43
2. การผสมภาพ(The Mix หรือ The Dissolve) เป็นการค่อย ๆ เปล่ียนภาพ
จากหน่ึง Shot ไปยังอกี Shot หนึ่ง โดยภาพจะเหลื่อมกัน โดยผู้ชมสามารถมองเห็นการเปลี่ยนแปลงนี้ได้
เปน็ การลาดบั ภาพโดยการนา Shot มาเลือนทบั กนั โดยตอนใกล้จบของ Shot หน่ึงจะเร่ิมมี Shot ต่อไป
คอ่ ย ๆ ค่อยเห็นเด่นชัดขึ้นมา เมื่อ Shot เก่าจางหายไป Shot ใหม่ก็จะเข้มขึ้น เป็นเทคนิคในการสร้าง
ภาพใหม่แทนภาพของเก่า
3. การเลือนภาพ (The Fade) เป็นการเช่ือมภาพท่ีผู้ชมสามารถเห็นได้ มี 2 แบบ
คือ การเลือนภาพเข้า (Fade In) คือ การเริ่มภาพจากดาแล้วค่อย ๆ ปรากฏภาพซ้อนสว่างข้ึน และ
การเลือนภาพออก (Fade Out) คือ การทีภ่ าพในท้าย Shot ค่อย ๆ มืดดาสนทิ ลงจนหายไปในท่ีสุด
ในดา้ นองค์ประกอบอื่น ๆ ของการลาดับภาพ จากการวจิ ยั พบวา่ ผ้ผู ลติ สือ่ สุขภาวะ
เชิงสร้างสรรค์ในโครงการคิดดีไอดอล สื่อดีมีไอเดีย มีการใช้เทคนิคการลาดับภาพ เพื่อ “เล่าเร่ือง”
และสรา้ งความเข้าใจในเนื้อหาของภาพยนตรส์ ัน้ ตอ่ ผู้รับสาร (ผชู้ ม) ดังนี้
1. การใส่คาบรรยาย (Super Imposing) พบว่า มีการพมิ พ์ตัวอักษรเป็นคาบรรยาย
ประกอบการลาดับภาพเพ่ือให้เกิดความสมบูรณ์ของเนื้อหาท่ีนาเสนอ เช่น การใส่คาบรรยายตอกยา้
คาพดู ของตวั ละคร การใสค่ าบรรยายบอกถึงวิธีปฏิบัติตัวด้านสุขภาวะ การใส่คาบรรยายเพ่ือบอกถึง
สาระสาคญั ของเน้ือหาทตี่ ้องการเน้น การใส่คาบรรยายถอดความสนทนาของตัวละครจากภาษาท้องถ่ิน
ให้เปน็ ภาษาไทยภาคกลาง การใสค่ าบรรยายเพิ่มเติมจากเน้ือหาที่เป็นบทสนทนาในเรื่อง การใส่คาบรรยาย
เพอ่ื สรา้ งความความตลกขบขันหรอื สรา้ งลูกเลน่ เป็นตน้
2. การทากราฟิกประกอบ (Computer Graphic) พบว่า มีการใช้กราฟิกประกอบ
การลาดบั ภาพเพื่อสรา้ งความนา่ สนใจและชว่ ยให้เกิดความสมบรู ณข์ องเน้ือหา เช่น การทากราฟิกประกอบ
เพ่ือทาใหเ้ นื้อหาดเู ขา้ ใจงา่ ยขนึ้ การทากราฟิกประกอบเพ่ือสร้างการดึงดดู ใจในการรับชม การทากราฟิก
ประกอบเพื่อทดแทนภาพซ่ึงไม่สามารถถ่ายทามาได้ในกระบวนการถ่ายทาการทากราฟิกประกอบ
เพอ่ื ตอกย้าการจดจา การทากราฟิกประกอบเพอื่ สรา้ งลูกเลน่ ในการลาดับภาพ เป็นต้น
3. การทาเทคนิคพิเศษ (Special Effect) พบว่า มีการทาเทคนิคพิเศษประกอบ
การลาดับภาพ เช่น การทาเทคนิคพิเศษเพื่อสร้างความน่าสนใจในการรับชม การทาเทคนิคพิเศษ
เพอื่ สร้างจนิ ตนาการของผชู้ ม การทาเทคนิคพเิ ศษเพื่อใหเ้ กิดความสมบูรณ์ของเน้ือหา การทาเทคนิคพิเศษ
เพอ่ื ทดแทนภาพซึง่ ไม่สามารถถ่ายทามาได้ในกระบวนการถา่ ยทา เป็นตน้
4. การทาเสียงประกอบ (Sound Effect) พบว่า มีการทาเสียงประกอบการลาดบั ภาพ
44
เชน่ การทาเสยี งประกอบเพื่อให้สอดคล้องกับเน้ือหาท่ีนาเสนอการทาเสียงประกอบเพื่อสร้างสุนทรียะ
ในการรบั ชม การทาเสยี งประกอบเพื่อใหเ้ กดิ ความสมบรู ณ์ดา้ นเน้อื หา การทาเสียงประกอบเพื่อสร้าง
ลูกเล่นหรือล้อเลียนการกระทาของตัวละคร การทาเสียงประกอบเพ่ือทดแทนเสียงท่ีไม่ได้บันทึก
หรือบันทึกเสียงมาแบบไม่ได้คุณภาพ จากกระบวนการถ่ายทาการทาเสียงประกอบเพื่อกระตุ้น
หรือเรา้ อารมณใ์ นการรับชม เปน็ ตน้
จะเหน็ ไดว้ ่า กระบวนการ 3P ในการผลิตสื่อวีดีทัศน์ (ภาพยนตร์ส้ัน) น้ัน มีความสาคัญ
เป็นอย่างย่ิงต่อ “คุณภาพ” ของช้ินงานส่ือที่ผลิตข้ึนมา และส่งผลต่อ“ความสนใจ” ของผู้รับสาร
เปูาหมายและผ้รู บั สารท่วั ไปท่ีได้เข้ามาชมช้ินงานส่ือของโครงการคิดดีไอดอล สื่อดีมีไอเดียนี้ ท้ังนี้สามารถ
นาความสมั พนั ธท์ ง้ั หมดมาเสนอเป็นแผนภาพได้ ดงั น้ี
แผนภาพท่ี 4 กระบวนการในการผลติ สอ่ื วีดทิ ัศน์หรือภาพยนตรส์ ้ัน (กระบวนการ 3P)
Production
- การถา่ ยทา
- การบนั ทึกเสียง
- การกากับการแสดง
- การแสดง
- การจดั แสงในการถา่ ย
- การจัดองค์ประกอบฉาก
3P
Pre - Production Post Production
- การศกึ ษาขอ้ มูล - การลาดับภาพ
- การคดิ ประเด็นเรอื่ ง - การลงเสียงบรรยาย
- การวางโครงเร่อื ง - การใช้เสยี งประกอบ
- การเขยี นบท - การใสค่ าบรรยาย
- การเตรยี มความพร้อม - การทา Effects ประกอบ
- การทาชน้ิ งานไฟล์
ในการถ่ายทาด้านต่าง ๆ
45
4.7 ปัญหาหรืออุปสรรคในการผลิตสอ่ื สุขภาวะเชงิ สร้างสรรค์ คิดดไี อดอล ส่ือดีมไี อเดีย
จากการสัมภาษณ์ตวั แทนนักส่ือสารสุขภาวะทีมต่าง ๆ พบว่า กระบวนการในการผลิตสื่อ
สุขภาวะเชิงสร้างสรรค์เพ่อื เข้ารว่ มโครงการ “คิดดีไอดอล ส่ือดีมีไอเดีย” น้ัน เกิดปัญหาหรืออปุ สรรค
ซึง่ สามารถสรุปออกมาได้ ดงั น้ี
4.7.1 ปญั หาการขาดความรู้ ทักษะความชานาญ หรือประสบการณ์ในการผลิตส่ือวีดีทศั น์
ทง้ั นเ้ี นอื่ งมาจากโครงการคิดดีไอดอล ไดเ้ ปิดโอกาสให้เยาวชนตง้ั แต่ระดับมธั ยมศกึ ษาถงึ ระดับอุดมศึกษา
สามารถส่งผลงานเข้าร่วมประกวดได้อย่างเท่าเทียมกัน และไม่จากัดว่าจะต้องเป็นนักศึกษาท่ีเรียน
ดา้ นนเิ ทศศาสตร์โดยตรงเท่าน้นั จงึ สง่ ผลใหห้ ลาย ๆ ทมี โดยเฉพาะทีมเยาวชนท่ียังศึกษาอยู่ในระดับ
มธั ยมศกึ ษา ซ่ึงแมท้ ีมเหลา่ น้ีจะมีไอเดียหรอื ความคิดสร้างสรรค์ในการนาเสนอเน้ือหาของสารเป็นอย่างดี
แต่การขาดซง่ึ องค์ความรู้และทักษะในกระบวนการขั้นตอนต่าง ๆ ของการผลิตส่ือวีดีทัศน์ จึงผลให้
การผลิต “เนือ้ หา” และ “รปู แบบ” ของส่ือวีดีทัศน์ออกมาไม่สมบูรณ์นัก ปัญหาท่ีพบ เช่น การกาหนด
มุมกล้องในการถ่ายทา ความคิดสร้างสรรค์ในการสื่อความหมายด้วยภาพการสื่อสารด้วยภาพ
ยังขาดรายละเอียดท่ีสมบูรณ์หรือส่ือความหมายออกมาได้ไม่ชัดเจนพอ ปัญหาการขาดทักษะหรือ
ความชานาญในการใช้อุปกรณ์ถ่ายทาการบันทึกเสียงไม่ได้มาตรฐาน ปัญหาในการเขียนบทการ
ขาดความรู้ความเข้าใจในการตัดต่อ การขาดทักษะหรือเทคนิคในการลาดับภาพให้ดูไหลลื่นลงตัว
เปน็ ต้น (ซงึ่ แมแ้ ตท่ ีมท่ีมาจากนักศกึ ษาในระดับอดุ มศกึ ษาหลายทีมก็ประสบปัญหาเหลา่ นี้เช่นกัน)
4.7.2 ปัญหาการวางโครงเร่ือง (Theme) หรอื ประเดน็ หัวข้อ (Topic) ท่ีผู้ผลิตสื่อบางทีม
46
นามาใช้ในการสื่อสารยังคลุมเครือ ขาดความชัดเจนหรือถ่ายทอดออกมาเป็นเนื้อสาร (Message)
ไดไ้ มส่ มบรู ณ์พอ ในขณะท่ผี ู้ผลติ บางทีมก็ “ตโี จทย์” ได้ไมต่ รงกบั “ประเด็น” ที่ทางโครงการต้องการใช้
เพ่ือการส่ือสารหรือกาหนดไว้เป็น “โจทย์หลัก” ซึ่งส่งผลให้คณะกรรมการผู้ประเมินคุณภาพสื่อ
จากทางโครงการต้องใหข้ อ้ เสนอแนะในการปรับแก้ไขสื่ออยหู่ ลายครง้ั
4.7.3 ปัญหาการแตกแยกทางความคิดของสมาชิกภายในทีม เน่ืองจากเยาวชนผู้ผลิตสื่อ
มีการรวมตวั โดยอาศัยความสัมพนั ธ์ในความเปน็ กลุม่ เพ่อื นกลุม่ เดียวกันมารวมเป็นสมาชิกเข้าด้วยกัน
การทางานในทุกกระบวนการ จึงมักเกิดการแตกแยกทางความคดิ หรือเกิดข้อขัดแย้งตามมา ท้ังน้ีเป็นผล
มาจากการมีวัยวุฒิ ความคิด ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ชีวิตท่ีใกล้เคียงกัน ดังนั้นเมื่อเกิด
ความคิดเห็นท่ีต่างกันในกระบวนการทางานจึงส่งผลกระทบต่อการผลิตสื่อตามมา อย่างไรก็ตาม
สมาชิกในทีมตา่ ง ๆ กส็ ามารถปรบั ทัศนคตใิ หส้ ามารถทางานร่วมกันได้ในท้ายท่สี ุด
4.7.4 ปัญหาเร่ืองอุปกรณ์หรือเคร่ืองมือที่ใช้ในการผลิตสื่อดังกล่าวแล้วว่าทีมท่ีเข้าร่วม
ผลิตสื่อส่ือในโครงการนี้มาจากนักเรียนและนักศึกษาทั่วภาคใต้ ซ่ึงต่างมีศักยภาพและความพร้อม
ไม่เท่ากนั ในเรื่องอุปกรณ์หรือเคร่ืองมอื ท่ีใช้ในการผลิตสื่อ บางสถาบันการศึกษามีความพร้อมสูงมาก
บางสถาบนั มคี วามพรอ้ มระดบั ปานกลาง หรอื แมแ้ ต่ความพร้อมที่แตกต่างกันในการให้การสนับสนุน
อุปกรณ์และเคร่ืองมือในการผลิตสื่อจากสถาบันการศึกษาของตนเอง ด้วยปัจจัยเหล่านี้จึงส่งผล
ต่อคุณภาพและมาตรฐานการผลิตชิ้นงานส่ือตามมา
4.7.5 ปัญหาอ่ืน ๆ ได้แก่ ปัญหาสภาพภูมิอากาศ ปัญหาสภาพพื้นที่ในการถ่ายทา
ปัญหาการขาดความร่วมมือในการถ่ายทา (เช่น การไม่ได้รับความร่วมมือในด้านการได้มาซึ่งข้อมูล
เชิงสุขภาพ ไม่ได้รับความร่วมมือในการใช้สถานที่ ไม่ได้รับความร่วมมือด้านบุคลากร ฯลฯ) ปัญหา
ช่วงเวลาและการจดั สรรเวลาในการออกผลิตสื่อซึ่งทับซ้อนกับเวลาในการเรียนหรือการสอบของสมาชิก
ผู้ผลิตสื่อ ปัญหาการบริหารจัดการในกระบวนการถ่ายทา ปัญหาด้านงบประมาณ หรือแม้แต่ปัญหา
ดา้ นจิตสภาพในการทางานของผผู้ ลิตสอื่ เช่น การขาดแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน สภาวะความกดดัน
ความไม่พร้อมในการทางานเนอื่ งจากปญั หาด้านสขุ ภาพ เป็นตน้
4.8 วเิ คราะห์เนอ้ื หาการผลิตส่ือวดี ิทศั น์ (ภาพยนตร์สัน้ )
47
ผู้วิจัยได้นาส่ือสุขภาวะเชิงสร้างสรรค์ที่ผลิตในโครงการคิดดีไอดอล สื่อดีมีไอเดีย ปี 2
มาวิเคราะห์เน้ือหา (Content Analysis) พบว่าทั้ง 15 ทีม ที่ร่วมโครงการนี้ต่างผลิตส่ือสุขภาวะ
ออกมาในรูปแบบของส่ือวีดีทัศน์ และมีลักษณะเป็นภาพยนตร์ส้ันทั้ง 15 ทีม ซึ่งจากการสัมภาษณ์
ตัวแทนนักเรียนหรอื นักศกึ ษาผู้ผลิตสอ่ื ได้รับคาตอบตรงกันว่า การเลือกผลิตสื่อวีดีทัศน์ให้มีลักษณะ
เป็นภาพยนตร์ส้ันนั้นเพ่ือเพิ่มความน่าสนใจในเน้ือหาท่ีต้องการจะส่ือสาร และมีความเหมาะสม
สามารถดงึ ดดู ความสนใจของผูร้ ับสารเปาู หมายซงึ่ อยูใ่ นวยั เดก็ และเยาวชนได้เป็นอย่างดี และมีผู้ผลิตส่ือ
บางทีมเลือกผลิตสื่อในรูปแบบน้ีเพราะมีความสนใจ ความถนัด หรือมีประสบการณ์ความชานาญ
ในการผลิตส่ือวีดีทัศน์ในลักษณะของภาพยนตร์สั้นมาก่อน และยังมีเหตุผลในเรื่องของการมีอิสระ
ดา้ นความคดิ สรา้ งสรรค์ (Creativity) ซึ่งสามารถนาเสนอออกมาได้อย่างเต็มที่กับการผลิตสื่อวีดีทัศน์
ในรูปแบบนี้ ในขณะที่ถ้าเป็นการผลิตส่ือวีดีทัศน์เพื่อสุขภาวะออกมาในรูปแบบของสารคดี หรือสกู๊บข่าว
(Scoop) จะไมส่ ามารถสร้างความนา่ สนใจและดึงดดู ความสนใจของกลุ่มผู้รบั สารเปูาหมายไดด้ ีเพยี งพอ
ผู้วิจัยได้นาเกณฑ์ในการวิเคราะห์เน้ือหา มาใช้วิเคราะห์การผลิตสื่อสุขภาวะในโครงการ
