The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เกณฑ์อ้างอิง แม่โจ้ พี จี เอส แก้ไขล่าสุด 2 กค 66

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Organic Agriculture Center Maejo, 2023-07-02 00:55:50

เกณฑ์อ้างอิง แม่โจ้ พี จี เอส แก้ไขล่าสุด 2 กค 66

เกณฑ์อ้างอิง แม่โจ้ พี จี เอส แก้ไขล่าสุด 2 กค 66

A เกณฑ์อ้างอิงมาตรฐาน แม่โจ้ พี จี เอส____________________________________________________ฉบับที่ 1 ปี 2565 วันที่ปรับปรุง 15 กันยายน 65 เกณฑ์อ้างอิงมาตรฐาน แม่โจ้ พี จี เอส ส านักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้


B เกณฑ์อ้างอิงมาตรฐาน แม่โจ้ พี จี เอส____________________________________________________ฉบับที่ 1 ปี 2565 วันที่ปรับปรุง 15 กันยายน 65 สารบัญ หน้า บทที่ 1 บทน ำ 1 บทที่ 2 ขอบข่ำย 3 บทที่ 3 บทที่ 4 บทที่ 5 นิยำมศัพท์ ข้อก ำหนดเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม 1. กำรจัดกำรเชิงระบบนิเวศในระยะยำว 2. กำรส่งเสริมควำมอุดมสมบูรณ์ของดินอยู่บนพื้นฐำนทำงชีวภำพแบบยั่งยืน 3. กำรหลีกเลี่ยงและลดกำรใช้ปัจจัยกำรผลิตที่เป็นสำรเคมีสังเครำะห์ที่มี ศักยภำพเป็นสำรเคมีอันตรำยกับผู้คนและสิ่งแวดล้อมและตกค้ำงยำวนำน ทุกระยะของห่วงโซ่กำรผลิตแบบอินทรีย์ 4. มำตรกำรกำรลดมลพิษควำมเสื่อมโทรมของหน่วยกำรผลิตและสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่ใกล้เคียงจำกกิจกรรมกำรผลิต และกำรแปรรูป 5. ไม่มีกำรใช้เทคโนโลยีที่ยังไม่สำมำรถพิสูจน์ได้ถึงอันตรำยจำกผลกระทบต่อชีวิตและ สิ่งแวดล้อมในระบบเกษตรอินทรีย์ 6. กำรดูแลสัตว์เลี้ยงอย่ำงมีควำมรับผิดชอบ 7. มีกำรส่งเสริมและดูแลรักษำสุขภำพสัตว์อย่ำงเป็นธรรมชำติ 8. ต้องมีกำรรักษำควำมเป็นอินทรีย์ตลอดห่วงโซ่กำรผลิต 9. กำรใช้สำรฆ่ำเชื้อและสำรท ำควำมสะอำด 10. กำรแปรรูปเกษตรอินทรีย์ต้องแน่ใจได้ว่ำกำรบรรจุและกำรเก็บรักษำตลำดจนกำร ขนส่งนพำหนะต้องไม่มีกำรปนเปื้อนในผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์ 11. กำรเปิดเผยสถำนะควำมเป็นเกษตรอินทรีย์ 12. ควำมเป็นธรรมในกำรจ้ำงงำนและแรงงำน 13. มีกำรพึ่งพำตนเองตำมหลักปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง กำรเพำะเลี้ยงสัตว์น้ ำอินทรีย์ 1. กำรปรับเปลี่ยนเป็นกำรเพำะเลี้ยงแบบอินทรีย์ 2. กำรปรับเปลี่ยนฟำร์มบำงส่วนและกำรผลิตคู่ขนำน 3. สถำนที่เพำะเลี้ยงสัตว์น้ ำ 4. กำรจัดกำรฟำร์มโดยรวม 5. สุขอนำมัยและสภำพควำมเป็นอยู่ของสัตว์น้ ำ 6. พันธุ์สัตว์น้ ำและกำรผสมพันธุ์ 7. อำหำร 4 5 5 6 6 8 9 10 10 11 12 12 12 12 13 14 14 14 15 16 17 19 19


C เกณฑ์อ้างอิงมาตรฐาน แม่โจ้ พี จี เอส____________________________________________________ฉบับที่ 1 ปี 2565 วันที่ปรับปรุง 15 กันยายน 65 สารบัญ (ต่อ) หน้า 8. กำรจับ กำรท ำให้ตำมและกำรขนส่งสัตว์น้ ำ 21 9. มำตรฐำนทำงสังคม 10. มำตรฐำนกำรเพำะเลี้ยงกุ้งอินทรีย์ 11. มำตรฐำนกำรเพำะเลี้ยงปลำน้ ำจืด 22 22 25 บทที่ 6 เครื่องส ำอำง และผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภำพ 1. วัตถุดิบ ส่วนผสม และสำรปรุงแต่ง 2. วัสดุยึดเกำะ หรือ วัสดุน ำพำ และผ้ำ 3. เกณฑ์กำรค ำนวณปริมำณสำรธรรมชำติและสำรอินทรีย์ 4. กระบวนกำรแปรรูปและกำรจัดกำร 5. บรรจุภัณฑ์ 27 27 29 29 30 31 ภำคผนวก 32 ภำคผนวก 1 ปัจจัยกำรผลิตที่อนุญำตให้ใช้ในกำรผลิตอินทรีย์ 1.1 ปัจจัยกำรผลิตที่ใช้เป็นปุ๋ยและสำรปรับปรุงดิน 1.2 ผลิตภัณฑ์และวิธีกำรที่อนุญำตให้ใช้ในกำรป้องกันก ำจัดศัตรูพืช/โรคพืช/วัชพืช และสำรเร่งกำรเจริญเติบโต 1.3 ผลิตภัณฑ์และวิธีกำรที่อนุญำตให้ใช้ในกำรป้องกันก ำจัดแมลงศัตรูและสัตว์ ในสถำนที่แปรรูปและโรงเก็บ 1.4 ผลิตภัณฑ์ที่อนุญำตให้ใช้ในผลิตภัณฑ์ส ำหรับป้องกันก ำจัดศัตรูพืช 1.5 รำยชื่อปัจจัยกำรผลิตที่อนุญำตให้ใช้ในกำรเลี้ยงสัตว์และกำรเลี้ยงผึ้งอินทรีย์ ภำคผนวก 2 สำรปรุงแต่งและสำรช่วยแปรรูปส ำหรับผลิตภัณฑ์อินทรีย์ 2.1 รำยกำรสำรปรุงแต่งและ carrier ที่อนุญำตให้ใช้ 2.2 รำยกำรสำรช่วยแปรรูปที่อนุญำตให้ใช้ ภำคผนวก 3 ผลิตภัณฑ์ที่อำจอนุญำตให้ใช้ในกำรท ำควำมสะอำดและฆ่ำเชื้อบนผิวสัมผัส อำหำร (รำยกำรชี้แนะ) ภำคผนวก 4 ปัจจัยกำรผลิตที่อนุญำตให้ใช้ในกำรผลิตสัตว์น้ ำอินทรีย์ 4.1 ผลิตภัณฑ์และวิธีกำรที่อนุญำตให้ใช้ในกำรท ำควำมสะอำด ฆ่ำเชื้อ ป้องกัน และควบคุมโรคและศัตรูในฟำร์ม 4.2 แร่ธำตุ และสำรปรุงแต่งและสำรช่วยแปรรูปที่อนุญำตให้ใช้ในอำหำรสัตว์น้ ำ 33 34 39 42 43 44 45 46 50 53 51 56 57 58


D เกณฑ์อ้างอิงมาตรฐาน แม่โจ้ พี จี เอส____________________________________________________ฉบับที่ 1 ปี 2565 วันที่ปรับปรุง 15 กันยายน 65 สารบัญ (ต่อ) หน้า ภำคผนวก 5 เครื่องส ำอำงและผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภำพ 5.1 สำรช่วยแปรรูปที่อนุญำตให้ใช้ 5.2 สำรเคมีสังเครำะห์ที่อนุญำตให้ใช้ 5.3 แร่ธำตุและอนุพันธ์จำกแร่ธำตุที่อนุญำตให้ใช้ 5.4 สำรอนุพันธ์จำกธรรมชำติที่อนุญำตให้ใช้ 5.5 สำรลดแรงตึงผิวที่อนุญำตให้ใช้ 5.6 สำรท ำควำมสะอำดและฆ่ำเชื้อเครื่องมืออุปกรณ์กำรผลิตที่อนุญำต ให้ใช้ 5.7 กำรทดสอบควำมเป็นพิษ และกำรย่อยสลำยทำงชีวภำพได้ 5.8 กำรค ำนวณสัดส่วนอินทรีย์ และสำรธรรมชำติ ภำคผนวก 6 แนวทำงกำรประเมินปัจจัยกำรผลิตส ำหรับเกษตรอินทรีย์ ภำคผนวก 7 แนวทำงกำรประเมินสำรปรุงแต่งและสำรช่วยในกำรแปรรูป ผลิตภัณฑ์อินทรีย์ อ้ำงอิง 59 60 60 61 64 66 67 68 68 72 74 76


1 เกณฑ์อ้างอิงการรับรองเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม แม่โจ้ พี จี เอส______________________________ฉบับที่ 1 ปี 2565 วันที่ปรับปรุง 15 กันยายน 65 บทที่ 1 บทน า ส ำนักงำนมำตรฐำนกำรเกษตรและสินค้ำแห่งชำติ(2559) ได้ให้ควำมหมำยของเกษตรอินทรีย์ (Organic Agriculture) ว่ำคือ “ระบบกำรจัดกำรด้ำนกำรเกษตรแบบองค์รวมที่เกื้อหนุนต่อระบบนิเวศน์วงจร ชีวภำพและควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ โดยเน้นกำรใช้วัสดุธรรมชำติหลีกเลี่ยงวัตถุดิบที่ได้จำกกำรสังเครำะห์ และไม่ใช้พืช สัตว์หรือจุลินทรีย์ที่ได้มำจำกกำรดัดแปรพันธุกรรม (Genetic Modification) หรือพันธุวิศวกรรม (Genetic Engineering) มีกำรจัดกำรกับผลิตภัณฑ์โดยเน้นกำรแปรรูปด้วยควำมระมัดระวังเพื่อรักษำสภำพ กำรเป็นเกษตรอินทรีย์ และคุณภำพที่ส ำคัญของผลิตภัณฑ์ในทุกขั้นตอน” IFOAM (2552) ได้ให้ค ำอธิบำยเกี่ยวกับเป้ำหมำยของกำรท ำเกษตรอินทรีย์ไว้ว่ำ "ระบบกำรผลิตที่ให้ ควำมส ำคัญกับควำมยั่งยืนของสุขภำพดิน ระบบนิเวศ และผู้คนเกษตรอินทรีย์อำศัยกระบวนกำรทำง นิเวศวิทยำ ควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ และวงจรธรรมชำติที่มีลักษณะเฉพำะของแต่ละพื้นที่ แทนที่จะใช้ ปัจจัยกำรผลิตที่มีผลกระทบทำงลบ เกษตรอินทรีย์ผสมผสำนองค์ควำมรู้พื้นบ้ำน นวัตกรรม และควำมรู้ทำง วิทยำศำสตร์ในกำร อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และส่งเสริมควำมสัมพันธ์ที่เป็นธรรม และคุณภำพชีวิตที่ดีของทุกผู้คน และสิ่งมีชีวิตต่ำง ๆ ที่เกี่ยวข้อง” ภาพที่ 1 หลักกำรส ำคัญของเกษตรอินทรีย์ 4 ข้อ หลักกำรเกษตรอินทรีย์สำกลที่มีหลักส ำคัญที่เป็นข้อตกลงของสมำพันธ์เกษตรอินทรีย์นำนำชำติ หรือ IFOAM (International Federation of Organic Agriculture) ได้ให้ควำมหมำยของเกษตรอินทรีย์ในเดือน กันยำยน ปีค.ศ. 2005 ที่ออสเตรเลียโดยกำรประชุมจะสร้ำงนิยำมสั้นเกษตรอินทรีย์ หลังจำกผ่ำนไปเกือบ 3 ปี ของกำรท ำงำนสมำพันธ์เกษตรอินทรีย์นำนำชำติ (International Organic Agriculture Movements – IFOAM) ได้ระดมควำมคิดเห็นนักวิชำกำรและผู้เชี่ยวชำญที่มีประสบกำรณ์ด้ำนเกษตรอินทรีย์โดยตรงจำกทั่ว โลก ร่ำงหลักกำรเกษตรอินทรีย์นี้ได้รับกำรน ำเสนอต่อที่ประชุมใหญ่เมื่อปลำยปี พ.ศ. 2548 และที่ประชุมใหญ่


2 เกณฑ์อ้างอิงการรับรองเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม แม่โจ้ พี จี เอส______________________________ฉบับที่ 1 ปี 2565 วันที่ปรับปรุง 15 กันยายน 65 ได้ลงมติรับรองหลักกำรเกษตรอินทรีย์ดังกล่ำว โดยก ำหนดค ำนิยำมที่สะท้อนให้เห็นถึงสี่หลักกำรของเกษตร อินทรีย์ 4 ข้อส ำคัญ คือ กำรเอำใจใส่ (CARE),สุขภำพ (HEALTH), นิเวศวิทยำ (ECOLOGY) และควำมเป็น ธรรม (FAIRNESS) ที่มี อักษรย่อว่ำ “CHEF” สมำพันธ์เกษตรอินทร์นำนำชำติ FAO IFOAM และ UNCTAD ได้ร่วมกันก ำหนดวัตถุประสงค์ของ เกษตรอินทรีย์ในกำรเทียบเคียงมำตรฐำนของแต่ละประเทศจนได้มำเป็น Common Objective and Requirements of Standards (COROS) น ำไปสู่วัตถุประสงค์หลัก 10 ข้อ ดังนี้ 1. รักษำสมดุลควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ 2. ฟื้นฟูควำมอุดมสมบูรณ์ของดิน 3. หลีกเลี่ยงกำรใช้สำรเคมีสังเครำะห์ทุกชนิดตลอดห่วงโซ่ 4. ป้องกันผลกระทบกับสิ่งแวดล้อมรอบข้ำง 5. ไม่ใช้เทคโนโลยีที่ยังสรุปไม่ได้ว่ำมีโทษหรือไม่ เช่น GMO กำรฉำยรังสี 6. เลี้ยงสัตว์เลี้ยงอย่ำงมีจริยธรรม 7. ส่งเสริมสุขภำพสัตว์ 8. รักษำควำมเป็นอินทรีย์ตลอดห่วงโซ่ 9. แจ้งสถำนะควำมเป็นอินทรีย์ 10. ปฏิบัติต่อทุกภำคส่วนอย่ำงเป็นธรรม ภาพที่ 2 หลักกำรและวัตถุประสงค์ของเกษตรอินทรีย์


3 เกณฑ์อ้างอิงการรับรองเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม แม่โจ้ พี จี เอส______________________________ฉบับที่ 1 ปี 2565 วันที่ปรับปรุง 15 กันยายน 65 เกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม หมำยถึง ระบบกำรผลิตที่ให้ควำมส ำคัญกับกำรเอำใจใส่ สุขภำพ นิเวศวิทยำ และควำมเป็นธรรม โดยใช้กำรบ ำรุงดิน ป้องกันและรักษำควำมสมดุลของระบบนิเวศ มีจริยธรรม ต่อทุกชีวิต ใช้เทคโนโลยีที่ไม่มีผลต่อกระทบต่อสิ่งแวดล้อม มีควำมเป็นธรรมต่อทุกภำคส่วน รักษำควำมเป็น อินทรีย์ตลอดห่วงโซ่กำรผลิต เปิดเผยสถำนะควำมเป็นอินทรีย์ สอดคล้องกับภูมิสังคม และพึ่งพำตนเองตำม หลัก ของปรัชญำเศรษฐกิจพอเพียง


4 เกณฑ์อ้างอิงการรับรองเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม แม่โจ้ พี จี เอส______________________________ฉบับที่ 1 ปี 2565 วันที่ปรับปรุง 15 กันยายน 65 บทที่ 2 ขอบข่าย 1. มำตรฐำนเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วมนี้ ก ำหนดแนวทำงกำรบริหำรจัดกำรแปลง กำรผลิตกำร จัดกำรผลผลิตเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม 2. มำตรมำตรฐำนเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วมนี้ ครอบคลุมถึงกำรเลี้ยงสัตว์และกำรเลี้ยงสัตว์น้ ำใน ฟำร์มเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม 3. มำตรฐำนนี้ใช้เป็นแนวทำงในกำรออกแบบ และพัฒนำมำตรฐำนเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วมตำม หลักของปรัชญำเศรษฐกิจพอเพียง


5 เกณฑ์อ้างอิงการรับรองเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม แม่โจ้ พี จี เอส______________________________ฉบับที่ 1 ปี 2565 วันที่ปรับปรุง 15 กันยายน 65 บทที่ 3 นิยามศัพท์ ความหมายของค าที่ใช้ในมาตรฐานเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม 1. เกษตรอินทรีย์ หมำยถึง ระบบกำรผลิตที่ให้ควำมส ำคัญกับควำมยั่งยืนของสุขภำพดิน ระบบนิเวศ และผู้คนเกษตรอินทรีย์อำศัยกระบวนกำรทำงนิเวศวิทยำ ควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ และวงจรธรรมชำติที่มี ลักษณะเฉพำะของแต่ละพื้นที่แทนที่จะใช้ปัจจัยกำรผลิตที่มีผลกระทบทำงลบเกษตรอินทรีย์ผสมผสำนองค์ ควำมรู้พื้นบ้ำนนวัตกรรม และควำมรู้ทำงวิทยำศำสตร์ในกำรอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และส่งเสริมควำมสัมพันธ์ที่ เป็นธรรม และคุณภำพชีวิตที่ดีของทุกผู้คนและสิ่งมีชีวิตต่ำง ๆ ที่เกี่ยวข้อง 2. ระบบกำรรับรองแบบมีส่วนร่วม หมำยถึง ระบบประกันคุณภำพในระดับท้องถิ่น ที่ให้กำรรับรอง ผู้ผลิตโดยเน้นกำรมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง และตั้งอยู่บนฐำนของควำมเชื่อถือ เครือข่ำยทำงสังคม และ กำรแลกเปลี่ยนควำมรู้จำกกำรประชุม 3. เกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม หมำยถึง ระบบกำรผลิตที่ให้ควำมส ำคัญกับกำรเอำใจใส่ สุขภำพ ระบบนิเวศ และควำมเป็นธรรม โดยใช้กำรบ ำรุงดิน ป้องกันและรักษำควำมสมดุลของระบบนิเวศควำม หลำกหลำยทำงชีวภำพและวงจร มีจริยธรรมต่อทุกชีวิต ใช้เทคโนโลยีที่ไม่มีผลต่อกระทบต่อสิ่งแวดล้อม มี ควำมเป็นธรรมต่อทุกภำคส่วน รักษำควำมเป็นอินทรีย์ตลอดห่วงโซ่กำรผลิต เปิดเผยสถำนะควำมเป็นอินทรีย์ สอดคล้องกับภูมิสังคมและพึ่งพำตนเองตำมหลักของปรัชญำเศรษฐกิจพอเพียง


6 เกณฑ์อ้างอิงการรับรองเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม แม่โจ้ พี จี เอส______________________________ฉบับที่ 1 ปี 2565 วันที่ปรับปรุง 15 กันยายน 65 บทที่ 4 ข้อก าหนดเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม 1. การจัดการเชิงระบบนิเวศ ในระยะยาว 1.1 ระบบกำรจัดกำรฟำร์มทั้งหมด 1.1.1 กำรจัดกำรแปลงต้องมุ่งสู่กำรจัดกำรแบบเกษตรอินทรีย์ไม่เปลี่ยนกลับไปกลับมำสลับกับกำรท ำ เกษตรแบบทั่วไป 1.1.2 มีกำรบริหำรจัดกำรในกรณีที่มีควำมเสี่ยงเพื่อกำรป้องกันมลพิษที่มำจำกสิ่งแวดล้อมทั้งทำงน้ ำ และทำงดิน 1.1.3 กำรจัดกำรเกษตรอินทรีย์ต้องท ำให้แน่ใจได้ว่ำจะมีกำรใช้แหล่งน้ ำอย่ำงยั่งยืน 1.2 ระบบกำรจัดกำรกำรผลิตพืช 1.2.1 กำรปลูกพืชในระบบกำรผลิตที่ใช้ดินเป็นหลัก 1.2.2 ระบบกำรผลิตมีส่วนช่วยอนุรักษ์และปรับปรุงโครงสร้ำงดิน อินทรีย์วัตถุควำมอุดมสมบูรณ์และ ควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพของดิน กำรปลูกพืชคู่ขนำนต้องมีกำรมำตรกำรกำรแยกแยะผลผลิต ให้ชัดเจน และต้องปรับเปลี่ยนมำสู่ลิตแบบอินทรีย์ทั้งหมดภำยในระยะเวลำ 3 ปี 1.2.3 ระบบกำรผลิตพืชประกอบด้วยแนวทำงกำรปลูกพืชหลำกหลำยที่หลอมรวมเป็นส่วนหนึ่งของ ระบบทั้งหมด เช่น ในกำรผลิตพืชยืนต้นหรือพืชอำยุหลำยปีควรจะมีกำรปลูกพืชคลุมดิน และในกำรปลูกพืชล้มลุกหรือพืชอำยุสั้นก็ควรมีกำรปลูกพืชหมุนเวียนอย่ำงหลำกหลำยกำรปลูก พืชคลุมดินเพื่อ ใช้เป็นปุ๋ยพืชสด กำรปลูกพืชร่วมหรือกำรผลิตหลำกหลำยแบบอื่น ๆ ที่ได้ผล ส ำเร็จเทียบได้กับวิธีที่กล่ำวมำ 1.2.4 กำรจัดกำรกำรผลิตพืชอินทรีย์ใช้กระบวนกำและกลไกที่มีควำมเกื้อกูลกันในกำรจัดกำรแมลง ศัตรูพืช โรคพืชและวัชพืชวิธีกำรต่ำง ๆ ดังต่อไปนี้ไม่ได้จ ำกัดพื้นที่กำรจัดกำรควำมอุดมสมบูรณ์ ของดินในแต่ละชนิดพืชได้แก่กำรเลือกสำยพันธุ์ที่เหมำะสม กำรเสริมสร้ำงกลไกควำม หลำกหลำยทำงชีวภำพ กำรใช้สำรป้องกันและสำรควบคุมกำรเจริญเติบโตของพืชอย่ำงควบคุม 1.3 ระบบกำรผลิตปศุสัตว์ 1.3.1 กำรผลิตปศุสัตว์อินทรีย์เป็นกำรผสมผสำนกำรเลี้ยงสัตว์ และกำรปลูกพืชเข้ำด้วยกันในฟำร์ม 1.4 ระบบกำรจัดกำรเก็บรวบรวมผลผลิตจำกป่ำ 1.4.1 กำรจัดกำรเก็บรวบรวมผลผลิตแบบอินทรีย์นั้นต้องแน่ใจได้ว่ำไม่เกินไปกว่ำกำรเก็บรวบรวม ผลผลิตจำกสิ่งมีชีวิตนั้น ๆ อย่ำงยั่งยืนหรือมิเช่นนั้นต้องไม่ไปท ำลำยระบบนิเวศท้องถิ่น 1.5 กำรแปรรูป 1.5.1 กำรจัดกำรพื้นที่กำรผลิตต้องสะอำดและเป็นสัดส่วน และไม่สร้ำงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม


