The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ระบบการจัดการทรัพยากรบุคคล บริษัท ชโย โลจิสติกส์ จำกัด
HUMAN RESOURCE MANAGEMENT SYSTEM CHAYO LOGISTICS CO,LTD.
สุภาพร แสงจันทร์
SUPAPORN SAENGJUN
รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ
มหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาเขตชลบุรี
ปีการศึกษา 2562

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by informatic, 2021-03-17 01:06:37

ระบบการจัดการทรัพยากรบุคคล บริษัท ชโย โลจิสติกส์ จำกัด

ระบบการจัดการทรัพยากรบุคคล บริษัท ชโย โลจิสติกส์ จำกัด
HUMAN RESOURCE MANAGEMENT SYSTEM CHAYO LOGISTICS CO,LTD.
สุภาพร แสงจันทร์
SUPAPORN SAENGJUN
รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ
มหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาเขตชลบุรี
ปีการศึกษา 2562

ร ะ บ บ ก า ร จั ด ก า ร
ท รั พ ย า ก ร บุ ค ค ล

บริ ษั ท ชโย โลจิ สติ กส์ จํากั ด

สุ ภาพร แสงจั นทร์

รายงานฉบั บนี เปนส่ วนหนึ งของการปฏิ บั ติ งานสหกิ จศึ กษา
สาขาวิ ชาคอมพิ วเตอร์ ธุ รกิ จคณะเทคโนโลยี สารสนเทศ
มหาวิ ทยาลั ยศรี ปทุ ม วิ ทยาเขตชลบุ รี
ปการศึ กษา 2562

SPU CHONBURIระบบการจดั การทรพั ยากรบุคคล บรษิ ทั ชโย โลจสิ ติกส์ จำกดั
HUMAN RESOURCE MANAGEMENT SYSTEM CHAYO LOGISTICS CO,LTD.

สุภาพร แสงจันทร์
SUPAPORN SAENGJUN

รายงานฉบบั น้เี ปน็ ส่วนหนงึ่ ของการปฏบิ ัติงานสหกจิ ศกึ ษา
สาขาวชิ าคอมพิวเตอร์ธรุ กจิ คณะเทคโนโลยสี ารสนเทศ
มหาวิทยาลัยศรปี ทุม วิทยาเขตชลบรุ ี
ปีการศึกษา 2562

SPU CHONBURIระบบการจัดการทรัพยากรบุคคล บรษิ ัท ชโย โลจิสติกส์ จำกัด
HUMAN RESOURCE MANAGEMENT SYSTEM CHAYO LOGISTICS CO,LTD.

สุภาพร แสงจนั ทร์
SUPAPORN SAENGJUN

ปฏิบัติงาน ณ บริษัท ชโย โลจสิ ติกส์ จำกัด
เลขท่ี 117 หมู่ 10 ตำบลทุ่งสุขลา
อำเภอศรรี าชา จังหวดั ชลบรุ ี
รหัสไปรษณีย์ 20230

เอกสารประกอบโครงงานฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์เพ่ือให้นักศึกษาท่ีเรียนวิชาสหกิจศึกษา
คอมพิวเตอร์ธุรกิจ (BCS499) ได้ศึกษาดูเพื่อเป็นแนวทาง และเป็นตัวอย่างในการจัดทำโครงงานเบื้องต้น
เท่านั้น เอกสารประกอบโครงงานฉบับน้ีอาจมีข้อผิดพลาดบางประการอยู่ เนื่องจากเป็นผลงานของ
นกั ศกึ ษา ดังนนั้ ผูท้ ี่นำเอกสารไปใชโ้ ปรดพิจารณาถงึ ความถกู ต้องของข้อความ และวธิ ีการตา่ งๆ ด้วย การ
อ้างอิงกระบวนต่างๆ ทางคอมพิวเตอร์น้ัน ควรจะยึดจากตารางเรียน หรือหนังสือคู่มือเป็นหลัก จึงขอให้
ผอู้ ่านทกุ ท่านโปรดพิจารณาตามความเหมาะสม

คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ
มหาวิทยาลัยศรปี ทุม วิทยาเขตชลบุรี
SPU CHONBURI

ช่อื หวั ข้อ I

ผจู้ ัดทำ ระบบการจัดการทรัพยากรบคุ คล บรษิ ัท ชโย โลจสิ ติกส์ จำกดั
อาจารยท์ ี่ปรึกษา Human Resource Management System Chayo Logistics CO,LTD.
นางสาวสภุ าพร แสงจันทร์ รหสั นักศกึ ษา 61707954
อาจารยป์ ัณฑ์ชณชิ เพง่ ผล และ อาจารย์นงเยาว์ สอนจะโปะ

คณะกรรมการสอบป้องกนั การปฏิบัตงิ านสหกจิ ศึกษา
SPU CHONBURI
...............................................................ประธานกรรมการ
(อาจารยป์ ัณฑช์ ณิช เพ่งผล)

...............................................................กรรมการ
(อาจารย์ลดั ดาวรรณ มีอนันต์)

...............................................................กรรมการและเลขานุการ
(อาจารยป์ ฐม พุ่มพวง)

คณะเทคโนโลยสี ารสนเทศ มหาวทิ ยาลยั ศรีปทุม วทิ ยาเขตชลบุรี อนมุ ตั ใิ ห้นบั รายงานการ
ปฏบิ ตั งิ านสหกิจศกึ ษาฉบบั น้ี เปน็ สว่ นหนงึ่ ของการศกึ ษาตามหลกั สตู รบรหิ ารธุรกิจบณั ฑิต

………............................................ผ้ชู ว่ ยอธิการบดแี ละรกั ษาการรองคณบดีคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ
(ผชู้ ่วยศาสตราจารย์นรินทร์ พนาวาส)

II

ชื่อหวั ข้อ ระบบการจัดการทรัพยากรบคุ คล บริษทั ชโย โลจิสตกิ ส์ จำกัด
Human Resource Management System Chayo Logistics CO,LTD.
ชอื่ นักศึกษา นางสาวสภุ าพร แสงจนั ทร์ รหัสนกั ศกึ ษา 61707954
สาขาวชิ า คอมพิวเตอร์ธุรกิจ
คณะ เทคโนโลยสี ารสนเทศ
SPU CHONBURI
คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาเขตชลบุรี อนุมัติให้รายงาน
ปฏบิ ตั ิงานสกจิ ศึกษาน้ีเปน็ ส่วนหนึ่งของรายงานวิชาสหกิจศึกษา

ผชู้ ว่ ยอธิการบดแี ละรกั ษาการรองคณบดีคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ
………....................................................................................................

(ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ นรินทร์ พนาวาส)
หวั หน้าสาขาวชิ าคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
………....................................................................................................

(อาจารย์ปัณฑช์ ณิช เพ่งผล)
อาจารย์ท่ปี รึกษาสหกิจศึกษา
………....................................................................................................
(อาจารยป์ ัณฑช์ ณิช เพง่ ผล)
อาจารยท์ ีป่ รึกษาสหกิจศกึ ษา
………....................................................................................................
(อาจารยน์ งเยาว์ สอนจะโปะ)

III

วันท่ี 19 พฤษภาคม 2563
เรื่อง ขอสง่ รายงานการปฏิบัตสิ หกจิ ศึกษา
เรยี น อาจารย์ท่ปี รึกษาสหกิจศกึ ษา สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกจิ

อาจารย์ปัณฑช์ ณชิ เพง่ ผล และผชู้ ว่ ยอาจารย์นงเยาว์ สอนจะโปะ
ตามที่ดิฉัน นางสาวสุภาพร แสงจันทร์ นักศึกษาสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ คณะเทคโนโลยี
สารสนเทศ มหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาเขตชลบรุ ี ได้ปฏิบัติงานสหกิจศกึ ษาระหว่างวนั ที่ 13 มกรำคม
พ.ศ .2563 ถึงวันท่ี 8 พฤษภำคม พ.ศ .2563 ในตำแหน่งเจ้าหน้าที่ธุรการ ฝ่ายเจ้าหน้าท่ี
คอมพิวเตอร์ ณ บริษัท ชโย โลจิสติกส์ จำกัด และได้รับมอบหมายให้นำเสนอระบบการจัดการ
ทรัพยากรบุคคล ณ ศรีราชา บริษทั ชโย โลจิสตกิ ส์ จำกัด

บัดนี้ การปฏิบัติงานสหกิจศึกษาได้ส้ินสุดลงแล้ว จึงขอส่งรายงานการปฏิบัติงานสหกิจ
ศกึ ษาดังกลา่ วจำนวน 1 เลม่ เพือ่ ขอรับคำปรกึ ษาต่อไป

จงึ เรยี นมาเพ่ือโปรดพจิ ารณา

ขอแสดงความนับถอื
.............................................
(นางสาวสภุ าพร แสงจันทร์)
SPU CHONBURI

V

หัวข้อสหกิจศึกษา ระบบการจัดการทรพั ยากรบคุ คล บริษทั ชโย โลจสิ ติกส์ จำกัด
ชือ่ นกั ศกึ ษา นางสาวสุภาพร แสงจนั ทร์ รหัสนกั ศกึ ษา 61707954
อาจารยท์ ่ปี รึกษา อาจารย์ปัณฑ์ชณิช เพ่งผล และอาจารย์นงเยาว์ สอนจะโปะ
หลักสูตร บรหิ ารธุรกจิ บัณฑิต
สาขาวชิ า คอมพวิ เตอรธ์ ุรกิจ
พ.ศ. 2563
SPU CHONBURI
บทคดั ยอ่

โครงงานน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบกำรจัดกำรทรัพยำกรบุคคล บริษัท ชโย โลจิ
สติกส์ จำกัด โดยศึกษาทฤษฎีที่เกย่ี วขอ้ งและมวี งจรการพัฒนาระบบการจัดการทรพั ยากรบคุ คล โดย
ศึกษาทฤษฎีท่ีเกี่ยวข้องและมีการนำวงจรการพัฒนาระบบแบบ System Development Life
Cycle : SDLC มาใช้ ผู้จัดทำได้พัฒนาระบบโดยใช้ภาษา PHP , HTML , CSS ในกำรเขียนโปรแกรม
และใช้โปรแกรม MySQL เป็นระบบในการจัดการฐานข้อมูล เป็นระบบในการสนับสนุนกระบวนการ
ทำงานให้สามารถอำนวยความสะดวกในการจัดการข้อมูลพื้นฐานพนักงาน การลงเวลาทำงาน การ
กระทำความผิด การฝึกอบรม การลา การวเิ คราะหแ์ ละออกรายงาน บรษิ ัท ชโย โลจิสติกส์ จำกัด ได้
ใชง้ านอย่างสมบรู ณ์และมีประสทิ ธภิ าพ

จากการศึกษาพบว่าระบบกำรจัดกำรทรัพยำกรบุคคล บริษัท ชโย โลจิสติกส์ จำกัด มีการ
ดำเนินการอย่างมีประสิทธิภาพ และเหมาะสมกับกระบวนการทำงาน โดยผลการประเมิน
ประสิทธิภาพของผู้ใช้งาน ด้านฟังก์ชันการทำงานของระบบอยู่ระดับดีมาก ( = 4.57, SD = 0.52)
ดา้ นความสามารถในการใชง้ านของระบบ อยู่ระดับดีมาก ( = 4.58, SD = 0.51)

