The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานวิจัย เรื่อง การผลิตสื่อสุขภาวะเชิงสร้างสรรค์เพื่อสร้างความตระหนักรู้สู่ชมุชน โครงการคิดดีไอดอล สื่อดีมีไอเดีย
โดย อาจารย์ทีปวิท พงศ์ไพบูลย์
โครงการวิจัยนี้ได้รับงบประมาณสนับสนุนการวิจัย จากงบประมาณเงินรายได้ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ประจาปี 2562

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by haris2krabi, 2022-03-17 10:04:00

รายงานวิจัย เรื่อง การผลิตสื่อสุขภาวะเชิงสร้างสรรค์เพื่อสร้างความตระหนักรู้สู่ชมุชน โครงการคิดดีไอดอล สื่อดีมีไอเดีย

รายงานวิจัย เรื่อง การผลิตสื่อสุขภาวะเชิงสร้างสรรค์เพื่อสร้างความตระหนักรู้สู่ชมุชน โครงการคิดดีไอดอล สื่อดีมีไอเดีย
โดย อาจารย์ทีปวิท พงศ์ไพบูลย์
โครงการวิจัยนี้ได้รับงบประมาณสนับสนุนการวิจัย จากงบประมาณเงินรายได้ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ประจาปี 2562

Keywords: คิดดีไอดอล

1

รายงานวิจยั ฉบบั สมบูรณ์
การผลติ ส่ือสุขภาวะเชงิ สรา้ งสรรค์เพอื่ สร้างความตระหนักรูส้ ู่ชมุ ชน

โครงการคดิ ดไี อดอล ส่อื ดมี ีไอเดีย
The Production of Creative Health Media for Raising

Community Awareness : KIDDEEIDOL Project

ทีปวทิ พงศไ์ พบูลย์

โครงการวจิ ัยนไ้ี ดร้ ับงบประมาณสนบั สนุนการวิจัย
จากงบประมาณเงนิ รายได้ คณะมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์

ประจาปี 2562

2

การผลิตสอ่ื สขุ ภาวะเชงิ สร้างสรรค์เพอื่ สรา้ งความตระหนักร้สู ชู่ มุ ชน
โครงการคิดดีไอดอล ส่ือดีมไี อเดีย

The Production of Creative Health Media for Raising
Community Awareness : KIDDEEIDOL Project

ทปี วทิ พงศไ์ พบลู ย์

บทคัดย่อ

การวิจัยครง้ั น้ีเพอื่ ศกึ ษาถึง 1) รูปแบบของโครงการคิดดีไอดอล ส่ือดีมีไอเดีย ซ่ึงเป็นโครงการ
ทถ่ี ูกคดิ ขึ้นเพ่ือใช้เปน็ ช่องทางในการส่อื สารเพ่อื สุขภาวะ (สุขภาพ) แก่เด็กและเยาวชนในพ้ืนท่ีภาคใต้
การวจิ ยั ครง้ั น้ยี งั ศกึ ษาถงึ 2) กระบวนการในการคัดเลือกประเด็นและการกาหนดโจทย์ในการผลิตส่ือ
สุขภาวะเชิงสร้างสรรค์ ตลอดจน 3) ศกึ ษาถึงเนอ้ื หาของส่ือสขุ ภาวะเชิงสรา้ งสรรคท์ ผ่ี ลิตข้ึนจากโครงการ
ทั้งนี้ผู้วิจัยใชร้ ะเบียบวิจัยเชิงคุณภาพ ตลอดการศึกษาโดยวธิ ีศึกษาเอกสารจากเอกสารของโครงการ
การสัมภาษณ์เชิงลึกในส่วนของผู้เกี่ยวข้อง การวิเคราะห์เน้ือหาส่ือที่ผลิต และการร่วมสังเกตการณ์
ในการทากิจกรรมสร้างความตระหนกั รูส้ ่ชู มุ ชน

ผลการวิจัยพบว่า โครงการคิดดีไอดอล สื่อดีมีไอเดีย ภายใต้การสนับสนุนโดยสานักงาน
กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) เป็นโครงการที่เปิดโอกาสให้นักเรียนและนักศึกษา
ในภาคใต้เข้าร่วมคัดเลือกเป็น 15 ทีม เพ่ือทาหนา้ ทเ่ี ปน็ “ผู้ส่งสาร” และรับโอกาสในการผลิตส่ือวีดีทัศน์
“สื่อสุขภาวะเชิงสร้างสรรค์” จาก 4 ประเด็นหลัก ได้แก่ 1) การลดความอ้วนในเด็ก 2) การส่งเสริม
การกินผักและผลไมใ้ นเดก็ 3) การเพิ่มกจิ กรรมทางกาย และ 4) การปกปูองนักสูบหน้าใหม่ ซึ่งพบว่า
ทั้ง 15 ทีมที่ผ่านการคัดเลือกให้เข้าร่วมโครงการเลือกผลิตส่ือออกมาในรูปแบบ “ภาพยนตร์ส้ัน”
ทม่ี ีเนอื้ หาแตกต่างออกไปตามความคิดสรา้ งสรรค์ของแต่ละทีม จากนั้นทางโครงการกาหนดให้นาส่ือ
ไปเผยแพร่ผา่ นช่องทางออนไลน์ของโครงการผ่านเฟซบุ๊ค “KIDDEEIDOL” และกระบวนการสุดท้าย
คอื ท้ัง 15 ทีมทเ่ี ข้ารว่ มโครงการจะทาหน้าทีผ่ สู้ ง่ สารสชู่ ุมชน โดยการนาช้ินงานส่ือวีดีทัศน์ของตนเอง
ออกเผยแพร่ในพื้นที่ปฏิบัติการชุมชน พร้อมกับการออกแบบกิจกรรมเสริมในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อสร้าง
ความตระหนักรใู้ นประเดน็ สขุ ภาวะกบั “กลมุ่ ผู้รบั สารเปาู หมาย” ตามทีไ่ ด้กาหนดไว้

คาสาคัญ : การผลิตสือ่ การส่งเสรมิ สขุ ภาวะ สร้างสรรค์ ความตระหนักรู้ ชุมชน คดิ ดไี อดอล

3

Abstract

This research studies the content of the KIDDEE IDOL Program initiated to be
a channel to promote well - being to children and the youth in southern Thailand.
It also focuses on the procedure of selection of topics and agenda setting for this
creative production. The quality research methodology includes a project document,
in - depth interview, content analysis and observation on the community field and how
the producers raise awareness among the local.

The research revealed that the KIDDEE IDOL project sponsored by the Thai
Health Promotion Foundation engaged fifteen student teams from high school and
university level to promote the well - being of the community. Additionally, they got
opportunities to produce clips in the following areas : 1) Obesity reduction among kids
2) Promotion of eating vegetable and fruits among kids 3) Increase of physical activities
4) Avoidance of being new smokers. Moreover, the fifteen selected teams conveyed
their ideas through “short films” with different contents according to their creativity.
These short films were released online on the Facebook page “KIDDEEIDOL”. Lastly,
all the teams distributed the clips to the designated community, together with designed
activities to raise awareness of well - being in the community.

Keywords : media production, well - being promotion, creativity, awareness, community,
KIDDEE IDOL project

4

กติ ติกรรมประกาศ

งานวิจัยการผลิตสอ่ื สุขภาวะเชิงสรา้ งสรรคเ์ พ่ือสรา้ งความตระหนักรู้สู่ชุมชน โครงการคิดดี
ไอดอล สอ่ื ดีมีไอเดยี สาเรจ็ ลลุ ่วงดว้ ยดี โดยไดร้ ับความร่วมมือจากประธานผู้รับผิดชอบและเจ้าหน้าท่ี
ทกุ สว่ นของศนู ยส์ อื่ สารเดก็ ไทยมสุ ลิม ภายใต้แนวคิดในการสร้างนักส่ือสารสร้างสรรค์ไอเดียสุขภาวะ
ภาคใต้ ซึง่ ก่อให้เกดิ โครงการคิดดีไอดอล สอื่ ดมี ไี อเดียเกดิ ขนึ้ ตามมา และยังได้รับความร่วมมืออย่างดียิ่ง
ในการให้ข้อมูลประกอบการทาวิจัยจากนักเรียนและนิสิตนักศึกษาจากสถาบันการศึกษาทั่วภาคใต้
ทผ่ี า่ นเขา้ รอบและผลิตสอ่ื สรา้ งสรรค์สุขภาวะเพอ่ื สรา้ งความตระหนักรสู้ ูช่ ุมชนจากโครงการฯ น้ี

ผวู้ จิ ยั ขอขอบคุณ คณะมนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ ท่ีได้สนับสนุน
งบประมาณในการวิจัยครั้งนี้ และขอขอบคุณกัลยาณมิตรและผู้มีส่วนเก่ียวข้องในส่วนอื่น ๆ ที่ช่วย
สนบั สนุน และเป็นกาลงั ใจให้ผู้วิจยั ดาเนินการวิจยั จนสาเร็จตรงตามเจตนารมณ์ที่ไดว้ างไว้ทุกประการ

ทปี วิท พงศ์ไพบูลย์
ผ้วู จิ ยั

5

สารบญั

หน้า
บทท่ี 1 บทนา ................................................................................................................................ 1

ความเปน็ มาและความสาคญั ของการวิจัย ......................................................................... 1
ความเปน็ มาของโครงการ “คิดดไี อดอล ส่ือดีมีไอเดยี ” .................................................... 4
วตั ถปุ ระสงค์การวจิ ยั ....................................................................................................... 6
คาถามการวจิ ยั หรอื โจทย์วจิ ยั ........................................................................................... 6
นยิ ามศัพท์เฉพาะ ............................................................................................................ 6
กรอบแนวคิดในการวจิ ยั ................................................................................................... 8
ขอบเขตการวจิ ัย ............................................................................................................... 8
ขอ้ จากัดในการวิจัย ........................................................................................................... 8
ประโยชน์ที่คาดว่าจะไดร้ ับ ................................................................................................ 9
บทที่ 2 แนวคิดและงานวจิ ยั ทเี่ ก่ยี วข้อง ....................................................................................... 10
แนวคิดการสอื่ สารเพอ่ื สขุ ภาพ .......................................................................................... 10
ทฤษฎกี ารกาหนดวาระข่าวสาร (Agenda Setting Theory) ........................................ 13
แนวคิดกระบวนการการผลติ สื่อวีดทิ ัศน์ ........................................................................... 14
หลักการวิเคราะหเ์ น้ือหา (Content Analysis) ............................................................... 14
งานวจิ ยั ท่ีเก่ียวข้อง ........................................................................................................... 15
บทท่ี 3 ระเบยี บวธิ วี ิจัย ................................................................................................................. 20
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ............................................................................................... 20
การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ...................................................................................................... 21
เคร่ืองมือทใ่ี ช้ในการรวบรวมข้อมูล ................................................................................... 22
การตรวจสอบครามเท่ียงตรงและความนา่ เชอ่ื ถอื ของเครอื่ งมือ ........................................ 23
การวเิ คราะหข์ อ้ มูล ........................................................................................................... 23

6

สารบัญ (ต่อ)

หน้า
บทท่ี 4 ผลการวจิ ัย ....................................................................................................................... 25

รูปแบบของโครงการคดิ ดีไอดอล ส่ือดมี ีไอเดีย ปที ี่ 2 ........................................................ 25
การกาหนดประเดน็ โจทยใ์ นการสอ่ื สารสุขภาวะ โครงการคดิ ดไี อดอล ส่ือดีมไี อเดีย
ปที ี่ 2 ..............................................................................................................................… 26
ความคาดหวังของโครงการตอ่ ความสาเร็จในด้านต่าง ๆ .................................................. 26
กระบวนการการคัดเลอื กทมี จากผู้สมคั รทว่ั พนื้ ทภี่ าคใต้เพื่อผา่ นเข้ารอบ 15 ทีมสดุ ท้าย
ในโครงการคิดดไี อดอล สือ่ ดีมไี อเดยี ปีที่ 2 ...................................................................... 28
การคัดเลอื กประเดน็ ที่ตอ้ งการส่ือสารในฐานะผูส้ ่งสาร ..................................................... 36
กระบวนการในการผลติ สื่อสุขภาวะเชิงสร้างสรรค์ โครงการคดิ ดีไอดอล สือ่ ดมี ไี อเดีย ..... 40
ปัญหาหรอื อุปสรรคในการผลติ สื่อสขุ ภาวะเชงิ สรา้ งสรรค์ คิดดไี อดอล สอ่ื ดมี ไี อเดีย ........ 45
วิเคราะหเ์ น้อื หาการผลิตส่อื วีดิทศั น์ (ภาพยนตร์สั้น) ......................................................... 46
การนาสือ่ สุขภาวะเชิงสรา้ งสรรค์ คดิ ดไี อดอล ส่ือดีมีไอเดีย ออกเผยแพร่
สร้างความตระหนกั รู้สูช่ ุมชน ............................................................................................ 55
รปู แบบกจิ กรรมในการสื่อสารสู่ชุมชน .............................................................................. 58
กรณศี ึกษา (Case Study) การนาส่อื สขุ ภาวะเชงิ สร้างสรรค์ คิดดไี อดอล สื่อดีมีไอเดยี
ออกสร้างความตระหนักรสู้ ู่ชมุ ชน ..................................................................................... 65
ความเป็นนักส่ือสารสขุ ภาวะกบั เยาวชนผู้เขา้ รว่ มโครงการ ............................................... 70
บทที่ 5 บทสรุปและขอ้ เสนอแนะ ................................................................................................. 71
สรปุ และอภปิ รายผล ......................................................................................................... 71
ประโยชน์ของงานวจิ ัยและขอ้ เสนอแนะ ........................................................................... 74
บรรณานกุ รม ................................................................................................................................. 75
ภาคผนวก ...................................................................................................................................... 77

7

สารบญั ตาราง

หน้า
ตารางที่ 1 ชว่ งเวลาในการดาเนนิ โครงการคิดดีไอดอล ส่ือดมี ีไอเดยี ปีที่ 2 ................................. 34
ตารางท่ี 2 รปู แบบการผลิตสื่อสุขภาวะเชงิ สร้างสรรค์ คิดดีไอดอล สื่อดีมีไอเดีย

และช่องทางในการสอื่ สารผา่ นส่อื ออนไลน์ ................................................................. 52
ตารางท่ี 3 การนาส่อื สขุ ภาวะเชงิ สร้างสรรค์ คดิ ดีไอดอล ส่ือดมี ไี อเดยี ออกเผยแพร่

สร้างความตระหนักรู้สชู่ ุมชน ....................................................................................... 55
ตารางท่ี 4 รปู แบบการจดั กจิ กรรมและการนาสือ่ สุขภาวะเชงิ สร้างสรรค์ คิดดีไอดอล

สื่อดีมีไอเดยี ออกเผยแพร่สร้างความตระหนักรู้ส่ชู ุมชน .............................................. 59

8

สารบัญแผนภาพ

หน้า
แผนภาพที่ 1 พื้นทปี่ ฏิบัตกิ ารนกั สอ่ื สารสรา้ งสรรค์ไอเดยี สขุ ภาวะภาคใต้ ปี 2561

จากโครงการคิดดไี อดอล สอ่ื ดีมีไอเดยี แยกตามจังหวดั ....................................... 30
แผนภาพที่ 2 พืน้ ที่ปฏบิ ัติการนกั สือ่ สารสรา้ งสรรค์ไอเดียสุขภาวะภาคใต้ ปี 2561

จากโครงการคิดดไี อดอล ส่อื ดมี ีไอเดยี แยกตามจังหวดั และรายช่อื ทมี
ทีผ่ ่านเข้ารอบ 15 ทมี สดุ ท้าย ตามชื่อทมี และสถาบนั การศกึ ษาที่สงั กัด .............. 31
แผนภาพท่ี 3 องค์ประกอบหลกั ของการดาเนินงานในโครงการคดิ ดไี อดอล ส่อื ดมี ีไอเดีย ........... 35
แผนภาพท่ี 4 กระบวนการในการผลติ ส่อื วดี ีทศั น์หรอื ภาพยนตร์สั้น (กระบวนการ 3 P) ............ 44
แผนภาพที่ 5 รปู แบบการผลติ ส่ือสุขภาวะเชงิ สร้างสรรค์ โครงการคดิ ดไี อดอล ส่อื ดมี ไี อเดยี
สรปุ เปน็ โมเดลภาพ .............................................................................................. 64

1

บทที่ 1
บทนา

1.1 ความเป็นมาและความสาคัญของการวจิ ัย

ในสถานการณ์ปัจจบุ นั การเปลย่ี นแปลงของโลกเปน็ ไปอย่างรวดเร็ว และมีความสลับซับซ้อน
มากข้ึน รวมไปถึงการเคลื่อนตัวไหลบ่าทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ประกอบเข้ากับความก้าวหน้า
ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่มีการพัฒนาเป็นอย่างมาก สถานการณ์ที่กล่าวมาส่งผลให้เกิด
การเปล่ยี นแปลงต่อสงั คมไทย และสง่ ผลกระทบตามมาต่อวิถีชีวิตของผู้คนในสังคมอย่างหลีกเล่ียงไม่ได้
โดยเฉพาะปัญหาด้านสขุ ภาพในมิติตา่ ง ๆ ทเ่ี กดิ ขึ้นกับผคู้ นทุกวยั

ภาวะเร่ิมอ้วนและอ้วนในเด็กวัยเรียนยังคงเป็นปัญหาสาธารณสุขระดับประเทศที่จะต้อง
ดาเนินการควบคุมปูองกันและแก้ไขอย่างต่อเน่ือง จากรายงานของสานักนโยบายและยุทธศาสตร์
พ.ศ. 2559 พบวา่ เด็กวยั เรยี นทม่ี ีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วนเพียงร้อยละ 64.2 และมีภาวะเร่ิมอ้วน
และอ้วนร้อยละ 13.1 จากข้อมูลดังกล่าวจะเห็นได้ว่าปัญหาทุพโภชนาการและปัญหาโรคอ้วน
ในเด็กวัยเรียนยังคงเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สาคัญท่ีจะต้องเร่งแก้ไขเน่ืองจากเด็กที่เป็นโรคอ้วน
เม่ือเติบโตเป็นผู้ใหญ่จะมีโอกาสเป็นโรคอ้วน 1 ใน 4 และหากอ้วนจนถึงวัยรุ่นโอกาสเส่ียงสูงถึง 3
ใน 4 ผลเสียจากการเกิดโรคอ้วน นาไปสู่การเกิดโรคไม่ติดต่อเร้ือรัง (กรมอนามัย เอกสารรายงาน
ประจาปี 2560, น. 14)

พฤตกิ รรมหลีกเลีย่ งหรอื ปฏิเสธการรับประทานผกั และผลไม้ในเด็ก จัดเป็นปัญหาสุขภาวะ
ซ่งึ สง่ ผลต่อสุขภาพในวัยเด็กและส่งผลต่อเนื่องไปยังการเข้าสู่ความเป็นเยาวชนและวัยผู้ใหญ่ตามมา
ผักและผลไม้เป็นอาหารท่ีอุดมไปด้วยวิตามินและแร่ธาตุสาคัญที่มีประโยชน์อย่างยิ่งต่อร่างกาย
ตลอดจนมีสารตา้ นอนมุ ูลอสิ ระ ซ่งึ มีส่วนช่วยในการลดความเสี่ยงของการเป็นโรคเร้ือรัง ช่วยลดระดับ
นา้ ตาลในเลือดอันจะนาไปสกู่ ารเป็นโรคเบาหวานหรือโรคหัวใจ ช่วยลดความเส่ียงของการสร้างเซลล์
มะเร็งในรา่ งกาย อันจะนาไปสกู่ ารเป็นโรคมะเร็งชนิดต่าง ๆ เป็นต้น นอกจากนี้การรับประทานผักและ
ผลไมย้ ังสง่ ผลสาคัญตอ่ ระบบขบั ถา่ ย ถา้ ไม่บริโภคผกั และผลไมจ้ ะสง่ ผลให้ขับถ่ายยาก ท้องผูก อุจาระ
แข็ง ทงั้ ยังอาจนาไปสกู่ ารเป็นโรคริดสีดวงทวารได้

2

ในรอบหลายปีท่ผี า่ นมา ปัญหาสุขภาวะท่ีเกิดข้ึนในเด็กและเยาวชนซ่ึงส่งผลกระทบต่อสังคม
อย่างรุนแรงอีกปัญหาหน่ึง ได้แก่ การเกิด “นักสูบหน้าใหม่” หรือผู้สูบบุหร่ีเป็นครั้งแรกในชีวิต
ศูนย์วิจัยและจัดการความรู้เพื่อการควบคุมยาสูบ รายงานว่าจากข้อมูลทางการแพทย์สากลคนที่ติดบุหร่ี
จะเริม่ สบู บหุ รี่เมอ่ื เปน็ วัยรุ่นอายุเฉลี่ย 17 ปี เพราะอยากรู้ อยากลอง ในวยั รนุ่ ทที่ ดลองสูบบุหรี่เพียง
100 มวน หรือเพียง 5 ซอง สารนโิ คตนิ ในบุหร่ีท่มี ีฤทธิ์ตดิ งา่ ยและเลิกยากเทียบเท่าเฮโรอีน ก็จะทาให้
เยาวชนคนนนั้ ติดบุหร่ที ันที ในขณะทพี่ อถึงอายุ 20 ปี 80 % ของคนไทยท่สี บู บุหรี่ได้ติดบุหรไ่ี ปแล้ว
และพอหลงั อายุ 24 ปี จะมคี นติดบุหร่ีน้อยมาก แสดงให้เห็นว่าการเสพติดบุหร่ีเกือบท้ังหมดติดขณะ
เปน็ วัยร่นุ หรือผใู้ หญอ่ ายนุ อ้ ย (ศนู ย์วจิ ยั และจดั การความรเู้ พื่อการควบคุมยาสูบ, 2560) และจากข้อมูล
พฤตกิ รรมการสูบบุหรี่ พบวา่ ทกุ กลุ่มวัยมีอายุในการเรม่ิ สบู บหุ รี่น้อยลง โดยเฉพาะกลุ่มเยาวชน (15-
24 ปี) เร่ิมสูบบุหรี่ เม่ืออายุน้อยลงค่อนข้างมากกว่ากลุ่มอื่น ซ่ึงจากปี 2550 พบว่า เยาวชนจะเริ่ม
สูบบุหรี่เม่ืออายุเกือบ 17 ปี และในปี 2554 กลับลดลงเป็น 16.2 ปี และในปี พ.ศ. 2558 พบว่า
ประชากรไทยอายุ 15 ปีขึ้นไปได้เริ่มบริโภคยาสูบแล้ว ซึ่งจะเห็นได้ว่ากลุ่มเยาวชนนักสูบหน้าใหม่
มจี านวนมากขึน้ (กรมอนามัย เอกสารรายงานประจาปี 2560)

