ย
ทดสอบตามกระบวนการทางสถิติ วธิ ีสอน B
ตอ้ งกาหนดควบค่กู นั 2 ประเภท
คือ สมมติฐานกลาง ( 0) และ สมมตฐิ านกลาง สมมติฐานทางเลอื ก
สมมติฐานทางเลอื ก ( 1) ( 0) ( 1)

1IFEBI2021 สปั ดาห์ท่ี 6 22

นาเสนองาน

เคร่ืองมอื

มอบหมายงานท่ีใช้ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล

เคร่อื งมอื ท่ีใช้ในการเกบ็ รวบรวมข้อมูล 23
1. การสงั เกต
ลักษณะของการสงั เกต การสังเกต (Observation) เคร่อื งมอื ชนิดน้ใี ช้ตวั บุคคล (ผู้สังเกต) ทาหน้าท่ีในการวดั

โดยใช้ประสาทสัมผัสทางการได้เหน็ และไดย้ ินเป็นสาคัญ ในการตดิ ตามเฝ้ าดูการแสดงพฤติกรรมของบุคคล กล่มุ คน
ปรากฏการณ์ต่าง ๆ

ลกั ษณะข้อมูลท่เี หมาะกบั การใช้การสังเกต เป็นขอ้ มูลจากแหลง่ ปฐมภูมิและสว่ นใหญม่ กั เป็นขอ้ มูลเชิ งคุณภาพ

ประเภทของการสังเกต

การสังเกตโดยตรง เป็นการสงั เกตท่ผี ู้สังเกตตอ้ งตดิ ตามเฝ้ าดเู หตกุ ารณ์ หรือพฤตกิ รรมท่ีเกิดขึน้ ดว้ ยตนเอง
แบง่ เป็น 2 ประเภทยอ่ ย ไดแ้ ก่ การสังเกตแบบมีส่วนร่วม, การสงั เกตแบบไม่มีส่วนร่วม

การสงั เกตโดยออ้ ม เป็นการสังเกตท่ผี ูส้ ังเกตไมไ่ ดเ้ ห็นเหตุการณ์หรอื พฤตกิ รรมท่เี กิดขึน้ ด้วยตนเอง แต่อาศัยการ
ถา่ ยทอดด้วยเคร่ืองมืออย่างใดอยา่ งหน่ึง

หลักการสังเกต 2. นยิ ามส่งิ ท่ีตอ้ งการสังเกตให้ชัดเจน

1. มจี ุ ดมุ่งหมายชัดเจน
3. กาหนดวัน เวลา สถานท่ี ตลอดจนระยะเวลาของการสังเกตไวล้ ่วงหนา้ อยา่ งรอบคอบ
4. สงั เกตอย่างพินิจพเิ คราะห์ ละเอยี ดถ่ีถว้ น จนมัน่ ใจว่าขอ้ มูลท่ีได้มโี อกาสผดิ พลาดน้อยมากหรือแทบไมม่ ีเลย
6. บนั ทึกส่งิ ท่สี ังเกตได้อยา่ งตรงไปตรงมา 6. ข้อมูลท่สี งั เกตไดต้ อ้ งตรวจสอบจนมัน่ ใจว่าถกู ตอ้ ง

ลักษณะของผู ้สังเกตท่ีดี มีความตัง้ ใจ (Attention)
มีความไวต่อการรับรู้ (Perception)
มีใจไม่ลาเอียง (Unbiased)
มีระบบประสาทสมั ผัสทางการไดเ้ หน็

และได้ยนิ อยูใ่ นสภาพปกติ

2. การสัมภาษณ์ ลักษณะข้อมูลท่ีเหมาะกบั การใช้การ 24

ลักษณะของการสัมภาษณ์ เป็นการสนทนาอยา่ งมี สสนมั ใภจาคษวณาม์ คนดิ ยิ เมหใน็ ช้กแับลขะทอ้ ัศมนูลเคกต่ียิใวนกเรบั ่อื คงวตา่ามงรูส้ ๆกึ ซ่ึคงวเปา็นม

