The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

นาซ่าและการค้นพบ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ศุภกรณ์ หมายทวี, 2020-02-20 00:06:40

นาซ่าและการค้นพบ

นาซ่าและการค้นพบ

นาซ่าและการคน้ พบ

~1~

คำนำ

หนงั สือนาซ่าและการค้นพบน้ีจดั ทำขึน้ เพ่อื ให้ได้อ่านเกีย่ วกับการค้นพบของ
นาซ่า

หวงั ว่าหนังสือนาซา่ และการคน้ พบน้ีจะเป็นประโยชน์กับผู้อ่าน หรอื นกั เรยี น
นกั ศึกษา ท่กี ำลังหาข้อมลู เรือ่ งนี้อยู่

ผจู้ ดั ทำ
จักรพรรดิ์ ประทะทอง

~2~

สารบัญ

นาซา่ และการคน้ พบ 4
โครงการอะพอลโล 6
สกายแลป 10
ยคุ กระสวยอวกาศ 11
การสำรวจอวกาศ 16
โครงการอวกาศโซเวยี ต 19
สปตุ นกิ และวอสตอค 21
การบุกเบิก 33
ดาราศาสตร์ 36
การปฏิวตั ทิ างวทิ ยาศาสตร์ 39
ดวงจันทร์ 47
ดาวองั คาร 56

~3~

องค์การบรหิ ารการบินและอวกาศแห่งชาติ (National Aeronautics and Space
Administration) หรือ องค์การนาซา (NASA) กอ่ ต้งั ขน้ึ เมอ่ื วนั ที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2501
(ค.ศ. 1958) ตามรฐั บญั ญัตกิ ารบนิ และอวกาศแห่งชาติ เปน็ หน่วยงานส่วนราชการ
รบั ผิดชอบในโครงการอวกาศและงานวจิ ัยหว้ งอากาศอวกาศ (aerospace) ระยะยาวของสหรฐั
คอยจดั การหรอื ควบคุมระบบงานวิจัยทั้งกับฝา่ ยพลเรือนและฝา่ ยทหาร ในเดือนกมุ ภาพันธ์ พ.ศ.
2549 องคก์ ารนาซาไดป้ ระกาศภารกิจหลักคอื การบุกเบกิ อนาคตแห่งการสำรวจอวกาศ
การคน้ พบทางวิทยาศาสตร์ และงานวิจัยทางการบินและอวกาศ

คำขวัญขององคก์ ารนาซาคือ "เพอื่ ประโยชนข์ องคนทกุ คน" (For the benefit of all)

~4~

ประวัติ

การแข่งขนั ในการสำรวจอวกาศ

หลงั จากสหภาพโซเวียตส่งดาวเทยี มดวงแรกของโลก (ดาวเทียมสปตุ นคิ 1) ขึ้นสู่อวกาศ
เมือ่ วันท่ี 4 ตลุ าคม พ.ศ. 2500 (ค.ศ. 1957) สหรฐั ฯ
เร่มิ หนั มาใส่ใจกบั โครงการอวกาศของตนเองมากขึ้น
สภาคองเกรสรสู้ กึ หว่นั เกรงต่อภัยดา้ นความมั่นคงและภาวะความเปน็ ผู้นำดา้ นเทคโนโลยขี องตน
ประธานาธิบดดี ไวท์ ด.ี ไอเซนฮาวร์
และคณะที่ปรกึ ษาได้ประชุมหารอื กนั เป็นเวลานานหลายเดอื นจนไดข้ ้อสรุปว่า สหรัฐฯ
จำเป็นตอ้ งก่อตงั้ หนว่ ยงานราชการขนึ้ ใหม่
ใหท้ ำหน้าทีเ่ ก่ียวกับกจิ กรรมอวกาศท้งั หมดทีไ่ มเ่ กี่ยวข้องกบั การทหาร

วันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2501 (ค.ศ. 1958)
ประธานาธบิ ดไี อเซนฮาวรล์ งนามในกฎหมายการบินและอวกาศแห่งชาติ ค.ศ. 1958
เพ่อื ก่อตั้งองค์การบริหารการบนิ และอวกาศแหง่ ชาติ (NASA) เริ่มปฏบิ ัตงิ านในวนั ท่ี 1 ตลุ าคม พ.ศ.
2501 ขณะน้นั นาซาประกอบด้วยหอ้ งปฏบิ ตั ิการ 4 แหง่ มพี นกั งานประมาณ 8,000 คน
ทีโ่ อนมาจากคณะกรรมการทีป่ รึกษาดา้ นการบินแห่งชาติ (NACA)
ซึ่งเป็นหนว่ ยงานวิจัยของรัฐทมี่ อี ายกุ ว่า 46 ปี

~5~

โครงการอะพอลโล

เมอื่ โครงการเมอร์ควิ รพี สิ จู น์และยนื ยันว่า
การสง่ มนุษย์ขึ้นไปโคจรในอวกาศสามารถเปน็ ไปได้ นาซาจงึ เรมิ่ โครงการอะพอลโล
โดยเปน็ ความพยายามสง่ มนษุ ยไ์ ปโคจรรอบดวงจันทร์
โดยยังไม่มเี ปา้ หมายสง่ มนษุ ยเ์ หยยี บพ้นื ผวิ ดวงจนั ทรแ์ ต่อยา่ งใด
ทศิ ทางของโครงการอะพอลโลเปลย่ี นไปเมื่อประธานาธิบดีจอหน์ เอฟ. เคนเนดี ประกาศเมื่อวนั ที่
25 พฤษภาคม พ.ศ. 2504 (ค.ศ. 1961) ว่าสหรัฐจะ
"สง่ มนษุ ย์ไปลงบนดวงจันทรแ์ ล้วกลบั สโู่ ลกอย่างปลอดภยั " ภายในปี พ.ศ. 2513 (ค.ศ. 1970)
โครงการอะพอลโลจึงกลายเป็นโครงการนำมนุษยล์ งสู่พื้นผวิ ดวงจนั ทรเ์ ป็นครง้ั แรกในประวัตศิ าสตร์
โครงการเจมินีเริ่มต้นขน้ึ ไม่นานหลังจากนน้ั เพอื่ ทดสอบและยืนยนั เทคนิค
ที่จำเป็นต้องใช้กบั โครงการอะพอลโลทซ่ี บั ซ้อนขึน้

หลงั จาก 8 ปีของภารกจิ เบ้ืองตน้ ฃน ซ่ึงรวมถึงอบุ ตั ิเหตเุ พลงิ ไหมท้ คี่ รา่ ชีวติ นกั บินอวกาศ 3
คนในยานอะพอลโล 1 โครงการอะพอลโลบรรลุเปา้ หมายได้ในทสี่ ดุ เมือ่ ยานอะพอลโล 11 นำนีล
อารม์ สตรอง และบซั ซ์ อลั ดรนิ ลงสัมผสั พ้นื ผวิ ดวงจันทร์เม่อื วันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2512 (ค.ศ.
1969) และกลบั ส่โู ลกอย่างปลอดภัยในวันที่ 24 กรกฎาคม
ถอ้ ยคำแรกที่อารม์ สตรองกล่าวหลงั จากก้าวออกจากยานลงจอด อีเกิ้ล คอื "นี่เป็นกา้ วเล็ก ๆ
ของคน ๆ หนง่ึ แตเ่ ป็นกา้ วกระโดดท่ยี งิ่ ใหญข่ องมวลมนุษยชาติ"

~6~

แม้วา่ องคก์ ารนาซาจะทำให้สหรัฐฯ ได้ชัยชนะในการแข่งขนั กับโซเวยี ต
แต่ความสนใจของชาวอเมริกนั ทม่ี ตี ่อโครงการอวกาศ
อันจะทำใหส้ ภาคองเกรสทุม่ งบประมาณใหก้ บั นาซา กลับลดน้อยถอยลง
นาซาสูญเสยี ผสู้ นับสนนุ ในสภาหลงั จากลินดอน บ.ี จอห์นสัน ลงจากตำแหนง่ ประธานาธบิ ดี
ผทู้ ม่ี ีบทบาทในการว่ิงเตน้ เพอื่ ผลกั ดันงบประมาณใหก้ บั นาซาในเวลาต่อมา คือ เวอรเ์ นอร์ ฟอน
บราวน์ วศิ วกรผเู้ ชยี่ วชาญดา้ นจรวดชาวเยอรมนั เขาเสนอแผนสร้างสถานีอวกาศ
ฐานปฏิบตั กิ ารบนดวงจันทร์ และโครงการส่งมนุษย์ไปดาวองั คารภายในปี พ.ศ. 2533 (ค.ศ. 1990)
แต่สดุ ทา้ ยก็ไมส่ ามารถดำเนนิ การได้เพราะประสิทธภิ าพของเทคโนโลยีจรวดขณะนั้นยังไมด่ ีพอ
อบุ ตั ิเหตกุ ารระเบิดของถังออกซิเจน ที่เกือบจะเปน็ โศกนาฏกรรมกบั นักบนิ บนยานอะพอลโล 13
ทำใหป้ ระชาชนเริม่ กลบั มาสนใจในโครงการอวกาศ อยา่ งไรก็ตาม ยานอะพอลโล 17
เปน็ ยานลำสุดท้ายที่ขนึ้ บินภายใตส้ ญั ลักษณ์อะพอลโล
แม้วา่ โครงการอะพอลโลมแี ผนไปถงึ ยานอะพอลโล 20
โครงการอะพอลโลสิน้ สดุ ลงก่อนกำหนดเนอ่ื งจากถูกตดั งบประมาณ
(ส่วนหนง่ึ เปน็ ผลจากสงครามเวยี ดนาม)
และนาซาปรารถนาท่ีจะพฒั นายานอวกาศที่สามารถนำกลับมาใช้ใหมไ่ ด้

~7~

โครงการอะพอลโล เปน็ โครงการที่ 3 ตอ่ เนอ่ื งมาจากเมอร์คิวรีและเจมินี
มีเป้าหมายสำคญั คอื จะนำมนษุ ยล์ งไปสำรวจดวงจันทร์ ใชม้ นษุ ย์อวกาศขึ้นไปครง้ั ละ 3 คน
ตวั ยานอวกาศประกอบดว้ ยส่วนสำคญั 3 ส่วนคือ

1. ยานบังคบั การ
2. ยานบริการ
3. ยานลงดวงจนั ทร์
โครงการอะพอลโล เร่ิมส่งมนุษย์ขน้ึ โคจรในอะพอลโล โดยข้นึ ไปโคจรรอบโลก 163 รอบ
ในปี พ.ศ. 2511 โดยมนษุ ยอ์ วกาศชุดแรกลงไปเหยียบดวงจันทรค์ อื นกั บินของยานอะพอลโล 11
จำนวน3 คน คือ นีล อาร์มสตรอง เอ็ดวนิ อ-ี แอลดรนิ และไมเคลิ คอลลินส์

~8~

ประวตั ขิ องโครงการอะพอลโล

โครงการอะพอลโลเกดิ ขนึ้ ในปี ค.ศ. 1961 จากการทจ่ี อหน์ เอฟ
เคเนอดไี้ ดปั ระกาศต่อสาธารณชนว่าสหรฐั ฯจะต้องไปเหยยี บดวงจนั ทรใ์ ห้ไดภ้ ายในส้นิ ปี 1970
ทำให้NASAจงึ เร่มิ แผนปฏิบตั ิการโครงการสง่ นักบินอวกาศไปยังดวงจันทร์ที่ช่ือวา่ อะพอลโล
แต่เร่ิมต้นโครงการอะพอลโล 1 (เดมิ เรยี กวา่ AS-201 กอ่ นทจี่ ะมาเปลย่ี นในโครงการอะพอลโล 4)
ก็เกิดเหตุการณ์ไฟไหมน้ กั บินทัง้ 3 คนเสยี ชวี ติ จงึ ไดช้ ะลอแผนโครงการ
และมาเรมิ่ ตน้ ตอ่ ในโครงการอะพอลโล 4 จนถึงโครงการอะพอลโล 17
กเ็ กิดเหตกุ ารณส์ งครามเวียดนามจึงได้ยกเลิกโครงการอะพอลโล 18-20 ไป
เพอ่ื ลดงบประมาณลงไป

รายละเอียดโครงการอะพอลโล

1. อะพอลโล 1 (27 มกราคม ค.ศ. 1967) เกดิ อุบตั เิ หตนุ กั บนิ เสยี ชวี ิต 3 คน
2. อะพอลโล 4 ทดสอบโครจรรอบโลก
3. อะพอลโล 5 ทดสอบโครจรรอบโลก
4. อะพอลโล 6 ทดสอบโครจรรอบโลก
5. อะพอลโล 7 ทดสอบโครจรรอบโลกโดยมนี ักบิน
6. อะพอลโล 8 (21 ธันวาคม ค.ศ. 1968) ทดสอบโคจรรอบดวงจันทร์
7. อะพอลโล 10 (18 พฤษภาคม ค.ศ. 1969)

ทดสอบโคจรรอบดวงจนั ทรโ์ ดยมนี ักบนิ
8. อะพอลโล 11 (16 กรกฎาคม ค.ศ. 1969) ลงจอดบนดวงจันทรค์ รั้งแรก
9. อะพอลโล 12 (14 พฤศจิกายน ค.ศ. 1969) ลงจอดบนดวงจนั ทร์
10. อะพอลโล 13 (11 เมษายน ค.ศ. 1970) เกิดอบุ ตั ิเหตไุ มไ่ ดล้ งจอด
11. อะพอลโล 14 ลงจอดบนดวงจันทร์
12. อะพอลโล 15 ลงจอดบนดวงจันทร์
13. อะพอลโล 16 ลงจอดบนดวงจันทร์
14. อะพอลโล 17 ลงจอดบนดวงจันทร์ คร้งั สดุ ทา้ ย

~9~

สกายแลป

สกายแลปเปน็ สถานีอวกาศแห่งแรกของสหรัฐอเมริกา สถานนี ม้ี ีนำ้ หนกั กวา่ 75 ตนั
โคจรรอบโลกเริ่มต้งั แต่ปี พ.ศ. 2516 (ค.ศ. 1973) ถึงปี พ.ศ. 2522 (ค.ศ. 1979)
สามารถรองรบั คนได้ 3 คนต่อภารกิจ
สกายแลปเปน็ สถานตี น้ แบบในการเรยี นรกู้ ารใชช้ ีวิตในอวกาศ
และใชใ้ นการทดลองทางวทิ ยาศาสตร์บา้ ง
เดิมทีสกายแลปวางแผนจะใช้ในการเทยี บท่าของกระสวยอวกาศดว้ ย
แต่สกายแลปได้ถูกปลดประจำการกอ่ นถงึ การปลอ่ ยกระสวยอวกาศลำแรก
และถกู ชน้ั บรรยากาศโลกเผาไหมท้ ำลายในปี พ.ศ. 2522 (ค.ศ. 1979)
หลังจากปลอ่ ยใหต้ กลงในมหาสมทุ รอินเดยี ทางตะวนั ตกของออสเตรเลยี

สถานอี วกาศสกายแล็บ
สกายแลบ็ (Skylab) เป็นสถานอี วกาศแหง่ แรกของสหรฐั อเมริกา

และเป็นสถานอี วกาศแหง่ ทีส่ องของโลกท่ีมีลกู เรอื อยปู่ ฏิบตั งิ าน
ถดั จากสถานีอวกาศซลั ยตุ ของสหภาพโซเวยี ต สกายแล็บโคจรอยูใ่ นวงโคจรของโลกตงั้ แต่ ค.ศ.
1973-1979 มนี ักบนิ อวกาศไปประจำการทง้ั ส้ิน 3 ครงั้ ระหว่าง ค.ศ. 1973-1974
บนสถานีอวกาศมหี อ้ งทดลองสำหรับศึกษาผลกระทบจาก microgravity
รวมถึงเป็นที่ตดิ ตงั้ หอสงั เกตการณด์ วงอาทติ ย์ฐานกล้องโทรทรรศน์อพอลโล

สกายแลบ็ ถกู สง่ ขึ้นจากโลก เมือ่ วนั ท่ี 14 พฤษภาคม ค.ศ. 1973 จากฐานยิง LC-39A
ของศูนย์อวกาศเคนเนดีโดยจรวด Saturn INT-21 (ซึ่งเป็นรุ่นดดั แปลงของจรวด Saturn V
ทใ่ี ชส้ ่งคนไปดวงจนั ทร์) และตกกลบั มาพน้ื โลกเม่ือ 11 กรกฎาคม ค.ศ. 1979 ใกล้กับเมอื งเพริ ์ธ
ประเทศออสเตรเลยี

~ 10 ~

ยุคกระสวยอวกาศ

กระสวยอวกาศเปน็ โครงการทน่ี าซาหันมาใหค้ วามสนใจมาตลอดต้งั แตช่ ่วงปี 2513 (1970)
และ 2523 (1980) กระสวยอวกาศลำแรกที่ปล่อยใชง้ านสู่อวกาศคอื กระสวยอวกาศโคลมั เบยี
ในวันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2524 (ค.ศ. 1981)