จะเห็นได้ว่า ปัญหาสุขภาวะที่เกิดข้ึนกับเด็กและเยาวชนนั้นมีปัจจัยและที่มาของปัญหา
หลากหลายประเด็น ซึ่งส่งผลต่อสุขภาพของเด็กและเยาวชนในมิติที่อาจเหมือนหรือแตกต่างกัน
ออกไปในแตล่ ะบคุ ล แต่ละเพศ แตล่ ะวัย ตลอดจนแต่ละบรบิ ทของส่งิ แวดลอ้ มและสงั คม

นอกจากนี้จากข้อมูลการนาเสนอปัญหาในพ้ืนที่ภาคใต้ที่เกี่ยวข้องกับสื่อและสุขภาพของ
เครือข่ายด้านเด็กและเยาวชน ในห้องย่อยเวทีพูดคุยเสวนาประเด็นสุขภาวะเด็กเยาวชนและ
ครอบครัวงานสร้างสุขภาคใต้ ประจาปี 2561 “สานคน สร้างงาน สร้างสุข สานพลังที่ก้าวข้าม
ขีดจากดั สูส่ ุขภาวะ ท่ียั่งยืน” เมื่อวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2561 ณ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
วิทยาเขตหาดใหญ่โดยมีภาคีเครือข่ายด้านสุขภาพในพ้ืนที่ภาคใต้เข้าร่วมจัดงานการประชุมคร้ังน้ี
ได้มีการนาเสนอสถานการณ์ทางสังคมที่ส่งผลต่อเด็กเยาวชนและครอบครัวในภาคใต้ และปัญหาท่ี
เกิดขึ้นโดยเฉพาะประเด็นของสื่อที่เข้ามามีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในยุคหลอมรวมท่ีมี
ความซับซอ้ นเพ่มิ ข้ึนซ่ึงพบว่าเดก็ ในวัยนีม้ กี ารส่ือสารผ่านโซเชยี ลมีเดยี เป็นหลัก และเป็นช่วงวัยของการ
เติบโตซ่ึงมาพร้อมกับเทคโนโลยีมีการเสพและใช้สื่อออนไลน์มากขึ้น มีพฤติกรรมที่ไวต่อการ
เปลี่ยนแปลง โดยเฉพาะพฤติกรรมเส่ียงท่ีเกิดข้ึนอันสามารถส่งผลต่อปัญหาด้านสุขภาพตามมาใน
อนาคต

3

ความจาเป็นต่อการสร้างระบบนิเวศสื่อสุขภาวะเพื่อให้เกิดการรู้เท่ารู้ทันท่ามกลาง
การเปล่ียนแปลงของสังคมอย่างรวดเร็ว ซึ่งมีความสาคัญต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตเป็นอย่างมาก
ประกอบกับสภาวการณ์ของสังคมท่ีเปลี่ยนไป การปรับเปล่ียนจากวิถีชีวิตแบบเดิมจึงเกิดขึ้น
ไม่เว้นแม้กระทง่ั เด็กและเยาวชนในชุมชนชนบทซ่ึงจาเป็นต้องเรียนรู้ เกิดทักษะชีวิตและมีภูมิคุ้มกัน
ทางสังคมท่ีดี การเปลี่ยนแปลงทางสังคมท่ีซับซ้อน เต็มไปด้วยสิ่งเร้า ส่งผลให้เกิดพฤติกรรมเส่ียง
ต่อสุขภาวะ โดยเฉพาะปัญหาด้านสุขภาพจิตของเด็กและเยาวชน และจากพฤติกรรมการใช้สื่อ
เป็นเวลานานของเด็ก ส่งผลกระทบด้านอื่น ๆ ตามมา เช่น การบริโภคอาหารขยะ หรือ Junk Food
นา้ อดั ลม ขนมขบเคี้ยว รวมไปถึงของทอด อาหารท่ีไร้ประโยชน์ โดยเฉพาะในกลุ่มเด็กเล็ก เด็กปฐมวัย
จนทาใหเ้ กิดภาวะอว้ นลงพงุ ในเด็กเพิ่มมากข้ึน ทั้งยังส่งผลต่อพฤติกรรมเส่ียงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อ
เร้ือรงั ทัง้ ในกลุ่มเดก็ วยั เรียน เดก็ โตท่ีขาดการออกกาลังกาย การติดเกมออนไลน์ ติดโทรศัพท์มือถือ
ยงั สง่ ผลให้เกิดพฤตกิ รรมเนอื ยน่งิ ในการเคล่ือนไหวรา่ งกาย มีการน่ังหน้าจอนาน ๆ ไม่เกิดการขยับร่างกาย
การใช้และเผาพลาญพลงั งานกล้ามเนอื้ มนี อ้ ยมาก พฤติกรรมเนือยน่ิง Sedentary Behavior ยังสุ่มเส่ียง
ตอ่ การเกิดภาวะโรคอว้ น ส่งผลต่อพฤตกิ รรมการเขา้ สังคมและอาจสง่ ผลใหผ้ ลการเรยี นตกต่าตามมา

ความจาเปน็ ท่ีจะตอ้ งใชก้ ระบวนการสอ่ื สรา้ งสรรคเ์ พอ่ื สุขภาวะ เพือ่ สร้างพลเมืองเด็กเยาวชน
คนรุ่นใหม่ที่มีจิตสานกึ รเู้ ทา่ ทนั สอ่ื ร้เู ท่าทันสขุ ภาวะ ดว้ ยการสรา้ งพืน้ ที่กลางหรือวาระร่วมในการขับเคลื่อน
ไปพร้อม ๆ กัน ในขบวนประเด็นเดก็ เยาวชน และครอบครัวภาคใต้ สู่การแก้ไขปัญหา จากสถานการณ์
ของเด็กเยาวชนภาคใต้ที่เกิดข้ึน เพ่ือร่วมขับเคล่ือนให้เกิดความหวังจากคนรุ่นใหม่ที่ใช้พลังของสื่อ
ให้เกิดเป็นนักสือ่ สารสรา้ งสรรค์สขุ ภาวะ สูก่ ารดาเนนิ โครงการเพ่ือแก้ไขปัญหาเพื่อเกิดการเปลี่ยนแปลง
ขนั้ พืน้ ฐานในตวั บคุ คล จากภายในด้วยทักษะ ความรู้ การสร้างสรรค์ไอเดีย สู่การสร้างส่ือ สร้างพ้ืนท่ี
ภายใต้ความร่วมมือจากชุมชนจนเกิดเป็นเครือข่ายนักสื่อสารคนรุ่นใหม่ และสามารถสร้างพลัง
จากการสือ่ สารใหเ้ กิดเป็นเรื่องนโยบายของชุมชนท่ีร่วมกันแก้ไขปัญญา และยังสามารถสร้างนักส่ือสาร
ให้เกดิ เป็นไอดอล แบบอยา่ งทด่ี เี พื่อสร้างแรงบันดาลใจให้กับนักส่ือสารสร้างสรรค์สุขภาวะ จึงเป็นที่มา
ของโครงการคิดดีไอดอล สื่อดีมีไอเดีย ซึ่งดาเนินการโดยศูนย์สื่อสารเด็กไทย ภายใต้การสนับสนุน
ของสานกั งานกองทุนสนบั สนนุ การสรา้ งเสรมิ สุขภาพ (สสส.)

ท้ังน้ีการสร้างสรรค์และผลิตสื่อเพื่อสุขภาวะ สามารถกระทาได้หลากหลายรูปแบบ
ขึ้นกับประเด็นหรือเรื่องราวสุขภาวะท่ีต้องการจะส่ือสาร วัตถุประสงค์ในการส่ือสาร กลุ่มเปูาหมาย
ทต่ี อ้ งการส่อื สาร หรอื แมแ้ ต่ปจั จัยควบคุมในดา้ นตา่ ง ๆ เชน่ ความสามารถและศักยภาพของผู้ผลิตสื่อ

4

เงนิ ทนุ ระยะเวลาในการดาเนินงานผลิต ระยะเวลาในการเผยแพร่ส่ือ เป็นต้น ซึ่งโดยท่ัวไปแล้วมกั มี
การผลิตสื่อเพ่ือสุขภาวะในรูปแบบของสื่อแตกต่างกันออกไป ได้แก่ สื่อส่ิงพิมพ์ ส่ือเสียง สื่อภาพ
ส่ือภาพเคล่ือนไหว ส่ือวีดิทัศน์ ส่ือภาพยนตร์ ส่ือออนไลน์ ส่ือสมัยใหม่ (New Media) ส่ือผสม และ
ในบางกรณีอาจบูรณาการหรอื นาส่ือจากหลากหลายรปู แบบมาใชร้ ว่ มกนั

1.2 ความเปน็ มาของโครงการ “คดิ ดีไอดอล ส่อื ดมี ีไอเดีย”

ศนู ยส์ อ่ื สารเดก็ ไทยมุสลิม (องค์กรสาธารณประโยชน์ เลขที่ 4314) อาเภอเมือง จังหวัดกระบี่
ซ่งึ เป็นองคก์ รที่ดาเนินงานในการขบั เคลือ่ นกระบวนการส่ือสร้างสรรค์ในกลุ่มเด็ก เยาวชน และครอบครัว
ศูนย์ฯ เกิดความตระหนักในพลังของเยาวชนและต้องการเห็นเด็กและเยาวชนในพ้ืนที่ภาคใต้
ได้มีศกั ยภาพในการสรา้ งสอ่ื เชิงสร้างสรรค์ใหเ้ กดิ ประโยชน์ต่อสังคม ท้ังยังเป็นการเพิ่มพ้ืนที่ในการสร้าง
ประสบการณ์ สร้างโอกาสให้กับเด็กได้เติบโตและมีการพัฒนาไปตามวัย ตลอดจนยังมุ่งตอบสนอง
ความต้องการของเดก็ ครอบครวั ชุมชน โดยผ่านการพัฒนาศักยภาพทักษะและเกิดการพัฒนาประเด็น
จากแนวคิด “เปล่ียนสังคม ด้วยพลังส่ือคนรุ่นใหม่” ซ่ึงแนวคิดน้ีต้องการให้คนรุ่นใหม่ได้มองเห็น
ถึงสภาพปัญญาในชุมชนตนเอง และเกิดแรงบันดาลใจในการแก้ไขปัญหาสุขภาวะของชุมชน
โดยการสรา้ งสรรค์ผา่ นสอ่ื เป็นการสร้างภูมคิ ุ้มกันให้ตนเองและสรา้ งภูมิคุ้มกันสู่ชมุ ชน โดยดาเนินการ
ผ่านกระบวนการเรียนรู้ ริเร่ิม ร่วมทา แบ่งปัน การสร้างฝัน เพ่ือให้เกิดเป็นนักส่ือสารสร้างสรรค์
สุขภาวะในพ้ืนทีภ่ าคใต้ ผลที่เกดิ ขนึ้ จากแนวคิดนยี้ งั สามารถสร้างเครือข่ายนักวิชาการในสาขานิเทศศาสตร์
จากสถาบันการศึกษาทว่ั พื้นทภี่ าคใต้ ในการร่วมเข้ามาเป็นคณะทางาน เป็นพ่ีเลี้ยงในการร่วมออกแบบ
กิจกรรมสพู่ ื้นทีเ่ ปูาหมาย (สัมภาษณค์ ณุ ฮารสิ มาศชาย ประธานศูนยส์ ื่อสารเดก็ ไทยมสุ ลมิ )

จากแนวคิดดังกล่าว ศูนย์ส่ือสารเด็กไทยมุสลิมจึงได้พัฒนาโครงการ “คิดดีไอดอล สื่อดี
มีไอเดีย” เพื่อต้องการเห็นพลังจากคนรุ่นใหม่ ซ่ึงสามารถใช้พลังส่ือเพ่ือการเปลี่ยนแปลสังคม
ผ่านประเดน็ สุขภาวะ โดยเริ่มต้นจากเร่ืองง่าย ๆ วิธีการง่าย ๆ ของคนรุ่นใหม่ แต่สามารถสร้างพลัง
การเปลี่ยนแปลงจาก “สื่อ” และ “ผลงานของกิจกรรม” ท่ีเกิดข้ึนจากแกนนาของคนรุ่นใหม่
สู่การสรา้ งสรรค์ให้เห็นถงึ การเปลี่ยนแปลง โดยการเร่ิมจากตัวเองไปสู่เพื่อนสมาชิกในทมี และรว่ มกนั
ทางานผ่านเครือ่ งมอื การผลติ สอ่ื ไปพร้อมกบั การเรียนรู้ “ประเดน็ ” ที่ตนเองและทีมสนใจ จนสามารถ
มผี ลงานพรอ้ มขยายผลไปยงั กลุม่ เปูาหมายทีเ่ หมาะสมกับส่ือที่ถูกผลิตขึ้น และยังสามารถสร้างให้เกิด

5

แรงบันดาลใจจากผลงานท่ีผลิตในขณะเดียวกนั กับการส่ือสารผ่านไปยังช่องทางออนไลน์ เพ่ือสร้างพื้นท่ี
ปลอดภยั และพื้นที่สร้างสรรค์ (เอกสารประกอบโครงการคดิ ดีไอดอล ส่ือดีมีไอเดีย น. 6)

โครงการคิดดีไอดอล สื่อดีมีไอเดีย มีวัตถุประสงค์เพ่ือพัฒนาและส่งเสริมให้คนรุ่นใหม่
เกิดความตระหนักในคุณค่าของตนเอง และนามาซึ่งแรงบันดาลใจต่อการเกิดจิตสานึกสาธารณะ
และการเข้าไปมีส่วนร่วมกับชุมชน โดยเน้นให้เยาวชนระดับมัธยมศึกษาและอุดมศึกษาในภาคใต้
เกิดกระบวนการเรียนรู้และพัฒนาศักยภาพของตนเองผ่ านกระบวนการสร้างสรรค์เพื่อสุขภาว ะ
และสามารถเป็น “นักสื่อสารสร้างสรรค์สุขภาวะ” (Creative Communication for Health)
ซ่ึงโครงการนี้จะค้นหาคนรุ่นใหม่ ซ่ึงกาลังศึกษาอยู่ในระดับมัธยมศึกษาและอุดมศึกษาจากสถาบัน
การศึกษาทวั่ ภาคใต้ทมี่ คี วามสามารถทางการส่ือสารเชิงประเด็นด้านการออกแบบส่ือในรูปของวีดิทัศน์
และนาเสนอสารผา่ นกจิ กรรมรปู แบบตา่ ง ๆ ในพื้นทีป่ ฏิบัตกิ ารชุมชน

โครงการคิดดีไอดอล ส่ือดีมีไอเดีย ได้ดาเนินโครงการเป็นปีแรกในปี พ.ศ. 2560 ภายใต้
การสนับสนุนการดาเนินงานจากสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ หรือ สสส
โดยกาหนดโจทย์ใหม้ ีการผลิตส่ือสุขภาวะสร้างสรรค์ขึ้นใน 3 ประเด็น คือ การรู้เท่าทันสื่อ คุณแม่วัยใส
และปัจจัยเสี่ยง โดยโครงการปีแรกนั้นกาหนดให้มีการผลิตสื่อออกมาในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง
จาก 3 รปู แบบ ไดแ้ ก่ สือ่ สารคดี หรอื สอ่ื ภาพยนตรส์ ้ัน หรือส่ือโฆษณาสั้น ส่วนในปี 2561 ได้จัดโครงการ
เปน็ ปีที่ 2 มีการกาหนดโจทย์ให้มีการผลิตส่ือสุขภาวะเชิงสร้างสรรค์ข้ึน ใน 4 ประเด็น คือ ประเด็นกินผัก
ประเด็นลดอ้วน ประเด็นไม่สูบไม่ดม่ื ประเด็นขยับออกกาลังกาย เพื่อให้เยาวชนในภาคใต้ส่งผลงาน
เขา้ รว่ มโครงการ กอ่ นทาการคัดเลือกใหเ้ หลอื 15 ทมี และไดร้ ับทนุ สนบั สนุนจากโครงการให้ทาการผลิตสื่อ
(ภาพยนตร์สนั้ ) สขุ ภาวะเชงิ สรา้ งสรรค์อย่างสมบูรณเ์ พอื่ สร้างความตระหนักร้สู ชู่ ุมชนต่อไป

จากเหตุผลขา้ งตน้ ทาให้ผู้วิจัยสนใจที่จะศึกษาถึงความเป็นมา การเกิดข้ึนและพัฒนาการ
ของโครงการคิดดีไอดอล ส่ือดีมีไอเดีย ตั้งแต่การเร่ิมดาเนินโครงการจากปีแรกมาจนถึงปีปัจจุบัน
ซึ่งเป็นการดาเนินโครงการนี้เป็นปีท่ีสอง และสนใจศึกษาถึงกระบวนการในการคัดสรรและกาหนด
ประเด็นปัญหาทางสุขภาพซึ่งจะถูกนามาเป็นโจทย์ ให้มีการผลิตสื่อสุขภาวะเชิง สร้าง สร ร ค์ขึ้น ม า
ตลอดจนสนใจท่ีจะทาการวิเคราะห์ถึงเน้ือหาของสื่อสุขภาวะเชิงสร้างสรรค์ท่ีถูกผลิตข้ึน ท้ังน้ีเพื่อนา
ผลการวิจัยไปใช้เป็นแนวทางต้นแบบในการผลิตส่ือสุขภาวะเชิงสร้างสรรค์เพื่อขยายผลสู่พื้นที่
ปฏิบัติการชุมชน ตลอดจนนาผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาการสื่อสารเพื่อสุขภาวะ
และนาไปแก้ไขปัญหาสุขภาวะด้านต่าง ๆ ในโอกาสต่อไป

6

1.3 วัตถุประสงค์การวจิ ัย

1.3.1 เพ่ือศึกษาถึงรูปแบบของโครงการคดิ ดีไอดอล ส่ือดมี ไี อเดยี ซง่ึ เป็นโครงการที่ถูกคิดข้ึน
เพือ่ ใช้เป็นชอ่ งทางในการสื่อสารเพ่ือสุขภาวะซ่ึงการส่ือสารเพ่ือสุขภาวะนี้จัดเป็นแขนงหนึ่งของการศึกษา
ด้านนเิ ทศศาสตร์ในเชิงประยกุ ต์

1.3.2 เพอ่ื วิเคราะห์ถงึ กระบวนการในการคัดเลือกประเด็น และกาหนดโจทย์ในการผลิตสื่อ
สขุ ภาวะเชงิ สรา้ งสรรค์จากโครงการคิดดไี อดอล ส่ือดีมีไอเดีย

1.3.3 เพื่อวิเคราะห์ถึงเน้อื หาของสือ่ สุขภาวะเชงิ สร้างสรรค์ท่ีถกู ผลิตข้นึ จากโครงการคิดดี
ไอดอล ส่ือดีมีไอเดีย เพ่ือเป็นประโยชน์ต่อการผลิตส่ือเชิงสร้างสรรค์เพ่ือสุขภาวะในประเด็นปัญหา
ทางสขุ ภาพดา้ นอื่น ๆ ทจ่ี ะเกิดขึน้ ตามมาในอนาคต

1.4 คาถามการวจิ ยั หรือโจทยว์ ิจัย

1.4.1 โครงการคดิ ดีไอดอล ส่ือดีมีไอเดยี มีวัตถุประสงค์ในการจัดโครงการขึ้นมาเพ่ืออะไร
และมีรูปแบบการดาเนินโครงการเป็นเช่นไร

1.4.2 กระบวนการในการคัดเลือกประเด็นและการกาหนดโจทย์ในการผลิตสื่อสุขภาวะ
เชงิ สร้างสรรคเ์ ป็นเช่นไร

1.4.3 การผลติ สอื่ สุขภาวะเชิงสร้างสรรค์ในโครงการคิดดไี อดอล สื่อดีมีไอเดีย มีกระบวนการ
และขั้นตอนตา่ ง ๆ ในการผลิตสอื่ เป็นเช่นไร

1.4.4 รูปแบบและลักษณะของเนื้อหาในการผลิตส่ือสุขภาวะเชิงสร้างสรรค์ในโครงการ
คิดดไี อดอล ส่อื ดีมไี อเดยี เปน็ เชน่ ไร

1.5 คาศัพทเ์ ฉพาะ

เพ่ือใหเ้ กิดความข้าใจตรงกันผวู้ ิจัยใครอ่ ธบิ ายถงึ คาศพั ทเ์ ฉพาะที่ใชใ้ นการวิจยั ครั้งนี้ ดังน้ี