คดิ ดีไอดอล สื่อดมี ไี อเดยี ออกมาเปน็ 4 เกณฑ์ ดงั น้ี
1. ความยาว ( เวลา ) ของเนอ้ื หาในการนาเสนอ
2. กลวธิ ใี นการดาเนินเรอ่ื ง
3. รปู แบบในการนาเสนอ
4. เนอ้ื หาในการนาเสนอ
4.8.1 ความยาว (เวลา) ของเนอื้ หาในการนาเสนอ
จากการวิเคราะห์เน้ือหาของส่ือสุขภาวะที่ผลิตออกมา พบว่า แต่ละทีมค่อนข้าง
มีอิสระด้าน “กรอบความคิด” ในการนาเสนอและไม่ถูกยึดติดด้วย “กรอบเวลาในการนาเสนอ”
จึงส่งผลให้ภาพยนตร์สั้นที่ผลิตออกมา มีเนื้อหาในการนาเสนอด้วยความยาวของภาพยนตร์สั้น
ท่ีแตกต่างกันออกไป ซ่ึงพบว่าเนื้อหาที่มีความยาวน้อยสุดท่ี 1.21 นาที เนื้อหาความยาวมากสุด
ที่ 8.45 นาที (ดังขอ้ มลู ในตารางท่ี 2) และดว้ ยเหตุผลดา้ นการมีอิสระในกรอบเวลาของเน้ือหาที่นาเสนอ
จึงส่งผลต่อ “คุณภาพการผลิต” อยา่ งมนี ยั ยะสาคญั เชน่ เวลาในการนาเสนอของบางทีมอาจสามารถ
ตัดต่อเนื้อหาให้สั้นกระชับกว่าที่นาเสนอออกมาได้ในทางตรงข้าม ขณะท่ีการนาเสนอของบางทีม
อาจตัดตอ่ เนือ้ หาให้ดสู มบรู ณข์ ้ึน โดยการขยายเวลาในการนาเสนอเพิ่มมากขน้ึ
4.8.2 กลวธิ ีในการดาเนนิ เร่อื ง
48
จากการศึกษา พบว่า กลวิธีในการดาเนินเร่ืองที่นามาใช้ในการผลิตสื่อในรูปของ
ภาพยนตร์สัน้ น้ัน มีความแตกต่างกันข้นึ กับ “ประเด็นโจทย์ท่ีต้องการสื่อสาร” และขึ้นกบั “ความคิด
สรา้ งสรรค์” (Creativity) ของแตล่ ะทมี ซึง่ สามารถสรปุ ออกมาได้ ดงั น้ี
1. การดาเนินเร่ืองแบบชี้นาให้เห็นถึงโทษ เป็นการดาเนินเรื่องโดยนาเสนอเนื้อหา
ชี้นาใหเ้ ห็นถึงโทษ ซง่ึ เปน็ ผลมาจากปัญหาสุขภาวะโดยตรงหรือการไม่ปฏบิ ตั ติ าม ข้อควรปฏิบัติท่ีเหมาะสม
ในประเด็นสุขภาวะตา่ ง ๆ เช่น การนาเสนอใหเ้ ห็นถึงโทษของการสูบบุหร่ี หรือโทษของการด่ืมแอลกอฮอล์
โทษของการไมอ่ อกกาลงั กาย โทษของการไม่กินผักและผลไม้
2. การดาเนินเรอื่ งแบบชี้นาใหเ้ หน็ ถงึ ประโยชน์ การนาเสนอเนื้อหาแบบนจ้ี ะนาเสนอ
ในทิศทางตรงกันข้ามกบั การช้นี าให้เห็นถึงโทษ เช่น ประโยชน์ของการออกกาลังกาย ประโยชน์ของ
การกินผกั และผลไม้
3. การดาเนนิ เรื่องแนวเปรยี บเทียบ เป็นการนาเสนอเนอ้ื หาออกมาในเชิงเปรียบเทียบ
ระหว่างเหตกุ ารณ์ หรือเปรยี บเทียบระหว่างพฤติกรรมของบุคคล เชน่ เปรียบเทียบให้เห็นถึงความคล่องตัว
ในการทากิจกรรมตา่ ง ๆ ระหว่างเด็กอ้วนกับเด็กท่ีมีน้าหนักตัวในเกณฑ์มาตรฐานปกติ หรือการเปรียบเทียบ
ให้เหน็ ถึงการมสี ุขภาพท่สี มบูรณ์ระหว่างเดก็ ทีอ่ อกกาลังกายกับเดก็ ท่ีไมไ่ ด้ออกกาลังกาย
4. การดาเนนิ เรือ่ งแบบสรา้ งให้เกิดแรงบันดาลใจ เป็นการนาเสนอเน้อื หาโดยการสร้าง
ตัวต้นแบบหรือสรา้ งให้มีตัวละครท่ีเป็นฮโี ร่ (Hero) เกิดขึ้นในโครงเรื่อง โดยตัวต้นแบบน้ีจะกลายเป็น
ตวั แบบและแรงบนั ดาลใจให้ตัวละครในเร่ือง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือเลียนแบบการกระทาท่ีส่งผลดี
ตอ่ สขุ ภาพตามทตี่ อ้ งการจะส่ือสาร
5. การดาเนินเร่อื งแนวคลี่คลายปมปัญหา เปน็ การนาเสนอในลักษณะการวางโครงเรื่อง
ให้มีปมปัญหา ซ่ึงเป็นผลมาจากภาวะสุขภาพ และนาเสนอเร่ืองราวให้มีการคล่ีคลายปมปัญหาที่เกิด
ด้วยการจัดการแก้ไขด้วยวิธีการท่ีถูกต้อง เช่น การตั้งโจทย์ของเร่ืองให้เห็นถึงการแก้ไขปัญหา
(การปูองกนั ) โรคท่อี าจเกิดจากการขาดสารอาหารและวิตามินต่าง ๆ โดยการหันมากินผักและผลไม้
ท่ีมีสารอาหารและวิตามนิ ชนิดนนั้ ๆ เปน็ องค์ประกอบ
6. การดาเนินเรื่องแบบให้ความรู้ความเข้าใจโดยตรง เป็นการนาเสนอเน้ือหา
เพ่อื มุ่งใหส้ าระหรือความรู้ ความเข้าใจในประเด็นสุขภาวะต่าง ๆ ที่ต้องการสื่อสาร โดยนาเสนอเน้ือหา
หรอื นาเสนอภาพประกอบขอ้ มูลความร้อู ยา่ งตรงไปตรงมา เพือ่ ใหผ้ รู้ บั สารรบั รอู้ ยา่ งชัดเจน
49
7. การดาเนินเร่ืองแนวผสมผสาน เปน็ การนาเสนอเนื้อหาในหลายรูปแบบที่กล่าวมา
ขา้ งต้น เขา้ ด้วยกนั ระหวา่ งรูปแบบใดรปู แบบหน่ึง หรือระหว่างหลาย ๆ รูปแบบ ช่วยให้ผู้ชมสามารถ
เข้าใจเน้ือหาหรือเรอื่ งราวทต่ี อ้ งการส่อื สารน้ันได้งา่ ยและชดั เจน
4.8.3 รูปแบบในการดาเนนิ เรอื่ ง
เมื่อนาส่ือวดี ที ศั นท์ ี่ถูกผลติ ขึ้นในลกั ษณะของภาพยนตร์สั้น มาทาการวิเคราะห์ พบว่า
แต่ละทีมมีรูปแบบในการดาเนินเรื่องแตกต่างกันออกไปตาม “ประเด็นโจทย์สุขภาพ” ท่ีต้องการส่ือ
ของแต่ละทีม และเม่ือวิเคราะห์ถึงรูปแบบในการดาเนินเรื่อง พบว่า แต่ละทีมจะกาหนดให้มี
“ตัวละครหลกั ” เปน็ ตัวดาเนินเรอื่ ง โดยมีรูปแบบการนาเสนอใน 2 รปู แบบ คือ
1. การนาเสนอโดยมีบทสนทนา (Dialogue) ของตัวละครเป็นองค์ประกอบ การนาเสนอ
ในลักษณะน้ี มีการกาหนดให้ตัวละครหลักเป็นผู้มีบทบาทในการดาเนินเร่ือง และมีตัวละครอ่ืน ๆ
รว่ มแสดงประกอบเพอ่ื นาเสนอเร่อื งราวให้มีความสมบูรณ์ โดยอาศัย “บทสนทนา” เป็นตัวร้อยเรียง
เหตุการณ์ในภาพยนตร์ส้ันเข้าด้วยกัน บทสนทนาน้ียังทาหน้าท่ี “ส่งสาร” หรือสาระที่ทางผู้ผลิตส่ือ
ต้องการส่ือสารไปยังกลุ่มผู้ชม (ผู้รับสาร) โดยตรง ซ่ึงพบว่าการนาเสนอโดยใช้บทสนทนาเป็นกลวิธี
ในการดาเนินเรอ่ื ง มีรูปแบบยอ่ ย 2 รปู แบบ คือ
1.1 การนาเสนอผ่านบทสนทนาในลกั ษณะเปน็ ทางการการนาเสนอในลักษณะน้ี
เพ่ือสร้างความสมจริงในเรื่องราว สร้างความน่าเชื่อถือในข้อมูลและบทสนทนาที่นามาประกอบ
การนาเสนอ มวี ัตถุประสงคเ์ พื่อสร้างความรู้ความเข้าใจอยา่ งตรงไปตรงมาในประเด็นสุขภาวะท่ีต้องการ
สอื่ สาร
จากการศกึ ษา พบว่า ผู้ผลิตสื่อสุขภาวะเชิงสร้างสรรค์ในโครงการคิดดีไอดอล
สอื่ ดีมไี อเดยี ท่ีใชว้ ธิ กี ารนาเสนอบทสนทนาประกอบเรือ่ งราวในรูปแบบนี้ ไดแ้ ก่
ทมี นิเทศไมเนอร์ 96 มหาวิทยาลัยทักษิณ จากภาพยนตรส์ ้ันเรือ่ ง “ฮโี รผ่ ัก”
ประเด็นสง่ เสริมการกนิ ผกั และผลไมใ้ นเดก็
ทมี นเิ ทศไมเนอร์ 97 มหาวิทยาลัยทักษิณ จากภาพยนตร์ส้ันเร่ือง “ประโยชน์
ของผัก” ประเด็นสง่ เสรมิ การกินผักและผลไมใ้ นเด็ก
ทมี Banana Quality มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ จากภาพยนตร์สั้นเร่ือง “ขยับ =
ออกกาลังกาย” ประเด็นการเพิม่ กิจกรรมทางกาย
50
ทีมหลอดตะเกียบ มหาวทิ ยาลัยหาดใหญ่ จากภาพยนตร์สั้นเร่ือง “ไม่สูบไม่แก่”
ประเด็นปกปูองนักสบู หนา้ ใหม่
ทีม NP Studio โรงเรียนเหนือคลองประชาบารุง จากภาพยนตร์ส้ันเร่ือง
“ชวนน้องไมส่ บู ” ประเดน็ ปกปูองนกั สบู หนา้ ใหม่
ทีม Be yourself มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย ภาพยนตร์สั้น
เรือ่ ง “RESISTOR” ประเดน็ ปกปูองนักสูบหนา้ ใหม่
1.2 การนาเสนอผ่านบทสนทนาในลักษณะขบขัน (Comedy) การนาเสนอ
รูปแบบน้ี วัตถุประสงค์เพ่ือให้ดาเนินเร่ืองเกดิ ความผ่อนคลาย ไม่จริงจังเป็นทางการจนเกินไป ท้ังยัง
สามารถใส่บทสนทนาท่ีเป็นลูกเล่น (Gimmick) หรือมุกตลกขบขันประกอบลงไปในการดาเนินเรื่อง
เป็นการดึงดูดและเทเพ่ิมความน่าสนใจของผู้รับสาร แต่การนาเสนอเนื้อหา ซ่ึงเป็นสาระทางสุขภาพ
ในลักษณะเช่นนี้ ผู้ผลิตสารต้องเพ่ิมความระมัดระวังการนาเสนอให้อยู่ใน “ขอบเขตที่เหมาะสม”
และ “เปน็ ท่ียอมรับได้”
จากการศกึ ษา พบว่า ผู้ผลิตส่ือสุขภาวะเชิงสร้างสรรค์ในโครงการคิดดีไอดอล
สือ่ ดมี ไี อเดีย ท่ีใช้วิธีการนาเสนอเรอื่ งราวในรปู แบบนี้ ได้แก่
ทีมชอ่ ราชพฤกษ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฏร์ธานี จากภาพยนตร์ส้ันเรื่อง
“ขยับแบบมวยไชยา” ประเด็นการเพ่มิ กิจกรรมทางกาย
ทีม TANN มหาวิทยาลยั ราชภัฏภูเก็ต จากภาพยนตรส์ น้ั เรอื่ ง “ลดอ้วนลดพุง”
ประเดน็ ลดอ้วนในกลุม่ เด็กและเยาวชน
ทีม Choose Studio โรงเรียนมุสลิมศึกษา จากภาพยนตร์ส้ันเรื่อง “ด.ช. กินผัก”
ประเด็นเดก็ อว้ นและการเพม่ิ ผักและผลไม้ในเด็ก
ทีม VII โรงเรียนกัลยาณีศรีธรรมราช จากภาพยนตร์สั้นเรื่อง “S T I L L F
O L L O W” ประเดน็ ปกปอู งนกั สบู หน้าใหม่
ทมี ไดเอท มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย จากภาพยนตร์ส้ันเรื่อง
“การอว้ นลงพุงในเดก็ ” ประเด็นลดอว้ นในกลมุ่ เด็กและเยาวชน
ทมี บรู งตานี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี จากภาพยนตร์ส้ัน
เรื่อง “ชวนคนกนิ ผัก” ประเดน็ สง่ เสรมิ การกนิ ผักและผลไม้
2. การนาเสนอโดยไม่มีบทสนทนาใด ๆ ของตัวละคร รูปแบบน้ีเป็นการนาเสนอ
51
ผ่านการเล่าเร่ืองดว้ ยภาพและดนตรีประกอบเปน็ หลัก หรือท่เี รียกกันว่า มิวสิควีดีโอ (Music Video)
การนาเสนอแนวนเี้ ปน็ การถ่ายทอดขอ้ มลู ให้มีเร่อื งราวเปน็ ภาพประกอบดนตรี มีความซับซ้อนในเนื้อหา
คอ่ นข้างน้อย ดูแลว้ เขา้ ใจงา่ ยและเหมาะสมกบั กลุม่ ผูช้ มเปูาหมายซง่ึ เปน็ เด็กหรือเยาวชน
จากการศึกษา พบว่า มีเพียง 2 ทีมเท่าน้ัน ท่ีเลือกใช้การนาเสนอในรูปแบบน้ี
ไดแ้ ก่
ทีมผัดผักนา้ มันจ๋อย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฏร์ธานี จากภาพยนตร์สั้นเรื่อง
“ลองกนิ ดูสิ” ประเดน็ เดก็ อ้วนและการเพิ่มผกั และผลไมใ้ นเด็ก
ทีมชายโฉด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย จากภาพยนตร์ส้ัน “B - Boy
เพ่มิ พืน้ ท่ีออกกาลังกาย” ประเด็นการเพ่มิ กจิ กรรมทางกาย
4.8.4 เนอื้ หา (Content) ในการนาเสนอ
เนือ่ งจากโครงการนี้มีวัตถุประสงค์ในการสื่อสารเพ่ือสขุ ภาพเป็นสาคัญ บทสนทนา
หรือบทท่ใี ชใ้ นการดาเนนิ เรอื ง ซ่ึงเป็นขอ้ มลู หรือเนอ้ื หาที่สัมพันธ์กับสุขภาพโดยตรงน้ัน จึงต้องนาเสนอ
อกมาบนพื้นฐานความเป็นจริง (Reality) ความถูกต้อง (Accuracy) ความน่าเชื่อถือ (Reliability)
ทั้งยังต้องมีกลวิธีในการนาเสนอให้มีความน่าสนใจ (Interesting) มีความเหมาะสม (Suitability)
ดังน้ันการผลิตสารที่ต้องรวมคุณลักษณะหลายประการเข้าด้วยกันให้ออกมาอย่างกลมกลืนลงตัว
จึงค่อนข้างทาได้ยาก จากการวิเคราะห์พบว่าสื่อวีดีทัศน์ (ภาพยนตร์สั้น) บางช้ินงานยังไม่สามารถ
ผสานองค์ประกอบท่ีกล่าวมาได้อย่างลงตัว
จากการศึกษาพบว่าเน้ือหา (Content) ท่ีถูกผลิตขึ้นในสื่อวีดีทัศน์จากโครงการ