สำหรบั นาซาแลว้ กระสวยอวกาศไมไ่ ด้ดไี ปหมดทกุ อยา่ ง
ยิง่ ชว่ งเร่มิ ต้นโครงการมันมคี วามสนิ้ เปลืองมาก และในปี พ.ศ. 2529 (ค.ศ. 1986)
กบั เหตุการณ์อุบตั เิ หตขุ องกระสวยอวกาศชาเลนเจอร์เปน็ หนงึ่ ในเรอ่ื งทร่ี ้ายแรงท่ีสดุ สำหรับการเดนิ
ทางสู่อวกาศ

~ 11 ~

กระสวยอวกาศ

กระสวยอวกาศ (space shuttle) คอื เครือ่ งบินอวกาศของสหรัฐอเมริกา
สร้างข้นึ โดยองคก์ ารนาซ่า (NASA) มีช่ือเรยี กอย่างเป็นทางการว่า Space Transportation
System (STS) ผลติ โดยบริษทั North American Aviation ซง่ึ ปจั จบุ ันเป็นสว่ นหนึง่ ของบริษัท
Rockwell International สเปซชทั เทลิ ทะยานข้ึนเหมอื นจรวดและไปโคจรรอบโลก
มีปีกและตอนกลบั สโู่ ลกจะรอ่ นลงตามรันเวย์ กระสวยอวกาศสามารถนำมาใชไ้ ดห้ ลาย ๆ ครั้ง

กระสวยอวกาศถกู ออกแบบมาใหใ้ ชง้ านซ้ำได้ 100 คร้ัง หรือปฏบิ ัตกิ ารได้ 10 ปี
โครงการถกู เริ่มขึ้นในท้ายยคุ 60
หลงั จากนั้นก็มีบทบาทสำคญั ในปฏิบัตกิ ารทตี่ อ้ งใช้คนเขา้ ร่วมของนาซามาโดยตลอด

ส่วนสำคญั ของกระสวยอวกาศ เรยี กว่า ออรบ์ ิเตอร์ (orbiter หมายถงึ ยานโคจร)
จะพาลูกเรอื และสัมภาระไปยังอวกาศในขณะทจ่ี ะสง่ กระสวยอวกาศขนึ้ ไป
กระสวยจะอยูท่ ่ฐี านส่งโดยจะตั้งชข้ี นึ้ ไปคล้ายจรวด ขา้ ง ๆ ออรบ์ เิ ตอรจ์ ะมแี ทงค์น้ำมนั ขนาดใหญ่
ซึ่งเรยี กวา่ แทงค์ด้านนอก (External Tank)
ซ่งึ มันจะเกบ็ ออกซิเจนและไฮโดรเจนในขณะท่มี นั ข้ึนเชอ้ื เพลิงเหล่าน้ีจะถกู สบู เข้าไปยงั เครอื่ งยนตห์
ลัก 3 เครอื่ ง ของออร์บิเตอร์

นอกจากนย้ี งั มีแทงค์ขนาดเลก็ ท่อี ยขู่ ้าง ๆ
ออรบ์ เิ ตอร์บนฐานส่งเพือ่ ให้แรงผลักดนั พิเศษในขณะส่งกระสวยขน้ึ ซึ่งเรยี กว่า Solid Fuel
Rocket Booster หรือ SRB ทำงานคล้ายกับจรวดดอกไมไ้ ฟขนาดใหญ่

เม่อื กระสวยอวกาศทะยานขึน้ หลงั จากนั้นประมาณ 2 นาที เชอื้ เพลงิ ในแทงคเ์ ช้ือเพลงิ
SRB จะหมดลง และตกลงในทะเลกับรม่ ชูชพี อัตราความเร็วของกระสวยค่อย ๆ
เพมิ่ ขึน้ จนถึงความเร็วประมาณ 72 ไมล์ จากน้ันเคร่อื งยนตห์ ลักจงึ หยุดทำงาน
และถงั เชือ้ เพลิงภายนอกซง่ึ วา่ งเปลา่ จะถูกปลอ่ ยตกลงสูท่ ะเล
เครอื่ งยนต์ของจรวดสองลำจะรับภาระตอ่ ไป ซง่ึ เรยี กว่า ระบบการยกั ยา้ ยการโคจร
ในระหว่างการโคจร

~ 12 ~

เม่อื ถึงเวลากลบั สโู่ ลก
เครอื่ งยนตร์ ะบบการยกั ยา้ ยการโคจรจะถกู ยงิ คลา้ ยกับตอนล่างของจรวด
และยานจะหลุดออกจากการโคจร แล้วกลบั ลงมาสูบ่ รรยากาศโลกในอัตราความเร็ว 15,900
ไมลต์ อ่ ชว่ั โมง (หรอื ประมาณ 25,700 กิโลเมตรต่อชั่วโมง)
แผ่นกำบงั ความรอ้ นขา้ งใตก้ ระสวยอวกาศจะเปลง่ แสงสแี ดงจัดพรอ้ มกับความร้อนในการกลับเขา้ ม
าสู่โลก
แผน่ กระเบือ้ งพเิ ศษบนกระสวยอวกาศจะป้องกนั ลกู เรอื และยานอวกาศออร์บเิ ตอรจ์ ะช้าลงเม่อื เข้า
มาถงึ บรเิ วณส่วนลา่ งของบรรยากาศ จะรอ่ นลงบนพ้นื ดินบนรันเวยด์ ว้ ยความเร็วประมาณ 210
ไมลแ์ ล้วภารกจิ กจ็ ะจบลง

กระสวยอวกาศของนาซา่

กระสวยอวกาศของนาซ่าถูกสร้างข้ึนมาท้งั หมด 6ลำ ตามลำดบั คือ
● กระสวยอวกาศเอนเทอรไ์ พรซ์ ถกู ใช้ในการทดสอบระบบต้นแบบเทา่ น้ัน
ไม่เคยถูกใช้งานในอวกาศจรงิ
● กระสวยอวกาศโคลมั เบยี ขึน้ บนิ ครง้ั แรกเมือ่ วนั ที่ 12 เมษายน ค.ศ. 1981
นับเปน็ กระสวยอวกาศลำแรกทไ่ี ดข้ นึ้ บนิ ในอวกาศ
● กระสวยอวกาศชาเลนเจอร์ ขึน้ บนิ ครงั้ แรกเมอ่ื วนั ท่ี 4 เมษายน ค.ศ. 1983
● กระสวยอวกาศดสิ คัฟเวรี ข้ึนบินครัง้ แรกเม่ือวนั ที่ 30 สงิ หาคม ค.ศ. 1984
● กระสวยอวกาศแอตแลนตสิ ขึ้นบนิ ครั้งแรกเม่ือวนั ท่ี 3 ตลุ าคม ค.ศ. 1985
● กระสวยอวกาศเอนเดฟเวอร์
ถกู สร้างขน้ึ หลังกระสวยอวกาศชาเลนเจอร์ประสบอบุ ตั เิ หตุ
ข้นึ บนิ ครัง้ แรกเมือ่ วนั ท่ี 7 พฤษภาคม ค.ศ. 1992

~ 13 ~

โศกนาฎกรรม

วนั ที่ 28 มกราคม ค.ศ. 1986
กระสวยอวกาศแชลเลนเจอรป์ ระสบอบุ ัติเหตุระเบดิ ขณะทยานข้นึ จากพนื้ โลกได้เพยี ง 73 วินาที
ลูกเรือเจด็ คนเสยี ชีวิตทัง้ หมด สาเหตุเกดิ จากมรี อยรั่วบรเิ วณจรวด SRB ด้านขวา
ทำใหเ้ ช้อื เพลิงรั่วออกมาและเกดิ การเผาไหม้ทชี่ อ่ งวา่ งระหวา่ งจรวด SRB และถังเช่อื เพลงิ หลกั
ซึ่งรอยร่ัวนน้ั เกดิ จากความเย็นจากนำ้ แขง็ ท่เี กาะรอบยานในชว่ งไมก่ ่ชี ่วั โมงก่อนปล่อยยาน

วนั ที่ 1 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2003 กระสวยอวกาศโคลัมเบียประสบอบุ ัติเหตขุ ณะกลบั สูพ่ ้นื โลก
เน่ืองจากบริเวณปกี มคี วามเสียหายทีเ่ กดิ ขน้ึ จากการกระแทกของชนิ้ ส่วนโฟมจากถงั เชอื้ เพลงิ หลกั ห
ลุดขณะขน้ึ บิน ทำให้ยานแตกออกปน็ เสยี่ งๆขณะเสยี ดสีกับชั้นบรรยากาศระหว่างกลับลงสพู่ ืน้ โลก
ลูกเรอื เจ็ดคนบนยานเสยี ชีวิตท้งั หมด

นบั ต้งั แต่เหตกุ ารณ์กระสวยอวกาศโคลมั เบียเป็นตน้ มา
ทุกเทยี่ วบินจะมกี ระสวยอวกาศสำรองอกี 1 ลำ
ในกรณีเหตฉุ ุกเฉินหรอื เหตกุ ารณท์ ี่ตอ้ งกภู้ ยั นกั บนิ ในเทย่ี วบนิ หลกั ทกุ เท่ยี วบิน
โดยกระสวยอวกาศสำรองทีจ่ ะออกปฏบิ ัตกิ ารจะใชร้ หสั เที่ยวบิน STS-3xx
กระสวยอวกาศทร่ี บั หน้าท่ีกภู้ ยั สามารถบนิ ไดท้ ันทีตามปฏบิ ัติการ Launch On Need (LON) เชน่
STS-114 กระสวยอวกาศดสิ คัฟเวอร์รี่
(ซง่ึ เป็นเท่ยี วบนิ แรกหลังเหตุการณ์กระสวยอากาศโคลมั เบยี ระเบดิ )
จะมกี ระสวยอากาศสำหรบั เทย่ี วบนิ กภู้ ยั เปน็ กระสวยอวกาศแอตแลนตสิ รหสั เทยี่ วบินคือ STS-
300 เป็นตน้ ยกเวน้ เท่ียวบนิ STS-125 มกี ารเปล่ียนแปลงรหัสเทยี่ วบนิ กภู้ ยั เป็น STS-400
สำหรับภารกิจซอ่ มบำรงุ กล้องโทรทรรศ์อวกาศฮบั เบิล ครัง้ ที่ 4 ของกระสวยอวกาศแอตแลนติส
เนื่องจากเปน็ ภารกจิ น้ีเปน็ ภารกจิ เดยี วที่ไมไ่ ดไ้ ป ISS หากมเี หตุฉุกเฉนิ การท่จี ะไป ISS
เป็นเรื่องท่ีทำไดย้ าก โดยกระสวยอวกาศเอนเดฟเวอร์จะรับหนา้ ท่เี ปน็ เทยี่ วบินกู้ภัย
จนกระท่ังต้งั แต่เทย่ี วบนิ STS-126 จงึ ยกเลกิ แผนกู้ภยั โดยใชก้ ระสวยอวกาศสำรอง
เพราะหากมเี หตุท่ไี มส่ ามารถลงจอดได้จะใชย้ านกู้ภัยของ ISS แทน แต่นำมาใชอ้ กี ครง้ั ในเท่ยี วบนิ
STS-134

~ 14 ~

สิ้นสุดโครงการ
นาซา่ ยุตโิ ครงการกระสวยอวกาศในเดอื นกรกฎาคม ค.ศ. 2011

หลงั จากกระสวยอวกาศลำแรกข้นึ สู่อวกาศมานานกวา่ 30 ปี รวมถึงระยะเวลาพฒั นาอกี กว่า 20 ปี
และจะเปลย่ี นไปพัฒนาระบบขนสง่ รนุ่ ใหมใ่ นโครงการ Constellation ซง่ึ เป็นจรวดธรรมดาแทน
เดมิ คาดการณว์ า่ จะเรม่ิ ใช้งานได้ในปี ค.ศ. 2016 จนกระทั่งในวนั ที่ 1 กุมภาพนั ธ์ ค.ศ.2010
ประธานาธิบดีบารัก โอบามา ไดป้ ระกาศใหย้ กเลิกโครงการนี้
โดยให้เปลยี่ นไปออกแบบพัฒนายานอวกาศรุน่ ใหมท่ ี่มปี ระสิทธภิ าพมากกว่าเพียงแคใ่ ชใ้ นโครงการเ
ดยี วแทน

วนั ท่ี 9 มีนาคม ค.ศ. 2011 กระสวยอวกาศดสิ คัฟเวอรถี กู ปลดประจำการ
วันท่ี 1 มิถนุ ายน ค.ศ. 2011 กระสวยอวกาศเอนเดฟเวอรถ์ ูกปลดประจำการ
วนั ท่ี 21 กรกฎาคม ค.ศ. 2011 กระสวยอวกาศแอตแลนตสิ ถูกปลดประจำการ
นับเปน็ กระสวยอวกาศลำสดุ ท้ายทไ่ี ดข้ ้นึ บินสูอ่ วกาศ

~ 15 ~

การสำรวจอวกาศ

การเฝา้ สงั เกตการณว์ ตั ถุท้องฟ้า หรือท่เี รียกวา่ วิชาดาราศาสตร์
ไดก้ ระทำกันมานานดังปรากฏในบนั ทกึ ประวตั ิศาสตร์
ทวา่ การใชจ้ รวดเชื้อเพลิงเหลวขนาดใหญ่ทเี่ รม่ิ ข้ึนในช่วงตน้ คริสตศ์ ตวรรษที่ 20
ทำให้การสำรวจอวกาศในทางกายภาพมีความเปน็ จรงิ เปน็ จงั มากข้นึ
ความก้าวหนา้ ในการสำรวจอวกาศเปน็ ผลจากงานวจิ ยั ทางวิทยาศาสตร์ทล่ี ้ำยคุ รวมถงึ การรว่ มมอื ระ
หวา่ งประเทศเพอ่ื ความอยู่รอดในอนาคตของมนุษย์ชาติ
ขณะเดยี วกนั ก็เป็นการสร้างประโยชนใ์ นทางทหารหรอื ทางกลยทุ ธท์ เ่ี หนอื กว่าประเทศอื่นๆ
ในบางครงั้ จงึ มกี ารวพิ ากษ์วจิ ารณถ์ ึงประโยชน์ของการสำรวจอวกาศ
โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงในประเดน็ เรือ่ งคา่ ใช้จ่ายและความปลอดภัย

คร้ังหน่ึงการสำรวจอวกาศเป็นประเด็นการแขง่ ขันท่ีสำคญั ระหว่างขว้ั อำนาจ
เช่นในระหว่างสงครามเย็น
การสำรวจอวกาศยุคใหม่ชว่ งแรกเปน็ การแขง่ ขนั กนั ระหวา่ งสหภาพโซเวียตกบั สหรัฐอเมรกิ า ได้แก่
การสง่ ยานทสี่ รา้ งดว้ ยมนษุ ย์ออกไปโคจรรอบโลกไดเ้ ป็นครัง้ แรกในดาวเทยี มสปตุ นกิ 1
ของสหภาพโซเวยี ต เมื่อ 4 ตลุ าคม ค.ศ. 1957
และการพชิ ติ ดวงจนั ทร์เป็นคร้งั แรกของยานอพอลโล 11 ของสหรฐั อเมริกาเม่ือ 20 กรกฎาคม ค.ศ.
1969 โดยมากโครงการสำรวจอวกาศของโซเวียตจะสามารถบรรลุเปา้ หมายเปน็ ครัง้ แรกไดก้ ่อน
ภายใตก้ ารนำของ Sergey Korolyov และ Kerim Kerimov
เชน่ การส่งนกั บินอวกาศออกไปนอกโลกได้เป็นคร้ังแรกใน ค.ศ. 1961 (ยรู ิ กาการนิ
เป็นนกั บินอวกาศคนแรกของโลก) การออกเดินในอวกาศครั้งแรกใน ค.ศ. 1965 (อเลก็ ซี เลโอนอฟ)
และการส่งสถานอี วกาศแห่งแรก (สถานีอวกาศซลั ยูต 1) ในปี ค.ศ. 1971 อย่างไรกด็ ี
วัตถชุ ิน้ แรกที่สรา้ งโดยมนษุ ยแ์ ละออกไปถงึ ระดบั อวกาศเปน็ คร้งั แรก คือจรวด V2
ของนาซีเยอรมนีท่ใี ชใ้ นช่วงแรกๆ ของสงครามโลกครั้งทสี่ อง