7

คดิ ดีไอดอล สือ่ ดมี ีไอเดีย หมายถึง โครงการท่ีจัดขึ้นเพ่ือคัดเลือกประเด็นสุขภาวะที่ส่งผล
ต่อเด็กและเยาวชนในภาคใต้ และสรรหานักเรียนหรือนักศึกษาจากสถาบันการศึกษาในภาคใต้
เพื่อคัดเลือกเข้าร่วมโครงการการผลิตสื่อสุขภาวะเชิงสร้างสรรค์ และนาส่ือท่ีผลิตขึ้นนั้นไปเผยแพร่
ผ่านช่องทางออนไลน์ และนาสื่อน้ันไปเผยแพร่พร้อมการออกจัดกิจกรรมการสร้างความตระหนักรู้
สชู่ ุมชนกลุม่ เปูาหมาย

การผลิตสื่อ หมายถึง กระบวนการในการสร้างสรรค์ผลงานวีดีทัศน์ ในลักษณะของ
ภาพยนตรส์ ้ัน ซ่ึงประกอบไปดว้ ย ขั้นตอนหลัก 3 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นเตรียมการผลิต ข้ันผลิตส่ือ และ
ขนั้ หลังการผลิต

สุขภาวะ หมายถงึ การดารงชพี ของบุคคลอย่างมีสุขทั้งร่างกาย และจิตใจ ตลอดจนสภาพ
ของการดารงชวี ิตอยู่ในสงั คมอย่างมีความสุข

การสร้างสรรค์ หมายถึง การใช้ความคิดความสามารถของบุคคลในการคิดสร้างสรรค์
ช้ินงานสื่อ พร้อมท้ังจัดทาหรือสร้างชิ้นงานส่ือขึ้นมาจนสาเร็จสมบูรณ์อย่างมีคุณภาพและตรงตาม
วตั ถุประสงค์ในการส่ือสารตามที่ได้กาหนดไว้

ความตระหนักรู้ หมายถึง ความรู้สึกนึกคิดหรือการกระทาท่ีเกิดจากความสานึกในเรื่อง
หรือเหตุการณ์น้ัน ๆ ซ่ึงในงานวิจัยชิ้นน้ี หมายถึง การที่กลุ่มบุคคล เปูาหมายได้รับรู้ข้อมูลข่าวสาร
จากประเด็นสขุ ภาวะทม่ี กี ารส่อื สารผา่ นโครงการคดิ ดีไอดอล สอ่ื ดีมไี อเดยี และกอ่ ให้เกิดความรู้สึกนึกคิด
ความสานึกในประเด็นสขุ ภาวะน้นั ๆ

ชุมชน หมายถึง กลุ่มบุคคล ซ่ึงอยู่ในพ้ืนที่เปูาหมายทีถ่ ูกคดั เลือกข้ึนมาเพ่ือนาสื่อสุขภาวะ
เชิงสร้างสรรค์ไปเผยแพร่พรอ้ มกจิ กรรมที่ถกู กาหนดข้ึน เพอ่ื สรา้ งความตระหนักรู้ในประเด็นสุขภาวะ
ต่าง ๆ

8

1.6 กรอบแนวคิดในการวจิ ยั

ประเดน็ การสอื่ สารสุขภาวะ การผลิตสื่อ - การเผยแพร่ส่ือ
- การลดความอ้วนในเดก็ สุขภาวะ ภาพยนตรส์ นั้
- การส่งเสรมิ การกนิ ผกั เชงิ สรา้ งสรรค์ ผ่านช่องทาง
และผลไม้ในเด็ก ในรูปแบบ การส่ือสารออนไลน์
- การเพม่ิ กจิ กรรมทางกาย ภาพยนตร์สนั้
- การปกปอู งนักสูบหนา้ ใหม่ - การเผยแพรส่ ่อื
ภาพยนตรส์ ้ัน
สกู่ ลมุ่ เปูาหมาย
ในพืน้ ท่ีโดยตรง

1.7 ขอบเขตการวจิ ัย

ผวู้ จิ ัยได้กาหนดพืน้ ท่ีในการศกึ ษาและระยะเวลาในการศึกษา ดังนี้
พืน้ ที่ทศ่ี กึ ษา ผวู้ ิจยั กาหนดตามลกั ษณะพื้นทีท่ ี่ตง้ั ทางภูมิศาสตร์ของทีมที่ผ่านการคัดเลือก
เขา้ ส่รู อบ 15 ทมี สดุ ทา้ ย ในการผลิตสื่อจากทางโครงการฯ ได้แก่ จังหวัดสงขลา จังหวัดสตูล จังหวัดยะลา
จังหวดั ปตั ตานี จงั หวัดนครศรีธรรมราช จงั หวดั สุราษฎร์ธานี จังหวัดกระบี่ และจงั หวัดภเู กต็
ระยะเวลาการศึกษา เร่ิมทาการศึกษาตั้งแต่ข้ันตอนการเตรียมความพร้อมของโครงการ
ช่วงดาเนนิ โครงการ จวบจนถึงการปดิ โครงการและสรุปโครงการ ระหว่างวันท่ี 15 กุมภาพันธ์ ถึง 20
ธนั วาคม 2561

1.8 ข้อจากัดในการวจิ ัย

การศึกษาวิจัยในครั้งน้ีมุ่งศึกษากระบวนการในการจัดโครงการคิดดีไอดอล สื่อดีมีไอเดีย
และศกึ ษาถึงกระบวนการและการไดม้ าของการผลติ สือ่ สุขภาวะเชิงสร้างสรรค์เพ่ือสร้างความตระหนักรู้
สชู่ ุมชนในรปู แบบของภาพยนตรส์ ัน้ โดยมองการศึกษาวิจัยทั้งหมดผ่านการศึกษาถึง “ผู้ส่งสาร” เป็นหลัก
แต่ไม่ไดศ้ ึกษาไปถึงผลท่ีเกิดขึ้นในตวั ผู้รับสาร เช่น การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม หรือผลสัมฤทธ์ิของการส่ือสาร

9

ท่ีเกิดต่อตัวผู้รบั สาร หลังจากได้รับชมสื่อสุขภาวะและเข้าร่วมกิจกรรมสร้างความตระหนักรู้สู่ชุมชน
ท้งั นมี้ ีผลมาจากข้อจากดั ในดา้ นงบประมาณในการศึกษาระยะเวลาในการศึกษาขอบเขตพื้นที่ในการศึกษา
เป็นต้น

1.9 ประโยชนท์ ค่ี าดวา่ จะไดร้ บั

1.9.1 เพอ่ื ทราบถึงถึงรูปแบบของโครงการคดิ ดไี อดอล สื่อดีมีไอเดีย ว่ามีลักษณะเปน็ เช่นไร
1.9.2 เพื่อทราบถึงกระบวนการในการผลิตส่ือสุขภาวะเชิงสร้างสรรค์ว่าประกอบไปด้วย
กระบวนการอยา่ งไรบ้าง
1.9.3 เพ่ือทราบถึงเน้ือหาของส่ือสุขภาวะเชิงสร้างสรรค์จากโครงการฯ น้ีว่ามีเน้ือหา
เป็นเช่นไร
1.9.4 เพ่ือทราบถึงปัญหาหรืออุปสรรคในการดาเนินงานผลิตสื่อสุขภาวะเชิงสร้างสรรค์
จากโครงการน้ีฯ เพอ่ื นามาสู่การแก้ไขปัญหาในการดาเนินงานในคร้ังตอ่ ๆ ไป
1.9.5 เพ่ือประโยชน์ต่อการเป็นแนวทางในการจัดโครงการคิดดีไอดอล สื่อดีมีไอเดีย
ในปตี ่อ ๆ ไป
1.9.6 เพอื่ ประโยชนต์ อ่ การเปน็ แนวทางในการผลิตสื่อสุขภาวะเชงิ สร้างสรรคข์ องนกั เรียน
และนสิ ิตนกั ศกึ ษาท่จี ะเข้าร่วมโครงการคิดดีไอดอล ส่อื ดมี ไี อเดยี ในปตี ่อไป
1.9.7 เพื่อประโยชนใ์ นการนาโครงการน้ไี ปเปน็ ตน้ แบบในการผลิตสอ่ื สขุ ภาวะเชงิ สร้างสรรค์
และขยายผลสพู่ น้ื ทป่ี ฏิบัติการชุมชนในภูมิภาคสว่ นอื่น ๆ ต่อไป
1.9.8 เพื่อเปน็ แนวทางในการพัฒนาการสือ่ สารเพื่อสุขภาวะและนาไปปรบั ใช้กับการสื่อสาร
เพื่อการแก้ไขปญั หาสขุ ภาวะในประเด็นตา่ ง ๆ ในโอกาสตอ่ ไป

10

บทที่ 2
แนวคิดและงานวจิ ัยท่ีเกยี่ วข้อง

2.1 แนวคดิ การส่ือสารเพื่อสุขภาพ

แนวคิดเก่ียวกับการส่ือสารเพ่ือสุขภาพ (Communication for Health) เป็นแนวคิด
ที่ผสานเข้ากันระหว่าง “การสื่อสาร” กับ “สุขภาพ” และมีการเปล่ียนกลยุทธ์ด้านสุขภาพอนามัย
จากในอดีตวา่ “ไมส่ บายไปหาหมอ” “ซ่อมนาสร้าง” “มาเป็นสุขภาพดีไม่มีขายอยากได้ต้องลงมือเอง”
“สร้างนาซ่อม” (กาญจนา แก้วเทพ และเธียรชัย อิศรเดช, 2549, น. 3) ซึ่งเป็นแนวทางการส่ือสาร
ที่ส่งเสริมให้ผู้รับสารที่เป็นประชาชนท่ัวไป ได้หันมาตระหนักให้ความสาคัญ เกิดความรู้ความเข้าใจ
และใส่ใจในการดูแลสขุ ภาพของตนเองไม่ใหเ้ กิดโรคหรือมปี ญั หาทางสุขภาพมากกว่าการต้องไปพ่ึงพิงแพทย์
เมื่อเกิดการเจ็บปุวยขึน้ มา

องคก์ ารอนามยั โลก (WHO) ได้ให้ความหมายเรื่อง การส่ือสารสุขภาพ (Health Communication)
ว่าเปน็ การใช้กลยทุ ธห์ ลกั ๆ ในการบอกกล่าวหรือแจ้ง (Inform) ให้สาธารณชนทราบเก่ียวกับเรื่องสุขภาพ
ดว้ ยการส่อื สารมวลชน (Mass Communication) และการสื่อสารอ่ืน ๆ รวมทง้ั นวตั กรรมดา้ นเทคโนโลยี
สารสนเทศตา่ ง ๆ โดยม่งุ เผยแพรเ่ น้ือหาขอ้ มูลด้านสุขภาพท่ีเป็นประโยชน์ต่อสาธารณชน เพื่อให้เกิด
ความตระหนกั ในประเด็นดังกล่าว ทงั้ ในระดับปจั เจกบุคคลและในระดับสังคม อีกท้ังยังรวมถึงการให้
ความสาคัญเก่ียวกับการพัฒนาสุขภาพ (Health Development) ด้วย (องค์การอนามัยโลก, อ้างถึงใน
กมลรฐั อนิ ทรทศั น์, 2547, น. 4)

การสื่อสารเพื่อสุขภาพจะประกอบด้วยการบูรณาการความรู้จากหลากหลายความรู้เข้าด้วยกัน
เชน่ การสือ่ สารระหว่างบุคคล (Interpersonal Communication) การสื่อสารในองค์กร (Organization
Communication) การส่ือสารในระดับชุมชน (Community Communication) การสื่อสารเพ่ือสังคม
(Social Communication) การชี้นาด้านสื่อ (Media Advocacy) หรือแม้แต่การนา สาระบันเทิง
(Edutainment) เขา้ มาช่วยในการส่ือสาร ฯลฯ ทง้ั นป้ี ระเด็นเน้ือหาด้านสุขภาพต่าง ๆ จะถูกนามาเสนอ
ผ่านช่องทาง (Chanel) หรือผ่านสื่อ (Media) ท่ีมีความหลากหลาย เพื่อวัตถุประสงค์ในการเพิ่ม
การเขา้ ถึงขอ้ มลู ขา่ วสารดา้ นสขุ ภาพแก่กลุม่ เปูาหมายอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ (Efficiency) และประสิทธิผล
(Effectiveness) มากยง่ิ ขึ้น

11

รทั เซน และคณะ (Ratzan and Other, 2004, p. 8) กล่าวว่า การส่ือสารเพื่อสุขภาพ คือ
การใช้เทคนิคและศิลปะในการบอกกล่าวหรือแจ้งให้ทราบ (Inform) รวมท้ังการสร้างอิทธิพล (Influence)
และแรงจงู ใจ (Motivate) แก่กลมุ่ เปาู หมาย ท้งั ในระดับปัจเจกบุคคล ระดับองค์กร และระดับสาธารณชน
เกีย่ วกบั ประเด็นสุขภาพ ส่วนขอบเขตของการส่อื สารเพื่อสุขภาพนั้นจะรวมถึงการปูองกันโรค (Disease
Prevention) การสร้างเสริมสุขภาพ (Health Promotion) นโยบายและธุรกิจด้านการบริการสุขภาพ
(Health Care Policy and Business) ท้ังยงั รวมถงึ การมีคุณภาพชวี ิตทด่ี ีของคนในสงั คมโดยรวม

วาสนา จันทร์สว่าง (2548, น. 31 - 32) กล่าวว่า การสื่อสารเพื่อสุขภาพ คือ การศึกษา
และการใช้กลยุทธ์การสื่อสารในงานสุขภาพเป็นกลวิธีในการนาเสนอข้อมูล การเผยแพร่ข่าวสาร
ความรู้ด้านสขุ ภาพผา่ นส่อื ตา่ ง ๆ เพือ่ ใหส้ าธารณชนไดร้ บั รู้ สนใจ ตระหนัก เกิดจิตสานึกในเร่ืองสุขภาพ
โดยเน้นกระบวนการส่อื สารอยา่ งมีประสิทธภิ าพและประสิทธิผลตามวัตถุประสงค์ของการสื่อสาร คือ
การแจ้งให้ทราบ (To Inform) การสอนหรือการให้การศึกษา (To Educate) การสร้างความพอใจ
หรือความบนั เทิง (To Entertain) และการเสนอหรอื โนม้ น้าวชักจงู ใจ (To Persuade)

สมสุขหินวิมาน (2546, น. 116 - 117) ได้กล่าวถึงความสัมพันธ์ระหว่างการสื่อสาร
กบั สุขภาพวา่ มอี ยดู่ ้วยกนั 3 รปู แบบ คอื

1. ความสัมพันธ์ในเชงิ บวก (Positive) ซึ่งเชือ่ กนั ว่า การสอื่ สารสามารถชว่ ยสง่ เสริมสขุ ภาพ
ของประชาชนได้หากการส่ือสารเป็นไปในทิศทางที่ดี สุขภาพของประชาชนก็จะดีตามไปด้วย เช่น
แนวคิดเร่ืองการรู้เท่าทันส่ือในแบบด้ังเดิม (Traditional Media Literacy) ซึ่งเน้นว่าการส่ือสารที่ดี
ตอ้ งให้ความร้ขู ้อมลู ขา่ วสารที่ดตี อ่ เดก็ เยาวชน และทกุ คน ซึ่งจะส่งผลให้บคุ คลเหล่าน้นั สุขภาพดีตามมา

2. ความสัมพันธ์แบบเป็นกลาง (Neutral) ซ่ึงเป็นคาอธิบายตรง แต่เพียงว่ากระบวนการ
สขุ ภาพของมนษุ ย์ ย่อมจะมีการสอื่ สารสอดแทรกและทบั ซ้อนอยู่เบ้ืองหลงั เสมอ

3. ความสัมพนั ธ์ในเชิงลบ (Negative) ซ่งึ ตรงข้ามกลับเชอื่ ว่า การสื่อสารไมไ่ ด้ช่วยสนบั สนุน
แต่กลับเปน็ ตวั ทาลายสขุ ภาพของประชาชน เช่น แนวคิดว่า การดูภาพยนตร์ที่เก่ียวข้องกับความรุนแรง
มาก ๆ จะส่งผลให้สุขภาพจิตของผู้ชมเส่ือมลงจนกลายเป็นผู้ฝักใฝุความรุนแรงตามมาในท้ายที่สุด
ทง้ั น้ีเมื่อเราทราบถึงความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งการส่ือสารกบั สุขภาพว่าแต่ละบุคคลหรือแต่ละสถานการณ์
มีความสมั พนั ธ์กนั ในระดับและรูปแบบใด จะช่วยให้ “ผูส้ ่งสาร” สามารถกาหนดแนวทางหรือวางแผน
เพือ่ การส่อื สารในเร่อื งสขุ ภาพไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพมากย่ิงข้นึ

12

ผู้กาหนดเนื้อหาสาร ต้องคานึงถึงกลยุทธ์ (Strategy) ที่จะใช้ถ่ายทอด “เนื้อสาร” ไปยัง
“ผู้รับสาร” ซึ่งเป็นกลุ่มเปูาหมายที่มีความแตกต่างกัน ดังนั้นกลยุทธ์ที่ใช้ในการถ่ายทอดเนื้อหาสาร
ด้านสุขภาพจึงย่อมมีความแตกต่างกันออกไปด้วย ท้ังน้ีเพ่ือให้เกิดความสอดคล้องกับความต้องการ
ของผู้รับสารได้อย่างถูกต้อง ซึ่งการสื่อสารเพ่ือสุขภาพท่ีมีประสิทธิภาพนั้นจะต้องประกอบไปด้วย
คณุ ลักษณะต่าง ๆ ดงั น้ี

1. ความสามารถในการเขา้ ถงึ เน้อื หาด้านสุขภาพ (Availability) ของกลุ่มเปูาหมายตา่ ง ๆ
ท่ีมีความต้องการท่ีแตกต่างกัน โดยโอกาสในการเข้าถึงอาจอยู่ในส่ือรูปแบบต่าง ๆ เช่น สื่อโทรทัศน์
สอื่ วทิ ยุ สอ่ื สงิ่ พมิ พ์ส่ือประสม สื่อออนไลน์ ส่อื ใหม่ เปน็ ต้น

2. การทวนซา้ (Repetition) ซึ่งจะต้องมีความต่อเน่ืองหรือมีการทวนซา้ ในบางประเด็น
เพื่อใหเ้ กิดผลกระทบตอ่ กลุ่มเปาู หมายทค่ี าดหวังไว้

3. ความถกู ตอ้ งของเนือ้ หา (Accuracy)
4. ความเชื่อถือได้ของเน้ือหา (Reliability) ซึ่งต้องมีการตรวจสอบหรือปรับให้ทันสมัย
อยูต่ ลอดเวลา และสอดคลอ้ งกบั สถานการณ์ในขณะนน้ั
5. การเข้าถึง (Reach) กลุ่มเปูาหมายจานวนมาก โดยเฉพาะกับกลุ่มเปูาหมายท่ีตอ้ งการ
ใหเ้ กิดการรับขอ้ มูลข่าวสารจะชว่ ยใหก้ ารสื่อสารน้นั บรรลุวัตถุประสงค์
6. การเท่าทันเวลา (Timeliness) เนอื้ หาจะต้องตอบสนองตอ่ ความต้องการของกลุ่มเปูาหมาย
อยา่ งทันเหตุการณ์ หรอื เหมาะสมกบั สภาวการณ์ทเ่ี กดิ ขน้ึ
7. ความสมดุล (Balance) ของเน้ือหาท่ีนาเสนอ ท้ังการนาเสนอในส่วนที่เกี่ยวข้องกับ
ทุกภาคสว่ น สว่ นทเ่ี กี่ยวขอ้ งกับผลประโยชน์ สว่ นท่ีเกี่ยวข้องกับจรรยาบรรณหรือจริยธรรม หรือการให้
รายละเอยี ดสมดลุ รอบด้านในเรอ่ื งปัจจัยเสย่ี ง หรอื ผลกระทบตา่ ง ๆ
8. ความเหมาะสมกับความแตกตา่ งเชงิ วัฒนธรรม (Culturally Sensitive) ของกลุ่มเปูาหมาย
แต่ละกลุ่ม เช่น ต้องคานึงถึงความแตกต่างกันในด้านอายุ เพศ ระดับการศึกษา เชื้อชาติ ศาสนา
ความเป็นอยใู่ นสังคม
9. ความสามารถในการส่ือสารความเข้าใจ (Understandability) กับกลุ่มเปูาหมาย
ที่มีความแตกต่างและความหลากหลาย โดยการเลือกใช้ระดับของภาษา และสัญลักษณ์ต่าง ๆ เช่น
ภาพในการสอ่ื ความหมาย เปน็ ต้น

13

10. การมีหลกั ฐานหรือแหล่งอา้ งองิ ท่เี ชื่อถือได้ (Evidence - Bases) ซึง่ เป็นส่ิงทมี่ ีความจาเป็น
เป็นอย่างย่ิง โดยอาจได้มาจากการศึกษาค้นคว้า การสารวจ การวิจัย หรือแม้แต่การอ้างอิงข้อมูล
จากแหลง่ ข้อมูลทเ่ี ป็นทางการ

11. การเชอ่ื มประสาน (Multidimensionality) ต้องมีการเชือ่ มประสานมิติตา่ ง ๆ เข้าด้วยกัน
ไมว่ ่าจะเปน็ การเชือ่ มประสานสื่อต่าง ๆ ที่ใช้เข้าด้วยกัน การเช่ือมประสานเชิงนโยบาย การเชื่อมประสาน
กิจกรรมในรปู แบบต่าง ๆ ใหส้ อดคล้องไปด้วยกัน

กล่าวโดยสรุป การส่ือสารเพื่อสุขภาพ จึงหมายถึง การนาความรู้จากการส่ือสารในหลากหลาย
รปู แบบหลากหลายช่องทางในการส่ือสารมาบูรณาการเข้าด้วยกัน โดยอาศัยกลยุทธ์ต่าง ๆ เพ่ือบอกกล่าว
หรือให้ข้อมูลด้านสุขภาพต่อสาธารณชนหรือกลุ่มคนในระดับต่าง ๆ รวมถึงการสร้างความตระหนัก
และความสาคัญในด้านการดูแลสุขภาพโดยใช้การสื่อสารผ่านสื่อชนิดต่าง ๆ เพื่อเป็นสื่อกลาง
ในการให้ข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพ เป็นกระบวนการในการส่งเสริมสุขภาพเพื่อให้สาธารณชน
มีสุขภาพและคุณภาพชวี ติ ท่ีดี