จุ ดมุง่ หมายระหวา่ งผู้สัมภาษณ์ (ผู้เกบ็ รวบรวมขอ้ มูล) กับ ขอ้ มูลด้านจติ อารมณ์ (Effective domain) และบาง
ผูถ้ กู สมั ภาษณ์ (ผู้ใหข้ อ้ มูล) เก่ียวกบั เร่ืองท่ตี อ้ งการศึกษา
โอกาสกอ็ าจใช้กับขอ้ มูลทางด้านพุทธปิ ั ญญา
(Cognitive domain)

ประเภทของการสัมภาษณ์ การสมั ภาษณ์แบง่ เป็น 2 ประเภท ดงั นี้

1. การสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง (Structured interview) เป็นการสมั ภาษณ์ตามแบบฟอร์มของคาถามท่ไี ดส้ รา้ งข้นึ หรอื
กาหนดไว้ล่วงหนา้ แลว้ ฉะนัน้ ผู้สัมภาษณ์จะถามในแนวเดยี วกันหมด การสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างน้มี ี 2 ลกั ษณะ คอื การ
สมั ภาษณแ์ บบมีโครงสร้างชนิดกาหนดคาตอบหรือชนิดปลายปิ ด และการสมั ภาษณแ์ บบมีโครงสรา้ งชนดิ ปลายเปิ ด

2. การสมั ภาษณ์แบบไมม่ โี ครงสร้าง (Unstructured interview) เป็นการสัมภาษณท์ ่ไี มม่ กี ารกาหนดรายการคาถามไว้
ล่วงหนา้ แตจ่ ะมีเพียงวตั ถปุ ระสงค์ของการสมั ภาษณ์ การสมั ภาษณ์แบบไมม่ โี ครงสรา้ งแนน่ อนน้ี
จาแนกไดเ้ ป็น 3 ลกั ษณะ ได้แก่ การสัมภาษณ์แบบเจาะจง (Focused interview) การสมั ภาษณ์แบบเชิ งลึก (Depth
interview) การสมั ภาษณ์แบบไมม่ กี ารชี้ นา (Non-directive interview)

หลกั ของการสัมภาษณ์
1. มีจุ ดมุ่งหมายท่ีแนน่ อนชัดเจน
2. ได้รับความรว่ มมือจากผูถ้ กู สมั ภาษณใ์ นการใหข้ ้อมูลตา่ ง ๆ
4. ผู้สัมภาษณ์ควรมีพ้ืนความรู้ในเร่อื งท่ีจะสัมภาษณ์บา้ งพอสมควร
3. เตรียมคาถามตา่ ง ๆ ไวล้ ว่ งหนา้

พรอ้ มจัดเรียงลาดับคาถามให้เหมาะสม 5. ควรมีการฝึ กสัมภาษณก์ อ่ นการสัมภาษณจ์ ริง

เตรยี มประเด็นหลัก ๆ ไว้ 6. ควรสรา้ งบรรยากาศให้เป็นกนั เอง
7. พยายามยวั่ ยุหรอื เร้าให้ผู้ถกู สัมภาษณอ์ ยากใหค้ าตอบ 8. ตอ้ งมีการบันทกึ ขอ้ มูลการสัมภาษณ์อย่างรอบคอบ

9. ผูส้ ัมภาษณค์ วรแตง่ กายให้สะอาดเรียบรอ้ ย เหมาะสมกับกาลเทศะ หนา้ ตาย้ิมแย้มแจ่มใส
และสมั ภาษณด์ ว้ ยวาจาท่สี ภุ าพ

3. แบบสอบถาม ลกั ษณะของแบบสอบถาม “แบบสอบถาม” เป็นชุดของข้อคาถามท่ี

สรา้ งขน้ึ ในรูปของเอกสารทัง้ ในลกั ษณะท่กี าหนดและไมไ่ ด้กาหนดคาตอบ
เพ่อื ใหผ้ ูต้ อบได้อ่านแล้วตัดสินใจเลือกหรอื เขยี นคาตอบตามคาชี้ แจงท่ีระบุไว้