~ 16 ~

ประวตั ิการสำรวจอวกาศ

การสำรวจอวกาศเรม่ิ ตน้ มานานตงั้ แตส่ มยั โบราณชาวมายาไดว้ าดภาพปรากฏการณ์ทางดา
ราศาสตรต์ า่ งๆ ชาวอียิปตโ์ บราณได้สร้างพรี ะมดิ ท่ีช้ถี งึ ดวงดาวต่างๆ
ทปี่ ระเทศอังกฤษมีการสร้างสโตนเฮจซง่ึ คาดการณว์ า่
สรา้ งขึน้ เพอื่ บอกตำแหนง่ ของดวงอาทติ ย์และมกี ารเสนอข้อมลู ของดวงอาทติ ยข์ ้นึ มาไดแ้ ก่
ดวงอาทติ ย์เป็นลูกไฟกลมดวงหนึ่ง และมกี ารเสนอ
แนวคิดทว่ี ่าดวงอาทติ ยห์ มนุ รอบโลกและแนวคดิ ของนิโคลสั
โคเปอร์นคิ สั ทีเ่ สนอว่าความจริงแล้วโลกหมนุ รอบดวงอาทติ ย์และมกี ารประดิษฐ์กล้องโทรทรรศนส์ ำ
หรับสงั เกตการณว์ ัตถุท้องฟา้ ต่างๆและไขปรศิ นาตา่ งๆของวตั ถุทอ้ งฟ้าได้
แตเ่ พ่งิ จะมีการเดนิ ทางไปสูอ่ วกาศสำเร็จเป็นครัง้ แรกและจรงิ จัง
ในปีค.ศ.1957หรือเมื่อ59ปที ี่ผ่านมานเ้ี อง

วนั ท่ี 4 ตลุ าคม ค.ศ. 1957
สหภาพโซเวียตไดส้ รา้ งดาวเทียมดวงแรกของโลกชอ่ื วา่ "สปตุ นกิ 1"และโซเวียตไดส้ ง่ มนั สอู่ วกาศเปน็
ครง้ั แรก

วนั ที่ 3 พฤศจกิ ายน ค.ศ. 1957
สหภาพโซเวียตไดป้ ระดิษฐด์ าวเทยี มทีช่ อ่ื ว่า"สปตุ นิก2"พร้อมกบั ไดส้ ่งสนุ ขั ชอ่ื "ไลก้า"ไปพร้อมกบั ดา
วเทียมด้วย ซึ่งเป็นสง่ิ มีชีวติ ชนิดแรกของโลกทขี่ ึน้ สู่อวกาศเปน็ ครงั้ แรก

วันท่ี 2 มกราคม ค.ศ. 1959
สหภาพโซเวียตไดป้ ระดษิ ฐ์ดาวเทยี ม"ลนู า่ 1"และไดส้ ่งมนั ขึน้ สอู่ วกาศเพ่อื ให้มนั เข้าพงุ่ ชนพ้ืนผิวดวง
จนั ทร์
และนำขอ้ มลู ของพ้ืนผิวดวงจันทรก์ ลับมายังโลกแต่ประสบความล้มเหลวเน่ืองจากดาวเทยี มลนู า่ 1ไ
ด้หลดุ ไปโคจรรอบดวงอาทิตย์แทน

วันท่ี 14 กนั ยายน ค.ศ. 1959
หลังจากลนู ่า1ประสบความลม้ เหลวโซเวียตได้ประดิษฐ"์ ลูน่า2"และไดส้ ง่ มนั ขน้ึ สู่อวกาศอกี คร้ังโดยค
ราวนี้พุ่งชน

~ 17 ~

พนื้ ผิวของดวงจันทรไ์ ดส้ ำเรจ็ และนำขอ้ มูลกลบั มายังโลกเปน็ ครั้งแรกของโลกท่ีดาวเทยี มไปถึงพืน้ ผิ
วของดาวดวงอื่นทไ่ี มใ่ ช่โลก

วนั ที่ 12 เมษายน ค.ศ. 1961
สหภาพโซเวียตไดส้ รา้ งยานวอสตอ็ ก1แลว้ สง่ ขึน้ ไปโคจรรอบโลกพรอ้ มกับไดส้ ่ง ยรู ิ กาการนิ
ไปโคจรรอบโลกพรอ้ มกับยานวอสต็อก1ด้วย ยรู ิ
กาการินจึงเป็นนกั บินอวกาศคนแรกของโลกท่อี อกไปนอกโลก

ค.ศ. 1964
สหรฐั อเมรกิ าไดส้ ง่ ยานสำรวจอวกาศชือ่ ว่า"มารเี นอร์4"ไปสำรวจดาวองั คารและถ่ายภาพพ้นื ผิวดาว
อังคารกลับมายังโลก
ซึง่ ทำใหร้ วู้ า่ ดาวอังคารมหี ลมุ อกุ กาบาตจำนวนมากเชน่ เดียวกับดวงจันทร์และพบปากปล่องภูเขาไฟ
จำนวนมาก

วันท่ี 20 กรกฎาคม ค.ศ. 1969
สหรฐั อเมริกาไดส้ ง่ ยานอพอลโล11พรอ้ กับนักบนิ อวกาศคนแรกของโลกที่ไดเ้ หยยี บ
พืน้ ผิวของดวงจันทร์

ปี ค.ศ. 1971
สหภาพโซเวยี ตไดส้ ง่ ยานสำรวจอวกาศ"มาร3์ "ลงจอดบนดาวองั คารเพอื่ วเิ คราะหส์ ภาพพ้ืนผวิ
อุณหภมู ิ ภมู ิศาสตร์ ชนั้ บรรยากาศ รวมถงึ สนามแมเ่ หลก็ บนดาวองั คาร

ปคี .ศ. 1971 สหรัฐอเมรกิ าไดส้ ง่ ยานมารีเนอร์9ไปสำรวจดาวองั คารอีกคร้งั และพบ ภูเขาไฟ
นำ้ แข็งทีข่ ัว้ ดาว และตรวจพบดาวบรวิ ารของดาวอังคาร2ดวงซ่ึงไดร้ บั การตัง้ ชือ่
ในเวลาตอ่ มาวา่ "โฟบอส"และ"ดมี อส"

ปี ค.ศ. 1975 สหรัฐอเมรกิ าไดส้ ่งยานไวกง้ิ 1ไปดาวอังคารพร้อมกบั ไดส้ ง่ ยานไวกิ้ง2ตามไป
เพอ่ื สำรวจพน้ื ผิวหบุ เขา รอ่ งรอยของส่ิงมชี ีวติ บนดาวองั คาร

~ 18 ~

โครงการอวกาศโซเวยี ต

โครงการอวกาศโซเวียต ประกอบด้วยการพฒั นา จรวด และ
การสำรวจอวกาศเป็นโครงการทีจ่ ดั ทำโดยอดีต สหภาพโซเวียตจากช่วงทศวรรษท่ี 1930 จนถงึ การ
สลายตัว ในปี ค.ศ. 1991 ในช่วงเวลาหกสิบปี ค.ศ.ของโครงการมีความสำเรจ็ ในหลายอย่างอาทิ
เป็นผู้บุกเบกิ ขีปนาวุธขา้ มทวปี อาร์-7 ,ดาวเทียมดวงแรกของโลก สปุตนกิ 1 ,ไลกา้
สิ่งมีชวี ติ ตัวแรกที่เดินทางไปอวกาศในสปุตนกิ 2,มนุษย์คนแรกในอวกาศ ยรู ิ กาการนิ ใน วอสตอค
1 ,ผูห้ ญิงคนแรกในอวกาศ วาเลนตนี า เตเรชโควา ใน วอสตอค 6 ,มนุษยค์ นแรกทเี่ ดนิ ในอวกาศ
อเล็กซี ลโี อนอฟ ใน วอสฮอด 2 ,การลงจอดบนดวงจันทร์คร้ังแรก ลูนา 2
,การถา่ ยภาพดา้ นมดื ของดวงจันทร์ ลนู า 3 เป็นต้น

ต้นแบบจรวดและโครงการอวกาศโซเวยี ตไดม้ ีตน้ แบบจากโครงการจรวดลบั ของเยอรมนั ใน
ชว่ งสงครามโลกครัง้ ที่ 2โครงการใหญ่เรม่ิ หลงั จากปี ค.ศ. 1955
และอยบู่ นพ้ืนฐานของทฤษฎีหลายอยา่ งของ คอนสแตนติน ซีออลคอฟสกี
บางครัง้ เรียกว่าเปน็ บดิ าแหง่ ทฤษฎีการสำรวจอวกาศ

เซอร์ไก
โคโรเลฟเป็นหวั หนา้ สถาปนกิ ของกล่มุ การออกแบบจรวดแต่กม็ กี ารแข่งขนั ในการออกแบบหลายกลุ่
มนำโดย โคโรเลฟ ,Mikhail Yangel,Valentin Glushko และ Vladimir Chelomei
ต่างจากคแู่ ข่งคอื สหรฐั อเมรกิ าทมี่ อี งคก์ ารในการออกแบบจรวดเดียวคอื นาซา

เพราะสถานะโครงการอวกาศของโซเวียตเป็นการโฆษณาชวนเชื่อ
คือจะประกาศแตค่ วามประสบความสำเรจ็ ในบางคร้งั สว่ นความลม้ เหลวบางครั้งก็เกบ็ เป็นความลับ
(อาทิ การตายของไลก้า,อุบตั เิ หตุโซยุส 1,จรวดเอน็ 1เปน็ ตน้ )
ในทา้ ยท่สี ุดเป็นผลมาจากนโยบายกลสั นอสต์ในชว่ งปี ค.ศ. 1980 ของมฮี าอิล กอร์บาชอฟ
ขอ้ เท็จจรงิ มากมายเกีย่ วกับโครงการอวกาศไมเ่ ปน็ ลับอีกต่อไป ทงั้ การตายของวลาดมี รี ์ โคมารอฟ
(ใน อบุ ัติเหตโุ ซยสุ 1) และ ยูริ กาการิน (ในภารกจิ ในการบนิ ทดสอบเครอ่ื งเจท็ ) ในระหวา่ งปี ค.ศ.
1966 และ ปี ค.ศ. 1968 ความลม้ เหลวของการพัฒนาโครงการจรวดเอน็ 1
ตง้ั ใจท่ีจะใช้ไปดวงจันทรซ์ ึ่งระเบิดไมน่ านหลงั จากปล่อย

~ 19 ~

หลัง การลม่ สลายของสหภาพโซเวยี ต, รัสเซยี และ ยเู ครน
ไดร้ ่วมกนั พัฒนาโครงการอวกาศของโซเวยี ตต่อโดยต้ังเป็นองค์การทร่ี ู้จักในชื่อ
รฐั วิสาหกจิ รอสคอสมอสในรัสเซียและ องค์การอวกาศแหง่ ชาตขิ องประเทศยเู ครน (NSAU)
ในยเู ครน

ต้นั กำเนดิ โครงการอวกาศโซเวียต

การพัฒนากอ่ นสงคราม

ทฤษฎขี อง การสำรวจอวกาศ มพี ื้นฐานใน จักรวรรดริ ัสเซีย กอ่ น สงครามโลกครัง้ ทหี่ นง่ึ
ด้วยงานเขยี นของ คอนสแตนติน ซอี อลคอฟสกี (1857-1935) ท่เี ผยแพรเ่ อกสารเป็น
ในช่วงปลายศตวรรษท1่ี 9และ20และตน้ ในปี ค.ศ. 1929 และนำแนวคดิ ของ จรวดหลายตอน
ด้านการปฏิบตั เิ กย่ี วกับการทดลองเร่ิมข้นึ โดยสมาชกิ ของกลุ่มการศกึ ษาปฏกิ ิริยาขับเคล่อื นจรวดGI
RD (กอ่ ตงั้ ข้ึนในปี ค.ศ. 1931) ในปี ค.ศ. 1920 และ 1930 ผู้บกุ เบกิ เช่น เซอรไ์ ก โคโรเลฟ -
ผู้ทฝ่ี นั ในการเดนิ ทางไป ดาวอังคารและมีฟรีดริช แซนเดอวิศวกรชาวเยอรมนั -
รัสเซยี ร่วมทำงานอยดู่ ว้ ย.เม่อื วันที่ 18 สงิ หาคม 1933, GIRDเปิดตัวจรวดเชื้อเพลิงเหลวโซเวยี ตแรก
GIRD-09 และที่ 25 พฤศจิกายน 1933 เปิดตวั จรวดเชื้อเพลงิ ไฮบรดิ GIRD-X ใน 1940-41
การวิจัยด้านการขับเคลอ่ื นปฏิกริ ยิ าทท่ี ำเกิดการพฒั นาและการผลติ ของเคร่อื งยิงจรวดคตั ยูช่าและ
จรวดหลายตอน

~ 20 ~

สปตุ นิกและวอสตอค

โครงการอวกาศของโซเวยี ตถูกผกู ติดอยู่กับแผนห้าปี
ค.ศ.และตอ้ งพึ่งพาการสนับสนนุ จากกองทัพโซเวียต แต่โคโรเลฟกย็ งั มีความฝนั ในการสำรวจอวกาศ
ถึงแม้เจา้ ทีท่ หารโซเวียตคดิ วา่ เป็นความฝันลมๆแลง้ ๆเหมอื นชาวอเมรกิ นั
โดยเฉพาะตอนทีส่ หภาพโซเวยี ตสามารถจดุ ระเบดิ RDS-1ระเบดิ ปรมาณแู รกของโซเวยี ต
ซง่ึ ทางกองทัพคิดจะใชจ้ รวดอาร์-7 ในการทพั มากกวา่
อยา่ งไรกต็ ามจรวดโซเวยี ตลูกแรกกเ็ ปิดตวั ใหท้ ัง้ โลกรู้ใน กรกฎาคม 1955

จรวดอาร์-7มกี ำลังพอรับหวั รบ 5ตันได้ ไม่เพียงทีม่ ปี ระสทิ ธภิ าพสำหรับขปี นาวุธนวิ เคลียร์
แต่ยังสามารถใส่ยานพาหนะในการเดนิ ทางอวกาศได้ดว้ ย ในเดือนกรกฎาคม 1955
สหรฐั ฯแผนการที่จะเปดิ ตัวดาวเทยี มดวงแรก ในอีกสองปี ค.ศ.ข้างหนา้ ยิ่งทำให้ โคโรเลฟ
มีแรงจงู ใจใหผ้ ู้นำโซเวียต นกิ ติ า ครสุ ชอฟ สนับสนุนแผนการของเขา
เพอ่ื ทที่ ำลายความต้ังใจของชาวอเมรกิ ัน ในเดือนมกราคมปี ค.ศ. 1956
แผนการสรา้ งโลกโคจรดาวเทยี ม (สปตุ นกิ ) ไดร้ ับการอนมุ ตั ิ

ในวนั ท่ี 4 ตุลาคม 1957 สปุตนกิ 1 ดาวเทยี มทรงกลม ทำดว้ ยอะลมู เิ นียมหนกั 84
กิโลกรมั ถกู สง่ ขน้ึ วงโคจรด้วยจรวดอาร์-7 จากฐานยงิ ในทะเลทรายคีซิลคุม ไบโคนรู ค์ อสโมโดรม
คาซัคสถาน ท่วั ทุกมุมโลกตะลงึ กบั การปลอ่ ย

~ 21 ~

หลังการนั้นโคโรเลฟเรม่ิ แผนการใหม่ในโครงการสปุตนกิ 2
ในการทดลองหาผลกระทบของการบนิ อวกาศท่มี ตี ่อสิ่งมชี วี ิต
วิศวกรจงึ มองว่าเที่ยวบินท่สี ง่ สตั ว์ขึน้ สอู่ วกาศด้วยนนั้ จำเปน็ ก่อนภารกิจของมนษุ ย์มีการฝกึ กบั สนุ ขั
ทง้ั สามตวั ไวใ้ นการรับเลอื กเป็นผโู้ ดยสารไปกบั สปตุ นกิ 2 ในทา้ ยท่สี ดุ ไลกา้ ไดถ้ ูกรบั เลือก
เมอื่ วนั ที่ 3 พฤศจกิ ายน ค.ศ. 1957 จากฐานยงิ ในทะเลทรายคซี ิลคมุ ไบโคนรู ค์ อสโมโดรม
คาซัคสถาน โลกตะลึงอกี ครั้ง ในการโฆษณาชวนเช่อื ของโซเวียต
ไดก้ ลา่ วว่าเปน็ ความสำเรจ็ ในการส่งส่งิ มีชีวติ ตวั แรกในอวกาศ
แตค่ วามจรงิ แลว้ ไลกา้ ไดต้ ายภายในไมก่ ชี่ ัว่ โมงหลังปล่อยยานเนื่องจากความรอ้ นภายในยานสงู ซ่ึงเ
ปน็ ความล้มเหลวในระบบยงั ชีพกลางอาร์-7 (R-7 sustainer)
แตก่ อ่ นหน้านน้ั ไดร้ ายงานอยา่ งกวา้ งขวางว่ามันขาดออกซเิ จนตายอย่างสงบในวันทหี่ ก