2.2 ทฤษฎีการกาหนดวาระขา่ วสาร (Agenda Setting Theory)

วาลี ขันธวุ าร (2557, น. 149) สรุปถงึ แนวคิดในการกาหนดวาระขา่ วสารว่าเป็นการทาหน้าท่ี
หรอื ผลของสื่อมวลชนในด้านข่าวสาร (Information) โดยเน้นถึงความสัมพันธ์ระหว่างการท่ีส่ือมวลชน
เลือกเน้นประเด็นสาคัญของหัวขอ้ (Topic) หรอื ปญั หา (Issue) ในการรายงานข่าวสารกับการท่ีผู้รับสาร
หรือมวลชนตระหนกั ถงึ สาระสาคัญ (Salience) ของประเด็นหัวข้อหรือปัญหาน้ัน ๆ ความสัมพันธ์น้ี
อาจกลา่ วเปน็ เหตผุ ลไดว้ า่ ย่ิงส่ือมวลชนเลือกเน้นประเดน็ หัวขอ้ (Topic) หรือปัญหา (Issue) สาคัญใด ๆ
ผู้รับสารหรือมวลชน (Audience) ก็จะตระหนักถึงสาระสาคัญ (Salience) ของหัวข้อหรือปัญหาน้ัน
มากย่งิ ข้ึนตามไปด้วย ดังน้ันจึงอาจกล่าวได้ว่า ผลสาคัญประการหนึ่งของสื่อมวลชนก็คือ เป็นผู้กาหนด
หรือวางระเบียบวาระการรับรู้เหตกุ ารณ์ตา่ ง ๆ แก่ประชาชนทั่วไป

การคัดเลือกประเด็นสุขภาวะของโครงการคิดดีไอดอล สื่อดีมีไอเดีย ตรงกับแนวคิด
ในการกาหนดวาระข่าวสาร ในแง่ของการทโี่ ครงการได้ให้ความสาคัญในประเด็นหัวข้อ (Topic) หรือ
ปัญหา (Issue) ด้านสุขภาวะในเร่อื งใดเรื่องหน่ึงและต้องการให้สาธารณะชนผู้รับสาร (เด็กและเยาวชน)
ได้เกดิ การเรยี นรู้และตระหนักถึงสาระสาคัญ (Salience) ในปญั หาสขุ ภาวะเรื่องน้ัน ๆ โครงการจึงให้

14

ความสาคัญและคัดเลือกประเด็นสุขภาวะที่ต้องการสื่อสารต่อสังคมโดยนามากาหนดเป็นวาระ
และกาหนดเป็นโจทย์ในการผลติ สอ่ื สขุ ภาวะเชงิ สร้างสรรคต์ ามมา

2.3 แนวคิดกระบวนการการผลติ สอ่ื วีดีทัศน์

เจอรัลด์ มิลเลอร์สัน และจิม โอเวน (Gerald Millerson, Jim Owens., 2009, pp. 9 - 18)
กลา่ วถงึ หลกั พ้ืนฐานของกระบวนการการผลิตส่ือวีดีทัศน์ จะประกอบไปด้วยหลัก 3P (Pre Production,
Production, Post Production) น่นั คอื 1) กระบวนการเตรยี มงานก่อนการผลิต (Pre Production)
ได้แก่ การประชุมเตรียมงาน การคน้ คว้าขอ้ มลู และการเตรียมบทการวางแผนการผลิต การเตรียมอุปกรณ์
การบริหารจัดการบุคลากร การกาหนดโครงเรื่องและเน้ือหา การกาหนดสถานที่ถ่ายทา การจัดสรร
งบประมาณ 2) กระบวนการผลติ (Production) ได้แก่ การกากบั ภาพ การกากับการแสดง การแสดง
การถ่ายทาเพ่ือบันทึกภาพและเสียง และ 3) กระบวนการหลังการผลิต (Post Production) ได้แก่
การลาดบั ภาพ การลงเสียงบรรยาย การลงเสียงประกอบ การทาเทคนิคประกอบภาพการใส่ตัวอักษร
การทาภาพกราฟิก เปน็ ตน้

การผลิตสื่อสุขภาวะเชิงสร้างสรรค์ในโครงการคิดดีไอดอล สื่อดีมีไอเดีย เป็นการผลิตสื่อ
ในลักษณะของ “ภาพยนตร์ส้ัน” ซ่ึงเป็นหลักการเดียวกับกระบวนการการผลิตส่ือวีดีทัศน์นั่นเอง
ผู้วิจัยจึงนาแนวคิดกระบวนการ 3P ในการผลิตส่ือวีดีทัศน์มาเป็นกรอบในการศึกษาถึงกระบวนการ
การผลติ ส่ือสุขภาวะเชิงสรา้ งสรรค์ในรปู แบบของภาพยนตร์สัน้

2.4 หลกั การวิเคราะหเ์ น้อื หา (Content Analysis)

คลอส คลิพเพ็นดอร์ฟ (Klaus Krippenndorff, 2004 อ้างถึงใน อภิรดี เกล็ดมณี, 2551)
ให้ความหมายของการวิเคราะห์เน้ือหาว่า เป็นเทคนิควิธีการวิจัยท่ีสร้างเนื้อหาหรือข้อมูลให้มี
ความนา่ เชื่อถอื และมีข้อสรุปทม่ี ีความเทย่ี งตรงจากเนอื้ หาไปสู่บริบทของเนือ้ หาทีน่ ามาวเิ คราะห์

พจนานุกรมบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ให้ความหมายของการวิเคราะห์
เนื้อหาว่าเป็นวธิ กี ารวเิ คราะห์สารท่ีมีความชัดเจนและแน่นอนท้ังกระบวนการดาเนินงานและตัวเนื้อหา
สาระในการสื่อสาร ตลอดจนการจัดประเภทกลุ่ม และการประเมินคุณค่าความสาคัญของแนวคิด

15

สัญลักษณ์และแก่นของเร่อื งดว้ ยการตรวจสอบจากวตั ถุประสงค์และรายละเอยี ดจากหลักฐานที่มีอยู่
ประภาวดี สืบสนธ์ (2530) กล่าวว่า การวิเคราะห์เนื้อหาเป็นการวิจัยสารแบบหน่ึงท่ีมีลักษณะ

เปน็ การสารวจเชิงวิเคราะห์ เป็นเทคนิคในการศึกษาวิเคราะห์การบันทึกเอกสารข่าวสารอย่างมีระบบ
และมีวัตถุประสงค์เพื่อแสดงปริมาณ การเน้นหรือความถ่ีในการส่ือความหมาย เช่น การโน้มน้าวใจ
ลีลาการเขยี น การเปล่ียนแปลงเนื้อหาความน่าเชื่อถือของเนื้อหา โดยผู้วิจัยจะแยกเน้ือหาออกเป็นกลุ่ม
และประเมนิ เน้อื หาตามเกณฑ์ท่กี าหนดข้นึ

ชลทชิ า สุทธินิรันดร์กุล (2545) สรุปความหมายของการวิเคราะห์เน้ือหาทางสารสนเทศศาสตร์
ว่าเป็นเทคนิคการวิจัย สารวจ วิเคราะห์คา วลีหรือแนวคิด บรรยายสาระ จัดหมวดหมู่สื่อสัญลักษณ์
ตามเกณฑ์ข้อกาหนดและหาข้อสรุปจากเนื้อหาของทรัพยากรสารสนเทศที่ใช้บันทึกอย่างละเอียด
เป็นระบบและเที่ยงตรงโดยใชก้ ารพจิ ารณาตดั สนิ ของผวู้ จิ ัยแตเ่ พียงอย่างเดียว

การวิเคราะห์เน้ือหา จัดเป็นวิธีวิจัยที่ใช้วิเคราะห์เน้ือหาของสาร โดยมีวัตถุประสงค์
เพ่ือแสดงปริมาณ หรือวัดความถี่ในการสื่อความหมาย การวิเคราะห์เนื้อหาน้ันผู้วิจัยต้องระบุสื่อ
ที่ตอ้ งการวิเคราะห์ ทาการแยกแยะเน้ือหาหรือสื่อออกเป็นกลุ่ม หมวดหมู่ จากน้ันสร้างหรือกาหนดเกณฑ์
เพือ่ ใช้ในการวิเคราะหบ์ ันทกึ รายละเอยี ดข้อมลู ส่วนต่าง ๆ เพื่อวิเคราะห์คาวลีหรือแนวคิด โดยการบรรยาย
สาระตามเกณฑ์ท่สี ร้างข้ึน เพื่อหาขอ้ สรุปของเนอ้ื หาจากส่อื ท่ีนามาวเิ คราะห์

โดยสรปุ การวิเคราะห์เน้ือหาเป็นกระบวนการที่รวมถึงกิจกรรมหลายอยา่ งที่มงุ่ ไปสกู่ ารทา
ความเข้าใจขอ้ มลู ทีผ่ วู้ ิจยั ได้มา ไดแ้ ก่ การตคี วาม สรา้ งขอ้ สรุป การจาแนกชนิด และการเปรียบเทียบข้อมูล
การเช่ือมโยงส่ิงต่าง ๆ เพ่ือหาคาอธิบายและข้อสรุปท้ังหมด เพื่อหาคาตอบภายใต้กรอบความคิด
หรอื ทฤษฎี เพอื่ ให้ไดค้ าตอบท่ีนา่ เช่ือถือและแมน่ ยาท่ีสุด

2.5 งานวจิ ัยท่เี กีย่ วขอ้ ง

ปาริชาติ สถาปิตานนท์ และคณะ (2546) ได้ทาการวิจัยเรื่อง “ศักยภาพของสื่อมวลชน
ในการสร้างเสริมสุขภาพ” โดยศึกษาถึงศักยภาพของสื่อมวลชนในการนาเสนอประเด็นด้านสุขภาพ
ในประเทศไทย และศึกษากระบวนการกาหนดวาระดา้ นสขุ ภาพในสอื่ มวลชนไทย และการสังเคราะห์
บทเรียนเกี่ยวกับการดาเนินโครงการรณรงค์ด้านสุขภาพท่ีมุ่งเน้นการนาเสนอประเด็นสุขภาพ
ผ่านสือ่ มวลชน โดยดาเนนิ การวิจยั ภายใตบ้ รบิ ทของกรณกี ารรณรงคด์ ้านโรคเอดส์ ไข้เลอื ดออก ยาบา้

16

บุหรี่ และการใชส้ มุนไพรในประเทศไทย ผลการวจิ ัยพบวา่
1. สื่อมวลชนเปน็ เพยี งช่องทางหน่ึงในการส่งผ่านข้อมูลข่าวสารด้านสขุ ภาพสู่สาธารณชน

หากจะใชเ้ ป็นชอ่ งทางหลกั จาเป็นต้องวางแผนอยา่ งรัดกุม และคานึงถงึ ศักยภาพท่ีแท้จริงของสื่อมวลชน
ที่ว่าสื่อมวลชนเพียงอย่างเดียว ไม่สามารถก่อให้เกิดพฤติกรรมท่ีพึงประสงค์ได้ แต่ต้องผนวกรวมกับ
สื่ออืน่ ๆ เพอ่ื ใหบ้ รรลุเปูาหมาย

2. กระบวนการกาหนดวาระด้านสุขภาพในส่ือมวลชนไทย พบว่า ภาครัฐ ภาคเอกชน
และภาคประชาชนจะแข่งขันกันสร้างความสนใจให้กับสื่อมวลชน โดยสื่อมวลชนจะเป็นตัวหลัก
ในการตัดสินใจเลือกประเด็นให้เป็นวาระโดยคานึงถึงกระแสหรือความร้อนของประเด็นและปัจจัย
ตัวผู้ผลิตส่ือเอง ก่อนที่สื่อจะนาเสนอวาระต่อสาธารณชน ส่ือแต่ละประเภทก็จะสร้างความเป็นจริง
เกี่ยวกบั วาระในระดบั ที่แตกต่างออกไป ข้ึนอยู่กับระดับความพึ่งพาทุนและข้อมูล ธรรมชาติของตัวส่ือเอง
และอดุ มการณผ์ ู้ผลติ เปน็ ต้น

3. องค์ประกอบที่สาคัญในการรณรงค์ด้านสุขภาพผ่านสื่อมวลชน ได้แก่ องค์ประกอบ
เชิงบุคคล/องค์กรรณรงค์ ได้แก่ แกนนา และกลุ่มพันธมิตร องค์ประกอบเชิงกระบวนการรณรงค์
ได้แก่ เปูาหมายในการรณรงค์ กลุ่มเปูาหมาย ข้อมูล/ประเด็นในการรณรงค์ ช่องทางการส่ือสาร
กลยุทธก์ ารส่ือสาร

ดวงพร คานณู วัฒน์ และคณะ (2553) ได้ทาการวจิ ัยเร่ือง “สอื่ พื้นบ้านเพื่อสุขภาวะเยาวชน”
โดยศึกษาถึงกระบวนการใชส้ ือ่ พื้นบ้านเพ่ือพัฒนาสุขภาวะเยาวชนแกชุมชน และศึกษาเพื่อวิเคราะห
และสังเคราะหความรูด้านส่ือพ้ืนบ้านเพื่อสุขภาวะเยาวชนในพื้นที่ภาคเหนือ ผลการศึกษาพบวา
กระบวนการดาเนินงานโครงการน้ี ประกอบไปด้วย 7 ข้ันตอน คือ 1) คัดเลือกเยาวชน 2) เยาวชน
เรียนรูเรอ่ื งราวสือ่ พื้นบ้านและชุมชน 3) สอน 4) ฝกฝน 5) นาเสนอผลงานต่อชุมชน 6) ประเมินผลงาน
และ 7) เชอ่ื มตอกบั ชุมชนและสังคม การวิจยั ครง้ั น้สี รุปได้ว่า ผลการดาเนินงานจากโครงการสื่อพ้ืนบ้าน
เพ่ือสุขภาวะเยาวชน ส่งผลให้เยาวชนที่เข้าร่วมโครงการไดรับความรูเก่ียวกับชุมชนและสื่อพื้นบ้าน
ท้ังยงั สามารถนาไปเผยแพรให้ผู้อน่ื ไดรว่ มชื่นชม ภมู ใิ จ และเห็นคุณค่าในตัวเอง

มาลี บญุ ศิรพิ นั ธ์ (2549) ได้ศึกษาเร่ือง “การศึกษาเชิงนโยบายการสร้างนักส่ือสารสุขภาพ
และระบบการส่ือสารสุขภาพแห่งชาติ” เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนานักสื่อสารสุขภาพและสร้างข้อเสนอ
ระบบการสือ่ สารสุขภาพที่เหมาะสมกับสังคมไทย โดยใช้วิธีการวิจัยเอกสารจากภายในและต่างประเทศ
การสัมภาษณ์เชิงลึก การสนทนากลุ่ม และการประชุม สัมมนา รับฟังความคิดเห็นจากผู้เชี่ยวชาญ

17

ไดแ้ ก่ แพทย์ เจา้ หน้าที่สาธารณสุข ผู้เชี่ยวชาญการส่งเสรมิ สาธารณสุขขององค์กรในและต่างประเทศ
นกั วชิ าการด้านการสอื่ สาร นกั วิชาการสาธารณสุข สื่อท้องถ่ิน และนักสื่อสารสุขภาพท้องถ่ิน ผลการศึกษา
สรุปออกมาได้ ดังน้ี

ระบบการสอื่ สารสขุ ภาพสู่ประชาชน มีกรอบความคิดท่ีผนวกศาสตร์ด้านการส่ือสารกับศาสตร์
ด้านสุขภาพ เพื่อให้เกิดกิจกรรมการสื่อสารสุขภาพเพ่ือการมีสุขภาวะท่ีดี มีองค์ประกอบสาคัญ คือ
นกั ส่ือสารสุขภาพ ทาหนา้ ท่ีจัดการการสือ่ สาร เชือ่ มโยงเครอื ขา่ ยนกั สอ่ื สารสุขภาพในสังคมไทยทุกระดับ
โดยบริหารให้นาเสนอเน้ือหาสุขภาพ มีรูปแบบท่ีเข้าใจง่าย ถูกต้อง เป็นกลาง น่าเช่ือถือ ไม่มีนัยยะ
เชงิ พาณชิ ย์ โดยผา่ นชอ่ งทางการส่อื สารระดบั มวลชนและท้องถิ่นอย่างถาวรต่อเน่ือง ไปถึงประชาชน
ท่ีเป็นกลุ่มเปูาหมายท่ีได้รับการคาดหวังว่า หลังจากได้รับข้อมูลสุขภาพที่ถูกต้องและเพียงพอแล้ว
จะสามารถเปลีย่ นพฤติกรรมสขุ ภาพเพอื่ สขุ ภาวะท่ีดี

จากการศึกษา พบว่า ผลสัมฤทธิ์ของระบบการส่ือสารสุขภาพเกิดจากการทาหน้าที่
อย่างเชื่อมโยงในกิจกรรมการสื่อสารสุขภาพ 3 ระยะ คือ ระยะต้น เป็นกลยุทธ์การสร้างกิจกรรม
การส่ือสารในทิศทางท่ีสามารถนาไปสู่ระยะต่อมา คือ การเปลี่ยนทัศนคติและพฤติกรรมสุขภาพ
จนบรรลุเปาู หมายสูงสุดของระบบฯ คือ ประชาชนไทยมีสุขภาวะดี ซึ่งเป็นระยะสูงสุดตามเปูาหมาย
การสือ่ สารสขุ ภาพ ประการสาคญั การบริหารระบบการสอื่ สารสุขภาพต้องคานึงถึงบริบทของสังคมไทย
ในเรอ่ื งสถานการณท์ างสุขภาพ วฒั นธรรมการสื่อสาร ประเพณี ความเชื่อ จึงต้องมีกลไกท่ีเป็นปัจจัย
สนับสนุน คือ ปณิธานและความมีจิตอาสาของนักสื่อสารสุขภาพ เครือข่ายนักส่ือสารสุขภาพ
ท่มี ีประสิทธภิ าพ นโยบายและกฎหมายเก่ียวกับสขุ ภาพ แหลง่ ขอ้ มูลสุขภาพ การสร้างนักส่ือสารสุขภาพ
อย่างมีพลวัตในการขบั เคล่อื นใหส้ ามารถสนองตอบความตอ้ งการของสงั คมได้ตลอดเวลา

ฟิสิกส์ ฌอณ บวั กนก (2558) ได้วิจัยเรื่อง “การพัฒนาส่ือเพ่ือการเรียนรู้โดยกระบวนการ
มีส่วนร่วมของชุมชนเพ่ือสร้างความตระหนัก สุขภาวะชุมชนสุขภาพดี กรณีศึกษาชุมชนบ้านแพะ
ตาบลชมพู จังหวัดลาปาง” เพ่ือศึกษาถึงความรู้ที่จาเป็นต่อการสร้างความตระหนักสุขภาวะชุมชน
สขุ ภาพดี และเพ่ือพัฒนาส่ือการเรียนรู้สาหรับสร้างความตระหนักสุขภาวะชุมชนสุขภาพดี ตลอดจน
ศกึ ษาผลการใช้สือ่ ตอ่ การสร้างความตระหนักสุขภาวะชุมชนสุขภาพดี ผลการศึกษาพบว่า 1) ความรู้
ท่ีจาเป็นต่อการสร้างความตระหนักสุขภาวะชุมชนสุขภาพดี คือ ความรู้ในเร่ืองการบริโภคอาหาร
ซงึ่ เปน็ ที่มาของปัญหาสขุ ภาพในชุมชน ประกอบดว้ ย อันตรายจากการรับประทานอาหารประเภทต่าง ๆ
2) การพัฒนาสื่อโดยกระบวนการมีส่วนร่วมสาหรับสร้างความตระหนักสุขภาวะชุมชนสุขภาพดี

18

ทาให้ได้วีดิทัศน์รูปแบบสารคดีส้ันชุด “ของกินบ้านเฮา” 3) ผลความตระหนักสุขภาวะสุขภาพดี
ของชมุ ชน จะเพ่ิมขนึ้ หลงั การเรียนรผู้ า่ นสื่อท่ผี ลติ ข้ึนมา

วิชชา สันทนาประสิทธ์ิ (2555) ได้วิจัยเรื่อง “บทบาทของภาพยนตร์กับพฤติกรรมทางเพศ
ของวัยรนุ่ ไทย : กรณศี ึกษานกั ศึกษามหาวทิ ยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา” โดยศึกษาบทบาทของภาพยนตร์
กับพฤติกรรมทางเพศของวัยรุ่นไทย พร้อมกับการวิเคราะห์และศึกษาแนวทางในการพัฒนาเนื้อหา
ภาพยนตร์ท่ีนาไปสู่การสร้างสรรค์แนวคิดและข้อคิดในเรื่องของพฤติกรรมทางเพศที่เหมาะสม
ใหแ้ กว่ ัยรุ่น โดยผู้วจิ ัยไดท้ าการเลือกภาพยนตร์ท่ีมีเนอ้ื หาเก่ียวข้องกับเร่อื งเพศหรือพฤตกิ รรมทางเพศ
ที่เข้าฉายในปี พ.ศ. 2554 จานวน 3 เรื่อง และทาการวิเคราะห์เน้ือหาของภาพยนตร์ทั้ง 3 เร่ือง
ในประเด็นเกี่ยวกับบทบาทและพฤติกรรมทางเพศอันสะท้อนผ่านการกระทาต่าง ๆ ของตัวละคร
ในภาพยนตร์เร่ืองน้ัน ๆ จากการวิจัยพบว่า ภาพยนตร์ที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับเร่ืองเพศและพฤติกรรม
ทางเพศ ก่อให้เกิดความรู้สึกและมีบทบาทต่อความคิดและพฤติกรรมของกลุ่มตัวอย่างโดยบทบาท
และผลกระทบดังกล่าวนัน้ จะปรากฏใหเ้ ห็นในประเด็นของการปฏิบัติตนต่อเพศตรงข้าม รวมไปถึงเรื่อง
ของการมีเพศสมั พนั ธ์