7 เกณฑ์อ้างอิงการรับรองเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม แม่โจ้ พี จี เอส______________________________ฉบับที่ 1 ปี 2565 วันที่ปรับปรุง 15 กันยายน 65 1.6 ระยะปรับเปลี่ยนที่ต้องกำรส ำหรับระบบกำรผลิตแบบอินทรีย์ 1.6.1 ระยะปรับเปลี่ยนพืช (นับจำกวันที่ตรวจรับรอง) พืชล้มลุก 12 เดือน ก่อนที่จะปลูก พืชยืนต้น 18 เดือน ก่อนที่จะเริ่มเก็บเกี่ยวผลผลิต 1.6.2 ระยะปรับเปลี่ยนปศุสัตว์ กำรเลี้ยงปศุสัตว์เพื่อผลผลิตนม 90 วัน กำรเลี้ยงไก่ไข่ และไก่เนื้อ 42 วัน โดยลูกไก่เนื้อที่ซื้อมำเลี้ยงต้องมีอำยุไม่เกิน 2 วัน กำรเลี้ยงสุกร 6 เดือน กำรผลิตเนื้อสัตว์อื่น ๆ 12 เดือน กำรเลี้ยงผึ้งระยะเวลำที่จ ำเป็นส ำหรับกำรทดแทนไขผึ้งอย่ำงน้อย 6 เดือน กำรเลี้ยงผึ้งอินทรีย์จะน ำผึ้งมำจำกหน่วยกำรผลิตแบบอินทรีย์เมื่อรังสำมำรถใช้ได้แล้ว 2. การส่งเสริมความอุดมสมบูรณ์ของดินอยู่บนพื้นฐานทางชีวภาพแบบยั่งยืน 2.1 กำรจัดกำรควำมอุดมสมบูรณ์ของดิน 2.1.1 กำรปรับปรุงดินโดยกำรใส่ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมักที่ย่อยสลำยได้ทำงชีวภำพ และ/ หรือ ใช้กำรตรึง ไนโตรเจนจำกพืช ห้ำมใช้มูลสัตว์ที่ได้จำกระบบกำรผลิตที่ไม่เป็นธรรม เช่น มูลไก่กรงตับ 2.1.2 กำรจัดกำรควำมอุดมสมบูรณ์ของดินให้ใช้ ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมักที่ย่อยสลำยได้ทำงชีวภำพ และ/ หรือ ใช้กำรตรึง ไนโตรเจนจำกพืชก่อนปุ๋ยแร่ธำตุที่เกิดขึ้นตำมธรรมชำติและใช้เป็นเพียง ส่วนเสริมในกำรจัดกำรควำมอุดมสมบูรณ์ของดิน 2.1.3 ห้ำมเตรียมดินโดยกำรเผำเพื่อกำรรักษำอินทรียวัตถุ และควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพของหน้ำ ดิน (ยกเว้นกรณีกำรท ำไร่หมุนเวียน) 3. การหลีกเลี่ยงและลดการใช้ปัจจัยการผลิตที่เป็นสารเคมีสังเคราะห์ที่มีศักยภาพเป็นสารเคมีอันตรายกับ ผู้คน และสิ่งแวดล้อมและตกค้างยาวนานทุกระยะของห่วงโซ่การผลิตแบบอินทรีย์ 3.1 กำรผลิตพืช 3.1.1 กำรจัดกำรควำมอุดมสมบูรณ์ดินแบบอินทรีย์ใช้เฉพำะสำรที่อยู่ในรำยกำรที่มีกำรอ้ำงอิงสำรที่ ได้รับกำรพิสูจน์ในมำตรฐำนกับรำยกำรที่มีอยู่กำรอ้ำงอิงของมำตรฐำนนำนำชำติ (ให้ดูรำยกำร ที่สำรที่อนุญำตใน ภาคผนวก 1 ปัจจัย การผลิตที่อนุญาตให้ใช้ในการผลิตอินทรีย์) 3.1.2 กำรจัดกำรควำมอุดมสมบูรณ์ของดินแบบอินทรีย์ไม่ใช้ปุ๋ยเคมีสังเครำะห์หรือปุ๋ยที่ท ำให้ละลำย ได้โดยวิธีกำรทำง เคมี เช่น ซุปเปอร์ฟอสเฟต 3.1.3 กำรจัดกำรแมลงศัตรูพืช/ โรคพืช และวัชพืช รวมไปถึงกำรจัดกำรเจริญเติบโตในกำรผลิตพืช อินทรีย์ใช้เฉพำะสำรออกฤทธิ์ที่มีอยู่ในรำยกำรที่อ้ำงอิงสำร ที่ได้รับกำรพิสูจน์ในมำตรฐำนกับ รำยกำรที่มีอยู่กำรอ้ำงอิงของมำตรฐำนนำนำชำติ(ให้ดูรำยกำรที่สำรที่อนุญำตใน ภาคผนวก 1 ปัจจัยการผลิตที่อนุญาตให้ใช้ในการผลิตอินทรีย์)


8 เกณฑ์อ้างอิงการรับรองเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม แม่โจ้ พี จี เอส______________________________ฉบับที่ 1 ปี 2565 วันที่ปรับปรุง 15 กันยายน 65 3.1.4 กำรผลิตพืชอินทรีย์จะต้องแน่ใจได้ว่ำสำรประกอบที่ใช้ผสมในผลิตภัณฑ์ที่ใช้เป็นปัจจัยกำรผลิต ในฟำร์มนั้นไม่เป็น สำรก่อมะเร็ง สำรก่อกำรกลำยพันธุ์สำรก่อควำมผิดปกติของทำรกในครรภ์ และสำรพิษต่อระบบประสำท - กำรจัดควำมอุดมสมบูรณ์ของดินแบบอินทรีย์ไม่ใช้สิ่งขับถ่ำย จำกมนุษย์บนพืชที่ใช้ส ำหรับกำรบริโภคของมนุษย์ โดยปรำศจำกมำตรกำรกำรป้องกันจำกเชื้อ ก่อโรค 3.2 กำรผลิตปศุสัตว์ 3.2.1 กำรแปรรูปอำหำรสัตว์ให้ใช้วิธีกำรทำงกำยภำพ และทำงชีวภำพเท่ำนั้น 3.2.2 อำหำรสัตว์ต้องใช้วัตถุดิบที่มำจำกำรผลิตแบบอินทรีย์อย่ำงน้อยร้อยละ 70 จำกน้ ำหนักสด และมีน้ ำสะอำดให้กินอย่ำงพอเพียง ภาพที่ 3 เปอร์เซ็นต์อินทรีย์ในอำหำรสัตว์ 3.2.3 ไม่ใช้ส่วนผสมอำหำรสัตว์สังเครำะห์ต่ำง ๆ ดังรำยกำรต่อไปนี้ ได้แก่ กรดอะมิโนรวมถึงอนุพันธ์ ที่แยกออกมำด้วย สำรประกอบไนโตรเจน เช่น ยูเรีย สำรส่งเสริมเร่งกำรเจริญเติบโต สำรปรุง แต่งวัตถุกันเสีย สำรแต่งสี และสำรตัวท ำละลำยที่ใช้สกัดต่ำง ๆ ที่ไม่อยู่ในรำยกำรสำรที่ได้รับ กำรพิสูจน์ในมำตรฐำนกับรำยกำรที่มีอยู่กำรอ้ำงอิงของ มำตรฐำนนำนำชำติ (ให้ดูรำยกำรที่ สำรที่อนุญำตใน ภาคผนวก 1 ปัจจัยการผลิตที่อนุญาตให้ใช้ในการผลิต อินทรีย์) 3.2.4 กำรให้วิตำมิน ธำตุอำหำรเสริม และส่วนผสมอำหำรเฉพำะที่มำจำกแหล่งธรรมชำติเท่ำนั้น 3.2.5 ไม่ท ำกำรป้องกันโรคสัตว์โดยกำรใช้ ยำปฏิชีวนะ ยำเคมีสังเครำะห์แผนปัจจุบัน


9 เกณฑ์อ้างอิงการรับรองเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม แม่โจ้ พี จี เอส______________________________ฉบับที่ 1 ปี 2565 วันที่ปรับปรุง 15 กันยายน 65 3.2.6 กรณีสัตว์ป่วยหรือได้รับบำดเจ็บกำรใช้ยำปฏิชีวนะหรือกำรใช้ยำสัตว์แผนปัจจุบันส ำหรับกำร รักษำจะต้องอยู่ ภำยใต้กำรควบคุมดูแลของ สัตวแพทย์ และ/หรือบุคลำกรที่ผ่ำนกำรคัดเลือก แล้วสัตว์จะต้องถูกระบุว่ำอยู่ในช่วง พักถอนหรือแยกออกจำกฝูงสัตว์อินทรีย์ 3.2.7 ส ำหรับกำรเลี้ยงผึ้ง และชันโรง เมื่อพบว่ำมีกำรใช้ยำแผนปัจจุบันกับผึ้ง จะต้องกลับไปเริ่มระยะ ปรับเปลี่ยน - กำรเลี้ยงผึ้ง และชันโรง รังและรวงที่มีกำรติดเชื้อโรคให้ใช้วิธีกำร และสำรที่ได้รับ กำรพิสูจน์ในมำตรฐำนกับ รำยกำรที่มีอยู่กำรอ้ำงอิงของมำตรฐำนนำนำชำติ (ให้ดูรำยกำรที่ สำรที่อนุญำตใน ภาคผนวก 1 ปัจจัยการผลิตที่อนุญาตให้ใช้ในการผลิตอินทรีย์) 3.2.8 ในกำรเลี้ยงผึ้งและชันโรง ไม่ให้ใช้สำรเคมีสังเครำะห์ในกำรไล่เวลำเก็บน้ ำผึ้งหรือท ำงำนกับรัง 3.2.9 ในกำรเลี้ยงผึ้ง หรือชันโรงนั้นจะใช้ควันอย่ำงน้อยที่สุด และใช้ควันที่มำจำกวัสดุธรรมชำติ เท่ำนั้น 3.3 กำรแปรรูป 3.3.1 ส ำหรับกำรแปรรูปอำหำรและอำหำรสัตว์จะใช้เฉพำะวิธีกำรแปรรูปที่เป็นวิธีกำรทำงกำยภำพ และชีวภำพที่มีในธรรมชำติเท่ำนั้น 3.3.2 ในกำรแปรรูปผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์จะใช้เฉพำะสำรปรุงแต่ง สำรช่วยกำรแปรรูป และสำร อื่น ๆ ที่ใช้ในกำรดัดแปลงอำหำรอินทรีย์และตัวท ำละลำยที่ใช้ในกำรสกัดที่มีอยู่ในรำยกำรที่ อ้ำงอิง สำรที่ได้รับกำรพิสูจน์ใน มำตรฐำนกับรำยกำรที่มีอยู่กำรอ้ำงอิงของมำตรฐำนนำนำชำติ (ให้ดูรำยกำรที่สำรที่อนุญำตใน ภาคผนวก 2 สาร ปรุงแต่งและสารช่วยแปรรูปส าหรับ ผลิตภัณฑ์อินทรีย์) 3.4 กำรจัดกำรกำรปนเปื้อน 3.4.1 หลีกเลี่ยงกำรปนเปื้อนมลพิษและสำรพิษต่ำง ๆ โดยประเมินจำกควำมเสี่ยงเช่น แนวกันชนใน กำรผลิต กำรท ำควำมสะอำดอุปกรณ์ในฟำร์ม กำรแยกแยะและกำรท ำควำมสะอำดใน กระบวนกำรแปรรูป 3.4.2 กำรจัดกำรกำรแปรรูปเกษตรอินทรีย์จะต้องระบุกำรปนเปื้อน และลดควำมเสี่ยงกำรปนเปื้อน ของผลิตภัณฑ์ – กำรจัดกำรกำรเก็บรวบรวมผลผลิตจำกป่ำต้องท ำให้แน่ใจว่ำพื้นที่ป่ำมีวิธีกำร อนุรักษ์ที่ไม่เหมำะสม และไม่ก่อให้เกิดมลพิษทำงสิ่งแวดล้อม 3.4.3 กำรจัดกำรกำรเลี้ยงผึ้งและชันโรง จะต้องจัดให้รังผึ้งอยู่ในพื้นที่แปลงที่มีกำรจัดกำรแบบเกษตร อินทรีย์ และอยู่ในวิถีทำงที่ลดควำมเสี่ยงของกำรปนเปื้อนมลพิษ 4. มาตรการการลดมลพิษ ความเสื่อมโทรมของหน่วยการผลิต และสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ใกล้เคียงจาก กิจกรรม การผลิต และการแปรรูป 4.1 กำรผลิตพืช 4.1.1 ระบบกำรผลิตมีมำตรกำรที่ป้องกันกำรเสื่อมโทรมของที่ดิน ได้แก่ กำรชะล้ำงหน้ำดิน กำร ป้องกันดินเค็มโดยวิธีกำรทำงนิเวศ เช่น กำรปลูกหญ้ำแฝกป้องกำรกำรชะล้ำงหน้ำดิน กำรปลูก


10 เกณฑ์อ้างอิงการรับรองเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม แม่โจ้ พี จี เอส______________________________ฉบับที่ 1 ปี 2565 วันที่ปรับปรุง 15 กันยายน 65 ป่ำเพื่อป้องกันกำรแพร่กระจำยดินเค็ม มีกำรก ำหนดพื้นที่รับน้ ำที่จะปลูกป่ำปลูกไม้ยืนต้นหรือ ไม้โตเร็วมีรำกลึกใช้น้ ำมำกบนพื้นที่รับน้ ำที่ก ำหนด 4.1.2 มีกำรจัดกำรควำมอุดมสมบูรณ์ของดินในเกษตรอินทรีย์โดยกำรใช้ปัจจัยกำรผลิตและวิธีกำร ปฏิบัติต่ำง ๆ ต้องป้องกันมลพิษทำงสิ่งแวดล้อมทั้งทำงดินและทำงน้ ำ 4.1.3 กำรใช้วัสดุคลุมดินที่เป็นพลำสติกต้องมีกำรจัดกำรที่ไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เช่น ห้ำม เผำท ำลำย 4.2 กำรผลิตในฟำร์มปศุสัตว์ กำรเลี้ยงผึ้ง และชันโรง 4.2.1 กำรจัดกำรแบบอินทรีย์ต้องบ ำรุงรักษำหรือปรับปรุงควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพในพื้นที่ทั้งพืช ที่ปลูก และไม่ได้ปลูกของฟำร์มทั้งหมด 4.2.2 กำรจัดกำรใด ๆ ต้องไม่ก่อให้เกิดผลกระทบในเชิงลบต่อระบบนิเวศในพื้นที่อ่อนไหวเช่น กำร ปล่อยสัตว์ไปกินพืช พรรณในพื้นที่อนุรักษ์ 4.2.3 กำรจัดกำรของเสียต้องไม่ก่อให้เกิดมลพิษท ำลำยทรัพยำกรดิน และน้ ำ 4.3 กำรแปรรูป 4.3.1 มีมำตรกำรกำรป้องกันผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมทั้ง ทำงดิน ทำงน้ ำ และทำงอำกำศ 5. ไม่มีการใช้เทคโนโลยีที่ยังไม่สามารถพิสูจน์ได้ถึงอันตรายจากผลกระทบต่อชีวิต และสิ่งแวดล้อมในระบบ เกษตรอินทรีย์ 5.1 สิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม 5.1.1 ระบบกำรจัดกำรแบบอินทรีย์ไม่มีกำรใช้สิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมหรือสิ่งที่ได้จำกสิ่งมีชีวิตดัด แปรพันธุกรรม ยกเว้นวัคซีนในทุกขั้นตอนของกำรผลิตและกำรแปรรูปเกษตรอินทรีย์ 5.2 กำรฉำยรังสี 5.2.1 กระบวนกำรแปรรูปเกษตรอินทรีย์ไม่ใช้เทคโนโลยีกำรฉำยรังสี 5.3 เทคนิคกำรปรับปรุงพันธุ์ 5.3.1 กำรจัดกำรสัตว์อินทรีย์ให้ใช้เฉพำะวิธีกำรปรับปรุงพันธุ์ที่สอดคล้องกันกับวิธีกำรผลิตแบบ อินทรีย์เท่ำนั้น ประกอบไปด้วย กำรผสมเทียม แต่ไม่ให้ใช้เทคนิคกำรฝำกถ่ำยตัวอ่อน และกำร โคลนนิ่ง 5.3.2 กำรจัดกำรสัตว์อินทรีย์ไม่ให้ใช้ฮอร์โมนที่ชักน ำกำรตกไข่หรือกำรตกลูก นอกจำกมีเหตุผลทำง กำรแพทย์ 5.4 นำโนเทคโนโลยี 5.4.1 ระบบกำรผลิตและกำรแปรรูปเกษตรอินทรีย์ไม่มีเจตนำใช้กำรผลิตหรือวัสดุจำกนำโน เทคโนโลยี


11 เกณฑ์อ้างอิงการรับรองเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม แม่โจ้ พี จี เอส______________________________ฉบับที่ 1 ปี 2565 วันที่ปรับปรุง 15 กันยายน 65 6. การดูแลสัตว์เลี้ยงอย่างมีความรับผิดชอบ 6.1 สภำพชีวิตควำมเป็นอยู่ 6.1.1 ระบบกำรจัดกำรควำมหนำแน่นในกำรเลี้ยงที่ท ำให้แน่ใจได้ว่ำมีกำรใช้พื้น และแหล่งน้ ำ ที่ เพียงพอ 6.1.2 ระบบกำรจัดกำรสัตว์อินทรีย์ต้องท ำให้แน่ใจได้ว่ำสภำพชีวิตควำมเป็นอยู่ของสัตว์ (รวมถึงที่อยู่ อำศัย) ต้องมีคุณสมบัติดังนี้ - สบำยและปลอดภัย - ปล่อยให้สัตว์ได้แสดงพฤติกรรมตำมธรรมชำติ - ให้สัตว์มีอิสระในกำรเคลื่อนไหว - ให้สัตว์ได้มีกำรแทะเล็มหญ้ำ มีพื้นที่เปิดโล่งตำกอำกำศ และออกก ำลัง 6.2 กำรจัดกำรสัตว์อินทรีย์ไม่ให้มีกำรดัดแปลงร่ำงกำยของสัตว์ 6.2.1 มำตรฐำนอนุญำตให้มีข้อยกเว้นในกำรดัดแปลงร่ำงกำยของสัตว์ได้อย่ำงเฉพำะเจำะจงเมื่อมี กำรจัดกำรที่ดี ที่ สำมำรถท ำให้แน่ใจได้ว่ำไม่มีผลต่อ สุขภำพ และสวัสดิภำพของสัตว์ เช่น กำร ตัดเขี้ยวหมูป้องกันกำรกัดกัน - มำตรฐำนอนุญำตเมื่อมีควำมจ ำเป็นต้องกำรกำรดัดแปลง ร่ำงกำยของสัตว์ ผู้ด ำเนินกำรควรใช้มำตรกำรที่ลดกำรท ำให้เกิดกำรบำดเจ็บ เช่น กำรผ่ำตัด จำกกำรเกิดอุบัติเหตุ 6.2.2 กำรเลี้ยงผึ้งอินทรีย์ ไม่ให้ใช้วิธีกำรหนีบปีกของนำงพญำผึ้ง 6.3 กำรปรับปรุงพันธุ์สัตว์ 6.3.1 กำรจัดกำรสัตว์อินทรีย์ใช้วิธีกำรปรับปรุงพันธุ์ ตำมธรรมชำติ 6.4 กำรขนส่งและกำรช ำแหละ 6.4.1 กำรจัดกำรสัตว์อินทรีย์หลีกเลี่ยงกำรท ำให้สัตว์เครียดและบำดเจ็บระหว่ำงกำรเคลื่อนที่ กำร ควบคุมและกำรช ำแหละของสัตว์ 6.4.2 ไม่มีกำรใช้เครื่องมือที่ท ำให้สัตว์ทรมำน เช่น กำรช๊อตไฟฟ้ำ กำรใช้สำรกล่อมประสำท และ กำรใช้สำรกระตุ้น 6.4.3 กำรเลี้ยงผึ้งอินทรีย์ต้องไม่มีกำรฆ่ำผึ้งอย่ำงตั้งใจระหว่ำงกำรเก็บน้ ำผึ้ง 7. มีการส่งเสริมและดูแลรักษาสุขภาพสัตว์อย่างเป็นธรรมชาติ 7.1 โภชนะของสัตว์การผลิตปศุสัตว์ 7.1.1 ระยะเวลำกำรหย่ำนมส ำหรับเลี้ยงลูกด้วยนมขนำดเล็กที่อยู่บนพื้นฐำนของพฤติกรรมสัตว์ชนิดนั้น 7.1.2 สัดส่วนของอำหำรสัตว์ต้องมีคุณค่ำทำงอำหำรและโภชนำกำรตำมควำมต้องกำรของสัตว์แต่ละ ชนิด เช่น ในสัตว์ เคี้ยวเอื้องต้องมีกำรจัดให้สัตว์ได้กิน และเข้ำถึงแหล่งอำหำรหยำบ 7.1.3 ไม่ให้ใช้อำหำรสัตว์ที่มำจำกกำรช ำแหละซำกของสัตว์ชนิดเดียวกันหรือสิ่งขับถ่ำยใด ๆ และ ไม่ให้ใช้อำหำรจำกซำก สัตว์นี้แก่สัตว์เคี้ยวเอื้อง กำรเลี้ยงผึ้ง และชันโรง