คำสำคัญ : การจดั การ,ทรัพยากรบคุ คล

IV

กิตตกิ รรมประกาศ

โครงงานสหกิจ บรษิ ัท ชโย โลจิสติกส์ จำกัด ซง่ึ มขี ั้นตอนในการปฏบิ ัตงิ านหลายขั้นตอน ทำให้
ผู้จัดทำประสบกับปัญหา และอุปสรรคต่างๆ ดังน้ันในการจัดทำโครงงานสหกิจศึกษาฉบับน้ีจึงต้อง
ได้รับความช่วยเหลือ และคำแนะนำจากบุคคลหลายท่าน ซ่ึงทุกท่านก็ให้ความช่วยเหลือเป็นอย่างดี
ทางผูจ้ ัดทำโครงงานจึงขอกราบขอบพระคณุ ทุกทา่ น มา ณ โอกาสนี้

ผู้จัดทำขอกราบขอบพระคุณ บิดา มารดา ที่คอยให้กำลังใจในการทำงานเสมอมา และ
เปน็ แรงบนั ดาลใจสำหรบั ผู้จัดทำเปน็ อย่างมาก

ขอขอบพระคุณ อาจารย์ปัณฑ์ชณิช เพ่งผล และอาจารย์นงเยาว์ สอนจะโปะ อาจารย์ที่
ปรึกษาโครงงานสหกิจศึกษา และบุคลากรคณะเทคโนโลยีสารสนเทศทุกท่านที่ได้ให้ความกรุณาใน
การให้คำปรึกษา คำแนะนำในการออกแบบ และเขียนโปรแกรม ตลอดจนช่วยตรวจทานการจัดทำ
เอกสาร จึงทำใหโ้ ครงงานสหกจิ ศกึ ษาในคร้ังนปี้ ระสบความสำเร็จไปด้วยดี

ขอขอบพระคุณ เพญ็ นภา อินทรโชติ ตำแหนง่ หัวหน้าฝ่ายผูจ้ ัดการ และพนักงานทป่ี รกึ ษา
คณุ เพชร เกษทอง ตำแหน่งหัวหน้าฝ่ายบริหารงานทวั่ ไป รวมไปถึงผู้ให้ความร่วมมือในบริษทั ชโย โล
จิสติกส์ จำกัด ท่ีให้โอกาสในการปฏิบัติงานสหกิจศึกษาในคร้ังนี้ และให้คำปรึกษาเก่ียวกับโครงงาน
สหกิจศกึ ษา บรษิ ัท ชโย โลจิสติกส์ จำกัด จึงทำใหก้ ารจัดทำโครงงานสหกจิ ศึกษาในครงั้ นี้สำเร็จลุลว่ ง
ไปได้ดว้ ยดี

ขอขอบคุณเพื่อนๆ ทุกคนท่ีได้ให้ความช่วยเหลือ และอยู่เคียงข้างให้กำลังใจเสมอมา
สุดท้ายนี้คณะผู้จัดทำโครงงานสหกิจศึกษาขอขอบพระคุณทุกท่านที่ไดใ้ ห้ความช่วยเหลือในดา้ นตา่ งๆ
ที่มีส่วนทำให้โครงงานสหกิจศึกษานี้ ประสบความสำเร็จด้วยดีทางผู้จัดทำขอกราบขอบพระคุณเป็น
อยา่ งสงู ไว้ ณ โอกาสน้ี
SPU CHONBURI

นางสาวสุภาพร แสงจันทร์
ผ้จู ดั ทำ

VI

คำนำ

เอกสารประกอบโครงงานฉบับน้ีจัดทำขึ้นเพื่อประกอบการจัดทำโครงงานสหกิจศึกษา
ระบบกำรจัดกำรทรัพยำกรบุคคล บริษัท ชโย โลจิสติกส์ ตามหลักสูตรวิชาสหกิจศึกษาคอมพิวเตอร์
ธุรกิจ ซ่ึงต้องใช้หลักการออกแบบ และการพฒั นาระบบงานเพื่อเป็นประโยชน์ต่อผู้ท่ีสนใจศึกษา และ
เปน็ แนวทางในการพฒั นาระบบตอ่ ไป

โดยเอกสารโครงงานสหกจิ ศึกษา ระบบกำรจัดกำรทรัพยำกรบุคคล ประกอบด้วยขอบเขต
การพัฒนาระบบ แนวคิดและทฤษฎีท่ีเกี่ยวข้อง วิธีการดำเนินงาน การวิเคราะห์และออกแบบระบบ
ประกอบด้วย แผนภาพบริบท (Context Diagram) แผนภาพกระแสข้อมูล (Data flow Diagram)
ความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล (E-R Diagram) การออกแบบตารางข้อมูล (Data TableDesign)พร้อม
ผังงานกระบวนการ (Flowchart) สรุปผลการดำเนินงานโครงการและข้อเสนอแนะ ของโครงงานสห
กิจศึกษา ระบบกำรจดั กำรทรพั ยำกรบุคคล

ทางผู้จัดทำหวังเป็นอยา่ งยง่ิ ว่า เอกสารประกอบการจัดทำโครงงานสหกิจศึกษา ระบบกำร
จัดกำรทรัพยำกรบุคคล ประกอบด้วยระบบกำรจัดกำรทรัพยำกรบุคคล ตามหลักสูตรวิชาสหกิจ
ศึกษาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ (BCS499) คงเป็นประโยชน์ต่อผู้ท่ีสนใจศึกษาไม่มากก็น้อย หากมี
ข้อผิดพลาด ข้อบกพร่อง หรือความไม่สมบูรณ์ของระบบงานน้ี อันเน่ืองมาจากผู้จัดทำยังขาดความรู้
ความชำนาญ และขาดประสบการณ์ในการพัฒนาระบบ ผู้จัดทำจึงขออภัยมา ณ ท่ีน้ี และขอน้อมรับ
ความผิดทุกประการ

นางสาวสภุ าพร แสงจันทร์
ผ้จู ัดทำ
SPU CHONBURI

สารบัญSPU CHONBURI VII

ใบอนมุ ัติโครงงานสหกจิ ศึกษา.......................................................................................... หนา้
ใบรับรองรายงานการปฏิบตั งิ านสหกจิ ศึกษา................................................................... I
หนงั สือขอส่งรายงานการปฏบิ ตั งิ านสหกจิ ศึกษา............................................................. II
กติ ตกิ รรมประกาศ.......................................................................................................... III
บทคดั ย่อ......................................................................................................................... IV
คำนำ............................................................................................................................. . V
สารบญั ........................................................................................................................... VI
สารบญั ตาราง.................................................................................................................
สารบญั ภาพ.................................................................................................................... VII
บทท่ี 1 บทนำ........................................................................................................... XI
X
ประวตั แิ ละความเปน็ มาของสถานประกอบการ........................................... 1
การจัดการองค์กร......................................................................................... 1
ลักษณะทางธุรกิจ........................................................................................ 2
ตำแหน่งและลักษณะงานท่ีได้รับมอบหมาย................................................ 2
บุคลากรผนู้ เิ ทศงาน..................................................................................... 3
บทที่ 2 แนวคิดและทฤษฎที ี่เกย่ี วข้อง...................................................................... 3
งานวิจยั ท่เี ก่ยี วข้อง...................................................................................... 4
ทฤษฎที ีเ่ กี่ยวขอ้ ง......................................................................................... 4
ทฤษฎีการวเิ คราะห์และออกแบบระบบ...................................................... 5
เคร่อื งมอื ที่ใช้ในการพฒั นาระบบ................................................................. 6
ระบบฐานการจดั การฐานข้อมูล................................................................... 7
ภาษาท่ีใชใ้ นการพฒั นาระบบ...................................................................... 8
โปรแกรมท่ใี ชใ้ นการออกแบบและจัดทำเอกสาร......................................... 8
บทที่ 3 วธิ กี ารดำเนินงาน......................................................................................... 9
ข้นั ตอนการดำเนนิ งาน................................................................................. 11
การวิเคราะห์และออกแบบระบบ................................................................. 11
ขอบเขตการดำเนินงาน................................................................................ 12
ความเป็นมาและความสำคญั ของปัญหา...................................................... 12
12

สารบัญ (ต่อ)SPU CHONBURI VIII

วัตถุประสงค์................................................................................................. หนา้
ขอบเขตของโครงงาน................................................................................... 13
ผลทค่ี าดวา่ จะไดร้ บั ...................................................................................... 13
แผนการดำเนนิ งาน (Gantt Chart)............................................................. 14
แผนภาพบรบิ ท (Context Diagram).......................................................... 14
แผนภาพกระแสข้อมูล (Data flow Diagram)............................................ 15
ความสมั พันธข์ องฐานข้อมลู (E-R Diagram)............................................... 16
การออกแบบตารางข้อมูล (Data Table Design)………………………………… 19
การสร้างเคร่ืองมือประเมนิ ความพงึ พอใจโปรแกรม..................................... 20
การทดสอบและประเมินผลระบบ................................................................ 28
สถิตทิ ่ใี ชใ้ นการวเิ คราะห์ขอ้ มูล..................................................................... 29
บทท่ี 4 ผลการดำเนินงาน......................................................................................... 29
ผลการพัฒนาระบบ...................................................................................... 31
ผลการวเิ คราะห์แบบประเมนิ ....................................................................... 31
บทที่ 5 สรปุ ผลการศกึ ษา......................................................................................... 49
สรปุ ผลการดำเนนิ โครงงาน.......................................................................... 52
ขอ้ เสนอแนะ................................................................................................ 52
บรรณานุกรม............................................................................................... 52
ภาคผนวก.................................................................................................... 53
ภาคผนวก ก ภาพการปฏิบตั ิงานสหกจิ ศกึ ษา.............................................. 56
ภาคผนวก ข ผงั งานกระบวนการ (Flowchart)………………………………….... 58
ภาคผนวก ค แบบประเมนิ ความพึงพอใจ.................................................... 59
ภาคผนวก ง รายนามผปู้ ระเมินการใชง้ านระบบ......................................... 69
ภาคผนวก จ หนังสือรบั รองการนำไปใชป้ ระโยชน์...................................... 73
หนังสือยินยอมให้เผยแพรผ่ ลงานตอ่ สาธารณะ…………………………………….. 75
ภาคผนวก ฉ ข้อมูลนำเสนอวิชาการ.......................................................... 79
ประวัติผ้จู ัดทำโครงงาน……………………………………………………………………………………… 80
88

สารบัญตาราง IX

ตารางที่ 3.1 แสดงการออกแบบตารางแผนก................................................................ หน้า
ตารางที่ 3.2 แสดงการออกแบบตารางตำแหน่ง…………………………………………………… 21
ตารางท่ี 3.3 แสดงการออกแบบตารางพนังงาน............................................................ 21
ตารางที่ 3.4 แสดงการออกแบบตารางระเบียบการปฏบิ ตั งิ าน..................................... 22
ตารางที่ 3.5 แสดงการออกแบบตารางประเภทความผิด.............................................. 22
ตารางท่ี 3.6 แสดงการออกแบบตารางบทลงโทษ......................................................... 23
ตารางที่ 3.7 แสดงการออกแบบตารางขา่ วสาร............................................................ 23
ตารางที่ 3.8 แสดงการออกแบบตารางกจิ กรรม............................................................ 24
ตารางท่ี 3.9 แสดงการออกแบบตารางภาพกจิ กรรม.................................................... 24
ตารางท่ี 3.10 แสดงการออกแบบตารางประเภทการลา................................................. 25
ตารางที่ 3.11 แสดงการออกแบบตารางการลงเวลาทำงาน............................................ 25
ตารางที่ 3.12 แสดงการออกแบบตารางการกระทำความผดิ ......................................... 26
ตารางท่ี 3.13 แสดงการออกแบบตารางข้อมลู การฝกึ อบรม.......................................... 26
ตารางที่ 3.14 แสดงการออกแบบตารางข้อมูลการลา.................................................... 27
ตารางท่ี 4.1 แสดงตารางสรปุ ผลการประเมนิ ความพึงพอใจ........................................ 28
50
ด้านฟังกช์ นั การทำงานของระบบ (Functional Test)……………………….
ตารางท่ี 4.2 แสดงตารางสรปุ ผลการประเมนิ ความพึงพอใจ........................................ 51

