The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น สถาบันวิจัยพืชไร่และพืชทดแทนพลังงาน กรมวิชาการเกษตร พ.ศ. 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by iberzerk_satit, 2021-08-25 04:16:55

เทคโนโลยีการผลิตถั่วลิสงอย่างถูกต้องเหมาะสม

ศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น สถาบันวิจัยพืชไร่และพืชทดแทนพลังงาน กรมวิชาการเกษตร พ.ศ. 2564

(ก)

คำนำ

เอกสารวิชาการเรื่อง “เทคโนโลยีการผลิตถ่ัวลิสงอย่างถูกต้องเหมาะสม” ฉบับนี้ประกอบด้วย
เนอ้ื หาทส่ี าคัญ 6 ประเด็นทเี่ กี่ยวข้องกับถ่วั ลิสง ไดแ้ ก่ (1) พันธแุ์ ละการเลอื กใชพ้ ันธ์ุถ่ัวลสิ งในประเทศไทย
(2) การปลูกถ่ัวลิสงท่ีเหมาะสม (3) การเพ่ิมผลผลิตถั่วลิสง: ความต้องการน้า (4) โรคถั่วลิสงท่ีสาคัญและ
การป้องกันกาจัด (5) แมลงศัตรูถั่วลิสงที่สาคัญและการป้องกันกาจัด และ (6) การจัดการหลังการเก็บ
เก่ียว ซึ่งถูกรวบรวมและเรียบเรียงจากผลงานทางวิชาการของนักวิจัยสาขาต่างๆ โดยนักวิชาการเกษตร
ศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น สาหรับใช้เป็นคู่มือของเกษตรกร นักวิชาการเกษตร และนักส่งเสริมการเกษตร
ในการนาไปใช้ประโยชน์ทางดา้ นการผลติ ถว่ั ลสิ งอย่างถกู ต้องเหมาะสม

คณะผู้จดั ทา
กรกฎาคม 2564

คณะผูจ้ ดั ทา นายสมสทิ ธ์ิ จันทรักษ์ ผู้อานวยการศูนย์วิจยั พชื ไร่ขอนแก่น
ท่ีปรกึ ษา
ขอ้ มลู และเรยี บเรยี ง นางสาวกมลวรรณ เรียบร้อย นักวิชาการเกษตรชานาญการ

รวบรวมและจัดทา นายชยันต์ ภกั ดไี ทย นักวชิ าการเกษตรชานาญการ
ออกแบบปก
จัดพิมพ์โดย นางสาวมทั นา วานิชย์ นกั วิชาการเกษตรชานาญการ
พิมพ์ที่
ปีที่พมิ พ์ นายเนติรฐั ชมุ สุวรรณ นกั วชิ าการเกษตรปฏิบัติการ

นายทนุธรรม บญุ ฉมิ นกั วชิ าการเกษตรปฏิบตั กิ าร

นางสาวธีระรัตน์ ชณิ แสน นกั วิชาการเกษตรปฏิบตั ิการ

นางสาวปยิ ะรตั น์ จงั พล นักวิชาการเกษตรปฏิบตั กิ าร

นายธรี วุฒิ วงศว์ รตั น์ นักวชิ าการเกษตรปฏิบัติการ

นายทนธุ รรม บญุ ฉมิ นักวิชาการเกษตรปฏบิ ัตกิ าร

ศนู ย์วจิ ยั พชื ไรข่ อนแกน่ 180 ต.ศิลา อ.เมอื ง จ.ขอนแก่น 40000

โทรศัพท์ 043-203506 อีเมล [email protected]

หจก. โรงพมิ พ์รตั น 38 ถ.เทพารักษ์ อ.เมือง จ.ขอนแกน่ 40000

โทรศัพท์ 083-2883883 อีเมล [email protected]

กรกฎาคม 2564 จานวน 500 เล่ม

สำรบญั (ข)

คำนำ หน้ำ
สำรบญั (ก)
สำรบญั ตำรำง (ข)
สำรบญั ภำพ (จ)
1. พนั ธ์ุและกำรเลอื กใชพ้ นั ธุ์ถัว่ ลสิ งในประเทศไทย (ฉ)
1
ความสาคญั 1
ประเภทของการนาไปใชป้ ระโยชนข์ องพันธุ์ถ่วั ลิสง 1
พันธถ์ุ ่ัวลสิ งท่มี ีปลูกในประเทศไทย 3
เอกสารอา้ งอิง 7
2. กำรปลกู ถั่วลสิ งท่ีเหมำะสม 8
ความสาคญั 8
สภาพพนื้ ที่และสมบตั ิของดิน 8
สภาพภมู ิอากาศท่ีเหมาะสม 9
ฤดปู ลกู 9
การเตรียมดนิ 11
การเตรียมเมลด็ พันธ์ุ 12
วธิ ีการปลูก 13
การใส่ป๋ยุ 14
การให้นา้ 16
การพรวนดินและพนู โคน 17
การเกบ็ เก่ยี ว 18
เอกสารอา้ งองิ 20
3. กำรเพมิ่ ผลผลิตถั่วลิสง: ควำมต้องกำรนำ 22
ความสาคญั 22
ระบบการใหน้ ้า 26
การเพ่ิมประสทิ ธภิ าพการใชน้ ้าของพชื 28
เอกสารอา้ งองิ 29

สำรบัญ (ตอ่ ) (ค)

4. โรคถ่วั ลสิ งท่ีสำคญั และกำรป้องกนั กำจัด หนำ้
ความสาคัญ 30
โรคโคนเน่าขาวหรอื ลาตน้ เนา่ (Sclerotium Stem Rot or Southern Blight) 30
โรคโคนเน่าขาด (Crown rot or Seed Blight) 30
โรคใบจุดสดี า (Black leaf spot or Late Leaf Spot) 31
โรคใบจุดสนี า้ ตาล (Brown leaf spot or Early Leaf Spot) 32
โรคราสนิม (Rust) 33
โรคยอดไหม้ (Bud Necrosis) 34
เอกสารอา้ งองิ 35
36
5. แมลงศตั รูถั่วลสิ งท่สี ำคญั และกำรปอ้ งกนั กำจดั 37
ความสาคญั 37
หนอนชอนใบถวั่ ลิสง (Leafminer) 37
เพลี้ยอ่อนถว่ั (Aphid) 38
เพล้ยี จักจั่น (Leafhopper) 39
เพล้ยี ไฟ (Thrips) 40
เสีย้ นดนิ (Subterranean ant) 42
เอกสารอ้างองิ 43
44
6. กำรจดั กำรหลงั กำรเก็บเก่ียวถั่วลิสง 44
ความสาคญั 44
วธิ ีการลดความช้ืนฝักถว่ั ลิสง 45
การจัดการหลังการเกบ็ เก่ยี วถั่วลิสงตามการใชป้ ระโยชน์ 47
การเกบ็ รักษาถัว่ ลิสงฝักแห้งและการขนยา้ ย 49
ขอ้ พงึ ปฏิบัติ 50
คาแนะนาการปฏิบัติ เพ่ือหลีกเลย่ี งการปนเป้ือนสารอะฟลาทอกซินในเมล็ดถั่วลิสง 51
เอกสารอ้างองิ

สำรบญั ตำรำง (ง)

ตำรำงท่ี ฤดูปลกู ถ่วั ลิสง หน้ำ
2.1 คาแนะนาการใช้ปยุ๋ สาหรบั ถว่ั ลสิ ง โดยพจิ ารณาจากผลวเิ คราะห์ดนิ 10
2.2 14

(จ)

สำรบัญภำพ

ภำพท่ี หนำ้
1.1 ถว่ั ลสิ งพันธุ์ขอนแก่น 5 และไทนาน 9 นยิ มนาไปใช้ประโยชน์ในรูปฝกั แหง้ และ 2

กะเทาะเมลด็ 2
1.2 ถวั่ ลสิ งพันธุข์ อนแก่น 84-8 และกาฬสนิ ธ์ุ 2 นยิ มนาบรโิ ภคโดยตรงในรูปถ่ัวฝกั ต้ม 9
2.1 พนื้ ทีท่ ่ีควรหลกี เล่ยี งปลกู ถวั่ ลิสง (ก) พื้นที่ดินด่าง (pH > 7) (ข) พนื้ ที่ดินเค็ม
12
พน้ื ที่ดินทรายจัด (ค) และ (ง) พ้ืนทรี่ ะบายน้ายาก
2.2 ความกวา้ งของสันร่องขนึ้ อยกู่ ับเน้อื ดิน เนือ้ ดินแนน่ ควรใชส้ ันรอ่ งแคบ (ก) ปลูกถ่วั 12

ลสิ งได้ 2 แถว และ (ข) ดนิ ที่มกี ารระบายน้าได้ดอี าจขยายให้กวา้ งขึ้น ปลูกถัว่ ลสิ ง 13
ได้ 3-4 แถว
2.3 ดนิ ทเี่ ปน็ กรดจัด (pH < 5.5) หว่านปูนขาวหรอื โดโลไมท์อัตรา 100-200 กิโลกรัม 15
ต่อไร่ สาหรบั ดนิ ที่คอ่ นขา้ งเป็นดินทราย แล้วไถพรวน ทิ้งไว้อยา่ งน้อย 2 สปั ดาห์ 15
กอ่ นปลูก
2.4 การเตรยี มเมล็ดพันธุก์ อ่ นปลกู (ก) คลกุ เมลด็ พันธ์ุดว้ ยเช้อื ไรโซเบียมสาหรบั ถว่ั ลิสง 16
(ข) เมลด็ ดว้ ยสารป้องกนั เชอื้ รา และ (ค) คลุกเคล้าเมล็ดกบั วัสดุตา่ ง ๆ
2.5 การใสป่ ยุ๋ เคมีก่อนปลูก โดยแถกรอ่ งกลางสนั ร่องปลูก ใสป่ ุ๋ย และคราดกลบ 17
2.6 การใสป่ ๋ยุ เคมหี ลังถวั่ ลิสงงอก 10-15 วันหลังปลกู โดยโรยขา้ งแถวแลว้ พรวนดนิ 18
กลบ
2.7 โรยยิปซัมบรเิ วณโคนต้นหรือบนบนตน้ ถั่วลิสง เมื่อถ่วั ลิสงอายุประมาณ 30-40 วนั 19
หลงั ปลูกหรือถ่วั ลสิ งออกดอก 50 เปอรเ์ ซน็ ต์ หรือชว่ งถัว่ ลิสงเรม่ิ ลงเขม็
2.8 การใหน้ า้ ตามร่อง โดยปล่อยน้าเขา้ รอ่ ง 2 ใน 3 ของความสงู ของร่องนา้ 24
2.9 ฝกั อ่อนมีเปลือกฝักดา้ นในเป็นสีขาวหรอื มีจดุ นา้ ตาลออ่ น (หมายเลข 5-9) 25
ถวั่ ลิสงสุกแก่เปลอื กฝกั ด้านในเปลี่ยนเป็นสีน้าตาลดา (หมายเลข 10-13) 26
2.10 (ก) การเก็บเกีย่ วถ่ัวลิสงดว้ ยการถอนตน้ ด้วยมือ และ (ข) เครอ่ื งขดุ ถวั่ ลิสงขนาด 27
เลก็ พ่วงกับรถแทรกเตอร์
3.1 ปรมิ าณการใช้นา้ ของพืช
3.2 ค่าสัมประสทิ ธิ์การใชน้ ้าของถั่วลสิ งพันธขุ์ อนแก่น 9
3.3 ความตอ้ งการนา้ ของถว่ั ลิสงหลังนา
3.4 ระบบการใหน้ ้า

(ฉ)

สำรบญั ภำพ (ต่อ)

ภำพท่ี หน้ำ
4.1 การเจรญิ ของเสน้ ใยเชื้อราสาเหตโุ รคทีเ่ ข้าทาลายฝัก และลาตน้ ถว่ั ลิสง 31
4.2 การเจริญของเสน้ ใยเชอ้ื ราสาเหตโุ รคที่ตดิ มากบั เมล็ดพันธถ์ุ ั่วลสิ ง 31

แสดงอาการในระยะกล้า 33
4.3 อาการใบจุดสนี ้าดาบนใบถ่วั ลิสง 33
4.4 อาการใบจุดสนี า้ ตาลบนใบถั่วลสิ ง 34
4.5 อาการแผลจดุ นนู สีนา้ ตาลของโรคราสนมิ ใต้ใบถวั่ ลิสง 35
4.6 โรคยอดไหม้ที่แสดงอาการตายท้ังต้น (ก) และแสดงอาการเพยี งบางกงิ่ (ข) 37
5.1 ลกั ษณะหนอนชอนใบในระยะหนอน ดักแด้ และตัวเตม็ วัย 38
5.2 ลกั ษณะการเข้าทาลายถ่วั ลสิ งของหนอนชอนใบ 39
5.3 ลกั ษณะการเข้าทาลายถั่วลิสงของเพลีย้ อ่อนถ่ัว 40
5.4 ลักษณะของเพลีย้ จกั จัน่ ในระยะตวั อ่อน (ก) และตวั เตม็ วยั (ข) และลกั ษณะ
41
การเขา้ ทาลายใบถว่ั ลสิ ง (ค) 42
5.5 ลักษณะของเพลย้ี ไฟ (ก)(ข) และร่องรอยการเขา้ ทาลายใบถ่ัวลิสง (ค) 45
5.6 ลกั ษณะการเขา้ ทาลายถว่ั ลิสงของเสย้ี นดนิ
6.1 การตากฝักถัว่ ลิสงบนพน้ื คอนกรีตโดยตรงและความสงู ของฝักถ่ัวลสิ งสงู เกินไปซ่ึง 48

เปน็ วธิ ีที่ไมค่ วรปฏบิ ตั ิ (ก) เครื่องวดั ความชนื้ เมล็ดพันธุ์ (ข) 48
6.2 โรคโคนเนา่ ขาดในถ่วั ลิสงโดยลาต้นจะเน่าแล้วแห้งตายทง้ั ต้น บรเิ วณคอดิน (จดุ ที่
49
ลกู ศรชี้) มกั ขาดเพราะเนื้อเยื่อเปื่อยยยุ่ และพบเส้นใยของเชื้อราสาเหตุ
(Aspergillus niger van Tieghem) 49
6.3 ฝักถ่ัวลิสงที่ถูกเสยี้ นดนิ เขา้ ทาลาย ปลายฝกั มีรูหรอื โพรง มักพบดนิ อยูใ่ นฝกั (ก)
ฝักถ่ัวลสิ งทถ่ี ูกเช้ือราทาลายทาใหเ้ ปลอื กฝักมีสีคลา้ และฝักเปอ่ื ยยุ่ย (ข) ฝกั ถั่งลสิ ง
ทถ่ี ูกไสเ้ ดือนฝอยเขา้ ทาลาย ทาใหเ้ กดิ แผลเป็นจดุ นนู ขนาดเลก็ สีดาหรอื นา้ ตาล
เข้ม กระจายอยู่บนเปลอื กฝัก (ค) และถ่วั ลสิ งฝักดี (ง)
6.4 โรงเกบ็ ถว่ั ลสิ งทสี่ ะอาดและอากาศถ่ายเทสะดวก (ก) การเกบ็ รกั ษาฝักถั่วลสิ งใน
กระสอบป่านหรือกระสอบพลาสตกิ สานท่ีรองฐานด้วยไม้พาเลต (ข)
6.5 เมลด็ ถัว่ ลิสงท่ีแสดงอาการเมล็ดกรวงเนอ่ื งจากขาดธาตุโบรอน

1. พนั ธุ์และการเลือกใช้พันธ์ุถวั่ ลสิ งในประเทศไทย

กมลวรรณ เรียบรอ้ ย

ความสาคัญ
ถว่ั ลสิ งเปน็ พชื เศรษฐกิจทีน่ ยิ มปลูกกนั มากในแทบทกุ ภาคของประเทศไทย ผลผลิตถั่วลสิ งสามารถนาไปใช้

ประโยชน์ได้หลากหลายไม่ว่าจะเป็นการบริโภคโดยตรง หรือในอุตสาหกรรมต่างๆ ทั้งในรูปเมล็ดถ่ัวลิสงป่น หรือ
แปรรปู เป็นผลิตภัณฑ์ เกษตรกรนิยมปลกู ถวั่ ลิสงเป็นพืชเสรมิ สร้างรายได้ทีม่ นั่ คงให้แก่ครอบครัว เนอื่ งจากอายเุ ก็บ
เกี่ยวค่อนข้างส้ัน ใช้พื้นทปี่ ลูกไม่มาก ปลูกได้หลายฤดู สามารถปลูกสลับกับพืชหลกั หรือพืชไร่ชนิดอ่ืน เสริมรายได้
และเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของดินได้ โดยในปี 2562/63 ประเทศไทยมีพ้ืนที่ปลูกถ่ัวลิสง 9.3 หม่ืนไร่ ผลผลิตรวม
31,097 ตัน ผลผลิตเฉล่ีย 333 กิโลกรัมต่อไร่ ครอบคลุมพื้นที่ปลูก 60 จังหวัดของประเทศไทย แหล่งเพาะปลูกท่ี
สาคัญ 5 อันดับแรกคือ ขอนแก่น ศรีสะเกษ ลาปาง แม่ฮ่องสอน และเชียงใหม่ (สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร,
2563) อย่างไรก็ตาม ถั่วลิสงท่ีผลิตได้ภายในประเทศยังไม่เพียงพอกับความต้องการใช้ทาให้ต้องพ่ึงพาการนาเข้า
จากต่างประเทศ จึงมีการส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกถ่ัวลิสงเป็นพืชใช้น้าน้อยหลังการทานาทดแทนการปลูกข้าวนา
ปรังเพ่ือเพิ่มพ้ืนที่ปลูก และสร้างรายได้ให้กับเกษตรกร ปัจจุบันถ่ัวลิสงท่ีปลูกในประเทศไทยมีมากมายหลายพันธ์ุ
และแต่ละพันธุ์มีลักษณะแตกต่างกันไป ทั้งการให้ผลผลิต อายุเก็บเก่ียว และคุณสมบัติเด่นบางประการในแต่ละ
พนั ธุ์

ประเภทของการนาไปใช้ประโยชนข์ องพนั ธถ์ุ ว่ั ลิสง
ประเทศไทยมีการปลูกถั่วลิสงมาช้านาน และมีพันธ์ุให้เลือกปลูกเป็นจานวนมาก ท้ังพันธุ์ท่ีเหมาะสาหรับ

บริโภคฝักสด (ถั่วลิสงต้ม) ถั่วลิสงฝักแห้ง (ถั่วลิสงคั่วทราย) และกะเทาะเมล็ด (ถั่วลิสงค่ัวและทอด) รวมทั้งใช้
ประกอบ อาหารคาวหวานหลายชนิด ซึ่งแต่ละพั นธ์ุสามารถใช้ป ระโยชน์ได้ห ลากหลายรูป แบ บ
โดยหลกั ๆ แบง่ ออกไดเ้ ป็น 2 กลมุ่ คือ พันธุท์ ใี่ ชก้ ะเทาะเมล็ด และพันธ์ทุ ่ใี ชท้ ้ังฝกั ดงั น้ี

1. พันธุ์ที่ใช้ฝักแห้ง หรือใช้ในรูปแบบเมล็ด ส่วนใหญ่เกษตรกรจะจาหน่ายในรูปฝักแห้ง หรือพ่อค้าราย
ยอ่ ยซื้อไปในรปู ฝกั สดจาเป็นต้องนาไปตากใหแ้ ห้งก่อนส่งขายให้กับโรงงานเพอ่ื กะเทาะเมล็ด ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มพันธ์ุ
ที่ใช้ประโยชน์ในรูปฝักแห้ง และกะเทาะเมล็ด ส่วนใหญ่มีฝักละ 2 เมล็ด เมล็ดเต็ม ได้แก่ พันธุ์ไทนาน 9 และ
ขอนแก่น 5 (ภาพที่ 1.1) รวมทั้งถ่ัวลิสงพันธุ์ขอนแก่น 6 และขอนแก่น 9 ที่สามารถใช้ในรูปถั่วกะเทาะเมล็ด และ
เปน็ ถ่ัวลสิ งฝักตม้ ได้