กญั จนากร ยมศรีเคน (2559) ได้วจิ ัยเรอื่ ง “ผลของหนงั ส้ันเพ่ือปูองกันพฤติกรรมการสูบบุหรี่
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น อาเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี” เป็นการวิจัยแบบก่ึงทดลอง
(Quasi - Experimental Research) โดยแบ่งกลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ศึกษาเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มทดลอง
และกลมุ่ เปรียบเทียบ กลุม่ ละ 30 คน โดยมีวตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื ศกึ ษาผลของหนังสั้นเพ่ือปูองกันพฤติกรรม
การสูบบุหรี่ โดยมีการจัดโปรแกรมชมหนงั สั้นเพื่อปูองกันพฤติกรรมการสูบบุหรี่ ผลการศึกษาพบว่า
กลุ่มทดลองท่ีได้รับโปรแกรมชมหนังสั้น จะมีคะแนนเฉล่ียในด้านต่าง ๆ สูงข้ึนกว่าก่อนการทดลอง
และสงู กวา่ กล่มุ เปรยี บเทียบ โดยเปน็ ผลมาจากการรับรคู้ วามสามารถของตนเองในการปูองกันพฤติกรรม
การสูบบุหร่จี ากแบบแผนความเชอื่ ด้านสุขภาพของแตล่ ะบคุ คล

หนึ่งฤทัย ขอผลกลาง และกิตติ กันภัย (2553, น. 72) ได้สารวจถึงระดับของการวิจัย
ดา้ นการส่อื สารสขุ ภาพในประเทศไทย และพบว่างานวิจัยด้านการสื่อสารสุขภาพยังคงเป็นการศึกษา
ในระดับจุลภาค คือ ศึกษาเพียงหน่วยใดหน่วยหน่ึงของสังคม และมิได้วิเคราะห์สัมพันธ์กับบริบท
ทางสังคม ประเด็นในงานวิจัยปรับเปล่ียนไปตามสถานการณ์ทางสังคมในขณะนั้น โดยมักวิเคราะห์
การรบั รู้ ทศั นคติ ความคดิ เห็นของผ้รู บั สาร และประสิทธิผลของการใช้สื่อเพื่อแก้ปัญหาด้านการส่ือสาร
สุขภาพเป็นสาคัญ ซ่ึงสะท้อนให้เห็นว่างานวิจัยส่วนใหญ่ยังขาดการแสดงออก ซึ่งบทบาทสาคัญ

19

ในการแกไ้ ขปญั หาหรือสรา้ งองคค์ วามรู้ใหม่ หรือการศึกษาวิจัยในเชิง “รุก” รวมทั้งยังมีลักษณะแยกส่วน
ขาดการมองในลักษณะท่ีเป็นองค์รวม และยังพบว่าปัจจัยที่ทาให้คนทาวิจัยเร่ืองการสื่อสารสุขภาพ
มกั ประสบเนอ่ื งจากเป็นเรอ่ื งใกล้ตวั หรอื เปน็ ประเด็นทผี่ ้วู ิจัยกาลงั ประสบปัญหาอยู่ ภาษาทีใ่ ช้ในงานวิจัย
ส่วนใหญ่เปน็ ศัพทท์ างวชิ าการซงึ่ เข้าใจยาก เปน็ อุปสรรคตอ่ การนาไปใช้จริง เป็นงานวิจัย “ตามกระแส”
คือ ไมก่ อ่ ใหเ้ กิดการชี้นาสังคมหรอื เกดิ ประโยชนใ์ นทางปฏบิ ตั ิมากนกั

โดยสรุป จะพบว่างานวิจัยด้านการสื่อสารเพ่ือสุขภาพ (สุขภาวะ) ส่วนใหญ่นั้นยังมุ่งเน้น
ศกึ ษาวิเคราะหถ์ ึงการรับรู้ ทัศนคติ ความคดิ เห็นของผู้รับสาร และประสิทธิผลของการใช้สื่อเพ่ือแก้ปัญหา
ด้านการสื่อสารสุขภาพเป็นสาคัญ แตย่ ังขาดหรือไม่ให้ความสาคัญกับการศึกษาวิจัยผ่านกระบวนการ
ของการสอ่ื สารที่วิเคราะห์โดยการมองผา่ นการทาหน้าที่ของ “ผู้ส่งสาร” และศึกษาวิเคราะห์ลงไปถึงตัว
“เนื้อสาร” ในการส่ือสารด้านสุขภาพ การวิจัยเรื่องการผลิตสื่อสุขภาวะเชิงสร้างสรรค์เพื่อสร้าง
ความตระหนักรู้สชู่ ุมชน โครงการคดิ ดไี อดอล ส่อื ดมี ีไอเดีย จึงเน้นศึกษาวิเคราะห์ประเด็นการส่ือสาร
สขุ ภาวะโดยมุ่งศกึ ษาผ่าน “ผู้สง่ สาร” และ “เนื้อสาร” เป็นสาคัญ และงานวิจัยครั้งนี้ยังเป็นการบูรณาการ
ระหว่างศาสตร์ดา้ นนิเทศาสตร์ในแง่ของกระบวนการการสื่อสารและหลักการผลิตส่ือในรูปของวีดิทัศน์
(ภาพยนตรส์ ้ัน) เข้ากับศาสตร์ทางด้านสุขภาวะโดยตรง

20

บทที่ 3
ระเบียบวธิ วี ิจยั

การวิจัยเรื่อง “การผลิตสื่อสุขภาวะเชิงสร้างสรรค์ เพื่อสร้างความตระหนักรู้สู่ชุมชน
โครงการคิดดีไอดอล ส่ือดีมีไอเดีย” เป็นการวิจัยที่ใช้แนวทางการวิจัยเชิงคุณภาพ (Quanlitative
Research) เป็นแนวทางในการศึกษา โดยมีจุดมุ่งหมายที่จะศึกษาถึงความเป็นมา แนวคิด รูปแบบ
ของโครงการฯ การบริหารจัดการ การจัดโครงการเพ่ือคัดเลือกนักเรียนและนักศึกษาจากสถาบัน
การศึกษาในภูมิภาคภาคใต้ จานวน 15 ทีม เขา้ รับโจทย์ประเด็นสุขภาวะในการแก้ไขปัญหาสุขภาวะ
ของเด็กและเยาวชนภาคใต้ และทาการผลิตส่ือสุขภาวะเชิงสร้างสรรค์ออกเผยแพร่พร้อมการนาส่ือน้ัน
ออกสร้างความตระหนักร้สู ูก่ ลุม่ ผู้รบั สารและชมุ ชนเปูาหมาย

3.1 ประชากรและกลมุ่ ตวั อย่าง

ประชากรที่ใชใ้ นการศึกษาในงานวิจยั ช้ินน้ี ประกอบด้วย 3 สว่ น ไดแ้ ก่
1.1 เจ้าหนา้ ที่บริหารโครงการคิดดีไอดอล ส่ือดมี ีไอเดีย ซ่งึ ผ้วู จิ ัยได้เจาะจงคัดเลอื กประธาน
บรหิ ารโครงการฯ เป็นประชากรในการศกึ ษา
1.2 กลุ่มตัวอยา่ งซง่ึ เป็นนกั เรยี นหรอื นสิ ิตนักศกึ ษา จานวน 15 ทมี จากสถาบันการศึกษา
ในภูมิภาคภาคใต้ทไ่ี ด้ผ่านการคดั เลือกจากโครงการคดิ ดีไอดอล สอ่ื ดมี ีไอเดีย ให้เข้าสู่รอบ 15 ทมี
สุดท้ายเพอ่ื เขา้ รว่ มการผลิตสอื่ สขุ ภาวะเชงิ สรา้ งสรรค์ออกเผยแพร่ผ่านสอื่ ออนไลน์ และนาสอื่ ท่ีผลิต
น้ันออกสร้างสรรคเ์ ป็นกจิ กรรมการสรา้ งความตระหนักรู้สูช่ ุมชนเปูาหมายเป็นลาดับถดั มา ทงั้ 15 ทมี
ทเ่ี ขา้ รว่ มโครงการฯ น้ี ไดแ้ ก่

1.2.1 ทีมช่อราชพฤกษ์มหาวิทยาลยั ราชภัฏสุราษฏร์ธานี
1.2.2 ทีม Banana Quality มหาวิทยาลยั หาดใหญ่
1.2.3 ทมี ชายโฉด มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลศรวี ิชยั
1.2.4 ทีมฟาฏอนี มหาวทิ ยาลัยฟาฏอนี จังหวดั ปัตตานี
1.2.5 ทมี TANN มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ภูเก็ต

21

1.2.6 ทมี ไดเอท มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรวี ชิ ยั
1.2.7 ทีม Choose Studio โรงเรียนมสุ ลิมศึกษา อาเภอเมือง จังหวัดสตูล
1.2.8 ทมี ผัดผกั นา้ มนั จ๋อย มหาวิทยาลยั ราชภฏั สุราษฏร์ธานี
1.2.9 ทมี นเิ ทศไมเนอร์ 96 มหาวิทยาลัยทกั ษิณ
1.2.10 ทมี บุรงตานี มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
1.2.11 ทีมนเิ ทศไมเนอร์ 97 มหาวทิ ยาลยั ทักษิณ
1.2.12 ทีมหลอดตะเกียบ มหาวทิ ยาลยั หาดใหญ่
1.2.13 ทมี NP STUDIO โรงเรยี นเหนือคลองประชาบารงุ อาเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่
1.2.14 ทมี Be yourself มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรวี ชิ ยั
1.2.15 ทีม VII โรงเรียนกลั ยาณศี รีธรรมราช อาเภอเมอื ง จังหวดั นครศรธี รรมราช
1.3 ประชากรซึ่งเป็นช้ินงาน จานวน 15 ชิ้นงาน จากการผลิตสื่อสุขภาวะเชิงสร้างสรรค์
ในลกั ษณะของ “ภาพยนตรส์ ัน้ ” ของท้ัง 15 ทีม ท่ีผา่ นเข้ารอบสดุ ทา้ ยในโครงการนี้

3.2 การเก็บรวบรวมข้อมลู

การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ในการศกึ ษาครัง้ น้ี กระทาโดย
1. การเก็บรวบรวมข้อมูลจากเอกสารเก่ียวกบั ความเปน็ มา รูปแบบและลักษณะการดาเนนิ งาน
ของโครงการคดิ ดีไอดอล สื่อดมี ไี อเดีย ผูว้ ิจัยอาศัยขอ้ มูลส่วนน้จี ากเอกสารประกอบการนาเสนอโครงการ
ของผู้จดั ทาโครงการตอ่ สานักงานกองทุนสนับสนนุ การสร้างเสรมิ สภุ าพ (สสส.)
2. การสัมภาษณ์บุคคล ผ้วู ิจัยได้ติดต่อสัมภาษณ์ด้วยวิธีการสัมภาษณ์เจาะลึก (In - Depth
Interview) ประธานผ้จู ัดโครงการคดิ ดไี อดอล ส่ือดมี ีไอเดยี และตติ อ่ สมั ภาษณ์ตัวแทนผู้ผลิตส่ือสุขภาวะ
เชิงสร้างสรรค์ โดยทาการสัมภาษณ์ด้วยวิธีการสนทนากลุ่ม (Focus Group) กับตัวแทนสมาชิก
ของท้ัง 15 ทีม จานวนทมี ละ 1 - 3 คน (จากสมาชิกของแต่ละทีม ซึ่งมีสมาชิกทีมละ 3 คน) กระบวนการน้ี
ผ้วู ิจัยไดท้ าการสัมภาษณ์แหลง่ ขอ้ มูลท้งั หมดนี้ดว้ ยตนเอง เพ่ือใหไ้ ดข้ อ้ มลู ตามวัตถุประสงคท์ ่ีต้องการ
3. การวเิ คราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ผู้วิจัยทาการวเิ คราะห์เนอ้ื หาจากสื่อภาพยนตร์สนั้

22

ที่แต่ละทีมผลิตขึ้น โดยผู้วิจัยนาข้อมูลส่วนนี้มาจากการรับชมสื่อสุขภาวะเชิงสร้างสรรค์ที่ถูกผลิตขึ้น
ของทงั้ 15 ทมี (จานวน 15 เรื่อง) และใช้หลกั การวเิ คราะหด์ ว้ ยการตคี วามตามความหมายของเนื้อหา
ท่ปี รากฏ

4. การร่วมสังเกตการณ์ (Observed) ในการนาส่ือสุขภาวะเชิงสร้างสรรค์ออกเผยแพร่
พร้อมการจัดกิจกรรมสร้างความตระหนักรู้สู่ชุมชน ผู้วิจัยได้คัดเลือกพ้ืนท่ีปฏิบัติการและร่วมออก
สังเกตการณ์ด้วยตนเองโดยตรงโดยการคัดเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling)
จากกลุ่มผู้ผลิตสื่อ จานวน 4 ทีม เพ่ือใช้เป็นกรณีศึกษา โดยอาศัยเกณฑ์การคัดเลือกทีมจากสัดส่วน
ในการเข้ารอบสุดท้ายในการผลิตสื่อเม่ือเปรียบเทียบกันเป็นรายจังหวัด โดยจงั หวดั ใดท่มี ีทีมเข้ารอบ
สุดท้าย 2 ทีม จะคัดเลือกตัวแทนของจังหวัดนั้นแบบเจาะจงมาเป็นกรณีศึกษาหน่ึงทีม ซ่ึงการใช้
เกณฑ์เช่นน้ี ทาให้เจาะจงเลือกทีมผู้ผลิตส่ือจากจังหวัดสงขลา มาจานวน 3 ทีม (จากท้ังหมด 7 ทีม
ที่เข้ารอบ) และเจาะจงเลือกทีมผู้ผลิตส่ือจากจังหวัดปัตตานีหน่ึงทมี (จากทง้ั หมด 2 ทีมที่เข้ารอบ)

3.3 เครอ่ื งมอื ท่ีใช้ในการรวบรวมขอ้ มลู

การศึกษาวจิ ัยเรื่อง “การผลิตส่ือสุขภาวะเชิงสร้างสรรค์เพื่อสร้างความตระหนักรู้สู่ชุมชน
โครงการคดิ ดีไอดอล ส่ือดมี ไี อเดยี ” อาศัยการรวบรวมข้อมูล ดงั นี้

1. การเก็บรวบรวมขอ้ มูลจากเอกสารเกีย่ วกบั ประวตั ิ ความเป็นมา รปู แบบการดาเนนิ งาน
โครงการคดิ ดีไอดอล สอื่ ดีมีไอเดยี ผวู้ จิ ยั อาศยั เครือ่ งมือในการเกบ็ ข้อมูลจากการทาบันทึก (Note Taking)

2. การเก็บรวบรวมข้อมูลจากการสารวจข้อเท็จจริงและความคิดเห็นของบุคคลที่มีส่วน
เกี่ยวข้องกับการผลิตสื่อสุขภาวะเชิงสร้างสรรค์ในโครงการคิดดีไอดอล สื่อดีมีไอเดีย เครื่องมือที่ใช้
ในการเก็บข้อมูลในส่วนนี้ ผู้วิจัยใช้วิธีการสัมภาษณ์ในเชิงเจาะลึกหรือ “In - Depth Interview”
ท้ังนี้เพื่อให้ได้มาซงึ่ ข้อมูลที่ละเอียดและถูกต้อง โดยมีประเด็นคาถามที่ใช้ในการสัมภาษณ์ครอบคลมุ
เรอื่ งต่าง ๆ ดงั นี้

2.1 รปู แบบ การดาเนินงาน การบริหารจดั การโครงการคดิ ดีไอดอล สื่อดมี ีไอเดีย
2.2 การกาหนดประเดน็ สุขภาวะเพือ่ ใชเ้ ป็นโจทยใ์ นการส่อื สาร
2.3 กระบวนการในการคัดเลือกทีมผู้ผลิตสื่อสุขภาวะเชิงสร้างสรรค์เพอื่ เข้ารว่ มโครงการ
2.4 ความคาดหวัง ผลสัมฤทธ์ทิ ่ีเกดิ ขน้ึ จากการจัดโครงการน้ี

23

2.5 ข้ันตอนการรวมสมาชิกภายในทีมเพ่ือเข้าร่วมนาเสนอการประกวดผลงานกับ
ทางโครงการ

2.6 การเลือกประเด็นสุขภาวะที่ต้องการสื่อสาร การคิดโครงเร่ือง (Theme) และ
การวางพลอ๊ ตเร่อื ง (Plot) ของแต่ละทมี ท่ีผา่ นการคัดเลอื กจากโครงการ

2.7 กระบวนการทั้งหมดในการผลิตสื่อในรูปของภาพยนตร์ส้ัน ได้แก่ กระบวนการ
ก่อนการผลิต (Pre Production) กระบวนการผลิต (Production) และกระบวนการหลังการผลิต
(Post Production) ของแตล่ ะทมี

2.8 ปญั หาและอุปสรรคจากการผลิตสื่อสุขภาวะเชงิ สรา้ งสรรค์
2.9 การนาสอ่ื ไปเผยแพร่ผ่านช่องทางออนไลน์
2.10 การเลือกกลุ่มเปูาหมายและพ้ืนที่ปฏิบัติการในการนาส่อื สุขภาวะออกไปเผยแพร่
เพ่อื สรา้ งความตระหนกั รู้ให้กับชมุ ชน
2.11 การออกแบบกิจกรรมรูปแบบต่าง ๆ เพื่อประกอบการนาสอื่ สุขภาวะเชิงสร้างสรรค์
ออกสรา้ งความตระหนักรู้ส่ชู ุมชน
2.12 ปัญหาและอุปสรรคในการจัดกิจกรรมสร้างความตระหนักรู้สู่ชุมชนในพื้นที่
ปฏิบตั ิการเปาู หมาย

3.4 การตรวจสอบครามเทย่ี งตรงและความนา่ เชือ่ ถือของเคร่อื งมอื

ผู้ วิ จั ย ใช้ ก าร ตร ว จคุ ณภาพ ขอ ง ข้อ มูล โ ดยอ าศั ยก าร เปรี ยบ เ ที ย บ ข้ อ มู ล เ รื่ อ ง เ ดี ย ว กั น
จากแหล่งต่างๆ ประกอบเข้ากับการพิจารณาความเป็นไปได้และความน่าเช่ือถือและยังนาข้อมูล
เหลา่ น้ันใหผ้ ูท้ รงคุณวุฒิได้ตรวจสอบความนา่ เชือ่ ถืออกี ครงั้ เพื่อนาข้อมลู ทัง้ หมดที่ได้มาทาการวิเคราะห์
ต่อไป

3.5 การวิเคราะห์ข้อมูล

ในการศึกษาเรื่อง“การผลิตสื่อสุขภาวะเชิงสร้างสรรค์เพื่อสร้างความตระหนักรู้สู่ชุมชน
โครงการคิดดไี อดอล สอ่ื ดมี ีไอเดยี ”ผ้วู ิจัยได้แบ่งการวิเคราะห์ขอ้ มูลออกเปน็ 4 ส่วน ดังนี้

24

1. วเิ คราะหร์ ปู แบบของโครงการและการดาเนินโครงการคิดดไี อดอล สื่อดีมีไอเดียในสว่ นนี้
ผูว้ ิจัยอาศัยข้อมูลจากการค้นควา้ เอกสารประกอบกับข้อมูลจากการสัมภาษณ์บุคคล คือ ประธานผู้บริหาร
โครงการคิดดีไอดอล ส่อื ดมี ีไอเดยี

2. วิเคราะห์กระบวนการในการผลิตส่ือสุขภาวะเชิงสร้างสรรค์ การวิเคราะห์ส่วนในนี้
ผู้วิจัยอาศัยข้อมูลจากการค้นคว้าเอกสาร ประกอบข้อมูลจากการสัมภาษณ์บุคคล ได้แก่ ประธาน
ผู้บริหารโครงการคิดดีไอดอล ส่ือดีมีไอเดีย และตัวแทนสมาชิกของผู้ผลิตสื่อที่เข้าร่วมโครงการ
ทง้ั 15 ทมี

3. วเิ คราะห์เนือ้ หาส่ือสุขภาวะเชงิ สร้างสรรค์ การวิเคราะห์ในส่วนน้ี ผู้วิจัยใช้การรบั ชมสอื่
สุขภาวะเชิงสร้างสรรค์ในรูปของภาพยนตร์ส้ันของทั้ง 15 ทีม เพื่อทาความเข้าใจในเนื้อหาของสื่อ
และตีความตามความหมายของเน้ือหาจากบริบท (Context) และสัญลักษณ์ (Sign) ที่ถูกนาเสนอ
ออกมา โดยใชเ้ กณฑ์การวเิ คราะห์เนือ้ หา ดงั นี้ ความยาว (เวลา) ของเน้ือหา กลวิธีในการดาเนินเรื่อง
รปู แบบการนาเสนอ และเนื้อหาในการนาเสนอ