ดา้ นความสามารถในการใชง้ านของระบบ (Usability Test)………………
SPU CHONBURI

สารบัญภาพSPU CHONBURI X

ภาพท่ี 1.1 แสดงบริษัท ชโย โลจกิ ส์ จำกัด....................................................................... หน้า
ภาพที่ 1.2 แสดงแผนผงั การจัดการองคก์ รบรษิ ทั ชโย โลจกิ ส์ จำกดั ................................ 2
ภาพท่ี 1.3 แสดงบุคลากรผนู้ ิเทศงาน............................................................................... 2
ภาพที่ 3.1 แสดงแผนการดำเนนิ งาน (Gantt Chart)………………………………………………. 3
ภาพท่ี 3.2 แสดงแผนภาพบริบท (Context Diagram)………………………………………….. 15
ภาพที่ 3.3 แสดงแผนภาพกระแสข้อมลู (Data flow Diagram)..................................... 16
ภาพที่ 3.4 แสดงความสัมพนั ธ์ของฐานข้อมูล (E-R Diagram)…………………………………. 19
ภาพที่ 4.1 แสดงหน้าจอหนา้ หลกั ของระบบ………………………………………………………….. 20
ภาพท่ี 4.2 แสดงหนา้ จอเพิ่มข้อมูลแผนก………………………………………………………………. 32
ภาพท่ี 4.3 แสดงหน้าจอจดั การข้อมลู แผนก………………………………………………………….. 33
ภาพท่ี 4.4 แสดงหนา้ จอแก้ไขข้อมูลแผนก..................................................................... 33
ภาพท่ี 4.5 แสดงหนา้ จอเพิ่มข้อมูลตำแหนง่ ………………………………………………………….. 34
ภาพท่ี 4.6 แสดงหน้าจอจดั การข้อมูลตำแหน่ง………………………………………………………. 34
ภาพท่ี 4.7 แสดงหนา้ จอเพิ่มข้อมลู ประวตั พิ นักงาน……………………………………………….. 35
ภาพท่ี 4.8 แสดงหน้าจอจดั การข้อมูลประวตั พิ นักงาน…………………………………………… 35
ภาพท่ี 4.9 แสดงหนา้ จอแก้ไขขอ้ มูลประวัติพนกั งาน……………………………………………... 36
ภาพที่ 4.10 แสดงหน้าจอเพิ่มข้อมลู ระเบียบการปฏบิ ตั งิ าน.......................................... 36
ภาพที่ 4.11 แสดงหน้าจอเพ่ิมข้อมูลประเภทการทำความผดิ …………………………………. 37
ภาพที่ 4.12 แสดงหน้าจอการจดั การข้อมูลประเภทการกระทำความผดิ ....................... 37
ภาพที่ 4.13 แสดงหนา้ จอเพิ่มข้อมูลการลงโทษผู้กระทำความผดิ ……………………………. 38
ภาพที่ 4.14 แสดงหน้าจอจดั การข้อมูลการลงโทษผ้กู ระทำความผิด……………………….. 38
ภาพที่ 4.15 แสดงหน้าจอเพ่ิมขอ้ มลู ข่าวสาร………………………………………………………… 39
ภาพท่ี 4.16 แสดงหนา้ จอจดั การข้อมลู ข่าวสาร............................................................. 39
ภาพท่ี 4.17 แสดงหนา้ จอเพิ่มขอ้ มูลภาพกจิ กรรม…………………………………………………. 40
ภาพที่ 4.18 แสดงหน้าจอจดั การข้อมูลภาพกิจกรรม…………………………………………….. 40
ภาพที่ 4.19 แสดงหนา้ จอเพิ่มข้อมลู ประเภทการลางาน………………………………………… 41
41

สารบัญภาพ (ต่อ)SPU CHONBURI XI
ภาพท่ี 4.20 แสดงหนา้ จอจดั การข้อมูลประเภทการลางาน…………………………………….
ภาพท่ี 4.21 แสดงหน้าจอการบันทึกลงเวลา-ออกงาน…………………………………………… 42
ภาพที่ 4.22 แสดงหนา้ จอจดั การประวตั ิการลงเวลา-ออกงาน………………………………… 42
ภาพท่ี 4.23 แสดงหนา้ จอบันทึกข้อมลู การกระทำความผิด……………………………………. 43
ภาพท่ี 4.24 แสดงหนา้ จอจัดการข้อมลู การกระทำความผิด…………………………………... 43
ภาพท่ี 4.25 แสดงหน้าจอบนั ทกึ ข้อมลู ประวตั กิ ารฝึกอบรม……………………………………. 44
ภาพท่ี 4.26 แสดงหน้าจอจัดการข้อมูลประวตั ิการฝึกอบรม…………………………………… 44
ภาพท่ี 4.27 แสดงหนา้ จอเพิ่มบันทกึ ขอ้ มลู การลา…………………………………………………. 45
ภาพท่ี 4.28 แสดงหน้าจอจดั การอนุมัติและยกเลิกลางาน……………………………………… 45
ภาพที่ 4.29 แสดงหน้าจอรายงานสถิติพนักงานราย วัน/เดือน/ปี…………………………… 46
ภาพที่ 4.30 แสดงหน้าจอรายงานสถิติการทำงานของพนักงานราย วัน/เดอื น/ปี……… 46
ภาพท่ี 4.31 แสดงหนา้ จอรายงานขอ้ มลู การกระทำความผดิ ของพนกั งานราย วัน/เดือน/ปี.. 47
ภาพท่ี 4.32 แสดงหน้าจอรายงานขอ้ มลู การฝกึ อบรมของพนกั งานราย วนั /เดอื น/ปี…. 47
ภาพท่ี 4.33 แสดงหนา้ จอรายงานสถิติการลาของพนกั งานราย วัน/เดือน/ปี……………. 48
ภาพที่ 4.34 แสดงหนา้ จอรายงานใบขับข่ี…………………………………………………………….. 48
ภาพท่ี ก-1 ถา่ ยภาพหมู่กับอาจารย์และหัวหนา้ งานภายในแผนก................................ 49
ภาพที่ ก-2 ภาพนำเสนอโครงงานใหก้ บั บุคลากรผู้จัดการผู้นเิ ทศงาน.......................... 58
ภาพที่ ข-1 ผงั งานกระบวนการตรวจสอบผู้เข้าใช้งานระบบ......................................... 58
ภาพที่ ข-2 ผงั งานกระบวนการทำงานเมนหู ลัก........................................................... 61
ภาพท่ี ข-3 ผังงานกระบวนการทำงานจดั การข้อมลู พ้นื ฐาน......................................... 62
ภาพท่ี ข-4 ผังงานกระบวนการทำงานการลงเวลาทำงาน............................................ 63
ภาพที่ ข-5 ผงั งานกระบวนการทำงานข้อมลู การกระทำความผดิ ................................. 64
ภาพที่ ข-6 ผงั งานกระบวนการทำงานข้อมลู การฝกึ อบรม............................................ 65
ภาพที่ ข-7 ผังงานกระบวนการทำงานการลา............................................................... 66
ภาพที่ ข-8 ผังงานกระบวนการทำงานการวเิ คราะหแ์ ละออกแบบรายงาน.................. 67
68

บทที่ 1
บทนำ

ประวัตแิ ละความเปน็ มาของสถานประกอบการ
บริษทั ชโย โลจิสตกิ ส์ จำกัด หรือ (Chayo Logistics CO,LTD.) ให้บริการการขนส่งระหวา่ ง

ประเทศ บริษัท ชโย โลจิสติกส์ จำกัด เร่ิมดำเนินธุรกิจให้บริการรับจัดการขนส่งสินค้าระหว่าง
ประเทศในปี 2548 ซึ่ง โดยมีความชำนาญและเชี่ยวชาญในการขนส่งสินค้ามายาวนานมากมากกว่า
15 ปี ในด้านการทำงานขนส่งสินค้าทั่วประเทศและการคิดค่าใช้จ่ายคิดตามน้ำหนักจะเป็นสินค้าท่ีไม่
กินพื้นที่มากแต่มีน้ำหนักที่มาก ส่วนการคิดราคาตามปริมาตรจะเป็นสินค้าท่ีกินพ้ืนที่มากแต่น้ำหนัก
เบาแต่ละประเภทสินค้านั้น ๆ จะขึ้นอยู่กับระยะทางในการนำเข้าสินค้าน้ันต้องดูระยะทางและ
นำ้ หนักการขนส่งสินค้าว่าประเภทไหนของสินค้า บรรจุภัณฑ์ที่ใช้ และวิธีการในการจัดสง่ แบง่ ได้เป็น
2 รปู แบบคือ คดิ ตามน้ำหนักและคดิ ตามปริมาตรของสินค้านัน้ ๆ

บริษัท ชโย โลจิสติกส์ จำกัด เป็นบริษัทที่ประกอบกิจการขนส่งด้านโลจิสติกส์ โดยมีวิธีการ
จัดระบบการทำงานบนคอมพวิ เตอรแ์ ละเครือขา่ ยอินเตอร์เนต็ และในปัจจุบนั ทางบรษิ ทั ยงั ไมม่ ีระบบที่
จะมาช่วยในการจัดการบุคลากรในองค์กร ข้อมูลพนักงานถูกจัดเก็บไม่เป็นระบบระเบียบทำให้เวลา
หาข้อมูลได้ยาก การจัดการประวัติพนักงานและข้อมูลต่าง ๆ อาจจะค้นหาซับซ้อนไปบ้างและการ
จัดการเงินเดือนอาจมีความผิดพลาดได้ เพราะเงินเดือน ค่าล่วงเวลา การลา และค่าสวัสดิการของ
พนักงานแต่ละคนไม่เท่ากัน การอนุมัติวันหยุดและวันลาของพนักงานซ้อนทับกันให้ให้เกิดผลกระทบ
ต่องานและถ้าต้องการดูข้อมูลของแต่ละเดือนที่ผ่านมาแล้วน้ัน จะตรวจสอบได้ยากและข้อมูลอาจสูญ
หายได้หรืออาจเก่ียวกับการจัดการแรงงาน เกี่ยวกับอัตราการจ้าง และการละเมิดกฎหมายแรงงาน
ซ่ึงมีผลบางส่วนมาจากระบบงานบริหารบุคคลที่ไม่ได้มาตรฐาน หรือการบริหารงานบุคคลด้วยระบบ
เอกสาร ดังนนั้ จงึ มีความจำเป็นทีธ่ ุรกิจควรมรี ะบบบริหารงานบุคคลท่เี ป็นมาตรฐานนเ้ี พ่อื ช่วยในเรอื่ ง
ของการกำหนดเง่ือนไขต่าง ๆ ของการทำงาน กฎเกณฑ์ ข้อกำหนดต่าง ๆ ระหวา่ งพนักงานกับบริษัท
และมีการเก็บข้อมูลโดยใช้ เทคโนโลยีท่ีทันสมัย เหมาะแก่การค้นหาข้อมูล แสดงรายงาน จัดการได้
ง่ายและยืดหย่นุ กว่าแบบเอกสารมาก
SPU CHONBURI

2

บริษัท ชโย โลจกิ ส์ จำกัด

SPU CHONBURIChayo Logistics CO,LTD.