12 เกณฑ์อ้างอิงการรับรองเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม แม่โจ้ พี จี เอส______________________________ฉบับที่ 1 ปี 2565 วันที่ปรับปรุง 15 กันยายน 65 7.1.4 หลังกำรเก็บเกี่ยวต้องเหลืออำหำรไว้ให้เพียงพอต่อกำรอยู่รอดของตัวอ่อนระหว่ำงที่อยู่ในระยะ พักตัว 7.1.5 ในกรณีที่มีกำรขำดแคลนอำหำรชั่วครำว มีกำรเสริมอำหำรที่เป็นอินทรีย์ให้แก่ผึ้งและชันโรง 7.2 กำรดูแลสุขภำพสัตว์การผลิตปศุสัตว์ 7.2.1 กำรส่งเสริมสุขภำพสัตว์เน้นกำรใช้ยำ และวิธีกำรรักษำจำกธรรมชำติ หลีกเลี่ยงกำรรักษำและ ยำเคมีแผนปัจจุบัน ยกเว้นแนวทำงกำรป้องกันที่ผ่ำนกำรศึกษำวิจัยผลกระทบมำแล้ว เช่น กำร ให้วัคซีน และกำรก ำจัดพยำธิเมื่อมีควำมจ ำเป็น 7.2.2 ไม่ยับยั้งยับยั้งกำรรักษำทำงกำรแพทย์ที่พิจำรณำแล้วว่ำมีควำมจ ำเป็นส ำหรับสวัสดิภำพของ สัตว์เพื่อที่จะรักษำ สถำนภำพควำมเป็นอินทรีย์ของสัตว์นั้นไว้ กำรเลี้ยงผึ้ง และชันโรง 7.2.3 มีวิธีกำรจัดกำร และกำรปฏิบัติที่ถูกสุขลักษณะที่ดี ให้กับสุขภำพ และสวัสดิภำพ ถ้ำมีควำม จ ำเป็นในกำรดูแล สุขภำพผึ้ง ให้ใช้ตัวยำที่มำจำกพืช และ/หรือ โดยอ้ำงอิงใน ภาคผนวก 1 ส่วนที่ 1.5 รายชื่อปัจจัยการผลิตที่ อนุญาตให้ใช้ในการเลี้ยงสัตว์และการเลี้ยงผึ้งอินทรีย์ 8. ต้องมีการรักษาความเป็นอินทรีย์ตลอดห่วงโซ่การผลิต 8.1 กำรผลิตพืช เมล็ดพันธุ์และวัสดุเพาะปลูก 8.1.1 ใช้เมล็ดพันธุ์ และวัสดุเพำะปลูกที่ได้จำกกำรเกษตรอินทรีย์ นอกเสียจำกว่ำไม่สำมำรถหำได้ อนุโลมให้ใช้เมล็ดพันธ์ทั่วไปได้โดยก ำหนดให้มีมำตรกำรกำรจัดกำรสำรเคมีที่ติดมำกับเมล็ด พันธุ์เช่น กำรล้ำงสำรเคมีออกก่อนน ำมำเพำะ 8.1.2 กำรดูแลรักษำเมล็ดพันธุ์ และวัสดุเพำะปลูกโดยกระบวนกำรทำงกำยภำพและชีวภำพ เช่น กำรเก็บรักษำเมล็ดพันธ์โดยกำรแช่เย็นในอุณหภูมิที่เหมำะสม 8.2 กำรผลิตปศุสัตว์ 8.2.1 มีมำตรกำรที่สำมำรถท ำให้แน่ใจได้ว่ำยังมีควำมเป็นอินทรีย์ในระหว่ำงกำรเคลื่อนย้ำย กำร จัดกำร และกำรช ำแหละ 8.2.2 กำรจ ำกัดกำรให้อำหำรสัตว์ที่ไม่ใช่เกษตรอินทรีย์ในกรณีที่ไม่สำมำรถหำอำหำรสัตว์ทั่วไปได้ จ ำเป็นต้องจ ำกัด เวลำในปริมำณกำรใช้อำหำรสัตว์ที่ไม่ใช่อินทรีย์ ขึ้นอยู่กับชนิด และประเภท ของสัตว์โดยอนุโลมให้มีปริมำณไม่เกิน ร้อยละ 30 ของอำหำรที่ใช้เลี้ยงสัตว์ทั้งหมด 8.3 กำรแปรรูปและกำรจัดกำร 8.3.1 กำรจัดกำรกำรแปรรูปเกษตรอินทรีย์ต้องใช้มำตรกำรที่สำมำรถป้องกันกำรผสมปะปนกัน ระหว่ำงผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์ และผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่เกษตรอินทรีย์ในขั้นตอนกำรแปรรูป กำรบรรจุ กำรเก็บรักษำ และกำรขนส่ง - กำรแปรรูปเกษตรอินทรีย์ไม่ให้ใช้วัตถุดิบเดียวกันทั้ง ที่เป็นอินทรีย์ และไม่ใช่อินทรีย์อย่ำงเด็ดขำด - กำรแปรรูปเกษตรอินทรีย์ใช้เฉพำะ แร่ธำตุ ธำตุอำหำรเสริม เช่น วิตำมิน ไอโอดีน ไขมัน กรดอะมิโน และ สำรอำหำรอื่น ๆ ต้องอยู่ภำยใต้ กฎหมำยก ำหนด


13 เกณฑ์อ้างอิงการรับรองเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม แม่โจ้ พี จี เอส______________________________ฉบับที่ 1 ปี 2565 วันที่ปรับปรุง 15 กันยายน 65 8.3.2 มีกำรท ำควำมสะอำด และกำรป้องกำรติดเชื้อบนพื้นผิว เครื่องจักร และสิ่งอ ำนวยกำรแปรรูป ต่ำง ๆ ที่ป้องกันกำรปนเปื้อนในผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์ 9. การใช้สารฆ่าเชื้อและสารท าความสะอาด ต้องเป็นสำรที่มีอยู่ในรำยกำรที่อ้ำงอิงรำยกำรสำรที่ได้รับกำรพิสูจน์ใน มำตรฐำนกับรำยกำรที่มีอยู่กำร อ้ำงอิงของมำตรฐำนนำนำชำติ (ให้ดูรำยกำรที่สำรที่อนุญำตใน ภาคผนวก 3 ผลิตภัณฑ์ที่อาจอนุญาตให้ใช้ใน การท าความสะอาดและฆ่าเชื้อบนผิวสัมผัสอาหาร (รายการชี้แนะ)) 10. การแปรรูปเกษตรอินทรีย์ต้องแน่ใจได้ว่าการบรรจุและการเก็บรักษาตลอดจนการขนส่งในพาหนะต้อง ไม่มีการปนเปื้อนในผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์ 11. การเปิดเผยสถานะความเป็นเกษตรอินทรีย์ 11.1 กำรแสดงฉลำกต้องเปิดเผยถึงวัตถุดิบทั้งหมด ทั้งที่เป็นเกษตรอินทรีย์และไม่ใช่เกษตรอินทรีย์ 11.2 กำรแสดงฉลำกโดยบุคคลหรือบรรษัทต้องเป็นไปโดยควำมรับผิดชอบทำงกฎหมำยทั้งในแง่ของ ผลิตภัณฑ์และหน่วยงำนที่รับประกันยืนยันว่ำได้เป็นไปตำมมำตรฐำนเกษตรอินทรีย์ 11.3 กำรกล่ำวอ้ำงว่ำผลิตภัณฑ์แปรรูปนั้นเป็น “เกษตรอินทรีย์” ให้ใช้ส ำหรับผลิตภัณฑ์ที่ใช้วัตถุดิบ เกษตรอินทรีย์อย่ำงน้อย 90% โดยน้ ำหนักเท่ำนั้น (ไม่รวม น้ ำ และเกลือ) 11.4 กำรกล่ำวอ้ำงว่ำผลิตภัณฑ์แปรรูปนั้นว่ำ “ผลิตจำกวัตถุดิบเกษตรอินทรีย์” หรือ ใช้ค ำที่มี ควำมหมำยเดียวกันให้ใช้ส ำหรับผลิตภัณฑ์ที่ใช้วัตถุดิบเกษตรอินทรีย์อย่ำงน้อย 70% โดยน้ ำหนักเท่ำนั้น (ไม่ รวมน้ ำและเกลือ) - กำรกล่ำวอ้ำงว่ำผลิตภัณฑ์แปรรูปนั้นว่ำ “อำหำรอินทรีย์ปรุงส ำเร็จ” หรือ ใช้ค ำที่มี ควำมหมำยเดียวกัน ให้ใช้ ส ำหรับผลิตภัณฑ์ที่ใช้วัตถุดิบเกษตรอินทรีย์อย่ำงน้อย 70% โดยน้ ำหนักเท่ำนั้น (ไม่ รวม น้ ำและเกลือ) - ต้องไม่มีกำรกำรแสดงฉลำกว่ำเป็น “เกษตรอินทรีย์” หรือ “ผลิตจำกวัตถุดิบเกษตร อินทรีย์” หรือ ใช้ค ำที่มีควำมหมำยเดียวกัน หรือท ำกำรกล่ำวอ้ำงกำรรับรองเกษตรอินทรีย์ใด ๆ บนผลิตภัณฑ์ ที่ใช้วัตถุดิบเกษตรอินทรีย์ น้อยกว่ำ 70% (ไม่รวม น้ ำและเกลือ) แม้ว่ำ ค ำว่ำ “เกษตรอินทรีย์” นั้น จะเคยใช้ กับวัตถุดิบที่อยู่ในรำยกำร วัตถุดิบนั้นจำก “ผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์” 12. ความเป็นธรรมในการจ้างงาน และแรงงาน กำรจ้ำงงำนและแรงงำนต้องมีควำมเป็นธรรม กำรให้ควำมเคำรพ ควำมยุติธรรม กำรให้โอกำสอย่ำง เท่ำเทียมกันและไม่มีกำรเลือกปฏิบัติ 12.1 ลูกจ้ำง และแรงงำนที่ท ำสัญญำได้มีอิสระที่จะเข้ำร่วม มีสิทธิที่จะจัดระเบียบ และสิทธิที่จะต่อรอง 12.2 ลูกจ้ำง และผู้ท ำสัญญำกันมีโอกำสที่เท่ำเทียมและไม่มีกำรเลือกปฏิบัติ 12.3 ไม่ละเมิดสิทธิมนุษยชน และมีสภำพกำรท ำงำนส ำหรับลูกจ้ำง และแรงงำน 12.4 ไม่มีกำรบังคับใช้แรงงำนและแรงงำนที่ไม่สมัครใจ 12.5 มีกำรปฏิบัติโดยค ำนึงถึงคุณภำพชีวิตที่ดีต่อลูกหลำนของลูกจ้ำง และแรงงำน


14 เกณฑ์อ้างอิงการรับรองเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม แม่โจ้ พี จี เอส______________________________ฉบับที่ 1 ปี 2565 วันที่ปรับปรุง 15 กันยายน 65 13. มีการพึ่งพาตนเองตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 13.1 กำรปฏิบัติงำนเกษตรอินทรีย์ให้มีกำรปลูกพืชอำหำรเพื่อกำรบริโภค 13.2 มีกำรจัดเก็บเมล็ดพันธุ์ และกำรอนุรักษ์พันธุกรรมท้องถิ่น เพื่อกำรเพำะปลูก 13.3 มีกำรผลิตปัจจัยกำรผลิตส่วนที่สำมำรถหำวัตถุดิบในพื้นที่ได้ เช่น น้ ำหมัก ปุ๋ยหมัก เป็นต้น 13.4 ผ่ำนกำรเรียนรู้เกี่ยวกับหลักปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง 13.5 กำรปฏิบัติงำนให้เริ่มจำกกำรพึ่งพำตนเอง พึ่งพำปัจจัยภำยในพื้นที่ก่อนที่จะพึ่งพำปัจจัยภำยนอกพื้นที่


15 เกณฑ์อ้างอิงการรับรองเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม แม่โจ้ พี จี เอส______________________________ฉบับที่ 1 ปี 2565 วันที่ปรับปรุง 15 กันยายน 65 บทที่ 5 การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ าอินทรีย์ ขอบเขต มำตรฐำนกำรเพำะเลี้ยงสัตว์น้ ำอินทรีย์ครอบคลุ่มสัตว์น้ ำชนิดต่ำง ๆ ทั้งในน้ ำจืด น้ ำกร่อย และน้ ำเค็ม และทั้งที่เป็นสัตว์กินพืชและสัตว์กินเนื้อ กำรเพำะเลี้ยงสัตว์น้ ำอินทรีย์สำมำรถท ำได้ทั้งในระบบเปิด หรือใน แหล่งน้ ำที่มีน้ ำไหลเวียนตำมธรรมชำติเช่น กำรเลี้ยงในกระชังเป็นต้น และในระบบปิด เช่น บ่อดิน บ่อปูน เป็น ต้น มำตรฐำนนี้ไม่รวมถึงกำรจับสัตว์น้ ำจำกแหล่งน้ ำธรรมชำติและสัตว์น้ ำที่ว่ำยอย่ำงอิสระในแหลงน้ ำ ธรรมชำติที่ไม่สำมำรถตรวจสอบตำมหลักกำรผลิตแบบอินทรีย์ได้ มาตรฐานทั่วไปส าหรับการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ าอินทรีย์/ General Standards for Organic Aquaculture Production 1. การปรับเปลี่ยนเป็นการเพาะเลี้ยงแบบอินทรีย์/ Conversion to Organic Aquaculture หลักการ กำรปรับเปลี่ยนระบบกำรบริหำรจัดกำรฟำร์ม เขำสู่ระบบ เกษตรอินทรีย์เป็นกำรเพำะเลี้ยงสัตว์น้ ำ อย่ำงยั่งยืน และมีมำตรกำรในกำรอนุรักษ์และฟื้นฟูสิ่งแวดล้อม 1.1 กำรเริ่มต้นระยะปรับเปลี่ยน ให้เริ่มนับจำกวันที่สมัครขอกำรรับรอง และเป็นวันเริ่มต้นระยะ ปรับเปลี่ยน 1.2 ช่วงระยะปรับเปลี่ยนใช้เวลำไม่น้อยกว่ำวงจรกำรเลี้ยงแบบอินทรีย์ 1 รุ่น หรือ 1 ปี ในกรณีที่ วงจรกำรเลี้ยงนำนกว่ำ 1 ปี 1.3 ในกรณีบ่อเพำะเลี้ยงสัตว์น้ ำไม่สำมำรถถ่ำยน้ ำออก จำกบ่อและท ำควำมสะอำดก่อนที่จะเปลี่ยน มำเพำะเลี้ยง สัตว์น้ ำอินทรีย์ได้บ่อดังกล่ำวต้องมีะยะปรับเปลี่ยนเป็นเวลำ 2 ปี 1.4 กำรปรับเปลี่ยนมำท ำสัตว์น้ ำอินทรีย์ต้องพิจำรณำถึงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ ประวัติกำร ใช้พื้นที่ที่ผ่ำนมำว่ำมีปัญหำในกำรจัดกำรของเสียตะกอนดินและคุณภำพน้ ำหรือไม่ ทั้งนี้หน่วยตรวจรับรองจะ พิจำรณำรับรองพื้นที่ดังกล่ำว รวมถึงกำรลดและกำรขยำยระยะเวลำในกำรปรับเปลี่ยนเป็นกรณีไป 1.5 ฟำร์มที่ได้รับกำรรับรองเป็นเกษตรอินทรีย์แล้ว ต้องไม่เปลี่ยนจำกเกษตรอินทรีย์เป็นเกษตรเคมี กลับไป กลับมำ 2. การปรับเปลี่ยนฟาร์ม บางส่วนและการผลิต คู่ขนาน/Partial Conversion and Parallel Production 2.1 ในกรณีที่ผู้ผลิตยังไม่สำมำรถปรับเปลี่ยนพื้นที่กำรผลิตสัตว์น้ ำในครอบครองทั้งหมดให้เป็นอินทรีย์ ได้ระบบกำรผลิตแบบอินทรีย์กับระบบกำรผลิตแบบเคมีต้องแยกกัน โดยมีพื้นที่กำรผลิตและระบบน้ ำที่แยกกัน อย่ำงชัดเจนและสำมำรถป้องกันไม่ให้กำรผลิตจำกระบบเคมีมำปนเปื้อนกำรผลิตในระบบอินทรีย์ได้ รวมทั้ง


16 เกณฑ์อ้างอิงการรับรองเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม แม่โจ้ พี จี เอส______________________________ฉบับที่ 1 ปี 2565 วันที่ปรับปรุง 15 กันยายน 65 ต้องมีระบบกำรจัดกำร และระบบเอกสำรและบัญชีฟำร์มที่แยกกัน และพื้นที่กำรผลิตสัตว์น้ ำที่อยู่ใน ครอบครองของ ผู้ผลิตทั้งหมดต้องได้รับกำรตรวจประเมิน 2.2 สัตว์น้ ำที่เลี้ยงในระบบเคมี/ทั่วไป ต้องเป็นคนละชนิดกับที่เลี้ยงในระบบอินทรีย์และต้องกำร จ ำหน่ำยเป็น ผลิตภัณฑ์อินทรีย์ที่ได้รับกำรรับรองจำก มกท. โดยสำมำรถแยกควำมแต่กต่ำงได้โดยง่ำย 2.3 อำจอนุญำตให้ท ำกำรผลิตคู่ขนำนสัตว์น้ ำชนิดเดียวกันระหว่ำงอินทรีย์และเคมี/ทั่วไปได้ แต่ ระยะเวลำในกำรเพำะเลี้ยงสัตว์น้ ำต้องแต่กต่ำงกัน โดยกำรเว้นระยะห่ำงกำรปล่อยลูกพันธุสัตว์น้ ำให้สำมำรถ แยกช่วงเวลำกำรจับออกจำกกันได้อย่ำงชัดเจน ทั้งนี้อำจมีกำรก ำหนดเงื่อนไขอื่นเพิ่มเติมให้ผู้ผลิตปฏิบัติและมี กำรไปตรวจสอบเพิ่มเติมโดยจะพิจำรณำเป็นกรณีไป 2.4 ผู้ผลิตต้องมีแผนในกำรปรับเปลี่ยนพื้นที่กำรผลิตสัตว์น้ ำในครอบครองทั้งหมดให้เป็นเกษตร อินทรีย์ภำยใน 5 ปี 3. สถานที่เพาะเลี่ยงสัตว์น้ า/ Location of Production Units หลักการ ต้องเป็นสถำนที่ที่เหมำะสมกับกำรเพำะเลี้ยงสัตว์น้ ำนั้น และไม่เป็นสถำนที่ที่มีควำมอ่อนไหวทำง นิเวศวิทยำ รวมทั้งเป็นพื้นที่ที่ห่ำงจำกแหล่งมลพิษที่จะเป็นอันตรำยต่อสัตว์น้ ำและผู้บริโภค 3.1 พื้นที่กำรผลิตสัตว์น้ ำอินทรีย์ต้องมีคันกั้นบ่อที่สำมำรถป้องกันกำรปนเปื้อนของสำรเคมีจำกฟำร์ม ทั่วไปได้ 3.2 ฟำร์มสัตว์น้ ำอินทรีย์ต้องแยกจำกฟำร์มสัตว์น้ ำทั่วไป และมีระบบน้ ำแยกจำกกันอย่ำงชัดเจน 3.3 ระบบกำรเพำะเลี้ยงสัตว์น้ ำอินทรีย์ต้องไม่ก่อ ผลกระทบทำงด้ำนสิ่งแวดล้อมและสังคมต่อพื้นที่ ข้ำงเคียงและแหล่งน้ ำโดยรอบ ในกรณีที่ฟำร์มเพำะเลี้ยง สัตว์น้ ำที่ต้องกำรขอรับรองมำตรฐำนเกษตรอินทรีย์ เป็นฟำร์มขนำดใหญ่หรือตั้งอยู่ในสถำนที่ที่อำจมีผลกระทบต่อชุมชนในพื้นที่ ฟำร์มดังกล่ำวต้องได้รับกำร ประเมินด้ำนสิ่งแวดล้อม (environmental assessment) จำกหน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง หรือองค์กรที่ได้รับ อนุญำต และส่งรำยงำนกำรประเมินด้ำนสิ่งแวดล้อมให้พิจำรณำก่อนที่จะท ำกำรรับรอง ในกรณีที่ฟำร์มดังกล่ำว เคยได้รับกำรประเมินที่เทียบเท่ำมำก่อน รำยงำนดังกล่ำวสำมำรถน ำมำใช้ในกำรพิจำรณำได้ 3.4 พื้นที่ที่ท ำกำรเพำะเลี้ยงสัตว์น้ ำอินทรีย์ต้องตั้งอยู่ในบริเวณที่สำมำรถควบคุมกำรไหลของน้ ำและ คุณภำพน้ ำได้ 3.5 ในกรณีที่ท ำกำรเพำะเลี้ยงสัตว์น้ ำอินทรีย์ในแหล่งน้ ำธรรมชำติ ฟำร์มเพำะเลี้ยงดังกล่ำวต้องตั้งอยู่ ในบริเวณที่มีอัตรำกำรไหลของน้ ำและกำรแลกเปลี่ยนน้ ำที่สำมำรถช่วยลดปัญหำกำรสะสมของของเสียจำกกำร เพำะเลี้ยงที่ท้องน้ ำและแหล่งน้ ำรอบฟำร์มได้ 5.3.6 ในกรณีที่มีควำมเสี่ยงต่อกำรปนเปื้อนจำกแหล่งมลพิษ ผู้ผลิตต้องยอมให้หน่วยตรวจรับรองน ำ ตัวอย่ำง น้ ำ ดิน หรือผลิตผลไปตรวจวิเครำะห์ในห้องปฏิบัติกำร เพื่อตรวจสอบหำกำรปนเปื้อน โดยผู้ผลิตต้อง รับผิดชอบค่ำใช้จ่ำยในกำรตรวจ


17 เกณฑ์อ้างอิงการรับรองเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม แม่โจ้ พี จี เอส______________________________ฉบับที่ 1 ปี 2565 วันที่ปรับปรุง 15 กันยายน 65 4. การจัดการฟาร์มโดยรวม/ General Farm Management หลักการ ระบบกำรเพำะเลี้ยงต้องพิจำรณำถึงควำมต้องกำรด้ำนพฤติกรรมและวิถีชีวิตของสัตว์น้ ำนั้น แนว ทำงกำรจัดกำร ฟำร์ม จะต้องให้ควำมส ำคัญกับกำรสร้ำงควำมแข็งแรงและสุขอนำมัยที่ดีของสัตว์น้ ำ ระบบกำรเพำะเลี้ยงต้องไม่สร้ำงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม รวมทั้งหลีกเลี่ยงในกำรท ำอันตรำยต่อสิ่ง มีชีวีตที่อยู่บริเวณใกล้เคียงรวมทั้งสัตว์ที่กินสัตว์น้ ำนั้นเป็นอำหำร ผู้ผลิตต้องพัฒนำระบบกำรเลี้ยงสัตว์น้ ำอย่ำงยั่งยืน โดยท ำกำรผลิตในพื้นที่เดิมอย่ำงต่อเนื่อง และ ต้องจัดท ำแผนกำรจัดกำรฟำร์ม และสิ่งแวดล้อมอย่ำงยั่งยืน ตำมรำยละเอียดที่ก ำหนดไว้ในมำตรฐำนนี้ ในกรณี ที่ในพื้นที่มีผู้ผลิตหลำยรำยรวมกลุ่มกันเพื่อผลิต สัตว์น้ ำอินทรีย์ผู้ผลิตในกลุ่มต้องจัดท ำแผนกำรจัดกำรฟำร์ม อย่ำงยั่งยืนร่วมกัน ให้เป็นนโยบำยของกลุ่ม 4.1 ผู้ที่รับผิดชอบในกำรเพำะเลี้ยงสัตว์น้ ำในฟำร์ม ต้องมีควำมรู้พื้นฐำนและทักษะในกำรดูแลสัตว์น้ ำ ให้มีสุขอนำมัยที่ดีและอยู่ในสภำพที่เหมำะสมกับธรรมชำติของสัตว์น้ ำชนิดนั้น 4.2 ผู้ผลิตต้องจัดท ำบันทึกกำรท ำฟำร์ม ที่แสดงให้เห็นที่มำของพันธุ์สัตว์ วันที่ซื้อหรือน ำเข้ำมำใน ฟำร์ม และระยะปรับเปลี่ยนของสัตว์ที่เข้ำมำในฟำร์ม กำรเพำะฟักและอนุบำลลูกพันธุ์วันที่ปล่อยลูกพันธุ์ชนิด และปริมำณ อำหำรและปัจจัยกำรผลิตที่ใช้มำตรกำรป้องกันและกำรรักษำโรค กำรหลุดรอดของสัตว์น้ ำที่เลี้ยง วันที่จับและปริมำณที่จับได้กำรขนส่งและล็อตที่ส่ง กำรขำยและผู้รับซื้อ 4.3 ผู้ผลิตต้องพัฒนำระบบกำรผลิตแบบผสมผสำน โดยควรมีกำรเลี้ยงสัตว์อื่น หรือปลูกพืชสลับหรือ ร่วมกับกำรเลี้ยงสัตว์น้ ำที่ขอรับรอง เพื่อให้เกิดประโยชน์เกื้อกูลกัน หรือเพื่อให้เกิดห่วงโซ่อำหำรภำยในบอ 4.4 จ ำนวนลูกสัตว์น้ ำที่ปล่อยต้องไม่หนำแน่นจนท ำให้สัตว์น้ ำเกิดควำมเครียด โดยขึ้นกับชนิดของ สัตว์น้ ำที่เลี้ยง 4.5 ผู้ผลิตต้องรักษำควำมหลำกหลำยทำงชวีภำพภำยในฟำร์ม โดยพยำยำมรักษำและฟื้นฟูพื้นที่ อนุรักษ์ให้เป็นที่อยู่อำศัยของพืชและสัตว์เอำไว้อย่ำงน้อย 5% ของพื้นที่ฟำร์ม 4.6 ผู้ผลิตต้องมีมำตรกำรอนุรักษ์พลังงำนภำยในฟำร์ม เช่น กำรใช้ประโยชน์จำกน้ ำขึ้น น้ ำลงตำม ธรรมชำติเพื่อลดกำรใช้เครื่องสูบน้ ำ กำรใช้พลังงำนทดแทนกับเครื่องเติมอำกำศ ฯลฯ และต้องมีมำตรกำรลด ขยะภำยในฟำร์มด้วยกำรน ำวัสดุกลับมำใช้และกำรใช้วัสดุที่มำจำกกำรรีไซเคิล 4.7 ผู้ผลิตต้องมีมำตรกำรในกำรป้องกันไม่ให้สัตว์น้ ำที่ท ำกำรเพำะเลี้ยงหลุดรอดออกจำกฟำร์ม ใน กรณีที่พบกำรหลุดรอด ผู้ผลิตต้องมีมำตรกำรในกำรลดผลกระทบต่อระบบนิเวศภำยนอก เช่น กำรจับกลับมำ และต้องจดบันทึกไว้เพื่อให้ผู้ตรวจได้ตรวจสอบ 4.8 ผู้ผลิตอำจใช้กับดักตำข่ำย หรือเครื่องมืออื่น ๆ ในกำรป้องกันไม่ไห้สัตว์ที่อำศัยอยู่ในท้องถิ่น เช่น นก หรือสัตว์อื่น เข้ำมำท ำอันตรำยสัตว์น้ ำที่เลี้ยง แต่เครื่องมือหรือมำตรกำรดังกล่ำวต้องไม่ท ำให้สัตว์นั้นได้รับ อันตรำย