คิดดีไอดอล สื่อดีมีไอเดีย ได้ถูกนาเสนอออกมาให้ดูเข้าใจง่าย ไม่เน้นนาเสนอแบบเป็นทางการหรือ
เป็นวชิ าการอย่างเตม็ รูปแบบ และนาเสนอโดยใชภ้ าพเป็นหลกั ในการเลา่ เร่อื ง มกี ารข้ึนตัวอักษรบรรยาย
(Super Impose) ประกอบภาพเพ่ือตอกย้าและสร้างความเข้าใจเพิ่มส่วนในกรณีที่มีบทสนทนา
(Dialogue) ของตัวละคร หรือการใช้เสียงบรรยายประกอบ (Voice Over) ท้ังสองส่วนน้ีถูกนาเสนอ
โดยใช้ถ้อยคา (Text) ที่กระชับ มีการหลีกเลี่ยงคาศัพท์เทคนิค (Technical Term) และเลือกใช้
ถ้อยคาที่เข้าใจง่ายหรือเป็นถ้อยคาพื้นฐานที่ใช้อยู่ในการส่ือสารทั่วไป ในบางช่วงมีการนาคาศัพท์
52
หรือสานวนคาพดู ทีน่ ิยมใช้ในหมู่วัยรุ่น หรือนาคาแสลง (Slang) มาประกอบในบทสนทนาหรือคาบรรยาย
และในบางกรณีมกี ารนาภาษาถน่ิ ใตม้ าเป็นบทสนทนา
ด้วยรูปแบบของส่ือวีดีทัศน์ท่ีผลิตขึ้นในลักษณะภาพยนตร์ส้ัน (Shot Film)
การนาเสนอในบางช่วงของบางทีมจึงไม่เน้น “ความสมจริง” (Reality) เหมือนการนาเสนอวีดีทัศน์
รูปแบบสารคดี (Documentary Program) หรือเหมือนการนาเสนอสกู๊ปข่าว (News Scoop)
ในบางกรณีมีการนาการ์ตนู (Cartoon) หรือการทาแอนิเมช่ัน (Animation) มาประกอบการเล่าเรื่อง
และนาเสนอในรูปแบบ “เหนือความเป็นจริง” (Fantastic) และในรูปแบบ “บทบาทสมมุติ”
(Role Play) เพอ่ื สร้างสสี ันและเพมิ่ ความน่าสนใจในการรับชม
ตารางท่ี 2 รูปแบบการผลิตส่ือสุขภาวะเชิงสร้างสรรค์ คิดดีไอดอล ส่ือดีมีไอเดีย และช่องทาง
ในการส่อื สารผ่านส่ือออนไลน์
ท่ี ชื่อทมี /สงั กัด รูปแบบของการผลิตสอ่ื ช่องทางการส่ือสาร
และประเด็นในการสอ่ื สาร ผ่านสอ่ื ออนไลน์
1 ทมี ช่อราชพฤกษ์ - ภาพยนตร์สัน้ - Facebook
- มหาวิทยาลัยราชภฎั สรุ าษฏร์ธานี ประเดน็ การเพ่มิ กจิ กรรมทางกาย - You Tube
เรอ่ื ง “ขยับแบบมวยไชยา”
(ความยาว 3.31 นาที)
2 ทีม Banana Quality - ภาพยนตรส์ น้ั - Facebook
- มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ ประเด็นการเพ่ิมกิจกรรมทางกาย - You Tube
เรอ่ื ง “ขยบั = ออกกาลงั กาย”
(ความยาว 2.13 นาที)
3 ทีมชายโฉด - ภาพยนตร์สั้น - Facebook
- มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ประเด็นการเพ่ิมกิจกรรมทางกาย - You Tube
53
ราชมงคลศรวี ิชยั เรอื่ ง “B - boy”
4 ทมี ฟาฏอนี เพม่ิ พน้ื ท่ีออกกาลังกาย”
- มหาวิทยาลยั ฟาฎอนี
จังหวัดปัตตานี (ความยาว 4.13 นาที)
5 ทมี TANN - ภาพยนตร์สัน้ - Facebook
- มหาวทิ ยาลัยราชภัฏภูเก็ต
ประเดน็ การเพ่ิมกจิ กรรมทางกาย - You Tube
- ภาพยนตร์สน้ั - Facebook
ประเดน็ ลดอ้วนในกลุ่มเดก็ - You Tube
และเยาวชน เรือ่ ง “ลดอว้ นลดพงุ ”
(ความยาว 6.38 นาที)
ตารางท่ี 2 (ตอ่ ) รปู แบบของการผลติ ส่ือ ช่องทางการส่อื สาร
และประเด็นในการสอื่ สาร ผ่านสอ่ื ออนไลน์
ท่ี ชื่อทีม/สงั กัด - ภาพยนตรส์ ัน้ - Facebook
6 ทมี ไดเอท ประเดน็ ลดอ้วนในกลุม่ เด็ก - You Tube
และเยาวชนเร่ือง “การอว้ น
- มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยี ลงพงุ ในเดก็ ” - Facebook
ราชมงคลศรวี ชิ ยั (ความยาว 3.30 นาที ) - You Tube
- ภาพยนตร์สั้น
7 ทมี Choose Studio ประเด็นเด็กอ้วนและการเพม่ิ
- โรงเรยี นมสุ ลมิ ศกึ ษา ผกั และผลไมใ้ นเดก็
อาเภอเมอื ง จังหวดั สตลู เรอ่ื ง “ด.ช. กินผกั ”
(ความยาว 3.40 นาที)
54
8 ทีมผดั ผักนา้ มันจอ๋ ย - ภาพยนตร์สั้น - Facebook
- มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั
สรุ าษฏร์ธานี ประเด็นเด็กอว้ นและการเพ่มิ - You Tube
9 ทมี นเิ ทศไมเนอร์ 96 ผกั และผลไม้ในเด็ก
- มหาวทิ ยาลยั ทักษิณ
เรือ่ ง “ลองกินดสู ิ”
10 ทมี บรุ งตานี
- มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ (ความยาว 2.52 นาที)
วทิ ยาเขตปตั ตานี
- ภาพยนตรส์ ัน้ - Facebook
ตารางท่ี 2 (ต่อ)
ประเดน็ สง่ เสริมการกนิ ผกั - You Tube
และผลไม้ในเดก็ เรื่อง “ฮโี ร่ผกั ”
(ความยาว 2.25 นาที)
- ภาพยนตรส์ น้ั - Facebook
ประเด็นสง่ เสริมการกินผัก - You Tube
และผลไม้เรอ่ื ง “ชวนคนกินผัก”
(ความยาว 8.45 นาที)
ท่ี ชื่อทีม/สังกัด รูปแบบของการผลติ ส่อื ช่องทางการสอ่ื สาร
11 ทีมนิเทศไมเนอร์ 97 และประเด็นในการส่อื สาร ผา่ นสอ่ื ออนไลน์
- ภาพยนตรส์ น้ั - Facebook
- มหาวทิ ยาลัยทักษิณ ประเดน็ ส่งเสรมิ การกนิ ผัก - You Tube
และผลไม้ในเดก็
12 ทีมหลอดตะเกยี บ เรื่อง “ประโยชนข์ องผกั ” - Facebook
- มหาวิทยาลยั หาดใหญ่ (ความยาว6.09 นาท)ี - You Tube
- ภาพยนตรส์ น้ั
13 ทีม NP STUDIO ประเดน็ ปกปอู งนักสูบหน้าใหม่ - Facebook
เรื่อง “ไม่สูบไม่แก่”
(ความยาว 1.21 นาที)
- ภาพยนตรส์ นั้
55
- โรงเรียนเหนอื คลองประชาบารงุ ประเด็นปกปูองนักสบู หนา้ ใหม่ - You Tube
อาเภอคลองทอ่ ม จังหวดั กระบี่ เรือ่ ง “ชวนนอ้ งไมส่ บู ”
(ความยาว 5.17 นาที)
14 ทมี Be yourself - ภาพยนตรส์ นั้ - Facebook
- มหาวิทยาลยั เทคโนโลยี ประเดน็ ปกปูองนักสบู หนา้ ใหม่ - You Tube
ราชมงคลศรีวชิ ยั เรือ่ ง “RESISTOR”
(ความยาว 5.11 นาที)
15 ทมี VII - ภาพยนตรส์ ้ัน - Facebook
- โรงเรยี นกลั ยาณศี รธี รรมราช ประเด็นปกปอู งนักสูบหน้าใหม่ - You Tube
อาเภอเมอื ง จังหวันครศรีธรรมราช เร่ือง “S T I L L F O L L O W”
(ความยาว 5.27 นาที)
4.9 การนาส่ือสุขภาวะเชิงสร้างสรรค์ คิดดีไอดอล ส่ือดีมีไอเดีย ออกเผยแพร่
สร้างความตระหนักรู้สู่ชุมชน
กระบวนการนี้เป็นกระบวนการส่ือสารที่ถกู กาหนดเป็นโจทย์หลักอีกประการของโครงการ
คดิ ดไี อดอล สือ่ ดีมีไอเดยี โดยมุ่งเปาู ใหเ้ กิดการตระหนกั รขู้ นึ้ ในกลมุ่ ผรู้ ับสารเปาู หมาย ซึง่ ทางโครงการ
ได้กาหนดโจทย์ของผู้รบั สารใหห้ มายความถึง “กลมุ่ คนในชมุ ชน” และนิยามความหมายให้แคบลงไปอีก
ว่าหมายถึง “กลุ่มเด็กและเยาวชน” จากพ้ืนท่ีปฏิบัติการชุมชนต่างๆและยังต้องมีความสัมพันธ์กับ
“ประเด็นสุขภาวะท่ใี ชใ้ นการสือ่ สาร” (ดงั ข้อมลู ในตารางท่ี 3)
ตารางท่ี 3 การนาสื่อสุขภาวะเชิงสร้างสรรค์ คิดดีไอดอล ส่ือดีมีไอเดีย ออกเผยแพร่
สร้างความตระหนักรู้สู่ชุมชน
ท่ี ช่ือทมี /สงั กดั พนื้ ท่ีปฏบิ ัตกิ ารชมุ ชน ประเด็น
56
ในการสอื่ สาร
1 ทมี ชอ่ ราชพฤกษ์ - มหาวทิ ยาลยั ราชภัส การเพมิ่ กิจกรรม
- มหาวิทยาลัยราชภฏั สรุ าษฏรธ์ านี สุราษฏร์ธานี ทางกาย
2 ทีม Banana Quality - โรงเรยี นศกึ ษาคนตาบอด การเพมิ่ กจิ กรรม
- มหาวทิ ยาลยั หาดใหญ่ ธรรมสากลหาดใหญ่ ทางกาย
3 ทมี ชายโฉด - มหาวิทยาลยั เทคโนโลยี การเพ่ิมกจิ กรรม
- มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลศรวี ิชยั ราชมงคลศรวี ิชยั ทางกาย
4 ทีมฟาฏอนี - มหาวทิ ยาลัยฟาฏอนี การเพม่ิ กจิ กรรม
- มหาวทิ ยาลัยฟาฎอนี จงั หวัดปตั ตานี ทางกาย
5 ทีม TANN - มหาวทิ ยาลัยราชภฎั ภูเก็ต ลดอว้ นในกลุม่ เดก็
- มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต และเยาวชน
6 ทมี ไดเอท - โรงเรยี นอนบุ าลปุาบอน ลดอ้วนในกลุ่มเด็ก
- มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลศรวี ิชัย อาเภอปุาบอน จังหวัดพัทลุง และยาวชน
ตารางท่ี 3 (ตอ่ )
ท่ี ชือ่ ทมี /สังกดั พื้นท่ีปฏบิ ตั ิการชุมชน ประเด็น
ในการส่อื สาร
7 ทมี Choose Studio - โรงเรียนมสุ ลิมศึกษา และ เดก็ อว้ น
- โรงเรยี นมสุ ลมิ ศกึ ษา อาเภอเมือง โรงเรียนบ้านควน และการเพิ่มผกั
จังหวัดสตูล จังหวัดสตลู และผลไมใ้ นเด็ก
เดก็ อ้วน
8 ทมี ผัดผักน้ามนั จอ๋ ย - โรงเรียนสุราษฎร์พทิ ยา และการเพิม่ ผัก
- มหาวทิ ยาลัยราชภัฎสุราษฏรธ์ านี อาเภอเมือง และผลไม้ในเดก็
จงั หวัดสุราษฎร์ธานี สง่ เสริมการกินผกั
9 ทีมนิเทศไมเนอร์ 96 - โรงเรียนบา้ นบางดาน และ และผลไม้ในเดก็
- มหาวทิ ยาลัยทกั ษิณ โรงเรยี นเทศบาล 1
บ้านเขาแกว้ อาเภอเมอื ง
57
จงั หวัดสงขลา
10 ทีมบุรงตานี - มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ สง่ เสริมการกินผกั
- มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์
วิทยาเขตปตั ตานี วทิ ยาเขตปัตตานี และผลไม้
11 ทมี นเิ ทศไมเนอร์ 97 - โรงเรยี นวรนารเี ฉลมิ สง่ เสริมการกินผัก
- มหาวิทยาลัยทกั ษิณ อาเภอเมือง จงั หวัดสงขลา และผลไม้ในเด็ก
- มหาวทิ ยาลัยหาดใหญ่ ปกปอู ง
12 ทีมหลอดตะเกียบ นกั สูบหน้าใหม่
- มหาวทิ ยาลยั หาดใหญ่ - โรงเรียนเหนอื คลอง ปกปอู ง
ประชาบารุง นักสบู หนา้ ใหม่
13 ทีม NP STUDIO อาเภอคลองทอ่ ม
- โรงเรียนเหนอื คลองประชาบารงุ จงั หวดั กระบี่
อาเภอคลองท่อม จังหวดั กระบ่ี
ตารางที่ 3 (ตอ่ )
ท่ี ชอ่ื ทมี /สังกัด พน้ื ที่ปฏบิ ตั ิการชุมชน ประเดน็
ในการสอ่ื สาร
14 ทีม Be yourself - สานักปฏบิ ัติธรรม ปกปูอง
- มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลศรีวชิ ยั วดั เกาะนกรัตนาราม นักสูบหนา้ ใหม่
อาเภอรตั ภมู ิ จังหวัดสงขลา
15 ทมี VII - โรงเรียนกัลยาณีศรีธรรมราช ปกปูอง
- โรงเรียนกลั ยาณศี รีธรรมราช อาเภอเมอื ง นักสบู หนา้ ใหม่
อาเภอเมอื ง จังหวัดนครศรธี รรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช
58
จากการวิเคราะห์ พบวา่ กลุม่ เปูาหมายผู้รับสารท่ีเป็นเด็กหรือเยาวชนในพื้นที่ปฏิบัติการชุมชน
ซึ่งถกู กาหนดขึน้ มาน้นั จะมาจากแนวคิดในการคดั เลอื กจาก 2 รปู แบบ คือ
1. การเลือกกลุ่มเปูาหมายและพื้นท่ีปฏิบัติการชุมชนภายในสถานศึกษาของผู้ผลิตส่ือเอง
ได้แก่ ทีมช่อราชพฤกษ์มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฏร์ธานี ทีมชายโฉดมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคลศรีวิชัย ทีมฟาฏอนี มหาวิทยาลัยฟาฎอนี ทีมTANN มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต
ทมี Choose Studio โรงเรียนมุสลิมศึกษา ทีมบุรงตานี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ทีมหลอดตะเกียบ