ภาพท่ี 1.1 แสดงบริษทั ชโย โลจิสตกิ ส์ จำกดั

ชอ่ื สถานประกอบการ : บริษัท ชโย โลจสิ ตกิ ส์ จำกดั

ท่ีอยู่ : 117 หมู่ 10 ตำบลทุ่งสุขลา อำเภอศรีราชา จังหวดั ชลบุรี 20230

โทรศัพท์ : 081-9467129

โทรสาร : 038-494712

การจัดการองค์กร

ผู้บรหิ าร

ฝา่ ยขนสง่ ฝา่ ยบริหาร ฝ่ายจดั ซือ้

แผนกกำรขนส่งสนิ ค้ำ แผนกการเงนิ และการบัญชี แผนกการจัดซ้ือ

พนักงานขบั รถ แผนกการเบิกจ่ายบลิ ฝา่ ยขาย

ภาพที่ 1.2 แสดงแผนผงั กำรจดั กำรองคก์ รบริษทั ชโย โลจสิ ตกิ ส์ จำกัด

ลกั ษณะทางธุรกจิ

บริษัทฯ เร่ิมให้บริกำรขนส่งสินค้ำในประเทศด้วยรถบรรทุกหัวลำกและหำงลำกในปี 2548

เพ่ือเป็นกำรขยำยขอบเขตกำรให้บริกำรแก่ลูกค้ำท่ีใช้บริกำรจัดกำรขนส่งระหว่ำงประเทศกับบริษัทฯ

อยแู่ ล้ว และยังเป็นกำรขยำยกำรทำธุรกิจโดยอำศัยควำมชำนำญในด้ำนกำรบรกิ ำรจัดกำรระบบขนส่ง

ของบริษัทฯ เพื่อให้บริกำรแก่กลุ่มลูกค้ำที่ต้องกำรเคลื่อนย้ำยสินค้ำในประเทศทำงถนนด้วย

รถบรรทุกหัวลำกและหำงลำกอีกด้วย บริษัทฯ มีรถบรรทุกหัวลำกจำนวน 25 คัน และมีหำงรถ

SPU CHONBURI 3

สำหรบั ต่อกับรถบรรทุกหัวลำกเพื่อขนสินค้ำจำนวน 20 หำง โดยหำงลำกของบริษัทมีท้งั แบบก้ำงปลำ
ซ่ึงออกแบบมำสำหรับใช้วำงตู้คอนเทนเนอร์ และแบบพ้ืนเรียบที่สำมำรถใช้วำงตู้คอนเทนเนอร์หรือ
วำงสินค้ำโดยตรงบนหำงลำก กำรให้บริกำรเคล่ือนย้ำยสินค้ำในประเทศของบริษัทฯ นี้มีเส้นทำง
ให้บริกำรจำกโรงงำนผู้ผลิตสินค้ำไปยังจุดขนถ่ำยสินค้ำเพื่อเตรียมส่งออกจำกประเทศ และจำกจุดขน
ถำ่ ยสินค้ำในกำรนำเข้ำจำกต่ำงประเทศมำสู่โรงงำนหรือจดุ หมำยปลำยทำงต่ำง ๆ ในประเทศ รวมถึง
กำรเคลอ่ื นย้ำยสินคำ้ จำกตน้ ทำงไปยังจุดหมำยปลำยทำงต่ำง ๆ ในประเทศตำมทลี่ กู คำ้ ตอ้ งกำร

ตำแหน่งและลกั ษณะงานท่ีไดร้ ับมอบหมาย
ตำแหน่ง
ผู้จัดทำได้รับโครงงานสหกิจศึกษา ระบบการจัดการทรัพยากรบุคคล ณ บริษัท ชโย โลจิ

สติกส์ จำกดั ในตำแหนง่ เจ้าหนา้ ทธ่ี รุ การ
ลกั ษณะงานที่ไดร้ บั มอบหมาย
1. พัฒนาระบบการจัดการทรัพยากรบุคคล เพ่ือช่วยเพ่ิมประสิทธิภาพและลดข้ันตอนกา

ทำงานของระบบการทำงานเดิม ตลอดจนสามารถแก้ปัญหาและข้อผิดพลาดท่ีเกิดขั้นจากการ
ดำเนินงานแบบเดิมได้ดีขึน้ ในการทำงาน

2. ผู้ดูแลระบบ ดูแลเซิร์ฟเวอร์ หรือระบบคอมพิวเตอร์อื่น รวมถึงการวางแผนงาน การ
ดูแล ควบคุมโครงการท่ีเกีย่ วข้องกบั ระบบคอมพิวเตอร์ และสอนการใช้งานต่อผ้ใู ชท้ ั่วไป

3. ผู้ดูแลระบบในการลงประวัติข้อมูลของพนักงานและการวันเวลาในการทำงานของ
พนกั งานร่วมไปถงึ การลงขอ้ มลู ข่าวสารให้ทันท่วงทตี ามสถานการณ์ในปัจจบุ นั

4. การลงข้อมูลการเข้าฝึกอบรมของพนักงานเป็นรายบุคคลที่ได้รับมอบหมายในการเข้า
ฝึกอบรมตา่ ง ๆ

5. ปฏิบัติงานทางด้าน IT Support โดยมีหน้าที่ให้บริการกับผู้ใช้งาน ท่ีมีปัญหาเกี่ยวกับ
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ (Hardware) โปรแกรมทางคอมพิวเตอร์ (Software) และระบบเครือข่าย
(Network) ภายในหน่วยงาน

บคุ ลากรผูน้ เิ ทศงาน(พ่เี ล้ยี ง)
คณุ เพ็ญนภา อินทรโชติ
ตำแหนง่ ผจู้ ัดการบรษิ ัท

ภาพท่ี 1.3 แสดงบุคลากรผนู้ เิ ทศงาน(พีเ่ ล้ียง)

SPU CHONBURI 4

บทที่ 2
แนวคดิ และทฤษฎที ีเ่ กย่ี วข้อง

ในการพัฒนาระบบการจัดการทรัพยากรบุคคลของ บริษัท ชโย โลจิสติกส์ จำกัด มี
แนวคดิ และทฤษฎีท่ีเกย่ี วข้องซึ่งผู้จดั ทำไดน้ ำมาใชเ้ ปน็ กรอบแนวคิดในการศึกษาดังนี้

งานวิจยั ท่เี กี่ยวขอ้ ง
สุปรียา เอี่ยมศรีทอง (2558) ได้พัฒนาระบบสารสนเทศงานบุคลากรของโรงเรียน

กรรณสูตศึกษาลัยจังหวัดสุพรรณบรุ ใี หม้ กี ารจัดเกบ็ ข้อมูลท่ีเก่ียวข้องกับบคุ ลากรของสถานศึกษาอย่าง
เปน็ ระบบมีความสมบูรณแ์ ละมีประสิทธิภาพมีความพร้อมที่จะนำมาใช้และให้บริการสำหรับบคุ ลากร
หรือผู้ท่ีเก่ียวข้องและสามารถนําข้อมูลไปใช้ประกอบการตัดสินใจในการบริหารจัดการโรงเรียนได้
อ ย่ า ง ร ว ด เร็ ว เพ่ื อ ให้ บ ร ร ลุ เป้ า ห ม า ย ใน ก า ร พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ข อ งส ถ า น ศึ ก ษ า ให้ มี คุ ณ ภ า พ แ ล ะ
ประสิทธิภาพย่ิงขึ้นต่อไปในการพัฒนาระบบนี้ผู้วิจัยพัฒนาระบบด้วยโปรแกรม Microsoft Visual
C# 2008 ร่วมกับการออกแบบระบบฐานข้อมูลใช้โปรแกรม Microsoft Access 2007 เป็นการ
นาํ เอาเทคโนโลยีมาประยกุ ตใ์ ชร้ ่วมกันเพอ่ื ให้เกดิ การพัฒนาระบบท่มี ีประสิทธภิ าพสามารถรองรับการ
ใช้งานตามความต้องการของผู้ใช้งานได้เป็นอย่างดีหลังจากพัฒนาระบบเสร็จสมบูรณ์แล้วผู้วิจัยได้ทำ
การทดสอบระบบและใช้แบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้ระบบสารสนเทศงานบุคลากรจากกลุ่ม
ผู้บริหารอาจารย์ข้าราชการและกลุ่มผู้ปฏิบัติงานท่ีเก่ียวข้องกับการบันทึกข้อมูลในระบบจำนวน 10
ท่านผลการประเมินพบวา่ ความพึงพอใจต่อการใช้ระบบสารสนเทศงานบุคลากรอยู่ในระดับ “ดีมาก”
จากผลของค่าเฉล่ยี ที่ไดเ้ ทา่ กบั 4.49 (x= 4.49) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานคอื 0.41 (S.D. = 0.41)

อารษี า แก้วเปยี้ (2559) ได้พัฒนาระบบฐานขอ้ มลู บุคลากรออนไลน์ กรณศี กึ ษาเทศบาล
ตำบลบ้านด่านนาขามอำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ โดยระบบฐานข้อมูลบุคลากรออนไลน์สามารถ
จดั การข้อมูลประวตั ิบุคลากร ตำแหนง่ เงินเดอื น การศึกษา การลา การอบรม เคร่ืองราชอิสริยาภรณ์
โทษทางวินัย และการจัดการข่าว ซึ่งวิเคราะห์และออกแบบระบบด้วยโมเดลวงจรการพัฒนาระบบ
(System Development Life Cycle : SDLC) จากน้ันออกแบบด้วยระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
สร้างและพัฒนาระบบด้วยภาษาพีเอชพี ภาษาเอชทีเอ็มเอล ภาษาจาวาสคริปส์ และใช้การจัดการ
ฐานข้อมูลมายเอสคิวเอล ระบบท่ีพัฒนาขึ้นมาถูกประเมินโดยผู้ใช้งานระบบแบ่งเป็น 4 ประเภท
ไดแ้ ก่ ผ้ดู ูแลระบบ จำนวน 4 คน เจ้าหน้าทจ่ี ำนวน 6 คน พนักงาน จำนวน 20 คน และผูบ้ ริหาร
จำนวน 4 คน ผลการประเมินระบบใช้วธิ ีการประเมนิ ท้ัง 4 ด้านคือ การประเมินด้านความสามารถใน
การท างานตามความพึงพอใจของผู้ใช้มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.34 การประเมินหน้าท่ีของระบบมีค่าเฉล่ีย

SPU CHONBURI 5

เท่ากับ 4.02 การประเมินดา้ นการใช้งานของระบบมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.16 และการประเมินด้านความ
ปลอดภัยมีค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.06 และผลจากการประเมินท้ังหมดได้ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.14 ซึ่งผลการ
ประเมนิ อยู่ในระดบั ดี สรปุ ไดว้ ่าระบบที่พัฒนาสามารถใช้แทนระบบเดิมและลดปัญหาที่เกิดจากระบบ
เดมิ ได้แก่ ปัญหาความซับซ้อนของข้อมลู ปัญหาการขัดแยง้ กนั ของข้อมูล และปญั หาการคน้ คืนขอ้ มูล
ท้ังนย้ี งั แสดงรายงานของระบบเพ่ือเป็นข้อมูลการตัดสนิ ใจของผู้บริหารตอ่ ไป