18 เกณฑ์อ้างอิงการรับรองเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม แม่โจ้ พี จี เอส______________________________ฉบับที่ 1 ปี 2565 วันที่ปรับปรุง 15 กันยายน 65 4.9 ผู้ผลิตต้องดูแลรักษำคุณภำพน้ ำ เช่น ค่ำควำมเค็ม (salinity) ค่ำพีเอช (pH) อุณหภูมิ ค่ำควำม เป็นด่ำง (alkalinity) ฯลฯ รวมทั้งสภำพกำรไหลของน้ ำให้เหมำะสมกับกำรเจริญเติบโตของสัตว์น้ ำ 4.10 สภำพแสงสว่ำงต้องเหมำะกับควำมต้องกำรของสัตว์น้ ำ ถ้ำพิสูจน์แล้วว่ำจ ำเป็นต้องใช้แสงไฟเพื่อ ช่วยยืดระยะเวลำกำรได้รับแสงสว่ำงจำกธรรมชำติ ระยะเวลำได้รับแสงสว่ำงต้องไม่เกิน 16 ชั่วโมงต่อวัน และ ต้องหำมำตรกำรไม่ให้เกิดกำรเปลี่ยนแปลงควำมเข้มของแสงอย่ำงฉับพลัน 4.11 เครื่องมือ อุปกรณ์กำรเพำะเลี้ยง และวัสดุที่น ำมำใช้ในฟำร์ม เช่น โลหะที่ใช้ท ำเครื่องมือ สีทำ วัสดุ เป็นต้น ต้องไม่มีสำรที่อำจก่ออันตรำย เช่น โลหะหนัก ที่อำจส่งผลกระทบต่อสภำพแวดล้อมและสุขภำพ ของสัตว์น้ ำ อุปกรณ์กำรเพำะเลี้ยง เช่น กระชัง ต้องได้รับกำรออกแบบให้เหมำะสมกับสภำพแวดล้อมโดยรวม 4.12 ไม่อนุญำตให้ท ำกำรเพำะเลี้ยงสัตว์น้ ำในระบบ หมุนเวียนน้ ำแบบปิด ถ้ำกำรเพำะเลี้ยงดังกล่ำว เป็นระบบที่ต้องพึ่งพำแต่ปัจจัยกำรผลิต จำกภำยนอกและใช้พลังงำนสูงในเพำะเลี้ยง เช่น ระบบกำรผลิต ในบ่อ หรือในถังปิด ยกเว้นกำรเพำะเลี้ยงในโรงเพำะฟักและบ่ออนุบำล 4.13 ไม่อนุญำตให้เปิดเครื่องเติมอำกำศตลอดเวลำเพื่อเพิ่มปริมำณสัตว์น้ ำและผลผลิต ในกรณีที่ จ ำเป็นต้องใช้เครื่องเติมอำกำศ ผู้ผลิตต้องหำวิธีใช้พลังงำนอย่ำงประหยัดหรือเลือกใช้พลังงำนทดแทนจำก ธรรมชำติในกำรเดินเครื่อง 4.14 ผู้ผลิตต้องมีมำตรกำรในกำรจัดกำรคุณภำพน้ ำทิ้งจำกฟำร์ม เพื่อไม่ให้ธำตุอำหำรที่เหลือตกค้ำง จำกกำรเลี้ยง ส่งผลกระทบต่อแหล่งน้ ำและสิ่งแวดล้อมภำยนอก รวมทั้งต้องมีมำตรกำรในกำรจัดกำรให้มี อำหำรและของเสียน้อยที่สุด 4.15 ผู้ผลิตต้องมีมำตรกำรป้องกันไม่ให้สิ่งขับถ่ำยในห้องส้วมปนเปื้อนลงในบ่อพักน้ ำและบ่อผลิตใน ฟำร์ม 4.16 ห้ำมใช้สำรเคมีก ำจัดแมลงศัตรูพืชและวัชพืชภำยในฟำร์ม 4.17 อนุญำตให้ใช้ปัจจัยกำรผลิตที่มีอยู่ในรำยชื่อในภำคผนวกที่ 1 (ส่วนที่ 1 และ 2) และในภำคผนวก ที่ 3 (ส่วนที่ 1) 5. สุขอนามัยและสภาพความเป็นอยู่ของสัตว์น้ า/ Health and Welfare วิธีกำรเพำะเลี้ยงสัตว์น้ ำที่สร้ำงสุขอนำมัยที่ดีจะท ำให้สัตว์น้ ำมีควำมแข็งแรงมีภูมิต้ำนทำนต่อโรค และกำรติดเชื้อต่ำง ๆ กำรรักษำโรคและกำรบำดเจ็บของสัตว์จะต้องเลือกวิธีกำรที่ดีต่อสุขอนำมัยโดยพยำยำมเลือกใช้วิธี ธรรมชำติหรือสำรที่ได้จำกธรรมชำติก่อนเป็นส ำคัญ 5.1 ในกำรเพำะเลี้ยงสัตว์น้ ำให้มีสุขภำพแข็งแรง ผู้ผลิตต้องใช้มำตรกำรป้องกันโรค เช่น กำรปล่อยลูก พันธุ์ในปริมำณที่เหมำะสมกำรใช้ลูกพันธุ์สัตว์น้ ำที่ปลอดโรคหรือต้ำนทำนโรค และกำรควบคุมคุณภำพน้ ำให้ เหมำะสมกับสัตว์น้ ำที่เลี้ยงตลอดเวลำ เป็นต้น และต้องมีกำรตรวจสุขภำพสัตว์น้ ำเป็นประจ ำ


19 เกณฑ์อ้างอิงการรับรองเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม แม่โจ้ พี จี เอส______________________________ฉบับที่ 1 ปี 2565 วันที่ปรับปรุง 15 กันยายน 65 5.2 ผู้ผลิตต้องท ำควำมสะอำดสถำนที่เพำะเลี้ยงและฆ่ำเชื้อ อุปกรณ์ที่ใช้ในฟำร์มอย่ำงถูกต้องและ ต้องก ำจัดแหล่งเพำะเชื้อโรค เช่น ซำกสัตว์ที่ตำยแล้ว ฯลฯ ออกจำกฟำร์มในทันทีเพื่อป้องกันกำรติดเชื้อไปสู่ สัตว์น้ ำที่เลี้ยง 5.3 อนุญำตให้ใช้ผลิตภัณฑ์จำกจุลินทรีย์เพื่อเสริมสร้ำงให้สัตว์น้ ำมีสุขภำพแข็งแรงขึ้น แต่ต้องไม่เป็น จุลินทรีย์ที่ได้มำจำกกระบวนกำรพันธุวิศวกรรม 5.4 อนุญำตให้ใช้วิธีกำรทำงชวีภำพในกำรควบคุมปรสิตภำยนอก เช่น กำรใช้ปลำพยำบำล 5.5 อนุญำตให้ใช้พืชสมุนไพรและสำรสกัดจำกพืชในกำรรักษำสัตว์แต่ต้องไม่มีผลท ำให้สัตว์น้ ำสลบ 5.6 ห้ำมใช้ยำที่มำจำกสำรเคมีสังเครำะห์เพื่อกำรป้องกันและรักษำโรคในกำรเพำะเลี้ยงสัตว์น้ ำ 5.7 อนุญำตให้ใช้วิธีกำรและผลิตภัณฑ์ที่ก ำหนดไว้ในภำคผนวกที่ 3 ส่วนที่ 1 ในกำรท ำควำมสะอำด และฆ่ำเชื้อรวมทั้งป้องกันและรักษำโรค 5.8 สัตว์น้ ำที่ติดโรคต้องได้รับกำรรักษำในทันทีเพื่อไม่ให้สัตว์ทรมำน ในกรณีที่มีมำตรกำรป้องกันและ วิธีกำร รักษำข้ำงต้น ไม่สำมำรถรักษำสัตว์ได้หน่วยตรวจรับรอง อำจอนุญำตให้ผู้ผลิต ใช้ยำรักษำโรคที่เป็น สำรเคมีได้ แต่ให้ใช้้เฉพำะกับสัตว์น้ ำที่มีกระดูกสันหลังเท่ำนั้นโดยกำรรักษำต้องอยู่ภำยใต้ค ำแนะน ำของ นักวิชำกำรประมงด้ำนโรคสัตว์น้ ำ และผู้ผลิตจะต้องไม่จ ำหน่ำยสัตว์น้ ำนั้น เป็น อินทรีย์เป็นเวลำอย่ำงน้อย 2 เท่ำของระยะเวลำกำรปลอดสำรเคมีตกค้ำง (withdrawal period) ที่ก ำหนดในค ำแนะน ำกำรใช้ยำดังกล่ำว หรือ ตำมค ำแนะน ำของนักวิชำกำรประมง และต้องมีกำรตรวจว่ำไม่มีสำรเคมีตกค้ำง และแจ้งให้หน่วยตรวจ รับรองทรำบก่อนที่จะขำยสัตว์น้ ำนั้นเป็นอินทรีย์ 5.9 อนุญำตให้ใช้วิธีกำรรักษำด้วยยำเคมีตำมที่กล่ำวใน ข้อ 6.5.8 ได้ 2 ครั้งต่อปีแต่ถ้ำวงจรกำรผลิต ของสัตว์น้ ำชนิดนั้นน้อยกว่ำ 1 ปี อนุญำตให้ท ำกำรรักษำได้เพียงครั้งเดียวเท่ำนั้นและในกรณีกำรรักษำโรคจำก ปรสิต อนุญำตให้ท ำกำรรักษำได้เพียงครั้งเดียวถ้ำวงจรกำรผลิตสัตว์น้ ำนั้น น้อยกว่ำ 18 เดือน ในกรณีที่มีกำร รักษำด้วยยำเคมีเกินกว่ำจ ำนวนครั้งที่ก ำหนด สัตว์น้ ำดังกล่ำวจะไม่สำมำรถน ำมำขำยเป็นอินทรีย์ได้ 5.10 ผู้ผลิต ต้องจดบันทึกกำรรักษำโรคสัตว์น้ ำอย่ำงต่อเนื่องและเป็นปัจจุบัน โดยระบุชื่อโรค สำเหตุ และกำรรักษำเช่นวันที่รักษำ อัตรำกำรใช้ยำ วิธีกำร และควำมถี่ ของวิธีกำรที่ใช้รักษำต่อ จ ำนวนสัตว์น้ ำที่เป็น โรค และผู้ผลิตต้องบันทึกหมำยเลขบ่อหรือล็อตของสัตว์น้ ำที่ได้รับกำร รักษำไว้ให้ชัดเจนและสำมำรถ ตรวจสอบย้อนกลับได้ 5.11 ห้ำมใช้ฮอร์โมนสังเครำะห์และสำรกระตุ้นกำรเจริญเติบโตในกำรเพำะเลี้ยงและขยำยพันธุ์ 5.12 โปรแกรมสหภำพยุโรป: ในแผนกำรจัดกำรสุขภำพของสัตว์น้ ำที่เพำะเลี้ยงผู้ประกอบกำรจะต้องมี ข้อตกลงเป็นลำยลักษณ์อักษรกับผู้เชี่ยวชำญด้ำน สุขอนำมัยสัตว์น้ ำที่จะเยี่ยมฟำร์ม และเข้ำมำให้ค ำปรึกษำ อย่ำงน้อยปีละ 1 ครั้ง หรืออย่ำงน้อยทุก 2 ปีครั้ง ส ำหรับกำรเพำะเลี้ยงหอยสองฝำ


20 เกณฑ์อ้างอิงการรับรองเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม แม่โจ้ พี จี เอส______________________________ฉบับที่ 1 ปี 2565 วันที่ปรับปรุง 15 กันยายน 65 6. พันธุ์สัตว์น้ าและการผสมพันธุ์/ Breeds and Breeding หลักการ กำรเพำะเลี้ยงควรเลือกพันธุสัตว์น้ ำที่เป็นพันธุ์พื้นถิ่น กำรผสมพันธุ์พ่อแม่พันธุ์ควรเป็นวิธีธรรมชำติ และมีกำรแทรกแซงจำกมนุษย์น้อยที่สุด พันธุ์สัตว์น้ ำที่ใช้ในกำรเพำะเลี้ยงควรเป็นพันธุ์ที่ได้จำกกำรเพำะเลี้ยงแบบเกษตรอินทรีย์ 6.1 สัตว์น้ ำที่เลี้ยงควรเป็นพันธุ์ที่มีแหล่งก ำเนิดในท้องถิ่น ในกรณีที่เป็นสัตว์น้ ำที่มำจำกต่ำงประเทศ ต้อง เป็นพันธุ์ที่สำมำรถปรับตัวให้เข้ำกับสภำพในท้องถิ่นได้ดีและผู้ผลิตต้องมีมำตรกำรป้องกันไม่ให้สัตว์น้ ำ ดังกล่ำว หลุดรอดจำกแหล่งเพำะเลี้ยงออกไปนอกฟำร์ม 6.2 ไข่และลูกพันธุ์สัตว์น้ ำต้องมำจำกพ่อแม่พันธุ์อินทรีย์ ในกรณีที่ไม่สำมำรถหำได้อนุญำตให้ใช้พ่อแม่ พันธุ์ที่จับจำกแหล่งน้ ำธรรมชำติหรือพ่อแม่พันธุ์จำกกำรเพำะเลี้ยงทั่วไปมำใช้ได้โดยพ่อแม่พันธุ์ดังกล่ำวต้อง ได้รับกำรเลี้ยงแบบอินทรีย์อย่ำงน้อย 3 เดือน ก่อนที่จะน ำมำใช้ผสมพันธุ์ในโรงเพำะฟักแบบอินทรีย์ 6.3 กำรเพำะเลี้ยงในโรงเพำะฟักต้องปฏิบัติตำมหลักกำรแบบอินทรีย์ ในกรณีที่ไม่สำมำรถหำลูกพันธุ์ สัตว์น้ ำจำกโรงเพำะฟักแบบอินทรีย์ได้อนุโลมให้ใช้ลูกพันธุ์สัตว์น้ ำที่มำจำกแหล่งทั่วไปได้ แต่สัตว์น้ ำดังกล่ำว ต้องได้รับกำรเพำะเลี้ยงตำมมำตรฐำนเกษตรอินทรีย์นี้เป็นระยะเวลำไม่น้อยกว่ำ 2 ใน 3 ของระยะเวลำกำร เลี้ยงจึงจะสำมำรถขำยเป็นอินทรีย์ได้ในกรณีของสัตว์น้ ำบำงชนิดที่ยังมีข้อจ ำกัดในกำรพัฒนำเทคนิคกำร ขยำยพันธุ์และกำรเพำะฟักแบบอินทรีย์ หน่วยตรวจรับรองอำจพิจำรณำก ำหนดระยะเวลำที่เหมำะสมในกำร ปรับเปลี่ยนมำใช้ลูกพันธุสัตว์น้ ำอินทรีย์ของสัตว์น้ ำชนิดนั้น เมื่อมีกำรพัฒนำเทคโนโลยีที่สำมำรถผลิตลูกพันธุ์ อินทรีย์ในท้องถิ่นได้ 6.4 ห้ำมใช้พ่อแม่และลูกพันธุ์สัตว์ที่มำจำก กระบวนกำรพันธุวิศวกรรม กำรเพิ่มโครโมโซม (polyploidization), กำรท ำลูกผสมเทียม (artificial hybridization), กำรโคลนนิ่ง และกำรท ำให้เป็นเพศ เดียว (เช่น กำรแปลงเพศโดยใช้ฮอร์โมน) 6.5 กำรขยำยพันธุ์ต้องเป็นกำรผสมพันธุ์และกำรวำงไข่ตำมวิธีธรรมชำติไม่อนุญำตให้ใช้ฮอร์โมนหรือ ตัดแต่งรยำงค์เพื่อกระตุ้นกำรวำงไข่ 6.6 อนุญำตให้มีกำรใช้เครื่องเพิ่มหรือลดอณุหภูมิน้ ำในกำรเพำะเลี้ยง และแสงอัตรำไวโอเล็ตและ โอโซนในกำรฆ่ำเชื้อเฉพำะในโรงเพำะฟักและบ่ออนุบำลสัตว์น้ ำ 6.7 ไม่อนุญำตไห้จับพันธุ์ลูกสัตว์น้ ำจำกธรรมชำติมำเลี้ยงในฟำร์มอินทรีย์ยกเว้นลูกพันธุ์สัตว์น้ ำที่เข้ำ มำตอนเปิดให้น้ ำจำกธรรมชำติไหลเข้ำมำเพื่อเติมน้ ำในบ่อ 7. อาหาร/ Feeding หลักการ สัตว์น้ ำควรได้อำหำรที่มีควำมสมดุลทำงโภชนำกำรตำมควำมต้องกำรของสัตว์น้ ำนั้น ๆ วัตถุดิบที่เป็นอำหำรสัตว์น้ ำต้องเป็นอำหำรที่ไม่เหมำะสมต่อกำรบริโภคของมนุษย์ เพื่อไม่ให้เกิด กำรแย่งอำหำรระหว่ำงมนุษย์กับกำรเพำะเลี้ยงสัตว์น้ ำ


21 เกณฑ์อ้างอิงการรับรองเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม แม่โจ้ พี จี เอส______________________________ฉบับที่ 1 ปี 2565 วันที่ปรับปรุง 15 กันยายน 65 กำรให้อำหำรสัตว์น้ ำต้องค ำนึงถึงพฤติกรรมกำรกินของสัตว์น้ ำตำมธรรมชำติและมีกำรป้องกัน ไม่ให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม 7.1 กำรเพำะเลี้ยงสัตว์น้ ำที่กินอำหำรจำกแพลงก์ตอนในธรรมชำติเป็นหลักต้องเลี้ยงในบริเวณที่มี อำหำรธรรมชำติที่เพียงพอแก่ควำมต้องกำรของสัตว์น้ ำนัน 7.2 ผู้ผลิตต้องจัดกำรบ่อเลี้ยงให้เกิดห่วงโซ่อำหำรตำมธรรมชำติเช่น แพลงก์ตอนพืชและแพลงก์ตอน สัตว์เป็นต้น ให้แก่สัตว์น้ ำโดยปัจจัยกำรผลิตต่ำง ๆ ที่น ำมำใช้ในกำรสร้ำงอำหำรธรรมชำติในบ่อต้องเป็นไป ตำมที่ก ำหนดไว้ในมำตรฐำนส่วนกำรผลิตพืชดังระบุไว้ในภำคผนวก 1 (ส่วนที่ 1) 7.3 ในกรณีที่อำหำรธรรมชำติไม่เพียงพอผู้ผลิตควรพยำยำมปลูกพืชอินทรีย์ไว้เป็นอำหำรสัตว์น้ ำ ภำยในฟำร์มหรือปลูกสำหร่ำยในบ่อเลี้ยง 7.4 ในกำรให้อำหำรแก่สัตว์น้ ำอำหำรที่ใช้ต้องมำจำกส่วนผสมที่ได้รับกำรรับรองมำตรฐำนเกษตร อินทรีย์ 7.5 ในกรณีที่ไม่สำมำรถหำวัตถุดิบอินทรีย์มำเป็นส่วนผสมในอำหำรเนื่องจำกระบบเกษตรอินทรีย์ใน ท้องถิ่นยังอยู่ในช่วงเริ่มต้น และยังไม่สำมำรถผลิตวัตถุดิบอินทรีย์เพียงพอ อนุโลมให้ใช้วัตถุดิบพืชที่มำจำก กำรเกษตรทั่วไปหรือเก็บจำกธรรมชำติได้แต่ต้องไม่เกิน 5% ของน้ ำหนักแห้ง (โดยค ำนวณจำกน้ ำหนักแห้งของ อำหำรทั้งปี) 7.6 อำหำรส ำหรับใช้เลี้ยงเลี้ยงสัตว์น้ ำที่กินเนื้อจะต้องมำจำกแหล่งต่อไปนี้ตำมล ำดับ 1) อำหำรสัตว์น้ ำเกษตรอินทรีย์ที่ได้จำกสัตว์น้ ำเกษตรอินทรีย์ 2) ปลำป่นและน้ ำมันปลำจำกกำรตัดแต่ง่สัตว์น้ ำเกษตรอินทรีย์ 3) ปลำป่นและน้ ำมันปลำและเศษปลำที่ได้จำกกำรตัดแต่งปลำที่จับเพื่อใช้ในกำรบริโภคของ มนุษย์และเป็นกำรจับแบบยั่งยืน, 4) อำหำรสัตว์น้ ำเกษตรอินทรีย์ที่มำจำกพืชหรือปศุสัตว์ 7.7 ห้ำมใช้สัตว์น้ ำชนิดเดียวกันมำเป็นอำหำร 7.8 ผู้ผลิตควรใช้วัตถุดิบที่มำจำกพืชเป็นส่วนประกอบในอำหำรสัตว์น้ ำแต่ในกรณีของสัตว์น้ ำกินเนื้อ อัตรำส่วนของอำหำรอำจประกอบด้วยวัตถุดิบจำกพืชอินทรีย์สูงสุด 60% เพื่อไม่ให้สัตว์มีปัญหำทำง โภชนำกำร 7.9 อำหำรส ำเร็จรูปหรือ อำหำรเม็ดที่น ำมำใช้้ในฟำร์มต้องได้รับกำรตรวจสอบหรือได้รับกำรรับรอง ตำม มำตรฐำนเกษตรอินทรีย์ 7.10 ห้ำมใช้วัตถุดิบ และผลิตภัณฑ์ที่มำจำกกระบวนกำรพันธุวิศวกรรมเป็นส่วนผสมในอำหำร 7.11 ไม่อนุญำตให้ใช้ผลิตภัณฑ์ที่เป็นสำรเคมีและสำรสังเครำะห์เช่น ยำปฏิชีวนะ สำรเร่งกำร เจริญเติบโต สำรกระตุ้นกำรกินอำหำร ฮอร์โมน กรดอะมิโน สำรให้สี(pigment) สำรเหนียว (binder) สำรกัน บดู แอนติออกซิแดนท์เป็นส่วนผสมในอำหำร และไม่ให้ใช้กระบวนกำรสกัดด้วยตัวท ำละลำย (เช่น เฮกเซน) 7.12 อนุญำตให้ใช้แร่ธำตุ สำรปรุงแต่ง และสำรช่วยแปรรูป ที่ระบุไว้ในภำคผนวก 3 ส่วนที่ 2 ใน อำหำรสัตว์