ความตลอ้ กั งษกณาระขคอ้ วมามูลสทน่ีเใหจมาคะวกาับมกพาึงรพใอชใ้แจบตบอ่ สสอ่งิ ใบดถสา่งิ มหน่ึงเปห็นรขอื ้อขม้อูลมเูลกส่ยี ่ววนกตับัวคตว่าางมคๆดิ เขหอน็ งผคูต้วอามบรเูส้ ชึก่ น ความเช่ื อ
เพศ อายุ

รายได้ ระดับการศึกษา ฯลฯ แบบสอบถามชนิดปลายเปิ ด (Opened form)
แบบสอบถามชนิดปลายปิ ด (Closed form)
รูปแบบของแบบสอบถาม ท่นี ิยมใช้ทัว่ ไปมี 2 รูปแบบ

แบบสอบถามท่เี ป็น “แบบตรวจสอบรายการ (Check list)”
- เลือกตอบอยา่ งใดอย่างหน่งึ ใน 2 คาตอบ

- เลือกคาตอบเดยี วจากหลายคาตอบ 25
- เลอื กไดม้ ากกว่าหน่งึ คาตอบจากหลาย ๆ คาตอบท่ีกาหนดให้
4. แบบทดสอบ
แบบสอบถามท่เี ป็น “แบบจัดอันดับ (Rank Order)”
แบบสอบถามท่ีเป็น “แบบมาตรประมาณคา่ (Rating scale)”

ลกั ษณะของแบบทดสอบ ประเภทของแบบทดสอบ

โดยทวั่ ไปแบบทดสอบ (Test) จะใช้ จาแนกตามการอ้างอิงหรือการแปลผล แบง่ เป็น 2 ประเภท คือ แบบทดสอบองิ
วัดความสามารถของบุคคลในด้าน

สตปิ ั ญญา (Cognitive) โดยสรา้ ง กลุม่ (Norm-referenced test) แบบทดสอบอิงเกณฑ์ (Criterion-referenced test)
เป็นชุดของขอ้ คาถามตา่ ง ๆ เก่ียวกบั จาแนกตามลักษณะการสรา้ งของข้อคาถามและการเขียนตอบ แบง่ เป็น 5 ประเภท
ตวั แปรท่ตี ้องการศึกษา เพ่ือกระตนุ้ ให้
ดังน้ี

กลมุ่ ตวั อย่างหรือผู ้สอบแสดง 1. แบบทดสอบความเรียง (Essay test) หรือแบบทดสอบอัตนัย (Subjective test)

พฤตกิ รรมตอบสนองอย่างใดอย่าง 2. แบบทดสอบถูกผดิ (True or false test)
หน่งึ ท่สี ามารถวัดและสงั เกตได้ 3. แบบทดสอบจับคู่ (Matching test)
4. แบบทดสอบชนิดเติมคา และชนิดตอบแบบสนั้ (Completion test & Short answer test)
5. แบบทดสอบชนดิ เลือกตอบ (Multiple choice test)

5. การประเมินจากการปฏบิ ตั ิ 26

ลกั ษณะของการประเมนิ การปฏิบัติ การประเมนิ การปฏบิ ัติ (Performance assessment) เป็นกระบวนการเกบ็

รวบรวมขอ้ มูลเก่ยี วกับพฤติกรรมการเรียนรู้ของผู ้เรยี น ผา่ นการลงมอื ปฏบิ ัติจริงตามภาระงานท่ีได้ออกแบบไว้ แลว้ นาข้อมูลท่ี
ได้มาวิเคราะหใ์ หไ้ ดส้ ารสนเทศสาหรับพฒั นาผู ้เรยี น หรือตัดสนิ คณุ ภาพการเรยี นรู้