2

ภาพที่ 1.1 ถ่ัวลสิ งพันธ์ุขอนแก่น 5 และไทนาน 9 นิยมนาไปใช้ประโยชน์ในรปู ฝักแห้งและกะเทาะเมลด็
2. พันธ์ทุ ่ีใช้ทั้งฝกั สดเพ่ือทาถั่วต้ม ถ่ัวตม้ เปน็ กลุ่มพันธุ์ที่มีฝักละ 3-4 เมล็ด มีทั้งเยอ่ื หุ้มเมล็ดสีชมพู สีแดง
และเมล็ดลาย รวมถึงพันธ์ุท่ีความนิยมเร่ิมเส่ือมถอยแต่พบเห็นได้บ้างในบางท้องถ่ินในปัจจุบัน เช่น พันธุ์ สข.38
และลาปาง เปน็ ต้น กลุ่มถ่วั ฝักตม้ (ภาพท่ี 1.2) ไดแ้ ก่

1) พนั ธ์ุทีม่ ีเย่ือหุ้มเมล็ดสีชมพู ได้แก่ ขอนแก่น 60-2 ขอนแกน่ 4 และขอนแกน่ 84-8
2) พันธทุ์ ่ีมเี ยื่อหุ้มเมลด็ สแี ดง ไดแ้ ก่ ขอนแกน่ และกาฬสินธ์ุ 1
3) พนั ธท์ุ ีม่ ีเย่ือหุ้มเมลด็ ลาย เช่น กาฬสนิ ธ์ุ 2 เป็นพันธฝ์ุ กั ต้มท่มี เี ยื่อหมุ้ เมล็ดสชี มพูลายขีดมว่ ง พันธุน์ ้ี
ไดร้ บั ความนยิ มอย่างกว้างขวาง

ภาพท่ี 1.2 ถว่ั ลิสงพันธ์ุขอนแกน่ 84-8 และกาฬสนิ ธุ์ 2 นยิ มนาบรโิ ภคโดยตรงในรปู ถวั่ ฝักตม้

3

พันธ์ถุ ั่วลสิ งที่มีปลกู ในประเทศไทย
พันธ์ุถั่วลิสงท่ีปลูกกันในประเทศไทยที่เป็นที่รจู้ ักและยอมรบั ของเกษตรกร มีมากมายหลายพันธุ์ ซงึ่ แต่ละ

พันธุ์ให้ผลผลิต อายุเกบ็ เกี่ยว และลักษณะเด่นบางประการท่ีแตกต่างกันและเหมาะสมต่อความต้องการของตลาด
และสภาพพื้นที่ โดยพันธุ์ถั่วลิสงของไทยมีทั้งพันธุ์ท่ีรับรองและแนะนาโดยกรมวิชาการเกษตร และพันธ์ุของ
เกษตรกร ไดแ้ ก่

พนั ธุ์รับรองและพนั ธ์ุแนะนาของกรมวิชาการเกษตร
1. พันธ์ุ สข.38 เป็นพันธ์ุแนะนาของกรมกสิกรรมในปี 2505 มีลักษณะเด่น คือ ให้ผลผลิตสูง และ
มีขนาดเมลด็ โต ทรงตน้ เปน็ พุ่มตรง ติดฝักเป็นกระจุกที่บรเิ วณโคนตน้ ใหผ้ ลผลิตฝักสด 509 กิโลกรมั ต่อไร่ ผลผลิต
ฝักแห้ง 247 กิโลกรัมต่อไร่ มีฝักยาว มีเมล็ด 3-4 เมล็ดต่อฝัก เหมาะสาหรับใช้บริโภคในรูปถั่วต้มสด
อายุเก็บเกี่ยวฝักสด 85-90 วัน ฝักแห้ง 110 วัน มีเย่ือหุ้มเมล็ดสีแดง น้าหนัก 100 เมล็ด 38.9 กรัม
(สมจนิ ตนา, 2536)
2. พันธุ์ลาปาง เป็นพันธ์ุแนะนาของกรมกสิกรรมในปี 2505 มีลักษณะเด่น คือ ให้ผลผลิตสูงและ
มีขนาดเมล็ดโต ทรงต้นเป็นพุ่มตรง ติดฝักเป็นกระจุกท่ีโคนต้น ให้ผลผลิตฝักแห้ง 279 กิโลกรัมต่อไร่ มีเมล็ด 3-4
เมล็ดต่อฝัก อายุเก็บเก่ียว 95-110 วัน เหมาะสาหรับใช้บริโภคในรูปถ่ัวต้มสด มีเย่ือหุ้มเมล็ดสีชมพู
มีนา้ หนัก 100 เมล็ด 40.6 กรมั (สมจินตนา, 2536)
3. พันธุ์ไทนาน 9 เป็นพันธ์ุรับรองของกรมวิชาการเกษตร เม่ือวันท่ี 5 ตุลาคม 2519 มีลักษณะเด่น คือ
ใหผ้ ลผลติ สงู มีเปอร์เซน็ ต์การกะเทาะสงู เปลือกบาง และปรับตัวเข้ากับสภาพแวดลอ้ มได้ดี ทรงตน้ เป็นพุ่มตรง ติด
ฝักเป็นกระจุกที่โคนต้น ให้ผลผลิตฝักแห้ง 260 กิโลกรัมต่อไร่ มีเมล็ด 2 เมล็ดต่อฝัก อายุเก็บเกี่ยว 95-110 วัน
เหมาะสาหรับใช้ในรูปถั่วกะเทาะเปลือก (ถั่วเมล็ด) มีเย่ือหุ้มเมล็ดสีชมพู มีน้าหนัก 100 เมล็ด 42.4 กรัม
(สมจินตนา, 2536)
4. พันธ์ุขอนแก่น 60-1 เป็นพันธุ์รับรองของกรมวิชาการเกษตร เมื่อวันท่ี 30 กันยายน 2530
มีลักษณะเด่น คือ มีขนาดฝักและเมล็ดโตกว่าพันธุ์ไทนาน 9 และให้ผลผลิตสูงเท่ากับพันธ์ุไทนาน 9 มีทรงต้นเป็น
พุ่มตรง ติดฝักเป็นกระจุกท่ีโคนต้น ให้ผลผลิตฝักแห้ง 273 กิโลกรัมต่อไร่ มี 2 เมล็ดต่อฝัก เหมาะสาหรับใช้ในรูป
ถั่วกะเทาะเปลือก (ถ่ัวเมล็ด) มีเยื่อหุ้มเมล็ดสีชมพู อายุเก็บเกี่ยว 90-110 วัน มีน้าหนัก 100 เมล็ด 45.9 กรัม
(สมจนิ ตนา, 2530 ก)
5. พันธุ์ขอนแก่น 60-2 เป็นพันธ์ุรับรองของกรมวิชาการเกษตร เม่ือวันท่ี 30 กันยายน 2530
มีลักษณะเด่น คอื มีขนาดฝักยาวและโต ฝกั ค่อนขา้ งตรง มฝี กั ที่มี 3-4 เมลด็ ในปรมิ าณสูง มขี นาดเมล็ดโตกวา่ พันธุ์
สข.38 และให้ผลผลิตฝักสดและฝักแห้งสูงกว่าพันธ์ุ สข .38 มีทรงต้นเป็นพุ่มตรง ติดฝักเป็นกระจุก
ท่ีบริเวณโคนต้น ให้ผลผลิตฝักสด 572 กิโลกรัมต่อไร่ ผลผลิตฝักแห้ง 266 กิโลกรัมต่อไร่ มีเมล็ด 3-4 เมล็ดต่อฝัก

4

เหมาะสาหรับใช้บริโภคในรูปถ่ัวต้มสด อายุเก็บเก่ียว 85-95 วัน มีเยื่อหุ้มเมล็ดสีชมพู มีน้าหนัก 100 เมล็ด 40.7
กรัม (สมจนิ ตนา, 2530 ข)

6. พันธุ์ขอนแก่น 60-3 เป็นพันธุ์รับรองของกรมวิชาการเกษตร เม่ือวันที่ 14 กันยายน 2531
มีลักษณะเด่น คือ มีขนาดฝักและเมล็ดโตมาก โดยมีขนาดเมล็ดโตกว่าและให้ผลผลิตสูงกว่าพันธ์ุไทนาน 9
มีทรงต้นเป็นพุ่มกว้างก่ึงเลื้อย ติดฝักกระจายไปตามก่ิงที่เลื้อยไปบนดิน ให้ผลผลิตฝักแห้ง 378 กิโลกรัมต่อไร่ มี
เมล็ด 2 เมล็ดต่อฝัก เหมาะสาหรับใช้ในรูปเมล็ดสาหรับแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ เช่น ถ่ัวอบเนย ถั่วทอด
มเี ยอ่ื หุม้ เมล็ดสชี มพแู ละส้มอ่อน อายุเกบ็ เก่ยี ว 100-120 วนั เมล็ดมกี ารพกั ตวั 60 วันหลังเก็บเก่ียว มีนา้ หนกั 100
เมล็ด 76.2 กรัม มีความต้านทานต่อโรคราสนิมและใบจุด และต้านทานแมลงปานกลาง ต้องการดินท่ีมีความอุดม
สมบูรณ์ปานกลาง-สูง ดินมีแคลเซียมไม่ต่ากว่า 400 ส่วนในล้านส่วน ในดินท่ีมีลักษณะร่วนปนทราย (อานนท์,
2531)

7. พันธ์ุขอนแก่น 4 เป็นพันธ์ุรับรองของกรมวิชาการเกษตร เม่ือวันที่ 15 ธันวาคม 2537 มีลักษณะเด่น
คือ มีฝักและเมล็ดโตกว่าพันธ์ุขอนแก่น 60-2 ให้ผลผลิตฝักสดและฝักแห้งสูงกว่าพันธ์ุขอนแก่น 60-2
มีทรงต้นเป็นพุ่มตรง ติดฝักเป็นกระจุกที่โคนต้น ให้ผลผลิตฝักสด 586 กิโลกรมั ต่อไร่ ผลผลติ ฝกั แห้ง 270 กิโลกรัม
ต่อไร่ มเี มล็ด 3-4 เมล็ดต่อฝกั อายุเก็บเกี่ยว 95-100 วัน เหมาะสาหรับใช้ประโยชนใ์ น 2 รปู แบบ คือ ใช้บริโภคใน
รปู ถั่วต้มสด และใช้ประโยชนใ์ นรูปถั่วกะเทาะเปลือก (เมลด็ ) มเี ย่ือหุ้มเมล็ดสีชมพู มีนา้ หนัก 100 เมล็ด 47.1 กรัม
(สมจินตนา, 2537)

8. พันธ์ุขอนแก่น 5 เป็นพันธ์ุรับรองของกรมวิชาการเกษตร เมื่อวันท่ี 18 มีนาคม 2541 มีลักษณะเด่น
คือ มีเมล็ดโตกว่าพันธ์ุ ไทนาน 9 และขอนแก่น 60-1 ให้ผลผลิตสูง โดยเฉพาะอย่างย่ิง ในฤดูแล้งท่ีมีการให้น้า
ชลประทาน และมีระดับการเป็นโรคไวรัสยอดไหม้ ต่ากว่าพันธุ์ไทนาน 9 และขอนแก่น 60-1 มีทรงต้นเป็นพุ่มต้ัง
ติดฝักเป็นกระจุกที่โคนต้น ให้ผลผลิตฝักแห้ ง 304 กิโลกรัมต่อไร่ ให้ผลผ ลิตในฤดูแล้งที่มีการให้
น้าชลประทาน 340 กิโลกรัมต่อไร่ มีเมล็ด 2 เมล็ดต่อฝัก อายุเก็บเก่ียว 90-110 วัน เหมาะสาหรับใช้ในรูป
ถัว่ กะเทาะเปลอื ก (ถัว่ เมลด็ ) มีเยื่อหุ้มเมล็ดสชี มพู มีนา้ หนกั 100 เมลด็ 51.1 กรัม (สมจนิ ตนา, 2541)

9. พันธุ์กาฬสินธุ์ 1 เป็นพันธ์ุท่ีนิยมปลูกกันมากที่จังหวัดลพบุรี สระบุรี นครสวรรค์ และนครราชสีมา มี
ช่ือเรียกอื่นๆ ว่า โล้นแดง ช่องสาริกา ถ่ัวเกษตร ถั่วลิสงพันธ์ุนี้ได้รับการพิจารณาให้เป็นพันธุ์แนะนาของ
กรมวิชาการเกษตร เม่ือวันท่ี 4 กรกฎาคม 2544 มีลักษณะเด่น คือ เปลือกฝักค่อนข้างเรียบทาให้ล้างฝักสดให้
สะอาดได้ง่าย มีรสชาติดี ฝักตรง มีเมล็ด 3-4 เมล็ดต่อฝัก ให้ผลผลิตฝักสด 456 กิโลกรัมต่อไร่ อายุเก็บเกี่ยว 80-
85 วัน เหมาะสาหรับใช้บริโภ คในรูปถั่วต้มสด มีเย่ือหุ้มเมล็ดสีแดง น้าหนัก 100 เมล็ด 40.0 กรัม
(สมจนิ ตนา, 2544)

5

10. พันธ์ุกาฬสินธ์ุ 2 เป็นพันธุท์ ี่คัดเลือกได้จากพันธ์ุ KAC431 หรือ ICG1703 SB NCAc17127 ปลูกกัน
มากที่เขตเชิงเขาในภาคเหนือ เช่น เชียงใหม่ น่าน ถั่วลิสงพันธ์ุน้ี ได้รับการพิจารณาให้เป็นพันธ์ุแนะนาของกรม
วิ ช า ก า ร เก ษ ต ร เมื่ อ วั น ที่ 4 ก ร ก ฎ า ค ม 2544 มี ลั ก ษ ณ ะ เด่ น คื อ ให้ ผ ล ผ ลิ ต ฝั ก ส ด เฉ ล่ี ย
579 กิโลกรมั ตอ่ ไร่ มีความต้านทานต่อโรคราสนิมและใบจดุ สีน้าตาล มรี ูปร่างฝักสวย ฝักยาว มเี มลด็ 2-4 เมล็ดต่อ
ฝัก รสชาติค่อนข้างหวาน อายุเก็บเกี่ยว 100-110 วัน เหมาะสาหรับใช้บริโภคในรูปถั่วต้มสด มีเย่ือหุ้มเมล็ด
สชี มพลู ายขีดสีมว่ ง นา้ หนัก 100 เมล็ด 38.9 กรัม (สมจินตนา, 2544)

11. พันธุ์ขอนแกน่ 6 ไดร้ บั การรบั รองพนั ธจ์ุ ากกรมวิชาการเกษตรในปี 2547 มลี ักษณะทรงพมุ่ เป็นพุม่ ต้ัง
รูปแบบการแตกก่ิงแบบสลับไม่มีตาดอกบนลาต้นหลัก ติดฝักเป็นกระจุกท่ีโคนต้น ลายบนเปลือกฝักปานกลาง มี
จะงอยฝักปานกลาง เมล็ดสีชมพู อายุเก็บเก่ียว 105-120 วัน น้าหนัก 100 เมล็ด 82.8 กรัม เมล็ดมีการพักตัว
ประมาณ 4 สัปดาห์หลังเก็บเกี่ยว ทนทานต่อโรคยอดไหม้ ให้ผลผลิตสม่าเสมอกวา่ พันธ์ุขอนแก่น 60-3 ผลผลติ ฝัก
แหง้ 578 กิโลกรมั ต่อไร่ (เพียงเพ็ญ, 2547)

12. พันธุ์ขอนแก่น 84-7 ได้รับการรับรองพันธ์ุจากกรมวิชาการเกษตรในปี 2554 มีลักษณะทรงพุ่มแผ่
กว้าง ใบค่อนข้างเล็กสีเขียวเข้ม ติดฝักค่อนข้างกระจายรอบโคนต้น เปลอื กฝักลายชดั เจน มีเมล็ด 1-2 เมล็ดต่อฝัก
เย่ือหุ้มเมล็ดสีชมพู อายุเก็บเกี่ยว 98-125 วัน มีเสถียรภาพการให้ผลผลิตสูงกว่าพันธุ์ไทนาน 9 และขอนแก่น 5
น้าหนัก 100 เมล็ด 56 กรัม เมล็ดมีการพักตัวประมาณ 4-6 สปั ดาห์หลังเก็บเกี่ยว คอ่ นข้างทนทานต่อโรคโคนเน่า
ขาว ผลผลิตฝักแหง้ 347 กิโลกรัมต่อไร่ (สมจินตนา, 2554)

13. พันธุ์ขอนแก่น 84-8 ได้รับการรับรองพันธุ์จากกรมวิชาการเกษตรในปี 2554 มีลักษณะทรงพุ่มแบบ
พุ่มตรงการติดฝักมีลักษณะเป็นกระจุกที่บริเวณโคนต้นเยื่อหุ้มเมล็ดสีชมพูเข้ม มีเส้นลายบนฝักเห็นได้ชัดเจน อายุ
เก็บเก่ียวฝักสด 85-90 วัน ฝักแห้ง 95-110 วัน น้าหนัก 100 เมล็ด 49.9 กรัม ผลผลิตฝักสด 785 กิโลกรัมต่อไร่
ผลผลติ ฝักแห้ง 290 กิโลกรมั ต่อไร่ คอ่ นขา้ งทนทานตอ่ โรคโคนเนา่ ขาว

14. พันธุ์ขอนแก่น 9 ได้รับการรับรองพันธ์ุจากกรมวิชาการเกษตรในปี 2562 ทรงต้นมีลักษณะแบบพุ่ม
ตรง การติดฝกั มีลักษณะเป็นกระจุกที่บริเวณโคนต้น มีลักษณะเด่น คือ มีเมล็ดโตกวา่ พันธุ์ไทนาน 9 และขอนแก่น
5 เย่ือหุ้มเมล็ดสีชมพู มีเส้นลายบนฝักชัด อายุเก็บเกี่ยวฝักแห้ง 95-110 วัน เหมาะสาหรับใช้ในรูปถั่วกะเทาะ
เปลือก (ถั่วเมล็ด) น้าหนัก 100 เมล็ด 52.8 กรัม ผลผลิตฝักแห้ง 266 กิโลกรัมต่อไร่ ค่อนข้างทนทานต่อโรคโคน
เนา่ ขาว (กมลวรรณ, 2562)

พันธ์เุ กษตรกร
1. พันธ์ุพวง หรือขาวพวง สาหรับบริโภคในรูปถั่วต้ม มีฝักเรียวยาว เส้นลายบนฝักเห็นได้ชัดเจน มี 2-4

เมล็ดตอ่ ฝกั เยอ่ื ห้มุ เมล็ดสชี มพู พบปลูกท่ีจงั หวัดนครสวรรค์ ตาก เชียงใหม่ และสุรนิ ทร์

6

2. พันธุ์พื้นเมืองเมล็ดสีชมพู สาหรับบริโภคในรูปถ่ัวอบ ถั่วคั่ว มีฝักเล็กและส้ัน เส้นลายบนฝักเห็นได้
ชัดเจน มี 2 เมล็ดต่อฝัก เย่ือหุ้มเมล็ดสีชมพู พบปลูกที่จังหวัดน่าน อุดรธานี ชัยภูมิ ร้อยเอ็ด นครราชสีมา และ
ภาคใต้

อย่างไรก็ตาม การเลือกใช้พันธุ์จะข้ึนอยู่กับวัตถุประสงค์ของการผลิตและการตลาด ความเหมาะสมของ
พันธุ์กับสภาพแวดล้อมท่ีปลูก ท่ีทาให้ถ่ัวลิสงสามารถเจริญเติบโตได้ดีให้ผลผลิตสูงและมีคุณภาพ เช่น พ้ืน
ทดี่ ินที่มีความอุดมสมบูรณ์ปานกลางถงึ สูง ปริมาณน้าเพียงพอสามารถปลูกพันธ์ุขอนแก่น 5 ขอนแกน่ 6 กาฬสินธ์ุ
2 ขอนแก่น 60-3 หรือได้ทุกพันธุ์ ดินท่ีมีความอุดมสมบูรณ์ต่า มีฝนทิ้งช่วง ควรเลือกปลูกพันธุ์ท่ีมีขนาดเมล็ดปาน
กลางหรือพันธุ์ที่ปรับตัวได้กว้าง เช่น พันธไ์ุ ทนาน 9 หรือในสภาพพ้ืนที่ทมี่ ีฝนในชว่ งระยะเวลาสั้นและคอ่ นข้างแล้ง
ควรเลือกพันธุ์ที่มีอายุเก็บเก่ียวส้ัน เช่น พันธุ์ขอนแก่น และพื้นที่ท่ีมีการระบาดของโรคยอดไหม้ ควรเลือกปลูก
พนั ธุท์ ีท่ นทานต่อโรค เชน่ พันธขุ์ อนแกน่ 6 ร่วมกับการจดั การน้าและดนิ ดี เป็นต้น

