The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

นาซ่าและการค้นพบ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ศุภกรณ์ หมายทวี, 2020-02-20 00:06:40

นาซ่าและการค้นพบ

นาซ่าและการค้นพบ

เปน็ แอง่ ทม่ี ิไดเ้ กดิ จากการปะทะใดๆ เทา่ ท่รี ู้จัก)
เราพบทะเลบนดวงจนั ทรม์ ากบนด้านใกล้ของดวงจนั ทร์
สว่ นทางด้านไกลมอี ยปู่ ระปรายเพยี งประมาณ 2% ของพนื้ ท่ีผวิ ทั้งหมดเทา่ น้นั
ขณะท่ที างดา้ นใกลม้ ีทะเลถึงประมาณ 31% ของพื้นทผี่ วิ
คำอธบิ ายทเ่ี ป็นไปไดม้ ากที่สดุ คอื การทบี่ รรยากาศด้านใกลข้ องดวงจันทร์มีแหล่งกำเนดิ ความร้อนม
ากกวา่ ซง่ึ พบได้จากแผนทภี่ มู ิเคมที ีส่ ร้างขนึ้ จากสเปกโตรมเิ ตอรร์ ังสแี กมมาของ
ลูนารโ์ ปรสเปกเตอร์

ภูเขาบนดวงจันทร์

บรเิ วณทมี่ สี ีอ่อนกว่าบนพื้นผิวดวงจันทรน์ ั้นเรยี กวา่ "ภเู ขา" (terrae)
หรือบางครง้ั ก็เรยี กงา่ ยๆ เพยี งวา่ "ทร่ี าบสูง"
เพราะมันเป็นบรเิ วณที่มคี วามสูงมากกว่าสว่ นท่ีเป็นทะเล
มแี นวเทอื กเขาทโี่ ดดเดน่ อยมู่ ากมายบนด้านใกลข้ องดวงจนั ทรต์ ามแนวขอบของแอง่ ปะทะขนาดให
ญ่ซงึ่ เตม็ ไปด้วยหนิ บะซอลต์ สันนษิ ฐานวา่ นเ่ี ปน็ ซากทีห่ ลงเหลอื อยขู่ องขอบนอกของแอง่ ปะทะ
ไม่มเี ทอื กเขาใดของดวงจนั ทร์ทเี่ ช่ือวา่ เกิดจากการเปลย่ี นแปลงของพ้นื ผิวดาวเหมือนอยา่ งการเกดิ ข
องภูเขาบนโลกเลย

จากภาพที่ถ่ายไวโ้ ดยปฏิบัตกิ ารคลเี มนไทน์ (Clementine mission) เมื่อปี ค.ศ. 1994
ทำให้พบว่าบรเิ วณเทอื กเขา 4 แหง่ ตามขอบของแอ่งเพยี รี (Peary crater) ซึ่งกว้าง 73 กโิ ลเมตร
ใกล้ข้วั เหนือของดวงจนั ทร์ น่าจะถูกแสงอาทิตยต์ ลอดช่วงวนั อนั ยาวนานบนดวงจนั ทร์
เหตทุ ี่ยอดเขาแหง่ แสงนริ ันดร์ (Peak of Eternal Light)
นี้ถูกแสงอาทิตยต์ ลอดเวลาน่าจะเป็นไปได้เพราะดวงจันทรม์ คี วามเอียงของแกนเม่อื เทยี บกับระนา
บสรุ ิยวถิ ีน้อยมาก ไมพ่ บว่ามบี รเิ วณทตี่ ้องแสงอย่างนริ ันดรล์ กั ษณะเดยี วกันนที้ บ่ี รเิ วณขั้วใตข้ องดาว
แมว้ ่าจะมีบรเิ วณขอบของแอง่ แชคเคลิ ตัน (Shackleton crater) ทส่ี ะท้อนแสงราว 80%
ของวันของดวงจันทร์ ผลสบื เนอ่ื งอกี ประการหนง่ึ จากการท่ีแกนเอยี งของดวงจนั ทรม์ ีคา่ น้อยมาก
คอื มยี า่ นท่อี ยใู่ นเขตมดื นิรนั ดรท์ บ่ี รเิ วณก้นแอ่งมากมายใกล้ขว้ั ดาว

~ 51 ~

แอ่งบนดวงจนั ทร์

พื้นผวิ ของดวงจนั ทร์สามารถสงั เกตตำแหน่งไดโ้ ดยดจู ากแอ่งปะทะ
ซง่ึ เกดิ ขนึ้ จากการทอี่ กุ กาบาตและดาวหางพุง่ เข้าชนพ้นื ผิวของดวงจันทร์
มีแอง่ อยเู่ ป็นจำนวนราวครึ่งล้านแห่งที่มีขนาดเสน้ ผ่านศูนยก์ ลางใหญ่กวา่ 1 กโิ ลเมตร
เนื่องจากลกั ษณะของแอ่งปะทะเกดิ ขึ้นในอตั ราเกือบคงที่
จำนวนแอ่งต่อหน่วยพ้ืนท่ีจึงสามารถใช้ในการประมาณอายุของพ้นื ผวิ ได้
โดยทดี่ วงจนั ทรไ์ มม่ ีช้นั บรรยากาศ ไม่มอี ากาศและกระบวนการทางธรณีวิทยา
จึงม่นั ใจไดว้ ่าแอง่ เหลา่ นีด้ ำรงคงอยใู่ นลักษณะดงั้ เดมิ ไมเ่ ปลยี่ นแปลงเม่ือเทียบกบั แอ่งบนโลก

แอง่ ทีใ่ หญ่ทส่ี ุดบนดวงจนั ทร์
และอาจจดั วา่ เปน็ แอ่งปะทะทใี่ หญ่ที่สดุ เท่าทีร่ จู้ กั กนั ในระบบสรุ ิยะ คอื แอ่งแอตเคนขั้วใต้ (South
Pole-Aitken basin) แอ่งน้อี ย่ทู างฝั่งดา้ นไกลของดวงจนั ทร์ ระหวา่ งขวั้ ใต้ของดาวกับแนวศูนย์สูตร
มีขนาดเสน้ ผ่านศนู ย์กลางราว 2,240 กโิ ลเมตร ลึก 13 กโิ ลเมตร.
สำหรับแอ่งปะทะที่โดดเดน่ ทางฝ่งั ดา้ นใกล้ของดวงจันทร์ ได้แก่ ทะเลอิมเบรยี ม ทะเลเซเรนเิ ททิส
ทะเลครเิ ซียม และทะเลเนคทารสิ

นำ้ บนดวงจันทร์

วนั ท่ี 9 ตุลาคม 2009 ครบ 100 วันการส่ง LCROSS ไปโคจรรอบดวงจนั ทร์
ทางนาซ่าก็ยงิ จรวดทตี่ ดิ ตง้ั อยู่บนดาวเทยี มพรอ้ มกบั ปล่อยใหต้ ัว ดาวเทียมตกกระทบพ้นื ดวงจนั ทร์
นาซา่ ก็แถลงผลวเิ คราะห์ข้อมลู จากเซ็นเซอร์บนดาวเทียมวา่ ฝุน่ ทก่ี ระจายขนึ้ มานั้นมีน้ำประมาณ
90 ลติ ร