กระบวนการประเมินการปฏิบัติ ขัน้ ท่ี 2 กาหนดรายการท่คี าดหวังใหผ้ ู เ้ รียนได้เรยี นรู้
ขนั้ ท่ี 1 กาหนดจุ ดมุง่ หมาย
ขัน้ ท่ี 3 ออกแบบงานหรือภาระงาน ขัน้ ท่ี 4 พัฒนาเกณฑก์ ารประเมนิ การปฏบิ ัตอิ ย่างชัดเจน
ขนั้ ท่ี เจปลัดรือทะกกาวใอิธบบีกงกาาานรรแปขลรนั้ะะเทคเม่ี ร7ิน่ือโวงดามยงือใแชท้ผเ่ใีกนชณ้ใแนลฑกะก์ ดาารารรเปนวรนิ บะกรเมาวรนิมลทขด่ีพอ้ คมฒั วูลานตมา่าไคงวล้ใๆานดขเเพคนั้ ่ือทลน่อื่ี 4านมาวเิ คราะหห์ รือพจิ ารณา
ขัน้ ท่ี 5
6
เคร่ืองมือการให้คะแนนการปฏิบตั ิ
เคร่อื งมอื การใหค้ ะแนนการปฏิบัติ โดยทัว่ ไปเรยี กว่า แบบประเมนิ การปฏบิ ัตซิ ่ึ งนยิ ม
สรา้ งในลกั ษณะท่เี ป็น Rubrics
หรอื จุ ดมRุ่งuหbมrาicยsขอคงือกชาุดรปขอระงเเมกินณสฑา์หหรรือบั รใาชย้เปก็นาเรคปรร่ือะงเมมนิ ือทห่อี รออื กแนแบวบทอางยใา่ นงกสาอรดใหคค้ละ้อแงนกนบั กเปา้ ารหปมฏาิบยตั กิขาอรงเผรยีู ้เรนยี รนู้
ประเภทของ Rubrics

1. Holistic rubrics และ Analytic rubrics
Holistic rubrics เป็น Rubrics ท่สี ร้างขึน้ สาหรับให้คะแนนการปฏิบัตขิ องผู เ้ รยี นในภาพรวม
Analytic rubrics เป็น Rubrics ท่ีสร้างขน้ึ สาหรบั ใหค้ ะแนนการปฏบิ ตั ิของผู เ้ รียนแยกแยะตามประเดน็ ท่ีจะประเมนิ
ซ่ึ งนยิ มกาหนดจานวนระดับคุณภาพเทา่ กนั ทกุ ประเดน็ ท่ีจะประเมนิ

2. General rubrics และ Task specific rubrics
General rubrics เป็น Rubrics ท่ีสรา้ งขึน้ โดยใช้เกณฑ์หรือประเดน็ ท่ีจะประเมนิ กว้าง ๆ เพ่อื ให้สามารถใช้ในการ
ประเมนิ การปฏบิ ัติของผู เ้ รยี นไดห้ ลายงาน
Task specific rubrics เป็น Rubrics ท่ีสร้างขน้ึ เพ่ือใช้ประเมินงานท่ีเฉพาะเจาะจง งานใดงานหน่งึ ท่มี อบหมายให้
ผู เ้ รยี นได้ลงมอื ปฏบิ ัติเทา่ นนั้

8IFEBI2021 สปั ดาห์ท่ี 7 27

แบบฟอรม์ การจัดทาโครงรา่ งวิจยั
วิจัยบทท่ี 1
เสนอช่ื อ
การจดั ทาโครงร่างวิจยั วจิ ยั

“การพฒั นาชุดฝึ กทักษะการเขยี น
สะกดคาท่ีสะกดไม่ตรงตามมาตรา
สาหรับนักเรียนชั้นประถมศกึ ษาปี ท่ี 2”

28

ได้ (นวัตกรรม) ท่ีมปี ระสทิ ธิภาพ แบบมที ศิ ทาง

ประสิทธิผล สามารถนาไปจัดการ แบบไม่มที ิศทาง การพัฒนา...(นวัตกรรม)...