ศศิวรรณ ฉ่ำชาวนา และณัฐกานต์ พัฒนโพธ์ิ (2561) ได้พัฒนาระบบการจัดการบุคลากร
ภายในองค์กร กรณีศึกษา บริษัท เอาท์ซอร์สซิฟาย จำกัด โดยใช้ Symfony Framework , PHP,
Bootstrap, NodeJSและ MySQL ซึ่งระบบท่ีพัฒนาขนึ้ มาสามารถลดปัญหาทเ่ี กิดขึน้ ได้ในการจัดการ
กับข้อมูลของพนักงาน การจัดการข้อมูลปฏิทินวันหยุดของบริษัทและวันลาหยุดของพนักงานรวมถึง
การจัดการข้อมูลเงินเดือนของพนักงาน นอกจากนี้ระบบยังสามารถช่วยลดความสับสนและมีความ
สะดวกในการจัดการกับข้อมลู อยา่ งมปี ระสิทธิภาพมากย่งิ ขึน้

ฐติ ิกรบุญราศี (2554) ได้พัฒนาระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการบุคลากรของมหาวิทยาลัย
แม่โจ้เชียงใหมร่ วมถึงสง่ เสริมการมีส่วนรว่ มในการบรหิ ารงานระหวา่ งบุคลากรภายในมหาวิทยาลัยแม่
โจ้และผู้บริหารระดับสูงในการพัฒนาระบบนี้ผู้วิจัยได้ใช้ภาษา HTMLร่วมกับภาษา PHP และ
JavaScript ที่สามารถใช้ได้กับ Apache Web Serverโดยมีการเชื่อมต่อกับฐานข้อมูลด้วย
โปรแกรม MySQL เป็นการนําเอาเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ร่วมกันเพ่ือให้เกิดการพัฒนาระบบท่ีมี
ประสิทธิภาพสามารถรองรับการใช้งานตามความต้องการของผู้ใช้งานได้เป็นอย่างดีผลการทดสอบ
ระบบและใช้แบบประเมินในการวัดความพึงพอใจระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการบุคลากรของ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้เชียงใหม่ความพึงพอใจอยู่ในระดับดีมากท้ังด้านการออกแบบความสามารถในการ
ใช้งานและความปลอดภยั

ทฤษฎีทเ่ี กย่ี วข้อง
การบรหิ ารทรพั ยากรมนุษย์
การบริหารทรัพยากรมนุษย์ คือ กระบวนการ วิธีการ หรือกลยุทธ์ที่ผู้บริหารนำมา

ประยุกต์ใช้ในการจัดการกับบุคลากร ให้สามารถปฏิบัติงานได้สำเร็จตามวัตถุประสงค์ขององค์กร
เพื่อให้องค์กรได้บุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถ เข้ามาปฏิบัติงานและสร้างความเจริญเติบโต
กา้ วหน้าให้แก่องคก์ รพรอ้ มทั้งรองรับการเปลี่ยนแปลงของโลกธรุ กจิ และเทคโนโลยยี คุ ใหมไ่ ด้

การวางแผนบุคลากร
การวางแผนบุคลากร คือ กระบวนการคาดการณ์ล่วงหน้าถึงความต้องการบุคลากรใน
องค์กรวา่ ตอ้ งการบุคลากรประเภทใด ระดับใด จำนวนเท่าใด และต้องการเมื่อใด เพอ่ื ให้ได้บุคลากรท่ี
มคี ุณสมบัติเหมะสมและตรงกับความตอ้ งการอย่างเพียงพอ

SPU CHONBURI 6

การสรรหาบคุ ลากร
การสรรหาบุคลากร คือ เป็นกระบวนการที่เก่ียวข้องกับการแสวงหาและการจูงใจผู้สมัคร
ท่ีมีความรู้ความสามารถตรงกับความต้องการ ให้เข้ามาร่วมงานกับองค์กร ได้แก่ การโมษณา การรับ
สมัครจากสถาบันการศึกษา จากพนังานภายในองค์กรแนะนำ บุคลากรมาสมัครด้วยตนเองท่ีองค์กร
หรอื การติดต่อสำนกั จัดหางาน เปน็ ตน้
การประเมนิ ผลการปฏิบตั ิงาน
การประเมินผลการปฏิบัติงาน คือ การเปรียบเทียบผลงานท่ีปฏิบัติจริงกับมาตรฐานท่ี
กำหนดไว้ เพื่อแสดงให้เห็นว่าบุคลากรมีประสิทธิภาพเพียงใด คุ้มค่ากับผลตอบแทนหรือไม่
นอกจากน้ันยังเป็นสิ่งท่ีช่วยให้ฝ่ายบริหารพิจารณาในกรเล่ือนตำแหน่ง การโยกย้ายให้บุคลากร
ปฏบิ ัติงานด้านอน่ื ทม่ี คี วามเหมาะสมมากยงิ่ ขึน้
การฝึกอบรม
การฝึกอบรม คือ การถ่ายทอดความรู้เพื่อเพมิ่ พูนทกั ษะ ความชำนาญ ความสามารถ และ
ทัศนคติในทางที่ถูกที่ควร เพ่ือช่วยให้การปฏิบัติงานและภาระหน้าท่ีต่าง ๆ ในปัจจุบันและอนาคต
เปน็ ไปอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพมากข้นึ
การกำหนดวนิ ัยและการร้องทุกข์
การกำหนดวินัยและการร้องทุกข์ คือ การทำข้อตกลงระหว่างองค์กรกับพนักงาน เพื่อใช้
ในการควบคุมการทำงานของคนหมู่มากให้อยู่ในขอบเขตที่เหมาะสม และจัดให้มีการร้องทุกข์เพ่ือรับ
ฟ้องและแกไ้ ขปญั หาต่าง ๆ ในการปฏิบัติงาน
การพฒั นาองค์กรดว้ ยเทคโนโลยสี ารสนเทศ
การพฒั นาองค์กรดว้ ยเทคโนโลยสี ารสนเทศ คอื การนำเทคโนโลยีสารสนเทศไปใชใ้ นการ
พัฒนาองค์กรสามารถทำไดห้ ลายระดบั และหลายรูปแบบในการจัดสรรบุคลากรในองคก์ ร การบรหิ าร
ทรพั ยากรมนุษยโ์ ดยนำเทคโนโลยมี าใชใ้ นการพฒั นาองค์กรใหเ้ ป็นระเบยี บเรยี บร้อย ไดแ้ ก่ ฮาร์ดแวร์
ซอฟท์แวร์ ข้อมลู และสารสนเทศ ฐานขอ้ มูล ระบบเครือข่ายการสือ่ สาร ความซบั ซ้อนขอกระบวนการ
ทำงาน บุคลากรทที่ ำงานเกยี่ วกบั ระบบสารสนเทศ เพือ่ ให้ผ้ใู ช้เกดิ การยอมรบั และใช้งานเทคโนโลยไี ด้
อยา่ งเต็มประสิทธภิ าพ

ทฤษฎีการวเิ คราะหแ์ ละออกแบบระบบ
การพัฒนาระบบการจัดการทรัพยากรบุคคลมาใช้ใน บริษัท ชโย โลจิสติกส์ จำกัด โดย

ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องและมีวงจรการพัฒนาระบบการจัดการทรัพยากรบุคคล ผู้จัดทำได้พัฒนาระบบโดย
โดย ใช้ภำษำ PHP , HTML , CSS และเก็บฐำนข้อมูลโดยใช้ MYSQL และใช้แผนภำพบริบท
(Context Diagram) แผนภำพกระแส ข้อมูล (Data Flow Diagram) ควำมสัมพันธ์ฐำนข้อมูล (E-R

SPU CHONBURI 7

Diagram) ในกำรวิเครำะห์และออกแบบระบบเพื่อให้เกิดประสิทธิภำพสูง และได้การสนับสนุน
กระบวนการทำงานให้สามารถอำนวยความสะดวกในการจดั การข้อมูลพื้นฐานพนักงงาน การลงเวลา
ทำงาน ข้อมูลการกระทำความผิด ข้อมูลการฝึกอบรม การลา การวิเคราะห์และออกรายงาน ในการ
วิเคราะหแ์ ละออกแบบระบบ เพอ่ื ให้เกิดประสิทธิภาพมากขึ้น

1. แผนภาพบริบท (Context Diagram) คือ เป็นแผนภาพแสดงแบบจำลองระบบด้วย
การมองระบบเป็นProcess ใหญ่เพียง Process เดียว แล้วแสดงการไหลของข้อมูลระหว่างระบบกับ
External entity โดย Context diagram จะมีลักษณะคล้ายกับ DFD แต่จะไม่มีการแสดง Data
store เพราะถอื วา่ Data store รวมอยู่ภายในระบบแล้ว

2. แผนภาพกระแสข้อมูล (Data Flow Diagram : DFD) คือ เป็นแผนภาพแสดง
แบบจำลองระบบท่ีแสดงการไหลของข้อมูลภายในระบบ แสดงกระบวนท่ีมีในระบบมากกว่าข้อมูล
ระบุแหล่งกำเนิดของข้อมูล โดยแสดงการไหลของข้อมูล ปลายทางข้อมูล การเก็บข้อมูลและการ
ประมวลผลข้อมูล ช่วยแสดงแผนภาพว่าข้อมูลมาจากไหน จะไปไหน เก็บข้อมูลไว้ที่ไหน มีอะไรเกิด
ข้ึนกับข้อมลู ระหวา่ งทาง DFD มีผ้พู ัฒนาสองกลุม่ คอื Gane & Sarson และ DeMarco & Yourdon

3. ความสมั พันธข์ องฐานข้อมูล (E-R Diagram) คอื แบบจำลองทใี่ ชอ้ ธิบายโครงสร้างของ
ฐานข้อมูลซ่ึงเขียนออกมาในลักษณะของรูปภาพ การอธิบายโครงสร้างและความสัมพันธ์ของข้อมูล
(Relationship) มคี วามสำคัญตอ่ การพัฒนาระบบงานฐานข้อมูลต่างๆ ทต่ี ้องการการเกบ็ ข้อมลู อย่างมี
ระบบ มีโครงสร้าง ดังนั้น E-R Diagram จึงใช้เพื่อเป็นเอกสารในการส่ือสารระหว่าง นักออกแบบ
ระบบ และนักพัฒนาระบบ เพ่ือให้สื่อสารอยา่ งตรงกัน และเปน็ สากลอกี ด้วย

4. ตารางข้อมูล (Data Table) เป็นการออกแบบการจัดเก็บตารางข้อมูลไว้ในชุดเดียวกัน
และสามารถนำไปใชใ้ นตารางอ่ืนทเ่ี ก่ียวขอ้ งได้โดยมกี ารแสดงเปน็ แถวและคอลมั น์

เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาระบบ
ในการพัฒนาระบบการจัดการทรัพยากรบุคคลของ บริษัท ชโย โลจิสติกส์ จำกัด ผู้จัดทำได้

เลอื กเคร่ืองมือท่ใี ช้ในการพฒั นาระบบ มีดังน้ี
- เครื่องคอมพิวเตอร์ Macbook Air (13-inch,2017)
- Intel® 1.8 GHz Dual-Core Intel Core i5
- Memory 8 GB 1600 MHz DDR3
- Intel HD Graphics 6000 1535 MB
- โปรแกรม Visual Studio Code