22 เกณฑ์อ้างอิงการรับรองเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม แม่โจ้ พี จี เอส______________________________ฉบับที่ 1 ปี 2565 วันที่ปรับปรุง 15 กันยายน 65 7.13 อนุญำตให้ใช้วิตำมินธำตุอำหำรรอง และสำรเสริมที่มำจำกแหล่งธรรมชำติได้ในกรณีที่มีปริมำณ ไม่เพียงพอและไม่ได้คุณภำพอำจอนุญำตให้ใช้วิตำมิน และแร่ธำตุเสริมที่มำจำกกำรสังเครำะห์ได้ 7.14 ไม่อนุญำตให้ใช้น้ ำที่ปนเปื้อนสิ่งขับถ่ำยของมนุษย์ 7.15 อนุญำตให้ใช้แอสตำแซนธิน (Astaxanthin) ที่ได้จำกแหล่งอินทรีย์ (เช่น เปลือกหอยอินทรีย์) เป็นส่วนผสมในอำหำรส ำหรับปลำแซลมอนและเทร้ำท์ตำมควำมจ ำเป็นกรณีที่หำจำกแหล่งอินทรีย์ไม่ได้อนุโลม ให้ใช้จำกแหล่งธรรมชำติ (เช่น ยีสต์Phaffia) 7.16 อนุญำตให้ใช้ฮิสทิดีน (histidine) ที่ได้จำกกระบวนกำรหมักเป็นส่วนผสมในอำหำรส ำหรับปลำ ประเภทแซลมอน (salmonid) เพื่อป้องกันกำรเกิด อำกำรตำขุ่น/ตำเป็นฝ้ำในกรณีที่แหล่งอำหำรที่ระบุใน มำตรฐำนข้อ 6.7.6 ให้ปริมำณฮิสทิดีนไม่เพียงพอต่อควำมต้องกำรของปลำประเภทนี้ 8. การจับ การท าให้ตายและการขนส่งสัตว์น้ า/ Harvesting, Slaughter and Transportation หลักการ ไม่สร้ำงควำมเครียด หรือท ำให้สัตว์น้ ำบำดเจ็บขณะจับคัดและขนส่ง พยำยำมลดกำรท ำให้สัตว์น้ ำเครียด หรือทรมำนก่อนที่จะตำย 8.1 ผู้ผลิตต้องมีเครื่องมือที่เหมำะสมในกำรจับและกำรคัด โดยต้องไม่เป็นอันตรำยต่อตัวสัตว์หรือท ำ ให้สัตว์เครียด และต้องไม่มีผลกระทบต่อสภำพแวดล้อม 8.2 ห้ำมใช้สำรเคมีสังเครำะห์ทุกชนิด ช่วยในกำรจับ คัดขนำด และกำรขนส่ง 8.3 ในกรณีที่ต้องมีกำรรคัดแยกหรือ คัดขนำดสัตว์น้ ำที่มีชีวิตอยู่ภำยในฟำร์มผลิตต้องจัดกำรให้มี ขั้นตอน ดังกล่ำวน้อยที่สุดและเร็วที่สุดเท่ำที่จะท ำได้ เพื่อไม่ท ำให้สัตว์ได้รับบำดเจ็บโดยไม่จ ำเป็น 8.4 ผู้ผลิตต้องมีมำตรกำรในกำรขนย้ำยสัตว์อย่ำงมีประสิทธิภำพถูกสุขลักษณะ และไม่ท ำให้สัตว์เกิด ควำมเครียดหรือได้รับบำดเจ็บ 8.5 วัสดุอุปกรณ์และภำชนะที่ใช้ในระหว่ำงกำรจับ กำรคัด และกำรขนส่งต้องไม่มีสำรเคมีที่อำจเป็น อันตรำยต่อสัตว์น้ ำ และต้องสำมำรถป้องกันกำรปนเปื้อนจำกภำยนอกได้ถังหรือภำชนะที่ใช้ในกำรขนส่งสัตว์น้ ำ ต้อง ท ำควำมสะอำดและฆ่ำเชื้อ เป็นอย่ำงดีก่อนน ำใช้ 8.6 ในกำรขนส่งขณะสัตว์น้ ำมีชีวิตต้องควบคุม คุณภำพน้ ำให้เหมำะสมต่อสัตว์น้ ำ ควำมหนำแน่นของ สัตว์น้ ำในภำชนะบรรจุต้องไม่แออัดจนเกินไประยะทำง หรือระยะเวลำที่ขนส่งไม่ควรนำนเกินไป มีมำตรกำร ป้องกันไม่ให้สัตว์น้ ำหลุดหนีระหว่ำงขนส่งและต้องมีผู้รับผิดชอบดูแลตลอดระยะเวลำที่ขนส่งรวมทั้งต้องมี บันทึกกำรขนส่งสัตว์น้ ำที่มีรำยละเอียดให้สำมำรถตรวจสอบได้ 8.7 ในกรณีที่จ ำเป็น อนุญำตให้ใช้ออกซิเจนในขณะที่ท ำกำรคัดและกำรขนส่งได้ 8.8 กำรท ำให้สัตว์ตำย ต้องท ำให้สัตว์ตำยในระยะเวลำสั้นที่สุดและให้สัตว์ทรมำนน้อยที่สุดในกรณี ของสัตว์น้ ำที่มีกระดูกสันหลังผู้ผลิตต้องท ำให้สัตว์น้ ำสลบก่อนตำยอุปกรณ์และภำชนะที่ใช้ท ำให้สลบต้องมี ประสิทธิภำพดีและ อุปกรณ์และภำชนะที่ใช้ข ำแหละต้องมีสภำพใช้งำนได้ดีสะอำด และมีกำรตรวจสอบ ประสิทธิภำพอย่ำงสม่ ำเสมอ


23 เกณฑ์อ้างอิงการรับรองเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม แม่โจ้ พี จี เอส______________________________ฉบับที่ 1 ปี 2565 วันที่ปรับปรุง 15 กันยายน 65 8.9 กรณีที่มีกำรใช้สถำนที่ เครื่องมือ ภำชนะ และเครื่องจักรในกำรจับและช ำแหละสัตว์น้ ำอินทรีย์ ร่วมกับที่ไม่ใช่อินทรีย์ผลิตต้องมีมำตรกำรท ำควำมสะอำดก่อนที่จะเปลี่ยนมำจัดกำรกับสัตว์น้ ำอินทรีย์และ ต้องมีระบบกำรจัดกำรและระบบเอกสำรที่แยกออกจำกกันได้อย่ำงชัดเจน 8.10 น้ ำแข็งที่ใช้ในกำรจับและกำรขนส่งสัตว์น้ ำต้องมีควำมสะอำดตำมมำตรฐำนน้ ำดื่ม 9. มาตรฐานทางสังคม/ Social Aspects 9.1 ผู้ผลิตต้องเคำรพสิทธิของคนในชุมชนในกำรเข้ำไปใช้ประโยชน์จำกแหล่งน้ ำหรือพื้นที่สำธำรณะที่ อยู่ข้ำงเคียงฟำร์มของตน 9.2 ผู้ผลิตต้องจัดที่พักและดูแลควำมเป็นอยู่ของคนงำนในฟำร์มทั้งคนงำนประจ ำและคนงำนชั่วครำว และปฏิบัติตำมมำตรฐำนที่เกี่ยวข้องในข้อ 10. สภำพกำรท ำงำน ควำมปลอดภัย และสวัสดิกำรลูกจ้ำง มาตรฐานเฉพาะส าหรบัการเพาะเลี้ยงสัตวน้ าอินทรีย์/ Specific Standards for Organic Aquaculture Production 10. มาตรฐานการเพาะเลี้ยงกุ้งอินทรีย์/ Organic Shrimp Production ค าจ ากัดความ กำรเลี้ยงกุ้งแบบธรรมชำติ (Extensive shrimp farming) หมำยถึง กำรเลี้ยงกุ้งภำยใต้กำรควบคุม กระบวนกำรผลิต โดยไม่มีกำรให้อำหำร กำรเลี้ยงกุ้งแบบกึ่งธรรมชำติ (Semi-extensive shrimp farming) หมำยถึง กำรเลี้ยงกุ้งภำยใต้กำรควบคุม กระบวนกำรผลิต ที่มีกำรปล่อยพันธุ์กุ้งเสริม โดยอำจมีกำรให้อำหำร หรือไม่ให้อำหำรก็ได้กำรเลี้ยงกุ้งแบบพัฒนำ (Intensive shrimp farming) หมำยถึง กำรเลี้ยงกุ้งภำยใต้กำร ควบคุมกระบวนกำรผลิต โดยมีกำรให้อำหำรเป็นประจ ำ 10.1 สถำนที่เพำะเลี้ยงกุ้งอินทรีย์และกำร อนุรักษ์ป่ำชำยเลน 10.1.1 ห้ำมตัดและท ำลำยป่ำชำยเลนเพื่อก่อสร้ำง หรือขยำยฟำร์มกุ้งอินทรีย์ 10.1.2 ฟำร์มที่ท ำกุ้งอินทรีย์ต้องไม่อยู่ในเขตที่กฎหมำยประกำศห้ำมกำรเพำะเลี้ยงกุ้ง หรือไม่ อยู่ในพื้นที่อนุรักษ์ของชำติและของชุมชนท้องถิ่น และต้องมีเอกสำรสิทธิถูกต้องตำมกฎหมำย 10.1.3 พื้นที่ในควำมครอบครองที่มีสภำพเป็นป่ำชำยเลนผู้ผลิตต้องมีมำตรกำรอนุรักษ์ให้ สภำพป่ำมีควำมสมบูรณ์ตลอดไป หรือหำกพื้นที่ในครอบครองเคยมีสภำพเป็นป่ำชำยเลนผู้ผลิตต้องด ำเนินกำร ปลูกไม้ป่ำชำยเลนเพิ่มเพื่อฟื้นฟูระบบนิเวศโดยรวม 10.1.4 ผู้ผลิตต้องมีมำตรกำรกำรอนุรักษ์และฟื้นฟูป่ำชำยเลนที่อยู่บริเวณใกล้เคียงฟำร์มของ ตนด้วย 10.2 สถำนที่เพำะเลี้ยงกุ้ง 10.2.1 ระบบกำรผลิตในฟำร์มกุ้งอินทรีย์ต้องไม่สร้ำงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและทำงสังคม


24 เกณฑ์อ้างอิงการรับรองเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม แม่โจ้ พี จี เอส______________________________ฉบับที่ 1 ปี 2565 วันที่ปรับปรุง 15 กันยายน 65 10.2.2 ผู้ผลิตต้องมีมำตรกำรป้องกันไม่ให้พื้นที่กำรเกษตรข้ำงเคียงได้รับผลกระทบจำกน้ ำเค็มที่ ซึมจำกบ่อเลี้ยงกุ้งหรือกำรกระจำยตัวของเกลือ เช่น กำรท ำร่องระบำยน้ ำกำรปลูกพืชทนเค็ม เป็นต้น 10.2.3 ผู้ผลิตต้องมีมำตรกำรป้องกันไม่ให้น้ ำทิ้งจำกบ่อกุ้งมผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมรอบข้ำง โดยน้ ำทิ้งจำกบ่อกุ้งต้องได้รับกำรบ ำบัดก่อนปล่อยลงสู่แหล่งน้ ำธรรมชำติ 10.2.4 ตะกอนเลนจำกบ่อกุ้งอินทรีย์ต้องได้รับกำรจัดกำรอย่ำงเหมำะสมไม่ให้มีผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อม โดยผู้ผลิตต้องไม่สูบตะกอนเลนทิ้งลงแหล่งน้ ำธรรมชำติ 10.3 ระบบนิเวศภำยในฟำร์ม 10.3.1 ผู้ผลิตต้องรักษำควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพภำยในฟำร์ม โดยพื้นที่คันขอบบ่ออย่ำง น้อย 50% ต้องมีกำรปลูกพืชท้องถิ่นที่เหมำะสม หรือปล่อยให้พืชขึ้นคลุมตำมธรรมชำติ 10.4 กำรจัดกำรฟำร์มกุ้งโดยรวม 10.4.1 จ ำนวนกุ้งที่ปล่อยต้องไม่หนำแน่นจนท ำให้กุ้งเกิดควำมเครียดโดยในกำรเลี้ยงกุ้งแบบ พัฒนำ (intensive) ผู้ผลิตต้องควบคุมไม่ให้มวลรวมของกุ้งในบ่อมำกเกินกว่ำ 500 กก./ไร่ (300 กรัมต่อตำรำง เมตร) ตลอดระยะเวลำในกำรเลี้ยง 10.4.2 ผู้ผลิตต้องเตรียมบ่อเลี้ยงกุ้งให้มีคุณภำพน้ ำ เช่น ค่ำควำมเค็ม (salinity) ค่ำpH อุณหภูมิ ค่ำควำมเป็นด่ำง (alkalinity) ฯลฯ ให้เหมำะสมกับกำรเจริญเติบโตของกุ้ง 10.4.3 ผู้ผลิตต้องพยำยำมป้องกันไม่ให้สำรอันตรำย เช่น น้ ำมันเครื่อง หรือน้ ำมันหล่อลื่นที่ใช้ใน เครื่องสูบน้ ำ หรือใบพัดเครื่องตีน้ ำรั่วไหลปนเปื้อนคันขอบบ่อและลงไปภำยในบ่อหรือร่องน้ ำ 10.4.4 ไม่อนุญำตให้ใช้พลำสติกรองพื้นบ่อ 10.4.5 ในกรณีที่ต้องกำรก ำจัดสัตว์ที่เป็นอันตรำยต่อกุ้งภำยในบ่อ เช่น ปลำ ควรใช้อุปกรณ์ดักจับ เช่น แห หรือ อวน เป็นต้น แต่ในกรณีที่ไม่สำมำรถท ำได้อนุญำตให้ใช้สำรจำกธรรมชำติเช่น กำกชำ (tea seed cake หรือ saponin) หรือ โล่ติ๊น (หำงไหล) ได้ 10.4.6 ผู้ผลิตต้องมีมำตรกำรอนุรักษ์น้ ำ โดยต้องพยำยำมหมุนเวียนน ำน้ ำกลับมำใช้ให้มีกำร หมุนเวียนน้ ำมำใช้ใหม่ต้องผ่ำนกำรบ ำบัดที่เหมำะสมในบ่อบ ำบัด และพักในบ่อพักน้ ำก่อนน ำเข้ำมำใช้ในบ่อกุ้ง อินทรีย์ 10.4.7 ผู้ผลิตอำจใช้เครื่องเติมอำกำศได้เป็นครั้งครำว หรือเฉพำะในช่วงที่สภำพอำกำศผิดปกติ จนมีผลให้ปริมำณออกซิเจนในน้ ำลดน้อยลง และต้องมีกำรบันทึกกำรใช้เครื่องเพื่อให้สำมำรถตรวจสอบได้ 10.5 คุณภำพน้ ำ 10.5.1 กรณีที่ใช้น้ ำจำกแหล่งน้ ำที่มีควำมเสี่ยงปนเปื้อนสำรเคมีและโลหะหนักต้องมีบ่อพักน้ ำที่มี ขนำดไม่ต่ ำกว่ำ 1 ใน 3 ของพื้นที่รวมของฟำร์ม เพื่อบ ำบัดน้ ำนั้นก่อนน ำมำใช้ในฟำร์มและควรมีกำรตรวจ วิเครำะห์สำรปนเปื้อนดังกล่ำวก่อนน ำมำใช้ด้วย 10.5.2 ฟำร์มที่เพำะเลี้ยงกุ้งแบบธรรมชำติและแบบกึ่งธรรมชำติอำจไม่จ ำเป็นต้องมีบ่อพักน้ ำทิ้ง แต่น้ ำทิ้งจำกบ่อกุ้งต้องไม่ส่งผลเสียต่อสภำพแวดล้อม


25 เกณฑ์อ้างอิงการรับรองเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม แม่โจ้ พี จี เอส______________________________ฉบับที่ 1 ปี 2565 วันที่ปรับปรุง 15 กันยายน 65 10.5.3 ฟำร์มเลี้ยงกุ้งแบบพัฒนำที่มีกำรให้อำหำรกุ้งเป็นประจ ำต้องมีกำรพักน้ ำทิ้ง และมีวิธีกำร บ ำบัดน้ ำทิ้งก่อนปล่อยลงสู่แหล่งน้ ำสำธำรณะโดยน้ ำทิ้งจำกบ่อกุ้งต้องไม่ส่งผลเสียต่อสภำพแวดล้อม 10.5.4 ในกรณีที่ผู้ผลิตยังไม่ได้ปรับเปลี่ยนทุกฟำร์มเป็นอินทรีย์บ่อที่ท ำกำรผลิตแบบเคมี/ทั่วไป ต้องปฏิบัติตำมข้อก ำหนดในกำรจัดกำรน้ ำทิ้ง และกำกตะกอนเลนตำมมำตรฐำนเกษตรอินทรีย์ด้วย 10.6 พันธุ์กุ้งและกำรผสมพันธุ์ 10.6.1 กุ้งที่เลี้ยงควรเป็นพันธุ์ที่เกิดท้องถิ่น ในกรณีที่กุ้งที่เลี้ยงไม่ใช่พันธุ์ท้องถิ่นและต้องน ำพ่อแม่ พันธุ์เข้ำมำจำกต่ำงประเทศต้องมีใบรับรองจำกกรมประมงว่ำไม่มีโรคติดต่อ และต้องมีกำรวิจัยยืนยันว่ำเป็น พันธุ์ที่ไม่มีผลกระทบต่อระบบนิเวศในท้องถิ่น 10.6.2 พ่อแม่พันธุ์กุ้งต้องมำจำกฟำร์มอินทรีย์ ในกรณีที่ไม่สำมำรถหำได้อนุญำตให้ผู้ผลิตใช้พ่อ แม่พันธุ์จำกฟำร์มทั่วไปได้ แต่ผู้ผลิตต้องมีแผนในกำรเพำะเลี้ยงพ่อแม่พันธุ์กุ้งอินทรีย์ 10.6.3 ในกรณีที่ไม่สำมำรถหำพ่อแม่พันธุ์จำกฟำร์มเพำะเลี้ยงได้อนุญำตให้ผู้ผลิตใช้พ่อแม่พันธุ์ที่ จับจำกธรรมชำติได้โดยกำรจับดังกล่ำวต้องไม่มีผลกระทบต่อควำมยั่งยืนของประชำกรกุ้งในธรรมชำติ และ ผู้ผลิตต้องมีแผนในกำรเลี้ยงพ่อแม่พันธุ์อินทรีย์ 10.6.4 พันธุ์กุ้งที่ใชต้องมำจำกโรงเพำะฟักแบบอินทรีย์ในกรณีที่ไม่สำมำรถหำพันธุ์กุ้งอินทรีย์ได้ และจ ำเป็นต้องใช้พันธุ์กุ้งจำกโรงเพำะฟักแบบทั่วไป จะต้องมีหลักฐำนยืนยันว่ำมำจำกกำรเพำะฟักที่ไม่ใช้ สำรเคมีและยำที่กฎหมำยไม่อนุญำตให้ใช้และกุ้งต้องได้รับกำรเพำะเลี้ยงและให้อำหำรตำมมำตรฐำนเกษตร อินทรีย์เป็นระยะเวลำไม่น้อยกว่ำ 2 ใน 3 ของระยะเวลำกำรเลี้ยง จึงจะสำมำรถขำยเป็นผลผลิตอินทรีย์ได้ 10.6.5 ไม่อนุญำตให้ตัดแต่งรยำงค์ เพื่อกระตุ้นกำรวำงไข่ของกุ้งเพศเมียยกเว้นในกรณีของกุ้ง ชนิดที่ยังไม่สำมำรถท ำกำรขยำยพันธุ์ได้อย่ำงมีประสิทธิภำพโดยไม่ต้องอำศัยกำรกระตุ้น เช่น กุ้งกุลำด ำอำจ อนุโลมให้มีกำรตัดตำได้โดยผู้ผลิตและโรงเพำะฟัก หรือโดยควำมร่วมมือกับโครงกำรเพำะพันธุ์สัตว์น้ ำใน ท้องถิ่น (เช่น กรมประมง หรือหน่วยงำนอื่น) ต้องท ำกำรเพำะเลี้ยงพ่อแม่พันธุ์กุ้งเพื่อให้เกิดกำรผสมพันธุ์และ วำงไข่ด้วยวิธีธรรมชำติ 10.6.6 ไม่อนุญำตให้จับพันธุ์กุ้งจำกธรรมชำติมำเพำะเลี้ยงในฟำร์มเลี้ยงกุ้งแบบพัฒนำ ยกเว้นใน ระบบกำรเพำะเลี้ยงแบบธรรมชำติและแบบกึ่งธรรมชำติที่อำศัยกำรเปิดน้ ำจำกแหล่งน้ ำธรรมชำติให้เข้ำมำใน บ่อ เพื่อให้พันธุ์กุ้งจำกธรรมชำติเข้ำมำอำศัยและเติบโตภำยในบ่อ 10.7 สุขอนำมัยของกุ้ง 10.7.1 ห้ำมใช้ยำรักษำโรคที่เป็นสำรเคมีสังเครำะห์และยำปฏิชีวนะในกำรเพำะเลี้ยงกุ้ง 10.7.2 อนุญำตให้ใช้วิธีกำรและผลิตภัณฑ์เฉพำะที่ก ำหนดไว้ในภำคผนวก 3 ส่วนที่ 1 ในกำร ป้องกันและรักษำโรค 10.7.3 ผู้ผลิตต้องท ำกำรตรวจสอบสุขภำพและควำมแข็งแรงของกุ้งเป็นประจ ำ 10.7.4 หลังกำรจับกุ้ง ต้องมีระยะเวลำในกำรพักบ่อหรือตำกบ่อ และไถพรวนตำมควำมจ ำเป็น