เรยี นการสอนได้

เป็นแนวทางสาหรับ (บุคคล) ท่สี นใจ ตัง้ สมมุตฐิ าน สาหรับ...(เป้ าหมาย)...
(นวตั กรรม) กรณีใช้ในท่อี ่นื ๆ

กาหนด ของการวจิ ยั
ความสาคัญของ
การวิจยั การจดั ทาโครงรา่ งวจิ ยั ตัวอย่างช่ื อวจิ ัย

กาหนดความมุง่ หมาย กาหนดคาถาม แบบแผนการทดลองท่ีนิยม
ของการวิจัย ของการวิจยั
กลุ่มเดยี ววัดก่อน-วัดหลัง
เพ่อื หาประสทิ ธิภาพของ (นวตั กรรม) มีประสิทธิภาพตาม
(นวัตกรรม) ตามเกณฑ์ 80/80 เกณฑ์ 80/80 หรอื ไมอ่ ย่างไร 1 X 2
เพ่ือหาประสิทธิผลของ (นวัตกรรม) (นวัตกรรม) มีประสทิ ธผิ ลตาม
เกณฑ์รอ้ ยละ 50 หรือไมอ่ ยา่ งไร วดั ก่อนเรียน จดั กิจกรรมโดยใช้ วดั หลังเรียน
ตามเกณฑ์ร้อยละ 50 นกั เรยี นมคี วามพึงพอใจท่ี
เพ่อื ศึกษาความพึงพอใจของ เรียนด้วย (นวตั กรรม) อยู่ นวัตกรรม
นักเรยี นท่ีเรียนด้วย (นวัตกรรม)
ในระดบั ใด วดั ความคงทน 3

กลุม่ เดียววัดก่อน-วดั หลัง-วัดความคงทน

15IFEBI2021 สปั ดาหท์ ่ี 8 29

วธิ ีตรวจสอบคณุ ภาพ
เคร่ืองมอื วจิ ยั และสถิติท่ใี ช้

22/30 วิธตี รวจสอบ
คณุ ภาพเคร่อื งมอื
แบบทดสอบ วิจยั และสถติ ทิ ่ีใช้

วธิ ตี รวจสอบคุณภาพเคร่ืองมือวิจยั และสถติ ทิ ่ีใช้ 30

ความเป็นปรนัย ความเป็นปรนัย (Objectivity) เป็นคุณสมบตั ิของเคร่อื งมือท่ใี ช้เก็บรวบรวมข้อมูลท่แี สดง
ถึงลักษณะสาคัญ 3 ประการ คือ
(1) คาถามชัดเจนอา่ นแลว้ เขา้ ใจตรงกันว่าถามเก่ียวกับอะไร ใหต้ อบด้วยวิธีใด
(2) การตรวจใหค้ ะแนนมคี วามคงท่ี ไม่วา่ ใครตรวจก็ใหค้ ะแนนตรงกัน
(3) การแปลความหมายคะแนนมีความชัดเจนตรงกนั
ความเท่ยี งตรง ระดับคณุ ภาพของเคร่ืองมอื วิจัยท่ีบ่งบอกว่า ขอ้ มูลหรือผลการวดั ตวั แปร
คุณลักษณะ หรือส่ิงท่ีต้องการวัดดว้ ยเคร่อื งมอื นนั้ ๆ มีความถูกต้องหรอื ไม่ เพียงใด