การยนื ยันนไ้ี ดม้ าจากเซน็ เซอร์ NIR (Near Infrared) โดยอาศยั การวัดคา่ spectrum
ของแสงก่อนการชน และหลงั การชน เพอ่ื เทียบสดั ส่วนของพลงั งานในยา่ นต่างๆ พบวา่ ย่าน
300nm นัน้ มพี ลงั งานสงู ขนึ้ มาเปน็ การยนื ยนั ว่ามี hydroxyl อยใู่ นฝนุ่ ทล่ี อยขึ้นมานนั้

~ 52 ~

ก่อนหน้านข้ี อ้ มลู จากกล้องฮบั เบลิ เคยแสดงข้อมลู เบื้องตน้ วา่ อาจจะมไี ฮดรอกซลิ ในฝุ่นทลี่ อ
ยขนึ้ มา แต่ช่วงเวลาท่ีแถลงขา่ วนนั้ ยงั ไมม่ ีการยืนยัน

ขนาดหลุมทเี่ กดิ ขึน้ จากการพงุ่ ชนมีเสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางประมาณ 20-30 เมตร (60-100 ฟตุ )
สำหรับการสงั เกตการพวยฝุน่ ทท่ี างนาซ่าคาดวา่ นา่ จะใชอ้ ปุ กรณส์ มคั รเล่นทำ
ไดน้ ้ันกลบั ไมส่ ามารถทำได้เนอ่ื งจากสภาพอากาศ แต่ทางนาซา่ ก็ไดถ้ ่ายภาพไวแ้ ล้ว

ลกั ษณะทางกายภาพ

ดวงจนั ทรเ์ ป็นดาวเคราะหท์ ่ปี ระกอบด้วยองคป์ ระกอบอันหลากหลาย
ท่ีมคี วามแตกตา่ งทางเคมีภมู ิวิทยาอยา่ งชดั เจนระหวา่ งสว่ นของพ้ืนผิว สว่ นของเปลือก
และสว่ นของแกน เช่ือว่าลกั ษณะทางโครงสร้างเช่นนี้เป็นผลมาจากการกอ่ ตัวขนึ้ เปน็ ส่วนๆ
จากทะเลแมกมา่ ท่เี กดิ ข้ึนหลังจากการกำเนดิ ดาวเคราะหไ์ ม่นานนัก คือราว 4.5 พันลา้ นปที ่แี ลว้
พลงั งานที่ใชใ้ นการหลอมเหลวผวิ ชนั้ นอกของดวงจนั ทร์เชื่อว่าเกิดจากการปะทะครงั้ ใหญ่
ซ่งึ ใหเ้ กดิ ระบบการโคจรระหว่างโลกกับดวงจนั ทร์ขนึ้
โครงสร้างภายใน
สนามแรงโน้มถว่ ง
สนามแม่เหลก็
บรรยากาศ
อุณหภูมพิ ้นื ผิว

แตกตา่ งอยา่ งชดั เจนเนื่องจากบนดวงจันทรไ์ มม่ ีชนั้ บรรยากาศห่อหมุ้ เหมอื นบนโลก

~ 53 ~

กำเนิดและการเปล่ียนแปลงทางธรณวี ิทยา

การกอ่ ตัว

ในยคุ แรก ๆ คาดเดากันว่าดวงจนั ทรเ์ คยเปน็ ส่วนหน่ึงของเปลือกโลก
แต่เปลือกโลกส่วนน้นั ได้กระเด็นออกไปโดยมีสาเหตจุ ากแรงหนีศูนยก์ ลาง
ทงิ้ รอ่ งรอยเป็นแอง่ ของมหาสมทุ รขนาดใหญ่บนโลก อยา่ งไรกต็ ามแนวคิดนไี้ มน่ า่ จะเป็นไปได้
เพราะโลกจะตอ้ งหมนุ รอบตัวเองเรว็ มาก บางคนบอกวา่ ดวงจนั ทร์อาจก่อตัวขน้ึ ทอ่ี ื่น
แต่พลดั หลงมาอย่ใู กลโ้ ลกจึงถูกโลกจับไวเ้ ป็นดาวบริวาร

บางคนเสนอว่า โลกและดวงจันทรอ์ าจเกดิ ข้นึ มาพร้อม ๆ กนั ขณะท่ีระบบสรุ ิยะกอ่ ตัว
แต่ทฤษฎีนีไ้ มส่ ามารถอธบิ ายได้วา่ เหล็กในดวงจนั ทรพ์ รอ่ งไปไหน อกี ทฤษฎหี นงึ่ กล่าวว่า
ดวงจนั ทร์อาจก่อตวั จากการสะสมหลอมรวมของดาวเคราะห์น้อยขนาดเล็ก

ทฤษฎที ่ียอมรบั กนั มากทส่ี ุดในปัจจุบนั คือ ทฤษฎีการชนคร้งั ใหญ่
กลา่ วว่ามวี ตั ถุขนาดดาวอังคารโคจรมาชนโลก ในชว่ งทโี่ ลกกำลังก่อตวั ขน้ึ ใหม่ ๆ
ทำให้เนอ้ื โลกบางสว่ นทยี่ งั รอ้ นอยกู่ ระเด็นออกไป และรวมตวั กันเปน็ ดวงจันทร์

แรงไทดัลทำใหด้ วงจนั ทรม์ รี ูปร่างเป็นทรงรีอยเู่ ลก็ น้อย โดยมีแกนหลกั (แกนดา้ นยาว)
ของวงรีช้มี ายงั โลก

ทะเลแม็กมา่

การเปล่ียนแปลงทางธรณีวทิ ยา

หินดวงจันทร์

การเกดิ นำ้ ขนึ้ -น้ำลง
เกดิ จากแรงดงึ ดดู ตามกฎแรงดงึ ดดู ระหว่างของนวิ ตันท่กี ล่าวไวว้ า่ "วัตถุทกุ ชนิดในเอกภพ

จะสง่ แรงดึงดดู ระหวา่ งกัน โดยขนาดของแรงดึงดดู จะแปรผนั ตรงกบั ผลคณู ของมวลท้ังสอง