มหาวทิ ยาลัยหาดใหญ่ ทีม NP STUDIO โรงเรียนเหนือคลองประชาบารุง และทีม VII โรงเรียนกัลยาณี
ศรธี รรมราช โดยทีมผู้ผลติ ส่ือกลุ่มน้มี ีแนวคิดวา่ การเลอื กกลุ่มเปูาหมายผู้รบั สารและผู้เข้าร่วมกิจกรรม
ในการสร้างความตระหนักรู้ให้เป็นกลุ่มเปูาหมายภายในสถานศึกษาของตัวเองนั้น ด้วยเหตุผลหลัก
ด้านความเหมาะสมต่อกล่มุ เปูาหมาย และเหตุผลด้านการบรหิ ารจัดการกิจกรรมเปน็ สาคญั
2. การเลือกกลุ่มเปูาหมายและพื้นที่ปฏิบัติการชุมชนนอกสถานท่ีต้ังของสถานศึกษา
ของผูผ้ ลิตส่อื ได้แก่ ทมี Banana Quality มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ ทีมไดเอท มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคลศรีวิชัย ทีมผัดผักน้ามันจ๋อย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฏร์ธานี ทีมนิเทศไมเนอร์ 96
มหาวิทยาลัยทักษิณ ทีมนิเทศไมเนอร์ 97 มหาวิทยาลัยทักษิณ และทีม Be yourself มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย โดยทีมผู้ผลิตสื่อในกลุ่มน้ีมีแนวคิดว่าการเลือกกลุ่มเปูาหมายผู้รับสาร
และผู้เข้าร่วมกิจกรรมในการสร้างความตระหนักรู้ให้เป็นกลุ่มเปูาหมายภายนอกสถานศึกษา
ของตัวเองน้ันนอกจากจะมีเหตุผลด้านความเหมาะสมต่อกลุ่มเปูาหมายเป็นหลักแล้ว ยังมีเหตุผล
เพ่ือการเผยแพร่กิจกรรมด้านสุขภาวะและนาสื่อสุขภาวะเชิงสร้างสรรค์ท่ีผลิตขึ้นน้ันออกนาเสนอ
เพ่อื ขยายผลการรับร้ตู ่อสังคมในวงกว้างมากยิ่งขน้ึ
4.10 รปู แบบกิจกรรมในการสื่อสารส่ชู มุ ชน
กระบวนการนี้จะนา “ส่อื สุขภาวะเชิงสร้างสรรค์” ในรูปของวีดีทัศน์ภาพยนตร์สั้น ซึ่งถูกผลิต
โดยการกาหนดประเด็นวาระ (Agenda Setting) ไว้ออกนาเสนอในพ้ืนที่ปฏิบัติการชุมชน และมี
การกาหนดรูปแบบกิจกรรมเสริม โดยแต่ละทีมได้ออกแบบรูปแบบกิจกรรมในการสื่อสารสู่ชุมชน
ให้สอดคล้องกับ “ประเด็นสุขภาวะท่ีใช้ในการสื่อสาร” และสอดคล้องกับพฤติกรรมในการรับรู้
ของกลมุ่ เปาู หมาย (ดังขอ้ มูลแสดงในตารางท่ี 4)
59
จากการศึกษา พบว่า กระบวนการส่ือสารในขั้นตอนนี้ข้ึนอยู่กับการออกแบบกิจกรรม
ของแต่ละทีม โดยจะมีกิจกรรมหลักซงึ่ ทุกทมี ตอ้ งปฏบิ ตั ิ ไดแ้ ก่ การนาส่ือวีดีทัศน์ท่ีกลุ่มน้ัน ๆ ผลิตขึ้น
ออกไปนาเสนอใหก้ ลุ่มเปูาหมายท่ีถูกกาหนดไวไ้ ดร้ ับชม และออกแบบให้มีกจิ กรรมเสริมก่อนหรือหลัง
จากการรับชมวดี ีทัศน์ภาพยนตร์สั้น จากการวิจัย พบว่า มีรูปแบบกิจกรรมท่ีถูกนามาใช้อย่างหลากหลาย
ได้แก่ การถามตอบคาถามจากเน้ือหาในภาพยนตร์สั้น การเล่นเกมท่ีสัมพันธ์กับประเด็นสุขภาวะ
การสาธิตประกอบกิจกรรมการอบรมให้ความรู้เพิ่มเติม โดยวิทยากรการสัมภาษณ์บุคคลที่เป็น
กรณีศึกษาการแสดงประกอบเนื้อหา การสร้างสถานการณ์จาลอง การทาแบบสอบถามทดสอบความรู้
ความเขา้ ใจ การกาหนดบทบาทสมมุติ กิจกรรมร่วมกันเสนอ และแบ่งปันความคิด การถามตอบปัญหา
กิจกรรมแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ กิจกรรมการทา Work Shop กิจกรรมการสันทนาการ กิจกรรมเกมนันทนาการ
กิจกรรมการออกกาลังกาย หรือการบริหารร่างกาย กิจกรรมการสร้างสรรค์ผลงาน (ดังข้อมูลจาก
ตารางที่ 4)
จากการศึกษาวิเคราะห์ได้ว่า การออกแบบรูปแบบที่หลากหลายของกิจกรรมประกอบ
การนาเสนอสื่อภาพยนตรส์ นั้ นั้น มเี ปูาประสงค์จากหลายปัจจัยเข้ามาเกยี่ วขอ้ ง เช่น
1. รูปแบบกิจกรรมในเชิงสันทนาการน้ัน เพื่อต้องการสร้างความสัมพันธ์แบบผ่อนคลาย
หรือความสมั พันธท์ ่ไี มเ่ ปน็ ทางการใหเ้ กดิ ข้นึ ระหวา่ งกลมุ่ เปูาหมายและกล่มุ ผสู้ รา้ งสรรค์ส่ือ ในขณะเดียวกัน
กจิ กรรมรปู แบบน้สี ามารถนามาเชอ่ื มโยงกบั เน้อื หาของสือ่ ทีต่ อ้ งการจะสอื่ สารได้เช่นกนั
2. กจิ กรรมในเชงิ วิชาการ เชน่ การบรรยายให้ความรู้ การแลกเปล่ียนเรยี นรู้ ฯลฯ การจดั
กิจกรรมรูปแบบนี้ เพ่ือต้องการให้ความรู้ ความเข้าใจในประเด็นสุขภาวะที่ต้องการสื่อสารให้มี
ความสมบูรณ์ขึน้
3. กจิ กรรมการทดสอบความรู้ ความเข้าใจ เช่น การทาแบบทดสอบ การถามตอบปญั หา ฯลฯ
เป็นการทดสอบความรู้ ความเข้าใจท่ีกลุ่มเปูาหมายมีอยู่ เพื่อตอกย้าความถูกต้องในสิ่งที่กลุ่มเปูาหมาย
รับร้อู ยู่ และปรับเปล่ียนส่ิงที่กลุม่ เปูาหมายยังรบั รหู้ รอื เขา้ ใจไม่ถกู ต้อง
4. กิจกรรมการสาธิตประกอบ มีเปูาประสงค์เพ่ือกระตุ้นความสนใจแก่กลุ่มเปูาหมาย
และยงั สามารถสรา้ งความเขา้ ใจในรูปของการนาเสนอตวั อยา่ งให้เห็นเป็นรูปธรรมอยา่ งชัดเจน
5. กจิ กรรมการการออกกาลงั กายหรอื การบรหิ ารรา่ งกาย มีเปาู ประสงค์เพ่ือใหก้ ลุม่ เปูาหมาย
มีประสบการณร์ ่วม หรือเห็นถงึ ประโยชน์ท่จี ะไดร้ ับจากกิจกรรม ซ่งึ เป็นผลต่อเน่อื งหรือสัมพันธ์กับประเด็น
สุขภาวะท่กี ลุ่มผผู้ ลิตสอ่ื ตอ้ งการส่อื สาร
60
6. กิจกรรมในรูปแบบอื่นๆ เช่น การแสดงประกอบเน้ือหา การสร้างสถานการณ์จาลอง
การกาหนดบทบาทสมมตุ ิ มีเปูาประสงคเ์ พอ่ื สรา้ งการเรียนรู้ของกลุ่มเปูาหมายให้มีประสบการณ์ร่วม
โดยตรงไปกับกจิ กรรมนี้
ตารางท่ี 4 รูปแบบการจัดกิจกรรมและการนาสื่อสขุ ภาวะเชงิ สร้างสรรค์ คิดดีไอดอล ส่ือดมี ีไอเดยี
ออกเผยแพร่สรา้ งความตระหนักรูส้ ูช่ มุ ชน
ท่ี ชอื่ ทีม/สังกัด รูปแบบกิจกรรม จานวน จานวน
ในการสื่อสารสูช่ มุ ชน กล่มุ เป้าหมาย การเขา้ ถงึ ขอ้ มูล
1 ทีมช่อราชพฤกษ์ ผา่ นส่ือออนไลน์
- มหาวิทยาลยั ราชภัฏ ฉายภาพยนตรส์ นั้ , (คน)
สรุ าษฏร์ธานี กจิ กรรมออกกาลังกาย, (คน)
กิจกรรมสาธิตมวยไชยา,
การบรรยายใหค้ วามรู้ 158 3,488
ตารางท่ี 4 (ต่อ) รปู แบบกจิ กรรม จานวน จานวน
ในการสื่อสารสู่ชมุ ชน กล่มุ เป้าหมาย การเขา้ ถงึ ข้อมูล
ท่ี ชือ่ ทมี /สังกดั ผา่ นสือ่ ออนไลน์
2 ทมี Banana Quality (คน)
(คน)
- มหาวทิ ยาลัยหาดใหญ่
ฉายภาพยนตร์สัน้ , 100 1.338
3 ทมี ชายโฉด
การบรรยายใหค้ วามรู้,
กิจกรรมสนั ทนาการ,
กจิ กรรมแลกเปลย่ี นเรียนรู้
ฉายภาพยนตรส์ น้ั , 55 7,620
- มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี สาธิตการเต้น B - BOY, 39 61
ราชมงคลศรวี ชิ ยั กิจกรรมออกกาลงั กาย 155 1,408
ด้วยการเต้นร่วมกนั 104 2,655
4 ทมี ฟาฏอนี ฉายภาพยนตร์สั้น, 3,260
- มหาวิทยาลยั ฟาฎอนี บรรยายให้ความรู้,
จงั หวดั ปัตตานี การถามตอบปัญหา,
กิจกรรมแลกเปล่ยี นเรยี นรู้
5 ทมี TANN ฉายภาพยนตร์สัน้ ,
- มหาวิทยาลยั ราชภฏั ภูเก็ต กจิ กรรมสันทนาการ,
บรรยายให้ความรู้,
6 ทีมไดเอท การถามตอบปญั หา
- มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ฉายภาพยนตร์สนั้ ,
ราชมงคลศรีวชิ ยั กิจกรรมสันทนาการ,
การถามตอบปญั หา,
การแสดงประกอบ,
การบรรยายให้ความรู้
ตารางที่ 4 (ตอ่ )
ท่ี ชอ่ื ทีม/สงั กัด รูปแบบกจิ กรรม จานวน จานวน
ในการส่อื สารสชู่ มุ ชน กลุ่มเปา้ หมาย การเขา้ ถงึ ข้อมลู
7 ทมี Choose Studio ผ่านสื่อออนไลน์
- โรงเรยี นมุสลิมศกึ ษา ฉายภาพยนตรส์ ้นั , (คน)
อาเภอเมือง จงั หวดั สตูล กิจกรรมคาราวาน (คน)
ไอดอลคิดดี เด็กดกี นิ ผกั
รกั สขุ ภาพ, 422 4,445
62
8 ทีมผัดผกั นา้ มนั จ๋อย กิจกรรมเกมนันทนาการ, 155 2,112
- มหาวิทยาลัยราชภัฏ การบรรยายให้ความรู้, 110 1,694
สุราษฏรธ์ านี การเลน่ เกมถาม -
ตอบปญั หา, กจิ กรรม
9 ทมี นเิ ทศไมเนอร์ 96 การสรา้ งสรรคผ์ ลงาน
- มหาวิทยาลัยทักษิณ “วาดผกั แห่งโลกอนาคต”
ฉายภาพยนตร์สั้น,
ตารางท่ี 4 (ต่อ) กจิ กรรมสันทนาการ,
บรรยายใหค้ วามรู้,
การถามตอบปญั หา,
การสาธติ ประกอบ
ฉายภาพยนตร์สั้น,
การบรรยายให้ความรู้,
การสาธิตและสอน
การทาอาหารจากผัก,
การเลน่ เกมถาม -
ตอบปญั หา
ท่ี ช่อื ทีม/สังกัด รูปแบบกิจกรรม จานวน จานวน
ในการสอ่ื สารส่ชู มุ ชน กลุ่มเป้าหมาย การเข้าถงึ ข้อมลู
ผา่ นสอื่ ออนไลน์
(คน)
(คน)
10 ทีมบรุ งตานี ฉายภาพยนตรส์ น้ั , 105 2,437
- มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ การบรรยายใหค้ วามรู้
วทิ ยาเขตปตั ตานี โดยวทิ ยากร,
11 ทีมนเิ ทศไมเนอร์ 97 กจิ กรรมแลกเปล่ยี นเรียนรู้ 119 63
- มหาวิทยาลัยทักษิณ ฉายภาพยนตรส์ ั้น, 1,387
กิจกรรมสันทนาการ, 87
12 ทมี หลอดตะเกียบ การถาม - ตอบปัญหา, 144 1,247
- มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ การใหค้ วามร้โู ดยวิทยากร, 3,671
การสาธิตและประกอบ
13 ทีม NP STUDIO อาหารเมนูผัก
- โรงเรียนเหนือคลอง ฉายภาพยนตร์สัน้ ,
ประชาบารงุ การบรรยายใหค้ วามรู้,
อาเภอคลองทอ่ ม กิจกรรมการทา
จงั หวดั กระบี่ Work Shop
ฉายภาพยนตร์ส้ัน,
การบรรยายใหค้ วามรู้
โดยวิทยากร,
กจิ กรรมร่วมกันเสนอ
และแบง่ ปนั ความคิด
ตารางที่ 4 (ต่อ)
ท่ี ช่อื ทมี /สังกัด รปู แบบกิจกรรม จานวน จานวน
ในการสื่อสารสชู่ ุมชน กลมุ่ เป้าหมาย การเขา้ ถงึ ข้อมลู
14 ทมี Be yourself ผา่ นสือ่ ออนไลน์
- มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยี (คน)
ราชมงคลศรวี ชิ ัย (คน)
ฉายภาพยนตรส์ ั้น, 78 4,661
กจิ กรรมเวทเี สวนาชุมชน,
การบรรยายให้ความรู้,
กจิ กรรมสนั ทนาการ 64
2,127
15 ทีม VII ฉายภาพยนตร์ส้นั , 531
- โรงเรยี นกลั ยาณีศรธี รรมราช กิจกรรมสันทนาการ,
อาเภอเมอื ง การถาม - ตอบปัญหา,
จงั หวดั นครศรีธรรมราช การให้ความรู้โดยวทิ ยากร
หมายเหตุ :
จานวนกล่มุ เปาู หมาย หมายถงึ จานวนของผู้เข้าร่วมกิจกรรมการนาสื่อสุขภาวะเชิงสร้างสรรค์
ออกเผยแพรส่ รา้ งความตระหนักรู้สชู่ ุมชน
จานวนการเขา้ ถึง ขอ้ มลู ผา่ นสือ่ ออนไลน์ หมายถึง จานวนผู้เข้าชมส่ือสุขภาวะเชิงสร้างสรรค์
จากการนาเสนอผ่านชอ่ งทางการสอ่ื สารออนไลน์
จากการศึกษา พบข้อน่าสงั เกตวา่ จานวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มเปูาหมายของแต่ละทีมน้ัน
มสี ว่ นสมั พันธ์กับประเด็นสุขภาวะท่ีต้องการสื่อสาร แต่ไม่สามารถสรุปได้ว่ากิจกรรมส่ือสารสุขภาวะ