ความเท่ียงตรงตามโครงสรา้ ง ความเท่ยี งตรงเกณฑส์ มั พันธ์
(Construct validity)
ความเท่ยี งตรงตามเน้ือหา เป็นคณุ ภาพของเคร่ืองมือ ความเท่ยี งตรงตามสภาพ (Concurrent validity)
(Content validity) เป็นคณุ ภาพของเคร่ืองมือวจิ ยั ท่ีสามารถวัด
วิจัยท่ีบ่งบอกว่า รายการข้อ
เป็นคุณภาพของเคร่อื งมอื คาถามทัง้ หมดในเคร่อื งมอื นนั้ คุณลักษณะหรอื พฤตกิ รรมท่ีต้องการวัดได้ตรงความเป็น
ท่ีบ่งบอกวา่ ตวั อย่างของ สามารถวัดตวั แปรท่ีต้องการวัด จครวิงาใมนเทส่ภียงาตพรปงั จตจาุ บมนั พขยอางกกรลณมุ่ เ์ ป(้ าPหreมdาiยctทi่vีตeอ้ งvกaาliรdศitกึ yษ)า
ข้อสอบหรอื ขอ้ คาถามต่าง ๆ ได้ถกู ต้อง สอดคล้อง และ
ของเคร่ืองมอื ฉบบั นนั้ วัดได้ ครอบคลุมตามนยิ ามหรอื เป็นคุณภาพของเคร่อื งมอื วิจยั ท่ีสามารถใช้ผลจาก
ถกู ต้อง สอดคลอ้ ง และ โครงสร้างเชิ งทฤษฎีของตัวแปร การวดั คุณลกั ษณะหรือพฤติกรรมบางอย่างของ
ครบถว้ นตามขอบเขตเนอื้ หาท่ี ท่ีตอ้ งการวัดนัน้ หรอื ไม่ กพลฤมุ่ ตเิกป้ รารหมมทา่ยีตใ้อนงปกั จาจรุ บศันกึ ษไาปซท่ึ งาคนาาดยวคา่ ุณจะลเกักิดษขณึ้นะใหนรออื นาคต
ต้องการวดั หรือไม่ เพยี งใด เพียงใด ของกลมุ่ เป้ าหมายนนั้ ได้ตรงตามท่คี าดหมายไว้

นยิ มใช้กับเคร่อื งมือประเภทแบบทดสอบ และแบบสอบถาม ซ่ึ งขอ้ มูลท่ี 31

อานาจจาแนก รวบรวมได้มกั อยู่ในรูปข้อมูลเชิงปริมาณ โดยมลี กั ษณะการให้คะแนนขอ้ คาถาม
รายข้อใน 2 ลักษณะ
ลกั ษณะท่ี 1 ใหค้ ะแนนเป็น 0 กบั 1 เช่ น แบบทดสอบวดั พฤติกรรมทางสตปิ ั ญญา
โดยเฉพาะแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนประเภทปรนัยชนดิ ต่าง ๆ
วิธใี ช้สูตรสดั สว่ นของความแตกต่างระหว่างกลุม่ สูงกบั กลุ่มต่า
วธิ ขี อง Brennan

ลกั ษณะท่ี 2 ให้คะแนนไม่ใช่ 0 กบั 1 เช่ น แบบทดสอบวัดพฤตกิ รรมทางสติปั ญญาประเภท

ความเรียงหรอื อัตนัย แบบทดสอบทางจิตวทิ ยาวัดตวั แปรด้านจิตพสิ ยั หรอื คณุ ลกั ษณะต่าง ๆ ของ
บุคคล หรอื แบบสอบถามท่เี ป็นมาตรประมาณค่า (Rating scale)

วิธขี อง D.R Whitney และ D.L Sabers
วธิ ี Item-total correlation

คา่ r ท่เี ป็นไปได้

-1 0 0.20 1

คา่ r ท่ีใช้ได้

จทะ่วี ใัดช้เดฉา้ พนาพะุทกธรณิพิสเี คยั รห่ือรงือมอื 32

ความยาก การหาความยาก (Difficult)
วิจยั เป็นประเภทแบบทดสอบ (Test)

สติปั ญญา (Cognitive domain) โดยเฉพาะแบบทดสอบประเภท

องิ กลุม่ (Norm-referenced test)

การหาดัชนีความยากรายขอ้ (Item difficulty index) โดยทวั่ ไปขอ้ สอบท่เี หมาะสมควรมคี วามยาก
หรือ ระดบั ความยากรายขอ้ (Item difficult level) อยูใ่ นช่ วงตัง้ แต่ 0.20 ถงึ 0.80
ของแบบทดสอบอิงกลุ่ม จาแนกเป็น 2 กรณี คอื
(1) กรณที ่ีใหค้ ะแนนเป็น 0 กับ 1 คา่ p ท่ีเป็นไปได้
(2) กรณีท่กี ารใหค้ ะแนนไมใ่ ช่ 0 กบั 1
0 0.20 ค่า p ท่ใี ช้ได้ 0.80 1