7

เอกสารอา้ งอิง
กมลวรรณ เรียบร้อย. 2562. เอกสารขอรับรองพันธุ์ถั่วลิสง พันธุ์ขอนแก่น 9. ศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น สถาบันวิจัย

พชื ไร่และพืชทดแทนพลงั งาน กรมวิชาการเกษตร. 43 หน้า.
เพยี งเพ็ญ ศรวัต. 2547. เอกสารเพื่อขอรบั รองพนั ธ์ุถว่ั ลิสง พันธ์ุขอนแก่น 6. สถาบนั วิจัยพชื ไร่ กรมวิชาการ

เกษตร.
สานกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร. 2563. สารสนเทศเศรษฐกิจการเกษตรรายสินคา้ ปี 2562. สานักงานเศรษฐกิจ

การเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 101 หน้า.
สมจินตนา ทุมแสน. 2530 ก. ถ่ัวลิสงพันธุ์ Mo-ket หรือ พันธ์ุขอนแก่น 60-1. เอกสารประกอบการพิจารณาให้

เป็นพันธุ์รับรอง กรมวิชาการเกษตร. ศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น สถาบันวิจัยพืชไร่ กรมวิชาการเกษตร. 26
หน้า.
สมจนิ ตนา ทมุ แสน. 2530 ข. ถว่ั ลิสงพันธ์ุ TMV3 หรอื พนั ธุข์ อนแกน่ 60-2. เอกสารประกอบการพจิ ารณาให้เป็น
พนั ธรุ์ บั รอง กรมวิชาการเกษตร. ศูนย์วจิ ัยพืชไรข่ อนแก่น สถาบันวจิ ัยพชื ไร่ กรมวชิ าการเกษตร. 22 หนา้ .
สมจนิ ตนา ทุมแสน. 2536. การปรับปรุงพันธุ์ถ่ัวลิสง. เอกสารประกอบการฝกึ อบรมหลักสูตรการใช้เทคโนโลยีเพื่อ
เพ่มิ ผลผลติ ถั่วลสิ ง. ศูนย์วจิ ัยพืชไร่ขอนแกน่ . 1-5 มนี าคม 2536. หนา้ 26-36.
สมจินตนา ทุมแสน. 2537. ถัว่ ลสิ งสายพันธุ์ (Taiwan2xUF71513-1)-2-17-5 หรือพันธุ์ขอนแก่น 4. เอกสาร
ประกอบการพจิ ารณาใหเ้ ปน็ พันธรุ์ ับรอง กรมวิชาการเกษตร. ศนู ยว์ ิจัยพืชไร่ขอนแก่น สถาบนั วจิ ัย พืชไร่
กรมวิชาการเกษตร. 37 หน้า.
สมจินตนา ทุมแสน. 2541. ถ่วั ลสิ งสายพันธ์ุ (Tainan9xRCM387)-12-3-11 หรอื พันธุข์ อนแกน่ 5. เอกสาร
ประกอบการพจิ ารณาให้เป็นพันธรุ์ ับรอง กรมวชิ าการเกษตร. ศนู ยว์ ิจัยพืชไร่ขอนแก่น สถาบันวิจัย พชื ไร่
กรมวชิ าการเกษตร. 42 หนา้ .
สมจินตนา ทุมแสน. 2544. ถ่ัวลิสงพันธุ์ KAC 1 หรือพันธุ์กาฬสินธุ์ 1 พันธุ์ KAC 431 หรือพันธ์ุกาฬสินธุ์ 2.
เอกสารประกอบการพิจารณาใหเ้ ป็นพันธุ์แนะนา กรมวิชาการเกษตร. ศูนย์วิจัยพชื ไร่ขอนแก่น สถาบันวิจัย
พืชไร่ กรมวิชาการเกษตร. 23 หนา้ .
สมจินตนา ทุมแสน ทักษิณา ศันสยะวิชัย ศรีสุดา ทิพยรักษ์ อิสระ พุทธสิมมา เพียงเพ็ญ ศรวัต และ
เทวา เมลานนท์. 2554. ถ่วั ลิสงพนั ธ์ุ ขอนแก่น 84-7. แกน่ เกษตร 39 ฉบับพเิ ศษ 3 : 66-77. 12 หน้า.
อานนท์ วาทยานนท์. 2531. ถั่วลิสงพันธุ์ NC7 หรือ พันธุ์ขอนแก่น 60-3. เอกสารประกอบการพิจารณาให้เป็น
พนั ธุ์รับรอง กรมวิชาการเกษตร. ศูนย์วจิ ัยพืชไรข่ อนแก่น สถาบันวิจัยพืชไร่ กรมวชิ าการเกษตร. 35 หน้า.

2. การปลูกถว่ั ลสิ งท่เี หมาะสม

เนตริ ัฐ ชุมสวุ รรณ

ความสาคญั
การปลูกถ่ัวลิสงในประเทศไทยมี 2 ระบบ คือ การปลูกในฤดูฝน และฤดูแล้ง ถ่ัวลิสงมีความสาคัญใน

ระบบการปลูกพืช เพราะสามารถปลูกสลับกับพืชหลัก สลบั กับการปลกู อ้อย มันสาปะหลัง ในสภาพไร่ฤดูฝน และ
ปลูกในฤดูแล้งหลงั เก็บเกยี่ วขา้ ว ปัญหาที่สาคัญในการผลิตถั่วลิสง คือ ผลผลิตและคุณภาพผลิตตา่ เน่อื งจากการใช้
วิธีการปลูกที่ไม่เหมาะสม ได้แก่ การเลือกพื้นทป่ี ลกู กาจดั การปุ๋ย การจัดการนา้ การเกบ็ เกยี่ ว เปน็ ตน้ การปลกู ถ่ัว
ลิสงให้ได้ผลผลติ สูง คุณภาพดไี ด้มาตรฐาน และปลอดภัย ต้องพิจารณาการปฏิบัติดแู ลรักษา รวมถงึ ปจั จยั ต่างๆ ท่ี
เก่ยี วขอ้ ง

สภาพพืน้ ทแ่ี ละสมบัตขิ องดนิ
ดินท่ีเหมาะสมปลูกถั่วลิสง คือ ดินร่วน ดินร่วนปนทราย ดินร่วนเหนียวปนทราย ระดับหน้าดินลึก

30 เซนติเมตร ระบายนา้ ดี เพราะถวั่ ลิสงไม่ทนต่อสภาพน้าขังซง่ึ มีผลทาให้ชะงักการเจริญเติบโต และผลผลติ ลดลง
และเม่ือดินแห้ง หน้าดินต้องไม่แน่นหรือแข็งเป็นแผ่น โดยเฉพาะช่วงลงเข็ม สร้างฝัก และช่วงเก็บเก่ียว
ค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) ของดินที่เหมาะสมสาหรับปลูกถั่วลิสงอยู่ระหว่าง 5.5-6.5 ซ่ึงเป็นช่วงท่ีธาตุอาหาร
ท่ีพืชต้องการอยู่ในสภาพที่เป็นประโยชน์มากท่ีสุด (สมจินตนา, 2541) หากดินมีความเป็นกรด-ด่างน้อยกว่า 5.0
จะทาให้มีอะลูมินัมละลายออกมาจากดินมากจนเป็นพิษต่อถั่วลิสง ทาให้ติดปมได้ช้ากว่าปกติ พืชจะแสดงอาการ
ขาดไนโตรเจนและฟอสฟอรัส หากดินมีความเป็นกรด-ด่างมากกว่า 7.0 มผี ลทาให้ถ่ัวลิสงขาดจุลธาตุ ได้แก่ เหล็ก
แมงกานีส และสังกะสี (สุวพันธ์และเสถียร, 2536) นอกจากนี้ควรหลีกเลี่ยงพื้นที่ดินเค็ม ดินทรายจัด
ระบายนา้ ยาก (ภาพที่ 2.1) เพราะจะทาให้ถ่ัวลิสงชะงกั เจรญิ เติบโต ผลผลิตและคณุ ภาพผลผลิตต่า ความสามารถ
ในการแลกเปลี่ยนประจุบวกของดินควรมีค่ามากกว่า 10 เซนติโมลต่อกิโลกรัม ปริมาณอินทรียวัตถุไม่ต่ากว่า 1.0
เปอร์เซ็นต์ ฟอสฟอรัสท่ีเป็นประโยชน์มากกว่า 8 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม โพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้มากกว่า 40
มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม แคลเซียมท่ีแลกเปลี่ยนได้ไม่น้อยกว่า 120 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม และกามะถันไม่น้อยกว่า 20
มิลลกิ รมั ต่อกิโลกรัม (กรมวิชาการเกษตร, 2561)

9

กข
คง

ภาพท่ี 2.1 พ้นื ที่ท่ีควรหลีกเลี่ยงปลูกถัว่ ลิสง (ก) พ้ืนที่ดนิ ด่าง (pH > 7) (ข) พน้ื ที่ดนิ เคม็
(ค) พืน้ ทีด่ นิ ทรายจดั และ (ง) พื้นทร่ี ะบายน้ายาก

สภาพภมู อิ ากาศท่ีเหมาะสม
ถั่วลิสงสามารถปลูกได้ในทุกภาคของประเทศไทยทม่ี ีปริมาณน้าฝนประมาณ 1,000-1,500 มิลลิเมตรต่อปี

และมีการกระจายตัวสม่าเสมอ รวมถึงพ้ืนที่ที่สามารถให้น้าเสริมได้ ถั่วลิสงเจริญเติบโตได้ดีในอากาศร้อน
และมีความช้ืนเพียงพอ ถ่ัวลิสงมีประสิทธิภาพในการสังเคราะห์แสงสูงสุดท่ีอุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส
เม่ืออุณหภูมิเพ่ิมข้ึนหรือต่าลง 10 องศาเซลเซียส อัตราการสังเคราะห์แสงจะลดลง อุณหภูมิต่าจะมีผลต่อ
ระยะเวลาในการงอกและการเก็บเก่ียวช้ากว่าปกติ (ทักษิณา, 2539) อุณหภูมิกลางวัน/กลางคืน ท่ีเหมาะสม
สาหรบั การเจริญเตบิ โตของถวั่ ลิสงอยทู่ ่ี 35/25 องศาเซลเซยี ส (กรมวชิ าการเกษตร, 2547)

ฤดปู ลกู
ถั่วลิสงสามารถปลูกได้ทั้งในช่วงฤดูฝน และฤดูแล้ง ท้ังน้ีข้ึนอยู่กับลักษณะพื้นท่ีปลูก โดยเลือกพ้ืนที่

ท่ีมีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมกับการปลูกถั่วลิสง ส่วนใหญ่เป็นการปลูกบนท่ีดอนหรือสภาพไร่ โดยอาศัยน้าฝน
เป็นหลักในฤดูฝน การปลูกในฤดฝู นต้องพิจารณาถึงการกระจายตัวของของฝน และความสามารถในการเก็บกักน้า
ของดิน ถ้าปลูกในช่วงฝนชุกทาให้เกิดโรคระบาดผลผลิตเสียหาย ท่ีสาคัญให้คานึงถึงช่วงเก็บเกี่ยว
ต้องมีความช้ืนพอเหมาะและอากาศแห้งแล้งพอที่จะทาให้ถ่ัวลิสงแห้งด้วย และการปลูกในฤดูแล้งโดยอาศัย
น้าชลประทานหรืออาศัยความช้ืนใต้ดินท่ีสามารถควบคุมความช้ืนให้ถั่วลิสงได้พอเพียงแก่ความต้องการตลอดฤดู
(ศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น, 2542) อุณหภูมิต่าในช่วงปลูกเป็นปัญหาหนึ่งมีผลทาให้เมล็ดจะงอกช้ากว่าปกติ
และถา้ ปลูกชา้ จะเสีย่ งตอ่ ความเสียหายอันเกิดจากฝนในชว่ งเกบ็ เกย่ี ว

10

การปลูกถั่วลิสงในฤดฝู น แบง่ เป็น 3 ชว่ ง (กรมวชิ าการเกษตร, 2547) ตารางที่ 2.1
1. ต้นฤดูฝน ควรปลูกในช่วงเดือนเมษายน-พฤษภาคม เก็บเกี่ยวในเดือนกรกฎาคม-สิงหาคม
สามารถปลกู พืชอนื่ ตามได้
2. กลางฤดูฝน ควรปลูกในช่วงเดือนมิถุนายน-กรกฎาคม เก็บเก่ียวในเดือนกันยายน-ตุลาคม
ซ่ึงเปน็ ช่วงท่ีดินมีความช้นื เพยี งพอ เมื่อเกบ็ เก่ยี วอากาศจะแห้งพอสาหรบั ตาก
3. ปลายฤดูฝน ควรปลูกในช่วงเดือนกรกฎาคม-สิงหาคม เก็บเก่ียวในเดือนตุลาคม-พฤศจิกายน
มกั จะปลูกเป็นพืชที่สอง ปญั หาท่ีพบคือ การเตรยี มดินได้คอ่ นข้างยาก เพราะมีวัชพืชหนาแน่นและในชว่ งเก็บเกี่ยว
ดินแห้งจะแข็ง ทาให้เกบ็ เกี่ยวลาบาก
การปลูกถวั่ ลิสงในฤดแู ลง้ มี 2 วิธี คอื
1. การปลูกโดยอาศัยน้าชลประทาน ควรปลูกในช่วงเดือนธันวาคม-มกราคม เก็บเก่ียวในเดือนเมษายน-
พฤษภาคม หากปลูกลา่ ชา้ จะถกู ฝนเมือ่ เกบ็ เกย่ี ว ทาใหค้ ุณภาพของผลผลิตลดลง
2. การปลูกหลังนาโดยอาศัยความชื้นท่ีเหลือในดิน ควรปลูกใน ช่วงเดือนตุลาคม-พฤศจิกายน
โดยมีเง่ือนไข คือ ต้องมีน้าใต้ดินต้ืนท่ีซึมซับในดินในปริมาณเพียงพอต่อการเจริญเติบโตตลอดฤดูปลูก
ควรปลกู ให้เรว็ ท่สี ุดหลังจากเสร็จสิ้นการทานา (ทักษิณา, 2539) การเลือกวันปลูกถวั่ ลสิ งหลงั นาขึน้ อยู่กับพันธุ์ข้าว
ควรเลือกปลูกข้าวนาปีพันธุ์เบาหรืออายุส้ัน เช่น พันธ์ุกข 1 กข 2 กข 10 และ กข 15 เป็นต้น ซึ่งสามารถปลูกถั่ว
ลสิ งในชว่ งปลายเดือนตลุ าคมถึงพฤศจิกายน หากปลูกข้าวนาปีพันธุ์หนักหรืออายุยาว เช่น พันธ์ขุ าวดอกมะลิ 105
และ กข 6 เป็นตน้ จะสามารถปลูกถว่ั ลสิ งไดใ้ นเดือนธนั วาคม (ปาริชาติ และคณะ, 2557) ตารางที่ 2.1

ตารางท่ี 2.1 ฤดปู ลกู ถั่วลสิ ง

เดอื น ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
ฤดูฝน
ต้นฤดฝู น
กลางฤดฝู น
ปลายฤดูฝน
ฤดูแล้ง
ให้น้าชลประทาน
อาศยั ความชื้นในดิน

11

การเตรยี มดิน
การเตรียมดินเพื่อปลูกถั่วลิสง นอกจากทาให้ดินร่วนซุยแล้ว ยังช่วยกาจัดวัชพืช และเหมาะต่อการงอก

ของเมล็ดและการเจริญเติบโตของราก ช่วยเก็บรักษาความชื้นในดิน และเตรียมสภาพหน้าดินให้เหมาะแก่การลง
เข็ม (ศูนย์วจิ ัยพืชไร่ขอนแกน่ , 2542)

ฤดฝู น
ควรเตรียมดินก่อนปลูกในขณะท่ีดินมีความช้ืนพอเหมาะ โดยพื้นที่ท่ีมีวัชพืชน้อย ไม่ต้องเตรียมดิน
สามารถไถเปิดร่อง แล้วหยอดเมล็ด ส่วนพ้ืนท่ีท่ีมีวัชพืชหนาแน่น ควรไถพรวนดินลึก 10-20 เซนติเมตร 1 ครั้ง
ตากดิน 7-10 วัน พรวน 1 ครั้ง แล้วคราดเก็บเศษซาก ราก เหง้า หัว และไหลของวัชพืชข้ามปีออกจากแปลง
(กรมวชิ าการเกษตร, 2547)
ฤดูแลง้
การปลูกโดยอาศัยน้าชลประทาน หลังเก่ียวข้าวเสร็จแล้วรีบตัดตอซังข้าวออกจากแปลงนา
และเก็บไว้ที่คันนา การตัดตอซังออกจากแปลงนาจะช่วยให้น้าท่ีขังอยู่ในแปลงนา หรือความช้ืนหน้าดิน
ที่มากเกินไปแห้งเร็วข้ึนพอเหมาะสาหรับการไถพรวน ไถเตรียมดิน 1-2 คร้ัง ลึก 10-20 เซนติเมตร ตากดิน
7-10 วัน พรวน 1-2 ครั้ง โดยยกร่องปลูกสูง 20 – 25 เซนติเมตร (กรมวิชาการเกษตร, 2547) จะทาให้โครงสร้าง
ของดินโปร่ง ร่วนซุยข้ึน สะดวกต่อการใหน้ า้ และระบายนา้ ความกวา้ งของสนั รอ่ งข้นึ อยู่กับเน้อื ดิน ถ้าเน้ือดนิ แน่น
ควรใช้สันร่องแคบ ประมาณ 60 - 100 เซนติเมตร ปลูกถั่วลิสงได้ 2 แถว แต่ถ้าดินมีการระบายน้าได้ดี
อาจขยายให้กว้างขึ้นถึง 150 เซนติเมตร ท้ังนี้จะต้องให้น้าซึมเข้าไปได้ถึงกลางของสันร่อง และปลูกถ่ัวลิสง
3-4 แถว (ภาพท่ี 2.2) หรือถ้าปลูกในนาดินร่วนทราย อาจไม่ต้องยกร่อง แต่ทาทางระบายน้าเป็นระยะ
ให้สามารถระบายน้าออกจากแปลงปลูกได้ พื้นที่ปลูกที่มีวัชพืชหนาแน่น ควรมีการไถไว้ล่วงหน้า 1-2 ครั้ง
แตถ่ ้ามีวัชพชื นอ้ ย สามารถไถเปิดร่องแลว้ หยอดเมลด็ โดยไม่ตอ้ งเตรียมดิน ได้ผลผลติ ใกล้เคียงกับการไถพรวนปกติ
(ศนู ย์วิจัยพชื ไรข่ อนแกน่ , 2542)
การปลูกหลังนาโดยอาศัยความช้ืนในดิน หลังเกี่ยวข้าวเสร็จแล้วรีบตัดตอซังข้าวออกจากแปลงนา
และเก็บไว้ที่คันนา การตัดตอซังออกจากแปลงนาจะช่วยให้น้าที่ขังอยู่ในแปลงนา หรือความชื้นหน้าดิน
ที่มากเกินไปแห้งเร็วขึ้นพอเหมาะสาหรับการไถพรวน ระดับความชื้นที่เหมาะสม คือ ดินแห้งพอหมาดๆ
ให้ไถเตรยี มดนิ ใหล้ ะเอยี ด โดยไถดนิ 2 คร้งั และพรวน 1 – 2 คร้ัง (กรมวชิ าการเกษตร, 2547)
หมายเหตุ : ดินท่ีเป็นกรดจัด ค่าความเป็นกรด-ด่าง ต่ากว่า 5.5 ควรลดความเป็นกรดของดินด้วยการใส่ปูนขาว
อตั รา 100-200 กิโลกรมั ต่อไร่ สาหรับดินที่ค่อนข้างเป็นดินทราย (ภาพที่ 2.3) หรืออัตรา 200-400 กิโลกรมั ต่อไร่
สาหรับดินเหนียว โดยโรยทั่วแปลง แล้วไถพรวน ท้ิงไว้อย่างน้อย 2 สัปดาห์ก่อนปลูก การปรับสภาพดิน
ให้เหมาะสม จะช่วยทาให้ธาตุอาหารพืชละลายออกมา และเป็นประโยชน์กับรากพืชท่ีจะดึงดูดไปใช้
ในการเจริญเตบิ โตและใหผ้ ลผลติ ได้อยา่ งเตม็ ท่ี