4. วิเคราะห์รูปแบบของกิจกรรมเสริมในการลงพ้ืนท่ีเพื่อนาสื่อสร้างสรรค์ออกสร้าง
ความตระหนักรู้ในชุมชน การวิเคราะห์ในส่วนน้ี ผู้วิจัยอาศัยข้อมูลจากเอกสารประกอบกับข้อมูล
จากการสัมภาษณ์บุคคล ซึ่งได้แก่ ตัวแทนสมาชิกของผู้ผลิตสื่อท่ีเข้าร่วมโครงการท้ัง 15 ทีม และ
ในบางพื้นท่ีกิจกรรม ผู้วิจัยได้ลงพื้นที่จริงเพ่ือเข้าร่วมสังเกตการณ์แบบไมม่ สี ว่ นรว่ ม

25

บทที่ 4
ผลการวจิ ยั

4.1 รปู แบบของโครงการคิดดไี อดอล ส่ือดีมไี อเดีย ปที ี่ 2

โครงการคิดดีไอดอล สือ่ ดีมไี อเดยี ปที ี่ 2 (พ.ศ. 2561) ภายใต้การสนับสนุนการดาเนินงาน
จากสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ หรือ สสส. เป็นโครงการต่อเนื่องมาจาก
โครงการคิดดไี อดอล สอื่ ดีมีไอเดีย ซึ่งเร่ิมดาเนินโครงการเป็นปีแรกในปี 2560 โครงการนี้มีจุดความคิด
เรมิ่ มาจากการรเิ ริ่มของศูนย์สอ่ื สารเด็กไทยมสุ ลิม (องคก์ รสาธารณะประโยชน์ เลขที่ 4314) อาเภอเมือง
จงั หวดั กระบ่ี ซึง่ เปน็ องคก์ รทดี่ าเนินงานในการขับเคล่อื นกระบวนการส่ือสร้างสรรค์ในกลุ่มเด็ก เยาวชน
และครอบครวั ในพืน้ ท่ีภาคใต้

ศูนย์ส่ือสารเด็กไทยมุสลิมได้พัฒนาโครงการ “คิดดีไอดอล สื่อดีมีไอเดีย” เพ่ือต้องการ
เหน็ พลงั จากคนรุ่นใหมท่ ีก่ าลังศกึ ษาอยูใ่ นสถานศกึ ษาระดับมัธยมศึกษาและอุดมศึกษา โดยมุ่งหวังให้
กลุ่มคนเหล่านใี้ ช้พลงั สือ่ เพ่ือการเปลี่ยนแปลงสังคมผ่านประเด็นสุขภาวะที่ส่งผลต่อปัญหาทางสุขภาวะ
ของเด็กและเยาวชนในพื้นที่ภาคใต้ ซ่ึงในปีที่ 2 นี้โครงการเล็งเห็นถึงประเด็นปัญหาทางสุขภาวะดังกล่าว
และได้กาหนดโจทย์ให้มีการผลิตส่ือสุขภาวะเชิงสร้างสรรค์ขึ้นใน 4 ประเด็น คือ ประเด็นการกินผัก
และผลไม้ ประเด็นการลดอ้วน ประเด็นไม่สูบไม่ดื่ม ประเด็นขยับออกกาลงั กาย โดยมุ่งหวังให้เยาวชน
ในภาคใต้ ส่งผลงานในลักษณะโครงเรื่องของสื่อท่ีจะผลิตและส่งรูปแบบกิจกรรมที่จะออกสร้าง
ความตระหนักรู้สู่ชุมชนให้กับทางโครงการ ก่อนทาการคัดเลือกผลงานทั้งหมดให้เหลือ 15 ทีม
เพื่อรับทุนสนับสนุนจากโครงการให้ทาการผลิตสื่อสุขภาวะเชิงสร้างสรรค์เพื่อสร้างความตระหนักรู้
สชู่ ุมชนในรปู ของ “ภาพยนตร์ส้ัน” ไม่จากดั ความยาวในการนาเสนอ ทง้ั นเ้ี พ่ือการเปิดกว้างและให้อิสระ
ด้านความคิดสรา้ งสรรค์โดยไมย่ ึดติดกบั กรอบความยาวด้านเวลาของสือ่ ท่ผี ลิต

26

โครงการฯ ได้กาหนดให้ทุกทีมท่ีผลิตภาพยนตร์ส้ันแล้วเสร็จ จะต้องนาภาพยนตร์สั้นนั้น
ไปเผยแพร่ในพื้นที่ปฏบิ ตั ิการชมุ ชนเปูาหมาย พร้อมทัง้ สรา้ งสรรค์ออกแบบกิจกรรมเสริมผ่านรูปแบบ
กิจกรรมตา่ ง ๆ ที่สอดรับกับการสร้างความตระหนักรู้ให้ชุมชนและกลุ่มเปูาหมายในประเด็นสุขภาวะ
ซึ่งสัมพนั ธก์ บั เนอ้ื หาของภาพยนตรส์ น้ั ทผ่ี ลติ ข้นึ มา

4.2 การกาหนดประเด็นโจทย์ในการสื่อสารสขุ ภาวะโครงการคิดดไี อดอล ส่ือดมี ไี อเดีย
ปที ี่ 2

จากความสาเร็จในปีแรกของโครงการคิดดีไอดอลสื่อดีมีไอเดีย ซึ่งได้กาหนดโจทย์
ในการสื่อสารสุขภาวะสู่ชุมชนภาคใต้ ใน 3 ประเด็นหลัก ได้แก่ ปัญหาการท้องไม่พร้อมในวัยรุ่น
การรู้เท่าทันสื่อของเยาวชน และการปูองกันปัญหายาเสพติดในวัยรุ่น และได้มีการผลิตสื่อสุขภาวะ
ตามประเดน็ โจทย์ดงั กลา่ ว

ผู้วิจัยได้สัมภาษณ์ คุณฮาริส มาศชาย ประธานศูนย์สื่อสารเดก็ ไทยมุสลิม ผู้ริเริ่มโครงการ
คดิ ดีไอดอล สอ่ื ดีมไี อเดยี ถึงการกาหนดประเดน็ โจทยเ์ พ่อื การส่ือสารสุขภาวะในโครงการคิดดีไอดอล
ส่ือดีมีไอเดีย ปี 2 พบว่า จากความสาเร็จของโครงการคิดดีไอดอล ส่ือดีมีไอเดีย ในปีแรก (ปี 2560)
ซง่ึ ได้มกี ารสร้าง “นกั สอื่ สารสขุ ภาวะภาคใต้” เพ่อื ทาการผลติ “ส่อื สขุ ภาวะเชิงสร้างสรรค์” พร้อมทั้ง
นาสื่อท่ีผลิตขึ้นมาน้ันออกสู่พ้ืนท่ีปฏิบัติการชุมชนจนได้รับความสาเร็จอย่างดีย่ิง ทาให้เกิดแนวคิด
การต่อยอดโครงการน้ีขึ้นเป็นปีท่ี 2 โดยยังคงได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากสานักงานกองทุน
สนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) อยู่เช่นเดิม และทางโครงการมีความประสงค์จะขยายผล
“การสื่อสารสขุ ภาวะ” ในพน้ื ท่ภี าคใตโ้ ดยนา “ประเด็นสุขภาวะ” ประเด็นใหม่ซ่ึงไม่ซ้ากับการจัดโครงการ
ในปีแรกมาเป็นโจทย์ในการสื่อสาร ทางโครงการได้ประชุมระดมความคิดและปรึกษาคณะทางาน
ในส่วนของนักวชิ าการเครือข่ายสุขภาพจากมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ในภาคใต้ และทาการคัดเลือกประเด็น
สุขภาวะต่าง ๆ ท่ีสง่ ผลกระทบต่อ “เด็กและเยาวชน” เป็นเปูาหมายหลัก จากแกนความคิดดังกล่าว
จึงได้ข้อสรุปในการ “กาหนดวาระการส่ือสาร” (Agenda Setting) ขึ้นมาใน 4 ประเด็น ได้แก่
การลดความอ้วนในเด็กและเยาวชน, การเพิ่มกิจกรรมทางกาย, การส่งเสริมการกินผักและผลไม้
ในเด็กและเยาวชน, การปกปอู งนักสบู และนกั ดมื่ หน้าใหม่

27

4.3 ความคาดหวังของโครงการต่อความสาเร็จในด้านต่างๆ

ฮาริส มาศชาย กล่าวว่าสิ่งที่โครงการคิดดีไอดอล ส่ือดีมีไอเดีย คาดหวังถึงความสาเร็จ
ท่ีจะเกดิ ขน้ึ เมอ่ื โครงการนีเ้ สร็จส้นิ ลง มีดังน้ี

1. ผลที่เกดิ ขึ้นโดยตรงกับกลุ่มเยาวชนผู้ผลิตสื่อ ทางโครงการคาดหวังวา่ “เด็กคดิ ดีไอดอล”
จะเกิดการเปลยี่ นแปลงในตัวเอง เกดิ ความรู้ ความเขา้ ใจในประเดน็ การส่ือสารสุขภาพ เกิดการเปลี่ยนแปลง
พฤติกรรมของตนเองในด้านสุขภาวะ และยังสามารถนาส่ิงที่ได้จากโครงการไปเปลี่ยนแปลงแนวคิด
ท่ีจะผลิตสือ่ ข้ึนมา ซึง่ จะส่งผลต่อไปยังการเปลี่ยนแปลงกลุ่มผู้รับสารเป็นลาดับท้ายสุด และโครงการ
ยังคาดหวังว่าจะสามารถสร้าง “นักสื่อสารสุขภาวะ” ให้เกิดข้ึนในกลุ่มเยาวชนท่ีผ่านการคัดเลือก
เข้าสโู่ ครงการ และต้องการให้นกั สื่อสารสุขภาวะเหลา่ นี้มีคุณสมบัติ 3 ประการตามมา คือ 1) เป็นบุคคล
ทมี่ ีความรู้ ความเข้าใจในประเดน็ ปัญหาสุขภาวะที่ต้องการจะส่ือสาร 2) เป็นบุคคลที่มีทักษะ ความรู้
ความสามารถในการผลิตสื่อเพ่ือสุขภาวะ และ 3) เป็นบุคคลที่สามารถนาความรู้ในประเด็นปัญหา
สขุ ภาวะร่วมกับทกั ษะในการผลติ สือ่ สุขภาวะ ออกไปจัดกิจกรรมถ่ายทอดความรู้ ความเข้าใจในพ้ืนที่
ปฏบิ ตั ิการชมุ ชน เพือ่ ให้เกดิ ความตระหนักรูข้ องคนในชุมชนซึ่งจะสง่ ผลตอ่ การเปลีย่ นแปลงพฤติกรรม
ทางสขุ ภาพของกลุม่ ผรู้ บั สารตามมา

2. ผลท่ีเกิดขึ้นกับกลุ่มผู้รับสาร โครงการคิดดีไอดอล ส่ือดีมีไอเดีย คาดหวังว่าผู้รับสาร
เปูาหมายกลุ่มต่าง ๆ จะเกดิ ความตระหนกั รู้ เกิดความเขา้ ใจในประเด็นปัญหาสุขภาวะหลังจากได้รับชม
สื่อสุขภาวะเชิงสร้างสรรค์แล้ว โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับกลุ่มผู้รับสารเปูาหมายที่อยู่ในพื้นที่การออกจัด
กจิ กรรมสู่ชมุ ชน ซ่งึ นอกจากจะได้รบั ชมสื่อสขุ ภาวะทผี่ ลิตข้ึนแลว้ ยังไดร้ ับความรู้ ความเข้าใจ ในประเด็น
ปญั หาสขุ ภาพเพิ่มเติมจากการจัดกจิ กรรมรณรงค์ในรปู แบบต่าง ๆ และทางโครงการหวังผลว่าผู้รับสาร
เปูาหมายจากกลุม่ นี้ (จานวน 15 พืน้ ที่ จัดกิจกรรมตามจานวนทีม และสื่อท่ีผลิต) จะเกิดการตระหนักรู้
และพร้อมปรบั เปล่ยี นพฤตกิ รรมสุขภาวะของตนเองและคนรอบตัวไปในทิศทางทีด่ ตี ามมา

3. ผลทเ่ี กิดข้นึ กบั การสร้างเครอื ข่ายความรว่ มมือระหว่างผเู้ ก่ียวขอ้ ง ทางโครงการคาดหวัง
ที่จะให้เกดิ เครอื ขา่ ยในการทางานและแลกเปล่ยี นขอ้ มูล ข่าวสาร และองค์ความรู้ระหว่างกัน ทั้งในระหว่าง
สมาชิกทมี ผู้ผลิตสอ่ื กบั สถาบันการศกึ ษาทีต่ นเองสังกัด หรือระหว่างสมาชิกทีมผู้ผลิตสื่อจากต่างสถาบัน
การศกึ ษาหรอื ระหว่างสมาชิกทีมผผู้ ลิตสื่อกับเจ้าหน้าท่ีจากทางโครงการ หรือระหว่างสมาชิกทีมผู้ผลิตส่ือ
กบั เครอื ข่ายท่ีเกี่ยวข้องกับการทางานในการออกสู่พ้ืนท่ีปฏิบัติการชุมชนหรือระหว่างสมาชิกทีมผู้ผลิตส่ือ

28

กบั เครอื ข่ายนักวชิ าการทปี่ รึกษาโครงการ หรือระหว่างสมาชิกนักวิชาการที่ปรึกษาโครงการ ซ่ึงมาจาก
ตา่ งสถาบนั การศกึ ษา นอกจากน้ที างโครงการฯ เองก็คาดหวังทตี่ ้องการให้เกิดเครือข่ายในการทางาน
แลกเปล่ียนข้อมูล ข่าวสาร และองค์ความรู้ระหว่างทางโครงการฯ กับนักวิชาการที่ปรึกษาโครงการ
จากมหาวิทยาลัยทว่ั ภาคใต้ การเกดิ เครือขา่ ยระหว่างกนั ในทกุ ๆ ระดบั เช่นน้ี ย่อมนามาซ่ึงผลสัมฤทธิ์
ของการสือ่ สารเพอ่ื สขุ ภาวะต่อการแก้ไขปญั หาสขุ ภาวะในเดก็ และเยาวชนพน้ื ท่ภี าคใต้ตามมา

4.4 กระบวนการการคดั เลอื กทีมจากผ้สู มคั รท่ัวพื้นท่ีภาคใต้เพ่ือผ่านเข้ารอบ 15 ทีมสุดท้าย
ในโครงการคิดดไี อดอล สือ่ ดมี ีไอเดยี ปี 2

4.4.1 การประชาสัมพันธ์โครงการ เร่ิมจากการแจ้งข่าวสารผ่านช่องทางและสื่อต่าง ๆ
ในหลากหลายช่องทาง ได้แก่ การจัดทาเพจเฉพาะในรูปของเฟซบุ๊ก, การส่งจดหมายประชาสัมพันธ์
โครงการตรงไปยงั สถานศึกษาเปูาหมาย, การประชาสัมพันธ์ผ่านส่ือมวลชน, การออก Road Show
แนะนาโครงการตามสถาบันการศึกษา การทา Road Show เป็นกระบวนการที่ “ผู้ส่งสาร” (ตัวโครงการ)
ลงสื่อสารกับกล่มุ “ผรู้ บั สาร” (ผสู้ ่งผลงาน) โดยตรง และค่อนข้างประสบผลสาเร็จเป็นอย่างสูง เน่ืองจาก
ทางโครงการสามารถให้ความรู้ ความเขา้ ใจ การแนะนากติกาและช้ีแจงรายละเอียดต่าง ๆ ในการส่งผลงาน
เขา้ ประกวด ซง่ึ ช่วยใหก้ ลุ่มเยาวชนเปาู หมายเกิดความเข้าใจท้ังในตวั โครงการและกตกิ าเงื่อนไขต่าง ๆ
ในการส่งผลงานเขา้ ประกวด

4.4.2 การส่งแนวคิดในการนาเสนอเพื่อสู่กระบวนการคัดเลือก ขั้นตอนนี้กลุ่มเยาวชน
ซ่ึงส่งผลงานเขา้ ประกวดในรอบคดั เลอื ก รวมตวั กันทมี ละ 3 - 5 คน ทาการกาหนดประเด็นและคัดเลือก
แนวทางในการผลิตส่ือสุขภาวะจากโจทย์ที่ทางโครงการกาหนดให้ จากนั้นให้มีการส่งคลิปวีดีทัศน์
ความยาวประมาณ 3 นาที เพ่ือบอกเล่าเร่ืองราวและแนวคิดในการผลิตส่ือที่จะนาเสนอ โดยการส่ง
คลิปนั้นกลับไปยังทางโครงการผ่านช่องทางเพจเฟซบุ๊ค เพื่อให้คณะกรรมการพิจารณาคัดเลือก
เหลอื 15 ทมี เพ่ือผา่ นเขา้ รอบสุดทา้ ย เขา้ ส่รู อบค่ายอบรมเชิงปฏิบัติการ (Workshop) ต่อไป

การกาหนดให้ทีมท่ีผ่านการคัดเลือกมีจานวนทั้งหมด 15 ทีม ทางผู้ดาเนินโครงการ
ให้เหตุผลหลายประการ ดังนี้ เพื่อให้เหมาะสมกับการบริหารโครงการทั้งในแง่ของเงินงบประมาณ
ในการสนับสนุนกจิ กรรมของแตล่ ะทีม, การบริหารจัดการในการควบคุมและออกติดตามการผลิตส่ือ
และการจัดกิจกรรมในพ้ืนท่ีปฏิบัติการชุมชน, ระยะเวลาในการดาเนินโครงการ, ความครอบคลุม
ในพ้นื ทเ่ี ปูาหมาย, โอกาสในการกระจายตัวตามพื้นท่ีภูมิศาสตร์ของทีมที่ผ่านการคัดเลือก, ความเหมาะสม

29

ในด้านปริมาณของชิ้นงานสื่อ, คุณภาพของสื่อท่ีถูกผลิตออกมา, งบประมาณในภาพรวมทั้งหมด
ของโครงการ

กระบวนการนี้มีเยาวชนท่ัวภาคใต้ที่ศึกษาอยู่ในระดับมัธยมศึกษาและ อุดมศึกษา
สง่ ใบสมคั รและผลงานคลิปวีดโี อเข้าสโู่ ครงการทง้ั สิ้น 87 ผลงาน จาก 12 สถาบนั การศึกษา (มัธยมศึกษา
8 ทีม และอุดมศึกษา 79 ทีม ทางโครงการคิดดไี อดอล ส่ือดีมีไอเดีย พิจารณาคัดเลือกเหลือ 15 ทีม
เพ่อื เข้ารอบสดุ ท้าย ซงึ่ ใชเ้ กณฑใ์ นการคดั เลอื กทมี โดยพิจารณาจากองค์ประกอบ ดังน้ี ความคิดสร้างสรรค์
ในการผลิตสอ่ื รูปแบบในการผลิตสอ่ื โครงบทและวิธีการในการนาเสนอ การนาเสนอตรงกับประเด็น
โจทย์ท่ีทางโครงการกาหนด กลุ่มเปูาหมาย และรูปแบบในการออกจัดกิจกรรมให้ความรู้ต่อชุมชน
ความพรอ้ มในการเขา้ รว่ มโครงการ และศกั ยภาพท่จี ะผลิตชิน้ งานออกมาได้อย่างสมบูรณ์

โครงการคิดดีไอดอล สื่อดมี ีไอเดีย ปี 2 ได้ทาการคัดเลือกเยาวชนทั่วภูมิภาคภาคใต้
ทส่ี นใจสง่ ผลงานเขา้ ประกวดทงั้ หมด 87 ทีม ใหเ้ หลอื 15 ทมี สดุ ท้าย ซึ่งทั้ง 15 ทีมน้ี จะได้รับมอบหมาย
ให้ทาหน้าท่ีเป็น “ผู้ส่งสาร” ในการผลิตสื่อสุขภาวะเชิงสร้างสรรค์เพ่ือสร้างความตระหนักรู้สู่ชุมชน
จนเสรจ็ สิน้ ในทุกกระบวนการกส่ือสารตามท่กี ลา่ วมาขางต้น ซึ่ง 15 ทีม ท่ีผ่านการคัดเลือกจากโครงการ
ไดแ้ ก่

1. ทีมชอ่ ราชพฤกษ์มหาวิทยาลัยราชภัฏสรุ าษฏรธ์ านี
2. ทมี Banana Quality มหาวิทยาลยั หาดใหญ่
3. ทีมชายโฉด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรวี ิชยั
4. ทมี ฟาฏอนี มหาวิทยาลัยฟาฏอนี จังหวดั ปตั ตานี
5. ทมี TANN มหาวิทยาลัยราชภฏั ภูเกต็
6. ทีมไดเอท มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวชิ ยั
7. ทีม Choose Studio โรงเรียนมุสลิมศึกษา อาเภอเมือง จังหวัดสตูล
8. ทีมผดั ผักนา้ มนั จอ๋ ย มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสรุ าษฏรธ์ านี
9. ทมี นเิ ทศไมเนอร์ 96 มหาวิทยาลัยทักษิณ
10. ทมี บรุ งตานี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
11. ทีมนิเทศไมเนอร์ 97 มหาวทิ ยาลยั ทักษณิ
12. ทีมหลอดตะเกยี บ มหาวิทยาลัยหาดใหญ่
13. ทมี NP STUDIO โรงเรียนเหนือคลองประชาบารงุ อาเภอคลองทอ่ ม จังหวัดกระบี่