26 เกณฑ์อ้างอิงการรับรองเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม แม่โจ้ พี จี เอส______________________________ฉบับที่ 1 ปี 2565 วันที่ปรับปรุง 15 กันยายน 65 10.7.5 อนุญำตให้ใช้ปูนเผำหรือปูนโชยน้ ำในกำรฆ่ำเชื้อในบ่อ และปรับปรุงคุณภำพน้ ำให้ เหมำะสมส ำหรับกำรเลี้ยงกุ้ง 10.8 อำหำรกุ้ง 10.8.1 ผู้ผลิตต้องเตรียมกำรจัดกำรบ่อให้เกิดห่วงโซ่อำหำรตำมธรรมชำติให้แก่กุ้ง เช่น แพลงก์ ตอนพืช และแพลงก์ตอนสัตว์เป็นต้น โดยปัจจัยกำรผลิต ต่ำง ๆ ที่ น ำมำใช้ต้องเป็นไปตำมที่ก ำหนดไว้ใน มำตรฐำนส่วนกำร ผลิตพืช ดังระบุไว้ในภำคผนวก 1 (ส่วนที่ 1) ทั้งนี้เพื่อลดปริมำณอำหำรที่ต้องให้เพิ่ม 10.8.2 ส่วนประกอบและแหล่งที่มำของอำหำรกุ้งต้องได้รับกำรรับรองเกษตรอินทรีย์ และเป็นไป ตำมข้อก ำหนด 5.7 ของมำตรฐำนนี้ 10.8.3 อนุญำตให้ใช้ปลำป่นและน้ ำมันปลำที่มำจำกกำรประมงอย่ำงยั่งยืน เป็นส่วนประกอบ ของอำหำร แต่ต้องไม่เกิน 10% ในกรณีของกุ้งที่กินทั้งสัตว์และพืชเป็นอำหำรซึ่งจ ำเป็นต้องได้รับโปรตีนให้ เพียงพอแก่กำรเจริญเติบโต ถ้ำไม่สำมำรถหำพืชโปรตีนสูงที่ได้คุณภำพจำกในท้องถิ่นมำเป็นสวนประกอบใน อำหำรได้อำจอนุโลมให้ใช้ปลำป่นและน้ ำมันปลำที่มำจำกกำรประมงอย่ำงยั่งยืนเป็นส่วนประกอบในอำหำรได้ อย่ำงมำก 20% 10.8.4 ในกรณีที่มีกำรให้อำหำรเป็นประจ ำ ผู้ผลิตต้องมีวิธีกำรควบคุมและตรวจสอบปริมำณ อำหำรที่ให้ เพื่อไม่ให้มีอำหำรเหลือมำกจนท ำให้เกิดกำรสะสมของตะกอนเลนและมลพิษ 10.8.5 ผู้ผลิตต้องจดบันทึกกำรให้อำหำรกุ้งเป็นประจ ำ เพื่อให้สำมำรถค ำนวณอัตรำแลกเนื้อ (feed conversion ratio (FCR) ได้ 10.8.6 ห้ำมให้ใช้เศษกุ้งที่เป็นของเหลือจำกกระบวนกำรผลิตที่ไม่ผ่ำนกระบวนกำรแปรรูปด้วย ควำมร้อนมำเป็นอำหำรเลี้ยงกุ้ง 10.9 กำรจับและกำรขนส่งกุ้ง 10.9.1 ห้ำมใช้โซเดียมเมตำไบซัลไฟต์ในกำรรักษำสีเปลือกกุ้ง 10.9.2 น้ ำและน้ ำแข็งที่ใช้ต้องไม่มีควำมเสี่ยงในกำรปนเปื้อนสำรเคมีหรือสำรพิษและมีคุณภำพ ตำม มำตรฐำนน้ ำส ำหรับบริโภค 10.9.3 ผู้ผลิตต้องจัดเตรียมน้ ำแข็งในปริมำณที่เพียงพอส ำหรับท ำให้กุ้งตำยอย่ำงรวดเร็วก่อนกำร คัดและบรรจุในถังน้ ำแข็งเพื่อขนสง 10.9.4 อุปกรณ์ เครื่องมือ วัสดุ และบรรจุภัณฑ์ที่ใช้ระหว่ำงขนส่ง ต้องไม่มีสีวุ้นผสมของสำรเคมี ซึ่งก่อให้เกิดพิษต่อตัวกุ้ง และบรรจุภัณฑ์ต้องสำมำรถป้องกันกำรปนเปื้อนสำรเคมี/ สำรพิษจำกสภำวะภำยนอก ได้ 11. มาตรฐานการเพาะเลี้ยงปลาน้ าจืด/ Freshwater Fish Production 11.1 ไม่อนุญำตให้เลี้ยงปลำในบ่อหรือถังที่ท ำจำกวัสดุสังเครำะห์ผู้ผลิตอำจเลี้ยงปลำในบ่อคอนกรีตที่ กั้นบ่อเป็นดินได้


27 เกณฑ์อ้างอิงการรับรองเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม แม่โจ้ พี จี เอส______________________________ฉบับที่ 1 ปี 2565 วันที่ปรับปรุง 15 กันยายน 65 11.2 จ ำนวนปลำที่ปล่อยต้องไม่หนำแน่นจนท ำให้ปลำเกิดควำมเครียดและเกิดกำรบำดเจ็บจำกควำม หนำแน่นภำยในบ่อ ผู้ผลิตต้องควบคุมอัตรำควำมหนำแน่นไม่ให้มำกเกินไปโดยปลำนิล 1,800 กก./ไร่ (1,125 กรัม/ตรม.) ปลำสลิด 400 กก./ไร่ (250 กรัม/ ตรม.) ปลำสวำย 3,200 กก./ไร่ (2,000 กรัม/ตรม.) 11.3 ผู้ผลิต ต้องพยำยำมหมุน เวียนน้ ำกลับมำใช้ให้มีในฟำร์ม ในกรณีที่จ ำเป็นต้องปล่อยน้ ำทิ้ง น้ ำทิ้ง จำกบ่อปลำต้องมีคุณภำพน้ ำตำมมำตรฐำนน้ ำทิ้ง 11.4 อนุญำตให้ใช้ยำเคมีได้ในกรณีที่จ ำเป็นและต้อง ได้รับกำรวินิจฉัยจำกนักวิชำกำรประมงก่อน และ ปลำรุ่น นั้นจะไม่สำมำรถขำยเป็นอินทรีย์ได้ 11.5 ส ำหรับปลำสวำย อนุญำตให้ใช้ปลำป่นและน้ ำมันปลำที่มำจำกกำรประมงอย่ำงยั่งยืนเป็น ส่วนประกอบของอำหำรปลำได้แต่ต้องไม่เกิน 10%


28 เกณฑ์อ้างอิงการรับรองเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม แม่โจ้ พี จี เอส______________________________ฉบับที่ 1 ปี 2565 วันที่ปรับปรุง 15 กันยายน 65 บทที่ 6 เครื่องส าอาง และผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ 1. วัตถุดิบ ส่วนผสม และสารปรุงแต่ง ผู้ประกอบกำรจะต้องพยำยำมใช้วัตถุดิบเกษตรอินทรีย์เป็นส่วนผสมในผลิตภัณฑ์ให้มำกที่สุดก่อน เสมอ ส ำหรับวัตถุดิบและสวนผสมอื่น ๆ อนุญำตให้ใช้เฉพำะที่ระบุในภำคผนวกเท่ำนั้น รวมทั้งผลิตภัณฑ์ที่ ได้รับกำรรับรองมำตรฐำน ถ้ำผู้ประกอบกำรมีควำมจ ำเป็นต้องใช้วัตถุดิบส่วนผสมและสำรปรุงแต่ง นอกเหนือจำกที่ระบุ จะต้องชี้แจงเหตุผลและส่งรำยละเอียดของสวนผสมและเอกสำรทำงเทคนิคให้แม่โจ้ พี จี เอส พิจำรณำอนุมัติก่อน 1.1 วัตถุดิบ ส่วนผสม และสำรปรุงแต่ง จะต้อง เป็นสำรธรรมชำติที่มำจำก พืช สัตว์ แร่ธำตุ และ จุลินทรีย์ 1.2 วัตถุดิบ ส่วนผสมหรือผลิตภัณฑ์ที่ได้จำกสัตว์ 1.2.1 ไม่อนุญำตให้ใช้ผลิตผลจำกสัตว์ที่มีกระดูกสันหลังเป็นวัตถุดิบหรือส่วนผสม ถ้ำกำรได้มำซึ่ง ผลผลิตนั้นท ำให้สัตว์ต้องเสียชีวิต 1.2.2 อนุญำตให้ใช้ผลิตผลจำกสัตว์เป็นวัตถุดิบ ต่อเมื่อกำรได้มำซึ่งวัตถุดิบนั้นไม่ท ำให้สัตว์ต้อง สูญเสีย อวัยวะหรือเจ็บปวดทรมำน เช่น ไขผึ้ง นมผึ้ง เมือกหอยทำก ลำโนลิน โปรตีนจำกนม ชะมดเช็ด เป็นต้น 1.3 พืชหรือผลผลิตที่ได้จำกป่ำธรรมชำติและทะเลที่น ำมำใช้เป็นวัตถุดิบตั้งต้นและ/หรือส่วนผสม จะต้องมำจำกกำรเก็บเกี่ยวและกำรจัดกำรที่ไม่ก่อผลกระทบต่อสภำพแวดล้อม ไม่ก่อผลกระทบต่อกำรสูญพันธุ์ ของพืชและสัตว์ รวมทั้งต้องค ำนึงถึงควำมสมดุลและยั่งยืนของระบบนิเวศ 1.4 วัตถุดิบเกษตรและ/หรือผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์ที่ใช้เป็นส่วนผสมและน ำมำแปรรูปต้องได้รับกำร รับรองตำม มำตรฐำนเกษตรอินทรีย์ มกท., Organic Thailand, PGS หรือมำตรฐำนอื่นที่เท่ำเทียม 1.5 แร่ธำตุและอนุพันธ์จัดเป็นสำรธรรมชำติแต่ไม่นับเป็นวัตถุดิบเกษตรอินทรีย์เช่น เกลือ ดินสอพอง ดินขำว ดินเบำ แร่ดินเหนียว แร่หินภูเขำไฟ เป็นต้น แร่ธำตุและอนุพันธ์ และสำรให้สีจำกอนุพันธ์แร่ธำตุที่ อนุญำตให้ใช้ระบุ ใน ภาคผนวก 5 ส่วนที่ 5.3 แร่ธาตุและอนุพันธ์จากแร่ธาตุที่อนุญาตให้ใช้ 1.6 ส่วนผสมที่เป็นอนุพันธ์จำกธรรมชำติ อนุญำตให้ใช้เฉพำะรำยกำรที่ระบุใน ภาคผนวก 4 สาร อนุพันธ์จาก ธรรมชาติที่อนุญาตให้ใช้ 1.7 น้ ำหอมหรือสำรแต่งกลิ่น จะต้องมำจำกแหล่งธรรมชำติและ/หรือแปรรูปจำกธรรมชำติเท่ำนั้น เช่น น้ ำมันหอม ระเหย ยำงไม้ เป็นต้น 1.8 สำรลดแรงตึงผิว ที่ใช้เป็นส่วนผสมในผลิตภัณฑ์ท ำควำมสะอำดและผลิตภัณฑ์อิมัลชั่น หรือ ผลิตภัณฑ์อื่น ๆ จะต้องมีคุณลักษณะดังต่อไปนี้ - ผลิตมำจำกพืช


29 เกณฑ์อ้างอิงการรับรองเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม แม่โจ้ พี จี เอส______________________________ฉบับที่ 1 ปี 2565 วันที่ปรับปรุง 15 กันยายน 65 - มีควำมปลอดภัยต่อผู้ใช้ ต้องไม่มีหรือไม่ก่อให้เกิดสำรอันตรำยปนเปื้อนในผลิตภัณฑ์ เช่น ได ออกเซน (1,4 dioxane) ไนโตรซำมีน เอทธีลีนออกไซด์ ฟอร์มำลดีไฮด์ เป็นต ้น - มีควำมเป็นพิษต่อสัตว์น้ ำต่ ำ ไม่ตกค้ำงในสิ่งแวดล้อม และย่อยสลำยทำงชีวภำพได้ง่ำยและ รวดเร็ว เกณฑ์ที่ใช้ใน กำรทดสอบระบุใน ภาคผนวก 5 ส่วนที่ 5.7 การทดสอบความเป็นพิษและการย่อยสลาย ทางชีวภาพ สำรลดแรงตึงผิวที่ไม่อนุญำตให้ใช้ คือ สำรที่มำจำกกระบวนกำร Alkoxylation (กระบวนกำรผลิต ที่ใช้สำร Ethylene oxide, Propylene oxide และ Alkylene oxide อื่น ๆ) ส ำหรับรำยกำรสำรลดแรงตึงผิว ที่อนุญำตให้ ใช้ระบุใน ภาคผนวก 5 ส่วนที่ 5.5 สารลดแรงตึงผิวที่อนุญาตให้ใช้ 1.9 สำรกันเสีย อำจจ ำเป็นต้องใช้เพื่อป้องกันผู้บริโภคจำกอันตรำยที่เกิดจำกเชื้อจุลินทรีย์ก่อโรค และ เพื่อรักษำ คุณภำพตลอดอำยุกำรใช้งำนของผลิตภัณฑ์ หำกเป็นไปได้ควรใช้สำรกันเสียที่พัฒนำมำจำกวัตถุดิบ ธรรมชำติ สำร กันเสียอนุญำตให้ใช้เฉพำะรำยกำรที่ระบุใน ภาคผนวก 5 ส่วนที่ 5.2 (5.2.1 สารกันเสีย สังเคราะห์เลียนแบบ ธรรมชาติ) 1.10 น้ ำที่ใช้เป็นส่วนผสมในผลิตภัณฑ์ เช่น น้ ำกรอง, น้ ำแร่, น้ ำอำร์โอ, น้ ำกลั่น และน้ ำทะเล เป็นต้น ต้องเป็นไป ตำมเกณฑ์มำตรฐำนสุขลักษณะ 1.11 น้ ำที่ใช้เป็นส่วนผสมในผลิตภัณฑ์ไม่นับเป็นสำรธรรมชำติหรือเกษตรอินทรีย์ ส ำหรับส่วนผสมที่ มีน้ ำเป็นส่วนประกอบ มีเงื่อนไขดังต่อไปนี้ - น้ ำคั้นจำกผักผลไม้โดยตรง ให้นับเป็นสำรธรรมชำติหรืออินทรีย์ 100% - น้ ำผักผลไม้เข้มข้นและสำรสกัดชนิดผงเข้มข้น 100% สำมำรถคืนสภำพกลับไปเป็นน้ ำคั้น จำกพืช โดยตรงได้แต่ต้องไม่มีส่วนผสมของสำรปรุงแต่งและสำรยึดเกำะ และเมื่อเจือจำงน้ ำเพื่อคืนสภำพต้อง ท ำก่อน น ำไปใช้ค ำนวณในสูตร - สำรสกัดพืชด้วยน้ ำ ให้นับเฉพำะส่วนของพืชเท่ำนั้น - สำรสกัดพืชด้วยตัวท ำละลำยอื่น ๆ ที่เจือจำงด้วยน้ ำ เช่น กลีเซอรีน เป็นต้น ให้นับส่วนของ พืชและตัว ท ำละลำยเป็นสำรธรรมชำติหรืออินทรีย์ได ้แต่ไม่รวมน้ ำที่น ำมำเจือจำง ส ำหรับเอทำนอลที่ใช้เป็นตัว ท ำละลำย มี เงื่อนไขในกำรค ำนวณระบุไว้ในภาคผนวก 5 ส่วนที่ 5.8 (วิธ ีค ำนวณสัดส่วนอินทรีย์และธรรมชำติ ระบุในภาคผนวก 5 ส่วนที่ 5.8) 1.12 น้ ำกลั่นสมุนไพรหรือน้ ำดอกไม้ จะนับเป็นวัตถุดิบอินทรีย์หรือธรรมชำติได้ต้องเป็นผลผลิตจำก กำรกลั่นน้ ำมันหอมระเหยเท่ำนั้น (Hydrosol หรือ hydro late) (วิธีค ำนวณสัดส่วนอินทรีย์และธรรมชำติระบุ ในภาคผนวก 5 ส่วนที่ 5.8) 1.13 สำรช่วยแปรรูป เช่น ตัวท ำละลำย สำรช่วยน ำพำหรือยึดเกำะ สำรกันเสีย สำรปรับสภำพกรด ด่ำง เป็นต้น อนุญำตให้ใช้เฉพำะรำยกำรที่ระบุไว้ใน ภาคผนวก 5 เครื่องส าอางและผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ รวมทั้งภาคผนวก 2 สารปรุงแต่งและสารช่วยแปรรูปส าหรับผลิตภัณฑ์อินทรีย์ 1.14 กำรแปรรูปผลิตภัณฑ์ชนิดหนึ่งไม่อนุญำตให้ใช้วัตถุดิบหรือส่วนผสมชนิดเดียวกันทั้งจำกทั่วไป และเกษตรอินทรีย์มำผสมกัน


30 เกณฑ์อ้างอิงการรับรองเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม แม่โจ้ พี จี เอส______________________________ฉบับที่ 1 ปี 2565 วันที่ปรับปรุง 15 กันยายน 65 1.15 ตัวอย่ำงวัตถุดิบ ส่วนผสม และผลิตภัณฑ์ที่ไม่อนุญำตให้ใช้ - คำร์บอนแบล็ค และสีสังเครำะห์ - ผลิตภัณฑ์กลุ่มโพลีเอทีลีนไกลคอล (PEGs) เช่น PEG-75ลำโนลิน - ซิลิโคนและอนุพันธ์ - ปิโตรเลียมและอนุพันธ์ เช่น น้ ำมันแร่ และพำรำฟิน - ผลิตผลจำกสัตว์ เช่น ไขมันจำกสัตว์ คอลลำเจน และพิษผึ้ง - โพลีเมอร์สังเครำะห์ - ไมโครพลำสติก - วัสดุนำโน - สำรคีเลตสังเครำะห์ เช่น กรดเอทิลีน ไดอำมีนเตตร้ำอะซิติก (EDTA) และเกลือของสำรกลุ่มนี้ - สำรลดแรงตึงผิว เชน สำรเอสแอลอี (SLES) สำร LABS สำร APEOs และโพลีซอร์เบท - เอทำโนลำมีน เชน โคคำไมด์ไดเอทำโนลำไมน (Cocamide DEA) โคคำไมด์โมโนเอทำโนลำไมน์ (Cocamide MEA) และไตรเอทำโนลำไมน์-ลอริลซัลเฟต (TEA-lauryl sulfate) - ควอท เช่น สำรในกลุ่ม Quaternary ammonium compound และเบนซิลโคเนียมคลอไรด์ 2. วัสดุยึดเกาะ หรือ วัสดุน าพา และผ้า 2.1 วัสดุยึดเกำะและน ำพำ เช่น ไส้ในส ำหรับยึดเกำะของสำรหอมในยำดม ผ้ำห่อสมุนไพร กระดำษ เช็ดหน้ำ และแผ่นมำกส์หน้ำ เป็นต้น จะไม่นับเป็นส่วนผสม แต่ต้องเป็นวัสดุจำกธรรมชำติหรือสำรอนุพันธ์ ธรรมชำติ 2.2 ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ผ้ำเป็นส่วนประกอบ เช่น ผ้ำอนำมัย และผ้ำอ้อม เป็นต้น ต้องเป็นผ้ำอินทรีย์ได้รับ กำรรับรองตำม มำตรฐำนในข้อ 1.4 หมวดเครื่องส ำอำงและผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภำพ 3. เกณฑ์การค านวณปริมาณสารธรรมชาติและสารอินทรีย์ สัดส่วนของส่วนผสมรับรองผลิตภัณฑ์อินทรีย์และ/หรือธรรมชำติคิดจำกส่วนผสมทั้งหมดของ ผลิตภัณฑ์ซึ่งรวมถึง น้ ำและน้ ำดอกไม้ด้วย ดังนี้ 3.1 ผลิตภัณฑ์รับรองในโปรแกรมอินทรีย์ 3.1.1 ผลิตภัณฑ์ที่ปรำศจำกน้ ำหรือมีน้ ำน้อยกว่ำ 5% เช่น ผลิตภัณฑ์ที่เป็นผง/ชิ้นแห้งจำกวัตถุดิบ กำรเกษตร ผลิตภัณฑ์ที่มีน้ ำมัน/ไขมันเป็นส่วนผสมหลัก และเป็นผลิตภัณฑ์ที่ไม่ซับซ้อน เป็นต้น ต้องมีส่วนผสม รับรองเกษตรอินทรีย์ไม่น้อยกว่ำ 95% โดยน้ ำหนัก 3.1.2 ผลิตภัณฑ์ที่มีน้ ำ 10-70% เช่น ผลิตภัณฑ์กลุ่มอิมัลชั่นบ ำรุงผิว (W/O, O/W) ผลิตภัณฑ์เจล น้ ำหอม สบู่ ยำสีฟัน หรือเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนผสมค่อนข้ำงซับซ้อน เป็นต้นต้องมีส่วนผสมรับรองเกษตร อินทรีย์ ไม่น้อยกว่ำ 20% โดยน้ ำหนัก 3.1.3 ผลิตภัณฑ์ที่มีน้ ำและ/หรือมีแร่ธำตุมำกกว่ำ 80% เช่น ผลิตภัณฑ์ท ำควำมสะอำด โทนเนอร์ น้ ำดอกไม้แป้งผัดหน้ำ เกลืออำบน้ ำ เป็นต้น ต้องมีส่วนผสมรับรองเกษตรอินทรีย์ไม่น้อยกว่ำ 10% โดยน้ ำหนัก