~ 54 ~

และแปรผกผนั กบั ระยะห่างระหวา่ งมวลยกกำลงั สอง"
ดงั น้ันเม่อื พจิ ารณาโลกแล้วพบว่าโลกไดร้ บั แรงดึงดูดจากดาวสองดวง คอื
ดวงอาทิตยท์ ีแ่ มอ้ ย่ไู กลแต่มีขนาดใหญ่ และดวงจันทรท์ ่แี ม้ขนาดเล็กแตอ่ ยใู่ กล้
โดยแตล่ ะตำแหน่งท่ดี วงจันทรเ์ คลอื่ นทีเ่ ปล่ยี นไปทำใหท้ ิศทางของแรงกระทำเปลย่ี นด้วย
สง่ ผลให้ของไหล(นำ้ และแกส๊ )บนโลก
เคล่ือนท่ีตามทิศทางของแรงดึงดดู ท่มี ากระทำต่อโลกเกดิ เปน็ ปรากฏการณ์ คือ น้ำข้ึนและนำ้ ลง
ซง่ึ นอกจากนำ้ บนผิวโลกแลว้ ดวงจนั ทร์ยงั มผี ลีตอ่ นำ้ ในรา่ งกายมนษุ ย์ กล่าวคอื
มีผลต่อเลอื ดและของเหลวในสมอง
ซ่ึงเป็นคำอธบิ ายการคลุ้มคล่ังของผู้มอี าการทางจติ ในชว่ งพระจันทรเ์ ตม็ ดวง

จันทรุปราคา

จันทรปุ ราคา เกดิ จากการท่ีดวงอาทิตย์ โลก และดวงจนั ทร์ เรยี งตวั ในแนวเดยี วกันตามลำดับ
ทำใหเ้ งาของโลก บดบงั แสงอาทิตยท์ จ่ี ะสอ่ งมายงั ดวงจนั ทร์
และทำใหด้ วงจนั ทร์คอ่ ยๆหายไปทง้ั หมด หรอื บางส่วน ก่อนจะกลบั มาปรากฏใหม่อีกคร้ัง
ซง่ึ จนั ทรปุ ราคาทดี่ วงจันทรจ์ ะหายไปทง้ั หมดเรียกวา่ จนั ทรปุ ราคาเตม็ ดวง
จันทรปุ ราคาทดี่ วงจันทรจ์ ะหายไปบางส่วนเรยี กว่า จันทรปุ ราคาบางสว่ น

โลก

โลก (บาลี: loka; อังกฤษ: world) มีความหมายโดยปริยายหมายถงึ หมู่มนษุ ย์
รวมทง้ั อารยธรรมมนษุ ยโ์ ดยรวมทงั้ หมด โดยเฉพาะในด้านประสบการณ์ ประวัติศาสตร์
หรือสภาพของมนุษย์โดยท่ัว ๆ ไป ท้งั น้ี คำวา่ ทวั่ โลก หมายถึงสถานทใี่ ด ๆ บนดาวเคราะหโ์ ลก

ในทางปรัชญามองโลกอยู่ 2 แบบ คือ

1. โลกที่เปน็ เอกภพทางกายภาพทง้ั หมด
2. โลกในแบบภววทิ ยา

ในทางเทววิทยา โลก หมายถงึ โลกท่ีเปน็ วตั ถหุ รอื ภพภมู ทิ ่ีเปน็ โลกยี ะ
ซง่ึ ตา่ งจากสภาพจิตวญิ ญาณ อตุ รภาพ หรือศกั ดสิ์ ทิ ธ์ิ

~ 55 ~

ดาวอังคาร

ดาวองั คาร (อังกฤษ: Mars) เป็นดาวเคราะห์ลำดบั ท่สี จ่ี ากดวงอาทิตย์
เปน็ ดาวเคราะหเ์ ล็กทสี่ ดุ อนั ดับทส่ี องในระบบสรุ ยิ ะรองจากดาวพธุ
ในภาษาองั กฤษได้ชอ่ื ตามเทพเจา้ แหง่ สงครามของโรมัน มกั ไดร้ ับขนานนาม "ดาวแดง"
เพราะมีออกไซด์ของเหลก็ ดาษด่ืนบนพ้ืนผิวทำใหม้ ีสอี อกแดงเรอ่ื
ดาวองั คารเป็นดาวเคราะห์หินท่ีมบี รรยากาศเบาบาง
มีลกั ษณะพ้นื ผวิ คล้ายคลึงกบั ทั้งหลุมอุกกาบาตบนดวงจันทร์ และภเู ขาไฟ หุบเขา ทะเลทราย
ตลอดจนพดิ นำ้ แข็งขว้ั ดาวทปี่ รากฏบนโลก
คาบการหมนุ รอบตัวเองและวัฏจกั รฤดูกาลของดาวองั คารกม็ ีความคลา้ ยคลงึ กับโลกซ่งึ ความเอยี งก่
อให้เกิดฤดกู าลต่าง ๆ ดาวอังคารเปน็ ที่ตงั้ ของโอลมิ ปสั มอนส์
ภเู ขาไฟใหญท่ ่สี ดุ บนดาวอังคารและสูงสดุ อนั ดับสองในระบบสรุ ยิ ะเทา่ ท่ีมกี ารค้นพบ
และเป็นที่ต้ังของเวลสม์ าริเนริส แคนยอนขนาดใหญ่อันดบั ต้น ๆ ในระบบสรุ ยิ ะ
แอ่งบอเรยี ลสิ ท่รี าบเรียบในซกี เหนอื ของดาวปกคลุมกวา่ รอ้ ยละ 40
ของพน้ื ท่ีท้ังหมดและอาจเป็นลกั ษณะการถูกอุกกาบาตชนครั้งใหญ่ ดาวองั คารมีดาวบรวิ ารสองดวง
คือ โฟบอสและดมี อสซ่ึงตา่ งก็มขี นาดเลก็ และมีรปู ร่างบิดเบย้ี ว
ท้ังคูอ่ าจเป็นดาวเคราะหน์ ้อยท่ถี ูกจับไว้ คล้ายกับทรอยของดาวองั คาร เชน่ 5261 ยูเรกา

กอ่ นหนา้ การบนิ ผ่านดาวอังคารทส่ี ำเรจ็ ครั้งแรกของ มารเิ นอร์ 4 เมอ่ื ปี 1965
หลายคนคาดวา่ มนี ้ำในรปู ของเหลวบนพ้ืนผวิ ดาวอังคาร
แนวคิดนอ้ี าศัยผลตา่ งเป็นคาบท่สี งั เกตได้ของรอยมดื และรอยสวา่ ง
โดยเฉพาะในละตจิ ูดข้วั ดาวซ่งึ ดเู ปน็ ทะเลและทวีป
บางคนแปลความรอยมดื ร้วิ ลายขนานเป็นร่องทดน้ำสำหรับนำ้ ในรปู ของเหลว ภายหลงั
มกี ารอธิบายวา่ ภูมปิ ระเทศเส้นตรงเหล่านัน้ เป็นภาพลวงตา
แม้ว่าหลกั ฐานทางธรณีวิทยาท่ีภารกิจไร้คนบังคบั รวบรวมช้วี ่า
ครั้งหนง่ึ ดาวอังคารเคยมนี ำ้ ปรมิ าณมากปกคลุมบนพน้ื ผวิ ณ ชว่ งใดชว่ งหน่งึ ในระยะต้น ๆ ของอายุ
ในปี 2005 เรดาร์เผยว่ามีนำ้ แขง็ น้ำ (water ice) ปริมาณมากข้วั ทั้งสองของดาว และทลี่ ะติจดู กลาง