หลงั จากความสำเรจ็ ของสปตุ นกิ โคโรเลฟ -
บัดนี้เปน็ ท่รี ู้จักตอ่ สาธารณชนวา่ "หวั หนา้ สถาปนกิ จรวดอวกาศ"เข้าร่วมระดมทนุ เพอ่ื เร่งบรรจุโครงก
ารส่งคนไปนอกโลก

หลงั สปุตนกิ 2 ถูกปล่อยพรอ้ มความล้มเหลวในระบบยงั ชีพ
วศิ วกรไดป้ รบั ปรุงแกไ้ ขในสปุตนิก 4 ในท่ีสุดพรอ้ มสง่ สุนขั ขน้ึ ไปในอวกาศอีกครัง้ ในสปตุ นกิ 5
เมอื่ วันที่ 19 สงิ หาคม 1959 พร้อมกับหมาพันธผ์ุ สม 2 ตัว ชอ่ื เบลกา้ (Belka) และ สเตรลกา้
(Strelka) กบั หนูและตน้ ไมจ้ ำนวนหนงึ่ ยานกลบั สบู่ รรยากโลกอยา่ งปลอดภยั ในวันท่ี 20 สงิ หาคม
1959

~ 22 ~

หลงั ประสบความสำเรจ็ วิศวกรมคี วามม่ันใจมากในความพร้อมสง่ มนษุ ยไ์ ปยงั อวกาศ
ทางกองทัพก็ไดอ้ าสาสมคั รทผ่ี า่ นการสอบคือยรู ิ
กาการินทม่ี ปี ระสบการณ์ในกองทพั อากาศโซเวยี ตมาเปน็ นกั บนิ ยานวอสตอค 1 (Vostok 1)
ถูกปลอ่ ยจากฐานยงิ เม่ือเวลา 9.07 น. วันท่ี 12 เมษายน 1961 และโคจรรอบโลก 1 รอบ ใชเ้ วลา
1 ชว่ั โมง 29 นาที ที่ระดบั ความสงู มากท่ีสุด 187 ไมล์ (301 กโิ ลเมตร)
ก่อนลงจอดอย่างปลอดภัยเมอ่ื เวลา 10.55 นาฬกิ า ตามเวลาในรสั เซยี

หลงั จากวอสตอค 1 มีการปล่อยอกี 5 ลำ ตลอดโครงการวอสตอค (1961-1963) โดย
วอสตอค 6 เปน็ ลำสุดทา้ ยในวันท่ี 16 มถิ นุ ายน 1963 มีวาเลนตนี า
เตเรชโควาซง่ึ เปน็ นกั บนิ อวกาศหญงิ คนแรกของโลก
จากแผนการโฆษณาชวนเชอ่ื ของโซเวยี ตในการใหค้ วามสำคญั แกส่ ตรี

การแขง่ ขันภายใน

ทางฝง่ั สหรฐั ฯ แมจ้ ะมคี วามสำเรจ็ ของ สปุตนิก ระหว่างปี ค.ศ. 1957-1961 และ วอสตอค
ระหว่างปี ค.ศ. 1961-
1964ของโซเวียตกไ็ มส่ ามรถทำลายความตัง้ ใจของสหรัฐฯไดแ้ ละยังทำใหเ้ กดิ ความสามัคคใี นภายท
ำใหเ้ กดิ องค์การนาซาขึน้ มาและสามารถไล่ตามทันเทคโนโลยีอวกาศโซเวียตได้
ผดิ กับโซเวยี ตทเี่ ร่ิมมีการแข่งขนั ในการออกแบบหลายกลุ่มนำโดย เซอร์ไก โคโรเลฟ ,Mikhail
Yangel,Valentin Glushkoและ Vladimir Chelomei

โคโรเลฟ วางแผนทจี่ ะกา้ วไปขา้ งหน้ากบั โครงการโซยซุ และ จรวด N1
ซึ่งจะเปน็ พนื้ ฐานในการสรา้ งสถานีอวกาศถาวรและการสำรวจดวงจนั ทร.์ อย่างไรกต็ าม ดมตี รี
อุสตีนอฟ กำกับให้เขาเห็นความสำคญั กับภารกจิ ใกลโ้ ลกมากกว่าในโครงการวอสฮอด
(แก้ไขจากโครงการวอสตอค) เชน่ เดยี วกับในภารกจิ ส่งดาวเทยี มไปยงั ดาวเคราะห์ที่อยใู่ กล้เคยี ง
คือดาวศกุ ร์ และ ดาวอังคารมากกว่าจะส่งคนไปท่นี ้นั .

Yangel เคยไดร้ ับการช่วยเหลอื จาก โคโรเลฟ แตด่ ว้ ยการสนบั สนุนของทหาร
เขาจงึ มสี ำนกั เป็นตัวเองในปี ค.ศ. 1954 ในการทำงานหลกั ในโครงการอวกาศของทหาร
เรอื่ งนี้มที ีมงานออกแบบเคร่อื งยนต์จรวดใช้ เชอื้ เพลิงไฮเพอรโ์ บลิก

~ 23 ~

ตั้งแต่เหตจุ รวดระเบดิ ท่ีNedelin ในปี ค.ศ. 1960 Yangel ได้รับคำสง่ั การพฒั นา ICBM
คลา้ ยกบั จรวด N1ของโคโรเลฟ
สำหรับการใชง้ านทงั้ ทหารและเทย่ี วบินขนส่งสนิ ค้าเขา้ มาซ่งึ จะเปน็ พ้นื ฐานในการสรา้ งสถานีอวกา
ศใในอนาคต

Glushko เป็นหวั หน้าฝา่ ยออกแบบเคร่อื งยนต์จรวด แตเ่ ขามักจะมปี ัญหากับ โคโรเลฟ
และปฏเิ สธทจี่ ะพัฒนาเครือ่ งยนตก์ ๊าซของจรวด N1

Chelomei ได้รบั ประโยชน์จากสนบั สนุนจากครสุ ชอฟและในปี ค.ศ. 1960
ได้รับงานในการพัฒนาจรวดที่จะสง่ ยานอวกาศรอบดวงจนั ทรแ์ ละประจำสถานีอวกาศทหาร
ด้วยประสบการณ์นอ้ ย ทำใหโ้ ครงการพฒั นาของเขาลา่ ช้า

ความคืบหนา้ ของโครงการอพอลโลหวั หนา้ นกั ออกแบบแตล่ ะคนตกใจ ในสงิ หาคม 1964
กว่าสามปี ค.ศ.หลังจากท่ีสหรฐั ประกาศจะไปดวงจันทร์กอ่ นปี ค.ศ. 1970-
ของสหภาพโซเวยี ตในทีส่ ดุ กต็ ดั สนิ ใจท่จี ะแข่งขันไปดวงจันทร์
มนั กำหนดเปา้ หมายไปถึงดวงจันทร์ในปี ค.ศ. 1967 ซึง่ ครบรอบ 50 ปี
ของการปฏิวัติเดอื นตุลาคมหรอื อาจเลื่อนไปถึงปี ค.ศ. 1968
รว่ มถึงโครงการอวกาศของโซเวยี ตแ30 โครงการสำหรับปนื ใหญแ่ ละยานอวกาศ
หลังการสิ้นอำนาจของครุสชอฟในปี ค.ศ. 1964 ที่ โคโรเลฟ
ไดร้ ับการควบคมุ โครงการอวกาศอยา่ งสมบูรณ์

หลังยุคโคโรเลฟ

โคโรเลฟ เสียชวี ติ ในปี ค.ศ. 1966 มะเรง็ ลำไส้ใหญ่
และจากภาวะแทรกซอ้ นจากโรคหวั ใจและเลือดออกอย่างรุนแรง Kerim Kerimov[13]
ทีเ่ คยเปน็ สถาปนิกในการออกแบบของ วอสตอค 1
ไดร้ บั การแต่งตง้ั ประธานคณะกรรมการอวกาศโซเวียตและแผนมุ่งหน้าไปมันเปน็ 25 ปี ขา้ งหน้า
(1966-1991)
เขาดูแลทกุ ขน้ั ตอนของการพัฒนาและการดำเนินงานของฃการเชอื่ มของคอมเพลก็ ซ์ยานอวกาศเช่

~ 24 ~

นเดยี วกบั โครงการสถานอี วกาศ หนึ่งในความสำเรจ็ ทีย่ ิ่งใหญท่ ี่สดุ Kerimov
คือการเปิดตัวของสถานอี วกาศเมยี ร์ ในปี ค.ศ. 1986

สว่ นสำนักงานOKB-1ของโคโรเลฟ Vasily Mishinไดเ้ ข้ามาสานต่อ Mishin
ไม่มีอำนาจทางการเมืองเหมือนโคโรเลฟ
และยงั คงตอ้ งเผชญิ กับการแข่งขันจากนกั ออกแบบหวั หน้าอืน่ ๆ ภายใตค้ วามกดดัน Mishin
ได้รบั การอนุมัตกิ ารเปดิ ตัวของ โซยสุ 1 เทยี่ วบินในปี ค.ศ. 1967
ภารกจิ การเปิดตัวกับปัญหาในออกแบบทีเ่ ป็นทร่ี ู้จกั และจบลงด้วยการไม่ทำงานของร่มทำใหแ้ คปซู
ลกระแทกกับพ้ืนฆา่ วลาดมี รี ์ โคมารอฟ
น้ีเปน็ คร้งั แรกที่เสียชีวิตมกี ารตายจากโครงการอวกาศโซเวยี ต

หลังจากเหตุการ Mishin อยู่ภายใตแ้ รงกดดนั และมปี ญั หาเรอ่ื งตดิ สรุ า
โซเวยี ตพบกบั พ่ายแพใ้ นการสง่ คนโครงรอบดวงจันทรโ์ ดยอพอลโล 8 ในปี ค.ศ. 1968 แต่ Mishin
กม็ ีปญั หาหนกั สดุ ในพัฒนาจรวด N1 เขาหวงั วา่ มีเวลาพอทจี่ ะทำให้ เอน็ -1
สามารถทำงานไดแ้ ละสง่ ไปมนษุ ยบ์ นดวงจนั ทร์เป็นชาตแิ รก
มคี วามสำเร็จกับเที่ยวบนิ รว่ มกันของโซยสุ 4 และ 5 ในเดอื นมกราคม 1969
ท่ผี ่านการทดสอบนัดพบ, เช่อื มตอ่ และการถ่ายโอนลกู เรอื ทจี่ ะใช้สำหรับเชื่อมโยงไปถึงทีเ่ ปน็ และ
แอลเค-แลนเดอร์ (ยานทใี่ ชล้ งจอดบนดวงจนั ทร์ของโซเวียต)
ได้รับการทดสอบในวงโคจรของโลกประสบความสำเรจ็
แตห่ ลังจากนั้นจบลงดว้ ยความลม้ เหลวของจรวด N1
ผู้สนบั สนุนยกเลกิ การสนบั สนนุ พรอ้ มความลม้ เหลวในการไปดวงจนั ทร์

~ 25 ~

หลงั จากความลม้ เหลว ดมตี รี
อุสตนี อฟไดอ้ นมุ ัตสิ ถานีอวกาศทหารซัสยสุ ซึ่งเปน็ การตอบโต้โครงการสถานีอวกาศสกายแลบ็ ของส
หรฐั ฯ Mishin ยงั คงอย่ใู นการควบคุมของโครงการสถานนีอวกาศซสั ยสุ ในปี ค.ศ. 1971
ได้รบั การพสิ จู นร์ ้ายแรงเม่ือสถานนอี วกาศซัสยสุ 1ไมส่ ามารถเปดิ ทางเข้าได้และโซยสุ
11เกิดรอยแยกบนแคปซลู ฆ่าลกู เรอื ทง้ั หมดเมื่อกลับมายังโลก Mishin
ถูกลบชอ่ื ออกจากหลายโครงการทเ่ี ขาควบคมุ Chelomei ไดฟ้ ื้นโครงการสถานนีอวกาศซสั ยุส
หลงั จากโครงการทดสอบอะพอลโล–โซยซุ ผนู้ ำโซเวียตตดั สนิ ใจแนวทางการจัดการใหมแ่ ละในปี
ค.ศ. 1974จรวด N1ถูกยกเลิกและ Mishin ถูกไลอ่ อก สรา้ งสำนักงานNPO Energia แทนOKB-1
โดยมี Glushko เป็นหวั หนา้ นักออกแบบ

แม้จะลม้ เหลวในการไปดวงจันทร์
สหภาพโซเวียตก็ประสบความสำเรจ็ ในความสำเรจ็ ในการนำหุ่นสำรวจอัตโนมัติ ลโู นฮอด1-
2และยานสำรวจลูนา15-24 ในนำตัวอย่างหินดวงจนั ทร์กลบั มา นอกจากนีค้ วามสำเร็จเลก็ ๆ น้อย
ๆในโครงการสำรวจดาวองั คารไดอ้ ย่างตอ่ เนอ่ื ง
ในขณะท่ีการสำรวจของดาวศกุ รแ์ ละดาวหางฮัลเลยใ์ น เวเนรา และ เวกา ได้อย่างยอดเยี่ยม

รายการของโครงการและความสำเร็จ

~ 26 ~

ภาพถ่ายของสถานีอวกาศเมยี ร์จากกระสวยอวกาศแอตแลนติส
กอ่ นที่จะเชอ่ื มตอ่ ระหว่างในภารกิจ STS-76 ภารกิจในปี ค.ศ. 1996

แบบจำลองหนุ่ ยนตส์ ำรวจ ลูโนฮอด 2

ยานโซยซุ ในโครงการทดสอบอะพอลโล–โซยุซ

~ 27 ~

แบบจำลองยานเวกา1และ2

สปตุ นกิ (1956-1959)
เป็นโครงการอวกาศแรกของโซเวยี ต แบง่ เป็นการพัฒนาดาวเทยี มสปุตนกิ 1 และสปตุ นกิ 3
และการทดลองหาผลกระทบของการบนิ อวกาศทม่ี ีตอ่ สิง่ มชี ีวติ และการพฒั นาระบบยงั ชีพในยานอ
วกาศ สปุตนิก 2 สปุตนิก 4 สปตุ นิก 5
ลูนา (1959-1976)

เปน็ โครงการสำรวจดวงจนั ทรข์ องโซเวยี ต
มีท้ังหมด24ลำอย่างเปน็ ทางการประกอบด้วยดาวเทยี มสำรวจ ลูนา 1-9,ยานสำรวจ ลูนา 10-
14,ยานสำรวจและเก็บตวั อย่างหนิ ลนู า 15-16,18-20และ22-24 และยานขนสง่ หนุ่ สำรวจ ลนู า
17 กับ ลโู นฮอด 1และลนู า 21 กบั ลูโนฮอด 2

แมจ้ ะมมี ากกวา่ น้ันแตส่ ่วนใหญล่ ม้ เหลวตั้งแตอ่ ยู่ในวงโคจรโลกประเมินคา่ ใช้จ่ายของโครงก
ารลนู าเปน็ ประมาณ 4.5 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
วอสตอค (1961-1963)

~ 28 ~

เป็นโครงการส่งมนษุ ยไ์ ปยังอวกาศขึน้ สู่วงโคจรตำ่ ของโลกและพวกเขากลับไดอ้ ยา่ งปลอดภั
ย การแข่งขนั โครงการเมอรค์ วิ รขี องประเทศสหรฐั อเมรกิ า
ประสบความสำเรจ็ ในสง่ มนุษยอ์ วกาศคนแรกที่ ยรู ิ กาการนิ ใน วอสตอค 1 เมอื่ วันที่ 12 เมษายน
1961 แคปซลู วอสตอคไดร้ บั การพฒั นาจากโครงการดาวเทยี มจารกรรมและเซนติ ใชจ้ รวดอาร์-7
ขปี นาวธุ ข้ามทวปี (ICBM) ในการสง่
ในการออกแบบที่เปน็ ขอ้ มูลลบั จนกระท่งั เที่ยวบินของกาการินเปน็ ครงั้ แรกทโี่ ครงการวอสตอคเปิดเ
ผยตอ่ สาธารณชน

โปรแกรมดำเนนิ การมี 6 ลำระหวา่ งปี ค.ศ. 1961 และปี ค.ศ. 1963
เท่ียวบนิ ทีน่ านที่สดุ กนิ เวลาเกอื บหา้ วันและมีการปลอ่ ยยานคู่กนั ระหว่างวอสตอค 3กับวอสตอค 4
ซึง่ มากกวา่ โครงการเมอรค์ ิวรที ่มี ีเที่ยวบินท่นี านที่สุด 34 ชวั่ โมงเวเนรา (1961-1981)