ในเร่อื งใดจะตอ้ งมจี านวนของผู้เข้าร่วมกิจกรรมจานวนเท่าใด (จานวนกลุ่มเปูาหมายท่ีเข้าร่วมกิจกรรม
ตา่ สุด 39 คน สูงสุด 531 คน) ท้ังน้ขี ้ึนกับวัตถุประสงค์ในการส่ือสาร การออกแบบรูปแบบของกิจกรรม
การบริหารจัดการ ข้อจากัดด้านงบประมาณ ความเหมาะสม ความสะดวก การติดต่อสื่อสาร
การประชาสัมพันธ์ความตระหนักของกลุ่มเปูาหมาย หรือแม้แต่การให้ความร่วมมือขององค์กร
หรือหน่วยงานในพ้ืนที่ปฏิบัติการชุมชนน้ัน ๆ
แผนภาพท่ี 5 รูปแบบการผลิตสอ่ื สขุ ภาวะเชงิ สร้างสรรค์ โครงการคิดดไี อดอล สอ่ื ดีมไี อเดีย
สรุปเป็นโมเดล
การคดิ ประเดน็ โจทย์จากปัญหาทางสขุ ภาวะ
การวิเคราะห์และสังเคราะหข์ ้อมลู
65
การสรา้ งสรรค์ชนิ้ งานสื่อสขุ ภาวะ
การสอื่ สารสสู่ ังคม
การเผยแพร่สื่อสขุ ภาวะ การเผยแพรส่ ื่อสุขภาวะสู่กลมุ่ เปา้ หมาย
ผ่านชอ่ งทางส่อื ออนไลน์ ภายในพ้ืนทป่ี ฏบิ ัติการชุมชน
ผู้รบั สารเกดิ ความตระหนกั รูใ้ นประเด็นสุขภาวะ
สขุ ภาวะทดี่ ขี องบุคคล ชุมชน และสงั คม
4.11 กรณีศกึ ษา (Case Study) การนาส่ือสุขภาวะเชิงสร้างสรรค์ คิดดีไอดอล สื่อดมี ีไอเดีย
ออกสร้างความตระหนักรูส้ ู่ชุมชน
ผู้วิจัยได้คัดเลือกกรณีศึกษาการนาสื่อสุขภาวะเชิงสร้างสรรค์ คิดดีไอดอล สื่อดีมีไอเดีย
ออกสรา้ งความตระหนกั ร้สู ่ชู มุ ชน จานวน 4 ทมี จากทัง้ หมด 15 ทีม โดยอาศัยเกณฑ์การคัดเลือกทีม
จากสัดส่วนในการเข้ารอบสุดท้ายในการผลิตสื่อเมื่อเปรียบเทียบกันเป็นรายจังหวัด โดยจังหวัดใด
ท่มี ที ีมเข้ารอบสดุ ทา้ ย 2 ทมี จะคดั เลือกตวั แทนของจังหวัดนั้นแบบเจาะจงมาเป็นกรณีศึกษาหนึ่งทีม
66
ซึ่งการใชเ้ กณฑเ์ ชน่ นี้ ทาให้เจาะจงเลอื กทมี ผูผ้ ลติ สื่อจากจงั หวัดสงขลา มาจานวน 3 ทีม (จากทั้งหมด
7 ทีมท่เี ข้ารอบ) และเจาะจงเลือกทีมผผู้ ลติ ส่ือจากจังหวัดปัตตานีหน่ึงทีม (จากท้ังหมด 2 ทีมที่เข้ารอบ)
ดงั น้ี
1. ทีมนิเทศไมเนอร์ 96 มหาวิทยาลยั ทักษิณ
นาเสนอประเด็นสขุ ภาวะในเรื่อง “ส่งเสริมการกินผักและผลไม้ในเด็ก” โดยเลือกพื้นท่ี
ปฏบิ ตั ิการชมุ ชนเป็นนกั เรียนช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 4 จานวน 110 คน ของโรงเรียนบ้านบางดาน และ
โรงเรยี นเทศบาล 1 บ้านเขาแก้ว อาเภอเมอื ง จงั หวัดสงขลา
กิจกรรมการส่ือสารเพ่ือสรา้ งความตระหนักรสู้ ู่ชุมชนของทีมนิเทศไมเนอร์ 96 เริ่มจาก
กจิ กรรมการบรรยายให้เหน็ ถึงคุณคา่ ด้านโภชนาการและคุณประโยชน์ของการกินผัก ผลไม้ ทางกลุ่ม
ได้เปิดส่ือภาพยนตร์สั้นที่ผลิตขึ้นเพื่อรณรงค์และส่งเสริมการกินผักเพื่อสุขภาวะที่ดีของร่างกาย
ให้นกั เรียนกลุ่มเปูาหมายและผู้เข้ารว่ มกิจกรรมได้รับชม จากน้ันทางกลุ่มได้เร่ิมกิจกรรมในชว่ งท่สี อง
คือ การสาธติ และการสอนนกั เรยี นกลุ่มเปูาหมายให้ทาอาหาร (ซูชิผัก) ซึ่งได้รับความสนใจจากนักเรียน
กลุ่มเปูาหมายเป็นอย่างดีโดยในแต่ละขั้นตอนของการสาธิตและการสอนทาอาหาร (ซูชิผัก) นั้น
ทางทมี นิเทศไมเนอร์ 96 ไดส้ อดแทรกความรเู้ กย่ี วกบั คุณค่าทางอาหารจากวัตถุดิบแต่ละชนิดที่นามา
ประกอบอาหารในคร้งั น้ีซ่ึงนักเรียนกลุ่มเปูาหมายให้ความสนใจและมีการแลกเปล่ียนความรู้ระหว่าง
การทาอาหารอยา่ งสนุกสนาน
หลังจากเสรจ็ สิ้นกิจกรรมทั้งสองช่วงแล้ว ทีมนิเทศไมเนอร์ 96 ได้ทาการสรุปองค์ความรู้
ซึ่งได้จากกระบวนการดาเนนิ กิจกรรมให้นักเรียนกลุ่มเปูาหมายรับทราบ นอกจากน้ียังมีการเล่นเกม
ถาม - ตอบ เกี่ยวกับเน้อื หาสาระของกิจกรรมและคุณประโยชน์ของการบริโภคอาหารที่ถูกสุขภาวะ
ซง่ึ นักเรียนกลุ่มเปาู หมายสามารถนาความร้ทู ไ่ี ด้จากการชมส่อื ภาพยนตรส์ น้ั และการเข้าร่วมกิจกรรม
ในครั้งน้ีมาตอบคาถามได้อย่างถูกต้อง นอกจากนี้นักเรียนกลุ่มเปูาหมายหลายคนสามารถนาความรู้
ดงั กล่าวมาสรุปและอธิบายใหเ้ พ่ือน ๆ ฟังได้อย่างคอ่ นข้างสมบูรณ์
ทีมนิเทศไมเนอร์ 96 เป็นการรวมกลุ่มของนิสิตสาขานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ
ที่มีความรู้ความสามารถในการผลิตส่ือ โดยเริ่มจากการสารวจประเด็นปัญหาที่เกิดขึ้นจริงในพื้นท่ี
ปฏิบัติการ และด้วยทักษะด้านการส่ือสารของทีมงานประกอบเข้ากับลักษณะนิสัยของสมาชิกในทีม
ซึง่ สามารถสร้างความสนกุ สนานใหก้ ับกลมุ่ เปูาหมายได้เปน็ อยา่ งดี จึงกลายเป็นจุดแข็งของทีมที่สามารถ
ทาให้ประเดน็ ปญั หาที่ต้องการสอ่ื สารน้นั สามารถสนองความต้องการของกลุ่มเปูาหมายได้อย่างสมบูรณ์
67
นอกจากนี้ทีมงานทุกคนยังมีความใส่ใจและแสดงหาความรู้เพื่อนามาสร้างเป็นเนื้อหาสาหรับใช้
ในการบรรยายและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับกลุ่มหมายได้อย่างละเอียด และประการสาคัญยังมี
ความสามารถในการดดั แปลงเนอื้ หาเชิงวิชาการที่ค่อนข้างเข้าใจยากให้ออกมาเป็นเนื้อหาท่ีเข้าใจง่าย
และสนกุ สนาน จึงทาให้กลมุ่ เปูาหมายเกดิ ความเพลดิ เพลนิ และมีสว่ นร่วมในกิจกรรมทุกกระบวนการ
จากการที่ผู้วิจยั ได้เข้าร่วมสังเกตการณ์ พบว่า มีการออกแบบกิจกรรมและการสื่อสาร
ทเ่ี หมาะสมกบั ช่วงวัยของกล่มุ เปาู หมาย ซงึ่ สง่ ผลให้กลุ่มนักเรียนเปูาหมายเกิดความสนใจในกิจกรรม
เปน็ อย่างสงู ทั้งกิจกรรมการรบั ชมสื่อภาพยนตรส์ น้ั และกิจกรรมการส่ือสารเพือ่ สร้างความตระหนักรู้
ทงั้ รปู แบบของกิจกรรมยงั เปดิ โอกาสให้กลุ่มเปูาหมายได้รู้สึกถึงการเป็นส่วนหน่ึงของการจัดกิจกรรม
นอกจากน้ที ีมนิเทศไมเนอร์ 96 ยังเปิดโอกาสให้ผู้สนใจซึ่งเป็นครูและบุคลากรของโรงเรียนได้มีส่วน
ในการข้าร่วมกิจกรรมเนื่องจากกิจกรรมและสื่อที่ทีมงานผลิตข้ึนนั้นสอดคล้องกับสาระการเรียนรู้
ท่ีทางโรงเรียนใช้สอนอยู่ในชั้นเรียน และยังสามารถนามาบูรณาการเป็นสื่อการเรียนการสอน
ในรายวิชาได้เป็นอย่างดี ทาให้เกิดการแลกเปล่ียนมุมมองและสะท้อนประเด็นปัญหาสุขภาวะ
ที่เกิดข้ึนจริงในพ้ืนที่ปฏิบัติการ ซ่ึงส่งผลให้ส่ือท่ีผลิตข้ึนและกิจกรรมท่ีได้ออกแบบมานั้นสามารถ
ส่งผลในการสอ่ื สารไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพภายใตก้ ารทางานรว่ มกนั ของทุกภาคสว่ นท่เี กย่ี วขอ้ ง
2. ทีมไดเอทมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลศรีวชิ ัย
ทมี ไดเอท เปน็ การรวมกลมุ่ กันของนักศึกษาสาขาเทคโนโลยีส่ือสารมวลชน มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย ซึ่งสมาชิกทุกคนของทีมต่างมีทักษะเฉพาะด้านในการถ่ายทาภาพยนตร์
และนาเสนอประเด็นสุขภาวะในเร่ือง “การลดอว้ นในกลมุ่ เดก็ และเยาวชน” โดยเลอื กพ้ืนท่ีปฏิบัติการ
ชุมชนเป็นนักเรยี นชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 5 จานวน 104 คน ของโรงเรียนอนุบาลปุาบอน อาเภอปุาบอน
จังหวัดพทั ลุง โดยดาเนนิ กิจกรรมในวนั ที่ 14 กนั ยายน 2561
สาเหตุท่ีเลือกพื้นท่ีในการนาเสนอผลงานครั้งน้ี เนื่องจากหน่ึงในสมาชิกของกลุ่ม
เป็นผู้ที่มีภูมิลาเนาอยู่ในพื้นท่ีอาเภอปุาบอน และได้ลงสารวจพ้ืนที่ พบว่า นักเรียนระดับชั้นประถม
ของโรงเรียนอนบุ าลปาุ บอน มภี าวะเส่ียงต่อการอ้วนลงพุง เน่ืองจากขาดความตระหนักเร่ืองพฤติกรรม
การซื้อขนมทานหลงั เลิกเรยี น ซึ่งสว่ นใหญ่จะเป็นขนมถุงสาเร็จรูป และไอศกรีม และแม้ว่าทางโรงเรียน
จะจัดอาหารกลางวนั ตามหลกั โภชนาการให้แกน่ ักเรียน แตก่ ็ไม่สามารถสร้างการรับรู้และความเข้าใจ
ในเรื่องพฤติกรรมการบริโภคที่ดีต่อนักเรียน อีกท้ังผู้ปกครองของนักเรียนส่วนใหญ่เป็นชาวบ้าน
ซึ่งทางานเต็มเวลา และยังขาดความรู้ด้านโภชนาการที่ดีจึงไม่สามารถให้ความรู้แก่บุตรหลานได้
68
อย่างเต็มที่ ดังน้ันการใช้สื่อภาพยนตร์สั้นจึงเป็นสื่อท่ีน่าสนใจ และมีความเหมาะสมกับการสร้าง
การรบั รู้แก่กลุ่มเด็กประถมเก่ียวกบั การเพิม่ พนื้ ท่ีการออกกาลงั กายและภาวะอว้ นลงพงุ ได้
กิจกรรมการสื่อสารเพื่อสร้างความตระหนักรู้สู่ชุมชนของทีมไดเอท เริ่มกิจกรรม
ด้วยการละลายพฤติกรรมของนักเรยี นไปพรอ้ ม ๆ กับกิจกรรมด้านสันทนาการ และการตอบคาถาม
เกี่ยวกบั ความรูท้ ่ัวไปเกยี่ วกบั ภาวะอ้วนลงพุง จากนั้นทางกลุ่มได้ให้นักเรียนชมผลงานส่ือภาพยนตร์ส้ัน
ประเด็นอ้วนลงพุงในเด็กต่อด้วยการอบรมโดยวิทยากรเพ่ือให้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคอ้วน
และการปฏิบัติตัวเพื่อปูองกันภาวะอ้วนลงพุง พร้อมกิจกรรมการตอบคาถามเพื่อทดสอบความรู้
ความเข้าใจเพ่มิ เติมอกี ครง้ั และปิดท้ายกิจกรรมด้วยการฝึกปฏิบัติการสร้างเสริมสุขภาวะและเพ่ิมพ้ืนท่ี
ทางกายด้วยการเต้นโดยแขกรับเชิญพิเศษกลุ่ม มอสซิล่า จาก World of Dance Thailand
ด้วยการสาธิตการสอนท่าเต้นพ้ืนฐานให้กับนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมทุกคน และมีการมอบรางวัล
ใหก้ บั ตวั แทนนักเรียนซงึ่ ออกมาเตน้ โชว์แสดงความสามารถหน้าห้อง กิจกรรมน้ีก่อให้เกิดความเพลิดเพลิน
สนกุ สนาน ทงั้ ยังเหมาะสมตอ่ การสร้างความตระนักร้ใู นประเด็นสุขภาวะของกลุ่มเปูาหมายเปน็ อยา่ งดี
ผู้วิจัยได้เข้าร่วมสังเกตการณ์และพูดคุยกับนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมและพบว่า
กลุ่มเปูาหมายมีความสุข และสนุกสนานกับกิจกรรมดีมาก การใช้ส่ือภาพยนตร์ส้ันท่ีมีตัวแสดงหลัก
เปน็ เดก็ นักเรยี นในโรงเรียนอนบุ าลปุาพะยอมเอง ซ่ึงเป็นบุคคลท่ีประสบปัญหาภาวะอ้วนลงพุงโดยตรง
การใช้นักแสดงในลักษณะนี้ทาให้กลุ่มผู้รับสารเปูาหมายมีความคุ้นชิน สามารถสร้างการรับรู้ ดึงดูด
ความสนใจและเขา้ ถงึ กลมุ่ เปาู หมายได้เป็นอย่างดี ตลอดจนการออกแบบกิจกรรมการออกกาลังกาย
ดว้ ยการเต้น ก็มีความเหมาะสมกบั วัยเดก็ ที่ชอบความสนกุ สนาน ชอบการเขา้ สงั คมกบั เพือ่ นฝงู
เมื่อจบกิจกรรมแล้ว ผู้วิจัยได้สนทนาสอบถามกลุ่มเปูาหมาย พบว่า กิจกรรมคร้ังน้ี
ได้เสริมสร้างแรงบันดาลใจให้แก่เด็กท่ีมีภาวะอ้วนลงพุง ช่วยให้เด็กกลุ่มนี้อยากมีสุขภาพที่ดีขึ้น