~ 56 ~

ยานสำรวจภาคพื้นดาวองั คารสปริ ติ พบตวั อย่างสารประกอบเคมที ่ีมโี มเลกุลนำ้ เมอ่ื เดือนมีนาคม
2007 สว่ นลงจอดฟีนกิ ซ์ พบตัวอย่างน้ำแขง็ น้ำโดยตรงในดินส่วนตน้ื ของดาวอังคารเม่อื วนั ที่ 31
กรกฎาคม 2008

มยี านอวกาศทก่ี ำลงั ปฏิบตั งิ านอยเู่ จ็ดลำ ห้าลำอยใู่ นวงโคจร ได้แก่ 2001 มาร์สโอดิสซี
มาร์สเอ็กซเ์ พรส มาร์สรีคอนเนสเซนซ์ออรบ์ เิ ตอร์ เมเวน็ และมาร์สออร์บเิ ตอร์มชิ ชนั
และสองลำบนพื้นผิว ไดแ้ ก่ ยานสำรวจภาคพ้ืนดาวอังคารออปพอรท์ นู ิตี
และยานมารส์ ไซแอนซแ์ ลบอราทอรีคิวรอิ อซิตี การสังเกตโดย มารส์ รคี อนเนสเซนซ์ออรบ์ ิเตอร์
เปดิ เผยวา่ มคี วามเป็นไปได้ท่ีจะมนี ำ้ ไหลในชว่ งเดอื นท่ีรอ้ นทีส่ ดุ บนดาวอังคาร ในปี 2013
ยานคิวรอิ อซติ ี ของนาซาคน้ พบวา่ ดินของดาวอังคารมนี ำ้ เปน็ องคป์ ระกอบระหว่างรอ้ ยละ 1.5 ถงึ
3 โดยมวล แม้วา่ นำ้ นัน้ จะติดอยกู่ บั สารประกอบอืน่ ทำให้ไมส่ ามารถเขา้ ถึงได้โดยอสิ ระ

กำลังมีการสืบคน้ เพอ่ื ประเมินศักยภาพความสามารถอยูอ่ าศัยได้ในอดตี ของดาวอังคาร
ตลอดจนความเปน็ ไปไดท้ จี่ ะมสี ่ิงมชี วี ิตหลงเหลืออยู่ มีการสืบค้นบรเิ วณน้นั โดยส่วนลงจอด ไวกงิ
โรเวอร์ สปริ ติ และออปพอร์ทนู ติ ี สว่ นลงจอดฟนี กิ ซ์ และโรเวอร์ คิวรอิ อซิตี
มกี ารวางแผนภารกจิ ทางชวี ดาราศาสตรไ์ วแ้ ลว้ ซึง่ รวม มาร์ส 2020 และเอก็ โซมารส์ โรเวอร์

ดาวองั คารสามารถมองเหน็ ไดด้ ว้ ยตาเปลา่ จากโลกโดยงา่ ยซ่ึงจะปรากฏใหเ้ หน็ เป็นสอี อกแด
ง มคี วามส่องสวา่ งปรากฏไดถ้ งึ −2.91 ซึง่ เปน็ รองเพยี งดาวพฤหสั บดี ดาวศุกร์ ดวงจันทร์
และดวงอาทิตย์
กลอ้ งโทรทรรศน์ภาคพ้นื ดินโดยทว่ั ไปมีขีดจำกดั การมองเห็นรายละเอียดของภูมิประเทศขนาดประ
มาณ 300 กโิ ลเมตรเมื่อโลกและดาวอังคารเข้าใกล้กนั มากทสี่ ุดอนั เปน็ ผลจากบรรยากาศของโลก

ลักษณะทางกายภาพ

ดาวองั คารมีขนาดเส้นผ่าศูนยก์ ลางประมาณครึง่ หน่ึงของโลก
และมีพื้นที่ผิวนอ้ ยกว่าพื้นทผ่ี วิ ดินทัง้ หมดของโลกรวมกันเพียงเล็กนอ้ ย
ดาวองั คารมีความหนาแน่นน้อยกวา่ โลก มีปริมาตรประมาณร้อยละ 15 ของโลก
และมมี วลประมาณร้อยละ 11 ของมวลของโลก
ลักษณะปรากฏสีแดงปนสม้ ของพนื้ ผวิ ดาวอังคารมสี าเหตมุ าจากไอเอริ ์น(III) ออกไซด์

~ 57 ~

หรอื สนิมเหลก็ อาจมองเหน็ คล้ายกับบตั เตอรส์ กอตช์ และสีอ่นื ๆ
ทปี่ รากฏทัว่ ไปตามพืน้ ผวิ นั้นมีได้ท้งั สที อง สีน้ำตาล สีนำ้ ตาลอ่อน
หรอื สอี อกเขียวขึ้นอยู่กบั แร่องค์ประกอบ

โลกเทยี บกับดาวองั คารโลกเทียบกับดาวองั คาร

โครงสรา้ งภายใน

ดาวองั คารมกี ารแยกช้นั องคป์ ระกอบเชน่ เดยี วกับโลก
โดยแบง่ เปน็ สว่ นแก่นโลหะความหนาแนน่ สงู ซึ่งถกู หอ่ หุม้ อยู่ภายใต้สว่ นประกอบอ่ืน ๆ
ที่มคี วามหนาแน่นนอ้ ยกว่า
แบบจำลองปจั จุบนั ของโครงสรา้ งภายในแสดงรศั มีอาณาบรเิ วณของแกน่ ดาวอยู่ทปี่ ระมาณ
1,794±65 กิโลเมตร มอี งคป์ ระกอบหลกั เปน็ เหลก็ และนกิ เกลิ
โดยมีกำมะถนั รวมอยู่ด้วยประมาณร้อยละ 16–17คาดว่าแก่นไอเอริ ์น(II)
ซลั ไฟด์นั้นมีธาตเุ บาเปน็ องคป์ ระกอบมากกวา่ แกน่ ของโลกถงึ สองเท่า
แก่นดาวล้อมรอบไปดว้ ยเนอ้ื ดาวซลิ ิเกตซง่ึ ประกอบขน้ึ เปน็ โครงสรา้ งทางธรณสี ณั ฐานและภเู ขาไฟต่
าง ๆ บนดาวเคราะห์ซึ่งในปจั จบุ ันเหมือนจะสงบนิง่ นอกเหนือจากซลิ ิกอนและออกซิเจน
ธาตุทีม่ มี ากทสี่ ดุ ในเปลือกผวิ ของดาวองั คารได้แก่ เหล็ก แมกนีเซยี ม อะลูมเิ นียม แคลเซยี ม
และโพแทสเซียม ความหนาเฉลย่ี ของเปลอื กดาวอย่ทู ่ีประมาณ 50 กโิ ลเมตร
มคี วามหนาสูงสุดทป่ี ระมาณ 125 กโิ ลเมตรสว่ นเปลอื กโลกซ่งึ มีความหนาเฉลีย่ 40 กิโลเมตร