เปน็ โครงการสำรวจดาวศกุ ร์ของโซเวียต ระหวา่ งปี ค.ศ. 1961-1984
มที ง้ั หมด10ลำทป่ี ระสบความสำเรจ็ ลงจอดบนดาวศุกรแ์ ละสง่ ข้อมลู จากพื้นผิวของดาว
โดยในช่วงแรกเป็นการสำรวจภายนอกใน เวเนรา 1-2
จากเป็นการสำรวจชนั้ บรรยายและการพยายามลงจอดใน เวเนรา 3-8 และลงจอดสำเรจ็ ในเวเนรา
9 ซ่ึงสามารถทนไดถ้ งึ 23นาทกี ่อนทจี่ ะถูกทำลาย ในระยะหลงั เวเนรา 15
ได้มีการใช้ระบบเรดาร์ในการทำแผนทีบ่ นดาวศุกร์

วอสฮอด (1964 -1965)

หลังประสบความสำเรจ็ วอสตอค ได้มกี ารพฒั นาใหมใ่ นโครงการวอสฮอด ในปี ค.ศ. 1964-
1965 ซ่ึงปรบั เปลี่ยนของแคปซูล วอสตอค ให้ใหญ่ขึ้นสามารถจุนกั บนิ ไดส้ องถึงสามคน
จรวดขนาดใหญ่ข้ึนและระบบยังชพี ทีดีขน้ึ จนไม่ตอ้ งสวมชุดอวกาศในยาน วอสตอค 1
เป็นการทดลองใหน้ ักบนิ สามคนไม่ชดุ อวกาศผลประสบความสำเร็จด้วยดี วอสตอค 2
ไดม้ กี ารพัฒนาประตูยานใหเ้ ปดิ ปดิ จากภายในยานได้เพื่อใชส้ ำหรับภารกิจนอกยานโดย อเลก็ ซี
ลีโอนอฟ เป็นมนุษยค์ นแรกทีเ่ ดนิ ในอวกาศ

โซยซุ (1963-ปัจจุบัน)

~ 29 ~

เปน็ โครงการยานอวกาศพัฒนาโดยสหภาพโซเวียตในปี ค.ศ. 1960
โดยในตอนแรกจะถูกนำไปใช้ในโครงการสง่ มนษุ ย์บนดวงจนั ทร์
โดยมกี ารทดสอบการนดั พบและเทียบทา่ เพื่อใชส้ ำหรับการตอ่ แอลเค-แลนเดอร์
(ยานท่ีใชล้ งจอดบนดวงจนั ทรข์ องโซเวียต)

หลังความลม้ เหลวของโครงการ เอน็ 1-แอล 3
โซยุซได้ถกู นำไปใช้ในการเทยี บทา่ ขนส่งคนและสง่ิ ของยงั ชีพต่างๆ
ในแก่สถานีอวกาศทง้ั สถานอี วกาศซสั ยสุ สถานีอวกาศเมียร์ และสถานอี วกาศนานาชาติในปัจจบุ ัน
ซ่งึ ไดม้ ีการพฒั นามาถึงปัจจุบันทัง้ หมด 4รนุ่

ซอนด์ (1964-1970)

เปน็ โครงการยานอวกาศไรค้ นขบั จากการดำเนินการในช่วงปี ค.ศ. 1964-1970
แบ่งเป็นโครงการ3เอม็ วี เป็นโครงการสำรวจดาวศุกร์ (ซอนด์ 1) ดาวองั คาร (ซอนด์ 2)
และดวงจันทร์ (ซอนด์ 3) และโครงการทดสอบโซยซุ 7เค-แอล1/แอล1เอส็
เป็นโครงการทดสอบยานโซยซุ (ไร้ตัวเชอ่ื มตอ่ ) ในการเดินทางไปดวงจนั ทร์ โดยในการทดสอบ
ซอนด์ 5 ได้สง่ เตา่ รสั เซยี โคจรรอบดวงจนั ทร์และกลับมาอยา่ งปลอดภยั

เอ็น1-แอล3 (1960s-1970)

เป็นโครงการส่งมนษุ ย์บนดวงจนั ทร์ โดยใช้ยานอวกาศ โซยุซ แอลเค-แลนเดอร์ และจรวด
เอน็ 1 ในการไปดวงจนั ทร์ โดยมีความสำเรจ็ กบั เทยี่ วบินรว่ มกนั ของโซยุส 4 และ 5
ในเดอื นมกราคม 1969 ทผ่ี ่านการทดสอบนดั พบ,
เช่อื มตอ่ และการถา่ ยโอนลูกเรือที่จะใช้สำหรบั เชอ่ื มโยงไปถงึ ที่เปน็ และ แอลเค-แลนเดอร์
(ยานทใ่ี ช้ลงจอดบนดวงจนั ทร์ของโซเวยี ต)
ได้รับการทดสอบในวงโคจรของโลกประสบความสำเรจ็ แตห่ ลงั จากนนั้ จบลงดว้ ยความล้มเหลวของ
จรวดเอน็ 1ทเ่ี กดิ ระเบดิ ไม่นานหลงั ทยานข้ึน

ซัสยสุ (1971-1986)

~ 30 ~

เป็นโครงการอวกาศสถานอี วกาศโซเวียต ซึง่ ประกอบไปดว้ ย 4
สถานกี ารวจิ ยั ทางวิทยาศาสตร์และ 2 สถานีทางการทหาร ในชว่ งระยะเวลา 15 ปี ค.ศ. 1971-
1986 และอีก 2 สถานลี ม้ เหลวในการส่ง อวกาศของซสั ยสุ
ออกแบบมาเพอื่ ดำเนินการวิจัยในเปน็ ปญั หาในระยะยาวของที่อยอู่ าศยั ในอวกาศและความหลากห
ลายของดาราศาสตร์ชวี วิทยาและการทดลองต่างๆ ปทู างสำหรับโมดูลสถานอี วกาศในปจั จุบนั

บรู ัน (1974-1993)

การพฒั นาของโครงการกระสวยอวกาศในสหรฐั อเมริกาทำให้เกดิ ความกงั วลมากในสหภาพ
โซเวียต ขณะทรี่ ฐั มนตรวี า่ การกระทรวงกลาโหม อุสตีนอฟ
รบั รายงานจากนกั วเิ คราะห์ของเขาวา่ กระสวยอวกาศสหรฐั อาจถูกนำมาปรบั ใช้ยงิ ขีปนาวธุ นิวเคลยี
ร์ตามพืน้ ทเี่ หนือดินแดนของสหภาพโซเวียต อุสตนี อฟ
จึงกงั วลเกีย่ วกับกระสวยอวกาศสหรัฐจงึ มีการใหก้ ารพฒั นากระสวยอวกาศโซเวียต

พฒั นาโดยหวั หน้านกั ออกแบบ เกลบ โลซีโน-โลซินสกี แห่งบริษัทจรวดอเี นอร์เจีย
บรู ันตัง้ ใจให้ใชไ้ ดท้ ้ังในโหมดอตั โนมัติและมคี นบังคับ
การปล่อยบรู นั ขน้ึ สวู่ งโคจรคร้งั แรกและครัง้ เดยี วน้ันเกดิ ขึ้นเมือ่ เวลา 3:00 UTC ของวนั ท่ี 15
พฤศจกิ ายน 1988 โครงการถูกยกเลิกในปี ค.ศ. 1993

อินเตอร์คอสมอส (1978-1988)

เปน็ โครงการอวกาศร่วมกันระหวา่ งสหภาพโซเวียตและกล่มุ สนธสิ ญั ญาวอรซ์ อและประเทศ
อน่ื เชน่ อฟั กานิสถาน,ควิ บา,มองโกเลียและเวียดนามและกลุม่ ประเทศขบวนการไมฝ่ กั ใฝฝ่ ่ายใดเช่น
อินเดยี และซเี รยี และก็โลกเสรีอยา่ งฝรั่งเศสเปน็ ต้น

เวกา (1984-1985)

เป็นความรว่ มมือระหวา่ ง สหภาพโซเวยี ต,ออสเตรีย,บลั แกเรีย, ฮังการ,ี
สาธารณรัฐประชาธปิ ไตยเยอรมัน, โปแลนด,์ สโลวาเกีย, ฝรั่งเศส,
และสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีในเดอื นธนั วาคมปี ค.ศ. 1984

~ 31 ~

มีภารกิจสองสว่ นคอื การสำรวจดาวศุกร์ดว้ ยบอลลนู ตรวจอากาศกับการสำรวจหางฮลั เลย์ มที ง้ั หมด
2ลำ ยานอวกาศท้งั สองปลอ่ ยในวนั ท่ี 15 เดือนธันวาคมและ 21 ปี ค.ศ. 1984 ตามลำดบั
โฟบอส (1988)

เปน็ โครงการสำรวจดาวองั คารและดวงจนั ทร์โฟบอสและดมี อส โฟบอส 1 ถูกปล่อยในวนั ที่
7 กรกฎาคม 1988 และโฟบอส 2 ในวนั ท่ี 12 กรกฎาคมปี ค.ศ. 1988 โฟบอส 1
ประสบความลม้ เหลวในการนำเสน้ ทางไปดาวองั คาร โฟบอส 2 เข้าวงโคจรดาวอังคาร
ไดเ้ ข้าสำรวจดาวอังคารและดวงจนั ทรโ์ ฟบอสและดมี อส
แต่การตดิ ตอ่ ไดห้ ายไปกอ่ นขน้ั การสำรวจตอนสดุ ท้าย
เมียร์ (1986-2001)

เปน็ โครงการอวกาศสถานอี วกาศโซเวยี ต และนบั เป็นสถานีวจิ ัยถาวรระยะยาวแหง่ แร
กในอวกาศของมนุษยชาติ สถานปี ระกอบดว้ ยมอดูลต่าง ๆ หลายมอดูล
แตล่ ะส่วนถูกทะยอยนำขึ้นสอู่ วกาศ เริ่มจากส่วนแรกในวนั ท่ี 19 กมุ ภาพันธ์ 1986
จนถึงมอดูลสดุ ทา้ ยในปี ค.ศ. 1996
สถานีอวกาศเมียรห์ มดอายุการใช้งานและถกู เผาทำลายในบรรยากาศโลกเมื่อวนั ท่ี 23 มีนาคม
2001

~ 32 ~

การบกุ เบิก

ภาพแรกของอกี ฟากหนงึ่ ของดวงจันทรโ์ ดยลูนา 3

สองวนั หลังจากที่ สหรฐั อเมริกา ประกาศความตง้ั ใจทีจ่ ะสร้างดาวเทยี ม, 31 กรกฎาคม
1956 สหภาพโซเวยี ตประกาศความต้ังใจทจ่ี ะทำเช่นเดยี วกนั สปตุ นิก 1 เปิดตัววนั ที่ 4 ตุลาคม
1957 สหรัฐอเมรกิ าหน้าแตกและคนตื่นตะลงึ ทัว่ ทุกมมุ โลก

โครงการอวกาศของโซเวยี ตท่เี ปน็ ผ้บู กุ เบกิ ส่ิงตา่ งๆในการสำรวจอวกาศ:
● ค.ศ. 1957 ขปี นาวธุ อาร์-7 เปน็ ขีปนาวธุ ขา้ มทวปี ลกู แรก

~ 33 ~

● ค.ศ. 1957 สปตุ นิก 1 เปน็ ดาวเทยี มดวงแรก
● ค.ศ. 1957 ไลก้า เปน็ ส่งิ มีชีวิตตัวแรกท่ีเดินทางไปอวกาศในสปตุ นกิ 2
● ค.ศ. 1959 ลนู า 1 เป็นดาวเทยี มดวงแรกท่ีไปถงึ ดวงจันทร์
● ค.ศ. 1959 ลูนา 2 เปน็ ดาวเทียมดวงแรกที่กระแทกลงดวงจันทร์
● ค.ศ. 1959 ลนู า 3

เปน็ ดาวเทียมดวงแรกที่ถา่ ยภาพแรกของอีกฟากหนึ่งของดวงจันทร์
● ค.ศ. 1960 เบลก้า (Belka) และ สเตรลกา้ (Strelka) ในสปุตนิก 5

เป็นส่ิงมีชีวิตเดินทางไปอวกาศและกลับมาอยา่ งปลอดภยั
● ค.ศ. 1961 เวเนรา 1 เป็นดาวเทยี มดวงแรกทไี่ ปถึงดาวศกุ ร์ [25]
● ค.ศ. 1961 ยูริ กาการินเปน็ มนษุ ยค์ นแรกในอวกาศ ใน วอสตอค 1
● ค.ศ. 1961 คนแรกทีจ่ ะใช้เวลาในอวกาศ 24 ชว่ั โมงคือ Gherman Titov ใน

วอสตอค 2
● ค.ศ. 1962 วอสตอค 3และวอสตอค 4 เปน็ การปลอ่ ยยานคู่กันเป็นครั้งแรก
● ค.ศ. 1962 มาร์ส 1 เปน็ ดาวเทยี มดวงแรกทีไ่ ปถงึ ดาวองั คาร
● ค.ศ. 1963 วาเลนตีนา เตเรชโควา เป็นผหู้ ญงิ คนแรกในอวกาศใน วอสตอค 6
● ค.ศ. 1964 วอสฮอด 1 เปน็ ยานทีส่ ามารถบรรทุกลูกเรอื ได3้ คนลำแรก
● ค.ศ. 1965 อเล็กซี ลีโอนอฟ เป็นมนุษยค์ นแรกทเ่ี ดินในอวกาศ ใน วอสฮอด 2
● ค.ศ. 1965 เวเนรา 3 เป็นดาวเทยี มดวงแรกทก่ี ระแทกลงดาวศุกร์
● ค.ศ. 1966 ลนู า 9 เป็นดาวเทยี มดวงแรกลงจอดบนดวงจนั ทร์
● ค.ศ. 1966 ลนู า 10 เป็นยานที่ลงจอดบนดวงจันทร์ลำแรก
● ค.ศ. 1967 คอสมอส186 กบั คอสมอส188

เปน็ การนดั พบและเทียบท่าไรค้ นขบั ครั้งแรก
● ค.ศ. 1968 สิ่งมีชีวิตตัวแรกทโี่ ครงจรรอบดวงจนั ทรแ์ ละกลบั มาอยา่ งปลอดภยั

เต่ารสั เซยี ในซอนด์ 5
● ค.ศ. 1969 โซยซุ 4และโซยซุ 5 เป็นการนัดพบและเทียบท่าแบบมคี นขบั ครั้งแรก

~ 34 ~

● ค.ศ. 1970 ลนู า 16
เป็นยานท่ีมกี ารเก็บตวั อย่างหนิ ดวงจนั ทรโ์ ดยใชย้ านระบบอัตโนมตั ิครง้ั แรก

● ค.ศ. 1970 ลโู นฮอด 1 การนำหนุ่ สำรวจอตั โนมัตมิ าใชบ้ นดวงจันทรค์ รง้ั แรก
● ค.ศ. 1970 เวเนรา 7 เป็นยานอวกาศท่ีลงจอดและสำรวจดาวศกุ ร์ยานแรก
● ค.ศ. 1971 ซัสยุส 1 เปน็ สถานอี วกาศลำแรก
● ค.ศ. 1971 มารส์ 2 เป็นดาวเทยี มดวงแรกทกี่ ระแทกลงดาวองั คาร
● ค.ศ. 1971 มาร์ส 3 เปน็ ยานอวกาศลำแรกทจี่ ะลงจอดบนดาวองั คาร
● ค.ศ. 1975 เวเนรา 9 ถา่ ยภาพพ้ืนผวิ ของดาวศกุ รเ์ ปน็ ภาพแรก [31]
● ค.ศ. 1980 Arnaldo Tamayo Méndez (ควิ บา)

เป็นชาวลาตนิ และผิวสคี นแรกในอวกาศ โซยุซ 28
● ค.ศ. 1984 Svetlana Savitskaya เปน็ ผ้หู ญิงคนแรกท่เี ดินในอวกาศ

ในสถานีอวกาศซัสยสุ 7
● ค.ศ. 1986 ลกู เรอื ใน สถานอี วกาศซัสยสุ 7กับสถานีอวกาศเมยี ร์

เป็นลูกเรอื ชุดแรกทเ่ี ยอื นสถานีอวกาศสองที่ ในภารกิจเดี่ยวกัน
● ค.ศ. 1986 เวกา 1 และ เวกา 2

เปน็ ยานแรกทีใ่ ช้บอลลูนบงั คับในการสำรวจดาวศกุ ร์
และการถ่ายภาพระยะใกลข้ องดาวหางคร้งั แรก
● ค.ศ. 1986 สถานอี วกาศเมียร์ เปน็ สถานอี วกาศแบบประกอบลำแรก
● ค.ศ. 1987 Vladimir Titov และ Musa Manarov
เป็นลกู เรือชดุ แรกทจ่ี ะใช้เวลาในอวกาศ มากกวา่ 1ปี ในโซยุซทีเอ็ม-4