SPU CHONBURI 8

ระบบการจดั การฐานข้อมูล
MySQL คือระบบจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database Management

System: RDBMS) เป็นซอฟต์แวร์ประเภท Open Source Software พัฒ นาตามขอกำหนด
มาตรฐาน SQL ดงั นัน้ เราสามารถใช้คำส่งั SQL ในการทำงานรว่ มกบั MySQL ได้

MySQL ถูกออกแบบการทำงานในลักษณะของ Client/Server ประกอบด้วยส่วนหลัก ๆ
2 ส่วน คือส่วนของผู้ใหญ่บริการ (Server) เป็นส่วนที่ทำหน้าท่ีบริหารจัดการระบบฐานข้อมูลจะเป็น
ทจ่ี ดั เก็บข้อมลู ท้ังหมด และส่วนของผู้ใช้บริการ (Client) เป็นส่วนของผูใ้ ช้งาน โดยในแต่ละส่วนก็จะมี
โปรแกรมสำหรับการทำงานตามหน้าทีข่ องตน

ภาษาทีใ่ ชใ้ นการพฒั นาระบบ
1. ภ าษ า PHP (Professional Home Page: PHP) เป็ นการเขียนคำสั่งห รือโค้ด

โปรแกรมที่เก็บ และ ทำงานบนฝ่ังเซิร์ฟเวอร์ (Server-Side Script) ซ่ึงรูปแบบในการเขียนคำส่ังการ
ทำงานน้ันจะมีลักษณะ คล้ายกับภาษา Perl หรือภาษา C และสามารถท่ีจะใช้ร่วมกับภาษา HTML
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ความสามารถของ PHP นั้นสามารถที่จะทำงานเก่ียวกับ Dynamic Web ได้
ทุกรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็นด้าน การดูแลจัดการระบบฐานข้อมูลระบบรักษาความปลอดภัยของ Web
Page การรับส่ง Cookies เป็นต้น เร่ิมต้นของ โปรแกรม PHP ด้วยแท็ก PHP เป็น สคริปต์แบบ
Embedded สามารถแทรกร่วมกับภาษา HTML ได้อย่างอิสระ และหากเราพัฒนาโค้ดไว้ในรูปแบบ
ของ Class ท่ีเขยี นข้ึนเพยี งคร้ังเดียวแล้วเรียกใช้ งานได้ตลอดทำให้สะดวก และรวดเรว็ ตอ่ การพัฒนา
(กติ ติ ภกั ดวี ัฒนะกลุ , 2552)

2. CSS (Cascading Style Sheet) คือ ภาษาท่ีใช้เป็นส่วนของการจัดรูปแบบการแสดงผล
เอกสาร HTML โดยท่ี CSS กำหนดกฎเกณฑ์ในการระบุรูปแบบ (หรือ "Style") ของเนอื้ หาในเอกสาร
อันได้แก่ สีของข้อความ สีพ้ืนหลัง ประเภทตัวอักษร และการจัดวางข้อความ ซึ่งการกำหนดรูปแบบ
หรือ Style นี้ใช้หลักการของการแยกเนื้อหาเอกสาร HTML ออกจากคำสั่งที่ใช้ในการจัดรูปแบบการ
แสดงผล กำหนดให้รูปแบบของการแสดงผลเอกสาร ไม่ขึ้นอยู่กับเนื้อหาของเอกสาร เพื่อให้ง่ายต่อ
การจดั รปู แบบการแสดงผลลัพธ์ของเอกสาร HTML

3. ภาษา HTML (Hyper Text Markup Language) เป็นภาษามาตรฐานสากลที่ใช้
นำเสนอ ข้อมูลแบบผสมผสานในการสื่อสารแบบ World-Wide-Web :WWW ( Web) ซึ่งเป็นการ
เชื่อมต่อ เครือข่ายของเคร่ืองคอมพิวเตอร์ ในข้อมูลในรูปแบบต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น ข้อความ รูปภาพ
เสยี ง ภาพเคล่ือนไหว หรือ อ่ืน ๆ จะถกู เชื่อมโยงเข้าหากันด้วยชุดคำส่ังต่าง ๆ เพื่อให้แสดงผลออกมา

SPU CHONBURI 9

คล้ายกับสิ่งพิมพ์ สไลด์ หรือแบบมัลติมีเดีย ซึ่งเป็นภาษาคอมพิวเตอร์รูปแบบ หนึ่งท่ีมีโครงสร้างการ
เขยี นโดยอาศัยตวั กำกับ (Tag) ควบคุมการแสดงผลข้อความ, รปู ภาพ หรือวัตถุ อน่ื ๆ

4. Microsoft Visual Studio คือ ชุดโปรแกรมท่ีนำไปใช้ในการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วย
ภาษาต่างๆ เช่น ภาษา C, ภาษา C++ และ ภาษา C# เป็นต้น เพื่อสร้างโปรแกรมคอมพิวเตอร์ให้ตรงตาม
วัตถุประสงค์ท่ตี อ้ งการ โดยโปรแกรมนี้ไดร้ วบรวมเครอ่ื งมือต่างๆ ท่ีใช้สำหรบั เขียนโปรแกรมคอมพิวเตอรเ์ ข้าไว้
ดว้ ยกนั เพ่ือท่ีจะคอยอำนวยความสะดวกให้กบั ผู้ใช้งานน่ันเอง

โปรแกรมทใ่ี ช้ในการออกแบบและจัดทำเอกสาร
1. Microsoft Word 2016 คือ โปรแกรมประมวลผลคำแบบพิเศษช่วยให้สร้างเอกสาร

อย่างมีประสิทธิภาพและประหยัดเวลา เหมาะกับงานด้านการพิมพ์เอกสารทุกชนิด สามารถพิมพ์
เอกสารออกมาเป็นชุด ๆ ซึ่งเอกสารอาจเป็นจดหมาย บันทึกข้อความ รายงาน บทความ ประวัติย่อ
และยังสามารถตรวจสอบ ทบทวน แก้ไข ปรับปรุง ความถูกต้องในการพิมพ์เอกสารได้อย่างง่ายดาย
สามารถตรวจสอบ

2. โปรแกรม Microsoft PowerPoint เป็นโปรแกรมส่ังงานคอมพิวเตอร์ที่ถูกออกแบบ
มาให้ใช้กับงานด้าน การนำเสนอเรื่องราวตา่ ง ๆ (Presentation) ในลักษณะคล้ายๆกับการฉายสไลด์
(Slide Show) โดยเราสามารถใช้คำสั่งของ PowerPoint สร้างแผ่นสไลด์ที่มีรูปภาพและข้อความ
บรรยายเร่ืองราวท่ีต้องการจะนำเสนอได้อย่างรวดเร็ว พรอ้ มท้ังกำหนดลักษณะแสงเงา และลวดลายสี
พน้ื ให้สไลดแ์ ต่ละแผ่นมคี วามสวยงามน่าสนใจยง่ิ ข้นึ

3. Microsoft Visio 2016 เป็นโปรแกรมที่ช่วยในการทำโครงสร้างการทำงานต่าง ๆ เช่น
Context Diagram, Dataflow Diagram, ER Diagram เป็นต้น Microsoft Visio 2010 มีเคร่ืองมือ
ท่ีช่วยอำนวยความสะดวกในการสร้างเอกสารที่ต้องการใช้สัญลักษณ์ต่าง ๆ มากมายทำให้มีความ
สะดวกในการทำงาน

4. Adobe Photoshop CS6 คือ โปรแกรมที่ใช้สำหรับการตกแต่งภาพถ่ายและภาพ
กราฟฟิกไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ ไม่วา่ จะเป็นงานดา้ นส่ิงพมิ พ์ นิตยสาร และงานด้านมลั ติมีเดีย อีกท้ัง
ยังสามารถ retouching ตกแต่งภาพและสรา้ งภาพซ่ึงกำลังเป็นที่นยิ มสูงมากในขณะน้ี เราสามารถใช้
โปรแกรม Photoshop ในการแต่งภาพ การใส่ Effect ต่าง ๆ ให้กับภาพและตัวหนังสือ การทำภาพ
ขาวดำและการทำภาพถ่ายเป็นภาพเขียน เป็นตน้

5. Microsoft Project 2016 คือ โปรแกรมสำเร็จรูปซ่ึงเป็นผลิตภัณฑ์หนึ่งท่ีอยู่ภายใต้
ตราสินค้าของ Microsoft Office และจัดว่าเป็นเคร่ืองมือการจัดการ การวางแผน และการติดตาม
โครงการท่ีมีประสทิ ธิภาพ ด้วยการผสมผสานที่เหมาะสมของการใช้งานและความยืดหยุ่นที่จะช่วยให้

10

สามารถจัดการโครงการ จัดสรรทรัพยากรต่าง ๆ และการจัดการงบประมาณได้อย่างมีประสิทธิภาพ
และประสิทธผิ ล เปน็ ต้น

SPU CHONBURI

SPU CHONBURI 11

บทที่ 3
วิธกี ารดำเนินงาน

ข้นั ตอนการดำเนนิ งาน
ระบบการจัดการทรัพยากรบุคคลของ บริษัท ชโย โลจิสติกส์ จำกัด มีวงจรการพัฒนา

ระบบแบบ System Development Life Cycle หรือ SDLC ซึ่งมี 6 ข้ันตอนในการพัฒนาระบบ
ดังน้ี

1. เข้าใจปัญหา (Problem Recognition) เป็นขั้นตอนที่ผู้จัดทำ ได้ทำการศึกษาปัญหาที่
เกิดจากระบบงานเดิม โดยผู้บริหารมีความต้องการให้ผู้จัดทำ ทำระบบการจัดการทรัพยากรบุคคล
ขึ้นมาใหม่ เนื่องจากระบบเดิมท่ีได้ใช้การจดบันทึกข้อมูลพนักงานลงในแฟ้มเอกสาร ทำให้เกิดความ
สูญหายของข้อมูลและซับซ้อนในการค้นหาแต่ละครั้ง ทำให้เสียเวลา ดังนั้นระบบงานท่ีพฒั นาข้ึนมาก็
เพื่อทจ่ี ะตอบสนองความตอ้ งการใช้งานอย่างมาก

2. การวิเคราะห์ (Requirements) เป็นขั้นตอนในการสืบค้นข้อมูลความต้องการของ
ผู้ใช้งานสามารถดำเนินการได้จากการรวบรวมเอกสารจากข้อมูลเดิมที่มีอยู่แล้วและสอบถามข้อมูล
จากผู้บริหารในการออกแบบระบบ เม่ือได้ข้อมูลตามท่ีต้องการมาแล้ว จึงมีการวิเคราะห์เพ่ือสรุปเป็น
ข้อกำหนดที่ชัดเจนแล้ว ผู้จัดทำได้มีการนำข้อมูลเหล่าน้ันไปพัฒนาเป็นความต้องการของระบบใหม่
ด้วยการพัฒนาเป็นแบบจำลองขึ้นมา ซึ่งได้แก่ แบบจำลองกระบวนการ (Data Flow Diagram) เป็น
ตน้