กิจกรรมนยี้ ังเพิม่ การเฝูาระวงั แก่เด็กทีม่ ีภาวะเสีย่ งต่อสภาพอ้วนลงพุง การเพิ่มกิจกรรมการออกกาลังกาย
ด้วยการเต้นยังเป็นต้นแบบให้เด็กนักเรียนทุกคนสามารถนาไปปฏิบัติตามได้จริงในชีวิตประจาวัน
นอกเหนอื จากการเลน่ กีฬาท่ัวไป เช่น ฟตุ บอล บาสเกตบอล แบดมนิ ตัน ฯลฯ และนักเรียนกลุ่มเปูาหมาย
เหลา่ น้ีกลา่ ววา่ จะนาความรูท้ ีไ่ ด้จากการเขา้ รว่ มกิจกรรมนไี้ ปบอกต่อแกค่ นในครอบครัว และคนรอบข้าง
ต่อไป
3. ทีมบรุ งตานี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
69
ทีมบุรงตานี เป็นการรวมกลุ่มกันของนักศึกษาสาขาวิทยาการส่ือสาร มหาวิทยาลัย
สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี นาเสนอประเด็นสุขภาวะในเร่ือง “ส่งเสริมการกินผักและผลไม้
ในเด็กและเยาวชน” โดยเลือกพ้ืนท่ีปฏิบัติการชุมชนเป็นนักศึกษาช้ันปีท่ี 1 ถึง 3 จานวน 90 คน
ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จงั หวัดปัตตานี โดยดาเนนิ กจิ กรรมในวันท่ี 19 กนั ยายน 2561
สาเหตุที่เลือกพ้ืนที่ในการนาเสนอผลงานคร้ังน้ี เกิดจากการสังเกตสังเกตพฤติกรรม
ของเพอื่ น ๆ นกั ศกึ ษาที่มพี ฤติกรรมการรบั ประทานอาหารทหี่ ลกี เลีย่ งการกนิ ผกั และมักจะตักอาหาร
ประเภทผักออกจากจานอาหารในแต่ละม้ือ อีกท้ังยังไม่ค่อยสนใจในการออกกาลังกาย โดยมักจะมี
ข้ออ้างว่าไมม่ ีเวลาหรือเหน็ดเหนื่อยจากการเรียน ทางทีมงานเห็นว่าพื้นที่ของมหาวิทยาลัยเป็นพ้ืนท่ี
ที่สามารถจะรณรงค์และนาเสนอส่อื ทไ่ี ดผ้ ลิตข้ึนอยา่ งตรงกลุ่มเปูาหมาย จึงเกิดแรงบันดาลใจท่ีจะผลิตส่ือ
ท่ีเขา้ ใจง่ายและสอดแทรกความรใู้ นการเปลยี่ นแปลงพฤติกรรมให้กลุ่มนักศึกษาหันมากินผัก เพ่ือคุณค่า
ทางโภชนาการทค่ี รบถว้ นต่อรา่ งกาย
กิจกรรมการสื่อสารเพ่ือสร้างความตระหนกั รสู้ ู่ชุมชนของทีมบุรงตานี เร่ิมจากการเชิญ
วทิ ยากรมาให้ความรู้แก่กลมุ่ เปูาหมาย โดยใช้การเสวนาผา่ นประเด็นคาถามตา่ ง ๆ ควบคู่กับการนาเสนอ
องค์ความรจู้ ากสอื่ ท่ีวทิ ยากรไดเ้ ตรยี มมา โดยเปิดโอกาสให้กลุ่มเปูาหมายได้ซักถามในประเด็นต่าง ๆ
จากน้ันนาเสนอผลงานภาพยนตรส์ นั้ ท่ที ีมงานไดผ้ ลติ ขนึ้ ในประเด็นการรณรงค์และส่งเสริมการกินผัก
เพื่อสขุ ภาวะท่ดี ีของรา่ งกาย
ทีมบูรงตานี ไดร้ บั ความร่วมมือเป็นอยา่ งดีจากทกุ ภาคส่วนที่เก่ียวข้อง และจากการท่ีทีมงาน
เป็นนักกิจกรรมของมหาวิทยาลัยที่มีความรู้ความสามารถ จึงส่งผลให้ทุกภาคส่วนให้ความร่วมมือ
เป็นอย่างดี โดยมีอาจารย์และเจ้าหน้าท่ีของคณะให้ความอนุเคราะห์ในการเป็นที่ปรึกษาและให้ใช้
ห้องปฏิบัติการต่าง ๆ ในการผลิตผลงาน อีกทั้งนักศึกษาภายในคณะยังให้ความร่วมมือและร่วมเป็น
ส่วนหน่ึงในทีมงานสมทบด้วยการเป็นนักแสดงให้กับการผลิตสื่อในครั้งน้ี นอกจากนี้ทีมบูรงตานี
ยังได้รับความรว่ มมือจากภาคีท่ีเป็นอาจารย์จากสาขาวิชาพลศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย
สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ในการเข้ามาเป็นวิทยากรให้ความรู้ นอกจากนี้สื่อที่ทีมบูรงตานี
ผลิตข้ึนยังสามารถนาไปต่อยอดและใช้ประกอบการสอนในรายวิชา ของสาขาพลศึกษาได้อีกด้วย
ถือ ไ ด้ ว่ าเป็น ก าร ผลิ ตชิ้ น ง าน ที่ ตอ บโ จทย์ก ลุ่ มเปูาหมายและ ส า ม า ร ถ นา ไ ป ใ ช้ ใ น เ ชิ ง วิ ช า ก า ร ไ ด้
อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ
4. ทมี ชายโฉด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวชิ ยั
70
ทีมชายโฉดเป็นการรวมกลุ่มกันของนักศึกษาคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลศรวี ชิ ัย ท่มี ีความสามารถด้านการเต้น B - Boy, Hip - Hop และไอเดีย
ด้านการผลิตส่ือ นาเสนอประเด็นสุขภาวะในเรื่อง “การส่งเสริมสุขภาพทางกาย” โดยเลือกพ้ืนที่
ปฏบิ ัติการชุมชนเป็นนกั เรยี นระดับมธั ยมศึกษา อายรุ ะหว่าง 13 - 18 ปี จานวน 50 คน ของโรงเรียน
วรนารเี ฉลิม อาเภอเมือง จงั หวดั สงขลา โดยดาเนินกจิ กรรมในวนั ท่ี 14 สิงหาคม 2561
สาเหตุท่ีเลือกพื้นที่ในการนาเสนอผลงานครั้งนี้ ทีมชายโฉดมองถึงการมอบโอกาส
ให้กลุ่มเปูาหมาย ซึ่งเป็นนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาท่ีสนใจการเต้นและสนใจที่จะออกกาลังกาย
ด้วยการใช้ทักษะทางการเต้นมาเป็นกิจกรรมในการสร้างเสริมสุขภาพ สมาชิกกลุ่มยังให้ความสาคัญ
กับกลุ่มเปูาหมายท่ีไม่มีทักษะในการเต้นให้สามารถเข้ามาร่วมกิจกรรมได้อย่างสนุกสนานโดยเริ่มต้น
การสอนการเต้นดว้ ยท่าพืน้ ฐาน
กลุ่มชายโฉดยังมีความต้องการที่จะนาความสามารถท่ีสมาชิกของทีมมีอยู่ไปสื่อสาร
และเผยแพร่ให้กลุ่มบคุ คลทีส่ นใจได้มีโอกาสสร้างความสามารถและแสดงศักยภาพผ่านพื้นที่ปฏิบัติการ
โดยสามารถนาไปปรบั ใชเ้ ป็นงานอดิเรกเพอ่ื ให้ตนเองมสี ุขภาพทางจิต กาย และความคิดทด่ี ีตามมา
ทีมชายโฉดไดใ้ ช้เร่ืองราวและความสามารถของสมาชิกในทีมเป็นตัวเดินเรื่องในการผลิตสื่อ
เพ่ือสร้างแรงบันดาลใจให้คนที่ต้องการมีสุขภาพที่ดีมาออกกาลังกาย โดยการถ่ายทอดเรื่องราว
ในการส่งเสรมิ การออกกาลังกายที่ใชก้ ารเต้นและการเอาชนะใจตนเองเป็นแรงผลักดันให้กลุ่มเปูาหมาย
รับรู้วา่ การออกกาลังกายเปน็ เรอื่ งท่ีงา่ ยหากสามารถเอาชนะใจตวั เองได้
ผ้วู ิจัยไดเ้ ข้ารว่ มสงั เกตการณแ์ ละพบวา่ กจิ กรรมนี้ได้รับความสนใจและเกิดการเรียนรู้ข้ึน
ในกลมุ่ เปูาหมายเป็นอย่างสงู เนอื่ งจากกิจกรรมทีท่ มี ชายโฉดได้ออกแบบน้ันสอดคล้องกับความต้องการ
ของกลุ่มเปูาหมาย โดยเฉพาะการร่วมกันออกแบบท่าเต้นและการให้อิสระในการให้ข้อเสนอแนะ
และรว่ มแลกเปลยี่ นความคิดเหน็ ระหวา่ งผจู้ ัดกิจกรรมกับกลุ่มเปูาหมายท้ังน้ีกลุ่มเปูาหมายยังสามารถ
ไปเชิญชวนบุคคลอน่ื ๆ ทม่ี คี วามสนใจใหเ้ ขา้ ร่วมกจิ กรรมในลักษณะของการบอกต่อ ซง่ึ เป็นการขยายผล
และเป็นการประชาสัมพันธ์กิจกรรมการออกกาลังกายในรูปแบบน้ีได้อีกช่องทางหน่ึง นอกจากนี้
กลมุ่ เปูาหมายยงั มีโอกาสในการทาความรู้จักกับรุ่นพี่ระดับอุดมศึกษา ตลอดจนการสร้างเครือข่ายร่วมกัน
เพ่อื ใหก้ จิ กรรมการออกกาลังกายในลักษณะของการเต้นน้ีได้ตอ่ ยอดและขยายผลในวงกว้างตอ่ ไป
กิจกรรมของทีมชายโฉดมีจุดเด่น คือ การนาเอาท่าเต้น B - Boy และ Hip - Hop
มาประยุกต์กับการออกกาลังกายในรูปแบบท่ีเข้าใจง่ายโดยใช้พื้นฐานของการเคล่ือนไหวสรีระทางกาย
71
มาประกอบ ซง่ึ ทกุ คนสามารถเรียนร้ไู ด้แม้จะไมม่ พี ื้นฐานใด ๆ มาก่อนก็ตาม นอกจากน้ียังเปิดโอกาส
ให้นกั เรียนท่ีไม่มีความกล้าหรือมองวา่ ตนเองไม่สามารถออกกาลังกายได้โดยวธิ ีน้ใี ห้สามารถมพี ื้นฐาน
และใชค้ วามรู้ท่ไี ด้จากการเข้าร่วมกิจกรรมมาออกแบบท่าเตน้ ตามความถนัดและความสนใจของตนเอง
4.12 ความเปน็ นกั สอ่ื สารสุขภาวะกับเยาวชนผเู้ ขา้ ร่วมโครงการ
จากการศึกษา ผู้วิจัยได้สัมภาษณ์ตัวแทนผู้ผลิตสื่อสร้างสรรค์สุขภาวะที่เข้าร่วมโครงการ
คดิ ดีไอดอล ส่ือดีมีไอเดีย ท้ัง 15 ทีม โดยกาหนดระดับความสามารถในการเป็น “นักสื่อสารสุขภาวะ”
ไว้ 3 ระดับ ได้แก่ ระดับตน้ ระดบั กลาง และระดับสูง และให้ตัวแทนของแต่ละทีมประเมินตนเองว่า
หลังจากการเขา้ รว่ มโครงการคดิ ดีไอดอล สื่อดมี ีไอเดีย จนเสร็จสมบูรณ์แล้ว ตัวแทนของแต่ละทีมนั้น
ได้จัดระดับความสามารถต่อการเปน็ นักสือ่ สารสุขภาวะอยู่ในระดับใด ซ่ึงปรากฏผลว่า ตัวแทนผู้ผลิตส่ือ
ท่เี ขา้ ร่วมโครงการท้งั 15 ทมี ไดก้ าหนดความสามารถของตนเองอยู่ใน “ระดับกลาง” และอาจสามารถ
พัฒนาตนเองไปสู่การเป็นนักสื่อสารสุขภาวะใน “ระดับสูง” ได้ในอนาคต ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับโอกาส
ในการต่อยอดความรู้ ความเข้าใจในประเด็นการสื่อสารเพ่ือสุขภาพ และโอกาสในการพัฒนาตนเอง
ในการทางานโดยตรงจากสายงานทางด้านนี้ต่อไปในอนาคต ในขณะท่ีตัวแทนของทีมซึ่งกาลังศึกษา
อยู่ในระดับมัธยมศึกษาทีมหน่ึง ได้ตอบคาถามดังกล่าวว่าสนใจจะเข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยในสาขา
ท่เี ก่ยี วขอ้ งกบั สุขภาพหรือสาธารณสขุ ซง่ึ จะสง่ ผลให้ตนเองมีความเป็นนักสื่อสารสุขภาวะในระดับสูง
ตอ่ ไป
บทท่ี 5
บทสรุปและข้อเสนอแนะ
5.1 สรปุ และอภิปรายผล
72
โครงการคิดดไี อดอล ส่อื ดีมีไอเดีย เป็นโครงการซึ่งเกิดจากแนวคิดท่ีต้องการพลังของคน
รุ่นใหม่ ซึ่งสามารถใช้พลังส่ือเพ่ือการเปลี่ยนแปลงสังคมผ่านประเด็นสุขภาวะโดยเน้นให้เกิดผล
ในการสื่อสารตอ่ กล่มุ เปูาหมายซ่ึงเป็นเด็กและเยาวชนในพ้ืนที่ภาคใต้ โครงการน้ีดาเนินการโดยกลุ่ม
องคก์ รเอกชนภายใต้การสนบั สนุนทุนในการทากจิ กรรมโดยสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริม
สุขภาพ (สสส.) ซึ่งได้คัดเลือกนักเรียนหรือนักศึกษาจากสถาบันการศึกษาในภาคใต้ จานวน 15 ทีม
เพื่อรับโจทย์ผลิต “ส่ือสุขภาวะเชิงสร้างสรรค์”จาก 4 ประเด็น ได้แก่ 1) การลดความอ้วนในเด็ก
2) การสง่ เสรมิ การกินผักและผลไม้ในเด็ก 3) การเพิ่มกิจกรรมทางกาย และ 4) การปกปูองนักสูบหน้าใหม่
ซ่ึงทั้ง 15 ทีม ท่ีเข้าร่วมโครงการต่างผลิตส่ือสุขภาวะออกมาในรปู แบบของ “ภาพยนตร์สั้น” ตามแต่
ความคิดสร้างสรรค์ของแตล่ ะทมี เพือ่ เผยแพร่ผ่านเฟซบ๊คุ “KIDDEEIDOL” ซ่ึงการผลติ ภาพยนตร์ส้ันน้ี
เป็นไปตามกระบวนการ 3P ในการผลิตสื่อวีดีทัศน์ (Pre Production, Production, Post Production)
ตามท่ีมิลเลอร์สันและโอเวน (Millerson and Owens) ได้กาหนดไว้ ทั้งนี้พบว่าเหตุผลที่ผู้เข้าร่วม
โครงการเลือกผลิตสื่อวีดีทัศน์ให้มีลักษณะเป็นภาพยนตร์ส้ันน้ัน เพื่อเพ่ิมความน่าสนใจในเนื้อหา
ทต่ี อ้ งการจะสอื่ สารท้งั ยงั มีความเหมาะสม สามารถดึงดูดความสนใจของผู้รับสารเปูาหมายซึ่งอยู่ในวัยเด็ก
และเยาวชนไดเ้ ปน็ อยา่ งดี
จากน้นั มีการนาสอื่ วีดที ศั น์ในรูปของภาพยนตร์ส้ันนี้ออกเผยแพร่ในพ้ืนท่ีปฏิบัติการชุมชน
โดยกาหนดกลุ่มเปูาหมายในการสื่อสารให้สอดคล้อง และมีความเหมาะสมกับประเด็นสุขภาวะ