~ 58 ~

ธรณีวทิ ยาพน้ื ผวิ

ดาวองั คารเปน็ ดาวเคราะห์หินประกอบขนึ้ จากแรช่ นิดตา่ ง ๆ ท่มี ซี ลิ กิ อน ออกซเิ จน โลหะ
ตลอดจนธาตุอนื่ ๆ อีกหลายชนดิ เป็นองคป์ ระกอบรวมกันเขา้ เปน็ หนิ
พนื้ ผิวของดาวองั คารมีหินบะซอลต์ชนดิ โทเลอทิ กิ เป็นองค์ประกอบหลกั
แม้วา่ หลายส่วนเปน็ หนิ ชนดิ ท่มี ีซลิ กิ าสูงมากกวา่ หนิ บะซอลตท์ ว่ั ไปและอาจมคี วามคลา้ ยคลึงกบั หนิ
แอนดไี ซต์บนโลกหรอื แก้วซิลเิ กต
ภมู ิภาคทมี่ ีอัตราสว่ นสะทอ้ นต่ำแสดงการมเี ฟลด์สปาร์กลมุ่ เพลจโิ อเคลสหนาแนน่
ในขณะที่ภมู ภิ าคท่ีมอี ัตราส่วนสะทอ้ นต่ำทางตอนเหนือเผยให้เห็นการมแี ผ่นซลิ เิ กตและแก้วชนิดทม่ี ี
ซลิ ิกอนสูงด้วยความหนาแนน่ สงู กวา่ ปกติ
ในหลายสว่ นของภมู ภิ าคทีร่ าบสงู ตอนใต้ตรวจพบไพรอกซนี ชนิดแคลเซยี มสูงรวมอยเู่ ป็นปรมิ าณมา
ก นอกจากน้นั ยงั มีการพบฮมี าไทต์และโอลวิ ีนหนาแน่นในภมู ภิ าคจำเพาะบางแห่ง
พน้ื ทผ่ี ิวสว่ นใหญ่ถกู ปกคลมุ ด้วยชน้ั หนาของเมด็ ฝ่นุ ไอเอิร์น(III) ออกไซดล์ ะเอยี ด

ถึงแม้ว่าดาวองั คารจะไม่มหี ลักฐานของโครงสร้างสนามแมเ่ หลก็ ระดบั ครอบคลุมทั่วท้งั ดาวใ
นปัจจุบันแต่ผลการสังเกตแสดงใหท้ ราบวา่ หลายส่วนของเปลือกดาวถกู กระทำด้วยอำนาจแม่เหลก็
และการพลกิ ผันสลับข้ัวของสนามไดโพลเคยปรากฏมาแลว้ ในอดตี
เพราะในทางบรรพวิทยาแม่เหลก็
แร่ท่มี ีความไวต่อแรงแมเ่ หลก็ น้นั ยอ่ มแสดงคณุ สมบตั เิ ช่นเดยี วกนั กบั แถบสลบั ท่ีพบบนพนื้ มหาสมุท
รของโลก ทฤษฎีหนง่ึ ทมี่ ีการตพี ิมพ์ในปี 1999 และมีการตรวจสอบอีกครัง้ ในเดอื นตุลาคม ปี 2005
(โดยอาศยั ข้อมลู จากมารส์ โกลบอลเซอรเ์ วเยอร์) ช้วี ่าแนวแถบต่าง ๆ
ท่เี กดิ ขนึ้ แสดงถึงกจิ กรรมการแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาคบนดาวองั คารเมื่อเวลากว่าส่ีพนั ล้านปกี ่อน
ก่อนท่ไี ดนาโมของดาวเคราะหจ์ ะหยุดลงเป็นผลใหส้ นามแมเ่ หลก็ ของดาวจางหายไป

ในช่วงการกอ่ กำเนดิ ระบบสุรยิ ะ
ดาวองั คารได้ถือกำเนดิ ขึน้ จากผลของกระบวนการสมุ่ ของมวลทพ่ี อกพูนข้ึนแยกออกจากจานดาวเค

~ 59 ~

ราะห์ก่อนเกดิ ทโ่ี คจรรอบดวงอาทติ ย์
ดาวองั คารจงึ มีคณุ ลักษณะทางเคมีท่ีจำเพาะพเิ ศษหลายประการตามตำแหน่งในระบบสุรยิ ะ
ธาตตุ ่าง ๆ ท่มี จี ุดเดอื ดค่อนข้างตำ่ ตัวอย่างเช่นคลอรนี ฟอสฟอรสั และกำมะถนั
จะพบเป็นปกตบิ นดาวอังคารในระดบั ทม่ี ากกว่าโลก
เป็นไปได้วา่ ธาตเุ หลา่ นถ้ี ูกขบั ออกมาจากบรเิ วณใกลด้ วงอาทิตย์โดยลมสรุ ิยะอันทรงพลังในชว่ งตน้ ข
องอายขุ ัย

หลงั การก่อกำเนดิ ดาวเคราะหแ์ ลว้ ดาวเคราะห์ท้ังหมดลว้ นเผชญิ
"การระดมชนหนักคร้ังหลัง" กว่ารอ้ ยละ 60
ของพน้ื ทีผ่ ิวดาวอังคารแสดงบันทกึ เหตกุ ารณก์ ารระดมชนจากยุคนนั้
ในขณะท่ีเป็นไปไดว้ า่ พน้ื ทผี่ วิ สว่ นทีเ่ หลืออกี มากมายวางตัวอยูภ่ ายใตแ้ อ่งขนาดมโหฬารซ่งึ กเ็ กิดข้ึน
จากเหตุการณด์ ังกล่าว
มหี ลกั ฐานของแอง่ พงุ่ ชนขนาดมหมึ าในบรเิ วณซกี โลกเหนอื ของดาวอังคารซงึ่ แผข่ ยายกว้างราว
8,500 กโิ ลเมตร และยาวร่วม 10,600 กิโลเมตร หรือมขี นาดใหญ่เปน็ สเี่ ทา่ ของแอ่งไอตเ์ ค็น-
ขัว้ ใตข้ องดวงจันทร์ ทำใหเ้ ป็นแอ่งจากการพงุ่ ชนทม่ี ขี นาดใหญ่ท่ีสดุ เทา่ ที่มกี ารค้นพบ
ทฤษฎีน้เี สนอว่าดาวองั คารถกู พงุ่ ชนโดยวตั ถุขนาดเท่าดาวพลโู ตเมื่อประมาณสี่พันล้านปกี ่อน
และคาดว่าเหตกุ ารณน์ ้ีเองเปน็ สาเหตุทำใหด้ าวองั คารมซี ีกดาวแตกตา่ งกันเป็นสองลกั ษณะอยา่ งชดั
เจน เกิดแอ่งบอเรียลสิ อนั ราบเรยี บปกคลมุ พนื้ ทก่ี วา่ รอ้ ยละ 40 ทางซีกเหนือของดาวเคราะห์

ภาพรงั สรรคโ์ ดยศลิ ปนิ แสดงภาพของดาวองั คารวา่ นา่ จะเปน็ อยา่ งไรเมอ่ื สีพ่ นั ลา้ นปกี ่อน