12

กข

ภาพท่ี 2.2 ความกว้างของสันรอ่ งข้นึ อยกู่ บั เนื้อดิน เน้ือดนิ แน่นควรใช้สนั รอ่ งแคบ (ก) ปลูกถัว่ ลสิ งได้
2 แถว และ (ข) ดนิ ทมี่ กี ารระบายนา้ ได้ดีอาจขยายใหก้ ว้างขึน้ ปลกู ถวั่ ลิสงได้ 3-4 แถว

ภาพท่ี 2.3 ดนิ ที่เป็นกรดจดั (pH < 5.5) หว่านปนู ขาวหรือโดโลไมท์อัตรา 100-200 กิโลกรมั ตอ่ ไร่
สาหรบั ดนิ ทค่ี อ่ นขา้ งเปน็ ดินทราย แลว้ ไถพรวน ทิง้ ไวอ้ ย่างน้อย 2 สัปดาหก์ อ่ นปลูก

การเตรียมเมลด็ พันธ์ุ
เลือกพนั ธ์ุปลกู ใหเ้ หมาะสมกบั สภาพพืน้ ท่ีและความต้องการของตลาด เมล็ดพันธุ์ท่ีใช้ปลูกควรเปน็ เมล็ดใหม่

มีความงอกมากกว่า 75 เปอร์เซ็นต์ มีลักษณะตรงตามพันธ์ุ เมล็ดพันธ์ุต้องสมบูรณ์ไม่แตกหัก เยื่อหุ้มเมล็ด
ไม่มีรอยฉีกขาด ไม่มีร่องรอยการทาลายของแมลง ปริมาณเมล็ดพันธุ์ถั่วลิสงท่ีใช้ต่อไร่ ข้ึนอยู่กับชนิดพันธ์ุ
และขนาดของเมล็ด สาหรับพันธุ์ที่มีเมล็ดขนาดกลาง เช่น ไทนาน 9 ขอนแก่น 5 และขอนแก่น 9 เป็นต้น
ใช้เมล็ดพันธุ์ 13-14 กิโลกรัมต่อไร่ ส่วนเมล็ดขนาดใหญ่ เช่น ขอนแก่น 6 ขอนแก่น 60-3 เป็นต้น ใช้เมล็ดพันธ์ุ
17-18 กิโลกรัมต่อไร่ เมล็ดพันธ์ุท่ีกะเทาะด้วยเครื่องกะเทาะ ควรใช้ความเร็วรอบต่าและควรจะนาไปปลูกทันที
เมล็ดพันธุ์ที่กะเทาะด้วยมือ สามารถเก็บรักษาไว้ระยะหนึ่งก่อนท่ีจะนาไปปลูกได้ (กรมวิชาการเกษตร, 2547)

13

และเมล็ดถ่ัวลิสงท่ีเก็บไว้ในสภาพอุณหภูมิปกติทั่วไปเป็นเวลานานกว่า 6 -8 เดือน จะมีความงอกต่า
ไมเ่ หมาะสาหรับใชเ้ ปน็ เมลด็ พนั ธ์ุ (ปาริชาติ และคณะ, 2557)

วิธีการเตรียมเมล็ดพันธ์ุก่อนปลูก ควรคลุกเมล็ดพันธ์ุถ่ัวลิสงด้วยไอโดรไดโอนเข้มข้น 50 เปอร์เซ็นต์
ดับบลิวพีหรือคาร์เบนดาซิมเข้มข้น 50% ดับบลิวพี ในอัตรา 5 กรัมต่อเมล็ด 1 กิโลกรัม เพื่อป้องกันการเกิดโรค
โคนเน่าขาวและโคนเน่าขาด และคลุกเมล็ดด้วยเช้ือไรโซเบียมถั่วลิสง อัตรา 200 กรัมต่อเมล็ดพันธ์ุ 10-15
กิโลกรัม (ภาพท่ี 2.4) ซึ่งเชื้อไรโซเบียมเป็นเช้ือแบคทีเรียชนิดหน่ึงท่ีอาศัยอยู่ในปมรากถั่วลิสง ท่ีสามารถตรึงก๊าซ
ไนโตรเจนจากอากาศมาเป็นธาตุอาหารใหพ้ ืชดูดใช้ได้ ช่วยลดการใช้ปุ๋ยไนโตรเจน ในกรณีท่เี มล็ดมีการพักตัว เช่น
พันธ์ุขอนแก่น 6 ขอนแก่น 60-3 และ ขอนแก่น 84-7 เป็นต้น ต้องทาลายการพักตัวของเมล็ดถ่ัวลิสงก่อน
ด้วยสารอีเทรลความเข้มข้น 3 เปอร์เซ็นต์ อัตรา 9.5 มิลลิลิตรต่อน้า 1 ลิตร พรมเมล็ดพันธ์ุพอหมาด และปลูก
ทนั ที

กขค

ภาพที่ 2.4 การเตรยี มเมล็ดพันธกุ์ ่อนปลูก (ก) คลุกเมลด็ พนั ธุ์ดว้ ยเช้ือไรโซเบียมสาหรับถวั่ ลิสง
(ข) คลกุ เมลด็ ดว้ ยสารปอ้ งกันเช้ือรา และ (ค) คลกุ เคล้าเมล็ดกับวสั ดตุ ่าง ๆ

วิธีการปลูก
วิธีการปลูก ระยะระหว่างแถว 40-50 เซนติเมตร ระยะระหว่างหลุม 20 เซนติเมตร นาเมล็ดพันธุ์

ท่ีเตรียมไว้หยอดลงหลุม จานวน 2-3 เมล็ดต่อหลุม จะได้ 32,000-48,000 ต้นต่อไร่ ปลูกลึก 5-8 เซนติเมตร
การปลูกในฤดูแล้งโดยอาศัยความช้ืนในดิน ควรปลูกให้ลึก 10 เซนติเมตร คราดหน้าดินหลังปลูกให้สม่าเสมอ
เพื่อช่วยให้เมล็ดงอกดีข้ึน (กรมวิชาการเกษตร, 2547) การใช้ตอซังข้าวที่ตัดออกแล้วนากลับมาคลุมดิน
หลังจากปลูกถ่ัวลิสงได้ประมาณ 10-15 วัน จะช่วยรักษาความชื้นในดินไว้ได้นาน การปลูกแบบหยอดตามรอยไถ

14

โดยไถเปิดร่องแล้วหยอดเมล็ดถั่วลิสงในร่องไถให้ห่างประมาณ 20 เซนติเมตร เมล็ดพันธ์ุในร่องไถเก่าจะถูกกลบ
โดยขไ้ี ถของรอ่ งไถตอ่ ไป ซึง่ การปลกู โดยวธิ นี จ้ี ะทาใหส้ ามารถหยอดเมล็ดไดเ้ รว็ และประหยัดแรงงาน

การใสป่ ๋ยุ
ควรสุ่มเก็บตัวอย่างดินก่อนการใส่ปุ๋ย เพื่อวิเคราะห์ค่าความอุดมสมบูรณ์ของดิน แล้วใส่ปุ๋ย

ตามค่าวิเคราะห์ดินของกรมวิชาการเกษตร (2561) ดังตารางที่ 2.2 หรือใส่ปุ๋ยสูตร 3-9-6 ของ N-P2O5-K2O
กิโลกรัมต่อไร่ (ได้จากการผสมปุ๋ย 18-46-0 อัตรา 17 กิโลกรัมต่อไร่ กับ ปุ๋ย 0-0-60 อัตรา 10 กิโลกรัมต่อไร่)
หรือใส่ปุ๋ยเคมีเกรด 12-24-12 อัตรา 25 กิโลกรัมต่อไร่ หรือเกรด 16-16-8 อัตรา 35 กิโลกรัมต่อไร่
รองก้นหลุมก่อนปลูก (ภาพท่ี 2.5) หรือโรยข้างแถว (ภาพท่ี 2.6) แล้วพรวนดินกลบหลังถั่วลิสงงอก 10-15
วันหลงั ปลูก (กรมวชิ าการเกษตร, 2547)

ตารางท่ี 2.2 คาแนะนาการใชป้ ยุ๋ สาหรบั ถ่ัวลสิ ง โดยพิจารณาจากผลวิเคราะหด์ นิ

ปรมิ าณธาตุอาหารแนะนา

รายการวเิ คราะห์ ผลวเิ คราะห์ดิน ใชป้ ๋ยุ ชีวภาพ* ไม่ใช้ป๋ยุ ชวี ภาพ

ไรโซเบยี ม ไรโซเบยี ม

นอ้ ยกว่า 1 0 3 กิโลกรมั N/ไร่

อินทรียวตั ถุ (%) 1-2 0 0 กโิ ลกรัม N/ไร่

มากกว่า 2 0 0 กิโลกรัม N/ไร่

ฟอสฟอรัสท่เี ปน็ ประโยชน์ นอ้ ยกวา่ 8 9 9 กิโลกรัม P2O5/ไร่
(มิลลิกรมั /กิโลกรัม) 8 – 12 6 6 กโิ ลกรัม P2O5/ไร่

มากกวา่ 12 3 3 กโิ ลกรัม P2O5/ไร่

โพแทสเซยี มทแ่ี ลกเปลยี่ น นอ้ ยกวา่ 40 6 6 กโิ ลกรมั K2O/ไร่

ได้ (มลิ ลิกรมั /กโิ ลกรัม) 40 – 80 3 3 กิโลกรัม K2O/ไร่

มากกวา่ 80 0 0 กิโลกรัม K2O/ไร่

*การใช้ปยุ๋ ชีวภาพไรโซเบียมสามารถลดการใช้ปุ๋ยไนโตรเจนได้ 50 – 100%

ที่มา : กรมวชิ าการเกษตร (2561)

15

ภาพที่ 2.5 การใส่ปุ๋ยเคมีกอ่ นปลกู โดยแถกร่องกลางสนั ร่องปลกู ใส่ปยุ๋ และคราดกลบ

ภาพที่ 2.6 การใส่ปุ๋ยเคมหี ลังถ่ัวลิสงงอก 10-15 วันหลังปลกู โดยโรยขา้ งแถวแล้วพรวนดินกลบ
การใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินเป็นการใช้ปุ๋ยตรงตามระดับความอุดมสมบูรณ์ของดิน และตรงตามความ
ต้องการของพืช ทาให้พืชเจริญเติบโตดี และให้ผลตอบแทนคุ้มค่าแก่การลงทุน การใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน
สาหรับถว่ั ลิสง (ตารางที่ 2.2) สามารถพิจารณา ดงั นี้
ค่าวิเคราะห์ปริมาณอินทรียวัตถุ มีน้อยกว่าร้อยละ 1 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ระดับต่า แนะนาให้ใส่ปุ๋ยไนโตรเจน
อัตรา 3 กิโลกรัม ไน โตรเจน ต่อไร่ ถ้าคลุกเมล็ดด้วยปุ๋ ยชีวภ าพ ไรโซเบียมไม่ต้องใส่ปุ๋ย ไน โตรเจน
เพราะการใช้ปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียมสามารถลดการใช้ปุ๋ยไนโตรเจนได้ 50 – 100 เปอร์เซ็นต์ ถ้าค่าวิเคราะห์
ปรมิ าณอนิ ทรียวัตถุระหว่าง 1-2 หรือมากกว่า 2 ซง่ึ อยู่ในเกณฑร์ ะดับปานกลาง-สูง ไม่ตอ้ งใสป่ ุ๋ยไนโตรเจน
ค่าวิเคราะห์ปริมาณฟอสฟอรัสที่เปน็ ประโยชน์ ต่ากว่า 8 มิลลิกรมั ต่อกิโลกรมั อยู่ระดบั ต่า ใสป่ ุ๋ยฟอสเฟต
อัตรา 9 กิโลกรมั ฟอสฟอรัสต่อไร่ ถ้ามีค่าระหว่าง 8-12 มิลลิกรัมตอ่ กิโลกรมั อยู่ในระดับปานกลาง ใส่ปุ๋ยฟอสเฟต
อัตรา 6 กิโลกรัมฟอสฟอรัสต่อไร่ ถ้ามากกว่า 12 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม อยู่ในระดับสูง ใส่ปุ๋ยฟอสเฟต
อตั รา 3 กิโลกรัมฟอสฟอรัสต่อไร่

16

ค่าวิเคราะห์ปริมาณโพแทสเซียมท่ีเป็นประโยชน์ ต่ากว่า 40 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม อยู่ในระดับต่า
ใส่ปุ๋ยโพแทช อัตรา 6 กิโลกรัมโพแทสเซียมต่อไร่ ถ้ามีค่าระหว่าง 40-80 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม อยู่ในระดับ
ปานกลาง ใส่ปุ๋ยโพแทช อัตรา 3 กิโลกรัมโพแทสเซียมต่อไร่ ถ้ามากกว่า 80 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม อยู่ในระดับสูง
ไมต่ ้องใส่ปุ๋ยโพแทช

ดินที่มีแคลเซียมต่ากว่า 120 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ควรใส่ยิปซัม อัตรา 50 กิโลกรัมต่อไร่ (กรมวิชาการ
เกษตร, 2561) ยิปซัมเป็นแหล่งธาตุอาหารรองท่ีมีประโยชน์ ได้แก่ แคลเซียม (Ca) 23-24 เปอร์เซ็นต์
และกามะถัน (S) 14-17 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งแคลเซียมจะช่วยให้ฝักสมบูรณ์ เมล็ดเต็มฝักและมีคุณภาพดี
ช่วยลดปริมาณฝักท่ีมีเมล็ดลีบ และช่วยเพ่ิมผลผลิต โดยโรยยิปซัมที่โคนต้นหรือบนต้นถ่ัวลิสง (ภาพท่ี 2.7)
เมอ่ื ถัว่ ลิสงอายุประมาณ 30-40 วันหลงั ปลูก หรือถว่ั ลสิ งออกดอก 50 เปอรเ์ ซน็ ต์ หรอื ชว่ งถ่วั ลสิ งเรม่ิ ลงเขม็

ภาพที่ 2.7 โรยยิปซัมบริเวณโคนต้นหรือบนต้นถ่ัวลิสง เม่ือถั่วลิสงอายุประมาณ 30-40 วันหลังปลูก
หรือถวั่ ลสิ งออกดอก 50 เปอรเ์ ซน็ ต์ หรอื ชว่ งถวั่ ลสิ งเริ่มลงเข็ม

การใหน้ า้
การผลิตถ่ัวลิสงในประเทศไทยส่วนใหญ่เพาะปลูกในเขตเกษตรอาศัยน้าฝนซ่ึงมักจะประสบปัญหา

การกระทบแล้งอันเน่ืองจากปริมาณน้าฝนน้อยและมีความแปรปรวนของการกระจายตัวที่ไม่สามารถคาดเดาได้
ทาให้ถ่ัวลิสงมีผลผลิตลดลงตั้งแต่ 15 ถึง 80 เปอร์เซ็นต์ (Songsri et al., 2008; Boontang et al., 2010)
นอกจากนี้ สภาพดินปลูกมักจะเป็นดินทรายที่มีธาตุอาหารและความสามารถในการอุ้มน้าได้ต่า จึงมักจะทาให้
ความรุนแรงของการขาดน้าน้ันเพ่ิมข้ึนด้วย (พัชริน และคณะ, 2554) ถั่วลิสงมีความต้องการน้าตลอดฤดูปลูก
500-700 มิลลิเมตร (Soni et al., 2016) การขาดน้าของต้นถั่วลิสงส่งผลกระทบต่อผลผลิตและคุณภาพถั่วลิสง
เช่น การงอกและการยืดของรากลดลง จานวนดอกและจานวนฝักลดลง ลดประสิทธิภาพการพัฒนาฝักและเมล็ด
น้าหนักต่อเมล็ดลดลง เมล็ดลีบ และมีความเส่ียงต่อการเกิดสารอะฟลาทอกซินในผลผลิตถ่ัวลิสง (Grobet and
Rhoads, 1975; Stansell et al., 1976; Pallas et al., 1979; Dorner et al., 1989; Meisner and Karnok,

17

1992; Rowland et al., 2012) ระยะวิกฤตของการขาดน้าอยู่ระหว่าง 30-60 วันหลังงอก ซ่ึงเป็นระยะท่ีถ่ัวลิสง
อยู่ในชว่ งการแทงเขม็ สรา้ งฝักและเมล็ด (กรมวิชาการเกษตร, 2547) ท้ังนีไ้ ม่ควรปลอ่ ยใหถ้ ่ัวลสิ งขาดน้าในชว่ งน้ี

ระยะงอก เพื่อให้ถั่วลิสงงอกสม่าเสมอ ควรให้น้าตามร่องทันทีหลังปลูกจนเต็มสันร่องสูง 2 ส่วน 3
ของความลึกร่องนา้ (ภาพที่ 2.8) โดยไมต่ ้องระบายนา้ อาจมกี ารให้น้าถัว่ หลังงอกอีก 1-2 คร้ัง ตามความเหมาะสม
โดยพิจารณาจากความชื้นในดิน พิจารณาโดยขุดดินลงไป 20-30 เซนติเมตร ถ้าปั้นดินเป็นก้อนได้ ยังไม่ต้องให้น้า
หรอื ดอู าการของถว่ั เร่มิ มีใบเห่ียวในตอนกลางวันควรใหน้ ้าทนั ที

ระยะออกดอกจนถึงระยะพัฒนาเมล็ด เป็นระยะวิกฤตต่อการขาดน้า คือ อายุประมาณ 30-80 วัน
(ข้ึนกับอายุพันธ์ุ) ดังน้ันควรมีการให้น้าอย่างสม่าเสมอทุก 10-15 วัน หรือพิจารณาโดยขุดดินลงไป
20-30 เซนติเมตร ถ้าป้ันดินเป็นก้อนได้ ยังไม่ต้องให้น้า หรือดูอาการของถั่วเริ่มมีใบเหี่ยวในตอนกลางวัน
ทาใหช้ ว่ ยลดปริมาณและจานวนครั้งการใหน้ า้ ลง

ถ้าถั่วลิสงได้รับน้ามากเกินไป มีผลทาให้การเจริญเติบโตทางลาต้นและใบมากเกิน ดัชนีพื้นที่ใบสูง
แต่จากัดการพัฒนารากและฝัก (Boote et al., 1982) ถ้ามีน้าท่วมขังเป็นระยะเวลา 2 วัน จะทาให้ผลผลิตลดลง
เกือบ 50 เปอร์เซ็นต์ (สมจินตนา, 2541) และถ้าน้าขังเกิน 3 วัน ต้นถ่ัวจะชะงักการเจริญเติบโตและใบเร่ิมเหี่ยว
หากทงิ้ ไวจ้ ะแคระแกรนและตายในทีส่ ุด ควรระบายนา้ ออกทนั ที (อานาจ, 2545)

ภาพที่ 2.8 การให้น้าตามรอ่ ง โดยปล่อยนา้ เขา้ ร่อง 2 ใน 3 ของความสงู ของร่องน้า โดยไมต่ อ้ งระบายน้าออก

การพรวนดินและพูนโคน
เพื่อปรับสภาพหน้าดินให้เหมาะสมต่อการแทงเข็มและสร้างฝัก ควรทาหลังถั่วลิสงเริ่มออกดอกประมาณ

1-2 สัปดาห์ หรอื เมื่อถว่ั ลิสงอายปุ ระมาณ 40 วนั โดยพรวนดนิ และกลบข้ึนมา ไม่ควนพูนดนิ กลบก่ิงแรก เพราะจะ
ทาให้การออกดอกและการติดฝักลดลง ดินเน้ือหยาบ เช่น ดินทราย หรือดินร่วนทรายไม่จาเป็นต้องพูนโคน ส่วน
ดินเหนยี วหรือร่วนเหนียวมีเน้ือดนิ แนน่ จาเป็นตอ้ งพนู โคน (อานาจ, 2545)

18
การเกบ็ เก่ียว

การกาหนดช่วงเวลาที่เหมาะสมในการเก็บเก่ียวถัว่ ลิสง จะมีความสาคัญมากต่อผลผลิต และคุณภาพของ
ผลผลิต วธิ ีการท่ีใช้ในทางปฏิบตั ิอาจจะกระทาได้โดย