~ 35 ~

ดาราศาสตร์

ดาราศาสตร์ คอื วชิ าวทิ ยาศาสตรท์ ีศ่ ึกษาวตั ถทุ ้องฟ้า (อาทิ ดาวฤกษ์ ดาวเคราะห์ ดาวหาง
และดาราจักร) รวมทงั้ ปรากฏการณท์ างธรรมชาติตา่ ง ๆ ท่เี กดิ ขึ้นจากนอกชน้ั บรรยากาศของโลก
โดยศกึ ษาเกยี่ วกบั ววิ ัฒนาการ ลักษณะทางกายภาพ ทางเคมี ทางอุตุนยิ มวทิ ยา
และการเคลอื่ นทข่ี องวัตถุท้องฟา้ ตลอดจนถึงการกำเนิดและวิวฒั นาการของเอกภพ

ดาราศาสตรเ์ ป็นหนึง่ ในสาขาของวทิ ยาศาสตรท์ ีเ่ กา่ แก่ทส่ี ดุ
นกั ดาราศาสตร์ในวัฒนธรรมโบราณสังเกตการณด์ วงดาวบนท้องฟ้าในเวลากลางคนื
และวตั ถุทางดาราศาสตรห์ ลายอยา่ งก็ได้ถูกค้นพบเร่อื ยมาตามยุคสมยั อยา่ งไรก็ตาม
กลอ้ งโทรทรรศนเ์ ปน็ ส่ิงประดิษฐ์ทจี่ ำเป็นกอ่ นทจ่ี ะมกี ารพฒั นามาเปน็ วิทยาศาสตรส์ มยั ใหม่
ต้ังแตอ่ ดตี กาล ดาราศาสตรป์ ระกอบไปดว้ ยสาขาที่หลากหลายเช่น การวดั ตำแหนง่ ดาว
การเดินเรอื ดาราศาสตร์ ดาราศาสตร์เชิงสังเกตการณ์ การสร้างปฏิทนิ และรวมท้งั โหราศาสตร์
แตด่ าราศาสตร์ทุกวนั น้ถี กู จดั วา่ มคี วามหมายเหมือนกับฟสิ กิ ส์ดาราศาสตร์ ตั้งแต่ครสิ ตศ์ ตวรรษที่
20 เปน็ ต้นมา ดาราศาสตรไ์ ด้แบง่ ออกเปน็ สองสาขาได้แก่ ดาราศาสตร์เชิงสังเกตการณ์
และดาราศาสตร์เชิงทฤษฎี
ดาราศาสตร์เชงิ สงั เกตการณจ์ ะใหค้ วามสำคญั ไปที่การเก็บและการวิเคราะหข์ ้อมลู
โดยการใช้ความรทู้ างกายภาพเบื้องตน้ เป็นหลกั
ส่วนดาราศาสตร์เชงิ ทฤษฎใี หค้ วามสำคญั ไปทก่ี ารพฒั นาคอมพิวเตอร์หรือแบบจำลองเชิงวิเคราะห์
เพื่ออธิบายวตั ถทุ อ้ งฟ้าและปรากฏการณต์ า่ ง ๆ ทัง้ สองสาขานเี้ ป็นองค์ประกอบซึ่งกนั และกัน
กล่าวคอื ดาราศาสตร์เชงิ ทฤษฎใี ช้อธบิ ายผลจากการสังเกตการณ์
และดาราศาสตรเ์ ชงิ สงั เกตการณใ์ ช้ในการรบั รองผลจากทางทฤษฎี

การคน้ พบส่งิ ต่าง ๆ
ในเรื่องของดาราศาสตรท์ ีเ่ ผยแพรโ่ ดยนักดาราศาสตรส์ มัครเล่นนน้ั มคี วามสำคญั มาก
และดาราศาสตร์กเ็ ป็นหน่งึ ในวิทยาศาสตร์จำนวนนอ้ ยสาขาทีน่ กั ดาราศาสตรส์ มคั รเล่นยงั คงมบี ทบ
าท โดยเฉพาะการค้นพบหรือการสังเกตการณป์ รากฏการณ์ที่เกดิ ขนึ้ เพยี งชัว่ คราว

~ 36 ~

ไม่ควรสับสนระหวา่ งดาราศาสตร์โบราณกับโหราศาสตร์
ซ่ึงเป็นความเชือ่ ทีน่ ำเอาเหตกุ ารณแ์ ละพฤติกรรมของมนษุ ยไ์ ปเก่ยี วโยงกับตำแหนง่ ของวตั ถุท้องฟา้
แม้ว่าทงั้ ดาราศาสตร์และโหราศาสตรเ์ กิดมาจากจดุ รว่ มเดยี วกนั
และมสี ว่ นหนึง่ ของวิธีการศึกษาที่เหมือนกนั เชน่ การบันทกึ ตำแหน่งดาว (ephemeris)
แต่ทงั้ สองอย่างกแ็ ตกต่างกนั

ในปี ค.ศ. 2019 น้ีเป็นการครบรอบ 410
ปีของการพสิ ูจน์แนวคิดเร่อื งดวงอาทิตยเ์ ปน็ ศนู ย์กลางของจักรวาล ของ นิโคเลาส์ โคเปอรน์ ิคสั
อนั เป็นการพลกิ คตแิ ละโคน่ ความเช่อื เกา่ แก่เร่อื งโลกเป็นศูนย์กลางของจกั รวาลของอรสิ โตเตลิ ท่ีมมี
าเนิ่นนาน
โดยการใช้กลอ้ งโทรทรรศนส์ งั เกตการณท์ างดาราศาสตรข์ องกาลเิ ลโอซ่งึ ชว่ ยยนื ยันแนวคดิ ของโคเป
อร์นคิ ัส องค์การสหประชาชาติจงึ ได้ประกาศให้ปนี ีเ้ ปน็ ปดี าราศาสตรส์ ากล
มีเปา้ หมายเพื่อใหส้ าธารณชนได้มสี ว่ นรว่ มและทำความเข้าใจกบั ดาราศาสตรม์ ากยงิ่ ข้ึน

ประวัติ

ดาราศาสตรน์ บั เปน็ วิชาทเี่ กา่ แกท่ สี่ ดุ วชิ าหนึง่ เพราะนับตั้งแต่มมี นษุ ยอ์ ย่บู นโลก
เขายอ่ มได้เหน็ ไดส้ มั ผัสกับสิง่ แวดลอ้ มตามธรรมชาติเสมอมา แล้วกเ็ รมิ่ สังเกตจดจำและเลา่ ตอ่ ๆ
กนั เชน่ เม่อื มองออกไปรอบตัวเหน็ พื้นดินราบ ดูออกไปไกล ๆ ก็ยงั เห็นวา่ พ้ืนผวิ ของโลกแบน
จงึ คดิ กนั ว่าโลกแบน มองฟ้าเหน็ โค้งคล้ายฝาชหี รือโดม มีดาวใหเ้ หน็ เคลอื่ นข้ามศรี ษะไปทุกคนื
กลางวันมลี ูกกลมแสงจา้ ให้แสง สี ความรอ้ น ซึ่งก็คอื ดวงอาทิตย์
ทเ่ี คล่ือนขึน้ มาแล้วกล็ บั ขอบฟ้าไป ดวงอาทติ ย์จึงมคี วามสำคญั กบั เรามาก

การศกึ ษาดาราศาสตร์ในยคุ แรก ๆ
เป็นการเฝา้ ดแู ละคาดเดาการเคลอ่ื นทข่ี องวตั ถทุ อ้ งฟ้าเหลา่ นั้นที่สามารถมองเหน็ ได้ดว้ ยตาเปลา่
ก่อนยคุ สมยั ท่ีกลอ้ งโทรทรรศน์จะถูกประดิษฐข์ นึ้
มีสง่ิ ปลูกสรา้ งโบราณหลายแห่งทเ่ี ชือ่ วา่ เปน็ สถานท่ีสำหรับการเฝา้ ศกึ ษาทางดาราศาสตร์ เชน่
สโตนเฮนจ์ นอกจากน้ีการเฝ้าศึกษาดวงดาวยงั มีความสำคญั ต่อพิธกี รรม ความเช่อื

~ 37 ~

และเป็นการบ่งบอกถึงการเปลย่ี นฤดกู าล ซง่ึ เป็นปจั จยั สำคญั ต่อสงั คมเกษตรกรรมการเพาะปลูก
รวมถงึ เปน็ เคร่ืองบ่งช้ถี ึงระยะเวลา วัน เดือน ปี

เมอื่ สังคมมีวิวฒั นาการข้ึนในดินแดนต่าง ๆ
การสังเกตการณ์ทางดาราศาสตรก์ ็ซบั ซ้อนมากข้นึ โดยเฉพาะอย่างย่งิ ใน เมโสโปเตเมีย กรกี จีน
อยี ปิ ต์ อินเดีย และ มายา
เรม่ิ มแี นวคดิ เกีย่ วกับความสมั พันธข์ องธรรมชาติแห่งจักรวาลกวา้ งขวางขึน้
ผลการศกึ ษาดาราศาสตร์ในยคุ แรก ๆ จะเป็นการบนั ทึกแผนทต่ี ำแหนง่ ของดวงดาวตา่ ง ๆ
อนั เป็นศาสตร์ท่ีปจั จบุ ันเรยี กกันวา่ การวดั ตำแหนง่ ดาว (astrometry)
ผลจากการเฝ้าสงั เกตการณ์ทำให้แนวคดิ เกี่ยวกับการเคล่ือนทข่ี องดวงดาวตา่ ง ๆ
เร่มิ กอ่ ตวั เป็นรูปรา่ งข้นึ ธรรมชาตกิ ารเคลื่อนทีข่ องดวงอาทิตย์ ดวงจนั ทร์ และโลก
นำไปสู่แนวคดิ เชิงปรชั ญาเพอื่ พยายามอธบิ ายปรากฏการณ์เหล่านัน้
ความเช่อื ดั้งเดิมคอื โลกเป็นศนู ยก์ ลางของจักรวาล โดยมีดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และดวงดาวตา่ ง ๆ
เคลือ่ นทไ่ี ปโดยรอบ แนวคดิ น้เี รียกว่า แบบจำลองแบบโลกเป็นศนู ยก์ ลางจักรวาล (geocentric
model)

มกี ารคน้ พบทางดาราศาสตร์ทสี่ ำคญั ไมม่ ากนกั กอ่ นการประดษิ ฐก์ ลอ้ งโทรทรรศน์
ตัวอยา่ งการคน้ พบเชน่
ชาวจีนสามารถประเมินความเอียงของแกนโลกได้ประมาณหน่งึ พันปกี อ่ นคริสตกาล
ชาวบาบโิ ลนค้นพบว่าปรากฏการณ์จันทรคราสจะเกดิ ขนึ้ ซำ้ เป็นช่วงเวลา เรยี กว่า วงรอบซารอส
และชว่ งสองร้อยปกี อ่ นครสิ ตกาล ฮิปปาร์คสั นกั ดาราศาสตร์ชาวกรกี
สามารถคำนวณขนาดและระยะหา่ งของดวงจนั ทร์ได้

~ 38 ~

การปฏวิ ัตทิ างวทิ ยาศาสตร์

ภาพรา่ งการสังเกตการณด์ วงจนั ทรข์ องกาลิเลโอ ทำใหเ้ ห็นวา่ พืน้ ผิวดวงจนั ทร์นน้ั ขรขุ ระ
ในยคุ เรอเนซองส์ นโิ คเลาส์ โคเปอร์นิคสั

ได้นำเสนอแนวคดิ แบบจำลองดวงอาทติ ย์เป็นศนู ยก์ ลาง ซึง่ ถูกตอ่ ต้านอย่างมากจากศาสนจักร
ทว่าไดร้ ับการยนื ยันรับรองจากงานศึกษาของกาลิเลโอ กาลเิ ลอี และ โยฮนั เนส เคปเลอร์
โดยท่ีกาลเิ ลโอไดป้ ระดิษฐ์กล้องโทรทรรศนห์ ักเหแสงแบบใหมข่ ึ้นในปี ค.ศ. 1609
ทำให้สามารถเฝา้ สงั เกตดวงดาวและนำผลจากการสังเกตมาช่วยยนื ยนั แนวคดิ น้ี

เคปเลอร์ได้คิดคน้ ระบบแบบใหม่ข้นึ โดยปรบั ปรงุ จากแบบจำลองเดมิ ของโคเปอร์นิคสั
ทำใหร้ ายละเอียดการโคจรตา่ ง ๆ
ของดาวเคราะหแ์ ละดวงอาทติ ย์ทศ่ี นู ยก์ ลางสมบรู ณ์ถกู ตอ้ งมากยิ่งขน้ึ
แตเ่ คปเลอร์กไ็ มป่ ระสบความสำเรจ็ ในการนำเสนอทฤษฎีนเ้ี นือ่ งจากกฎหมายในยคุ สมยั นน้ั
จนกระทงั่ ตอ่ มาถึงยุคสมยั ของเซอร์ ไอแซค นิวตนั

~ 39 ~

ผคู้ ดิ ค้นหลักกลศาสตรท์ อ้ งฟา้ และกฎแรงโนม้ ถ่วงซ่ึงสามารถอธบิ ายการเคลื่อนที่ของดาวเคราะหไ์ ด้
อยา่ งสมบรู ณ์ นวิ ตันยังไดค้ ิดค้นกลอ้ งโทรทรรศนแ์ บบสะท้อนแสงข้นึ ดว้ ย

การคน้ พบใหม่ ๆ เกดิ ขึ้นเร่ือย ๆ
พร้อมไปกับการพัฒนาขนาดและคณุ ภาพของกล้องโทรทรรศน์ทด่ี ยี งิ่ ข้ึน
มีการจดั ทำรายชอ่ื ดาวอย่างละเอยี ดเปน็ ครั้งแรกโดย ลาซายล์ ต่อมานักดาราศาสตรช์ อ่ื วลิ เลยี ม
เฮอรเ์ ชล ไดจ้ ัดทำรายการโดยละเอียดของเนบิวลาและกระจุกดาว ค.ศ. 1781
มกี ารคน้ พบดาวยเู รนสั ซง่ึ เปน็ การค้นพบดาวเคราะหด์ วงใหมเ่ ป็นครงั้ แรก ค.ศ. 1838
มกี ารประกาศระยะทางระหวา่ งดาวเปน็ ครัง้ แรกโดยฟรดี ดริค เบสเซล
หลงั จากตรวจพบพารลั แลกซ์ของดาว 61 Cygni

ระหว่างครสิ ต์ศตวรรษท่ี 19 ออยเลอร์ คลาเราต์ และดาเลมเบริ ต์
ไดค้ ดิ ค้นคณติ ศาสตรเ์ กี่ยวกบั ปญั หาสามวตั ถุ (three-body problem หรือ n-body problem)
ทำให้การประมาณการเคลอื่ นที่ของดวงจันทรแ์ ละดาวเคราะห์สามารถทำได้แม่นยำขึน้
งานชน้ิ น้ีได้รับการปรบั ปรุงตอ่ มาโดย ลากรองจ์ และ ลาปลาส
ทำให้สามารถประเมินมวลของดาวเคราะห์และดวงจันทร์ได้

การคน้ พบสำคญั ทางดาราศาสตรป์ ระสบความสำเรจ็ มากขึ้นเมอื่ มีเทคโนโลยใี หม่ ๆ เชน่
การถ่ายภาพ และสเปกโตรสโคป เราทราบวา่ ดวงดาวตา่ ง ๆ
ท่ีแท้เป็นดาวฤกษ์ทมี่ ลี กั ษณะคลา้ ยคลึงกบั ดวงอาทิตย์ของเรานัน่ เอง แต่มีอณุ หภมู ิ มวล
และขนาดท่ีแตกตา่ งกันไป

การคน้ พบว่า ดาราจักรของเราหรอื ดาราจักรทางชา้ งเผือกน้ี
เป็นกลุ่มของดาวฤกษ์ที่รวมตวั อยดู่ ้วยกนั เพ่งิ เกดิ ขึ้นในครสิ ตศ์ ตวรรษท่ี 20 นีเ้ อง
พรอ้ มกบั การคน้ พบการมีอยู่ของดาราจักรอ่นื ๆ ต่อมาจึงมีการคน้ พบว่า เอกภพกำลังขยายตวั
โดยดาราจักรตา่ ง ๆ กำลงั เคลื่อนที่ห่างออกจากเรา
การศกึ ษาดาราศาสตรย์ ุคใหม่ยงั คน้ พบวตั ถทุ ้องฟ้าใหม่ ๆ อกี หลายชนิด เช่น เควซาร์ พลั ซาร์
เบลซาร์ และดาราจักรวิทยุ
ผลจากการคน้ พบเหล่าน้นี ำไปสูก่ ารพัฒนาทฤษฎีทางฟสิ ิกส์เพอ่ื อธบิ ายปรากฏการณข์ องวตั ถุเหล่า