~ 60 ~

ประวตั ศิ าสตร์ธรณีวิทยาของดาวองั คารสามารถแบง่ ออกไดเ้ ปน็ หลายชว่ งเวลา
แต่สำหรับช่วงเวลาหลกั แลว้ สามารถแบง่ ไดเ้ ปน็ สามยุคด้วยกัน

● ยคุ โนอาเคียน (ตงั้ ชื่อตาม โนอาคสิ เทรร์ า หรอื แผน่ ดินของโนอาห์):
เป็นช่วงกำเนิดพน้ื ผิวดาวองั คารทเี่ ก่าแก่ท่สี ดุ เท่าทีป่ รากฏ
อยู่ในช่วงเวลาประมาณ 4.5 พนั ลา้ นปีก่อนจนถึง 3.5 พนั ล้านปที ีผ่ า่ นมา
พน้ื ผวิ ยคุ โนอาเคยี นเตม็ ไปด้วยรว้ิ รอยจากการพุ่งชนขนาดใหญค่ รั้งแล้วครัง้ เล่า
สว่ นโปง่ ธารซ์ สิ
ทรี่ าบสูงภูเขาไฟท่คี าดวา่ เกิดข้ึนในระหวา่ งยคุ น้พี รอ้ มด้วยการทว่ มทน้ อยา่ งกว้าง
ขวางของนำ้ ของเหลวในชว่ งปลายยคุ

● ยคุ เฮสเพยี เรยี น (ตงั้ ข่ือตาม เฮสเพยี เรียนเพลนมั หรือท่ีราบสงู ตะวนั ตก): ราว
3.5 พนั ล้านปกี อ่ น จนถึงช่วงเวลาประมาณ 3.3 ถงึ 2.9 พนั ล้านปที ่ีผ่านมา
เปน็ ยคุ ที่มรี อยปรากฏชดั เจนของการเกิดทร่ี าบลาวาขนาดใหญ่

● ยคุ แอมะโซเนียน (ตัง้ ขอ่ื ตาม แอมะโซนสิ เพลนเิ ชยี หรอื ท่ีราบแอมะซอน):
นบั ตง้ั แต่ 3.3 ถึง 2.9 พันลา้ นปีก่อนจนถึงปัจจบุ นั
พ้นิ ผวิ ยุคนี้มีหลุมจากการพงุ่ ชนนอ้ ยแต่คอ่ นข้างหลากหลาย
ภูเขาไฟโอลิมปสั เกดิ ข้นึ ในยคุ น้รี ่วมไปกบั การไหลของลาวาอีกหลายท่บี นดาวอังค
าร

กัมมนั ตภาพธรณวี ิทยาบางอยา่ งยงั คงเกดิ ข้ึนบนดาวองั คาร
ท่หี บุ เขาอะธาบาสกามีร่องรอยการไหลของลาวาในลกั ษณะเปน็ แผน่ อายุกวา่ 200 ล้านปี
ปรากฏร่องรอยการไหลของนำ้ ในพ้ืนผวิ ท่ามกลางรอยเลื่อนซึ่งเรียกว่ารอ่ งแยกเซอรเ์ บอรสั ด้วยอายุ
นอ้ ยกวา่ 20 ล้านปี บง่ ชี้ว่าเปน็ การพลุ่งข้นึ ของภเู ขาไฟเม่อื ไม่นานมาน้เี ชน่ กนั วนั ที่ 19 กมุ ภาพนั ธ์
2008
ภาพจากยานมารส์ รีคอนเนสเซนซอ์ อรบ์ เิ ตอร์แสดงให้เห็นหลกั ฐานของหมิ ะที่พงั ทลายลงมาจากหน้
าผาความสงู 700 เมตร

~ 61 ~

ดนิ

ฝุ่นทม่ี ีซิลกิ าปรมิ าณสงู เผยใหเ้ ห็นโดยยานสำรวจดาวองั คารสปิริต
ขอ้ มูลจากยานส่วนลงจอด ฟีนิกซ์

ทสี่ ง่ กลับมาแสดงว่าดนิ ดาวอังคารมคี วามเปน็ ดา่ งเล็กนอ้ ยและประกอบดว้ ยธาตุต่าง ๆ อาทเิ ช่น
แมกนเี ซยี ม โซเดยี ม โพแทสเซยี ม และคลอรนี
สารอาหารเหล่านส้ี ามารถพบไดท้ ว่ั ไปในสวนบนโลกและต่างกจ็ ำเปน็ ตอ่ การเจริญเตบิ โตของพชื
การทดสอบโดนยานสำรวจเผยวา่ ดนิ ดาวอังคารมสี มบตั ิเป็นดา่ งดว้ ยคา่ พเี อชที่ 7.7
และมเี กลอื เปอรค์ ลอเรตอยรู่ าวร้อยละ 0.6

มีภูมิประเทศทีเ่ ปน็ เสน้ พาดขวางอยทู่ ว่ั ไปบนดาวอังคารและทีเ่ กดิ ขึ้นใหม่ ๆ
ปรากฏบอ่ ยครงั้ ในบริเวณสว่ นลาดท่ีสูงชันของหลุมตกกระทบ ร่องลกึ และหุบเหว
รอยเส้นพาดจะมสี ีคลำ้ ในช่วงแรกแล้วคอ่ ย ๆ จางลงเมื่อเวลาผา่ นไป
ในบางคร้งั รอยเสน้ เริม่ ตน้ ในพืน้ ทเี่ ล็ก ๆ ก่อนทีจ่ ะแผข่ ยายกวา้ งออกไปได้เป็นหลายรอ้ ยเมตร
สามารถมองเหน็ ได้ตามขอบของหนิ ขนาดใหญ่และเครื่องกีดขวางต่าง ๆ ตามเสน้ ทางอกี ดว้ ย

~ 62 ~

ทฤษฎที ่ีไดร้ บั การยอมรบั โดยทว่ั ไปกลา่ วว่ารอยเสน้ เหล่าน้ันเป็นดนิ ชนั้ ล่างซึง่ มีสคี ลำ้ แต่ถูกเปดิ ออก
มาใหเ้ ห็นจากการพงั ทลายของฝ่นุ สจี างทางดา้ นบนหรอื โดยพายฝุ ่นุ
มกี ารเสนอคำอธิบายไปอีกหลายแนวทาง
บางสว่ นอธบิ ายวา่ เก่ียวข้องกบั นำ้ หรอื แมก้ ระทงั่ วา่ เป็นการเจริญเตบิ โตของส่ิงมชี ีวติ