1. การนับอายุ ภายใต้สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม ถั่วลิสงแต่ละพันธุ์จะใช้เวลาค่อนข้างคงท่ี
ในการเจรญิ เติบโตจนถึงใหผ้ ลผลติ โดยท่ัวไปถ่ัวลสิ งท่ีปลูกในประเทศไทยจะมอี ายุเก็บเกีย่ วฝักสด (เพื่อการบริโภค
ในรูปถั่วต้ม) ประมาณ 80-90 วัน และมีอายุเก็บเก่ียวฝักแก่เต็มที่ 95-125 วัน ท้ังน้ี ข้ึนอยู่กับพันธุ์ ฤดูปลูก
และสถานที่ เช่น การปลูกในฤดูแล้งซึ่งมอี ุณหภูมิตา่ ทาให้อายเุ กบ็ เก่ยี วยาวขน้ึ กวา่ ปกติ

2. การสังเกตสีของเปลือกฝักด้านใน ทาการสุ่มถอนต้นถ่ัวลิสงหลายๆ จุดในแปลงมาตรวจนับ
หากมีเปอร์เซ็นต์ของฝักท่ีมีเปลือกฝักด้านในเปล่ียนเป็นสีน้าตาลดา 60-80 เปอร์เซ็นต์ (ภาพท่ี 2.9) แสดงว่า
ถึงอายุเก็บเกี่ยวท่ีเหมาะสม ซึ่งจะได้ทั้งผลผลิตสูงและคุณภาพเมล็ดดี ไม่ควรเก็บเกี่ยวถ่ัวลิสงท่ียังไม่สุกแก่
เพราะจะได้ผลผลิตต่า และไม่ควรปล่อยถ่ัวลิสงทิ้งไว้ให้แก่เกินไป เพราะเมล็ดจะมีคุณภาพไม่ดี และถั่วลิสง
บางพันธ์ุ เช่น ไทนาน 9 เมลด็ จะงอกคาต้นถา้ ดนิ มีความช้นื เพยี งพอ

ภาพที่ 2.9 ฝกั ออ่ นมเี ปลือกฝักดา้ นในเป็นสีขาวหรอื มีจดุ น้าตาลอ่อน (หมายเลข 5-9) ถ่วั ลสิ งสุกแก่
เปลือกฝกั ด้านในเปลยี่ นเป็นสีน้าตาลดา (หมายเลข 10-13)

การถอนหรือขุดต้นถ่ัวลิสง การเก็บเกี่ยวในขณะท่ีดินยังมีความช้ืนบ้าง จะช่วยให้ถอนต้นถ่ัวข้ึนโดยง่าย
แต่ถ้าดินแห้งจะต้องใช้จอบหรือเครื่องมือช่วยขุด การใช้เคร่ืองมือในการขุดจะต้องระมัดระวังไม่ให้ฝักถั่วลิสงเกิด
รอยแผล (ภาพท่ี 2.10)

การปลิดฝัก ควรเลือกเฉพาะฝักที่สมบูรณ์ ไม่เป็นโรค ไม่ถูกทาลายโดยแมลง และไม่มีรอยแผล
จากการเก็บเก่ยี ว เพ่ือใหไ้ ดผ้ ลผลิตท่ีมคี ุณภาพ

19
กข

ภาพที่ 2.10 (ก) การเกบ็ เกี่ยวถว่ั ลิสงด้วยการถอนตน้ ด้วยมือ และ
(ข) เครื่องขุดถวั่ ลสิ งขนาดเล็กพ่วงกับรถแทรกเตอร์

20

เอกสารอ้างอิง
กรมวิชาการเกษตร. 2547. เกษตรดีท่ีเหมาะสมสาหรับถ่ัวลิสง. (พิมพ์คร้ังท่ี 2). โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตร

แหง่ ประเทศไทย จากัด.
กรมวิชาการเกษตร. 2561. การใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินในการผลิตพืชตระกูลถั่ว [แผ่นพับ]. กลุ่มวิจัยปฐพีวิทยา

กองปจั จัยการผลิตทางการเกษตร กรมวิชาการเกษตร.
ทักษิณา ศันสยะวิชัย. 2539 ถั่วลิสง. น. 109-148. ใน เอกสารวิชาการ การปลูกพืชไร่. สถาบันวิจัยพืชไร่

กรมวิชาการเกษตร.
ปาริชาติ พรมโชติ เจตษฎา อุตรพันธ์ สราวุธ รุ่งเมฆารัตน์ อุดมศักดิ์ เลิศสุชาตวนิช ประกาย ราชณุวงษ์ คมศักดิ์

สุ่ยหล้า ปิยะ ดวงพัตรา และจวงจันทร์ ดวงพัตรา. 2557. การปลูกถั่วลิสงหลังนา. โครงการส่งเสริมและ
เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตถ่ัวลิสงในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร
มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์.
พัชริน ส่งศรี, สน่นั จอกลอย, นิมิตร วรสูต และอารันต์ พัฒโนทัย. 2554. ความท้าทายของนักปรับปรุงพนั ธ์ุพืช
ภายใต้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลก: กรณีศึกษา การปรับปรุงพันธ์ุถ่ัวลิสงทนแล้งของ
มหาวิทยาลยั ขอนแก่น. แกน่ เกษตร 39 (ฉบับพิเศษ 2): 12-21.
ศนู ย์วจิ ยั พชื ไรข่ อนแกน่ . 2542. ถัว่ ลสิ ง. สถาบนั วิจัยพชื ไร่ กรมวชิ าการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ.์
สมจินตนา ทุมแสน. 2541. เอกสารวิชาการ ถ่ัวลิสง. ศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น สถาบันวิจัยพืชไร่ กรมวิชาการ
เกษตรกระทรวงเกษตรและสหกรณ์.
สุวพันธ์ รตั นะ และเสถียร พิมสาร. 2536. ดินและปุ๋ยสาหรับถ่ัวลิสง. น. 48-76 ใน เอกสารประกอบการฝึกอบรม
หลักสูตรการใช้เทคโนโลยีเพ่ือเพ่ิมผลผลิตถั่วลิสง. 1-5 มีนาคม 2536 ณ ศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น จังหวัด
ขอนแกน่ .
อานาจ ชินเชษฐ. 2545. เทคโนโลยีการผลิตถั่วลิสง. สานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตท่ี 6 จันทบุรี
กรมวชิ าการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ.์
Boontang, S., T. Girdthai, S. Jogloy, C. Akkasaeng, N. Vorasoot, A. Patanothai, et al. 2010.
Responses of released cultivars of peanut to terminal drought for traits related to drought
tolerance. Asian Journal of Plant Science. 9:423-431.
Boote, K.J., J.R. Stansell, A.M. Schubert and J.F. Stone. 1982. Irrigation, water use, and water
relationships. pp. 164–205. In H.E. Pattee and C.T. Young, eds. Peanut Science and
Technology. American Peanut Research and Education Society, Inc. Yoakum, TeXas.

21

Dorner, J.W., R.J. Cole, T.H. Sanders and P.D. Blankenship. 1989. Interrelationship of kernel water
activity, soil temperature, maturity, and phytoalexin production in preharvest aflatoxin
contamination of drought-stressed peanuts. Mycopathologia 105(2): 117-128.

Grobet, D.W. and F.M. Rhoads. 1975. Response of two peanut cultivars to irrigation and kylar.
Agron. J. 67(3): 373-376.

Meisner, C.A. and K.J. Karnok. 1992. Peanut root response to drought stress. Agron. J. 84(2): 159-
165.

Pallas, J.E., J.R. Jr. Stansell and T.J. Koske. 1979. Effects of drought on Florunner peanuts. Agron.
J. 71(5): 853-858.

Rowland, D., N. Puppala, J. Beasley, Burow, Jr.M., D. Gorbet, D. Jordan, H. Melouk, C. Simpson, J.
Bostick and J. Ferrel. 2012. Variation in carbon isotope ratio and its relation to other traits
in peanut breeding lines and cultivars from U.S. trials. J. Plant Breed. Crop. Sci. 4(9): 144-
155.

Songsri, P., S. Jogloy, N. Vorasoot, C. Akkasaeng, A. Patanothai, and C.C. Holbrook. 2008. Root
distribution of drought resistance peanut genotypes in response to drought. Journal of
Agronomy and Crop Science. 194:92-103.

Soni, J.K., A. Kumar, V. Kumar, S. Rani and A. Banerjee. 2016. Response of ground nut under
micro irrigation (review). Int. J. Soc. Sci. Dev.11 (Special-VII): 4455-4459.

Stansell, J.R., J.L. Shepherd, J.E. Pallas, R.R. Jr. Bruce, N.A. Minton, D.K. Bell and L.W. Morgan.
1976. Peanut responses to soil water variables in the Southeast. Peanut Science. 3(1):
44-48.

3. การเพมิ่ ผลผลิตถ่ัวลสิ ง: ความต้องการน้า

นายชยันต์ ภักดีไทย

ความสาคัญ
จากการขยายตัวอย่างต่อเน่ืองของประชากรและเศรษฐกิจ พื้นท่ีการเกษตรส่วนใหญ่ท่ีต้ังอยู่ในเขตท่ีแห้ง

แล้งและก่ึงแห้งแล้ง คาดว่าปัญหาการขาดแคลนน้าจะท้าให้รุนแรงเพิ่มขึ้น ในขณะท่ีศักยภาพการน้าชลประทาน
ลดลงอย่างรวดเร็ว เนื่องจากวธิ ีการใช้น้าของเกษตรกรส่วนใหญ่เป็นระบบน้าท่วม ซึ่งเป็นระบบท่ีพืชมีการใช้น้าได้
ประมาณ 35-40% ดังน้ันการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้น้าชลประทานให้ได้สูงสุดจึงต้องเป็นระบบน้าสมัยใหม่ เช่น
สปริงเกอรแ์ ละนา้ หยด เป็นตน้ เพ่ือเพ่ิมผลผลิตและคุณภาพของพชื โดยเฉพาะในท่ีแห้งแลง้ โดยระบบน้าหยดได้รับ
ความนิยมมากกว่าสปริงเกอร์ เนื่องจากใช้น้าได้ประหยัดกว่าสปริงเกอร์ 40 % และประหยัดกว่าระบบน้าท่วม
70% (El-Habbasha et al., 2015)

ถ่ัวลิสงเป็ นพืช ท่ีให้ ผลผลิตอยู่ใต้ดินต้องได้รับน้ าตามความต้องการและดู ดใช้ธาตุ อาหารได้อย่างมี
ประสิทธภิ าพ จึงจะสามารถเปลี่ยนธาตุอาหารไปเป็นผลผลติ ได้เต็มศักยภาพการผลิตและมคี ุณภาพ ถั่วลิสงมีความ
ต้องการน้าตลอดฤดูปลูก 500-700 มม. ขึ้นอยู่สภาพแวดล้อมแต่ละพื้นที่ปลูก แต่ละพันธุ์และระยะการ
เจริญเติบโตความต้องการน้าก็มีความแตกต่างกัน โดย ทักษิณา (2539) ได้แบ่งระยะการเจริญเติบโตของถั่วลิสง
ออกเป็น 4 ระยะตามช่วงอายุ 1) ต้ังแต่วันงอกถึงอายุประมาณ 28 วัน 2) 25-35 วัน 3) 35-80 วัน และ 4) หลัง
80 วนั จนถึงเก็บเกี่ยว การให้น้าของเกษตรกรโดยท่ัวไป ไมค่ ้านงึ ถึงปริมาณน้าและวธิ ีการให้นา้ ให้ถกู ตอ้ งเหมาะสม
กับความต้องการน้าของพืชท่ีช่วงอายกุ ารเจริญเตบิ โตต่าง ๆ และชนิดดินที่ใช้ ปลูกพืชชนิดน้ัน ๆ อาจท้าให้สูญเสีย
น้าจ้านวนมาก เกิดการชะล้าง (leaching) ธาตุอาหารพืชได้ การให้น้าที่ไม่ถูกหลักวชิ าการไม่เพียงแต่ท้าให้สูญเสีย
น้ามากเกนิ ความจ้าเปน็ และผลผลิตลดลง เทา่ นั้น แตย่ ังอาจท้าให้สูญเสียธาตุอาหารจากบริเวณรากพืชอกี ด้วย การ
ให้นา้ ที่มากเกินไป อาจก่อใหเ้ กดิ น้าขงั บริเวณรากพืช และท้าให้ระดับนา้ ใต้ดนิ ต้นื ขนึ้ ซึ่งทา้ ให้รากพชื ขาดออกซเิ จน
ได้ (มตั ตกิ า, 2552)

การผลิตถั่วลิสงในประเทศไทยส่วนใหญ่เพาะปลูกในเขตเกษตรอาศัยน้าฝนซึ่งมั กจะประสบปัญหาการ
กระทบแล้งอันเนื่องจากปริมาณน้าฝนน้อยและมีความแปรปรวนของการกระจายตัวท่ีไม่สามารถคาดเดาได้ท้าให้
ถั่วลิสงมีผลผลิตลดลงตั้งแต่ 15 ถงึ 80 เปอร์เซ็นต์ นอกจากน้ีสภาพดินปลูกมักจะเป็นดินทราย ที่มีธาตอุ าหารและ
ความสามารถในการอุ้มน้าได้ต่้า จึงมักจะท้าให้ความรุนแรงของการขาดน้าน้ันเพ่ิมข้ึนด้วย (พัชริน และคณะ,
2554) การไดร้ ับน้าไมเ่ พียงพอในบางช่วง อาจสง่ ผลกระทบต่อผลผลิตและคุณภาพถั่วลสิ งได้ เช่น การงอกและการ
ยืดของรากลดลง จ้านวนดอกและจา้ นวนฝักลดลง ลดประสิทธภิ าพการพัฒนาฝักและเมลด็ น้าหนักตอ่ เมล็ดลดลง
เมล็ดลีบ และมีความเสี่ยงต่อการเกิดสารอะฟลาทอกซินในผลผลิตถั่วลิสง โดยเฉพาะช่วง 20-50 วันหลังปลูก

23

แตถ่ ้าช่วงปลกู ถ่วั ลิสงได้รับน้ามากเกินไป ก็มีผลท้าให้การเจริญเติบโตทางล้าต้นและใบมากเกิน ดชั นีพ้ืนที่ใบสูง แต่
จ้ากัดการพัฒนารากและฝัก และยังพบอีกว่าปริมาณการใช้น้า และประสิทธิภาพการใช้น้าของถ่ัวลิสงมีค่าสูงสุด
เมื่อให้น้าในระยะออกดอก (flowering) จนถึงระยะการพัฒนาของฝัก (pod filling) เมื่อเปรยี บเทียบกับการให้น้า
หรืองดการให้น้าในระยะอ่ืนๆ ที่แตกต่างกัน อีกทั้งยังพบว่าการกระทบแล้งในช่วงกลางฤดูปลูกถ่ัวลิสงหรือที่อายุ
ระหว่าง 30 - 60 วันหลังหยอดเมล็ด มีผลให้การดูดใช้ธาตุอาหารพืชลดลงเมื่อเทียบกับถ่ัวลิสงท่ีได้รับน้าอย่าง
เพียงพอตลอดช่วงการเพาะปลูก ดังน้ัน การให้น้าที่เพียงพอในช่วงเวลาที่เหมาะสม สามารถช่วยเพ่ิมผลผลิตและ
คุณภาพได้จากรอ้ ยละ 10 เพิ่มได้ถึงร้อยละ 49 จากข้อมูลดังกล่าวแสดงให้เห็นได้ว่า ถั่วลิสงเป็นพืชปลูกช่วงสั้น ๆ
จึงใช้น้าน้อย แต่ต้องได้รับน้าอย่างเพียงพอ โดยท่ัวไปเกษตรกรจะให้น้าทุก 7 วันในเดือนแรก หลังจากนั้นให้น้า
ทุก 10 วัน สงู ถึงระดับเศษ 3 ส่วน 4 ของความลึกร่องน้า โดยไม่ต้องระบายน้าออก ต้องไม่ให้ถ่ัวลิสงขาดน้า ช่วง
อายุ 30-60 วันหลังงอก ซ่ึงเป็นระยะที่อยู่ในช่วงแทงเข็มสร้างฝักและเมล็ด และการได้รับน้าในช่วงวิกฤตของการ
ปลูกถั่วลิสงมีความส้าคัญอย่างมากเพ่ือเพ่ิมปริมาณและคุณภาพผลผลิตที่ดี ดังน้ัน การบริหารจัดการน้าที่มี
ประสิทธิภาพสงู จึงมคี วามสา้ คญั ตอ่ การใชน้ ้าของถั่วลิสง มากไปกว่านนี้ า้ ที่ให้กบั ถ่ัวลิสง ยังมคี วามส้าคัญต่อการดูด
ใชธ้ าตุอาหารจากดนิ ไปสรา้ งผลผลติ ซ่ึงธาตุอาหารทถี่ ่วั ลิสงได้รับต้องเพียงพอต่อความตอ้ งการ มคี วามพอดขี องน้า
ท่ีใชล้ ะลายธาตุอาหารใหถ้ ั่วลิสงดดู ไปใชไ้ ด้หมด ไมส่ ูญเสยี ท้ังน้าและธาตุอาหาร ซึ่งระบบน้าท่ีมีประสิทธิภาพสูงใน
การเพ่ิมศักยภาพการผลิตได้แก่ ระบบน้าหยด (Drip irrigation) เป็นวิธีการให้น้าที่มีประสิทธิภาพในการให้น้า
สงู สุด ร้อยละ 75-95 ซ่ึงท้าใหม้ ีการสูญเสยี น้านอ้ ยท่ีสดุ และเมอื่ เทียบกบั การปล่อยน้าทว่ มขัง มีประสิทธิภาพเพียง
ร้อยละ 25-50 ในระบบสปรงิ เกลอร์ แบบติดตายตวั มีประสิทธภิ าพ ร้อยละ 70-80 และในระบบสปริงเกลอร์แบบ
เคล่ือนยา้ ยมีประสทิ ธิภาพร้อยละ 65-75 ประหยัดเวลาทา้ งาน ระบบน้าหยดใช้ได้กับพืน้ ท่ีทุกประเภทไม่ว่าดนิ รว่ น
ดินทราย หรอื ดนิ เหนียว รวมทั้งดินเคม็ และดนิ ด่าง น้าหยดจะไม่ละลายเกลือมาตกคา้ งอยทู่ ่ีผิวดนิ บนสามารถใช้กับ
พชื ประเภทต่างๆ ได้เกือบทุกชนดิ ยกเว้นพืชที่ต้องการน้าขัง เหมาะส้าหรับพื้นท่ีขาดแคลนน้า ต้องการใช้น้าอย่าง
ประหยัด ลดการระบาดของศัตรพู ืชบางชนิดได้ดี เช่น โรคพืช และวชั พชื ได้ผลผลิตสูงกวา่ การใช้ระบบชลประทาน
แบบอ่ืน ทั้งด้านปริมาณและคุณภาพ ในขณะเดียวกันก็ประหยัดต้นทุนน้า ท้าให้มีก้าไรสูงกว่า ระบบน้าหยด
สามารถใหป้ ุ๋ยและสารเคมีอืน่ ละลายไปกบั น้าพร้อม ๆ ส่งผลให้ธาตอุ าหารพืชกระจายอยูใ่ นบรเิ วณเขตรากพืช และ
สามารถให้ปุ๋ยตามความต้องการของพืชได้ด้วย ส่งผลให้ผลผลิตพืชสูง และลดการสูญเสียธาตุอาหารไปจากดิน มี
งานทดลองการใช้ระบบน้าหยดในถั่วลิสงเพ่ือเพ่ิมผลผลิตและพัฒนาคุณภาพ พบว่า ในพ้ืนที่ลาดชัน 2.4% ระบบ
น้าหยดได้ผลผลิตมากกว่าการไม่ให้น้าหรืออาศัยน้าฝนอย่างเดียว 1.5 เท่า ในพื้นที่สม่้าเสมอสามารถ เพิ่มผลผลิต
1.4 เท่า วิธีการให้น้าแบบน้าหยดยังท้าให้ขนาดเมล็ดของถั่วลิสงใหญ่กว่าการไม่ให้น้าและมีเปอร์เซ็นต์กะเทาะสูง
ถึง 73.7% ซ่ึงสูงกว่าพื้นที่ที่ไม่มีการให้น้าท่ีมีเปอร์เซ็นต์กะเทาะเพียง 64.9% ถึงแม้ว่าเริ่มแรกระบบน้าหยดใช้
ต้นทุนสูง แต่ในระยะยาวจะเกิดผลก้าไรจากการลดความส้ินเปลืองของน้า เวลา และค่าใช้จ่าย ระบบน้าหยดเป็น
เทคโนโลยีใหม่ส้าหรับเกษตรไทยจึงมีข้อจ้ากัดการติดตั้งต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญมาให้ค้าแนะน้า และต้องมีความรู้