~ 40 ~

นเี้ ปรยี บเทยี บกับวตั ถปุ ระหลาดอนื่ ๆ เชน่ หลมุ ดำ และดาวนวิ ตรอน
ศาสตรท์ างดา้ นฟิสกิ สจ์ กั รวาลวทิ ยามคี วามกา้ วหนา้ อยา่ งมากตลอดครสิ ต์ศตวรรษท่ี 20
แบบจำลองบกิ แบงไดร้ ับการสนับสนุนจากหลักฐานต่าง ๆ
ที่ค้นพบโดยนักดาราศาสตรแ์ ละนกั ฟสิ กิ ส์ เชน่ การแผร่ งั สไี มโครเวฟพื้นหลงั ของจักรวาล
กฎของฮับเบิล และการท่มี ีธาตตุ า่ ง ๆ มากมายอย่างไม่คาดคดิ ในจกั รวาลภายนอก

ดาราศาสตรเ์ ชิงสังเกตการณ์

ในทางดาราศาสตร์
สารสนเทศส่วนใหญไ่ ดจ้ ากการตรวจหาและวเิ คราะห์โฟตอนซึ่งเปน็ การแผร่ งั สแี ม่เหล็กไฟฟา้
แตอ่ าจไดจ้ ากขอ้ มูลทม่ี ากบั รังสคี อสมกิ นวิ ตรโิ น ดาวตก
และในอนาคตอันใกลอ้ าจไดจ้ ากคลน่ื ความโนม้ ถว่ ง

การแบง่ หมวดของดาราศาสตรเ์ ชิงสังเกตการณส์ ามารถแบง่ ไดต้ ามการสงั เกตการณ์สเปกตรั
มแม่เหล็กไฟฟ้าในย่านตา่ ง ๆ
โดยการสงั เกตการณบ์ างยา่ นสเปกตรมั สามารถกระทำได้บนพืน้ ผิวโลก
แต่บางยา่ นจะสามารถทำไดใ้ นชนั้ บรรยากาศสงู หรอื ในอวกาศเทา่ นน้ั
การสงั เกตการณ์ดาราศาสตร์ในย่านสเปกตรมั ตา่ ง ๆ แสดงดงั รายละเอยี ดตอ่ ไปน้ี

ดาราศาสตร์วิทยุ

ดาราศาสตรว์ ทิ ยเุ ป็นการตรวจหาการแผร่ ังสีในความยาวคลน่ื ทยี่ าวกว่า 1 มลิ ลเิ มตร
(ระดับมลิ ลเิ มตรถงึ เดคาเมตร)
เปน็ การศกึ ษาดาราศาสตรท์ แี่ ตกตา่ งจากการศกึ ษาดาราศาสตรเ์ ชิงสงั เกตการณร์ ปู แบบอนื่ ๆ
เพราะเปน็ การศกึ ษาคล่นื วิทยุซึง่ ถอื วา่ เป็นคลืน่ จรงิ ๆ มากกวา่ เป็นการศึกษาอนุภาคโฟตอน
จงึ สามารถตรวจวดั ได้ท้งั แอมปลจิ ดู และเฟสของคลื่นวิทยซุ ึ่งจะทำไดย้ ากกวา่ กบั คลน่ื ทมี่ ีความยาวค
ลน่ื ต่ำกวา่ นี้

~ 41 ~

คลน่ื วทิ ยทุ ี่แผจ่ ากวตั ถุดาราศาสตรจ์ ำนวนหนงึ่ อาจอยใู่ นรูปของการแผ่รังสคี วามร้อน
โดยมากแลว้ การแผค่ ล่ืนวทิ ยุทีต่ รวจจบั ไดบ้ นโลกมกั อยู่ในรูปแบบของการแผ่รงั สซี งิ โครตรอน
ซ่งึ เกดิ จากการทอี่ เิ ล็กตรอนเคล่อื นที่เปน็ คาบรอบเสน้ แรงสนามแมเ่ หลก็
นอกจากน้ีสเปกตรมั ที่เกดิ จากแกส๊ ระหวา่ งดาว โดยเฉพาะอย่างยิ่งเส้นสเปกตรมั ของไฮโดรเจนที่
21 เซนตเิ มตร จะสามารถสังเกตได้ในช่วงคลื่นวิทยุ

วัตถดุ าราศาสตร์ทีส่ ามารถสงั เกตได้ในช่วงคลนื่ วิทยุมีมากมาย รวมไปถงึ ซเู ปอร์โนวา
แก๊สระหวา่ งดาว พลั ซาร์ และนวิ เคลียสดาราจักรกมั มันต์

ดาราศาสตร์เชงิ แสง

การสังเกตการณ์ดาราศาสตรเ์ ชิงแสงเปน็ การศกึ ษาดาราศาสตร์ทเี่ ก่าแกท่ ่สี ดุ
คอื การสงั เกตการณ์ทอ้ งฟา้ ดว้ ยดวงตามนุษย์ โดยอาศัยเครื่องมอื ชว่ ยบา้ งเช่น กล้องโทรทรรศน์
ภาพทมี่ องเห็นถูกบันทกึ เอาไว้โดยการวาด จนกระท่ังชว่ งปลายครสิ ต์ศตวรรษที่ 19
และตลอดคริสต์ศตวรรษท่ี 20 จึงมีการบันทกึ ภาพสงั เกตการณด์ ว้ ยเครือ่ งมือถ่ายภาพ
ภาพสงั เกตการณย์ ุคใหม่มกั ใช้อปุ กรณ์ตรวจจบั แบบดิจิตอล
ทีน่ ยิ มอยา่ งมากคอื อุปกรณ์จับภาพแบบซีซีดี แม้ว่าแสงที่ตามองเหน็ จะมีความยาวคลืน่ อยรู่ ะหว่าง
4000 Å ถงึ 7000 Å (400-700 nm)
แตอ่ ุปกรณต์ รวจจับเหลา่ น้กี ็มักจะมคี วามสามารถสงั เกตภาพทมี่ ีการแผร่ งั สแี บบใกล้อลั ตราไวโอเลต
และใกล้อนิ ฟราเรดไดด้ ้วย

ดาราศาสตรอ์ ินฟราเรด

ดาราศาสตรอ์ นิ ฟราเรด เปน็ การตรวจหาและวเิ คราะห์การแผร่ งั สีในชว่ งคลืน่ อินฟราเรด
(คอื ช่วงความยาวคลืน่ ทีย่ าวกว่าแสงสแี ดง) ยกเวน้ ในชว่ งคลืน่ ที่ใกล้เคียงกบั แสงที่ตามองเห็น
การแผร่ งั สอี นิ ฟราเรดจะถกู ชั้นบรรยากาศของโลกดดู ซบั ไปมากแล้วชั้นบรรยากาศจะปลดปล่อยรงั
สอี นิ ฟราเรดออกมาแทน
ดงั นัน้ การสังเกตการณ์ในช่วงคล่นื อนิ ฟราเรดจงึ จำเปน็ ตอ้ งทำทร่ี ะดบั บรรยากาศทีส่ งู และแหง้

~ 42 ~

หรือออกไปสังเกตการณใ์ นอวกาศ
การศึกษาดาราศาสตรใ์ นช่วงคลนื่ อินฟราเรดมปี ระโยชน์มากในการศกึ ษาวัตถุท่ีเยน็ เกินกว่าจะแผร่ งั
สีคลื่นแสงที่ตามองเหน็ ออกมาได้ เชน่ ดาวเคราะห์ และแผ่นจานดาวฤกษ์ (circumstellar disk)
ยิง่ คลน่ื อินฟราเรดมคี วามยาวคล่ืนมาก
จะสามารถเดนิ ทางผ่านกลุ่มเมฆฝนุ่ ได้ดีกวา่ แสงที่ตามองเหน็ มาก
ทำให้เราสามารถเฝ้าสังเกตดาวฤกษ์เกดิ ใหม่ในเมฆโมเลกลุ และในใจกลางของดาราจักรตา่ ง ๆ ได้[
โมเลกุลบางชนิดปลดปลอ่ ยคลืน่ อนิ ฟราเรดออกมาแรงมาก
ซ่ึงทำให้เราสามารถศกึ ษาลกั ษณะทางเคมีในอวกาศได้ เชน่ การตรวจพบนำ้ บนดาวหาง เปน็ ตน้

ดาราศาสตรพ์ ลงั งานสงู

ภาพถ่ายดาราจักร M81 ในรงั สอี ลั ตราไวโอเล็ต โดยกลอ้ งโทรทรรศนอ์ วกาศ GALEX

ดาราศาสตร์รงั สอี ัลตราไวโอเลต

ดาราศาสตร์รงั สีอลั ตราไวโอเลตเปน็ การศึกษาวัตถุทางดาราศาสตรใ์ นช่วงความยาวคล่นื ส้ัน
กว่าแสงม่วง คอื ประมาณ 10-3200 Å (10-320 นาโนเมตร)

~ 43 ~

แสงทีค่ วามยาวคลนื่ น้ีจะถูกช้ันบรรยากาศของโลกดูดซบั ไป
ดงั นั้นการสังเกตการณ์จงึ ตอ้ งกระทำท่ชี ัน้ บรรยากาศรอบนอก หรอื ในห้วงอวกาศ
การศึกษาดาราศาสตรร์ ังสีอัลตราไวโอเลตจะใช้ในการศกึ ษาการแผร่ งั สคี วามร้อนและเส้นการกระจ
ายตวั ของสเปกตรมั จากดาวฤกษ์สนี ำ้ เงนิ รอ้ นจัด (ดาวโอบี) ท่ีสอ่ งสวา่ งมากในชว่ งคลนื่ นี้
รวมไปถึงดาวฤกษส์ นี ำ้ เงนิ ในดาราจกั รอน่ื ท่เี ปน็ เปา้ หมายสำคญั ในการสำรวจระดบั อัลตราไวโอเลต
วัตถอุ ืน่ ๆ ท่มี กี ารศึกษาแสงอลั ตราไวโอเลตได้แก่ เนบิวลาดาวเคราะห์ ซากซเู ปอรโ์ นวา
และนิวเคลยี สดาราจกั รกมั มันต์อย่างไรกด็ ี
แสงอัลตราไวโอเลตจะถกู ฝ่นุ ระหวา่ งดวงดาวดูดซบั หายไปไดง้ ่าย
ดังนัน้ การตรวจวัดแสงอัลตราไวโอเลตจากวัตถุจึงตอ้ งนำมาปรบั ปรงุ ค่าให้ถกู ตอ้ งดว้ ย

ดาราศาสตร์รังสเี อ็กซ์

ดาราศาสตรร์ งั สเี อ็กซ์ คอื การศึกษาวัตถทุ างดาราศาสตรใ์ นช่วงความยาวคลื่นของรงั สเี อ็กซ์
โดยท่ัวไปวตั ถุจะแผร่ ังสเี อก็ ซอ์ อกมาจากการแผ่รงั สีซงิ โครตรอน
(เกิดจากอเิ ล็กตรอนแกว่งตวั เปน็ คาบรอบเสน้ แรงสนามแม่เหล็ก)
จากการแผค่ วามรอ้ นของแก๊สเบาบางทีอ่ ณุ หภูมสิ งู กว่า 107 เคลวิน (เรียกวา่ การแผร่ งั สี
bremsstrahlung) และจากการแผ่ความร้อนของแกส๊ หนาแน่นท่อี ณุ หภมู ิสูงกว่า 107 เคลวนิ
(เรยี กว่า การแผ่รังสขี องวตั ถดุ ำ) คล่นื รงั สเี อก็ ซ์มักถกู ช้นั บรรยากาศของโลกดดู ซับไป
ดังน้นั การสงั เกตการณใ์ นชว่ งความยาวคลื่นของรังสเี อก็ ซ์จึงทำได้โดยอาศัยบัลลนู ท่ลี อยตวั สูงมาก ๆ
หรอื จากจรวด หรอื จากยานสำรวจอวกาศเท่าน้ัน แหล่งกำเนดิ รงั สีเอก็ ซ์ทีส่ ำคญั ได้แก่
ระบบดาวครู่ ังสีเอก็ ซ์ พลั ซาร์ ซากซูเปอรโ์ นวา ดาราจกั รชนิดรี กระจุกดาราจกั ร
และแกนกลางดาราจกั รกมั มันต์

ดาราศาสตร์รงั สีแกมมา

ดาราศาสตร์รงั สีแกมมาเป็นการศกึ ษาวัตถุทางดาราศาสตร์ในช่วงความยาวคล่นื ทส่ี ้นั ที่สุดข
องสเปกตรมั แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ เราสามารถสังเกตการณร์ ังสีแกมมาโดยตรงได้จากดาวเทยี มรอบโลก
เชน่ หอดดู าวรังสแี กมมาคอมปต์ นั หรอื กลอ้ งโทรทรรศน์เชเรนคอฟ

~ 44 ~

กล้องเชเรนคอฟไมไ่ ดต้ รวจจบั รังสแี กมมาโดยตรง
แต่ตรวจจบั แสงวาบจากแสงทตี่ ามองเห็นอนั เกดิ จากการทร่ี ังสีแกมมาถกู ชั้นบรรยากาศของโลกดดู ซั
บไป

แหลง่ กำเนดิ รังสีแกมมาโดยมากมาจากการเกดิ แสงวาบรังสีแกมมา
ซงึ่ เปน็ รังสแี กมมาทแ่ี ผ่ออกจากวตั ถเุ พยี งชั่วไมก่ ่ีมลิ ลวิ นิ าทหี รืออาจนานหลายพนั วนิ าทีกอ่ นท่มี ันจะ
สลายตัวไป แหล่งกำเนดิ รงั สีแกมมาชวั่ คราวเชน่ นีม้ ีจำนวนกว่า 90%
ของแหลง่ กำเนิดรังสีแกมมาท้งั หมด มแี หลง่ กำเนดิ รังสีแกมมาเพยี ง 10%
เทา่ นั้นทีเ่ ปน็ แหล่งกำเนดิ แบบถาวร ไดแ้ ก่ พัลซาร์ ดาวนิวตรอน
และวตั ถุท่ีอาจกลายไปเป็นหลุมดำได้ เชน่ นิวเคลยี สดาราจกั รกมั มนั ต์

การสังเกตการณ์อ่ืนนอกเหนือจากสเปกตรมั แม่เหล็กไฟฟ้า

นอกเหนอื จากการสงั เกตการณด์ าราศาสตรโ์ ดยการแผร่ งั สีคลน่ื แมเ่ หล็กไฟฟ้าแลว้
ยงั มีการสงั เกตการณอ์ ่นื ๆ ที่ทำไดบ้ นโลกเพอื่ ศึกษาวัตถุในระยะไกลมาก ๆ

ในการศึกษาดาราศาสตรน์ วิ ตริโน นักดาราศาสตร์จะใชห้ ้องทดลองใตด้ ินพิเศษเชน่ SAGE,
GALLEX, และ Kamioka II/III เพอ่ื ทำการตรวจจับนิวตรโิ น ซ่งึ เป็นอนภุ าคทเ่ี กดิ จากดวงอาทติ ย์
แตก่ อ็ าจพบจากซูเปอร์โนวาด้วย
เราสามารถตรวจหารงั สีคอสมกิ ซ่งึ ประกอบด้วยอนภุ าคพลงั งานสูงไดข้ ณะทมี่ ันปะทะกบั ช้นั บรรยา
กาศของโลก
เคร่อื งมอื ตรวจจับนวิ ตรโิ นในอนาคตอาจมคี วามสามารถพอจะตรวจจบั นิวตริโนทเ่ี กดิ จากรงั สคี อสมิ
กในลกั ษณะนไี้ ด้

การเฝา้ สงั เกตการณ์อกี แบบหนง่ึ คอื การสงั เกตการณ์คลืน่ ความโน้มถว่ ง
ตัวอย่างหอสงั เกตการณล์ ักษณะนี้ เชน่ Laser Interferometer Gravitational Observatory
(LIGO) แตก่ ารตรวจหาคลนื่ ความโนม้ ถว่ งยังเปน็ ไปไดย้ ากอยู่

นอกจากน้ี ยังมีการศกึ ษาดาราศาสตรด์ าวเคราะห์
ซง่ึ ทำได้โดยการสังเกตการณโ์ ดยตรงผ่านยานอวกาศ

~ 45 ~

รวมถงึ การเก็บขอ้ มลู ระหว่างท่ยี านเดนิ ทางผา่ นวตั ถุทอ้ งฟ้าตา่ ง ๆ โดยใชเ้ ซน็ เซอรร์ ะยะไกล
ใชย้ านสำรวจเล็กลงจอดบนวัตถเุ ปา้ หมายเพือ่ ทำการศึกษาพ้นื ผิว
หรือศกึ ษาจากตวั อยา่ งวัตถทุ เ่ี ก็บมาจากปฏิบตั กิ ารอวกาศบางรายการทส่ี ามารถนำช้นิ ส่วนตัวอย่าง
กลับมาทำการวิจยั ตอ่ ได้

ดาราศาสตร์เชงิ ทฤษฎี

ในการศกึ ษาดาราศาสตร์เชิงทฤษฎี
มกี ารใช้เครอ่ื งมือหลากหลายชนดิ รวมถงึ แบบจำลองการวเิ คราะหต์ า่ ง ๆ
รวมถงึ การจำลองแบบคำนวณทางคณติ ศาสตร์ในคอมพวิ เตอร์
เคร่ืองมอื แตล่ ะชนดิ ล้วนมีประโยชน์แตกต่างกนั ไป
แบบจำลองการวเิ คราะห์ของกระบวนการจะเหมาะสำหรับใชศ้ กึ ษาถึงสงิ่ ทก่ี ำลังจะเกดิ ข้ึนอนั สามาร
ถสังเกตได้
สว่ นแบบจำลองคณิตศาสตร์สามารถแสดงถงึ การมีอยจู่ รงิ ของปรากฏการณแ์ ละผลกระทบต่าง ๆ
ทีเ่ ราอาจจะมองไม่เห็น.

