The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กรอบยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by countpng, 2019-06-12 03:42:09

กรอบยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี

กรอบยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี

กรอบยทุ ธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579)

เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ “ม่ังคงั่ ”
“ประเทศมคี วามม่ันคง มง่ั ค่ัง ยง่ั ยืน
เป็นประเทศพฒั นาแล้ว ด้วยการพัฒนา 1 2 การสร4้างโอกาส
ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง”
นาไปส่กู ารพฒั นาใหค้ นไทยมคี วามสุข ความมนั่ คง การสร้าง ความเสมอภาคและ
ความสามารถ เท่าเทียมกนั ทาง
และตอบสนองตอบต่อการบรรลุ ในการแข่งขนั
ซึ่งผลประโยชน์แห่งชาติ ในการทีจ่ ะพัฒนา สงั คม
3กาเรสพรฒัมิ สนราา้ แงละ
คุณภาพชวี ติ สร้างรายไดร้ ะดับสูง ศกั ยภาพคน
เป็นประเทศพฒั นาแล้ว และสรา้ งความสุขของ
6 5
คนไทย สงั คมมีความม่ันคง เสมอภาคและ
เป็นธรรม ประเทศสามารถแขง่ ขันได้ในระบบ การปรบั สมดลุ และ การสร้าง
พัฒนาระบบการ การเติบโตบน
เศรษฐกจิ บริหารจัดการ คุณภาพชีวติ
ทเี่ ปน็ มิตรตอ่
ภาครฐั สง่ิ แวดล้อม

กรอบแนวทางท่สี าคญั ของยทุ ธศาสตร์ชาตริ ะยะ 20 ปี 1.ด้านความมน่ั คง

(1) เสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลักและการปกครองระบอบ
ประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมุข

(2) ปฏิรูปกลไกการบริหารประเทศและพัฒนาความม่ันคงทางการ
เมอื ง ขจัดคอรร์ ัปช่นั สร้างความเชอื่ มัน่ ในกระบวนการยุตธิ รรม

(3) การรักษาความม่ันคงภายในและความสงบเรียบร้อยภายใน
ตลอดจนการบริหารจัดการความมั่นคงชายแดนและชายฝั่งทะเล

(4) การพัฒนาระบบ กลไก มาตรการและความร่วมมือระหว่าง
ประเทศทุกระดับ และรักษาดุลยภาพความสัมพันธ์กับประเทศ
มหาอานาจ เพ่ือป้องกันและแกไ้ ขปัญหาความมั่นคงรูปแบบใหม่

(5) การพัฒนาเสริมสร้างศักยภาพการผนึกกาลังป้องกันประเทศ
การรกั ษาความสงบเรียบร้อยภายในประเทศ สรา้ งความร่วมมือกับ
ประเทศเพ่อื นบ้านและมิตรประเทศ

(6) การพัฒนาระบบการเตรียมพร้อมแห่งชาติและระบบบริหาร
จัดการภัยพิบัติ รักษาความม่ันคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติ
ส่งิ แวดลอ้ ม

(7) การปรับกระบวนการทางานของกลไกที่เกี่ยวข้องจากแนวด่ิงสู่
แนวระนาบมากขนึ้

25

กรอบแนวทางท่สี าคญั ของยทุ ธศาสตรช์ าตริ ะยะ 20 ปี

2.ดา้ นการสร้างความสามารถในการแข่งขนั

(1) การพฒั นาสมรรถนะทางเศรษฐกิจ ส่งเสรมิ การคา้
การลงทุน พัฒนาสู่ชาติการคา้

(2) การพัฒนาภาคการผลิตและบรกิ าร เสริมสร้างฐานการผลิตเขม้ แขง็
ยงั่ ยืน และสง่ เสริมเกษตรกรรายยอ่ ยสูเ่ กษตรย่ังยืนเปน็ มิตรกบั
สงิ่ แวดลอ้ ม

(3) การพัฒนาผ้ปู ระกอบการและเศรษฐกิจชุมชน พัฒนาทักษะ
ผปู้ ระกอบการ ยกระดบั ผลิตภาพแรงงานและพัฒนา SMEs สสู่ ากล

(4) การพัฒนาพื้นท่ีเศรษฐกิจพิเศษและเมอื ง พฒั นาเขตเศรษฐกจิ พเิ ศษ
ชายแดน และพฒั นาระบบเมอื งศนู ยก์ ลางความเจริญ