24
ปริมาณการใช้น้าของพืชแต่ละชนิดท่ีปลูก ต้องค้านึงถึงการจัดการระบบ เช่น ระยะเวลาให้น้า การใช้ปุ๋ย ชนิดปุ๋ย
ตลอดจนต้องค้านึงถึงปัจจัยแวดล้อมอื่นๆ พืชจึงจะได้ปุ๋ย หรือสารเคมี ใช้อย่างเพียงพอทุกช่วงการเจริญเติบโต
(กอบเกยี รติ, 2556)

ความต้องการใช้น้าของพืชแต่ละชนิด เพ่ือใช้ในการเจริญเติบโตและด้ารงชีวิตอยู่น้ัน เป็นข้อมูลท่ี
ผู้ออกแบบระบบการชลประทาน และโครงการชลประทานต้องทราบ เพราะการใช้น้าของพืชนี้ จะเป็นตัวก้าหนด
ปริมาณน้าท่ีจะต้องจัดหามาให้กับพืชที่ต้องให้น้า รวมไปถึงการออกแบบระบบชลประทานด้วย ปริมาณน้าใช้การ
ของพืช (Consumptive use หรือ Evapotranspiration) เป็นปริมาณน้าทั้งหมด ท่ีสูญเสียไปเนื่องจากสาเหตุ
ส้าคัญ 2 ประการ คือ การระเหย (Evapotranspiration) คือปริมาณน้าท่ีระเหยจากผิวดินรอบๆ ต้นพืช จากผิว
นา้ ในขณะทที่ ้าการให้หรือในขณะที่มีน้าขังอยู่ รวมถึงจากน้าที่เกาะอยู่ตามใบ เน่ืองจากฝนหรือการให้น้า การคาย
น้า (Transpiration) คือปริมาณน้าท่ีพืชดูดไปจากดิน เพื่อน้าไปใช้ในการสร้างเซลล์และเน้ือเยื่อ แล้วคายออกทาง
ใบสูบ่ รรยากาศ ผลรวมของทั้งสองน้ีเรียกว่า “การคายระเหย” (Evapotranspiration) ซงึ่ สามารถคา้ นวณไดจ้ าก
ข้อมูลสภาพอากาศ น้าไปสู่การค้านวณความต้องการน้าของพืช เมื่อใช้ร่วมกับค่าสัมประสิทธ์ิการใช้น้า (ภาพที่
3.1)

ภาพที่ 3.1 ปริมาณการใช้น้าของพืช

กาญจนา และคณะ (2561) รายงานคา่ สัมประสทิ ธ์ิการใช้น้า (Kc) ของถวั่ ลสิ งพันธ์ขุ อนแกน่ 9 ค้านวณค่า
คายระเหยของพืชอ้างอิงใช้วิธีการของ Blaney-Criddle ดังสมการ Kc = -0.0197x2 + 0.3485 x -0.2429 (R2 =
0.8577**) ค้านวณโดยเฉล่ียตามระยะการเจริญเติบโตเป็น 0.32 1.12 1.22 1.16 และ 0.79 ท่ีระยะงอกและ
พัฒนาต้นกล้า (0-21 วัน) ระยะออกดอกและพัฒนาดอก (22-40 วัน) ระยะสร้างฝักและเมล็ด (41-70 วัน) ระยะ

25
พัฒนาฝักและเมลด็ (71-85 วัน) และระยะเมล็ดสกุ แก่ (86-95 วนั ) ตามลา้ ดบั (ภาพที่ 3.2) ซึ่งบางระยะมี
ความใกล้เคียงกันกับค่า Kc ทค่ี ้านวณจากวิธี Penman-Monteith เฉลี่ย 0.9 1.2 0.8 และ 0.48 ที่ระยะต้นกล้า
(0-41วัน) ระยะออกดอก (42-69 วัน) ระยะสร้างผลผลิต (70-97 วัน) และระยะเก็บเกี่ยว (98-105 วัน) (ฝ่าย
เผยแพร่การใช้นา้ ชลประทาน, 2555)

ภาพท่ี 3.2 ค่าสัมประสิทธ์ิการใชน้ ้าของถั่วลสิ งพนั ธข์ุ อนแก่น 9

ปจั จยั ที่มีผลต่อการก้าหนดระยะเวลาการให้นา้ ในถวั่ ลสิ ง คือ เนื้อดินซ่ึงปรมิ าณน้าในดินที่ความจคุ วามช้ืน
สนาม (Filed Capacity, FC) 1/3 บรรยากาศ และความช้ืนที่จุดเห่ียวเฉาถาวร (Permanent Wilting Point,
PWP) 15 บรรยากาศ ความจุนา้ ทเี่ ป็นประโยชน์ตอ่ พืชของดนิ เหนียว ดินร่วน และดินทราย เท่ากับ 12, 7 และ 4
เปอร์เซ็นต์ ตามล้าดับ จะเห็นได้ว่า ดินเหนียวมีระดับความความช้ืนท่ีเป็นประโยชน์ต่อพืชมากที่สุด แต่ความเป็น
ประโยชน์ของนา้ ที่รากพืชจะสามารถดดู ไปใชไ้ ด้งา่ ย จะมีระดับใกล้เคียงกัน (บุญมา, 2546) ดังน้ันการให้น้าในดิน
ทราย สามารถลดความถ่ีของการให้น้าได้ เน่ืองจากน้าสามารถซึมซาบลงไปในดินได้ดีกว่าดินเหนียวที่มี
ความสามารถในการแทรกซึมของน้าต่้า ในทางตรงกันขา้ ม หากให้น้ามากอาจท้าให้เกิดน้าไหลบ่าผิวดนิ (Run-off)
ซึ่งเป็นการสูญเสียน้าโดยเปล่าประโยชน์ จึงจ้าเป็นต้องให้น้าบ่อยครั้งขึ้น ปริมาณน้าที่ให้ควรค้านวณจากความ
ตอ้ งการนา้ ของถัว่ ลสิ งรายวัน ตามชว่ งของการเจริญเติบโต

26

ภาพท่ี 3.3 ความต้องน้าของถ่วั ลสิ งหลงั นา
ระบบการใหน้ า
การให้น้าแบ่งออกได้ เป็น 3 วิธี คือ การให้น้าทางผิวดิน การให้น้าโดยซึมจากใต้ดิน และการให้น้าแบบ
พ่นเหนือดิน การเลือกวิธีการให้น้า ต้องค้านึงถึงระดับของผิวดิน ลักษณะของดิน ค่าใช้จ่ายในการให้น้าและ
ประสทิ ธิภาพในการใหน้ ้า
1. การให้น้าทางผิวดิน เป็นวิธีการให้น้าที่ใช้กันมาก่อนวิธีอื่นใด โดยปล่อยน้าไปบนผิวดินท่ีเราปลูกพืช
แบ่งออกเป็นแบบยอ่ ยๆ ได้อกี คือ

1.1 ปล่อยท่วมแปลง เป็นการให้น้าแบบปล่อยท่วมแปลง อาจปล่อยจากคลองโดยตรง หรือ
ปลอ่ ยจากคยู ่อย บางทแี บง่ พ้นื ทีอ่ อกเปน็ ตอนๆ

1.2 ปล่อยไปตามร่องคู เป็นการให้น้าโดยจ่ายไปตามร่องคู คือ ปล่อยน้าจากท่อใหญ่ ให้ไหลไป
ตามร่องคูท่ีท้าไว้ระหว่างแถวพืช จ้านวนร่องจะมีมากน้อยแล้วแต่ระยะระหว่างแถว ถ้าแถวห่างก็อาจท้าร่อง
หลายๆ ร่อง

1.3 การให้น้าแบบหยด เป็นการใหน้ ้าโดยผ่านทางทอ่ ขนาดจิ๋ว (เส้นผา่ ศูนยก์ ลาง 0.035 นว้ิ ) น้า
จะถกู ปล่อยออกจากถงั หรอื เคร่ืองสบู นา้ ซ่ึงสามารถควบคุมระดบั แรงดนั ใหค้ งที่ได้ นา้ จะผ่านมาตามท่อกลาง แลว้
แยกเขา้ ท่อท่ีมีขนาดเลก็ ลง และไปออกทท่ี ่อขนาดจ๋วิ วธิ ีการใหน้ า้ แบบน้ี ประหยดั น้าไดม้ าก และเป็นการใชน้ ้าให้
เกดิ ประโยชน์เตม็ ที่ เพราะท่อขนาดจ๋ิวจะอยบู่ นผวิ ดนิ ใกล้ๆ โคนต้นพชื เวลาน้าไหลหยดลงมากเ็ ปยี กเฉพาะบรเิ วณ

27

รากเท่านนั้ ข้อเสียของการให้น้าโดยวธิ นี กี้ ็คอื จะต้องมรี ะบบกรองน้าทมี่ ีประสิทธิภาพ มิฉะนน้ั แลว้ ท่อขนาดจ๋วิ จะ
อุดตัน

2. การให้นา้ โดยซึมจากใต้ดิน เปน็ การใหน้ ้าทางใต้ดินในระดบั ใดระดบั หน่ึงท่ีเรากา้ หนดให้ ซงึ่ นา้ จะซึมสู่
รากพืชไดส้ ะดวก ในการให้น้าแบบนี้ ดนิ สวนควรมีเนือ้ ดินสมา่้ เสมอ น้าซึมผา่ นง่าย พื้นท่ีใกลเ้ คยี งควรไดร้ ะดับ

3. การใหน้ า้ แบบพ่นเหนือดิน การใหน้ า้ เหนือดนิ อาจทา้ ไดห้ ลายอย่างดว้ ยกนั เช่น ใชบ้ ัวรด น้า แครง แต่
ท่ีส้าคญั คือ การให้น้าแบบฝนเทียม (sprinkling) คอื ฉดี เปน็ ฝอยคล้ายฝน คลมุ เนื้อท่ีเปน็ แห่งๆ ไปการใหน้ ้าแบบ
ฝนเทียมมีส่วนประกอบท่ี ส้าคญั คอื หัวพน่ น้า (sprinkler) ซึง่ เปน็ ตัวจ่ายนา้ แบง่ ออกได้เปน็ 3 แบบดว้ ยกนั คือ

3.1 แบบที่มหี ัวฉดี ตดิ ตายอยู่กับทอ่ น้า หมุนไม่ได้ การติดหวั ฉดี แบบนจี้ ึงควรเลอื กขนาดที่พอดี
และติดไวต้ ามระยะต่างๆ ท่ตี ้องการ แบบน้นี ยิ มใช้กนั มากในสถานเพาะชา้

3.2 แบบทีม่ ีรูพ่นน้าตามด้านข้าง น้ากจ็ ะถูกฉดี ออกตามรูพรุนเหลา่ น้ี
3.3 แบบทีม่ ีหัวหมนุ ไดร้ อบตัว และอาจต้งั ให้ท้ามุมเท่าใดกไ็ ด้ นยิ มใชก้ นั ในสวนผลไม้ เพราะมี
หลายขนาดสามารถเลือกไดต้ ามตอ้ งการ

ทม่ี า: http://www.pcat.ac.th/_files_school/00000831/data/00000831_1_20151006-222755.pdf ปลอ่ ยไปตามร่องคู ทีม่ า: Facebook มีถั่วมยั้ ?
การให้น้าทางผวิ ดนิ
ปล่อยท่วมแปลง การใหน้ า้ แบบหยด

ท่มี า: https://sites.google.com/site/kasetchoothai/karkestr/-na-pheux-karkestr ท่มี า: https://www.agrifarming.in/groundnut-farming

การให้น้าโดยซึมจากใตด้ ิน การใหน้ ้าแบบพ่นเหนือดิน

ภาพท่ี 3.4 ระบบการให้น้า

28

ประสิทธิภาพการใช้น้าของพืช (water use efficiency หรือ WUE) หมายถึง อัตราส่วน ระหว่างน้าหนัก
แห้งทั้งหมด หรือผลผลิตทางเศรษฐกิจต่อหน่วยน้าหนักของน้าที่พืชใช้ไป ซ่ึงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้น้าในพืช
คือ ลดการใช้น้าของพืชโดยให้กระทบต่อผลผลิตน้อยท่ีสุด หรือเพิ่มผลผลิตของพืชโดยกระทบต่อการใช้น้าน้อย
ท่สี ุด วิธีการเพ่ิมประสิทธิภาพการใช้น้าอาจท้าได้หลาย วิธี ดังน้ี (1) ลดการใชน้ ้าของพืชโดยป้องกันการสูญเสียน้า
จากดิน (2) เพิ่มขนาดของเขตรากพืช (3) เพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของดิน (4) ใช้พันธ์ุพืชทนแล้ง (5) การเว้นช่วง
ชลประทานในช่วง ระยะเวลาการเจริญเติบโตที่ไม่มีผลกระทบกับพืช (คณาจารย์ภาควิชาปฐพีวิทยา, 2548)
ความชื้นของดินท่ีระดับความช้ืนสนาม (field capacity moisture level) เป็นสมบัติท่ีส้าคัญบ่งบอกถึงระดับ
ความเป็นประโยชน์ของน้าในดินส้าหรับพืช (ปิยะ, 2553) โดยท่ัว ๆ ไปการก้าหนดเวลาท่ีต้องให้น้าแก่พืชจะ
พิจารณาจากความช้ืนท่ีพืชสามารถน้าไปใช้ได้เหลืออยู่ในดิน ความชื้นดังกล่าวนี้จะเป็นตัวบ่งช้ีว่าพืชก้าลังขาดน้า
หรือไม่ ถ้าดนิ ยงั มีความชน้ื ท่พี ืชสามารถน้าไปใชไ้ ดเ้ หลืออยูป่ ระมาณ 2 ใน 3 หรือประมาณ รอ้ ยละ 66 แสดงว่าดิน
น้ันยังช้ืนอยู่ แต่ถ้าความช้ืนดังกล่าวเหลืออยู่เพียง 1 ใน 3 หรือร้อยละ 33 แสดงว่าดินนั้นขาดความชื้น (วิบูลย์,
2526)

การเพ่มิ ประสิทธภิ าพการใชน้ าของถั่วลิสง

การลดการใช้น้าของถวั่ ลิสงโดยใหก้ ระทบต่อผลผลิตนอ้ ยท่สี ดุ มวี ิธีการดังนี้

1. กา้ หนดระยะปลกู ท่เี หมาะสมตามขนาดของทรงพุ่ม กา้ จัดวชั พืช เพ่ือลดปรมิ าณพชื แข่งขนั ในการดดู ใช้

น้าและธาตุอาหาร ลดการสูญเสยี นา้ หรือลดการคายระเหยของนา้ จากพ้นื ทปี่ ลกู

2. ไถเตรยี มดนิ ให้ลึก และร่วนซยุ เพ่อื เพ่ิมบริเวณราก ทา้ ใหร้ ากสามารถเจริญเตบิ โตได้เตม็ ที่

3. ปรับปรุงดินโดย เพมิ่ อินทรียวตั ถุ เพ่อื เพ่ิมความสามารถในการอุม้ น้าของดิน

4. ใชพ้ นั ธ์ุถัว่ ลสิ งทท่ี นแลง้ หรือมปี ระสิทธิภาพการใชน้ า้ สูง

5. บริหารจัดการใหน้ ้าท่เี หมาะสม ตามความต้องการของพืช

6. ใชร้ ะบบการใหน้ ้าท่ีมปี ระสทิ ธภิ า

29

เอกสารอา้ งองิ
กอบเกียรติ ไพศาลเจริญ. 2556. การเพ่ิมผลผลิตอ้อยโรงงานเชิงบูรณาการเพื่อรองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

( Integrated Technology for Increasing Sugarcane Productivity as Approaching ASEAN
Economic Community). สถาบันวิจัยพืชไร่และพืชทดแทนพลังงาน กรมวิชาการเกษตร. สิงหาคม
2556.
กาญจนา กิระศักดิ์, ชยันต์ภักดีไทย และวุฒิพล จันทร์สระคู. 2561. ความต้องการน้าและค่าสัมประสิทธิ์การใช้
น้าของถว่ั ลสิ งขนาดเมลด็ ปานกลาง. วารสารวชิ าการเกษตร 36(2): 186-198.
คณาจารย์ภาควิชาปฐพีวิทยา. 2548. ปฐพีวิทยาเบื้องต้น. พิมพ์คร้ังท่ี 10. ภาควิชาปฐพีวิทยา คณะเกษตร
มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์, กรงุ เทพฯ.
ทักษิณา ศันสยะวิชัย. 2539. ถั่วลิสง. น. 109-148. ใน เอกสารวิชาการ การปลูกพืชไร่. สถาบันวิจัยพืชไร่ กรม
วิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ.
บุญมา ปา้ นประดิษฐ์. 2546. หลกั การชลประทาน (Irrigation Principle). ภาควชิ าวศิ วกรรมชลประทาน คณะ

วิศวกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตก้าแพงแสน. มกราคม 2546.

http://irre.ku.ac.th/books/pdf/17.pdf. สบื ค้นเมื่อ 16 มกราคม 2562.

ปิยะ ดวงพตั รา. 2553. สารปรบั ปรงุ ดิน. พมิ พ์ครั้งที่ 1. ส้านักพิมพ์มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์, กรงุ เทพฯ.

ฝา่ ยเผยแพรก่ ารใช้น้าชลประทาน. 2555. ค่าสัมประสิทธพิ์ ืชโดยวธิ ี Penman-Monteith. ส่วนการใชน้ ้า

ชลประทาน สา้ นกั บรหิ ารจัดการน้าและอุทกวทิ ยา.

พัชริน ส่งศรี, สน่ัน จอกลอย, นิมิตร วรสูต และอารันต์ พัฒโนทัย. 2554. ความท้าทายของนักปรับปรุงพันธ์ุ
พืชภายใต้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลก: กรณีศึกษา การปรับปรุงพันธุ์ถั่วลิสงทนแล้งของ
มหาวิทยาลัยขอนแกน่ . แกน่ เกษตร 39 (ฉบบั พิเศษ 2): 12-21.

มัตติกา พนมธรนิจกุล. 2552. การจัดการดินและน้าเพ่ือระบบเกษตรที่ยั่งยืน. พิมพ์คร้ังท่ี 1. หน่วยพิมพ์ฯ งาน
บริหารและธรุ การ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่, เชยี งใหม่.

วิบูลย์ บุญยธโรกุล. 2526. หลักการชลประทาน. ภาควิชาวิศวกรรมชลประทาน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,
กรุงเทพฯ.

El-Habbasha, E. S., E. A. Badr, and E. A. Latef. 2015. Effect of zinc foliar application on growth
characteristics and Grain Yield of some wheat varieties under Zn deficient sandy soil
condition. International Journal Chemtech Research, 8(6): 452–458.