ความเช่ื อมนั่ ความเช่ือมนั่ (Reliability) เป็นคุณสมบัติของเคร่อื งมอื วัดผล หรอื
เคร่ืองมือวิจัยรวมทงั้ ฉบับ ท่ีสามารถวัดเร่ืองราวหรอื คณุ ลกั ษณะท่ีตอ้ งการ
วดั ไดค้ งเสน้ คงวาวดั ก่ีครัง้ กไ็ ดผ้ ลเหมือนเดิม หรอื ใกลเ้ คียงกบั ของเดิม
คา่ ความเช่ื อมนั่ ของเคร่อื งมอื วัดผล หรอื เคร่อื งมือวจิ ยั อยูใ่ นช่ วงตงั้ แต่ -1 ถึง +1 และจะพจิ ารณาเฉพาะค่า
บวก โดยท่ีค่าความเช่ื อมนั่ ย่ิงเข้าใกล้ +1 แสดงว่าย่งิ มคี วามเช่ื อมนั่ สูง ถา้ เป็นแบบทดสอบวัดด้านพุทธิพิสยั ควรมีคา่
มากกว่า 0.70 ซ่ึ งการหาความเช่ื อมนั่ ของเคร่อื งมอื วดั ผล หรอื เคร่ืองมอื วิจัย

22IFEBI2021 สัปดาหท์ ่ี 9 33

บทท่ี 2, 3

18/20 เอกสารและงานวิจยั ท่เี ก่ียวขอ้ ง
วิธีดาเนนิ การ

แบบทดสอบ

หนงั สือ บทความ ทราบขอ้ เทจ็ จรงิ ตงั้ สมมุตฐิ านได้เหมาะสม
รายงานวจิ ัย กาหนดกลุ่มตัวอย่างได้
เป็นการศึกษาเอกสารทางวชิ าการ วิทยานิพนธ์ สารานุกรม นิยามปั ญหาไดช้ ัดเจน ทราบแนวทางในการใช้ เคร่ืองมอื
และงานวิจยั ของนกั วจิ ัยคนอ่ืน ๆ ทงั้ ใน การสบื คน้ ข้อมูล กาหนดวธิ ีการไดห้ มาะสม
อดีตและปั จจุ บนั ท่ีมเี นือ้ หาเก่ยี วข้องกบั ใช้ตวั แปรได้เหมาะสม เลือกใช้สถิตไิ ดอ้ ย่างถูกตอ้ ง
ช่ื อเร่อื งตัวแปรท่สี นใจศกึ ษา แนวคิด/ อินเทอรเ์ นต็ ควบคุมตวั แปรแทรกซ้อนได้
ทราบแนวคิดสรุปอภปิ รายได้

ทสาฤรษสฎนีตเ่าทงศทๆ่ไี ดท้จ่ีนาาใกชก้ใานรงศาึกนษวาิจคยั น้ ควา้ รูห้ ลักการทาวจิ ัย
ดงั กล่าว จะเป็นแนวทางในการกาหนด
แผนของการวิจัยท่ีผู ว้ จิ ยั จะทาตอ่ ไป ประโยชนข์ องการศกึ ษา
เอกสารท่เี ก่ยี วข้อง
เอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวขอ้ งการศึกษาเอกสารและ
ประเภทของการศึกษา หลักการนาเสนอ
เอกสารท่เี ก่ียวข้อง

งานวิจัยท่เี ก่ียวขอ้ ง วจิ ัยบทท่ี 2 และ 3 นาเสนอสาระท่สี อดคลอ้ ง
จดั ลาดับ
สถติ ิพื้นฐาน เขียนเช่ื อมโยงใหส้ ละสลวย

สรุปประเดน็ สาคัญ
ลาดับเร่อื งตามเวลา
สถติ ติ รวจสอบคุณภาพเคร่ืองมอื วจิ ยั วธิ ดี าเนนิ การ ทใชบ้ภทาวษนาเใพห่อืถ้ ปกู รตับ้อปงรุง
สถิตติ รวจสอบสมมตฐิ าน