31 เกณฑ์อ้างอิงการรับรองเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม แม่โจ้ พี จี เอส______________________________ฉบับที่ 1 ปี 2565 วันที่ปรับปรุง 15 กันยายน 65 3.2 ผลิตภัณฑ์รับรองในโปรแกรมธรรมชำติ 3.2.1 ผลิตภัณฑ์ที่ปรำศจำกน้ ำหรือมีน้ ำน้อยกว่ำ 5% ต้องมีส่วนผสมของสำรจำกธรรมชำติไม่ น้อยกว่ำ 95% โดยน้ ำหนัก 3.2.2 ผลิตภัณฑ์ที่มีน้ ำ 10-70% ต้องมีส่วนผสมของสำรจำกธรรมชำติไม่น้อยกว่ำ 20% โดย น้ ำหนัก 3.2.3 ผลิตภัณฑ์ที่มีน้ ำและ/หรือมีแร่ธำตุมำกกว่ำ 80% ต้องมีส่วนผสมของสำรจำกธรรมชำติไม่ น้อยกว่ำ 10% โดยน้ ำหนัก 4. กระบวนการแปรรูปและการจัดการ กำรจัดกำรและด ำเนินกำรผลิต อย่ำงน้อยจะต้องเป็นไปตำมแนวทำงกำรปฏิบัติที่ดีในกำรผลิต เครื่องส ำอำงอำเซียน - เลือกใช้กระบวนกำรแปรรูปที่ประหยัดพลังงำน - เลือกใช้วิธีกำรแปรรูปที่สำมำรถรักษำประสิทธิภำพของสำรออกฤทธิ์ได้ดีที่สุด - เลือกกระบวนกำรแปรรูปที่ไม่ก่อให้เกิดกำรปนเปื้อนสำรอันตรำยในสิ่งแวดล้อม 4.1 อนุญำตให้ใช้กระบวนกำรแปรรูป ต่อไปนี้ - กระบวนกำรทำงกำยภำพ เช่น กำรคั้นน้ ำ กำรผสม กำรกรอง กำรตกตะกอน กำรตกผลึก กำร บด เป็นต้น - กำรต้ม กำรกลั่น และกำรควบแน่น - กำรท ำแห้ง กำรอบแห้ง ด้วยแสงแดด ควำมร้อนและควำมเย็น - กำรฆ่ำเชื้อด้วยแสงอัลตร้ำไวโอเลต และอินฟรำเรด - กำรใช้คลื่นไมโครเวฟ และอัลตร้ำซำวนด์ - กระบวนกำรทำงชีวภำพ เช่น กำรหมัก กำรดอง - กำรสกัดด้วย น้ ำ เอทำนอล กลีเซอรีน น้ ำมันพืช และก๊ำซคำร์บอนไดออกไซด์ เป็นต้น - กระบวนกำรทำงเคมีได้แก่ ไฮโดรไลซิส ซำปอนนิฟิเคชั่น ไฮโดรจิเนชั่น เอสเทอริฟิเคชั่น และ กำรฟอกสี (ห้ำมใช้สำรฟอกคลอรีน) กระบวนกำรแปรรูปนอกเหนือจำกที่ระบุไว้ อำจให้กำรรับรองได้โดย พิจำรณำจำกข้อมูลและ เอกสำรทำงเทคนิคที่ผู้ประกอบกำรยื่นมำและ/หรือตำมที่ แม่โจ้ พี จี เอส ร้องขอ 4.2 ไม่อนุญำตให้มีกำรจัดกำร วัตถุดิบ ส่วนผสมและผลิตภัณฑ์ส ำเร็จ ด้วยรังสีที่ท ำให้เกิดกำรแตกตัว ของไอออน เช่น รังสีเอ็กซ์รังสีแกมม่ำ รังสีเบต้ำ รังสีอัลฟ่ำ เป็นต้น 4.3 อนุญำตให้เก็บรักษำวัตถุดิบ ส่วนผสม และผลิตภัณฑ์ในสถำนที่ควบคุมบรรยำกำศ โดยก๊ำซ คำร์บอนไดออกไซด์ก๊ำซออกซิเจน และก๊ำซไนโตรเจน 4.4 ในแต่ละขั้นตอนของกำรผลิตตลอดถึงกำรบรรจุเป็นผลิตภัณฑ์ส ำเร็จ มีกำรปฏิบัติที่ถูกสุขลักษณะ และสุขอนำมัย และสำมำรถป้องกันกำรปนเปื้อนสำรอันตรำยและสำรต้องห้ำมในผลิตภัณฑ์ได้


32 เกณฑ์อ้างอิงการรับรองเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม แม่โจ้ พี จี เอส______________________________ฉบับที่ 1 ปี 2565 วันที่ปรับปรุง 15 กันยายน 65 4.5 สถำนที่จัดเก็บวัตถุดิบ ส่วนผสม บรรจุภัณฑ์และผลิตภัณฑ์ส ำเร็จ จะต้องจัดเก็บแยกออกจำก ผลิตผลหรือผลิตภัณฑ์ทั่วไป และมีกำรติดป้ำยก ำกับไว้ชัดเจนเพื่อป้องกันกำรปะปนกัน ตลอดจนสำมำรถ ป้องกันกำรปนเปื้อน จำกสำรอันตรำยและสำรต้องห้ำมได้ตลอดเวลำ 4.6 กำรท ำควำมสะอำดและฆ่ำเชื้อ ภำชนะ เครื่องมือ และเครื่องจักรที่ใช้ในกำรผลิตและแปรรูป อนุญำตให้ใช้ เฉพำะรำยกำรที่ระบุใน ภาคผนวก 5 ส่วนที่ 5.6 สารท าความสะอาดและฆ่าเชื้อเครื่องมืออุปกรณ์ การผลิตที่ อนุญาตให้ใช้โดยมีกำรตรวจเช็คจนมั่นใจว่ำไม่มีสิ่งตกค้ำงก่อนด ำเนินกำรผลิตและแปรรูป 5. บรรจุภัณฑ์ - ควรมีนโยบำยใช้บรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม มีควำมพยำยำมในกำรลดปริมำณขยะใน สิ่งแวดล้อมด้วยหลัก 3 R คือ ลดปริมำณกำรใช้ (Reduce) น ำมำใช้ซ้ ำ (Reuse) และสำมำรถแปรรูปกลับไป ใช้ได้อีก (Recycle) - ใช้บรรจุภัณฑ์ที่ถูกต้องเหมำะสมกับผลิตภัณฑ์นั้น ๆ และไม่ท ำปฏิกิริยำกับสำรที่เป็นส่วนผสมใน ผลิตภัณฑ์ 5.1 ไม่ควรใช้บรรจุภัณฑ์หลำยชั้นเกินควำมจ ำเป็น 5.2 ใช้บรรจุภัณฑ์ที่ก่อให้เกิดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด ควรเลือกบรรจุภัณฑ์ที่มำจำกวัสดุ ธรรมชำติสำมำรถน ำกลับมำใช้ใหม่ได้และย่อยสลำยได้ง่ำย เช่น แก้ว กระดำษ ไม้โลหะ เซรำมิก และเซลลูโลส จำกพืช เป็นต้น 5.3 บรรจุภัณฑ์พลำสติกชนิดที่อนุญำตให้ใช้ ได้แก่ เซลลูโลสอำซิเตท (CA) โพลิเอทธิลีน (PE) โพลิเอ ทิลีนเทเรฟทำ เลต (PET) โพลิเอทิลีนเทเรฟทำเลตไกลคอล (PETG) โพลิแลคติกแอซิด (PLA) และโพลิพรอพพี ลีน (PP) 5.4 บรรจุภัณฑ์อัดก๊ำซที่อนุญำตให้ใช้ได้แก่ กำรอัด อำกำศ ก๊ำซไนโตรเจน ก๊ำซออกซิเจน ก๊ำซ คำร์บอนไดออกไซด์และก๊ำซอำร์กอน ทั้งนี้ก๊ำซที่ใช้ในบรรจุภัณฑ์ไม่นับเป็นส่วนผสมในผลิตภัณฑ์ 5.5 ไม่อนุญำตให้ใช้โฟม (โพลีสไตรีน) พีวีซีพลำสติกกลุ่มคลอริเนท และบรรจุภัณฑ์ที่ได้มำจำก กระบวนกำรผลิต โดยใช้สิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม 5.6 ไม่อนุญำตบรรจุภัณฑ์ที่มำจำกวัสดุนำโน


33 เกณฑ์อ้างอิงการรับรองเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม แม่โจ้ พี จี เอส______________________________ฉบับที่ 1 ปี 2565 วันที่ปรับปรุง 15 กันยายน 65 ภาคผนวก


34 เกณฑ์อ้างอิงการรับรองเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม แม่โจ้ พี จี เอส______________________________ฉบับที่ 1 ปี 2565 วันที่ปรับปรุง 15 กันยายน 65 ภาคผนวก 1 ปัจจัยการผลิตที่อนุญาตให้ใช้ในการผลิตอินทรีย์


35 เกณฑ์อ้างอิงการรับรองเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม แม่โจ้ พี จี เอส______________________________ฉบับที่ 1 ปี 2565 วันที่ปรับปรุง 15 กันยายน 65 สัญลักษณ์การใช้ ✓ ให้ใช้ได้ หมำยถึงปัจจัยกำรผลิตที่อนุญำตให้ใช้ได้ตำมข้อก ำหนดของมำตรฐำน ! ใช้อย่ำงระมัดระวัง หมำยถึงปัจจัยกำรผลิตที่อนุญำตให้ใช้ได้ แต่ต้องใช้อย่ำงระมัดระวังตำมข้อก ำหนดที่ระบุไว้ 1.1 ปัจจัยการผลิตที่ใช้เป็นปุ๋ยและสารปรับปรุงดิน รายการวัสดุ รายละเอียด/ข้อก าหนด หมายเหตุ ปุ๋ยคอกและผล พลอยได้จำกปุ๋ย คอก * มูลสัตว์จำกฟำร์มเลี้ยงสัตว์ที่เป็นส่วนผสมของสิ่งขับถ่ำยจำกสัตว์และ อินทรีย์ วัตถุจำกพืช (ที่ใช้ปูพื้นคอกสัตว์) * มูลสัตว์แห้งและมูลสัตว์ปีกแห้ง * สิ่งขับถ่ำยจำกสัตว์ รวมทั้งมูลสัตว์ปีก และมูลสัตว์จำกฟำร์มที่ผ่ำนกำรหมัก * สิ่งขับถ่ำยจำกสัตว์ที่เป็นของเหลวต้องมีกำรหมัก และ/หรือ เจือจำงใน ระดับที่เหมำะสม และห้ำมมูลสัตว์จำกฟำร์มที่เลี้ยงแบบอุตสำหกรรม * ไม่อนุญำตให้ใช้มูลสัตว์จำกฟำร์มที่เลี้ยงแบบอุตสำหกรรมในทุก กรณี ข้ำงต้น * ปริมำณไนโตรเจนของปุ๋ยคอกที่น ำมำใช้ในฟำร์ม ไม่ควรเกิน 27.2 กก./ ไร่/ปี ! ปุ๋ยมูลสัตว์ ห้ำมใช้มูลสัตว์ที่ยังสดกับพืชในลักษณะที่อำจท ำให้เกิดกำรปนเปื้อนกับ ส่วนของพืชที่จะน ำมำใช้บริโภค ไม่ควรน ำมำตำกแดดทิ้งไว้ เพรำะจะท ำให้สูญเสียธำตุไนโตรเจนโดย กำร ระเหิด ควรเก็บไว้ในที่ร่ม และรองพื้นดินด้วยเศษไม้ใบหญ้ำหรือ ฟำงข้ำว ! มูลค้ำงคำว เป็นแหล่งปุ๋ยฟอสเฟตที่ส ำคัญ มีคุณสมบัติเป็นด่ำงเล็กน้อย ! เลือดสัตว์แห้ง ค่ำ N-P-K=12-1.5-0.6 ! กระดูกป่น กระดูกสัตว์หรือกระดูกปลำบดละเอียดให้ธำตุฟอสฟอรัสและธำตุ ไนโตรเจนแก่ดินปลูก มีคุณสมบัติเป็นด่ำงเล็กน้อย ควรใช้ในปริมำณที่ เหมำะสมโดยค ำนึงถึงสมดุลของธำตุอำหำรในดิน ! ขยะอินทรียวัตถุ • ผลผลิต และผลพลอยได้ที่มำจำกพืช อนุญำตให้ใช้เป็นปุ๋ยและท ำปุ๋ย หมัก ได้ เช่น กำกเหลือจำกกำรสกัดน้ ำมัน เปลือกโกโก้แกลบ ผลผลิต และผลพลอยได้ที่มำจำกสัตว์ ได้แก่ เลือดแห้งผง กีบเท้ำสัตว์ผง เขำสตัว์ผง กระดูกผง หรือ กระดูกผงที่สกัดเจลำตินออกไปแล้ว ปลำป่น เนื้อสัตว์ป่น ขนสัตว์ปีกป่น และ ‘Chiquita’ ขนแกะ ขนสัตว์ เลี้ยงลูกด้วยนมป่น แต่ต้องไม่มีโครเมียม (VI) ปนเปื้อนในระดับที่สำมำรถ ตรวจวัดได้เส้นผม ผลผลิตจำกนมสัตว์โปรตีนที่ได้จำกกำรไฮโดรไลซีส แต่ห้ำมใช้ที่สัมผัสโดยตรงกับส่วนของพืชที่น ำมำบริโภค ✓


36 เกณฑ์อ้างอิงการรับรองเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม แม่โจ้ พี จี เอส______________________________ฉบับที่ 1 ปี 2565 วันที่ปรับปรุง 15 กันยายน 65 1.1 (ต่อ) รายการวัสดุ รายละเอียด/ข้อก าหนด หมายเหตุ สิ่งมีชีวิตจำก ธรรมชำติ เช่น ไส้เดือน ✓ ขี้ไส้เดือน ✓ แหนแดง มีธำตุไนโตรเจนสูง ย่อยสลำยได้เร็ว 80% ของธำตุอำหำรในแหนแดงจะ ปลดปล่อยออกมำหลังจำกไถกลบได้ 2 เดือน (8 สัปดำห์) ✓ สำหร่ำยสีน้ ำเงิน แกมเขียว เป็นแหล่งปุ๋ยไนโตรเจนจำกธรรมชำติเหมำะส ำหรับนำข้ำวน้ ำขัง ✓ พืชหมุนเวียน ค ว รหมุนเ วียนปลูกพืชต่ ำงต ระกูลกันเพ ร ำะ ระดับ ร ำกต่ ำงกัน กำรหมุนเวียนของธำตุอำหำรในดินจะสมบูรณ์ขึ้น กำรใช้ธำตุอำหำรของ พืช ชนิดต่ำง ๆ จำกน้อยไปมำก เป็นดังนี้ 1) พืชตระกูลถั่ว 2) พืชกินหัว 3) พืชกินใบ 4) พืชกินผล และ5)ธัญพืช ✓ ปุ๋ยพืชสด เช่น โสน ปอเทือง พืชตระกูล และถั่วต่ำง ๆ ฯลฯ ✓ แกลบ ใช้เป็นวัสดุคลุมดิน ช่วยปรับปรุงดินเหนียวให้โปร่งขึ้น แต่ควรใช้ร่วมกับ วัสดุอื่น เพรำะมีธำตุอำหำรน้อยมำก และเก็บควำมชื้นได้ไม่ดี ย่อยสลำย ช้ำ ! ขี้เลื่อย ไม่อนุญำตถ้ำมำจำกไม้ที่มีกำรใช้สำรเคมีเพื่อรักษำเนื้อไม้ เมื่อผสมกับดิน ปลูกจะช่วยท ำให้ดินโปร่งขึ้น และเก็บควำมชื้นได้มำกขึ้น แต่ย่อยสลำยช้ำ ควรผ่ำนกำรหมักให้สลำยตัวก่อนกำรน ำไปใช้ ! วัสดุปรับปรุงดิน วัสดุจำกธรรมชำติที่ใส่ลงในดนิ แล้วจะช่วยปรับปรุงสภำพกำยภำพ/เคมี/ ชีวะของดินให้ดีขึ้น ได้แก่ เศษไม้ ขี้เลื่อย แกลบ ซังข้ำวโพด และเปลือก ถั่ว ฯลฯ ✓ ฟำงข้ำว และวัสดุ คลุมดินจำก ธรรมชำติ เช่น หญ้ำแห้งใบไม้แห้ง เพื่อลดกำรระเหยนำจำกหน้ำดิน ลดควำมรุนแรง ของน้ ำฝน ลดกำรชะล้ำงหน้ำดินควบคุมวัชพืช ปรับอุณหภูมิของดินให้ เหมำะสม และให้ปุ๋ยแก่พืช อนุโลมให้ใช้ฟำงจำกนำเคมีได้ ✓ ขี้เถ้ำ, ขี้เถ้ำแกลบ ใช้เป็นวัสดุปรับปรุงควำมเป็นกรดของดินเป็นแหล่งของธำตุฟอสฟอรัส และโพแทสเซียมไม่ควรใช้กับต้นกล้ำของพืชห้ำมใช้ขี้เถ้ำที่มำจำกกำร เผำ ปุ๋ยมูลสัตว์ เพรำะท ำให้สูญเสียอินทรียวัตถุและธำตุอำหำร ! ผลพลอยได้ที่ย่อย สลำยได้จำกกำร แปรรูป เป็นอินทรียวัตถุใช้ในกำรท ำปุ๋ยหมักได้ แต่ไม่ได้มำจำกโรงงำน อุตสำหกรรมเคมี และต้องระบุแหล่งที่มำ และต้องตรวจสอบก่อนว่ำไม่มี กำรปนเปื้อนสำรเคมี/สำรต้องห้ำม !


37 เกณฑ์อ้างอิงการรับรองเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม แม่โจ้ พี จี เอส______________________________ฉบับที่ 1 ปี 2565 วันที่ปรับปรุง 15 กันยายน 65 1.1 (ต่อ) รายการวัสดุ รายละเอียด/ข้อก าหนด หมายเหตุ ปุ๋ยชีวภำพ อินทรียวัตถุที่มีเชื้อจุลินทรีย์ช่วยดูดซับและช่วยย่อยธำตุอำหำรให้แก่พืช ✓ ปุ๋ยหมัก กำรหมักปุ๋ยช่วยแก้ปัญหำวัชพืชที่ติดมำกับมูลสัตว์ได้อนุญำตให้ใช้เมื่อมี ส่วนประกอบเป็นวัสดุตำมที่ระบุอยู่ในภำคผนวกนี้ แต่ห้ำมใช้ปุ๋ยหมัก จำก ขยะเมือง ✓ สำรเร่งปุ๋ยหมัก จ ำพวกจุลินทรีย์ ยกเว้นจุลินทรีย์ที่ได้จำกกระบวนกำรทำงพันธุ วิศวกรรม ✓ ปุ๋ยหมักจำกก๊ำซ ชีวภำพ เป็นกำกที่ได้จำกกำรผลิตก๊ำซชีวภำพ มีธำตุอำหำรโดยประมำณ ดังนี้ N=0.13%, P2O=0.01%, K2O=2-3% หำกใช้ปุ๋ยชนิดนี้โดยล ำพัง ควรใช้ไม่ต่ ำกว่ำ 1 ตัน/ไร่ (ในรูปของปุ๋ยแห้ง) ✓ ปุ๋ยหมักจำกกอง เห็ดฟำง อนุโลมให้ใช้ แม้วำ้ ฟำงอำจมำจำกนำข้ำวที่ใช้สำรเคมี แต่ในกองเห็ดฟำง จะต้องไม่ใช้สำรต้องห้ำมในเกษตรอินทรีย์ ✓ ปุ๋ยจำกถุงเห็ด ขี้เลื่อยและเศษวัสดุเหลือทิ้งจำกถุงเห็ดนำงฟ้ำ นำงรม ฯลฯ ควรผ่ำนกำร หมักซ้ ำอีกครั้งก่อนน ำมำใช้ ✓ ปุ๋ยน้ ำชีวภำพ ได้จำกกำรหมักเศษพืช เพื่อให้เกิดจุลินทรีย์โดยธรรมชำติใช้เป็นปุ๋ยฉีด พ่น หรือเติมลงดินเพื่อให้พืชแข็งแรง ✓ กำกน้ ำตำลหรือโม ลำส ใช้ในกำรหมักท ำปุ๋ยน้ ำชวีภำพเพื่อเป็นอำหำรของจุลินทรีย์ ✓ ปุ๋ยไนโตรเจน จำกแหล่งธรรมชำติ เชน่ กระดูกป่น เลือดสัตว์แห้ง สำหร่ำยสีน้ ำเงินแกม เขียว มูลไก่ กำกถั่ว และกำกเมล็ดสะเดำ ฯลฯ ควรใช้ในปริมำณที่ เหมำะสม โดยค ำนึงถึงควำมสมดุลของธำตุอำหำรในดิน ! เศษพืช, ผัก, วัสดุ กำรเกษตร, สำร สกัดจำกกำร เกษตรชีวพลวัตร ใช้ท ำปุ๋ยหมักไม่เติมสำรต้องห้ำม ✓ สำหร่ำยทะเล ให้ใช้เฉพำะที่สกัดด้วยวิธีกำรทำงธรรมชำติเท่ำนั้น ! กำกเมล็ดพืช กำกที่เหลือจำกกำรบีบน้ ำมัน เช่น ถั่วลิสง ถั่วเหลือง เมล็ดสะเดำ เมล็ด ละหุ่งให้ธำตุไนโตรเจนควรใช้ในสภำพที่ผ่ำนกำรหมักแล้วถ้ำใช้ไม่ถูกต้อง อำจท ำให้พืชไหม้หรือเน่ำตำย ! จุลินทรีย์ อนุญำตให้ใช้จุลินทรีย์ทุกชนิดกับปุ๋ยหมัก พืช เมล็ดพืช และดิน ยกเว้น จุลินทรีย์ที่ได้มำจำกกระบวนกำรทำงพันธุวิศวกรรม ✓


38 เกณฑ์อ้างอิงการรับรองเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม แม่โจ้ พี จี เอส______________________________ฉบับที่ 1 ปี 2565 วันที่ปรับปรุง 15 กันยายน 65 1.1 (ต่อ) รายการวัสดุ รายละเอียด/ข้อก าหนด หมายเหตุ ไรโซเบียม เป็นเชื้อแบคทีเรียที่ใช้คลุกเมล็ดพืชตระกูลถั่ว ก่อนปลูก และเพื่อช่วยให้ เมล็ดเกำะเชื้อได้ดีขั้นสำมำรถใช้สำรละลำยน้ ำตำลเข้มข้น 30% หรือ สำรละลำยนมผง แช่เมล็ดก่อนคลุกเชื้อ ✓ ปุ๋ยแร่ธำตุ * อลูมิเนียม-แคลเซี่ยม ฟอสเฟต ตำมที่ได้ก ำหนดไว้ในข้อ 6 ภำคผนวก IA.2 ให้ใช้เฉพำะดินที่เป็นด่ำง (pH>7.5) * เกลือโปตัสเซียมดิบหรือไคนิต ตำมที่ได้ก ำหนดไว้ในข้อ 6 ภำคผนวก IA.2 * โปตัสเซียมซัลเฟต ซึ่งน่ำจะมีส่วนประกอบของเกลือแม็กนีเซียม ได้ จำก เกลือโปตัสเซียมดิบ โดยกระบวนกำรสกัดทำงกำยภำพ และอำจมี เกลือ แม็กนีเซียมเป็นส่วนประกอบ * แคลเซียม คำร์บอเนต (หินชอล์ก ดินสอพอง หินปูนบด บริโตนำมีลีโอ เรนท์ เมร์ล หินชอล์กฟอสเฟต) เฉพำะที่มำจำก ธรรมชำติ * แมกนีเซียม และ แคลเซียมคำร์บอเนต เฉพำะที่มำจำกธรรมชำติ เช่น หินชอล์กแมกนีเซียม หินแมกนีเซียมบด หินปูน และแมกนีเซียมซัลเฟต (คีเซไรต์) เฉพำะที่มำจำกธรรมชำติ ! แคลเซี่ยมคลอไรด์ จำกแหล่งธรรมชำติเท่ำนั้น ใช้เป็นแหล่งธำตุอำหำรเสริมแก่พืช แต่ต้องใช้ อย่ำงระมัดระวังเพรำะมีปริมำณธำตุคลอไรด์สูงมำก อำจเป็นอันตรำยต่อ ควำมสมดุลของแร่ธำตุในดิน ! แร่ดินเหนียว เช่น เบนโทไนท์ เพอร์ไรท์เวอร์มิคูไลท์ซีโอไลท์และเกำลีน ที่มำจำก แหล่งธรรมชำติ ไม่ผ่ำนกระบวนกำรทำงเคมี ใช้เป็นแร่ธำตุเสริมให้แก่พืช ✓ โดโลไมท์ (แมกนีเซียม และ แคลเซียม คำร์บอเนต) ต้องมำจำกแหล่งธรรมชำติ ไม่ผ่ำนกระบวนกำรทำงเคมี ใช้ปรับปรุง ควำมเป็นกรดของดิน อำจใช้เพื่อเสริมธำตุแมกนีเซียมที่มีรำคำถูกแก่พืช กำรใช้เกินควำม จ ำเป็นอำจเป็นอันตรำยต่อพืช ✓ ! เกลือยิปซั่ม (แมกนีเซียม ซัลเฟต) จะต้องมำจำกแหล่งธรรมชำติ และไม่ผ่ำนกระบวนกำรทำงเคมีหรือไม่มำ จำกกระบวนกำรสังเครำะห์ ✓