4. โรคถ่ัวลสิ งทส่ี ำคัญและกำรป้องกันกำจัด

มทั นา วานิชย์

ความสาคัญ
โรคของถัว่ ลิสง ท่มี คี วามสาคัญทางเศรษฐกจิ ในประเทศไทยมีอยหู่ ลายชนดิ แตกตา่ งกนั ไปตามพันธถ์ุ ั่วลิสง

ที่ใช้ปลูก การปฏิบัติดูแล แหล่งปลูก และฤดูปลูก เช่น การปลูกถั่วลิสงในฤดูฝน ในภาคเหนือ ภาคกลางและภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ มักพบการระบาดของโรคลาต้นเน่า ค่อนข้างรุนแรงในบางปี การแพร่ระบาดของโรคใบจุดสี
ดา ใบจุดสีนาตาล และโรคราสนิม ค่อนข้างรุนแรงในช่วงปลายฤดูฝน และพบการระบาดของโรคยอดไหม้ ในฤดู
แล้ง ทุกแหลง่ ปลกู อาการโรคจะรุนแรงมาก หากใชถ้ ่ัวลิสงพันธุ์พืนเมืองฝักต้ม สว่ นแปลงท่ใี ชพ้ ันธุ์แนะนาของกรม
วิชาการเกษตร เช่น พันธ์ุขอนแก่น 5 พบความรุนแรงของโรคไม่มากนัก ปัจจุบันเกษตรกรผู้ปลูกได้ตระหนักถึง
ความสาคัญในการจัดการโรคมากยิ่งขึน เน่ืองจากหากเกิดการระบาดของโรคในแปลงปลูก อาจก่อให้เกิดความ
เสียหายต่อผลผลติ ทังในดา้ นปรมิ าณและคณุ ภาพ โดยจะกลา่ วถงึ โรคท่สี าคญั และพบโดยทวั่ ไปในแหลง่ ปลกู

โรคโคนเน่าขาวหรอื ลาตน้ เนา่ (Sclerotium Stem Rot or Southern Blight)
สาเหตุ เชือรา Sclerotium rolfsii Saccardo
การระบาด โรคนีพบระบาดประปรายในทุกแหล่งปลูก โดยเฉพาะในสภาพที่ฝนตกชุก หรือมีฝนตก

ติดต่อกัน 3-5 วัน ทรงพุ่มต้นถ่ัวค่อนข้างหนา หรือปลูกแน่นจนเกินไป การปลูกซาท่ีเดิม และการให้ปุ๋ยที่มี
ไนโตรเจนสูงจะทาให้ถั่วมโี อกาสเป็นโรคนไี ด้มากขนึ

ลักษณะอาการ เชือเข้าทาลายเนือเยื่อบริเวณโคนต้นโดยลุกลามจากส่วนที่อยู่ติดดินขึนมาส่วนบน ส่งผล
ใหท้ ังตน้ เหย่ี วเฉาและแห้งตายในท่สี ุด ในระยะนีหากตรวจดูบรเิ วณโคนต้นจะพบกล่มุ เส้นใยสีขาวลกั ษณะคล้ายปุย
สาลีและมีเม็ดสเคลอโรเตียคล้ายเมล็ดผักกาดขึนอยู่บนลาต้นและผิวดินบริเวณใกล้เคียง นอกจากลาต้นแล้วเชือ
อาจเข้าทาลายขัวฝักและเมล็ดได้ดว้ ย (ภาพที่ 4.1) อาการที่ฝักมักเหน็ ไม่ชัด แต่อาจสังเกตไดจ้ ากร่องรอยของเชือ
ที่ปกคลุมอยู่บนฝัก ลักษณะเดียวกันกับท่ีเกิดบนลาต้น เมื่อสภาพแวดล้อมของการเกิดโรคเหมาะสมจะทาให้
ผลผลิตลดลง 25-50 เปอร์เซน็ ต์ (โสภณ, 2545)

การปอ้ งกนั กาจดั
- ปลกู พืชหมนุ เวียนสลบั กับการปลูกถวั่ ลสิ งในพืนที่เดมิ เช่น ขา้ วโพด หรือ แตง
- ไถพรวนดนิ ใหล้ กึ กวา่ 15 เซนตเิ มตร เพื่อกลบสว่ นขยายพันธ์ุของเชือ (sclerotia)
- คลุกเมล็ดก่อนปลกู ด้วยสารเคมี เมทาแลกซิล 8% WP รว่ มกับ แมนโคเซบ 64% WP อัตรา 15-20 กรมั
ต่อนา 20 ลิตร หรือ ไอโพรไดโอน 50% WP อตั รา 5 กรัมต่อเมล็ด 1 กโิ ลกรัม

31
- เม่ือพบการระบาดของโรคในระยะออกดอกหรือติดฝกั ให้พ่นสารโพรพโิ คนาโซล 25% EC อัตรา 12-15
มิลลิลติ รต่อนา 20 ลิตร หรือ ไอโพรไดโอน 50% WP อตั รา 40 กรมั ต่อนา 20 ลิตร ลงดินบรเิ วณโคนต้น 2-3 ครงั
หา่ งกนั 10 วัน (กรมวิชาการเกษตร, 2547)

ภาพที่ 4.1 การเจริญของเส้นใยเชอื ราสาเหตุโรคท่ีเขา้ ทาลายฝัก และลาตน้ ถว่ั ลิสง
โรคโคนเน่าขาด (Crown rot or Seed Blight)

สาเหตุ เชือรา Aspergillus niger Van Tiegh
การระบาด พบท่ัวไปในทุกแหล่งปลูกทังในฤดูแล้งและฤดูฝน การระบาดค่อนข้างสูงในแปลงปลูกที่เป็น
ดินทรายหรือร่วนทรายและอุณหภูมิของดินค่อนข้างร้อน เชือสามารถติดไปกับเมล็ดพันธ์ุโดยเฉพาะเมล็ดพันธ์ุเก่า
หรือ มแี ผลจากการกะเทาะหรือการทาลายของแมลง
ลักษณะอาการ เกิดเป็นแผลตายสีนาตาลบริเวณใบเลียงซ่ึงจะลุกลามอย่างรวดเร็ว หากเมล็ด มีความ
อ่อนแอสูงและเชือที่ติดมากับเมล็ดมีปริมาณมาก ในกรณีเช่นนีเมล็ดมักเน่าตายก่อนท่ีจะงอกพ้นผิวดิน ในกรณีท่ี
เชือมีปริมาณไม่มากและเมล็ดไม่อ่อนแอจนเกินไป เมล็ดจะงอกจนพ้นผิวดินแต่เชือท่ีอยู่บนใบเลียงจะลุกลามไป
จนถึงลาต้นบริเวณคอดิน (crown) ทาใหล้ าต้นเน่า (ภาพท่ี 4.2) ส่งผลให้ถั่วลสิ งแห้งตายทังต้นหรือแห้งตายเฉพาะ
บางก่ิง ถั่วท่ีเป็นโรคมักขาดบริเวณคอดินเมื่อถูกถอน เนื่องจากเนือเยื่อถูกทาลายจนเป่ือยยุ่ยและขาดง่ายกว่าปกติ
(โสภณ, 2545)

ภาพที่ 4.2 การเจริญของเสน้ ใยเชือราสาเหตโุ รคทต่ี ดิ มากับเมล็ดพันธ์ุถว่ั ลสิ ง แสดงอาการในระยะกล้า

32

การปอ้ งกันกาจดั
- หลีกเลี่ยงการปลูกถ่ัวลิสงซาท่ีเดมิ เปน็ เวลาหลายๆ ปี ปลกู พชื หมนุ เวยี น เช่น ขา้ วโพด แตง เป็นต้น
- คลุกเมล็ดพันธุ์ถั่วลิสงด้วยสารเคมี คาร์บอกซิล ร่วมกับ ไทแรม 75 % WP อัตรา 2 - 3 กรัมต่อเมล็ด 1
กิโลกรัม หรือ แคปแทน 50% WP ปริมาณ 3 กรัมต่อเมล็ด 1 กิโลกรัม และถ้ามีการระบาดของโรคในช่วงหลัง
อาจใช้สารเคมดี งั กล่าวผสมนาแลว้ ราดดิน ที่สาคัญควรมกี ารทาลายเศษซากพชื ทีเ่ ป็นโรค เพ่ือไมใ่ หเ้ ป็นแหล่งสะสม
โรคตอ่ ไปดว้ ย (กรมวชิ าการเกษตร, 2547)

โรคใบจดุ สีดา (Black leaf spot or Late Leaf Spot)
สาเหตุ เชอื รา Cercospora personata Berka Curt
การระบาด พบระบาดท่ัวประเทศ ทาความเสียหายมากเฉพาะในฤดูฝน อาจพบบ้างในฤดูแล้ง แต่มักไม่

ระบาดรนุ แรง เขา้ ทาลายถัว่ ลสิ งตงั แต่ระยะออกดอกจนถึงระยะเก็บเก่ยี ว
ลักษณะอาการ แผลเกิดที่ใบ เร่ิมจากใบล่าง แผลมีสีดารูปร่างค่อนข้างกลมมักไม่ปรากฏวงรอบสีเหลือง

(halo) (ภาพท่ี 4.3) สามารถแยกความแตกต่างจากโรคใบจุดสนี าตาลได้ โดยพลิกดูลกั ษณะของแผลทางด้านใต้ใบ
ซึ่งจะมีสีดาเข้มและเห็นกลุ่มสปอร์เรียงตัวเป็นวง ขณะที่แผลใบจุดสีนาตาลจะมีสีนาตาลอ่อนและ มักมองไม่เห็น
กลุ่มสปอร์ กรณีท่ีเชือระบาดรุนแรง แผลจะลุกลามรวมกันเป็นแผลขนาดใหญ่ทาให้ใบไหม้และหลุดร่วง นอกจาก
ใบแล้วเชอื อาจลุกลามเข้าทาลายบรเิ วณกา้ นใบ ลาตน้ และเขม็ ได้ แผลมกั เปน็ รปู ไข่หรอื วงรี (โสภณ, 2545)

การป้องกันกาจัด
- ควรปลกู ถวั่ ลิสงตน้ ฤดฝู นหรือถ่ัวหลงั นา หลกี เลี่ยงชว่ งท่ีโรคทาความเสยี หายมาก โดยเฉพาะการปลูกถ่ัว
ลิสงกลางฤดูฝน
- ใช้พันธ์ุตา้ นทาน เชน่ พันธุ์ขอนแก่น 6 และ ขอนแกน่ 60-3 เป็นตน้
- ทาลายเศษซากพืชในแปลงให้หมดหลังจากเก็บเกีย่ วอาจนาไปใช้เลียงสัตวห์ รือทาเปน็ ปุ๋ยหมัก เน่ืองจากการ
หลงเหลือซากถั่วในแปลงจะเปน็ แหล่งเพาะเชอื ทาใหร้ ะบาดมากในฤดถู ดั ไป
- อาจพิจารณาใช้สารเคมี หากพบอาการใบจุดในระยะเรมิ่ ออกดอก สารเคมีที่แนะนาคือ คลอโรธาโลนิล 50%
W/V SC อัตรา 40-60 มล.ต่อนา 20 ลิตร (กรมวิชาการเกษตร, 2552) เบโนมิล 50% WP อัตรา 15-20 กรัมต่อ
นา 20 ลิตร หรือแมนโคเซบ 80% WP อตั รา 20-30 กรมั ตอ่ นา 20 ลติ ร ฉีดพน่ ทางใบตามอัตราท่ีแนะนา 3-5 ครัง
หา่ งกนั 7-10 วัน ตามความรนุ แรงของโรค (กรมวิชาการเกษตร, 2547)

33

ภาพที่ 4.3 อาการใบจุดสดี าบนใบถวั่ ลิสง
โรคใบจุดสีนาตาล (Brown leaf spot or Early Leaf Spot)

สาเหตุ เชือรา Cercospora arachidicola Hori
การระบาด มคี วามสาคัญน้อยกว่าโรคใบจดุ สีดา พบระบาดในบางพืนที่และเฉพาะในบางปที ี่ฤดหู นาวของ
ปีก่อนหนา้ นนั มีอุณหภูมิเฉล่ียคอ่ นข้างตา่ กวา่ ปกติ มกั พบร่วมกับใบจุดสดี า ในประเทศเขตอบอุ่น เชน่ อเมรกิ าและ
จีน มักพบโรคใบจุดสีนาตาลปรากฏกอ่ นใบจุดสีดา จึงเรยี กช่ือโรคนวี า่ early leaf spot และเรียกโรคใบจุดสีดาวา่
late leaf spot เน่อื งจากเข้าทาลายช้ากวา่ แตใ่ นประเทศไทยไม่พบความแตกต่างของ
การเขา้ ทาลาย
ลกั ษณะอาการ เมื่อพจิ ารณาดจู ากด้านหลังใบ แผลมรี ูปรา่ งค่อนข้างเปน็ เหลย่ี ม สีนาตาลเขม้
ขนาดใหญ่สุดประมาณ 8-10 มลิ ลเิ มตร มวี งสเี หลือง (halo) ลอ้ มรอบ (ภาพท่ี 4.4) หากใช้แว่นขยายสอ่ งดู
จะพบขยุ สปอร์บนผวิ ของแผลทงั สองด้านของใบ (โสภณ, 2545)
การป้องกันกาจดั ปฏบิ ัติเช่นเดียวกนั กบั โรคใบจุดสีดา

ภาพที่ 4.4 อาการใบจดุ สีนาตาลบนใบถวั่ ลสิ ง

34

โรคราสนิม (Rust)
สาเหตุ เชือรา Puccinia arachidis Spagaziini
การระบาด คล้ายใบจุดสีดาคือระบาดมากเฉพาะในฤดูฝน พบทั่วไปในแหล่งปลูกถั่วลิสงทั่วประเทศ เชือ

มักเข้าทาลายในระยะหลังออกดอก ชอบความชืนสัมพัทธ์มากกว่า 70 เปอร์เซ็นต์ ขึนไป อุณหภูมิเฉล่ียระหว่าง
28-30 องศาเซลเซยี ส

ลักษณะอาการ แผลเกิดทใ่ี บ เริ่มจากใบลา่ ง ลักษณะเป็นแผลจุดนูนสีนาตาล เห็นได้ชดั เจนจากด้านใต้ใบ
(ภาพท่ี 4.5) หากใช้แว่นขยายส่องดูจะเห็นเป็นต่มุ แผลขนาดเส้นผ่าศูนยก์ ลางประมาณ 1-3 มิลลิเมตร กระจายอยู่
เตม็ ผวิ ใบ แผลจะปรแิ ตกหลงั จากโตเตม็ ท่ี ทาให้เห็นสปอร์สีนาตาลลักษณะคล้ายผงสนิม ในกรณีโรคระบาดรุนแรง
ใบอาจจะเหลอื งและแหง้ ตาย แตม่ กั จะไม่หลุดลว่ งจากตน้ (โสภณ, 2545)

การปอ้ งกนั กาจัด
- หลีกเล่ยี งการปลกู ถ่ัวลสิ งในช่วงตอนกลางหรอื ปลายฤดูฝน เพราะมักเปน็ ช่วงท่ีพบการระบาดของโรครา
สนิม
- พจิ ารณาใช้สารเคมีตามความเหมาะสม ท่แี นะนา ได้แก่ คลอโรธาโลนลิ 75% WP อัตรา 40 กรัมต่อนา 20
ลิตร และมาเนบ 80% WP อัตรา 20 กรมั ต่อนา 20 ลิตร (กรมวชิ าการเกษตร, 2552)

ภาพท่ี 4.5 อาการแผลจุดนูนสีนาตาลของโรคราสนิมใตใ้ บถวั่ ลสิ ง

โรคยอดไหม้ (Bud Necrosis)
สาเหตุ เชือไวรสั Peanut bud necrosis tospovirus (PBNV)
การระบาด อาศัยเพลียไฟเป็นแมลงพาหะ แมลงท่ีรับเชือแล้วจะถ่ายทอดเชือได้ตลอดอายุขัย ในประเทศ

ไทยพบระบาดมากในช่วงฤดูแล้ง (ถ่ัวแล้ง/หลงั นา) โดยอาจทาความเสียหายสูงเกิน 50 เปอร์เซน็ ต์ ในบางพืนที่ ใน
ฤดฝู นพบโรคนนี ้อยมากหรือไม่พบเลย

35

ลักษณะอาการ ระยะเริ่มแรกจะเกดิ เป็นแผลจุดตายหรือแผลจุดวงแหวน หรือจุดสซี ีดบนใบที่เพลยี ไฟดูด
กิน หลังจากนนั ประมาณ 1 สัปดาห์ ใบบริเวณส่วนยอดจะมีสีซดี หรือเกิดจดุ ประ ลามจากฐานใบขนึ ไป โดยอาจจะ
เรมิ่ จากซีกใบซีกหน่ึงของใบรวม หรือเกิดพร้อมกันทงั สองซีก หลงั จากนันก้านใบของใบบางส่วนจะห้อยตัวลงไม่ตัง
ตรง (ภาพที่ 4.6) ถ่ัวลิสงจะแสดงอาการแคระแกร็น ข้อปล้องสัน ใบส่วนยอดแตกตัวเป็นกระจกุ หรือเกิดแผลตาย
ตามส่วนตายอดหรือหูใบ หากพบในถ่ัวลิสงระยะต้นกล้าจนถึงก่อนออกดอกจะทาให้ถ่ัวลิสงไม่ติดฝักจนถึงต้นแห้ง
ตายได้ แต่ถ้าพบอาการในช่วงเจริญพอควรแล้วจะส่งผลต่อผลผลิตลดน้อยลง แต่ฝักและเมล็ดท่ีได้จะลีบเล็ก บิดเบียว
เสยี รปู ร่าง (โสภณ, 2545)

การปอ้ งกันกาจัด
- หลกี เล่ียงการปลูกถั่วลสิ งในชว่ งฤดแู ลง้ (ถ่ัวแล้ง/หลงั นา)
- ใช้พันธ์ทุ นทาน เช่น พนั ธุข์ อนแก่น 6
- ใช้สารเคมีกาจัดแมลงพาหะ ตามคาแนะนาคือ คาร์โบซัลแฟน 20% EC อัตรา 50 มิลลิลิตรต่อ นา 20
ลติ ร ฉีดพ่นเมอื่ พบการเข้าทาลายใบเฉล่ีย 30-40% ในระยะถ่ัวเร่ิมติดฝักและพน่ ซาเมือ่ พบการระบาด 1-2 ครัง ห่างกัน 7 วัน
(กรมวชิ าการเกษตร, 2553)

ภาพที่ 4.6 อาการโรคยอดไหม้

36

เอกสารอา้ งองิ
กรมวิชาการเกษตร. 2547. เกษตรดีที่เหมาะสมสาหรับถั่วลิสง. กรมวิชาการเกษตร. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.

22 หน้า.
กรมวิชาการเกษตร. 2552. คู่มือการเลือกใช้สารป้องกันกาจัดโรคพืช. กลุ่มวิจัยโรคพืช สานักวิจัยและพัฒนาการ

อารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร. 128 หน้า.
กรมวชิ าการเกษตร. 2553. เอกสารวิชาการเกษตรคาแนะนาการป้องกนั กาจัดแมลงและสตั ว์ศัตรพู ืชปี 2553. กลุ่ม

กฏี และสัตววทิ ยา สานกั วิจยั และพัฒนาการอารักขาพชื กรมวิชาการเกษตร. 303 หน้า.
โสภณ วงแก้ว. 2545. คู่มือวินิจฉัยโรคถั่วลิสงภาคสนาม. สานักเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี

สรุ นารี โรงพมิ พค์ ลงั นานาวทิ ยา. 90 หนา้ .