3. การออกแบบเชิงตรรกะ (Logical Design) เป็นเป็นขั้นตอนการกำหนดรายละเอียด
หรือองค์ประกอบต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับระบบ เพื่อให้สอดคล้องกับขั้นตอนการวิเคราะห์และออกแบบ
ระบบ ผู้จัดทำได้มีการออกแบบในส่วนของหน้าจอผู้ใช้งาน (User Interface) การออกแบบหน้าจอ
สำหรับนำเข้าข้อมูล (Input) การออกแบบข้ันตอนกระบวนการในการประมวลผล (Process) และ
การออกแบบหน้าจอการแสดงผลในส่วนของผลลพั ธท์ ีไ่ ดจ้ ากระบบ (Output)

4. การพัฒนาและติดต้ังระบบ (System Development and Installation) เปน็ ระยะท่ี
เก่ียวข้องกับการพัฒนาโปรแกรมผู้จัดทำได้มีการพัฒนาระบบตามท่ีผู้บริหารต้องการและออกแบบไว้
การเขียนชุดคำสั่งเพื่อสร้างเป็นระบบงานทางคอมพิวเตอร์ ต้องมีการทดสอบกับข้อมูลจริงท่ีเลือกไว้
แล้ว เราจะได้โปรแกรมท่ีพร้อมจะนำไปใช้งานจรงิ ต่อไป

5. การนำระบบไปใช้งาน (Implementing the System) เมื่อผู้จัดทำได้มีการทดสอบ
ระบบจนม่ันใจว่าระบบที่ไดร้ ับการทดสอบนน้ั พร้อมทจ่ี ะนำไปติดตัง้ เพอ่ื ใช้งานจรงิ การนำระบบไปใช้
งานอาจเกิดปัญหาได้หรืออาจพบข้อผิดพลาดได้ควรทดสอบหลายๆครั้งกอ่ น เม่ือระบบสามารถรันได้

SPU CHONBURI 12

จนเป็นท่ีน่าพอใจของผู้บริหารแล้ว ผู้จัดทำควรทำคู่มือการใช้และการฝึกอบรมผู้ใช้งานจริงของระบบ
โปรแกรมตามข้อมูลทีไ่ ด้จากเอกสารข้อมูลเฉพาะของการออกแบบ (Design Specification)

6. การบำรุงรักษาระบบ (System Maintenance) เป็นการติดตามผลการทำงานของระบบ
ผู้จัดทำควรติดตามการใช้งานของระบบอย่างต่อเน่ืองเพ่ือให้ระบบมีการทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ
และต่อเนื่อง ผู้จัดทำควรมีการสํารองข้อมูลระบบและแก้ไขปัญหาที่เกิดจากการใช้งานระบบเพื่อลด
ความเส่ียงในการเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉินและดำเนินการแก้ไขให้ถูกต้องรวมถึงกรณีท่ีข้อมูลท่ีจัดเก็บมี
ปริมาณทมี่ ากข้นึ ต้องวางแผนการรองรบั เหตกุ ารณน์ ี้ด้วย

การวิเคราะหแ์ ละออกแบบระบบ
ขอบเขตการดำเนินงาน
ระบบการจัดการระบบการจัดการทรัพยากรบุคคลของ บริษัท ชโย โลจิสติกส์ จำกัด มี

ขอบเขตการดำเนินงานไปประกอบไปด้วย ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา วัตถุประสงค์
ขอบเขตของโครงงาน ผลทค่ี าดว่าจะไดร้ ับ และแผนการดำเนนิ งาน ดังนี้

ความเป็นมาและความสำคญั ของปัญหา
บริษัท ชโย โลจิสติกส์ จำกัด เป็นบริษัทท่ีประกอบกิจการขนส่งด้านโลจิสติกส์ โดยมี
วธิ ีการจัดระบบการทำงานบนคอมพิวเตอรแ์ ละเครอื ข่ายอินเตอร์เน็ตและในปัจจุบันทางบริษัทยังไม่มี
ระบบท่ีจะมาช่วยในการจัดการระบบการจัดการทรัพยากรบุคคลข้อมูลพนักงานถูกจัดเก็บไม่เป็น
ระบบระเบียบทำให้เวลาหาข้อมูลได้ยาก การจัดการประวัติพนักงานและข้อมูลต่าง ๆ อาจจะค้นหา
ซับซ้อนไปบ้างและการจัดการเงินเดือนอาจมีความผิดพลาดได้ เพราะเงินเดือน ค่าล่วงเวลา การลา
และคา่ สวัสดิการของพนกั งานแต่ละคนไม่เท่ากัน การอนุมัตวิ ันหยุดและวันลาของพนกั งานซอ้ นทบั กัน
ให้ให้เกิดผลกระทบต่องานและถ้าต้องการดูข้อมูลของแต่ละเดือนที่ผ่านมาแล้วน้ัน จะตรวจสอบได้
ยากและข้อมูลอาจสูญหายได้หรืออาจเกี่ยวกับการจัดการแรงงาน เก่ียวกับอัตราการจ้าง และการ
ละเมิดกฎหมายแรงงาน ซ่ึงมีผลบางส่วนมาจากระบบงานบริหารบุคคลท่ีไม่ได้มาตรฐาน หรือการ
บริหารงานบุคคลด้วยระบบเอกสาร ดังน้ันจึงมีความจำเป็นท่ีธุรกิจควรมีระบบบริหารงานบุคคลท่ี
เป็นมาตรฐานน้ีเพื่อช่วยในเร่ืองของการกำหนดเงื่อนไขต่าง ๆ ของการทำงาน กฎเกณฑ์ ข้อกำหนด
ต่าง ๆ ระหว่างพนักงานกับบริษัท และมีการเก็บข้อมูลโดยใช้ เทคโนโลยีท่ีทันสมัย เหมาะแก่การ
ค้นหาขอ้ มลู แสดงรายงาน จัดการไดง้ ่ายและยดื หยนุ่ กว่าแบบเอกสารมาก
การนำระบบการจัดการทรัพยากรบุคคลมาใช้ใน บริษัท ชโย โลจิสติกส์ จำกัด จึงเป็นอีก
ระบบท่ีมีความสำคัญต่อการบริหารงานบุคคลซ่ึงจะช่วยให้เกิดความสะดวกและเป็นมาตรฐานมากขึ้น
ลดการเกิดปัญหาต่าง ๆ เช่น การช้ำซ้อนของข้อมูลพนักงาน การจัดการตารางวันหยุดและวันลาของ
พนักงาน การลงเวลาเข้าทำงาน และลงเวลาออกจากงาน การบันทึกข้อมูลการกระทำความผิด การ

SPU CHONBURI 13

อนุมัติ และยกเลิกการลา รายงานสถิติการทำงานของพนักงานราย วัน/เดือน/ปี เพ่ือให้การทำงานมี
ประสิทธิภาพ ช่วยลดขั้นตอนในการทำงานให้กับผู้ดูและระบบ สามารถจัดการระบบได้ง่ายและ
รวดเร็วย่ิงข้ึน สามารถดูข้อมูลท้ังปัจจุบันและข้อมูลย้อนหลังได้ อีกท้ังยังสามารถออกรายงานได้อีก
ด้วย การสูญหายของเอกสารท่ีเป็นตัวกระดาษ การทำงานด้วยมนุษย์ท่ีอาจเกิดความผิดพลาดได้ง่าย
ช่วยในการตัดสินใจของผู้บริหาร การทำงานเป็นระบบมากข้ึน และเง่ือนไขต่าง ๆ ที่อิงตามกฎหมาย
ปจั จบุ ัน ตลอดจน เป็นหลักฐานตา่ ง ๆ เมือ่ เกิดปญั หาหรือเกดิ คดีความฟ้องร้องขึน้ ได้

วัตถปุ ระสงค์
1. เพือ่ ให้การทำงานของระบบมีมาตรฐานละนา่ เช่ือถือ
2. เพอื่ ช่วยให้เกิดความสะดวก รวดเรว็ ในการ ค้นหา จดั การ หรอื ประกอบการตัดสนิ ใจ
ของผู้บริหารตามเวลาท่ตี ้องการ
ขอบเขตของโครงงาน
การพัฒนาระบบการจัดการทรัพยากรบุคคลของ บริษัท ชโย โลจิสติกส์ จำกัด มีขอบเขต
การดำเนินงานของโครงงานดงั ตอ่ ไปน้ี
1. กำรจดั กำรข้อมลู พ้ืนฐำน

- แผนก
- ตำแหน่ง
- พนักงาน
- ระเบียบการปฏบิ ัติงาน
- ประเภทความผดิ
- บทลงโทษ
- ขา่ วสาร
- กิจกรรม
- ภาพกิจกรรม
- ประเภทการลา
2. การลงเวลาทำงาน
- การลงเวลาเขา้ ออกการทำงาน
- การเรยี กดกู ารลงเวลาเข้าออกการทำงาน
3. ขอ้ มลู การกระทำความผิด
- การบันทึกข้อมลู การกระทำความผดิ
- การเรยี กดขู ้อมลู การกระทำความผดิ
4. ขอ้ มลู การฝกึ อบรม

14

- การบนั ทึกข้อมูลการฝกึ อบรม
- การเรียกดขู ้อมลู การฝึกอบรม
5. การลา
- การบันทกึ ข้อมูลการลาแต่ละประเภท
- การอนุมตั แิ ละยกเลิกการลา
- การเรยี กดปู ระวตั กิ ารลา
6. การวิเคราะหแ์ ละออกรายงาน
- รายงานขอ้ มลู พนกั งานราย ว/ด/ป
- รายงานการทำงานของพนักงานราย ว/ด/ป
- รายงานการกระทำความผิดของพนักงานราย ว/ด/ป
- รายงานการฝึกอบรมของพนักงานราย ว/ด/ป
- รายงานการลาของพนักงานราย ว/ด/ป
- รายงานใบขบั ขี่พนกั งาน ว/ด/ป
ผลทค่ี าดวา่ จะไดร้ ับ
1. เพื่อช่วยให้จัดการกับข้อมูลได้อย่างรวดเร็วและเป็นระบบ ง่ายต่อการตรวจสอบข้อมูล
ยอ้ นหลัง
2. เพ่ือช่วยลดความผิดพลาดในการจัดเก็บเอกสารและแก้ไขข้อมูลเก่ียวกับประวัติพนักงาน
และ ขอ้ มลู อน่ื ๆ ในระบบ
3. เพ่ือลดขั้นตอนการทำงานของระบบบริหารงานบุคคลไม่ให้เกิดการซับซ้อนของการ
ทำงานและการเก็บขอ้ มลู
แผนการดำเนินงาน (Gantt Chart)
ระบบการจัดการทรัพยากรบุคคลของ บริษัท ชโย โลจิสติกส์ จำกัด เริ่มดำเนินการตั้งแต่
วันท่ี 13 มกราคม 2563 จนถงึ วนั ท่ี 8 พฤษภาคม 2563 โดยมีขน้ั ตอนการดำเนนิ งานดงั ภาพท่ี 3.1
SPU CHONBURI