ท่ีได้กาหนดไว้ พร้อมกับการออกแบบกิจกรรมเสริมในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อสร้างความตระหนักรู้
ในประเด็นสุขภาวะแก่ “กลุ่มผู้รับสารเปูาหมาย” ทั้งนี้การสื่อสารสุขภาวะจาเป็นต้องใช้รูปแบบ
การส่ือสารที่หลากหลายเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ในการสื่อสารซึ่งสอดคล้องกับที่สมสุข หินวิมาน
กล่าวสรปุ ไวว้ า่ ผูส้ ง่ สาร ผกู้ าหนดเนื้อหาสาระต้องคานึงถึงกลยุทธ์ (Strategy) ท่ีจะถ่ายทอด “เน้ือสาร”
ไปยงั “ผรู้ บั สาร” ซ่ึงเป็นกลุ่มเปูาหมายท่ีมีความแตกต่างกัน ดังนั้นกลยุทธ์ท่ีใช้ในการถ่ายทอดเน้ือหาสาร
จึงย่อมมีความแตกต่างกนั ไปด้วย
คิดดีไอดอล ส่ือดีมีไอเดีย เป็นโครงการในลักษณะของการสื่อสารสุขภาพ Health
Communication ซง่ึ สอดคล้องกับนิยามความหมายของการสอ่ื สารเพื่อสุขภาพท่อี งค์การอนามัยโลก
ได้จากัดความไว้ว่า เป็นการใช้กลยุทธ์หลัก ๆ ในการบอกกล่าวหรือแจ้ง (Inform) ให้สาธารณชน
ทราบเก่ียวกับเรื่องสุขภาพด้วยการส่ือสารมวลชนและสื่อสารอ่ืน ๆ รวมทั้งนวัตกรรมด้านเทคโนโลยี
สารสนเทศต่าง ๆ โดยมุ่งหมายเผยแพร่เนื้อหา ข้อมูลด้านสุขภาพที่เป็นประโยชน์ต่อสาธารณชน
73
เพื่อให้เกิดความตระหนักในประเด็นสุขภาพท้ังในระดับปัจเจกบุคคลและระดับสังคม รวมถึงการให้
ความสาคญั เกีย่ วกับการพฒั นาสุขภาพ (Health Development) ด้วย
คิดดีไอดอล สื่อดีมีไอเดีย ยังเป็นโครงการท่ีสอดคล้องกับแนวคิดการสื่อสารเพื่อสุขภาพ
ขององค์การอนามัยโลก (อา้ งถึงใน กมลรัฐ อินทรทัศน์) ซึ่งสรุปว่า การสื่อสารเพื่อสุขภาพจะประกอบด้วย
การบูรณาการความร้จู ากหลากหลายความรู้เข้าด้วยกัน เช่น การสื่อสารระหว่างบุคคล (Interpersonal
Communication) การสื่อสารในองค์กร (Organization Communication) การส่ือสารในระดับชุมชน
(Community Communication) การสื่อสารเพื่อสังคม (Social Communication) การชี้นาด้านสื่อ
(Media Advocacy) หรอื แมแ้ ตก่ ารนา สาระบันเทิง (Edutainment) เข้ามาช่วยในการส่ือสาร ฯลฯ
ท้ังนีป้ ระเด็นเน้อื หาด้านสขุ ภาพตา่ ง ๆ จะถูกนามาเสนอผา่ นชอ่ งทาง (Chanel) หรือผ่านสื่อ (Media)
ที่มีความหลากหลาย เพ่ือวตั ถปุ ระสงคใ์ นการเพิ่มการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพแก่กลุ่มเปูาหมาย
อย่างมปี ระสิทธิภาพ (Efficiency) และประสทิ ธิผล (Effectiveness) มากยง่ิ ขึ้น
ท้ังยงั สอดคล้องกับแนวคิดของรัชเซลและคณะ (Ratzan and Other) ในแง่ของการดาเนิน
โครงการนีใ้ นลกั ษณะของการใชเ้ ทคนคิ และศิลปะในการบอกกลา่ ว รวมท้ังการสร้างอิทธิพล (Influence)
และแรงจูงใจ (Motivate) แก่กลุ่มเปูาหมายเก่ียวกับประเด็นสุขภาพ โดยขอบเขตของการสื่อสาร
เพ่ือสุขภาพน้ันจะรวมถึงการปูองกันโรค (Disease Prevention) การสร้างเสริมสุขภาพ (Health
Promotion) รวมถึงการมีคณุ ภาพชีวติ ท่ีดขี องคนในสงั คมโดยรวม
ด้านกระบวนการในการคัดเลือกประเดน็ และกาหนดโจทย์ในการผลิตส่ือสขุ ภาวะเชิงสร้างสรรค์
จากโครงการคิดดไี อดอล ส่ือดีมไี อเดยี นนั้ พบว่าท้งั 15 ทีม ได้เลือกประเด็นเพื่อการสื่อสารและเลือก
แกนเรอื่ ง (Theme) ทตี่ อ้ งการส่ือสารในฐานะผู้ส่งสารโดยใช้การ “กาหนดประเด็นวาระ” (Agenda
Setting) ขึน้ มาจากความสนใจของสมาชิกทีมผู้ผลิตส่ือเป็นหลักพ้ืนฐานลาดับแรก จากน้ันสมาชิกในทีม
จงึ มาพจิ ารณาถึงความเหมาะสมและความเป็นไปได้ที่จะทาใหก้ ารผลิตชิน้ งานสื่อออกมาอย่างสมบูรณ์
และนาไปเผยแพร่ต่อกลุ่มผู้รับสารเปูาหมายในพื้นที่ชุมชนได้อย่างบรรลุตามวัตถุประสงค์ ที่ตั้งไว้
ท้ังนี้การเลือกเรอื่ งท่ีจะผลิตสือ่ และการกาหนดประเด็นวาระในการสื่อสาร เกิดจากเหตุผลใด ๆ ดังนี้
1) เป็นเรอื่ งใกลต้ วั หรือ 2) การนาประสบการณ์รว่ ม หรอื ความสัมพันธ์ใกล้ชิดที่ตนเองมีอยู่มาเป็นประเด็น
ในการส่ือสาร หรือ 3) การนาปัญหาสุขภาวะที่สังคมประสบอยู่มาเป็นโจทย์วาระในการส่อื สาร หรือ
4) มีความตอ้ งการในการสร้าง “ประเด็นเฉพาะ” ข้ึนมาเป็นวาระในการส่ือสาร (ซงึ่ ในทางปฏิบัติจริง
แล้วอาจเกิดจากการรวมหลายแนวคิดดังท่กี ล่าวไวผ้ สานเข้าดว้ ยกัน)
74
ด้านเน้ือหาของสอ่ื สขุ ภาวะเชงิ สร้างสรรค์ในรูปของ “ภาพยนตร์สั้น” ท่ีผลิตข้ึนจากโครงการ
คดิ ดีไอดอล สือ่ ดมี ีไอเดยี น้นั พบวา่
1. ความยาวของภาพยนตร์สั้นที่ผลิตขึ้นมานั้นมีความแตกต่างกันออกไป โดยเนื้อหาที่มี
ความยาวน้อยสุดอยู่ท่ี 1.21นาที เนื้อหาความยาวมากสุดอยู่ท่ี 8.45 นาที ซึ่งส่งผลต่อ “คุณภาพ
การผลิต” อย่างมีนัยยะสาคัญ กล่าวคือ เวลาในการนาเสนอของบางทีมอาจสามารถตัดต่อเนื้อหา
ให้สน้ั กระชับกว่าท่ีนาเสนอออกมาได้ ในทางตรงข้ามขณะท่ีการนาเสนอของบางทีมอาจตัดต่อเนื้อหา
ใหด้ สู มบรู ณ์ขนึ้ โดยการขยายเวลาในการนาเสนอใหเ้ พ่มิ มากข้ึน
2. กลวิธีในการเลา่ เรื่อง พบว่า มีความแตกต่างกันขึ้นกับ “ประเดน็ โจทย์ท่ีตอ้ งการส่ือสาร”
และขึ้นกับ “ความคิดสร้างสรรค์” (Creativity) ของแต่ละทีม ซึ่งสามารถสรุปออกมาได้ ดังน้ี
การดาเนนิ เรอื่ งแบบช้ีนาให้เหน็ ถึงโทษ, การดาเนนิ เรื่องแบบช้นี าให้เห็นถึงประโยชน์, การดาเนินเรื่อง
แนวเปรยี บเทียบ, การดาเนินเรื่องแบบสร้างให้เกิดแรงบันดาลใจ, การดาเนินเร่ืองแนวคลี่คลายปมปัญหา,
การดาเนินเรอ่ื งแบบให้ความรคู้ วามเข้าใจโดยตรง, การดาเนินเรือ่ งแนวผสมผสาน
3. รูปแบบในการดาเนินเรื่อง พบว่า แต่ละทีมมีรูปแบบในการดาเนินเร่ืองแตกต่างกัน
ออกไปตาม “ประเด็นโจทย์สุขภาพ” ที่ต้องการส่ือ ซึ่งกาหนดให้มี “ตัวละครหลัก” เป็นตัวดาเนินเร่ือง
โดยมีรูปแบบการนาเสนอใน 2 รูปแบบหลัก คือ 1) การนาเสนอโดยมีบทสนทนา และ 2) การนาเสนอ
โดยไมม่ ีบทสนทนาใด ๆ ของตวั ละคร
4. เน้ือหา จากการศกึ ษาพบว่าเนื้อหา (Content) ทถ่ี ูกผลิตข้ึนในสื่อวีดีทัศน์จากโครงการ
คิดดีไอดอล สือ่ ดมี ไี อเดีย ได้ถกู นาเสนอออกมาให้ดูเข้าใจง่าย ไม่เน้นนาเสนอแบบเป็นทางการหรือเป็น
วชิ าการอยา่ งเต็มรูปแบบ และนาเสนอโดยใชภ้ าพเป็นหลักในการเล่าเร่ืองในบางช่วงมีการนาคาศัพท์
หรอื สานวนคาพดู ทนี่ ิยมใชใ้ นหมู่วัยรุ่น หรือนาคาแสลง (Slang) มาประกอบในบทสนทนาหรือคาบรรยาย
และในบางกรณีมีการนาภาษาถิ่นใต้มาเป็นบทสนทนา การนาเสนอในบางช่วงของบางทีมไม่เน้น
“ความสมจริง” (Reality) โดยนาเสนอในรูปแบบ “เหนือความเป็นจริง” (Fantastic) และในรูปแบบ
“บทบาทสมมุติ” (Role Play) เพ่อื สรา้ งสีสนั และเพิม่ ความนา่ สนใจในการรบั ชม
โดยสรปุ โครงการนกั ส่ือสารสร้างสรรค์ไอเดยี สขุ ภาวะ คดิ ดไี อดอล ส่อื ดมี ไี อเดยี เป็นโครงการ
ท่ีมุง่ สร้างและเสริมพลงั เยาวชนภาคใต้ให้แสดงความสามารถทางการส่ือสารเชิงประเด็น ผ่านการวิเคราะห์
และสรา้ งสรรคส์ อ่ื เพอื่ นาไปเผยแพร่และสื่อสารสู่พ้ืนที่ปฏิบัติการชุมชน โครงการคิดดีไอดอล ส่ือดีมีไอเดีย
ม่งุ สรา้ ง “นกั สือ่ สารสขุ ภาวะ” ในรูปแบบของเยาวชนผ้นู าการเปล่ยี นแปลงทางสังคมที่เกิดจากการสร้าง
75
ความร่วมมือของเครือข่ายและทุกภาคส่วนท่ีเก่ียวข้องในการแบ่งปันองค์ความรู้สู้พ้ืนที่ปฏิบัติการ
และพน้ื ที่ทางสังคม
5.2 ประโยชน์ของงานวิจัยและข้อเสนอแนะ
โครงการคิดดีไอดอล ส่ือดีมีไอเดีย สามารถนามาประยุกต์ใช้ในการส่ือสารเพ่ือสุขภาพ
โดยการผลิตสอื่ สขุ ภาวะเชิงสร้างสรรคใ์ นประเดน็ สุขภาวะประเด็นอ่ืน ๆ ได้ในโอกาสต่อไป ทั้งยังเป็น
ตัวอย่างที่ดีในการ “ส่งสาร” ไปยัง “ผู้รับสาร” โดยท่ี “ผู้ส่งสาร” และ “ผู้รับสาร” ในโครงการน้ี
แทบจะถือได้ว่าเป็นกลุ่มคนที่มาจากกลุ่มบุคคลเดียวกันหรือเป็นกลุ่มคนท่ีมีความใกล้เคียงกัน
ในทกุ ๆ ปจั จยั แวดลอ้ ม ซง่ึ ส่งผลใหเ้ กดิ ประสทิ ธิภาพในการส่อื สารที่ดีตามมา
ผลการวิจยั ครงั้ น้ียงั เปน็ แนวทางใหม้ ีการศกึ ษาวิจัยการส่ือสารด้านสุขภาวะโดยการบูรณาการ
ศาสตร์เขา้ หากันระหวา่ งศาสตร์ด้านนิเทศาสตร์ในแงข่ องกระบวนการการส่ือสารและหลักการผลิตส่ือ
ในรูปของวีดิทัศน์ (ภาพยนตร์ส้ัน) เข้ากับศาสตร์ทางด้านสุขภาวะโดยตรง อันจะส่งผลเป็นแนวทาง
ในการเกดิ งานวจิ ัยลักษณะเชน่ นตี้ ามมาในอนาคต
ผลจากการวิจัยในคร้ังน้ียังสามารถช่วยให้ผู้เข้าร่วมโครงการคิดดีไอดอล สื่อดีมีไอเดีย
ในปีต่อไปใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาการผลิตส่ือสุขภาวะเชิงสร้างสรรค์ในรูปแบบของการผลิตสื่อ
วดี ที ัศนใ์ หม้ ีความสมบูรณ์ยง่ิ ขึ้น โดยผู้วิจยั มีขอ้ เสนอแนะวา่ ควรผลิตส่ือสุขภาวะเชิงสร้างสรรค์ในรูปของ
วีดิทัศน์หรือภาพยนตร์ส้ันที่มีความเป็นสาระบันเทิง (Edutainment) เพ่ือการเข้าถึงกลุ่มเปูาหมายได้
อย่างมีประสิทธิผล และอาจเพ่ิมหรือคัดเลือกประเด็นสุขภาวะด้านอ่ืน ๆ ที่ส่งผลกระทบต่อเด็ก
และเยาวชนมาเปน็ โจทย์ในการผลิตสื่อสุขภาวะในโอกาสต่อไป นอกจากน้ีในอนาคตอาจขยายโครงการ
การผลิตส่ือเพื่อการสื่อสารสุขภาวะในลักษณะเช่นน้ีไปยังภูมิภาคอื่น ๆ เพ่ือขยายผลความสาเร็จ
และขยายกล่มุ เปูาหมายให้กวา้ งข้นึ ตอ่ ไป
บรรณานุกรม
กญั จนากร ยมศรเี คน. (2559). ผลของหนงั สั้นเพ่ือป้องกันพฤติกรรมการสบู บุหรขี่ องนักเรียน
76
ชน้ั มัธยมศกึ ษาตอนตน้ อาเภอบางละมงุ จังหวัดชลบรุ ี. วิทยานพิ นธ์
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต คณะสาธารณสขุ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยบรู พา.
กาญจนา แก้วเทพ และเธียรชยั อิศรเดช. (2549). สอ่ื พน้ื บา้ น ขานรับงานสขุ ภาพ. กรุงเทพฯ :
โครงการส่ือพนื้ บ้านส่ือสารสขุ (สพส.)
กมลรัฐ อินทรทศั น.์ (2547). การสื่อสารเพอ่ื สุขภาพ : ววิ ฒั นาการและการก้าวส่คู วามทา้ ทาย
ในศตวรรษท่ี 21. กรงุ เทพฯ : โครงการการพัฒนาองคค์ วามรกู้ ารส่ือสารเพอ่ื สขุ ภาพ
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
กรมอนามยั . (2560). เอกสารรายงานประจาปี 2560. กรงุ เทพฯ.