อุทกวทิ ยา

น้ำของเหลวน้นั ไมส่ ามารถดำรงอยไู่ ด้บนดาวอังคารเนือ่ งจากความกดอากาศทต่ี ่ำมากเพยี ง
แค่หนง่ึ ในรอ้ ยของโลก เวน้ แตพ่ ้ืนท่ีล่มุ ต่ำบางบรเิ วณในชว่ งเวลาเพยี งสน้ั ๆ
แผ่นน้ำแขง็ ท่ีข้ัวดาวทง้ั คมู่ ีสภาพทพ่ี อจะให้นำ้ ในปริมาณมาก ๆ ได้
เฉพาะปรมิ าตรของนำ้ แข็งข้ัวใต้ของดาวหากละลายลงก็จะใหน้ ำ้ เพยี งพอสำหรับปกคลุมพ้ืนผวิ ทงั้ ห
มดของดาวเคราะหไ์ ด้ด้วยความลกึ 11 เมตร
ชน้ั ดินเยือกแข็งคงตัวแผข่ ยายจากข้วั ดาวลงมาจนถงึ ประมาณละติจดู ท่ี 60 องศา
คาดว่าน้ำแข็งปริมาณมากถูกจบั เอาไว้ภายในไครโอสเฟยี ร์หนาของดาวองั คาร ข้อมลู เรดารจ์ าก
มาร์สเอ็กซ์เพรส และ มารส์ รคี อนเนสเซนซ์ออร์บเิ ตอร์ เมอ่ื กรกฎาคม 2005
แสดงนำ้ แข็งปรมิ าณมหาศาลทข่ี ้ัวทงั้ สองของดาว และในเดือนพฤศจกิ ายน 2008
พบในบรเิ วณละตจิ ดู กลาง ยานส่วนลงจอด ฟีนกิ ซ์

พบตวั อย่างนำ้ แขง็ โดยตรงในดนิ สว่ นต้นื ของดาวอังคารเมอื่ วนั ท่ี 31 กรกฎาคม 2008

~ 63 ~

ลักษณะทางธรณสี ณั ฐานทมี่ องเหน็ บนดาวองั คารบ่งชอี้ ยา่ งหนักแน่นว่ามีน้ำของเหลวปราก
ฏบนพน้ื ผิวดาวเคราะห์
เสน้ ทางคดเคีย้ วขนาดใหญท่ โี่ อบคลุมพ้นื ดนิ ท่ีถกู กดั เซาะหรอื ช่องทางการไหลออกนั้นตดั ผา่ นพ้นื ผิว
โดยรอบกว่า 25 แห่ง
คาดว่ารอ่ งรอยเหล่านเี้ ป็นบนั ทกึ ประวตั ศิ าสตร์ของกระบวนการกดั เซาะระหว่างทม่ี กี ารปลดปลอ่ ย
น้ำอยา่ งถลม่ ทลายออกมาจากชน้ั หินอมุ้ นำ้ ใตพ้ ้ืนผิว
อยา่ งไรกต็ ามโครงสรา้ งบางส่วนถูกตงั้ สมมตฐิ านวา่ เป็นผลมาจากการกระทำของธารน้ำแข็งหรือลาว
า ตัวอย่างหน่งึ ทม่ี ีขนาดใหญค่ อื มาดดิมวลั ลสิ ซง่ึ มีความยาว 700 กิโลเมตร (430 ไมล์)
และมขี นาดใหญ่มากย่งิ กวา่ แกรนดแ์ คนยอนด้วยความกว้าง 20 กโิ ลเมตร (12 ไมล)์ และความลกึ 2
กโิ ลเมตร (1.2 ไมล)์ ในบางท้องท่ี
คาดวา่ ภูมปิ ระเทศถกู กัดสร้างข้นึ มาโดยการไหลของนำ้ ตงั้ แต่ช่วงตน้ ๆ
ของประวัตศิ าสตรด์ าวองั คาร
ช่องทางการไหลเหล่านท้ี ่มี อี ายนุ อ้ ยทสี่ ดุ คาดว่าเพ่งิ จะเกดิ ขึ้นเมือ่ เวลาเพียงไม่กล่ี ้านปที ี่แล้ว
สำหรับทีอ่ ืน่ ๆ โดยเฉพาะพืน้ ทที่ ี่เก่าแกท่ ่สี ดุ บนผิวดาวอังคาร
โครงสร้างระดบั เลก็ ย่อยตลอดจนเครือข่ายหบุ เขาที่กระจายเปน็ ก่ิงกา้ นสาขาล้วนแผ่ขยายพาดขวาง
เป็นสัดสว่ นอยา่ งมนี ัยสำคญั ในภาคพืน้ ภูมิประเทศ
รูปลักษณะของหบุ เขาเหล่านรี้ วมท้งั การกระจายตัวแสดงนยั อยา่ งเดน่ ชดั ว่าถกู เซาะสรา้ งโดยการไห
ลบ่าซงึ่ เป็นผลลพั ธ์มาจากฝนหรอื หมิ ะทีต่ กลงมาเมอื่ ยคุ แรกของประวัตศิ าสตรด์ าวอังคาร
การไหลของน้ำใตผ้ ิวดนิ และการผดุ เซาะของนำ้ บาดาลอาจแสดงบทบาทย่อยสำคญั ในหลายเครอื ขา่
ย แต่หยาดนำ้ ฟ้านา่ จะเปน็ สาเหตหุ ลกั ของรวิ้ ร่องเกอื บทัง้ หมดในแตล่ ะกรณี

รว่ มไปกบั ผนังของหลมุ อกุ กาบาตหรือหุบเขาลกึ
มลี ักษณะภมู ปิ ระเทศนบั พันทปี่ รากฏคล้ายคลึงกบั โตรกห้วยบนพ้นื ดนิ หว้ ยต่าง ๆ
น้มี กั มีอย่ใู นพื้นทีร่ าบสูงทางซีกใตข้ องดาวและเผชิญกับเสน้ ศนู ยส์ ตู ร
ทั้งหมดชไี้ ปในแนวขว้ั ดาวทีล่ ะติจดู 30 องศา
นักวิจยั จำนวนหน่งึ เสนอว่ากระบวนการก่อกำเนดิ เกย่ี วข้องกบั นำ้ ของเหลวซ่งึ อาจมาจากนำ้ แข็งทลี่
ะลาย

~ 64 ~

แม้วา่ จะมีอีกหลายคนแย้งว่ากลไกในการเกดิ เกยี่ วขอ้ งกบั คารบ์ อนไดออกไซด์เยือกแขง็ หรือการเคล่ื
อนท่ขี องฝุ่นแห้ง
ไมป่ รากฏวา่ มโี ตรกห้วยท่ถี กู กรอ่ นทำลายบางส่วนโดยการผกุ รอ่ นตามสภาพอากาศ
และกส็ ังเกตไม่พบในหลมุ จากการพ่งุ ชนท้ังหลายท่มี คี วามเดน่ ชัด
จึงเปน็ เคร่ืองช้ีว่าภูมิประเทศดังกลา่ วยงั มีอายุน้อยและอาจเป็นได้วา่ ยงั คงเกดิ ขน้ึ ในปัจจบุ นั