30

14. ทมี Be yourself มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลศรีวชิ ัย
15. ทีม VII โรงเรียนกัลยาณีศรีธรรมราช อาเภอเมอื ง จังหวดั นครศรธี รรมราช
จากภาพรวมของทั้ง 15 ทีมท่ีผ่านการคัดเลือก สามารถจาแนกผู้ผ่านการคัดเลือก
ออกเป็น 2 กลมุ่ ใหญ่ ตามระดบั การศกึ ษา ไดแ้ ก่ ทีมที่มาจากผู้ผลิตส่ือ ซึ่งกาลังศึกษาในระดับมัธยมศึกษา
จานวน 3 ทีม จาก 3 สถาบันการศึกษา และทีมท่ีมาจากผู้ผลิตสื่อ ซ่ึงกาลังศึกษาในระดับอุดมศึกษา
จานวน 12 ทีม จาก 7 สถาบันการศึกษา และสามารถจาแนกตามการกระจายตัวของพื้นที่ ได้ดังน้ี
ทีมผู้ผลิตส่ือจากพื้นที่ภาคใต้ตอนบน จานวน 4 ทีม จาก 3 จังหวัด คือ ภูเก็ต (1 ทีม) กระบี่ (1 ทีม)
สุราษฎร์ธานี (2 ทีม) และมีทีมผู้ผลิตสื่อจากพื้นท่ีภาคใต้ตอนล่าง จานวน 11 ทีมจาก 4 จังหวัด คือ
สตลู (1 ทีม) นครศรธี รรมราช (1 ทีม) สงขลา (7 ทมี ) และปตั ตานี (2 ทีม)

แผนภาพที่ 1 พนื้ ท่ีปฏบิ ตั ิการนกั สื่อสารสร้างสรรค์ไอเดียสขุ ภาวะภาคใต้ ปี 2561
จากโครงการคิดดีไอดอล ส่ือดีมไี อเดียแยกตามจังหวัด

31

แผนภาพที่ 2 พนื้ ที่ปฏบิ ัตกิ ารนักสือ่ สารสรา้ งสรรค์ไอเดยี สุขภาวะภาคใต้ ปี 2561
จากโครงการคิดดไี อดอล สื่อดมี ไี อเดยี แยกตามจังหวดั และรายชอื่ ทีมที่ผ่านเขา้ รอบ

15 ทีมสดุ ทา้ ย ตามชือ่ ทมี และสถาบันการศกึ ษาที่สงั กดั

32

4.4.3 กระบวนการจัดค่ายอบรมเชิงปฏิบัติการ (Workshop) ในข้นั ตอนนี้ทางโครงการ
ได้นาเยาวชนท่ีผ่านการคัดเลือก 15 ทีมสุดท้าย จากท่ัวภาคใต้มาเขา้ ค่ายอบรมเชิงปฏบิ ัติการร่วมกัน
เป็นเวลา 2 วนั โดยการนาวิทยากรมืออาชพี และมีประสบการณ์สูงมาให้ความรู้ ความเข้าใจในกระบวนการ
ขั้นตอนตา่ ง ๆ ของการเปน็ “นกั ส่ือสารสร้างสรรค์สุขภาวะ” ตลอดจนการให้ความรู้และขั้นตอนต่าง ๆ
ในการผลิตวดี ีทัศน์ “สื่อสุขภาวะเชงิ สร้างสรรค์” ตลอดจนการกาหนดทิศทางและการบริหารจัดการ
ในการนา “สื่อสุขภาวะเชงิ สรา้ งสรรค”์ ทีผ่ ลติ ขน้ึ มาน้นั ออกเผยแพร่สรา้ งความตระหนักรู้สู่ชุมชนเปูาหมาย
ซ่งึ เมอ่ื เสรจ็ สิน้ กระบวนการอบรมเชิงปฏบิ ตั ิการนแ้ี ลว้ เยาวชนแต่ละทีมจะได้รับเงินทุนสนับสนุนการผลิตสื่อ
และการบริหารจัดการกิจกรรมสร้างความตระหนกั รู้สู่ชมุ ชน เปน็ จานวนเงนิ ทมี ละ 20,000 บาท

ทางโครงการได้ให้เงินสนับสนุนการผลิตสื่อและการจัดกิจกรรมในรูปแบบของการทา
หนังสือสัญญารับเงิน โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้ทุกทีมมีความพร้อมในด้านต้นทุนการดาเนินงาน
อันจะส่งผลให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลในด้านต่าง ๆ ตามมาทั้งยังฝึกความรับผิดชอบ
ต่อการส่งมอบงานการผลิตช้ินงานสื่อ และยังฝึกวินัยการใช้เงินทุนในการบริหารจัดการโครงการ
ให้บรรลุตามวัตถุประสงค์

4.4.4 ข้นั ตอนการผลิต “สอื่ สขุ ภาวะเชงิ สรา้ งสรรค์” ข้นั ตอนน้เี ยาวชนแต่ละทีมทาการผลิต
สอื่ วีดที ัศนใ์ นเรอื่ งราวหรือประเด็นสขุ ภาวะต่าง ๆ ตามท่ีแต่ละทีมได้นาเสนอแนวความคดิ ต่อโครงการ
ซึ่งแต่ละทีมต่างดาเนนิ การตาม 3 ขัน้ ตอนหลกั (กระบวนการ 3 P) ในการผลิตสื่อวีดีทัศน์ ได้แก่ ข้ันตอน
การเตรียมการก่อนการถ่ายทา (Pre - Production) ข้ันตอนการถ่ายทา (Production) ขั้นตอน
หลังการถ่ายทา (Post Production) และเมื่อเสร็จสิ้นกระบวนการผลิตทั้งหมดแล้ว ทั้ง 15 ทีม
ต้องส่งผลงานวีดีทัศน์นั้นให้คณะกรรมการของโครงการประเมินคุณภาพ และปรับแก้ไขรูปแบบ
ตลอดจนเนื้อหาจนสมบรู ณ์กอ่ นท่จี ะนาส่อื วดี ีทัศนน์ ้ี เผยแพร่ผา่ นช่องทางสื่อออนไลน์ ก่อนนาออกไป
สร้างความตระหนักรู้สูช่ ุมชนเป็นขนั้ ตอนต่อไป

4.4.5 ข้ันตอนการนา “ส่ือสุขภาวะเชิงสร้างสรรค์” สู่ชุมชนเพื่อสร้างความตระหนักรู้

33

ในประเด็นสุขภาวะตามท่ีได้กาหนดโจทย์ไว้ ข้ันตอนนี้เป็นกระบวนการสื่อสารที่มุ่งผลลัพธ์ในเชิง
การรณรงค์เพ่ือให้กลุ่มเปูาหมายในชุมชน (ซ่ึงได้แก่ นักเรียน นักศึกษา ในระดับการศึกษาต่าง ๆ
ตามท่ีแต่ละทีมกาหนดเป็นกลุ่มเปูาหมายข้ึนมา) โดยกระบวนการการส่ือสารอาจแตกต่างออกไป
ขึน้ อยูก่ ับการออกแบบกิจกรรมของแต่ละทีม แต่จะมีกิจกรรมหลักที่ทุกทีมต้องปฏิบัติ ได้แก่ การนาสื่อ
วดี ีทัศนข์ องทมี ตนเองออกไปนาเสนอใหก้ ลมุ่ เปูาหมายชมก่อนจะมีกิจกรรมต่าง ๆ ตามมา (รายละเอียด
อยู่ในผลการวิจัยที่จะกลา่ วถึงตอ่ ไป)

4.4.6 ข้ันตอนการเผยแพร่วีดที ัศน์ “สือ่ สขุ ภาวะเชิงสร้างสรรค์” สู่สาธารณะผ่านชอ่ งทาง
ส่ือออนไลน์หลังจากได้รับข้อเสนอแนะในการปรับแก้ไขวีดีทัศน์จากคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
จากทางโครงการแล้วผู้ผลิตสื่อทุกทีมได้ทาการปรับแก้ไขชิ้นงานส่ือและเผยแพร่ผ่านสื่อออนไลน์
ใน 2 ช่องทาง คือ ผ่าน You Tube และผ่าน Facebook Fanpage ของทางโครงการโดยตรง
ซง่ึ ใช้ชื่อ Fanpage ใน Facebook ว่า “KIDDEEIDOL” นอกจากนี้ยังมีการเผยแพร่ผ่านทาง Facebook
ส่วนตัวของสมาชิกภายในทีม รวมถึงการส่งข้อมูลต่อ (การแชร์) ต่อไปยังบุคคลอ่ืน ๆ และในบางทีม
มกี ารนาไปเผยแพร่ในสื่อออนไลน์ เชน่ เวบ็ ไซต์ของสถาบนั การศึกษาทต่ี นสังกัดอยู่ เป็นการช่วยกระจาย
เน้ือสารไปสู่สงั คมวงกวา้ งมากยง่ิ ข้ึน

4.4.7 กิจกรรมการสรุปงาน หลังจากขั้นตอนการเผยแพร่วีดีทัศน์ (ภาพยนตร์ส้ัน)
สสู่ าธารณะผา่ นส่อื ออนไลน์ผ่านไปประมาณ 2 เดอื น ผู้จัดโครงการได้นานักเรียนและนักศึกษาผู้ผลิตส่ือ
ท้งั 15 ทมี มาเขา้ ร่วมการสรุปงานเพื่อเรียนรู้และแลกเปลี่ยนประสบการณ์ระหว่างกัน เป็นการหาข้อสรุป
ร่วมกันระหว่างผู้ผลิตสื่อกับทางผู้จัดโครงการในประเด็นผลสาเร็จของโครงการ ตลอดจนการร่วมกัน
เสนอแนวทางการแกไ้ ขปัญหาจากการดาเนนิ โครงการในทุกข้ันตอนทผี่ า่ นไป

4.4.8 กิจกรรมปดิ โครงการด้วยการจัดนิทรรศการและการเสวนาแลกเปลย่ี นประสบการณ์
กจิ กรรมนีจ้ ัดขนึ้ ในวนั ที่ 11 ตลุ าคม 2561 ณ ลานอเนกประสงค์ศูนย์การค้าไดอาน่า อาเภอหาดใหญ่
จังหวัดสงขลา โดยนาตัวโครงการและผลงานการผลิตสื่อของทั้ง 15 ทีม มาเผยแพร่ในลักษณะของ
การจัดนิทรรศการ เพ่ือขยายฐานการรับรู้ในตัวโครงการ ทั้งยังเป็นการเผยแพร่โครงการและผลงาน
สือ่ แกส่ าธารณะชนทั่วไป

กิจกรรมปดิ โครงการคิดดีไอดอล สื่อดีมีไอเดีย ปีที่ 2 ยังประกอบไปด้วยการเสวนา
สรุปภาพรวมทั้งหมดของกิจกรรม โดยมีผู้ร่วมเสวนา ประกอบไปด้วย ตัวแทนนักศึกษาผู้ผลิตสื่อ

34

ตวั แทนนักวิชาการ ตัวแทนสื่อมวลชน และตัวแทนจากสานักงานกองทุนสนบั สนนุ การสร้างเสริมสุขภาพ
(สสส) นอกจากนี้ยงั มกี ิจกรรมภาคบนั เทงิ จากศิลปินดาราและนักร้องสังกดั บรษิ ัทแกรมมี่เอนเตอร์เทนเมนท์
และกิจกรรมการเสวนาเล่าเร่ืองเพื่อสร้างแรงบันดาลใจจากสองพิธีกรคู่แห่งรายการ “หนังพาไป”
ทางสถานีโทรทศั นไ์ ทยพีบีเอส

ตารางท่ี 1 ชว่ งเวลาในการดาเนนิ โครงการคดิ ดีไอดอล สอ่ื ดีมไี อเดีย ปที ่ี 2

การประกาศ ผู้สนใจ ประกาศผล ขัน้ ตอน การนาสอื่ กจิ กรรม การปดิ
โจทย์และ ส่งแผนงาน ผู้ผา่ น การผลติ ออก ลงพ้ืนที่ และ
รบั สมัคร การผลติ ส่ือ สรปุ ผล
ผู้สนใจ เพอื่ เข้าสู่ การคัดเลือก สอื่ เผยแพร่ ปฏบิ ัติการ โครงการ
เข้ารว่ ม การคดั เลอื ก และกิจกรรม ชุมชน
โครงการ Workshop เมษายน ตุลาคม
ให้ความรู้ - 2561

แก่ทมี มถิ ุนายน
2561
ผลติ ส่อื

กมุ ภาพันธ์ กมุ ภาพันธ์ มีนาคม กรกฎาคม สงิ หาคม
2561 -
2561 - 2561
กนั ยายน
มีนาคม 2561

2561

35

แผนภาพท่ี 3 องคป์ ระกอบหลักของการดาเนนิ งานในโครงการคดิ ดีไอดอล สอ่ื ดีมีไอเดยี

การสือ่ สารเชงิ ประเด็น - ประเด็นสุขภาวะลดอว้ นในเดก็ และเยาวชน
- ประเดน็ สุขภาวะสง่ เสริมการกินผักและผลไม้

ในเด็กและเยาวชน
- ประเดน็ สขุ ภาวะปกปอู งนักสูบ, นักดื่มหน้าใหม่
- ประเดน็ สขุ ภาวะเพิม่ กจิ กรรมทางกาย

การออกแบบและผลิตส่อื - การเตรียมการผลิต (Pre - Production)
- การผลติ (Production)
- กระบวนการหลังการผลิต (Post Production)

การนาเสนอสอ่ื (ภาพยนตรส์ ั้น) - การออกแบบกิจกรรมเสริม
และการจัดกจิ กรรม - กาหนดพน้ื ที่ปฏบิ ัตกิ ารชุมชนและกาหนด

ในพน้ื ท่ปี ฏบิ ัตกิ ารชุมชน กลุม่ ผู้รบั สารเปาู หมาย
- นาเสนอส่อื สุขภาวะเชงิ สรา้ งสรรค์

36

การนาสอ่ื ไปเผยแพร่ - นาเสนอผ่าน You Tube
ผ่าน Social Media - นาเสนอผ่าน Facebook
- นาเสนอผ่าน Website

4.5 การคดั เลอื กประเด็นทต่ี ้องการสื่อสารในฐานะผ้สู ง่ สาร

จากการเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ผู้ร่วมโครงการจากทีมต่าง ๆ พบว่า การตัดสินใจ
เลือกประเด็นเพื่อการส่ือสารและการเลือกแกนเรื่อง (Theme) เพื่อผลิตส่ือสุขภาวะเชิงสร้างสรรค์
นน้ั เกดิ ขึ้นจากสมาชิกแตล่ ะคนภายในทีมได้ประชุมระดมความคิดและนาเสนอเพื่อหาขอ้ สรปุ ร่วมกัน
ในลกั ษณะของการ “กาหนดวาระในการส่อื สาร” (Agenda Setting) ขน้ึ มาว่าจะสื่อสารในเรื่องสุขภาวะ
ในประเด็นใด จากโจทย์ประเด็นทั้ง 4 ที่ทางโครงการกาหนดมาให้ซึ่งส่วนใหญ่มักมี “แนวคิด”
มาจากเหตุผล ดงั นี้

4.5.1 เลอื กประเดน็ ในการสือ่ สารซ่งึ เปน็ เรือ่ งใกลต้ ัว
จากการศึกษาพบว่า มผี ู้ผลติ ส่ือทีเ่ ขา้ รว่ มโครงการหลายทีม ได้นาเรอ่ื งใกลต้ วั หรือนา

สถานการณท์ ตี่ ัวเองมีความใกลช้ ิดกับประเด็นปัญหา ซึ่งต้องการส่ือสารมากาหนดเป็น “ประเด็นหลัก”
ในการสือ่ สาร ดงั น้ี

ทีม TANN จากมหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต ต้องการสื่อสารในประเด็น “การลด
ความอ้วนในกล่มุ เด็กและเยาวชน” เน่อื งจากเลง็ เห็นวา่ ในพื้นที่จงั หวดั ภูเก็ต มีอัตราของเด็กและเยาวชน
ซึ่งมสี ภาพอว้ นอยู่เป็นจานวนมาก ท้ังนี้มีสาเหตุมาจากจังหวัดภเู กต็ เปน็ เมอื งทอ่ งเที่ยว ทาใหม้ ีร้านค้า
ร้านอาหาร และร้านสะดวกซ้ือเป็นจานวนมาก ซึ่งส่งผลให้เด็กและเยาวชนในพ้ืนท่ี มีพฤติกรรม
การบรโิ ภคทสี่ ามารถ “เข้าถงึ ” อาหารทีใ่ หพ้ ลังงานหรืออาหารทีม่ ปี ริมาณไขมนั สงู ได้มากกวา่ ปกติ

ทีมฟาฏอนี มหาวิทยาลัยฟาฎอนี จังหวัดปัตตานี นาเร่ืองใกล้ตัวประเด็น “พ้ืนท่ี
การออกกาลงั กายสาหรบั สตรีมสุ ลมิ ” มานาเสนอ ซึ่งตามหลักศาสนาอิสลามผู้หญิงจะต้องไม่เปิดเผย
พฤติกรรมทางรา่ งกายตอ่ หน้าสาธารณชน (โดยเฉพาะกับเพศตรงข้าม) ซ่ึงส่งผลให้การออกกาลังกาย

37

ของผู้หญิงมุสลิมจาต้องหาสถานที่ท่ีเป็นพ้ืนที่เฉพาะ ผู้ผลิตส่ือทีมนี้จึงคานึงถึงเรื่องความเหมาะสม
กับความแตกต่างเชิงวัฒนธรรม (Culturally Sensitive) ของกลุ่มเปูาหมายแต่ละกลุ่มมากาหนด
เป็นแนวคิดท่จี ะส่อื สารด้วยการหาวธิ ีง่าย ๆ สาหรับการออกกาลังกายในกลุ่มสตรีมุสลิม ซึ่งมีความสัมพันธ์
เป็นกล่มุ เพือ่ นกัน

ทีม Choose Studio โรงเรียนมุสลิมศึกษา จังหวัดสตูล ได้มีการสารวจข้อมูล
จากสานักงานสาธารณสุขจงั หวดั สตูล ถงึ สถานการณข์ องเด็กทขี่ าดสารอาหารในพื้นที่ ตาบลบ้านควน
อาเภอเมือง จังหวัดสตูล และพบว่ามีเด็กขาดสารอาหารเป็นจานวนมาก เน่ืองจากมีสาเหตุมาจาก
หลายปัจจัย ซึ่งหนึ่งในสาเหตุเหลา่ นน้ั คอื การไม่บรโิ ภคผักและขาดการออกกาลังกาย นักเรียนผู้ผลิตสื่อ
ทีมนีจ้ ึงไดเ้ ลือกแนวคิดดงั กลา่ วมาผลติ สื่อและนาเสนอเน้นในพ้ืนท่ีกลุ่มเปูาหมายหลักโดยตรง ประกอบกับ
สมาชิกในทีมผลิตส่ือต้องการถ่ายทอดประสบการณ์จริงของเพ่ือนในทีม ซ่ึงมีร่างกายที่อ้วนและมี
นา้ หนักตัวมากถึง 100 กิโลกรัม และต่อมาสมาชิกคนนี้สามารถลดน้าหนักตัวลงมาจนอยู่ในสภาวะ
นา้ หนักปกตติ ามวยั ได้ ด้วยการปรบั เปล่ยี นพฤตกิ รรมโดยการหนั มาบริโภคผักและผลไม้ ไปพร้อม ๆ กับ
การออกกาลงั กายอย่างจรงิ จังและสมา่ เสมอ

ทีม NP Studio โรงเรียนเหนือคลองประชาบารุง อาเภอคลองท่อม จงั หวัดกระบี่
เลอื กส่ือสารจากประเดน็ ปัญหาสภาพสังคมโดยรอบของอาเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ ซ่ึงมีนักเรียน
และวัยร่นุ ในพื้นท่ขี าดความเขา้ ใจในเร่ืองพิษภัยของบหุ ร่ี ประกอบกบั พฤติกรรมการอยากรู้ อยากลอง
เน่ืองจากการสังเกตเห็นผู้ใหญ่จานวนมากในพื้นท่ีนิยมสูบใบจาก (พืชเฉพาะถ่ินใต้ นาใบมาตากแห้ง
แล้วมวนสูบกับยาเส้น) นกั เรียนและวัยร่นุ เหลา่ น้ีจงึ เลียนแบบผู้ใหญ่ แต่เปล่ียนพฤติกรรมจากการสูบ
ใบจากมาเป็นการสบู บุหร่ี เนอื่ งจากหาซอื้ ไดง้ า่ ยและสะดวกกวา่ ในการสบู

ทีม VII โรงเรียนกัลยาณีศรีธรรมราช อาเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช
เลือกสื่อสารจากประเด็นการปกปูองนักสูบหน้าใหม่ เนื่องจากมองว่าประเด็นนี้เป็นเรื่องใกล้ตัว
และเกดิ ผลกระทบอย่างชัดเจนต่อบริบทภายในของโรงเรียนกลั ยาณศี รีธรรมราชเอง และยังต้องการ
สอ่ื สารไปยงั นักเรียนกลุ่มเปูาหมายหลักในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และมธั ยมศึกษาปีท่ี 2 ซึ่งเป็น
รอยต่อของวัยที่มพี ฤติกรรมอยากรู้อยากลอง และมีโอกาสสงู ที่จะนาตนเองไปสกู่ ารสูบบุหรใี่ นท้ายที่สุด

4.5.2 การนาประสบการณร์ ว่ มหรือความสัมพันธใ์ กลช้ ดิ มาเป็นประเดน็ ในการสอื่ สาร
ทีมนิเทศไมเนอร์ 97 มหาวิทยาลัยทักษิณ จังหวัดสงขลา นาประเด็น “ส่งเสริม

การกนิ ผักและผลไม้ในเดก็ ” มาสื่อสาร เนอื่ งจากหน่งึ ในสมาชิกของทีมผลิตส่ือมีน้องชายท่ีไม่ชอบกินผัก