(5) การลงทุนพัฒนาโครงสร้างพ้นื ฐาน ด้านการขนสง่
ความมั่นคงและพลงั งาน ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และการวิจัย
และพฒั นา

(6) การเชอื่ มโยงกับภูมภิ าคและเศรษฐกจิ โลก สร้างความเปน็ หุ้นสว่ น
การพัฒนากบั นานาประเทศ ส่งเสริมใหไ้ ทยเปน็ ฐานของการประกอบ
ธุรกจิ ฯลฯ

26

กรอบแนวทางที่สาคญั ของยทุ ธศาสตรช์ าติระยะ 20 ปี

3.ดา้ นการพัฒนาและเสริมสร้างศกั ยภาพคน

(1) พฒั นาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวติ
(2) การยกระดบั การศึกษาและการเรียนร้ใู หม้ ีคุณภาพเท่าเทยี มและทว่ั ถึง
(3) ปลูกฝังระเบยี บวินยั คณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ มท่ีพงึ ประสงค์
(4) การสร้างเสรมิ ใหค้ นมสี ุขภาวะท่ดี ี
(5) การสร้างความอยดู่ ีมีสขุ ของครอบครวั ไทย

4.ด้านการสร้างโอกาสความเสมอภาค
และเทา่ เทียมกนั ทางสงั คม

(1) สรา้ งความมัน่ คงและการลดความเหลอ่ื มลา้ ทางเศรษฐกจิ และสงั คม
(2) พัฒนาระบบบรกิ ารและระบบบริหารจัดการสขุ ภาพ
(3) มสี ภาพแวดล้อมและนวตั กรรมทเ่ี ออ้ื ตอ่ การดารงชีวิตในสงั คมสงู วยั
(4) สรา้ งความเข้มแข็งของสถาบันทางสังคม ทุนทางวฒั นธรรมและ

ความเขม้ แข็งของชมุ ชน
(5) พฒั นาการสอ่ื สารมวลชนให้เป็นกลไกในการสนบั สนนุ การพัฒนา

27

กรอบแนวทางท่สี าคญั ของยุทธศาสตรช์ าติระยะ 20 ปี

5.ดา้ นการสร้างการเตบิ โตบน
คุณภาพชวี ติ ที่เปน็ มติ รกับสงิ่ แวดล้อม

(1) จัดระบบอนุรักษ์ ฟ้ืนฟูและป้องกันการทาลาย

ทรัพยากรธรรมชาติ

(2) วางระบบบริหารจัดการน้าให้มีประสิทธิภาพท้ัง 25

ลุ่มน้า เน้นการปรับระบบการบริหารจัดการอุทกภัย

อยา่ งบูรณาการ

(3) การพัฒนาและใช้พลังงานท่ีเปน็ มติ รกบั สง่ิ แวดลอ้ ม

(4) การพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศและเมืองท่ีเป็น

มิตรกบั สง่ิ แวดลอ้ ม

(5) การร่วมลดปัญหาโลกร้อนและปรับตัวให้พร้อมกับการ

เปลยี่ นแปลงสภาพภมู ิอากาศ

(6) การใช้เครือ่ งมือทางเศรษฐศาสตร์และนโยบายการคลัง

เพอื่ ส่ิงแวดล้อม 28

กรอบแนวทางท่สี าคญั ของยทุ ธศาสตรช์ าติระยะ 20 ปี

6.ด้านการปรับสมดลุ และพฒั นา
ระบบการบรหิ ารจัดการภาครฐั

(1) การปรบั ปรุงโครงสรา้ ง บทบาท ภารกจิ ของหน่วยงาน
ภาครฐั ใหม้ ีขนาดทีเ่ หมาะสม

(2) การวางระบบบรหิ ารราชการแบบบูรณาการ
(3) การพฒั นาระบบบรหิ ารจดั การกาลงั คนและพัฒนา

บคุ ลากรภาครฐั
(4) การต่อตา้ นการทจุ ริตและประพฤติมชิ อบ
(5) การปรบั ปรงุ กฎหมายและระเบียบต่าง ๆ
(6) ใหท้ นั สมัย เป็นธรรมและเป็นสากล
(7) พฒั นาระบบการใหบ้ ริการประชาชนของหนว่ ยงานภาครฐั
(8) ปรบั ปรุงการบรหิ ารจัดการรายไดแ้ ละรายจ่ายของภาครัฐ

29


Click to View FlipBook Version