ลกั ษณะทางธรณีวิทยาอนื่ อกี หลายประการ เช่น ดินดอนสามเหลยี่ มปากแม่นำ้
และตะกอนน้ำพารูปพดั ทถ่ี กู เก็บรกั ษาไวใ้ นหลมุ อุกกาบาตต่าง ๆ
เปน็ พยานหลกั ฐานทเี่ สรมิ ใหท้ ราบว่ามีสภาพแวดลอ้ มอุน่ -ชนื้ ณ
บางชว่ งเวลาหรือหลายชว่ งเวลาในประวตั ศิ าสตร์ยคุ ต้นของดาวองั คาร
สภาวะแวดล้อมเชน่ นเ้ี ป็นส่ิงที่จำเป็นสำหรับการเกดิ มีอยา่ งกว้างขวางของทะเลสาบหลุมอุกกาบาต
ท่ีขา้ มผ่านเป็นสัดสว่ นขนาดใหญบ่ นพ้นื ผวิ และนบั ว่ายงั เปน็ หลกั ฐานอิสระทงั้ ในทางแร่วิทยา
ตะกอนวิทยา และธรณสี ณั ฐานวทิ ยาอกี ด้วย

สว่ นประกอบของหนิ บรเิ วณ "เยลโลไนฟ์เบย"์ -
หินเวนมีแคลเซียมและกำมะถันมากกวา่ ดินทถ่ี ูกพามา - ผลจากเอพีเอกซ์เอส - คิวริออซิตี
(มีนาคม 2013)

หลกั ฐานนอกเหนือจากนที้ ย่ี ืนยนั การท่คี รัง้ หนึ่งเคยมนี ำ้ ของเหลวปรากฏบนผวิ ดาวองั คารม
าจากการตรวจพบแร่ท่ีมคี วามจำเพาะ เชน่ ฮมี าไทต์ และเกอไทต์

~ 65 ~

ซ่ึงทงั้ คบู่ างครัง้ จะกอ่ ตวั ในท่ีท่ีมีน้ำ ในปี 2004 ยานออปพอร์ทูนิตี
ตรวจพบแร่จาโรไซตซ์ ึ่งกอ่ ตัวข้นึ เฉพาะเมอื่ มนี ำ้ ในสภาพเป็นกรด
เปน็ เครื่องพิสูจนว์ า่ คร้งั หนึง่ เคยมนี ้ำอยบู่ นดาวอังคาร
หลักฐานเพ่มิ เติมเกี่ยวกบั น้ำของเหลวเมอื่ ไมน่ านมานีม้ าจากการค้นพบแร่ยิปซมั บนพ้ืนดินโดยยาน
สำรวจออปพอรท์ นู ิตขี องนาซา เมอ่ื ธันวาคม 2011 นอกจากน้ี ฟรานซิส แมคคับบิน
หวั หนา้ ฝ่ายศึกษา นักวิทยาศาสตร์ดาวเคราะหท์ ม่ี หาวทิ ยาลัยนวิ เมก็ ซิโกในแอลบเู คอรค์ ี
ตรวจสอบลกั ษณะไฮดรอกไซดใ์ นผลึกแรจ่ ากดาวอังคาร
แถลงวา่ น้ำในแมนเทิลส่วนบนของดาวองั คารมปี ริมาณเท่ากับหรือมากกวา่ ที่โลกมีอยทู่ ่รี ะดับ 50–
300 สว่ นในล้านสว่ น ซ่งึ มากเพียงพอที่จะครอบคลมุ พนื้ ผิวทั้งหมดของดาวไดด้ ้วยความลึก 200 ถึง
1,000 เมตร

เมื่อวนั ท่ี 18 มนี าคม 2013
นาซารายงานหลักฐานจากเคร่ืองตรวจวัดบนยานสำรวจควิ รอิ อซติ ี
ของแร่ทเ่ี กิดข้ึนโดยมีน้ำเปน็ องคป์ ระกอบ อยา่ งเชน่ ไฮเดรตของแคลเซยี มซลั เฟต
ในตัวอย่างหนิ หลายชนิดรวมทงั้ ช้ินสว่ นทแ่ี ตกออกมาของหิน "ทินทนิ า" และหนิ "ซัตตันอินเลียร์"
เชน่ เดยี วกบั เวนและโนดลู ในหนิ อน่ื ๆ เชน่ หิน "นอร"์ และหนิ "เวอนกิ เก"
การวิเคราะหโ์ ดยใช้เครือ่ งมอื ดเี อเอน็ ของยานสำรวจภาคพื้นให้หลักฐานเร่ืองนำ้ ใตผ้ ิวดินวา่ มีปรมิ า
ณกวา่ ร้อยละ 4 ลึกลงไปจนถงึ ระดบั 60 เซนติเมตร
ในเส้นทางเคล่อื นผ่านของยานจากตำแหน่งจดุ ลงจอดแบรดบูรี ไปจนถึงพ้นื ที่ เยลโลไนฟ์เบย์
ในบริเวณภมู ิภาคเกลเนก

นักวจิ ยั บางส่วนเชอื่ วา่ สว่ นใหญข่ องพนิ้ ทร่ี าบตำ่ ทางตอนเหนอื ของดาวเคยถกู มหาสมทุ รปก
คลุมดว้ ยความลกึ หลายรอ้ ยเมตร ท้ังน้ยี ังอยใู่ นระหว่างการโตแ้ ยง้ ในเดือนมนี าคม 2015
นักวิทยาศาสตรร์ ะบุว่ามหาสมทุ รดงั กล่าวอาจมีขนาดราวมหาสมทุ รอารก์ ติกของโลก
การวินิจฉัยนไี้ ดม้ าจากการประเมนิ อตั ราสว่ นระหว่างน้ำและดิวเทอเรยี มในบรรยากาศปจั จบุ นั ของ
ดาวอังคารเทยี บกันกับอัตราสว่ นทพ่ี บบนโลก
ปริมาณดิวเทอเรียมทพ่ี บบนดาวองั คารมีมากกว่าทด่ี ำรงอยู่บนโลกถงึ แปดเท่า
บ่งช้วี า่ ดาวองั คารครัง้ โบราณกาลมีน้ำเป็นปรมิ าณมากอย่างมนี ยั สำคัญ

~ 66 ~

ผลสำรวจจากยานควิ รอิ อซติ ี
มาพบในภายหลงั วา่ มดี ิวเทอเรยี มในอัตราสว่ นสงู ในหลมุ อุกกาบาตเกล
อยา่ งไรกต็ ามคา่ ท่ไี ดย้ ังไมส่ งู พอทจ่ี ะสนับสนนุ ว่าเคยมมี หาสมุทรอยู่ นกั วทิ ยาศาสตร์รายอน่ื ๆ
เตอื นวา่ การศกึ ษาใหม่นยี้ งั ไมไ่ ดร้ บั การยนื ยนั
และชป้ี ระเด็นว่าแบบจำลองภมู ิอากาศดาวอังคารยังไม่ได้แสดงว่าดาวเคราะหม์ ีความอบอนุ่ เพยี งพอ
ในอดตี ท่ีผา่ นมาทจี่ ะเอ้อื ใหน้ ้ำคงอยใู่ นรูปของเหลวได้

~ 67 ~

~ 68 ~


Click to View FlipBook Version