สถิตทิ ่ีใช้ในการวเิ คราะหข์ อ้ มูล การกาหนดประชากรและกลุม่ ตัวอย่าง

การวเิ คราะหข์ ้อมูล การสรา้ งและหาคณุ ภาพเคร่อื งมอื วจิ ัย

การเกบ็ รวบรวมข้อมูล 34

1IMARI2021 สปั ดาห์ท่ี 35

10

บทท่ี 4 & SPSS

แบบฟอร์ม ใช้ โปรแวเิ กครราะมหข์ ้อSมPูลSS
วิจยั บทท่ี 4

36

ใช้ โปรแวิเกครราะมห์ข้อSมPูลSS

แบบฟอรม์
วิจัยบทท่ี 4

8IMARI2021 สัปดาหท์ ่ี 37

11

บทท่ี 4

แบบฟอรม์

วิจัยบทท่ี 4 (ต่อ)

38

แบบฟอรม์

วจิ ัยบทท่ี 4 (ตอ่ )

15IMARI2021 สัปดาห์ท่ี 39

12

การทดสอบค่า T

สถิตทิ ดสอบค่า
T-test

การทดสอบคา่ เฉล่ยี ของตวั แปรตามตัวเดยี ว 40

กลมุ่ ตัวอยา่ งหน่งึ กลุ่มและสองกลุ่มโดยใช้สถติ ทิ ดสอบค่าที (t-test)
1 One Sample t-test
ทดสอบความแตกตา่ งระหวา่ งค่าเฉล่ยี (Mean) ของประชากร
2 กลุม่ เดยี วกับคา่ เกณฑ์ หรอื Norm ท่กี าหนด

Dependent Samples t-test

ทดสอบความแตกตา่ งระหว่างค่าเฉล่ยี (Mean) ของประชากร
สองกลุม่ ท่ไี ม่อิสระกัน
3
Independent Samples t-test

ทดสอบความแตกต่างระหวา่ งคา่ เฉล่ยี (Mean) ของประชากร
สองกลมุ่ ท่ีอิสระกัน

22IMARI2021 สัปดาหท์ ่ี 41

13

แบบฟอรม์ บทท่ี 5
วจิ ัยบทท่ี 5
12/15

แบบทดสอบ

อภปิ รายผลการวิจยั ข้อเสนอแนะ 42

เป็นการแสดงความคดิ เหน็ ตอ่ 1. ขอ้ เสนอแนะในการนาผลการวจิ ัยไปใช้
ผลการวิจัยท่เี กดิ ขน้ึ วา่ เป็นเพราะอะไรอาจใช้ (นานวัตกรรมไปใช้ )
เหตผุ ลของผู้วจิ ยั เอง และ/หรอื ตามแนวคดิ
หลักการ ทฤษฎี ต่าง ๆ ท่ผี ู้วิจัยนามาใช้ (ต้อง 2. ข้อเสนอแนะในการทาวจิ ยั ครงั้ ตอ่ ไป
อา้ งองิ ด้วย) และ/หรอื ผลการวจิ ยั นนั้ ๆ
สอดคล้องกับงานวิจัยของใครท่ที ามากอ่ น ความมุ่งหมายของการวิจัย
(อา้ งอิงดว้ ย)
(นามาจากบทท่ี 1)

สรุปผลการวจิ ยั สรุปผล อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ

การวเิ คราะหข์ อ้ มูล ขอบเขตของการวิจยั

(นามาจากบทท่ี 3) (นามาจากบทท่ี 1)

การเกบ็ รวบรวมข้อมูล เคร่อื งมอื ท่ีใช้ในการวิจยั

(นามาจากบทท่ี 3) นามาจากบทท่ี 3 (ไมต่ ้องระบุวิธีสร้าง)

29IMARI2021 สปั ดาห์ท่ี 43

14

การวิเคราะห์ขอ้ สอบ (SPSS)

การวิเคราะหข์ อ้ สอบ
ด้วยโปรแกรม SPSS


Click to View FlipBook Version