ชลทิชา สุทธินิรันดรก์ ลุ . (2545). หนว่ ยที่ 6 การวิเคราะห์เน้อื หาทางสารสนเทศาสตร์
ใน ประมวลสาระชุดวชิ าการวจิ ัยทางสารสนเทศาสตร.์ นนทบุรี :
มหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าช
ดวงพร คานูณวฒั น์ และคณะ. (2553). สอื่ พน้ื บา้ นเพอ่ื สขุ ภาวะเยาวชน. กรงุ เทพฯ :
วารสารภาษาและวัฒนธรรม ปที่ 29 ฉบับท่ี 2.
ปารชิ าติ สถาปิตานนท์ และคณะ. (2546). การสื่อสารสุขภาพ : ศกั ยภาพของสอ่ื มวลชนไทย
ในการสร้างเสริมสุขภาพ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพภ์ าพพิมพ์.
ปรมะ สตะเวทนิ . (2539). การสื่อสารมวลชน กระบวนการและทฤษฏี. กรงุ เทพฯ : ภาพพิมพ.์
ประภาวดี สืบสนธ์. (2530). การวิจัยบรรณรกั ษศาสตรแ์ ละนิเทศาสตร์. กรุงเทพฯ :
ไมป่ รากฏสานักพิมพ์.
พีระ จริ โสภณ. (2548). ทฤษฏีการส่ือสารมวลชน ประมวลสาระชดุ วชิ าปรชั ญานิเทศศาสตร์
และทฤษฏีการส่ือสาร. นนทบรุ ี : มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธริ าช.
ฟสิ กิ ส์ ฌอณ บัวกนก. (2558). การพฒั นาสื่อเพอื่ การเรียนรู้ โดยกระบวนการมีส่วนรว่ มของชมุ ชน
เพือ่ การสร้างความตระหนกั สุขภาวะชุมชนสขุ ภาพดี กรณีศึกษาชมุ ชนบา้ นแพะ
ตาบลชมพู จงั หวดั ลาปาง. กรงุ เทพฯ : วารสารครุศาสตร์ ปีท่ี 43 ฉบบั ที่ 1.
มาลี บญุ ศริ พิ ันธ์. (2549). การศึกษาเชงิ นโยบายการสรา้ งนกั ส่ือสารสุขภาพและระบบการสอ่ื สาร
สุขภาพแหง่ ชาติ. กรงุ เทพฯ : สถาบันวิจยั ระบบสาธารณสุข.
ยบุ ล เบญจรงคก์ ิจ. (2542). การวิเคราะห์ผูร้ บั สาร. กรุงเทพฯ : คณะนเิ ทศศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์
77
มหาวทิ ยาลัย.
วาลี ขันธวุ าร. (2557). ข่าวคือขอ้ เทจ็ จริงแตอ่ าจไมใ่ ชค่ วามจริงเสมอไป. ขอนแกน่ :
วารสารมนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์. ปีที่ 4 ฉบับท่ี 1.
วาสนา จันทร์สวา่ ง. (2548). การสือ่ สารสขุ ภาพ : กลยทุ ธใ์ นงานสขุ ศึกษาและการสรา้ งเสรมิ สุขภาพ.
กรุงเทพฯ : โรงพิมพเ์ จรญิ ดีการพมิ พ์.
วิชชา สันทนาประสทิ ธ.์ิ (2555). บทบาทของภาพยนตร์กับพฤติกรรมทางเพศของวยั รนุ่ ไทย
กรณีศึกษานกั ศกึ ษามหาวิทยาลยั ราชภัฏสวนสนุ นั ทา. กรงุ เทพฯ : มหาวทิ ยาลัยราชภัฏ
สวนสุนนั ทา
ศนู ย์วิจยั และจัดการความรู้เพือ่ การควบคมุ ยาสูบ. (2560). เอกสารรายงานประจาปี 2560. กรงุ เทพฯ.
สมสขุ หินวมิ าน. (2546). แนวทางการศกึ ษาและการเข้าส่ปู ัญหาเรอ่ื งการส่ือสารกับสุขภาพ.
กรุงเทพฯ : วารสารวิจัยสงั คม. ปที ่ี 26 ฉบบั ที่ 1.
สานกั งานกองทนุ สนับสนนุ การสร้างเสรมิ สุขภาพ. (2561). คิดดีไอดอล “เปล่ียน” สงั คมดว้ ยพลงั
ส่ือคนรนุ่ ใหม่. กรงุ เทพฯ.
หนึง่ ฤทัย ขอผลกลาง และกติ ติ กันภัย. (2553). งานวิจยั ดา้ นการส่ือสารสขุ ภาพ : กลไกในการพัฒนา
สังคม. กรงุ เทพฯ : วารสารเทคโนโลยีสรุ นารี. ปีท่ี 4 ฉบบั ที่ 1.
อภริ ดี เกลด็ มณี. (2551). การวิเคราะหเ์ นอ้ื หาวารสารห้องสมุดของสมาคมหอ้ งสมุดแหง่ ประเทศไทย
ปที ี่ 23 - ปีที่ 50. กรงุ เทพฯ : มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์.
Dearing, J., W., and Rogers E., M. (1996). Agenda - Setting. California : Sage.
Gerald Millerson, Jim Owens. (2009). Television Production. New York.
Focal Press. Mc Quail,. Ratzan and other. (2004). HleathLiterracy A Perscription to
End Confusion. Washington. National Academies Press.
Ratzan, S. C., Payne, J. G., & Bishop, C. (1996). The Status and Scope of Health
Communication. Journal of Health Communication.
Ronald J. Compesi. (2007). Video Field Production and Editing. Boston. PEARSON.
Wallack.
78
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก
ผลงานการผลติ ส่ือสุขภาวะเชิงสร้างสรรค์ ในรูปของภาพยนตรส์ นั้
ของท้งั 15 ทีม จากโครงการคดิ ดไี อดอล ส่ือดีมไี อเดีย
79
ทมี ชอ่ ราชพฤกษ์ - มหาวทิ ยาลยั ราชภัฎสรุ าษฎรธ์ านีจังหวดั สุราษฎรธ์ านี
ช่อื ผลงาน ขยับแบบมวยไชยา ประเดน็ สุขภาวะ การเพ่มิ กิจกรรมทางกาย
https://www.facebook.com/Kiddeeidol/videos/604399926643330/
?v=604399926643330
ทีม Banana Quality - มหาวิทยาลยั หาดใหญ่จังหวดั สงขลา
ชอื่ ผลงาน ขยบั = ออกกาลงั กาย ประเด็นสุขภาวะ การเพ่ิมกิจกรรมทางกาย
https://www.facebook.com/Kiddeeidol/videos/500943713708690/?v=
500943713708690
80
ทมี ชายโฉด - มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลศรีวิชัย จังหวัดสงขลา
ชื่อผลงานB - BOY เพ่ิมพื้นทกี่ ิจกรรมทางกาย
ประเด็นสุขภาวะ การเพิม่ กิจกรรมทางกาย
https://www.facebook.com/Kiddeeidol/videos/1823978587646805/
ทมี TANN - มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ภูเกต็ จังหวัดภูเก็ต
ชอื่ ผลงาน ลดอว้ นลงพงุ ประเดน็ สขุ ภาวะ ลดอ้วนในกล่มุ เด็กและเยาวชน
https://www.facebook.com/Kiddeeidol/videos/1873828739407223/
?v=1873828739407223
81
ทีม ไดเอท - มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลศรวี ิชยั จังหวดั สงขลา
ชอ่ื ผลงาน ทีมไดเอท ประเด็นสุขภาวะ ลดอว้ นในกลุ่มเด็กและเยาวชน
https://www.facebook.com/Kiddeeidol/videos/1823394821038515/
ทมี Choose Studio - โรงเรยี นมสุ ลมิ ศึกษา จังหวดั สตลู
ชอื่ ผลงาน ด.ช. กนิ ผัก ประเด็นสุขภาวะ เดก็ อว้ นและการเพม่ิ ผักและผลไม้ในเด็ก
https://www.facebook.com/Kiddeeidol/videos/386680945437754/
82
ทมี ผัดผกั นา้ มันจ๋อย - มหาวิทยาลยั ราชภัฏสรุ าษฏร์ธานี จงั หวัดสุราษฏรธ์ านี
ชอื่ ผลงาน ลองกินดูสิ ประเดน็ สุขภาวะ เด็กอ้วนและการเพิม่ ผกั และผลไม้ในเด็ก
https://www.facebook.com/Kiddeeidol/videos/2218190918462187/
ทมี นเิ ทศไมเนอร์ 96 - มหาวิทยาลัยทกั ษิณ จังหวัดสงขลา
ช่ือผลงาน ฮโี ร่ผกั ประเดน็ สุขภาวะ สง่ เสรมิ การกนิ ผักและผลไม้ในเด็ก
https://www.facebook.com/Kiddeeidol/videos/269626560388410/
83
ทมี บุรงตานี - มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ จังหวดั ปตั ตานี
ชอื่ ผลงาน ชวนคนกนิ ผัก ประเดน็ สขุ ภาวะ ส่งเสรมิ การกินผกั และผลไม้
https://www.facebook.com/Kiddeeidol/videos/2199858113595478/
ทมี นเิ ทศไมเนอร์ 97 - มหาวทิ ยาลยั ทกั ษิณจังหวดั สงขลา
ชอื่ ผลงาน ประโยชนข์ องผกั ประเดน็ สขุ ภาวะ ส่งเสริมการกินผกั และผลไมใ้ นเดก็
https://www.facebook.com/Kiddeeidol/videos/349940915560082/
?v=349940915560082
84
ทมี หลอดตะเกยี บ - มหาวทิ ยาลัยหาดใหญ่ จังหวดั สงขลา
ชอ่ื ผลงาน ไมส่ ูบ ไมแ่ ก่ ประเด็นสขุ ภาวะ ปกปูองนักสบู หน้าใหม่
https://www.facebook.com/Kiddeeidol/videos/1929599493760209/
ทมี NP STUDIO - โรงเรยี นเหนือคลองประชาบารุง จังหวัดกระบี่
ชือ่ ผลงาน ชวนนอ้ งไมส่ ูบ ประเด็นสุขภาวะ ปกปูองนกั สูบหนา้ ใหม่
https://www.facebook.com/Kiddeeidol/videos/193002284951822/
85
ทมี Be Your Self - มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลศรีวชิ ัย จังหวัดสงขลา
ช่ือผลงาน RESISTOR ประเดน็ สุขภาวะ ปกปอู งนกั สูบหน้าใหม่
https://www.facebook.com/Kiddeeidol/videos/2204151556493459/
ทมี VII - โรงเรยี นกลั ยาณีศรธี รรมราช จงั หวัดนครศรีธรรมราช
ช่ือผลงาน STILL FOLLOW ประเด็นสขุ ภาวะ ปกปูองนกั สูบหน้าใหม่
https://www.facebook.com/Kiddeeidol/videos/2183973311876264/
86
ภาคผนวก ข
รายชื่อสมาชกิ ในทีมและรายชอ่ื ทีมท่ผี า่ นการคดั เลอื กเขา้ สู่
โครงการคิดดีไอดอลส่ือดมี ไี อเดีย ปี 2
1. ทมี ชอ่ ราชพฤกษ์ - มหาวิทยาลัยราชภัฎสรุ าษฏรธ์ านี
1.1 นายอษั ฎาวุธ สงู สดุ
1.2 นายยงยุทธ ทองพทิ กั ษ์
1.3 นายธนวฒั น์ สุขชูวิเลิศ
1.4 นายดษิ พงษ์ สุขอ่อน
1.5 นางสาวกนกวรรณ หนปู ลอด
2. ทมี Banana Quality - มหาวิทยาลยั หาดใหญ่
2.1 นางสาววรศิ รา แซโ่ ล่
2.2 นางสาวนรศิ รา แซล่ ิว่
2.3 นางสาวเกษรินทร์ ไทยตอ่ น
2.4 นางสาวพรนภา บญุ สู่
3. ทีมชายโฉด - มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลศรีวชิ ัย
3.1 นายภาสกร สวสั ดริ ักษา
3.2 นายสรศกั ดิ์ เกตแุ กว้
3.3 นายกฤตนู สุสานนท์
4. ทมี TANN - มหาวิทยาลัยราชภฏั ภูเกต็
4.1 นายกติ ติ เต๋จะมี
4.2 นายอัสรี ประไหมสุหรี
4.3 นางสาวธัญญลักษณ์ การะเกด
4.4 นางสาวเทยี นจิรา คุณชล
5. ทมี ไดเอท - มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลศรวี ิชัย
5.1 นางสาวกฤตพร มีใจใส
5.2 นางสาวศริ ิรตั น์ จุฑาชวี นนั ท์
5.3 นายรณพร ปราบหนุน
87
6. ทมี Choose Studio - โรงเรียนมุสลิมศึกษา อาเภอเมอื ง จังหวดั สตูล
6.1 นายวชริ วิทย์ กจิ นิตยช์ รี ์
6.2 นายอัชชิดติ๊ก อ๊ะสมนั
6.3 นายกาธร ยาเล๊าะ
6.4 นายเจฟพี่ ศรีเหมาะ
6.5 นายมุมนิ ตาแลหมัน
7. ทมี ผดั ผักนา้ มนั จอ๋ ย - มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฏร์ธานี
7.1 นางสาวพนดิ า เพช็ พนั ธ์
7.2 นายธิติ พิวัฒน์
7.3 นายจิรายุ วัชรมสู ิก
7.4 นายรณภพ ทองบุญมา
7.5 นายธรี นนั ท์ จรญู รักษ์
8. ทมี นเิ ทศไมเนอร์ 96 - มหาวิทยาลยั ทักษิณ
8.1 นางสาวสพุ รรณกิ าร์ นพรตั น์
8.2 นาวสาวปวัณรตั น์ พชั ณี
8.3 นางสาวกมลรัตน์ ศรีสุข
9. ทมี บุรงตานี - มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ วิทยาเขตปัตตานี
9.1 นางสาวฮารีเมาะห์ สาแม
9.2 นางสาวปภัสรา ชิตมณี
9.3 นายพงศเ์ ทพ บญุ เลิศนิรนั ทร์
9.4 นายวรพงศ์ รตั นผล
10. ทีมนเิ ทศไมเนอร์ 97 - มหาวิทยาลัยทักษิณ
10.1 นายสพุ พิ ฒั น์ เกษเหมอื น
10.2 นายนพดล แซ่อึง้
10.3 นางสาวยพุ เรศ พรหมจรรย์
88
11. ทีมหลอดตะเกียบ - มหาวทิ ยาลยั หาดใหญ่
11.1 นางสาวนาถตยา กลั ยะเวทย์
11.2 นางสาวสุธดิ า สงั ข์สวัสด์ิ
11.3 นายศภุ กรณ์ แสงสว่าง
11.4 นายกรกช อัมพรวิวัฒน์
12. ทมี NP STUDIO - โรงเรียนเหนอื คลองประชาบารงุ อาเภอคลองทอ่ ม จังหวัดกระบ่ี
12.1 นายภมู ภิ ัทร ภมู ิอมร
12.2 นายปฏิภาณ หิรัญ
12.3 นายกรฏนัย บญุ ชวู งศ์
12.4 นายวรปรัช เจยี วกก๊
12.5 นายศราวุธ จงจิตร
13. ทมี Be yourself - มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลศรีวิชัย
13.1 นายพสิ ิฐ จิตสวุ รรณ
13.2 นายศรารัชต์ ช่องรักษ์
13.3 นางสาวศริ ลิ กั ษณ์ ศรบี วั ริน
14. ทมี VII - โรงเรยี นกลั ยาณีศรธี รรมราชอาเภอเมือง จังหวดั นครศรธี รรมราช
14.1 นายเสฏฐวฒุ ิ ทองอยู่
14.2 นายปฐมศา พรหมเดชะษา
14.3 นายนลธวัช กาญจนสวุ รรณ์
14.4 นายปยิ พงษ์ ชปู ระพันธ์