39 เกณฑ์อ้างอิงการรับรองเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม แม่โจ้ พี จี เอส______________________________ฉบับที่ 1 ปี 2565 วันที่ปรับปรุง 15 กันยายน 65 1.1 (ต่อ) รายการวัสดุ รายละเอียด/ข้อก าหนด หมายเหตุ ปูนมำร์ล, หินปูน บด (แคลเซี่ยม คำร์บอเนต) ใช้เพื่อปรับปรุงควำมเป็นกรดด่ำงของดิน และควรใช้ในรูปที่บดละเอียด แล้ว ห้ำมใช้ปูนเผำ (แคลเซี่ยมออกไซด์-CaO2 ) เป็นสำรปรับปรุงดิน เนื่องจำกออกฤทธิ์รุนแรง ✓ หินแมกนีเซียม อนุญำตให้ใชเพื่อเสริมธำตุอำหำรพืช ! ปุ๋ยธำตุอำหำรรอง (จุลธำตุ) เป็นสำรสังเครำะห์ได้แก่ คอปเปอร์ โคบอลต์ซัลเฟต เซเลเนียม โบรอน แมงกำนีส โมลิบดินัม สังกะสีเหล็ก และไอโอดีน อนุญำตให้ใช้เมื่อจ ำเป็น ! พืชแสดงอำกำรขำด ธำตุอำหำรเท่ำนั้น แต่ไม่อนุญำตให้ใช้สำรสังเครำะห์ ที่อยู่ในรูปไนเตรตหรือคลอไรด์ ปุ๋ยฟอสเฟต จำกแหล่งธรรมชำติ เช่น กระดูกป่น สำหร่ำยทะเล มูลไก่ มูลค้ำงคำว ขี้เถ้ำไม้ และกำกเมล็ดพืช ฯลฯ ! ปุ๋ยโพแทสเซียม จำกแหล่งธรรมชำติ เช่น ขี้เถ้ำไม้ และหินบด ฯลฯ ! หินฟอสเฟต จะต้องมำจำกแหล่งธรรมชำติ และไม่ผ่ำนกระบวนกำรทำงเคมี ใช้เป็น แหล่งให้ธำตุฟอสเฟต (P) ละลำยน้ ำได้ยำก ปลดปล่อยธำตุอำหำรอย่ำง ช้ำ ๆ จึงควรบดละเอียดให้ได้ประมำณ 100 เมซ และคลุกเคล้ำให้เข้ำกับ ดินอย่ำงดี ! ก ำมะถัน จำกแหล่งธรรมชำติ ! แร่หินภูเขำไฟ เช่น ภูไมท์ และไดโอไลท์ ที่มำจำกแหล่งธรรมชำติ ไม่ผ่ำนกระบวนกำร ทำงเคมี !


40 เกณฑ์อ้างอิงการรับรองเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม แม่โจ้ พี จี เอส______________________________ฉบับที่ 1 ปี 2565 วันที่ปรับปรุง 15 กันยายน 65 1.2 ผลิตภัณฑ์และวิธีการที่อนุญาตให้ใช้ในการป้องกันก าจัดศัตรูพืช/โรคพืช/วัชพืช และสารเร่งการเจริญเติบโต รายการวัสดุ รายละเอียด/ข้อก าหนด หมายเหตุ พืชคลุมดิน ควรปลูกพืชตระกูลถั่วเพื่อช่วยก ำจัดวัชพืช ป้องกันกำรชะล้ำงหน้ำดินและ รักษำควำมชื้นของดิน ✓ พืชหมุนเวียน ช่วยลดกำรแพร่กระจำยของศัตรูพืช ✓ ดำวเรือง ควรปลูกไว้ในไร่นำเพื่อเป็นที่อยู่อำศัยของแมลงที่เป็นประโยชน์และช่วย ป้องกันไส้เดือนฝอยศัตรูพืชในดิน ✓ วัสดุคลุมดิน ให้ใช้วัสดุคลุมดินจำกธรรมชำติ เช่น หญ้ำแห้ง ใบไม้แห้ง ฟำงข้ำว ปุ๋ย หมัก ควบคุมวัชพืช ✓ พืชไล่แมลง เช่น ตะไคร้หอม ! พีท (ห้ำมใช้เป็น วัสดุปรับปรุงดิน) ต้องไม่มีกำรเติมสำรสังเครำะห์ หรือสำรต้องห้ำม อนุญำตเฉพำะกับพืช สวนเท่ำนั้น (เช่น กำรปลูกไม้ดอก พืชในโรงเรือน พืชกระถำง) ! พลำสติก ใช้เมื่อจ ำเป็น เช่น ใช้ในกำรห่อไม้ผลใช้ในกำรคลุมดินเมื่อปลูกสตรอเบอร์ รี่ ฯลฯ ! กำวดักแมลง ควรใช้วัสดุสีเหลืองเป็นวัสดุทำกำวเพรำะสำมำรถดักแมลงได้มำกกว่ำสี อื่น 85% แต่ต้องจัดกำรมิให้สัมผัสพืชปลูก และปนเปื้อนสิ่งแวดล้อม ทั้ง ขณะที่ใช้อยู่ในแปลงและหลังจำกเลิกใช้แล้ว ✓ บำซิลลัส ธูริง ไม่อนุญำตเชื้อที่ได้จำกกระบวนกำรทำงพันธุวิศวกรรม ✓ เจียนซิส (บี.ที.) ตัวห้ ำ, ตัวเบียน เป็นกำรควบคุม โดยชีววิธีปล่อยเพื่อก ำจัดแมลงศัตรูพืช ! จุลินทรีย์ อนุญำตให้ใช้จุลินทรีย์อะไรก็ได้ ยกเว้นจุลินทรีย์จำกกำรดัดแปลง พันธุกรรม ✓ ไส้เดือนฝอย (ใช้ ก ำจัดศัตรูพืช) ใช้ควบคุมแมลงศัตรูในไม้ผล เช่น หนอนเปลือกลองกอง ลำงสำด ชมพู่ เป็นต้น ✓ สปินโนแซด ใช้ได้เฉพำะเพื่อลดควำมเสี่ยงที่มีต่อแมลงเบียนและกำรดื้อยำของ ศัตรูพืช ✓ ไวรัสก ำจัดแมลง อนุญำตให้ใช้อะไรก็ได้ ยกเว้นไวรัสจำกกำรดัดแปลงพันธุกรรม ✓ สำรสกัดจำกพืช ต้องใช้อย่ำงระมัดระวัง เพรำะสำรสกัดจำกพืชบำงชนิดท ำลำยแมลงที่ เป็น ประโยชน์ด้วย ! ไคติน ต้องมำจำกธรรมชำติ เช่น เปลือกสัตว์ทะเล เช่น เปลือกกุ้งและปู และ ต้อง ไม่มีส่วนผสมของสำรต้องห้ำม ใช้ส ำหรับควบคุมไส้เดือนฝอย ศัตรูพืช ✓


41 เกณฑ์อ้างอิงการรับรองเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม แม่โจ้ พี จี เอส______________________________ฉบับที่ 1 ปี 2565 วันที่ปรับปรุง 15 กันยายน 65 1.2 (ต่อ) รายการวัสดุ รายละเอียด/ข้อก าหนด หมายเหตุ โล่ติ๊น หรือ หำง ไหล มีพิษต่ ำกว่ำยำสูบมีพิษต่อผิวหนัง ออกฤทธิ์แบบถูกตัวตำย ใช้ควบคุม แมลงจ ำพวกด้วง หนอน เพลี้ยไฟ และแมลงวัน มีสำรโรติโนน ซึ่งมี LD50=132 ในกรณีที่ใช้กับพืชกินใบต้องทิ้งไว้อย่ำงน้อย 7 วันก่อนเก็บ เกี่ยว และต้องใช้อย่ำงระมัดระวัง เนื่องจำกเป็นพิษต่อสัตว์เลือดเย็น เช่น ปลำ ห้ำมใช้บริเวณใกล้แหล่งน้ ำ ! น้ ำมันหอมระเหย จำกพืช เช่น น้ ำมันตะไคร้หอม น้ ำมันสน ฯ ใช้เป็นสำรก ำจัดแมลง ก ำจัด ไร โรคพืช และสำรยับยั้งกำรงอก ✓ สำรเร่งกำร เจริญเติบโต หรือ ฮอร์โมน ใช้ได้เฉพำะที่เป็นสำรจำกธรรมชำติ เช่น น้ ำมะพร้ำว และไซโตไคนิน ✓ สำรล่อแมลง หรือฟีโรโมน เป็นสำรธรรมชำติที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมของสัตว์และแมลง ใช้ในกับ ล่อ แมลงเพื่อดึงดูดแมลงบำงชนิด เช่น แมลงวันผลไม้ เป็นวิธีลดจ ำนวน ประชำกรแมลง ให้ใช้ร่วมกับอุปกรณ์กับดักและอุปกรณ์กระจำยกลิ่น (dispenser) เท่ำนั้น แต่ห้ำมผสมสำรฆ่ำแมลง, สำรล่อ, สำรที่มีผลต่อ พฤติกรรมทำงเพศ อนุญำตให้ใช้ได้เฉพำะในกับดักและอุปกรณ์กระจำยกลิ่น ✓ สะเดำ ใช้ป้องกันก ำจัดแมลงและหนอนศัตรูพืช ! ไพรีทริน (สกัดจำก ไพรีทรัม) ใช้ป้องกันก ำจัดแมลงศัตรูพืช ไม่อนุญำตให้มี piperonyl butoxide ใน ผลิตภัณฑ์จำกไพรีทรัม ! ยำสูบ ให้ใช้อย่ำงระมัดระวัง ไม่อนุญำตให้ใช้ pure nicotine ! บอร์โดมิกซ์เจอร์ - ใช้ควบคุมโรคที่เกิดจำกเชื้อรำและแบคทีเรีย เช่น ใบจุด ใบไหม้และรำ น้ ำค้ำง โดยต้องใช้อย่ำงระมัดระวัง ไม่ให้เกิดกำรสะสมของทองแดง (คอปเปอร์) ในดิน และต้องไม่มีครำบตกค้ำงให้เห็นในผลิตผลที่เก็บเกี่ยว - มีอัตรำส่วนผสมแตกต่ำงกันระหว่ำงจุนสี: ปูนเผำ: น้ ำ (กรัม: กรัม: ลิตร) ดังนี้ 1) พืชทั่วไป 40: 40: 4 2) พืชที่แพ้ฤทธิ์ทองแดง 40: 120: 4 3) พืชอำยุน้อย 10: 30: 4 - เมื่อผสมแล้วต้องใช้ทันทีและอำจเป็นพิษกับพืชอวบน้ ำจึงควรผสม จุนสี และปูนเผำแยกกัน เวลำจะใช้จึงน ำมำผสมกัน !


42 เกณฑ์อ้างอิงการรับรองเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม แม่โจ้ พี จี เอส______________________________ฉบับที่ 1 ปี 2565 วันที่ปรับปรุง 15 กันยายน 65 1.2 (ต่อ) รายการวัสดุ รายละเอียด/ข้อก าหนด หมายเหตุ ทองแดง (สำรประกอบ) ให้ใช้ในรูปของคอปเปอร์ไฮดรอกไซด์คอปเปอร์ออกไซด์คอปเปอร์ออก ซี่ คลอไรด์คอปเปอร์ซัลเฟท คอปเปอร์ออกตำโนเอท และคิวปรัสออกไซด์ ปริมำณกำรใช้ไม่เกิน 960 กรัม./ไร่/ปี (6 กก./ เฮกตำร์/ปี) ! จุนสีหรือคอปเปอร์ ซัลเฟต (ดูเพิ่มที่ ทองแดง) ใช้แช่เมล็ดพืชก่อนปลูกเพื่อก ำจัดเชื้อโรคที่ติดมำกับเมล็ด โดยละลำยจุนสี 19 กรัม/น้ ำ 18 ลิตร (ไม่ควรใช้ภำชนะที่เป็นโลหะ) ในกรณีเมล็ดข้ำว แช่ นำน 24 ชม. แล้วจึงล้ำง (แช่) น้ ำเปล่ำก่อนน ำไปปลูก ! เอทิลีน ใช้เป็นสำรบ่มผลไม้สุก อนุญำตให้ใช้เฉพำะจำกแหล่งที่ไม่ใช่กำร สังเครำะห์ ! เอทิลแอลกอฮอล์ เหล้ำขำว ใช้ฉีดพ่นก ำจัดแมลง ! ไอรอนฟอสเฟต ✓ ก ำมะถันปูน ✓ น้ ำมันแร่ (ไวท์ ออยล์ น้ ำมันแก้ว น้ ำมันพำรำฟิน) ✓ ด่ำงทับทิม หรือ โพแทสเซียมเปอร์ แมงกำเนต สำรป้องกันก ำจัดเชื้อรำ ใช้ส ำหรับป้องกันก ำจัดโรครำน้ ำค้ำง โดยใช้ด่ำง ทับทิม 7 กรัม/น้ ำ 7 ลิตร คนให้ละลำยแล้วฉีดพ่นทันที ให้ใช้ในผลไม้ เท่ำนั้น ! สบู่โพแทสเซียม หรือสบู่อ่อน ใช้ควบคุมศัตรูพืชจ ำพวกปำกดูด เช่น ไร เพลี้ยอ่อน แต่อำจท ำให้ใบพืช ไหม้ ในภำวะที่อำกำศร้อนจัด ✓ โพแทสเซี่ยมไบ คำร์บอเนต ✓ โซเดียมไบ ใช้อัตรำ 5 กรัม/น้ ำ 1 ลิตร ส ำหรับโรครำแป้ง อัตรำ 10 กรัม/น้ ำ 1 ลิตร ! คำร์บอเนต หรือผง ฟู ส ำหรับโรครำน้ ำค้ำงใช้สบู่อ่อนผสมเป็นสำรจับใบ เตรียมแล้วใช้ทันทีไม่ ควรเก็บไว้นำน สำรจับใบ ให้เลือกใช้น้ ำสบู่อ่อน หรือลูกประค ำดีควำย แทนสำรจับใบสงเครำะห์ ! ก ำมะถัน ให้ใช้ควบคุมโรคพืชที่เกิดจำกเชื้อรำได้ มีควำมเป็นกรดสูง จึงไม่ควรใช้ ในช่วงที่อำกำศร้อนจัด เพรำะอำจท ำให้ใบพืชไหม้ ! น้ ำส้มสำยชู จำกแหล่งธรรมชำติใช้ฉีดพ่นป้องกันก ำจัดโรคและแมลงโดยเจือจำงก่อน ใช้ ✓


43 เกณฑ์อ้างอิงการรับรองเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม แม่โจ้ พี จี เอส______________________________ฉบับที่ 1 ปี 2565 วันที่ปรับปรุง 15 กันยายน 65 1.3 ผลิตภัณฑ์และวิธีการที่อนุญาตให้ใช้ในการป้องกันก าจัดแมลงศัตรูและสัตว์ในสถานที่แปรรูปและโรงเก็บ รายการวัสดุ รายละเอียด/ข้อก าหนด หมายเหตุ แบล็กไลท์ ใช้ล่อแมลงกลำงคืนช่วงเวลำที่แมลงเริ่มออกหำกิน เริ่มตะวันตกดินกระทั่ง ประมำณ 20.00 น. ✓ น้ ำมันเครื่องใช้แล้ว ใช้ร่วมกับกับดักไฟล่อแมลงดักแมลงที่มำเล่นไฟ ต้องจัดกำรมิให้ปนเปื้อน พื้นที่เพำะปลูก พืชปลูกและผลผลิต ! กับดักไฟล่อแมลง ใช้ล่อแมลงไม่ให้มำรบกวน ✓ กับดักหนู, แมลงสำบ ดักโดยวิธีกลฝังซำกสัตว์ให้มิดชิด ✓ สำรล่อแมลง หรือ ฟีโรโมน ใช้ในกับดักล่อแมลงเพื่อดึงดูดแมลงบำงชนิดเพื่อลดจ ำนวนประชำกร แมลง ให้ใช้ร่วมกับอุปกรณ์กับ ดักและอุปกรณ์กระจำยกลิ่น (dispenser) เท่ำนั้น ✓ อัลตรำซำวน์ ใช้ไล่แมลงและสัตว์ศัตรูพืชที่มำรบกวน ✓ ไดอะตอมิเชียส เอิร์ธ - เป็นผงสีขำวละเอียดเกิดจำกซำกของสิ่งมีชีวิตในทะเล - ใช้คลุกเมล็ดพันธุ์เพื่อป้องกันแมลงศัตรู - ใช้ก ำจัดแมลงในบ้ำน/โรงเรือน เช่น แมลงสำบ มด - เวลำใช้ควรมีผ้ำปิดจมูก เพื่อป้องกันระวังไม่ให้หำยใจเข้ำปอด ! ขี้เถ้ำไม้ ใช้ขี้เถ้ำแห้งคลุกเมล็ดพันธุ์ป้องกันแมลง ✓ ไพรีทริน (สกัดจำก ไพรีทรัม) อนุญำตให้ใช้ก ำจัดแมลงศัตรูในโรงเก็บ แต่ต้องไม่ให้สัมผัสกับผลิตภัณฑ์ อินทรีย์ ! น้ ำมันพืช ใช้เป็นสำรป้องก ำจัดแมลง ไร เชื้อรำ และป้องกันกำรงอก ✓


44 เกณฑ์อ้างอิงการรับรองเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม แม่โจ้ พี จี เอส______________________________ฉบับที่ 1 ปี 2565 วันที่ปรับปรุง 15 กันยายน 65 1.4 ผลิตภัณฑ์ที่อนุญาตให้ใช้ในผลิตภัณฑ์ส าหรับป้องกันก าจัดศัตรูพืช รายการวัสดุ รายละเอียด/ข้อก าหนด หมายเหตุ กรดซิตริก สำรกันบูด สำรปรับควำมเป็นกรดด่ำง ✓ เมทธิล พำรำเบน ไฮโดรเบนโซเอท สำรกันบูด ✓ โปรปิล พำรำเบน โซเอท สำรกันบูด ✓ โพลี่ซอร์เบท สำรอิมัลซิไฟเออร์ ✓ ส ำหรับกำรใช้ co-formulant ในผลิตภัณฑ์ควบคุมศัตรูพืช ให้ตรวจสอบเพิ่มเติมกับ Canada Pest Management Regulatory Agency (PMRA) list (COR Table 4.3) - Formulants classified as List 4A or 4B อำจอนุญำตให้ใช้ได้ - Formulants classified as List 3 or PMRA อำจอนุญำตให้ใช้ได้กับกับดักล่อที่ ปล่อย สำรฟีโรโมนแบบ passive USA EPA lists (NOP §205.601) - EPA List 4 – Inerts of Minimal Concern. - EPA List 3 – Inerts ที่ไม่รู้ควำมเป็นพิษ – อนุญำตให้ใช้ได้กับกับดักล่อที่ปล่อยสำรฟีโร โมนแบบ passive ให้ใช้ได้โดยมีข้อจ ำกัดในกำรใช้ของสำรดังกล่ำวตำมที่ระบุไว้ในรำยกำรสำร


45 เกณฑ์อ้างอิงการรับรองเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม แม่โจ้ พี จี เอส______________________________ฉบับที่ 1 ปี 2565 วันที่ปรับปรุง 15 กันยายน 65 1.5 รายชื่อปัจจัยการผลิตที่อนุญาตให้ใช้ในการเลี้ยงสัตว์และการเลี้ยงผึ้งอินทรีย์ รายการวัสดุ รายละเอียด/ข้อก าหนด หมายเหตุ แอลกอฮอล์และ ไอโสโปรปิล ใช้ส ำหรับฆ่ำเชื้อโรค ควรเลือกใช้เอทิลแอลกอฮอล์ก่อน ✓ เอทิลแอลกอฮอล์ ใช้ส ำหรับฆ่ำเชื้อโรค ✓ กรด กรดซิตริก กรดเปอร์อะซิติก กรดฟอร์มิก กรดแลคติก กรดออกซำลิก และกรดอะซิติก ✓ กรดไนตริก ส ำหรับอุปกรณ์และเครื่องมือผลิตนมเท่ำนั้น ✓ กรดฟอสฟอริก ส ำหรับอุปกรณ์และเครื่องมือผลิตนมเท่ำนั้น ✓ คลอรีนไดออกไซด์ ใช้ส ำหรับฆ่ำเชื้อโรคในอุปกรณ์ที่สัมผัสอำหำร ✓ แคลเซี่ยมไฮเปอร์ คลอไรท์ ใช้ส ำหรับฆ่ำเชื้อโรคในอุปกรณ์ที่สัมผัสอำหำร ✓ ไฮโดรเจนเปอร์ ให้ใช้ส ำหรับฆ่ำเชื้อ ✓ ออกไซด์ หินปูน ✓ เกลือของหินปูน แคลเซียมออกซี่คอลไรด์ แคลเซียมคลอไรด์ และแคลเซียมไฮดรอกไซด์ ✓ น้ ำปูนไลม์ ✓ ปูนขำว รวมทั้งปูนเผำโชยน้ ำ ส ำหรับใช้ในโรงงำนฆ่ำ/ช ำแหละสัตว์เท่ำนั้น ✓ โอโซน ✓ สำรสกัดจำกพืช สกัดด้วยวิธีธรรมชำติเท่ำนั้น ✓ สบู่โปแตสเซี่ยม (สบู่อ่อน) ✓ โซเดียมไฮดรอก ไซด์ (โซดำไฟ) ✓ โซเดียมคำร์บอเนต เฉพำะในโรงฆ่ำ/ช ำแหละสัตว์เท่ำนั้น ✓ โซเดียมไฮเปอร์ คลอไรท์ เช่น น้ ำยำฟอกขำว ใช้ส ำหรับฆ่ำเชื้อโรคในอุปกรณ์ที่สัมผัสอำหำร ควรใช้ ด้วยควำมระมัดระวัง ✓ สบู่โซเดียม (สบู่ แข็ง/ สบู่ก้อน) ✓ น้ ำ และไอน้ ำ ✓


46 เกณฑ์อ้างอิงการรับรองเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม แม่โจ้ พี จี เอส______________________________ฉบับที่ 1 ปี 2565 วันที่ปรับปรุง 15 กันยายน 65 ภาคผนวก 2 สารปรุงแต่งและสารช่วยแปรรูปส าหรับผลิตภัณฑ์อินทรีย์


Click to View FlipBook Version