38

และผลไม้ ทั้งยงั เปน็ เดก็ ที่มีพฤติกรรมติดเกมออนไลน์ ซึ่งส่งผลตามมาให้เจ้าตัวนิยมรับประทานอาหาร
ประเภทขนมถุง หรืออาหารขยะ (Junk Food) อยู่เป็นประจาในขณะเล่นเกม และก่อให้เกิดพฤติกรรม
ปฏิเสธการบริโภคผักและผลไม้อย่างชัดเจนย่ิงข้ึน ด้วยเหตุน้ีสมาชิกในทีมผลิตสื่อผู้นี้ จึงตัดสินใจ
ชวนเพ่ือนสมาชกิ ในทีมมารว่ มกันออกแบบและผลิตสอื่ เพอื่ การส่ือสารในประเดน็ ดงั กลา่ ว

ทมี บุรงตานี มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ผผู้ ลติ สอื่ ทมี นี้ได้สังเกต
พฤติกรรมเพ่ือน ๆ นักศึกษารอบตัว และพบว่ามีเพ่ือนนักศึกษาจานวนหนึ่งมีพฤติกรรมหลีกเลี่ยง
การกินผัก โดยมักตักอาหารประเภทผักออกจากจานอาหารในแต่ละมื้อ นักศึกษาผู้ผลิตสื่อกลุ่มนี้
จึงเกิดแรงบนั ดาลใจทจ่ี ะผลิตสือ่ ซง่ึ เข้าใจง่ายและสามารถสอดแทรกความรู้ในการเปลี่ยนแปลงพฤตกิ รรม
ให้กลุ่มนักศกึ ษาเหลา่ นนั้ หันมาบริโภคผัก

ทีมไดเอท มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย จังหวัดสงขลา เลือกส่ือสาร
ในประเด็นลดอ้วนในเด็ก เนืองจากหน่ึงในสมาชิกของทีมมีน้องสาวซึ่งน้าหนักตั วเกินมาตรฐาน
และมักถูกเพ่ือนในโรงเรียนล้อเลียนอยู่เสมอ ทีมไดเอทจึงให้ความสาคัญกับประเด็นนี้และเกิด
แรงบันดาลใจท่ีจะผลิตส่ือท่ีนาเร่ืองราวจากคนใกล้ชิดมาเป็นโจทย์ในการดาเนินเรื่อง ประกอบกับ
การวางเปูาหมายที่จะนาสื่อน้ีไปสู่พื้นท่ีปฏิบัติการชุมชนในโรงเรียนระดับประถมปลาย ซ่ึงมีที่ตั้ง
อยู่บริเวณเดียวกับภมู ลิ าเนาของผผู้ ลิตส่ือเอง

ทีม Banana Quality มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ เลือกส่ือสารในประเด็นส่งเสริม
การกนิ ผักและผลไม้ในเดก็ เนื่องจากน้องชายของหวั หน้าทมี ไม่ชอบกินผักและผลไม้ ทั้งยังมพี ฤตกิ รรม
ติดเกมออนไลน์และยังมพี ฤตกิ รรมกนิ อาหารชนิดขนมถงุ ไปพร้อม ๆ กับการเล่นเกม หัวหน้าทีมผลิตสื่อ
จึงเกิดความสนใจและเชิญชวนเพื่อนสมาชิกในทีมให้มาร่วมกันออกแบบและผลิตส่ือเพื่อการส่ือสาร
ผ่านส่ือและกจิ กรรมออกสูพ่ น้ื ทปี่ ฏบิ ตั ิการชมุ ชน

4.5.3 การนาปัญหาสุขภาวะทส่ี ังคมประสบอยู่มาเปน็ โจทยว์ าระในการสื่อสาร
ทีม Be yourself มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย จังหวัดสงขลา

มองว่าประเด็นนกั สูบในสถานศกึ ษาโดยเฉพาะสถิติผู้สูบบุหรี่ในระดับมหาวิทยาลัยมีอยู่เป็นจานวนมาก
และเป็นประเด็นท่ีพบเห็นได้ท่ัวไปในทุกสถานการศึกษาในระดับน้ี ทั้งยังเป็นประเด็นทางสังคม
ซงึ่ ส่งผลกระทบในวงกว้างและจาเปน็ ตอ้ งได้รับการกาหนดเป็นวาระในการสื่อสารเพื่อสร้าง “จิตสานึก”
ต่อการตระหนักถึงผลร้ายที่จะตามมาจากการเป็นนักสูบในวัยเรียน

39

ทีมนเิ ทศไมเนอร์ 96 มหาวทิ ยาลยั ทกั ษณิ จังหวัดสงขลา คัดเลอื กประเดน็ สง่ เสริม
การกินผักในเด็กประถม มาเป็นประเด็นหลักในการสื่อสาร เนื่องจากการมองว่าปัญหาสุขภาวะ
เร่ืองการกินผักในเด็กวัยเรียน โดยเฉพาะกับนักเรียนจานวนมากที่ศึกษาอยู่ในสถานศึกษาเขตเมือง
หรือเขตชานเมือง ซ่ึงมักเป็นกลุ่มท่ีมีพฤติกรรมไม่นิยมหรือหลีกเลี่ยงการกินผัก โดยมีสาเหตุหลัก
มาจากสภาพแวดล้อมการเป็นชุมชนเมือง ประกอบกับการเลี้ยงดขู องผูป้ กครองและการปฏิบัติต่อเด็ก
วัยแรกเริ่มในเร่ืองพฤติกรรมการกินผัก ส่งผลให้เด็กปฏิเสธการกินผักจนเคยชินเป็นนิสัย และถือว่า
ประเดน็ นเ้ี ป็นปญั หาสขุ ภาวะทส่ี ง่ ผลกระทบต่อสุขภาพของคนในสังคมโดยตรง

ทีมผดั ผักน้ามนั จ๋อย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี เลือกนาเสนอการผลิตส่ือ
ในประเดน็ การลดอ้วนและส่งเสริมการกินผักและผลไม้ในเด็ก เนื่องจากมองว่าสภาวะแวดล้อมของเด็ก
ในเขตเมืองจะมีความเส่ียงในประเด็นน้ีสูงกว่าเด็กในเขตชนบท อันเนืองมาจากสภาพแวดล้อม
ในชุมชนเมือง ซ่งึ มีร้านจาหน่ายอาหารประเภทฟาสต์ฟูดอยู่เป็นจานวนมาก ส่งผลให้เด็กในเขตเมือง
มีความเสี่ยงสูงมากต่อสภาวะอ้วนและสภาวะการไม่นิยมกินผักและผลไม้ จึงเกิดแนวคิดที่จะนา
ประเด็นน้ีมาผลติ เป็นสื่อ

4.5.4 ความต้องการในการสร้าง “ประเดน็ เฉพาะ” ข้นึ มาเปน็ วาระในการสือ่ สาร
ทมี ช่อราชพฤกษ์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสุราษฎร์ธานี ต้องการจะอนุรักษ์พร้อมไปกับ

การร้ือฟน้ื “มวยไชยา” ซึ่งเป็นศิลปะการต่อสู้ท้องถิ่นของอาเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี และเป็น
ศลิ ปะการต่อสู้ที่เป็นเอกลักษณค์ ่พู นื้ ที่ทสี่ ืบทอดกันมาอย่างช้านาน ซึง่ ได้รบั ความสนใจน้อยลงในปัจจุบัน
ทมี ชอ่ ราชพฤกษจ์ งึ กาหนดประเดน็ เฉพาะในการสื่อสารขึ้นมา โดยนาท่าต่อสู้ของมวยไชยา มาประยุกต์
เป็นท่าออกกาลังกายเพ่ือเพ่ิมกิจกรรมทางกายในกลุ่มเยาวชน โดยเฉพาะกลุ่มเปูาหมายนักศึกษา
ทอี่ ยู่ประจาหอพกั ซึ่งปกตมิ ักมพี ฤติกรรมละเลยเร่อื งสุขภาพและขาดการใสใ่ จในเรอ่ื งการออกกาลงั กาย

ทีมชายโฉด มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย จังหวัดสงขลา มีวัตถุประสงค์
ทีจ่ ะจดุ ประเด็นให้สังคมได้เห็นคุณค่าของการทากิจกรรมท่ีคนท่ัวไปมองข้ามหรือมองว่าเป็นกิจกรรม
ของคนเฉพาะกลุ่ม ทีมชายโฉดได้นากิจกรรมการเต้นที่เรยี กเฉพาะว่า “การเต้น B - Boy” มาผนวก
เข้ากับประเดน็ การออกกาลังกายตามโจทย์ ซ่ึงทางโครงการได้กาหนดไว้โดยมุ่งหวังให้กิจกรรมการเต้น
B - Boy ไดถ้ ูกเผยแพรอ่ อกสสู่ ังคมและยงั ชว่ ยเปดิ พื้นทกี่ ารแสดงออกในการทากิจกรรมดังกล่าวให้กับ
ผ้ทู ี่มสี ว่ นเก่ยี วข้องกับการออกกาลงั กายในลกั ษณะเฉพาะ

40

จากการวิจยั พบว่าแนวคิดและการคัดเลือกประเด็นท่ีต้องการส่ือสารในฐานะผู้ส่งสาร
ของแต่ละทีมนั้นเกิดจากการ “กาหนดประเด็นวาระ” (Agenda Setting) ขึ้นมาจากความสนใจ
ของสมาชิกทมี ผ้ผู ลิตส่อื เปน็ หลกั พนื้ ฐานลาดับแรก จากนน้ั สมาชกิ ในทีมจงึ มาพิจารณาถึงความเหมาะสม
และความเปน็ ไปไดท้ ี่จะทาให้การผลติ ชนิ้ งานสอ่ื ออกมาอย่างสมบูรณ์และนาไปเผยแพร่ต่อกลุ่มผู้รับสาร
เปูาหมายในพ้ืนท่ีชุมชนได้อย่างบรรลุตามวัตถุประสงค์ท่ีต้ังไว้ โดยอาศัยการเลือกเร่ืองที่จะผลิตส่ือ
และการกาหนดประเด็นวาระในการส่ือสารจากการเลือกประเด็นในการสื่อสารซ่ึงเป็นเรื่องใกล้ตัว
หรือการนาประสบการณ์ร่วม หรือความสัมพันธ์ใกล้ชิดที่ตนเองมีอยู่มาเป็นประเด็นในการสื่อสาร
หรือการนาปัญหาสุขภาวะที่สังคมประสบอยู่มาเป็นโจทย์วาระในการสื่อสาร หรือมีความต้องการ
ในการสร้าง “ประเด็นเฉพาะ” ขึ้นมาเป็นวาระในการส่ือสาร (ซ่ึงในทางปฏิบัติจริงแล้วอาจเกิดจาก
การรวมหลายแนวคิดดงั ท่กี ลา่ วไว้ผสานเข้าด้วยกัน)

4.6 กระบวนการในการผลิตส่ือสขุ ภาวะเชิงสร้างสรรค์ โครงการคดิ ดีไอดอล สือ่ ดีมีไอเดยี

โดยหลกั การทวั่ ไปในการผลิตสื่อวีดีทศั นน์ ้นั จะประกอบด้วย 3 ขั้นตอนหลักในการดาเนินงาน
หรือที่เรียกวา่ กระบวนการ 3P อันได้แก่ Pre Production (ข้ันการเตรียมการผลิต), Production
(ข้นั การผลติ ) และ Post Production (ข้ันตอนหลังการผลิตหรือข้ันตอนการลาดับภาพ) จากการศึกษา
พบว่า การผลิตส่อื วีดีทศั น์สอ่ื สขุ ภาวะเชงิ สรา้ งสรรคใ์ นโครงการคดิ ดีไอดอล สื่อดีมีไอเดีย มีกระบวนการ
จาก 3 ขนั้ ตอนดงั กลา่ ว ดงั น้ี

4.6.1 ข้ันตอน Pre Production หรือการเตรยี มการก่อนการผลติ
จากการศกึ ษาวจิ ยั พบวา่ หลังจากได้รับการคัดเลือกเป็น 15 ทีมสุดท้าย ที่ได้เข้าร่วม

โครงการแล้ว แต่ละทีมจะเริ่มเข้าสู่กระบวนการเตรียมการผลิตสื่อ โดยการศึกษาค้นคว้าข้อมูล
ข้อเท็จจริงต่าง ๆ ท่ีมีความสัมพันธ์กับประเด็นการส่ือสารสุขภาวะตามที่ทีมนั้น ๆ เลือกนาเสนอ
ทั้งน้ีเพ่ือให้เกิดความถูกต้องของเนื้อหา (Accuracy) และความเช่ือถือได้ของเน้ือหา (Reliability)
จากน้ันจึงนาข้อมูลมาใช้ประกอบในการคิดโครงเร่ือง (Theme) ซึ่งนาไปสู่กระบวนการใช้ความคิด
สร้างสรรค์ (Creativity) เพื่อกาหนดออกมาเป็นบทในการถ่ายทา (Shooting Script) ซึ่งจากการศึกษาวิจัย
พบว่า ทมี ผผู้ ลติ สอื่ ได้อาศัยข้อมูลจากหลายแหลง่ เช่น สืบค้นข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต การรวบรวมข้อมูล
จากเอกสาร การสังเกตการณ์ตรง การสอบถามหรือสัมภาษณ์บุคคล การลงพื้นท่ีเพ่ือรวบรวมข้อมูล
การนาขอ้ มูลจากหน่วยงานที่เก่ียวข้องมาใช้งาน เป็นต้น จากนั้นจึงมีการกาหนดองคป์ ระกอบตา่ ง ๆ

41

ในการถ่ายทา ได้แก่ การเตรียมพร้อมด้านอุปกรณ์ถ่ายทา การกาหนดวันถ่ายทา การเลือกสถานที่ถ่ายทา
การคัดเลอื กหรือกาหนดตัวแสดง การเตรยี มเครอื่ งแต่งกายและอุปกรณ์ประกอบฉาก การแบ่งหน้าท่ี
และความรับผิดชอบในการทางาน การวางงบประมาณในการผลิต การกาหนดโครงเรื่อง และ
การเขียนบท ฯลฯ โดยทุกกระบวนการหรือข้ันตอนน้ีจะมีการประชุมระดมความคิดและร่วมกัน
เสนอแนะข้อคิดเห็นร่วมกันระหว่างสมาชกิ ภายในทมี จนได้ขอ้ สรุปไปในทศิ ทางเดยี วกัน

4.6.2 ขั้นตอนการ Production (การถ่ายทา)
จากการวิจยั พบวา่ กระบวนการในการผลิตสื่อของแต่ละทีมจากทั้ง 15 ทมี ท่ไี ด้รับ

การคัดเลือกเข้าสู่โครงการน้ัน มีความแตกต่างกันในด้าน “กระบวนการทางาน” และ “คุณภาพ”
ของงานส่ือที่ผลิตออกมา ท้ังนี้มีผลมาจากพื้นฐานความรู้ในกระบวนการผลิตสื่อภาพเคลื่อนไหว
(ส่อื วดี ที ัศน์) ท่ีมีความแตกต่างกัน โดยเฉพาะกบั ทมี ผ้ผู ลิตท่ีกาลังศึกษาอยใู่ นระดบั มัธยมศกึ ษา

ในข้ันตอนนีเ้ ป็นการบันทึกภาพและเสียงใหเ้ ป็นไปตามบทและโครงเร่ืองท่ีได้วางไว้
ซ่ึงการผลิตงานในลักษณะของภาพยนตร์สั้นน้ันต้องมีการแสดงเข้ามาประกอบ ข้ันตอนน้ีจึงจาเป็น
ต้องอาศัยความพิถพี ิถันในการผลิตงาน และมีการบันทึกภาพไว้หลากหลายมุมภาพในแต่ละบทบาท
การแสดงเพ่ือให้เกิดความสมบูรณ์มากท่ีสุด อันจะเป็นประโยชน์ต่อขั้นตอนการ Post Production
หรือกระบวนการหลงั การผลติ (การลาดบั ภาพ) ในลาดับต่อไป

ด้านอุปกรณ์ในการถ่ายทาเป็นไปตามความพร้อมของสถาบันการศึกษาที่สมาชิก
ของทีมสังกัดอยู่ หรือตามศักยภาพส่วนตัวของสมาชิกภายในทีม และพบว่าอุปกรณ์หลักที่ใช้
ในการถ่ายทาน้ัน มีอยู่ 3 ประเภท ได้แก่ 1) การถ่ายทาโดยใช้โทรศัพท์มือถือ 2) การถ่ายทาโดยใช้
กล้องถ่ายภาพ DSLR และ 3) การถา่ ยทาโดยใช้กล้องถ่ายทารายการโทรทัศน์ (ในทีมที่มีความพร้อม
เต็มศักยภาพ เช่น ทมี นิเทศไมเนอร์ 96 และนิเทศไมเนอร์ 97 จากมหาวิทยาลัยทักษิณ) การใช้อุปกรณ์
ในการถ่ายทาทีม่ คี ุณภาพตา่ งกันน้ี สง่ ผลตอ่ คณุ ภาพของภาพและเสียงท่บี นั ทกึ ออกมาในระดบั หนึง่

ด้านการบันทึกเสียงเป็นไปตามความพร้อมของสถาบันการศึกษาที่สมาชิกของทีม
สังกัดอยู่หรือตามศักยภาพส่วนตัวของสมาชิกภายในทีมเช่นกัน และพบว่าอุปกรณ์หลักที่ใช้
ในการบันทึกเสียงน้ัน มีอยู่ 5 ประเภท ได้แก่ 1) การอัดเสียงผ่านโทรศัพท์มือถือ 2) การอัดเสียง
โดยใช้ไมโครโฟน 3) การอัดเสียงผ่านไมค์ในตัวกล้องโดยตรง 4) การอัดเสียงโดยใช้ไวด์เลสไมค์
และ 5) การอัดเสยี งโดยใช้ไมค์บูม การใช้อุปกรณ์ในบนั ทึกเสยี งท่มี ีคุณภาพตา่ งกันน้ี ส่งผลต่อคุณภาพ

42

ของเสียงทบ่ี ันทึกออกมาอย่างเดน่ ชดั และกอ่ ใหเ้ กดิ ปญั หาในด้านคุณภาพของช้ินงานสื่อที่ผลิตตามมา
ในบางทมี

4.6.3 ขน้ั ตอนการ Post Production หรอื กระบวนการหลังการผลติ (การลาดับภาพ)
หลังจากการผลิตส่ือ (การถ่ายทา) เสร็จสิ้นลงแล้ว จะเข้าสู่กระบวนการ Post

Production ซ่ึงขั้นตอนน้ีประกอบไปด้วยองค์ประกอบหลัก ได้แก่ การลาดับภาพ (Editing)
การลงเสียงบรรยาย (Voice Over) การตัดต่อเสียง (Sound Editing) การทากราฟิกประกอบ
(Computer Graphic) การใส่คาบรรยาย (Super Imposing) การทาเสียงประกอบ (Sound Effect)
การทาเทคนิคพิเศษ (Special Effect) โดยมีการผสมผสานองค์ประกอบต่าง ๆ เหล่านี้เข้าด้วยกัน
จนออกมาเป็นชิ้นงานสื่อที่สมบูรณ์ (Master Edit) และแปลงสัญญาณช้ินงานท่ีตัดต่อสมบูรณ์แล้ว
ออกมาในรปู สอื่ บนั ทึก พร้อมนาไปใช้งานหรอื เผยแพร่ในส่อื ออนไลนต์ อ่ ไป

กระบวนการ Post Production ของผู้ผลิตสื่อแต่ละทีมนั้น มีวัตถุประสงค์เพ่ือให้เกิด
ความสมบูรณ์ของชิ้นงานส่ือมากที่สุด ซ่ึงในกระบวนการนี้จาเป็นต้องใช้ความคิดสร้างสรรค์
ในการลาดับภาพในทุกรายละเอียดของการทางาน ทั้งน้ีข้ึนอยู่กับความสามารถและประสบการณ์
การทางานสร้างสรรคส์ ื่อของแตล่ ะบคุ คลท่รี ับผดิ ชอบทาหน้าทใ่ี นการลาดับภาพน้ีสว่ นการใช้เคร่ืองมือ
ในการลาดับภาพน้ัน ขึ้นอยู่กับความถนัด ความชานาญของสมาชิกในทีมและโปรแกรมตัดต่อภาพ
ที่แตล่ ะทีมหรือสถาบันการศึกษานั้น ๆ มีใช้อยู่ เช่น โปรแกรม Final Cut PRO X, Adobe Premiere Pro,
Sony Vegas, Ulead, Davinci Resolve

จากการวิจัย พบว่า กระบวนการลาดับภาพในการผลิตสื่อสุขภาวะเชิงสร้างสรรค์
ในลักษณะของภาพยนตร์ส้ันจากโครงการคดิ ดีไอดอล ส่อื ดีมีไอเดียน้ีจะมีความสัมพันธ์กับโครงเร่ือง
หรือบทที่ได้เขียนไว้ และสัมพันธ์เป็นอย่างยิ่งกับคุณภาพและปริมาณของภาพจากการถ่ายทา
(Stock Shot) ทั้งนี้นอกจากผู้ลาดับภาพจะต้องใช้ความคิดสร้างสรรค์ (Creativity) เป็นอย่างสูงแล้ว
ยังตอ้ งใช้ “ศิลปะในการเล่าเรื่อง” ทงั้ เน้อื หาและภาพให้ออกมาอย่างสมบูรณ์ โดยการลาดับภาพพื้นฐาน
ซ่ึงนามาใชใ้ นการผลติ ภาพยนตร์ส้นั ในโครงการคดิ ดีไอดอล สอ่ื ดีมีไอเดีย นี้จะใช้เทคนิคการลาดับภาพ
ใน 3 รปู แบบหลัก คอื

1. การตัดชนภาพ (The Cut) เป็นวิธีการเชื่อมต่อภาพแบบพื้นฐานที่สุดที่ใช้กัน
คอื การตัดภาพชนกันจาก Shot หนึ่งต่อตรงเข้ากับอีก Shot หน่ึง เป็นการเปล่ียนภาพในพริบตาเดียว
จาก Shot หนง่ึ ไปอกี หนึง่ Shot


Click to View FlipBook Version