นกั ดาราศาสตร์ทฤษฎลี ้วนกระตือรือรน้ ทีจ่ ะสร้างแบบจำลองทฤษฎเี พอ่ื ระบุถงึ สิง่ ทีจ่ ะเกิดข้ึ
นต่อไปจากผลสังเกตการณท์ ไี่ ดร้ บั
เพื่อชว่ ยใหผ้ สู้ งั เกตการณส์ ามารถเลอื กใช้หรอื ปฏิเสธแบบจำลองแต่ละชนิดไดต้ ามที่เหมาะสมกับขอ้
มลู นักดาราศาสตร์ทฤษฎยี งั พยายามสร้างหรือปรบั ปรงุ แบบจำลองใหเ้ ขา้ กบั ข้อมูลใหม่ ๆ
ในกรณที ่ีเกดิ ความไมส่ อดคล้องกนั
กม็ ีแนวโนม้ ทีจ่ ะปรับปรงุ แบบจำลองเล็กน้อยเพอ่ื ใหเ้ ขา้ กนั กบั ขอ้ มูล
ในบางกรณถี ้าพบข้อมูลทข่ี ดั แยง้ กบั แบบจำลองอย่างมากเมื่อเวลาผา่ นไปนาน ๆ
กอ็ าจจะต้องลม้ เลิกแบบจำลองนนั้ ไปกไ็ ด้

~ 46 ~

ดวงจนั ทร์

ดวงจนั ทร์เป็นดาราศาสตรว์ ัตถุท่โี คจรรอบโลก เปน็ ดาวบรวิ ารถาวรดวงเดียวของโลก
เป็นดาวบริวารใหญท่ ส่ี ดุ อนั ดบั ที่ 5 ในระบบสุรยิ ะ
และเป็นดาวบริวารขนาดใหญส่ ดุ เมือ่ เทียบกับขนาดของดาวเคราะหท์ โ่ี คจร
ดวงจันทรเ์ ป็นดาวบรวิ ารทม่ี คี วามหนาแน่นทส่ี ุดเปน็ อันดับที่ 2 รองจากไอโอของดาวพฤหัสบดี
ซง่ึ บางสว่ นไมท่ ราบความหนาแนน่ มากหรอื น้อย

คาดว่าดวงจันทร์ก่อกำเนดิ ประมาณ 4.51 พันลา้ นปกี อ่ น ไม่นานหลงั จากโลก
คำอธิบายท่ไี ดร้ บั การยอมรบั กวา้ งขวางทสี่ ดุ คอื ดวงจันทร์กอ่ กำเนิดจากเศษทีเ่ หลอื จากการชนขนาด
ยักษร์ ะหวา่ งโลกกับเทหข์ นาดประมาณดาวองั คารช่อื ธอี า (Theia)

ดวงจนั ทร์หมนุ รอบโลกแบบประสานเวลา
จะหันด้านเดยี วเข้าหาโลกเสมอคอื ดา้ นใกล้ที่มีลักษณะเป็นทะเลภเู ขาไฟมดื ๆ
ซึ่งเตมิ ที่ว่างระหวา่ งท่ีสงู เปลือกโบราณสวา่ งและหลมุ อุกกาบาตที่เหน็ ไดช้ ัดเจน เม่อื สงั เกตจากโลก
เปน็ เทหฟ์ ้าที่เห็นได้เป็นประจำสวา่ งทีส่ ดุ อันดับสองในทอ้ งฟ้าของโลกรองจากดวงอาทติ ย์
พน้ื ผิวแท้จรงิ แล้วมดื แม้เทยี บกับทอ้ งฟา้ ราตรแี ลว้ จะดสู ว่างมาก
โดยมกี ารสะทอ้ นสูงกวา่ แอสฟอลต์เส่ือมเล็กนอ้ ย
อทิ ธพิ ลความโน้มถ่วงของดวงจันทร์ทำให้เกิดน้ำข้นึ ลงมหาสมุทร และทำใหห้ นงึ่ วนั ยาวขึน้ เลก็ นอ้ ย

มรี ะยะห่างจากโลกเฉล่ยี นบั จากศนู ย์กลางถงึ ศนู ย์กลางประมาณ 384,403 กโิ ลเมตร
เทยี บเท่ากับ 30 เท่าของเสน้ ผ่านศนู ยก์ ลางของโลก
จดุ ศูนย์กลางมวลร่วมของระบบตง้ั อยู่ท่ตี ำแหนง่ 1700 กโิ ลเมตรใตผ้ วิ โลก หรือประมาณ 1 ใน 4
ของรศั มขี องโลก ดวงจนั ทร์โคจรรอบโลกในเวลาประมาณ 27.3
วนั เมื่อเปรียบเทยี บการแปรคาบโคจรตามมาตรภมู ิศาสตรร์ ะหว่างโลก-ดวงจันทร์-ดวงอาทติ ย์
ทำใหเ้ กิดเปน็ เฟสของดวงจันทร์ ซงึ่ จะซำ้ รอบทุกๆ ชว่ ง 29.5 วัน (เรียกว่า คาบไซโนดิก)

เส้นผา่ นศูนย์กลางของดวงจนั ทร์มคี ่าประมาณ 3,474 กิโลเมตร
หรอื ประมาณหนงึ่ ในสข่ี องโลก ดงั นั้นพ้ืนผวิ ของดวงจันทร์มีน้อยกว่า 1 ใน 10 ของพืน้ ผิวของโลก
(ประมาณ 1 ใน 4 ของผนื ทวีปของโลกเทา่ นั้น คิดเปน็ ขนาดใหญ่ประมาณรัสเซยี แคนาดา

~ 47 ~

กบั สหรฐั อเมริกา รวมกัน) มวลรวมของดวงจนั ทรค์ ดิ เป็นประมาณ 2% ของมวลของโลก
และแรงโนม้ ถ่วงเป็น 17% ของโลก

สัญลกั ษณ์แทนดวงจันทร์คอื ☾ ปี พ.ศ. 2512 (ค.ศ. 1969) นลี อารม์ สตรอง และ บซั ซ์
อลั ดริน นักบินอวกาศขององคก์ ารนาซา เปน็ มนษุ ย์ 2 คนแรกทเี่ หยยี บลงบนพืน้ ดินของดวงจันทร์
กฎหมายอวกาศถือวา่ ดวงจันทรเ์ ปน็ สมบัตริ ว่ มกนั ของมนุษยชาติ
ตามสนธสิ ญั ญาท่ีใชบ้ งั คบั กิจกรรมของรัฐบนดวงจันทร์ ดวงดาว และวตั ถุอวกาศอื่นๆ ค.ศ. 1979

ชือ่ และศัพทมูลวิทยา

ดวงจนั ทรเ์ ป็นดาวบริวารของดาวเคราะห์ แตม่ ีความแตกต่างจากดวงจันทรด์ วงอนื่ ๆ
ในระบบสรุ ิยะ เพราะเม่ือเราพดู ถงึ "ดวงจนั ทร์" ก็จะหมายถงึ ดาวบริวารที่โคจรรอบโลกของเรา

คำว่า จันทร์ นัน้ เปน็ คำศพั ท์มาจากภาษาสันสกฤต (चंद्र จํทรฺ อ่านว่า จัน-ดรฺ ะ
หรือคนไทยเราเรียกวา่ จัน-ทฺระ) ซงึ หมายถงึ พระจนั ทร์ ในภาษาไทยเดิมมกั เรยี กว่า เดอื น หรือ
ดวงเดอื น (ลาว: ເດື ອນ เดอื น, ไทใหญ่: လူိၼ် เหลฺ ิน) สำหรบั ในภาษาองั กฤษ ดวงจันทร์ หรือ
Moon (ภาษาองั กฤษใช้อกั ษรตัวใหญข่ น้ึ ตน้ คำ) เป็นคำภาษาเจอร์แมนกิ ตรงกับคำภาษาลาติน คือ
mensis เปน็ คำท่แี ยกออกมาจากรากภาษาอนิ โด-ยโู รเปยี นด้ังเดมิ และเปน็ ตัวแทนของการนับเวลา
ซงึ่ รำลกึ ถึงความสำคัญของมนั คือ วนั จันทร์ ในภาษาองั กฤษ การเรยี กดวงจันทร์มมี าจนถงึ ปี ค.ศ.
1665 เมอื่ มกี ารค้นพบดาวบริวารดวงใหม่ของดาวเคราะหด์ วงอ่นื
บางครัง้ ดวงจนั ทร์จึงถกู เลีย่ งไปใช้ช่ือในภาษาลาตนิ ของมนั แทน คอื luna
เพ่อื ทจี่ ะแยกมนั ออกจากดาวบรวิ ารอื่นๆ

พนื้ ผิวของดวงจันทร์

การหมุนสมวาร

ดวงจนั ทร์มีการหมนุ รอบตัวเองแบบที่เรยี กว่า การหมนุ สมวาร (synchronous rotation)
คอื คาบการหมุนรอบตัวเองกบั คาบการโคจรรอบโลกมคี า่ เทา่ กัน

~ 48 ~

โดยดวงจนั ทรใ์ ช้เวลาโคจรรอบประมาณ 27.3 วนั เปน็ ผลใหด้ วงจันทรห์ ันด้านเดียวเขา้ หาโลก
เรียกดา้ นที่หันเข้าหาเราวา่ "ด้านใกล้" (near side) ส่วนด้านตรงขา้ ม คือ "ด้านไกล" (far side)
เปน็ ด้านทีเ่ ราไมส่ ามารถมองเห็นได้ อย่างไรก็ตาม ดวงจนั ทร์มีการแกวง่ เล็กน้อย
ทำให้เรามโี อกาสมองเห็นพืน้ ผิวดวงจันทร์ไดม้ ากกวา่ 50% อยเู่ ล็กน้อย ในอดตี
ด้านไกลของดวงจันทรเ์ ปน็ ดา้ นทลี่ กึ ลับอย่เู สมอ
จนกระทั่งถงึ ยุคที่เราสามารถสง่ ยานอวกาศออกไปถึงดวงจนั ทร์ได้
สง่ิ หน่ึงทแี่ ตกตา่ งระหวา่ งดา้ นใกลก้ ับด้านไกล คอื ด้านไกลไมม่ พี น้ื ทร่ี าบคลำ้ ทเี่ รียกวา่ "มาเร"
(แปลว่าทะเล) กว้างขวางมากเหมอื นอยา่ งดา้ นใกล้

ดวงจันทร์ใชเ้ วลาในการหมนุ รอบตวั เองทไี่ ด้จังหวะพอดกี บั วิถีการโคจรรอบโลก
ซงึ่ เมอื่ เรามองดวงจนั ทรจ์ ากพนื้ โลกจะมองเหน็ ดวงจนั ทรเ์ พยี งด้านเดยี วตลอดเวลา
ในประวัติศาสตร์ยุคแรกของดวงจนั ทร์ การหมุนของมนั ช้าและกลายเป็นถกู ลอ็ กอยู่ในลกั ษณะน้ี
เป็นผลมาจากปรากฏการณค์ วามฝืด และมีความสัมพันธก์ บั ปรากฏการณ์น้ำขน้ึ นำ้ ลงบนโลก

เมอ่ื นานมาแลว้ ขณะท่ีดวงจนั ทรย์ ังคงหมุนเรว็ กวา่ ในปจั จุบัน
รอบโป่งในปรากฏการณ์นำ้ ข้ึนนำ้ ลงมาก่อนแนวโลก-ดวงจันทร์
เพราะว่ามันไมส่ ามารถดงึ รอยโป่งของมนั กลบั คืนได้อยา่ งรวดเรว็ พอท่จี ะรักษาระยะของรอยโปง่ ระ
หวา่ งมันกับโลก การหมนุ ของมนั ขจัดรอยโปง่ นอกเหนอื จากแนวโลก-ดวงจันทร์
รอยโปง่ ที่อย่นู อกเส้นโลก-ดวงจนั ทรน์ ี้ทำใหเ้ กิดการบดิ เบยี้ วขอหนอน
ซึง่ ลดความเร็วของการหมุนของดวงจนั ทรล์ ง
เมอื่ การหมนุ ของดวงจันทร์ช้าลงจนเหมาะสมกับการโคจรรอบโลก
เมอ่ื น้ันรอยโป่งของมันจงึ หนั หนา้ เข้าหาโลกเสมอ รอยโป่งอยูใ่ นแนวเดียวกบั โลก
และรอยบดิ ของมนั กจ็ ึงหายไป น่ีคอื เหตผุ ลว่าทำไมดวงจันทร์จึงใช้เวลาในการหมนุ รอบตัวเองพอๆ
กบั การโคจรรอบโลก

มคี วามผนั ผวนเล็กนอ้ ย (ไลเบรชัน) ในมมุ องศาของดวงจนั ทรซ์ ่งึ เราได้เหน็
เราจึงมองเหน็ พ้นื ผิวของดวงจันทรท์ งั้ หมดประมาณ 59% ของพืน้ ผิวท้ังหมดของดวงจนั ทร์

~ 49 ~

ดวงจนั ทร์ดา้ นใกล้ (ด้านทมี่ องเหน็ จากโลก) ดวงจนั ทร์ด้านไกล (ดา้ นทม่ี องไม่เหน็ จากโลก)

ด้านทีม่ องเหน็ จากโลกจะถูกเรียกวา่ "ด้านใกล้" และด้านท่ีอยตู่ รงขา้ มเรยี กวา่ "ด้านไกล"
ด้านไกลของดวงจันทรต์ ่างจากดา้ นมดื ของดาวพธุ คือ
ดา้ นมดื ของดาวพธุ เปน็ ดา้ นทไี่ ม่ถกู แสงอาทิตยส์ อ่ งเลย
แต่ดา้ นไกลของดวงจันทร์นั้นบางครัง้ กเ็ ปน็ ด้านทไี่ ด้รบั แสงอาทิตย์และหนั หน้าเขา้ หาโลก
ดา้ นไกลของดวงจันทรไ์ ด้ถูกถา่ ยรปู โดยยานลูนา่ 3 ของโซเวียตในปี 1959
หน่งึ ในลักษณะภมู ปิ ระเทศทที่ ำใหส้ งั เกตไดว้ ่าเปน็ ดวงจนั ทรด์ า้ นไกลคอื มนั มีทรี่ าบคล้ำหรอื "มาเร"
น้อยกว่าดา้ นใกลม้ าก

ทะเลบนดวงจนั ทร์

พ้ืนผิวบนดวงจันทร์ทม่ี องด้วยตาเปล่าเห็นเปน็ สคี ล้ำ คอื ทร่ี าบบนดวงจนั ทรห์ รอื เรยี กวา่
"ทะเล" บนดวงจนั ทร์ (ภาษาองั กฤษเรียกว่า "มาเรีย" หรอื "มาเร" มาจากศัพท์ภาษาละตนิ หมายถงึ
ทะเล) ทงั้ นีเ้ นื่องจากนกั ดาราศาสตร์ยุคแรกๆ เชื่อว่าพ้นื ผวิ สคี ลำ้ เหล่านน้ั เปน็ พน้ื น้ำ
แตป่ จั จุบนั ทราบกนั แลว้ วา่ เปน็ แอง่ ทีร่ าบกว้างใหญ่เกดิ จากลาวาในยคุ โบราณ
ลาวาท่ีระเบิดพวยพุง่ เหล่านไ้ี หลเขา้ ไปในหลมุ ท่ีเกิดจากการปะทะของอุกกาบาตหรอื ดาวหางที่พ่งุ เข้
าชนดวงจันทร์ (ยกเว้น โอเชยี นัส โพรเซลลารมั ซึง่ บนดา้ นไกลของดวงจันทร์

~ 50 ~


Click to View FlipBook Version