5. แมลงศตั รถู ั่วลิสงทีส่ ำคญั และกำรปอ้ งกนั กำจัด

ทนุธรรม บญุ ฉมิ

ความสาคัญ
แมลงศัตรูท่ีสำคัญของถั่วลิสง ได้แก่ หนอนชอนใบถั่วลิสง เพล้ียอ่อนถ่ัว เพล้ียจักจ่ัน เพลี้ยไฟ และ

เสี้ยนดิน ส่วนใหญ่พบกำรระบำดรุนแรงในสภำพอำกำศแห้งแล้ง หรือฝนทิ้งช่วงนำนเกิน 15 วัน ยกเว้นเส้ียน
ดิน ซ่ึงหำกเกิดกำรระบำดรุนแรงสำมำรถทำให้ผลผลิตถั่วลิสงลดลงมำกกว่ำ 50 เปอร์เซ็นต์ ผลผลิตไม่ได้
คุณภำพ และแมลงบำงชนดิ เป็นพำหะนำโรคยอดไหมถ้ ่ัวลิสงทีส่ ำมำรถทำให้ผลผลิตลดลงถึง 80 เปอรเ์ ซน็ ต์ ซ่ึง
แมลงศัตรูที่สำคัญของถ่ัวลิสง แบ่งประเภทตำมลักษณะกำรเข้ำทำลำย ได้แก่ (1) ประเภทปำกกัด เช่น หนอน
ชอนใบถ่วั ลสิ ง (2) ประเภทปำกดดู เชน่ เพลีย้ อ่อนถว่ั เพล้ยี จักจ่ัน และเพล้ยี ไฟ (3) แมลงศัตรูใต้ดิน เชน่ เสี้ยน
ดนิ

หนอนชอนใบถัว่ ลิสง (Leaf miner)
หนอนชอนใบถั่วลิสง (Aproaerema modicella Deventer) ตัวเต็มวัยเป็นผีเส้ือกลำงคืน สีน้ำตำล

ยำวประมำณ 5 มิลลิเมตร ปีกคู่หน้ำไมม่ ีลำย มีจดุ เหลอื งอยู่ปลำยปีกขำ้ งละจดุ ขอบปีกเปน็ ขนอ่อน ตวั เมียเริ่ม
วำงไข่หลังผสมแล้วประมำณ 3 วัน และตัวเมียวำงไข่ได้ประมำณ 20-50 ฟอง โดยวำงเป็นฟองเดี่ยวๆ บนใบ
พชื ไข่มีลักษณะกลมเรียว ระยะไข่นำนประมำณ 3-4 วนั ระยะหนอน 7-10 วัน ระยะดักแด้ 3-5 วัน ระยะตัว
เต็มวยั 7-14 วนั รวมมวี งจรชวี ิต 20-34 วัน (ณรรฐพล และเพ็ญสขุ , 2527) (ภำพที่ 5.1)

ลักษณะการทาลาย
หนอนที่ฟักออกจำกไข่จะชอนเข้ำไปกัดกินเน้ือเย่ือของใบและเหลือไว้เฉพำะผิวใบบนและด้ำนล่ำง
ต่อมำใบจะแห้งเป็นสีขำว เมื่อหนอนโตมำกข้ึนจะออกมำพับใบถ่ัวหรือชักใยเอำใบถ่ัวมำรวมกัน อำศัยกัดกิน
และเข้ำดักแด้อยู่ข้ำงใน ถ้ำระบำดรุนแรงจะทำให้ต้นถ่ัวแคระแกร็น ใบร่วงหล่น (ภำพท่ี 5.2) ผลผลิตลดลง
ประมำณ 50 เปอร์เซ็นต์ (มโนชยั และปรีชำ, 2529; สำทร และคณะ, 2530)

ภาพที่ 5.1 ลักษณะหนอนชอนใบในระยะหนอน ดักแด้ และตัวเตม็ วัย

38

ภาพที่ 5.2 ลกั ษณะกำรเข้ำทำลำยถั่วลิสงของหนอนชอนใบ

ช่วงเวลาระบาด
ระบำดรนุ แรงในสภำพอำกำศแห้งแล้ง หรอื ฝนทิ้งช่วงเป็นเวลำนำนเกิน 15 วัน สำมำรถพบเห็นทว่ั ไป
ตำมแหล่งปลกู ถั่วลสิ ง
แมลงศัตรธู รรมชาติ
แตนเบยี น ด้วงเต่ำตวั หำ้
การปอ้ งกันกาจัด
เมื่อพบใบถูกทำลำย 30 เปอร์เซ็นต์ ควรฉีดพ่นด้วยสำรไตรอะโซฟอส (40% EC) อัตรำ 40 มิลลิลิตร
ตอ่ นำ้ 20 ลติ ร หำกพบกำรระบำด ให้พน่ ซำ้ 1-2 ครัง้ โดยมรี ะยะเวลำหำ่ งกัน 7 วนั

เพลย้ี ออ่ นถวั่ (Aphid)
เพล้ียอ่อนถั่ว (Aphis craccivora Koch) เป็นแมลงปำกดูดขนำดเล็ก ทำลำยพืชโดยดูดกินน้ำเล้ียง

ตำมยอดอ่อน มีกำรขยำยพันธุ์โดยไม่ต้องผสมพันธุ์ และออกลูกเป็นตัวโดยไมม่ ีกำรวำงไข่ มีทงั้ ชนิดมปี ีกและไม่
มีปีก เพลี้ยอ่อน ทั้งตัวอ่อนและแก่มีลักษณะคล้ำยคลึงกันมำก ต่ำงกันท่ีขนำดและสี ลอกครำบ 4-5 คร้ัง เมื่อ
โตเต็มที่มขี นำดประมำณ 1 มิลลิเมตร เคล่ือนไหวช้ำ หัวมีขนำดเลก็ กว่ำส่วนอก ส่วนท้องโต ลักษณะอ้วนป้อม
มีทอ่ เล็ก ๆ ยื่นยำวไปทำงสว่ นทำ้ ย 2 ท่อ เพล้ียอ่อนหน่ึงตัวสำมำรถออกลกู ได้ 273 ตัว อำยุตัวออ่ นโดยเฉล่ยี 6
วัน ตัวแก่มชี วี ติ อยไู่ ดน้ ำน 3-14 วัน รวมวงจรชีวิตเฉลี่ย 11 วัน

ลักษณะการทาลาย
ตวั ออ่ นและตัวเต็มวัยดูดกินน้ำเล้ียงตำมยอดอ่อน ใบอ่อน ดอก ถำ้ ระบำดในขณะที่ตน้ พืชยังเล็กทำให้
ต้นแคระแกร็น ใบอ่อน และยอดอ่อนหงิกงอ (ภำพท่ี 5.3) แต่ถ้ำต้นถั่วอยู่ในระยะออกดอก จะทำให้ดอกร่วง
ทำให้ผลผลิตลงลงกว่ำ 33 เปอรเ์ ซ็นต์ นอกจำกนี้เพลี้ยอ่อนยังเป็นพำหะนำโรคไวรัสของถ่ัวลิสงด้วย (ทักษิณำ,
ม.ป.ป.)

39

ภาพที่ 5.3 ลักษณะกำรเข้ำทำลำยถั่วลสิ งของเพลีย้ ออ่ นถั่ว

ชว่ งเวลาระบาด
ระบำดรุนแรงในสภำพอำกำศแห้งแล้ง หรือฝนตกทิ้งช่วงเป็นเวลำนำนเกิน 15 วัน สำมำรถพบเห็น
ทว่ั ไปตำมแหล่งปลูกถ่วั ลิสง
แมลงศัตรูธรรมชาติ
ด้วงเตำ่ ตวั ห้ำ แมลงช้ำงปีกใส และหนอนแมลงวันดอกไม้
การป้องกันกาจัด
1. กำรใช้กับดกั กำวเหนียวสเี หลอื ง
2. กำรใช้สำรเคมี ถ้ำพบเพล้ียอ่อนระบำดในระยะออกดอกหรือติดฝักอ่อน ให้พ่นด้วยสำรคำร์โบซัล
แฟน (20% EC) อตั รำ 50 มิลลิลิตรตอ่ นำ้ 20 ลติ ร

เพลี้ยจักจนั่ (Leafhopper)
เพล้ียจักจ่ัน (Empoasca sp.) ตัวอ่อนและตัวเต็มวัยอำศัยดูดกินน้ำเลี้ยงจำกใบพืช ระยะไข่ดูจำก

กล้องจุลทรรศน์จะเห็นรูปร่ำงยำวรี สีขำวใส ขนำดล็กกว้ำง 0.25 มิลลิเมตร ยำว 0.35 มิลลิเมตร อำยุไข่ 7-8
วนั ตัวอ่อนมี 5 วัย มีอำยุ 14-21 วัน (ภำพที่ 5.4 ก) ตัวเต็มวัยมีขนำดประมำณ 3-3.2 มิลลิเมตร (ภำพท่ี 5.4
ข) เม่ือเป็นตัวเต็มวัยได้ 3-7 วัน ก็จะผสมพันธุ์ แล้ววำงไขใ่ นเนือ้ เยื่อของใบ บรเิ วณเส้นกลำงใบหรือก้ำนใบ ตัว
เมียหน่ึงตัวไข่ได้ประมำณ 100 ฟอง ตัวเต็มวัยสีเขียวอ่อน ตำสีขำว บินได้ว่องไวมำก (กรมวิชำกำรเกษตร,
2545)

ลกั ษณะการทาลาย
ตวั ออ่ นและตัวเต็มวยั จะดดู นำ้ เลี้ยงบรเิ วณใต้ใบ ทำให้ใบเหลอื ง (hopper burn) ปลำยใบเป็น รปู ตวั วี
(ภำพท่ี 5.4 ค) ถ้ำระบำดรุนแรงมำก ใบจะไหม้เปน็ สีน้ำตำลและรว่ ง ผลผลิตลดลงมำกกว่ำ 50 เปอรเ์ ซ็นต์

40

(ก) (ข) (ค)

ภาพที่ 5.4 ลักษณะของเพล้ียจกั จน่ั ในระยะตวั อ่อน (ก) และตัวเต็มวัย (ข)
และลักษณะกำรเข้ำทำลำยใบถว่ั ลิสง (ค)

ช่วงเวลาระบาด
ระบำดรนุ แรงในสภำพอำกำศแห้งแล้ง หรือฝนทิ้งชว่ งเป็นเวลำนำนเกนิ 15 วัน สำมำรถพบเห็นแมลง
ชนดิ น้ีทัว่ ไปในบรเิ วณทป่ี ลูกถั่วลิสงและมีอยู่ตลอดปี
แมลงศัตรธู รรมชาติ
ดว้ งเตำ่ ตัวห้ำ แมลงชำ้ งปีกใส
การปอ้ งกนั กาจัด
1. กำรควบคุมโดยใช้เช้ือรำบิวเวอเรยี ฉีดพน่ บริเวณทพ่ี บเพลย้ี จกั จน่ั
2. กำรใช้กบั ดกั กำวเหนยี วสีเหลือง
3. กำรใช้สำรเคมี ถ้ำพบเพล้ียจักจั่นทำลำยใบ 40 เปอร์เซ็นต์ ให้พ่นสำรคำร์โบซัลแฟน (20% EC)
อัตรำ 50 มิลลลิ ติ รตอ่ นำ้ 20 ลติ ร

เพล้ยี ไฟ (Thrips)
เพลี้ยไฟท่ีทำลำยถ่ัวลิสงมี 7 ชนิด คือ Thrips tabaci Lindeman, Thrips palmi Karny, Thrips

setosus Moulton, Scirtothrips dorsalis Hood, Frankliniella schultzei (Trybom), Frankliniella
occidentalis (Pergande) และ Frankliniella fusca (Hinds) เพลี้ยไฟเป็นแมลงขนำดเล็ก ตัวเต็มวัยวัดได้
ยำวไม่เกิน 2 มิลลิเมตร สีน้ำตำลหรือน้ำตำลดำ มีปีกคล้ำยขนนก 4 ปีก ตัวอ่อนสีครีม สีเหลืองอ่อนหรือส้ม
(ภำพท่ี 5.5 ก และ ข) ขึ้นกับแต่ละชนิด เคล่ือนไหวว่องไวมำก เวลำถกู ตัวจะกระดกหำงขึ้น และกระโดดหรือ
บินหนไี ปอยำ่ งรวดเรว็ ตัวเต็มวยั เพศเมยี จะไข่ในเนือ้ เย่อื ของพชื เช่นท่ใี บหรือตำดอก

ลักษณะการทาลาย
เพลี้ยไฟใช้ปำกเข่ียและดูดกินน้ำเล้ียงตำมยอดอ่อน ใบ และดอก ทำให้ใบหงิกงอ บิดเบ้ียว มีรอยขีด
ข่วน เพลีย้ ไฟบำงชนดิ ทำลำยใบ มีลักษณะเหมอื นไขติดอยเู่ สน้ กลำงใบและหลังใบ สนี ้ำตำลคล้ำยสนิม (ภำพท่ี
5.5 ค) ถ้ำระบำดรุนแรงจะทำให้ยอดไหม้และตำย เพล้ียไฟบำงชนดิ เป็นพำหะนำโรคท่ีสำคัญ เช่น S. dorsalis

41

เป็นพำหะนำโรคใบจุดเหลือง (Peanut yellow spot virus) และ T. palmi เป็นพำหะนำโรคยอดไหม้ (Bud
necrosis virus) (Reddy et al. 1995) ทำให้ต้นถว่ั ชะงักกำรเจรญิ เติบโต ถำ้ ระบำดรุนแรงทำให้ผลผลติ ลดลง
42-80 เปอรเ์ ซน็ ต์ (ทักษิณำ และคณะ, 2541)

(ก) (ข) (ค)

ภาพที่ 5.5 ลกั ษณะของเพลี้ยไฟ (ก)(ข) และรอ่ งรอยกำรเข้ำทำลำยใบถ่วั ลสิ ง (ค)

ช่วงเวลาระบาด
ระบำดรุนแรงในสภำพอำกำศแห้งแล้งอุณหภูมิสูง หรือฝนท้ิงช่วงเป็นเวลำนำนเกิน 15 วัน สำมำรถ
พบเห็นแมลงชนดิ น้ที ว่ั ไปในบรเิ วณท่ปี ลูกถ่ัวลิสง
แมลงศตั รธู รรมชาติ
ด้วงเต่ำตัวหำ้ แมลงช้ำงปกี ใส หนอนแมลงวนั ดอกไม้ และแมงมมุ
การปอ้ งกันกาจัด
1. กำรใช้กับดกั กำวเหนียวสเี หลอื ง
2. กำรใช้สำรเคมี ถ้ำพบเพล้ียไฟทำลำยใบ 30 เปอรเซ็นต์ ให้พ่นสำรป้องกันกำจัด และฉีดพ่นซ้ำเม่ือ
พบกำรระบำด 1-2 ครัง้ ห่ำงกัน 7 วัน โดยหมุนเวียนกำรใช้สำรดังต่อไปน้ี ไตรอะโซฟอส (40% EC) อัตรำ 40
มิลลลิ ิตรตอ่ นำ้ 20 ลติ ร เมทิโอคำรบ์ (50% WP) อัตรำ 30 กรมั ตอ่ นำ้ 20 ลติ ร

42

เสี้ยนดิน (Subterranean ant)
เส้ียนดิน (Dorylus orientalis Westwood) เป็นมดชนิดหนึ่ง ขนำดเท่ำมดแดง ควำมกว้ำงของส่วน

หวั 1.2-1.6 มลิ ลิเมตร ควำมยำวของสว่ นหัว 1.4-1.9 มิลลิเมตร
ลักษณะการทาลาย
ทำลำยฝักถั่วลิสงโดยกำรเจำะเปลือกถั่วเป็นรูแล้วกัดกินเมล็ดในฝัก หลังจำกน้ันจะนำดินเข้ำไปไว้ใน

ฝักแทนเมล็ดที่ถูกทำลำย (ภำพท่ี 5.6) ควำมเสียหำยท่ีเกิดกับถั่วลิสงรุนแรงแตกต่ำงกันไปในแต่ละทองท่ีและ
สภำพปลกู ตง้ั แต่ 15-91 เปอรเ์ ซน็ ต์ (อำนำจ, 2545)

ภาพที่ 5.6 ลกั ษณะกำรเข้ำทำลำยถ่วั ลิสงของเสยี้ นดนิ

ช่วงเวลาระบาด
ส่วนใหญ่พบกำรเข้ำทำลำยตอนถวั่ ลิสงเรมิ่ ติดฝัก และพบกำรระบำดรุนแรงในถัว่ ลิสงที่ปลูกในป่ำเปิด
ใหม่ ในดินร่วนปนทรำย
การป้องกันกาจดั
1. ไม่ปลูกถั่วลิสงในแหล่งหรือแปลง ท่ีเคยพบกำรระบำดของเสี้ยนดิน หรือปลูกพืชหมุนเวียนพืชที่
ปลกู ทไ่ี มใ่ ชอ่ ำหำรของเสยี้ นดิน เชน่ พรกิ มะเขือ ดำวเรอื ง และข้ำวโพด เป็นตน้
2. ในแหลง่ ที่พบกำรทำลำยของเส้ยี นดิน ควรทำกำรสุ่มสำรวจกำรทำลำย โดยเฉพำะอย่ำงย่ิงระยะถ่ัว
ลสิ งสร้ำงฝักและเมล็ด โดยใช้มะพร้ำวท้ังผลผ่ำซีกคว่ำ ฝังดินลึกจนถึงกะลำมะพร้ำว ใชประมำณ 4 – 8 จุดต่อ
ไร ห่ำงกันประมำณ 20 เมตร จำกน้ันคอยตรวจดูเสี้ยนดิน เป็นระยะทุก 7-14 วัน หำกพบเสี้ยนดินให้นำผล
มะพรำ้ วเผำทำลำย
3. กำรใชส้ ำรเคมี ให้ใช้สำรคำรแ์ ทป (4% G) อตั รำ 4 กโิ ลกรมั ต่อไร่ ใส่ 2 ครง้ั คือโรยพรอ้ มปลูก และ
เม่อื ถั่วลสิ งอำยุ 30-35 วนั โดยใส่ห่ำงจำกโคนตน้ 10 เซนตเิ มตร แลว้ กลบโคน (สภุ รำดำ และคณะ, 2563)

43

เอกสารอา้ งองิ
กรมวิชำกำรเกษตร. 2545. เกษตรดีที่เหมำะสมสำหรับถั่วลิสง. เกษตรดีท่ีเหมำะสมลำดับที่ 14 ISBN 974-

436-113-1. 22 หนำ.
ณรรฐพล วัลลีย์ลักษณ์ และ เพ็ญ สุข เต่ำทอง. 2527. แมลงศัตรูถ่ัวลิสงและกำรป้องกันกำจัด .

มหำวิทยำลยั เกษตรศำสตร์. กรงุ เทพฯ.
ทักษณิ ำ ศันสยะวิชยั . ม.ป.ป. เทคโนโลยีกำรผลติ ถัว่ ลสิ ง. ศนู ยว์ ิจยั พชื ไรข่ อนแกน่ กรมวชิ ำกำรเกษตร
ทักษิณำ ศนั สยะวิชยั , เพียงเพญ็ ศรวัต และ วุฒศิ ักด์ิ บุตรธนู. 2541 กำรป้องกันกำจัดโรคยอดไหมถ้ ั่วลิสง. ใน

รำยงำนสรุปโครงกำรวิจัยกำรป้องกันกำจัดโรคไวรัสยอดไหม้ถ่ัวลิสง. ศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น
สถำบันวิจยั พืชไร่ กรมวิชำกำรเกษตร.
มโนชัย กีรติกสกิ ร และ ปรีชำ สิงหำ. 2529. กำรประเมินควำมเสียหำยของผลผลติ ถั่วลิสงจำก กำรเขำ้ ทำลำย
ของหนอนชอนใบ. รำยงำนกำรสัมมนำเรื่องงำนวิจัยถั่วลิสง คร้ังที่ 4 ณ คณะเกษตรศำสตร์
มหำวิทยำลยั ขอนแกน่ และสถำนฝี กึ และทดลองเขอื่ นจฬุ ำภรณ์ ชัยภมู .ิ 19-21 กุมภำพนั ธ์ 2528.
สำทร สิริสิงห์, เรณู สุวรรณพรสกุล, ศรีสมร พิทักษ์, วรจิต ผำภูมิ และธีระเดช เจริญรักษ์. 2530. กำรศึกษำ
ควำมเสียหำยของผลผลิตถ่ัวลิสงเน่ืองจำกหนอนชอนใบ. รำยงำนกำรสัมมนำเร่ืองงำนวิจัยถั่วลิสง
ครง้ั ที่ 5. ณ คณะเกษตรศำสตร์ มหำวทิ ยำลัยเชียงใหม่ และสถำนีทดลองข่ำวไร่และธัญพืชเมอื งหนำว
สะเมิง เชยี งใหม่. 19-21 มนี ำคม 2529.
สุภรำดำ สุคนธำภิรมย์ ณ พัทลุง, เสำวนิตย์ โพธิ์พูนศักดิ์, ศรีจำนรรจ์ ศรีจันทรำ, และพฤทธิชำติ ปุญวัฒโท.
2563. เอกสำรวิชำกำร คำแนะนำกำรป้องกันแมลง-สัตว์ศัตรูพืช อย่ำงมีประสิทธิภำพและปลอดภัย
จำกงำนวิจัย. กลุ่มบริหำรศัตรูพืช/กลุ่มกีฏและสัตววิทยำ สำนักวิจัยพัฒนำกำรอำรักขำพืช กรม
วิชำกำรเกษตร. 230 หนำ้ .
อำนำจ ชินเชษฐ. 2545. เทคโนโลยีกำรผลิตถั่วลิสง. สำนักวิจัยและพัฒนำกำรเกษตรเขตท่ี 6 จันทบุรี
กรมวิชำกำรเกษตร. 101 หนำ้
Reddy, D. V. R., Buiel, A. A. M., Satyanarayana, T., Dwivedi, S. L., Reddy, A. S., Ratna, A. S.,
Vijaya Lakshmi, K., Rangra Rao, G. V., Naidu, R. A., and Wightman J. A. 1995. Peanut

bud necrosis disease: an overview. In: Buiel, A. A. M, Parlevliet, J. E., and Lenne J. M.
eds, Recent Studies on Peanut Bud Necrosis Disease, 3-7. ICRISAT, Patancheru, India.


Click to View FlipBook Version