SPU CHONBURI 15

ภาพท่ี 3.1 แสดงแผนภาพการดำเนนิ งาน (Gant Chart)
แผนภาพบริบท (Context Diagram)
แผนภาพบรบิ ทแสดงเสน้ ทางการไหลของข้อมลู ระหวา่ งกระบวนการหลัก และผู้ใช้งานที่มี
ความเก่ียวข้องกับระบบการจัดการทรัพยากรบุคคลของ บริษัท ชโย โลจิสติกส์ จำกัด ดังภาพที่ 3.2
เพ่ือเป็นแนวทางในการพัฒนาดังนี้
1. พนักงาน หมายถึง บุคคลท่ีทำหน้าที่ในการจัดการข้อมูลพ้ืนฐานได้แก่ ข้อมูลแผนก
ข้อมูลตำแหน่ง ข้อมูลพนักงาน บทลงโทษ ประเภทการลา การลงเวลาทำงาน ข้อมูลการกระทำ
ความผิด ขอ้ มลู การฝกึ อบรม การลา
2. ฝ่ายบุคคล หมายถึง บุคคลท่ที ำฟนา้ ท่ีในการจัดการขอ้ มูลพนื้ ฐานในระบบ ได้แก่ ได้แก่
ข้อมูลแผนก ข้อมูลตำแหน่ง ข้อมูลพนักงาน ระเบียบการปฏิบัติงาน ประเภทความผิด บทลงโทษ
ข้อมูลข่าวสาร ภาพกิจกรรม ประเภทการลา การลงเวลาทำงาน ขอ้ มลู การกระทำความผิด ขอ้ มูลการ
ฝึกอบรม การลา เพอ่ื เตรยี มความพรอ้ มในการดำเนนิ งาน
3. ผู้บริหาร หมายถึง บุคคลที่ทำหนา้ ที่ในการตรวจสอบรายงานและข้อมลู ในระบบ ไดแ้ ก่
ประเภทความผิด บทลงโทษ รายงานข้อมูลพนักงานราย ว/ด/ป รายงานการทำงานของพนักงานราย
ว/ด/ป รายงานการกระทำความผิดของพนักงานราย ว/ด/ป รายงานการฝึกอบรมของพนักงานราย
ว/ด/ป รายงานการลาของพนกั งานราย ว/ด/ป รายงานใบขบั ขพี่ นักงาน ว/ด/ป

SPU CHONBURI 16

ภาพที่ 3.2 แสดงแผนภาพบริบท (Context Diagram)
แผนภาพกระแสข้อมลู (Data flow Diagram)
แผนภาพกระแสข้อมูลแสดงให้เห็นถึงการไหลของข้อมูลระหว่างกระบวนการต่าง ๆ ใน
ระบบซึ่งใช้เป็นแนวทางในการกำหนดรายละเอียดขั้นตอนการทำงานในระบบการจัดการทรัพยากร
บคุ คลของ บรษิ ัท ชโย โลจิสตกิ ส์ จำกัด ซึง่ กระบวนการทำงานด้วยแผนภาพกระแสข้อมูล ดงั แสดงใน
ภาพที่ 3.3, 3.4 แบะ 3.5 ซงึ่ มกี ารแบง่ ขั้นตอนการทำงานเปน็ 6 กระบวนการดังนี้
กระบวนการ 1.0 การจัดการข้อมูลพื้นฐาน เทป็นกระบวนการจัดการข้อมูลพื้นฐานท่ี
สำคัญได้แก่ ข้อมูลแผนก ข้อมูลตำแหน่ง ข้อมูลประวตั ิพนักงาน ข้อมูลระเบียบการปฏิบัติงาน ข้อมูล
ประเภทการกระทำความผิด ข้อมูลการลงโทษผู้กระทำความผิด ข้อมูลข่าวสาร ข้อมูลภาพกิจกรรม
ข้อมูลประเภทการลา เพื่อใช้ในการเรียกใช้ข้อมูลจากส่วนต่าง ๆ ให้มีระบบท่ีเป็นสัดส่วนและจัดการ
ง่ายขึ้น
กระบวนการ 2.0 การลงเวลาทำงาน เป็นกระบวนการในการจัดการข้อมูลลงเวลาเข้า-
ออกจากงานของพนักงานแตล่ ะคนในแต่ละวัน
กระบวนการ 3.0 ข้อมูลการกระทำความผิด เป็นกระบวนการในการจัดการข้อมูลการ
กระทำความผิดของพนกั งาน และยังสามารถเรียกดขู อ้ มูลการกระทำความผดิ ย้อนหลงั ได้ดว้ ย
กระบวนการ 4.0 ข้อมูลการฝึกอบรม เป็นกระบวนการจัดการข้อมูลประวัติการฝึกอบรม
ของพนกั งานแต่ละคน

17

กระบวนการ 5.0 การลา เป็นกระบวนการจัดการข้อมูลการลางานของพนักงานรวมถึง
การอนุมัติการลางาน และสามารถเรยี กดปู ระวัติการลางานของพนักงานคนน้ัน ๆ ได้

กระบวนการ 6.0 การวิเคราะห์และออกรายงาน เป็นการออกรายงาน การสรุปข้อมูล
ดำเนินงานของระบบให้กับผู้บริหาร ได้แก่ ได้แก่ รายงานข้อมูลพนักงานราย ว/ด/ป รายงานการ
ทำงานของพนักงานราย ว/ด/ป รายงานการกระทำความผิดของพนักงานราย ว/ด/ป รายงานการ
ฝึกอบรมของพนักงานราย ว/ด/ป รายงานการลาของพนักงานราย ว/ด/ป รายงานใบขับข่ีพนักงาน
ว/ด/ป

SPU CHONBURI

SPU CHONBURI 18

19

ภาพที่ 3.3 แสดงแผนภาพกระแสข้อมูล (Data flow Diagram)
ความสัมพนั ธข์ องฐานขอ้ มูล (E-R Diagram)
แสดงถึงความสัมพนั ธ์ของตารางข้อมูลที่เกิดข้ึนในระบบการจัดการบุคลากรในองค์กรของ
บริษัท ชโย โลจิสติกส์ จำกัด ได้มีโครงการตารางข้อมูล และแสดงความสัมพันธ์ระหว่างตารางข้อมูล
ตา่ ง ๆ ดงั ภาพที่ 3.6
SPU CHONBURI

SPU CHONBURI 20

ภาพที่ 3.4 แสดงความสัมพนั ธข์ องฐานข้อมลู (E-R Diagram)
การออกแบบตารางข้อมลู (Data Table Design)
ระบบการจัดการทรัพยากรบุคคลของ บริษัท ชโย โลจิสติกส์ จำกัด นั้น ผู้จัดทำได้มีการ
ออกแบบตารางขอ้ มลู ที่ใช้ในการพฒั นาระบบงาน ท้ังหมด 8 ตาราง ดงั นี้
1. แผนก
2. ตำแหน่ง
3. พนักงาน
4. ระเบียบการปฏิบตั ิงาน
5. ประเภทความผดิ
6. บทลงโทษ
7. ขา่ วสาร
8. กิจกรรม

21

9. ภาพกิจกรรม
10. ประเภทการลา
11. การลงเวลาทำงาน
12. ข้อมูลการกระทำความผิด
13. ข้อมลู การฝึกอบรม
14. ข้อมลู การลา

รหัส Department
SPU CHONBURI
ชอ่ื ตาราง แผนก

วัตถุประสงค์ เก็บรายละเอยี ดแผนก

ตารางท่เี กีย่ วข้อง -

ตารางแสดงรายละเอยี ด

ลำดบั คุณสมบัติ ประเภท ขนาด คำอธบิ าย ตรวจสอบความถกู ต้อง ประเภทคีย์ คา่ เบอื้ งตน้
(No.) (Attribute) (Type) (Width) (Description) (Validation Check) (Key Type) (Default)
Primary Key
1 ID int 10 รหัสแผนก ไมเ่ ป็นคา่ วา่ งหรอื ค่าซ้ำ -
- -
2 Name varchar 50 ชือ่ แผนก ตัวอักษร - N

3 Status varchar 1 สถานะ N = ปกติ

C = ยกเลกิ

ตารางที่ 3.1 แสดงการออกแบบตารางแผนก

รหสั Position

ชื่อตาราง ตำแหนง่

วตั ถปุ ระสงค์ เก็บรายละเอียดตำแหน่ง

ตารางทีเ่ กยี่ วข้อง -

ตารางแสดงรายละเอียด

ลำดับ คุณสมบัติ ประเภท ขนาด คำอธิบาย ตรวจสอบความถกู ต้อง ประเภทคีย์ ค่าเบื้องต้น
(No.) (Attribute) (Type) (Width) (Description) (Validation Check) (Key Type) (Default)
Primary Key
1 ID int 10 รหสั แผนก ไม่เป็นคา่ ว่างหรือค่าซ้ำ -
- -
2 Name varchar 50 ชอื่ แผนก ตัวอกั ษร - N

3 Status varchar 1 สถานะ N = ปกติ
C = ยกเลิก

ตารางที่ 3.2 แสดงการออกแบบตารางตำแหน่ง

22

รหัส Employee

ชอื่ ตาราง พนกั งาน

วัตถปุ ระสงค์ เกบ็ รายละเอยี ดพนกั งาน

ตารางทีเ่ ก่ยี วข้อง ตำแหน่ง, แผนก

ตารางแสดงรายละเอียด

ลำดับ คุณสมบัติ ประเภท ขนาด คำอธิบาย ตรวจสอบความถกู ตอ้ ง ประเภทคีย์ คา่ เบอ้ื งต้น
(No.) (Attribute) (Type) (Width) (Description) (Validation Check) (Key Type) (Default)
รหัสพนักงาน ไม่เป็นคา่ วา่ งหรือค่าซำ้ Primary Key
1 ID int 10 สทิ ธ์ ตัวเลข -
2 Role int 10 รหัสตำแหน่ง ตวั เลข Foreign Key -
3 Position_ID int 10 รหัสแผนก ตวั เลข Foreign Key -
4 Department_ID int 10 ชื่อ-สกลุ ตัวอักษร -
5 Name varchar 100 - -
SPU CHONBURI - -
6 Birthdate date 10 วันเกดิ YYYY-MM-DD - -
- -
7 Address varchar 255 ทอ่ี ยู่ ตวั อักษร หรือตวั เลข - -
- N
8 Tel varchar 10 เบอร์โทรศัพท์ ตวั อกั ษร

9 Email varchar 255 อีเมล ตัวอักษร

10 Status varchar 1 สถานะ N = ปกติ
C = ยกเลกิ

ตารางท่ี 3.3 แสดงการออกแบบตารางพนักงาน

รหสั Rule

ช่อื ตาราง ระเบยี บการปฏบิ ตั ิงาน

วัตถปุ ระสงค์ เกบ็ รายละเอยี ดระเบียบการปฏิบัตงิ านบริษทั

ตารางทเ่ี กย่ี วข้อง -

ตารางแสดงรายละเอยี ด

ลำดบั คณุ สมบตั ิ ประเภท ขนาด คำอธบิ าย ตรวจสอบความถูกต้อง ประเภทคีย์ ค่าเบ้อื งตน้
(No.) (Attribute) (Type) (Width) (Description) (Validation Check) (Key Type) (Default)

1 ID int 10 รหัสระเบียบ ไมเ่ ปน็ คา่ วา่ งหรอื คา่ ซำ้ Primary Key -

การ

2 Detail varchar 255 รายละเอียด ตวั อักษร --

ระเบียบ

3 Status varchar 1 สถานะ N = ปกติ -N

C = ยกเลกิ

ตารางที่ 3.4 แสดงการออกแบบตารางระเบียบการปฏบิ ตั ิงาน

23

รหสั Offense_type

ชื่อตาราง ประเภทความผดิ

วัตถุประสงค์ เกบ็ รายละเอยี ดประเภทการกระทำความผิด

ตารางทเ่ี ก่ยี วข้อง -

ตารางแสดงรายละเอียด

ลำดบั คุณสมบตั ิ ประเภท ขนาด คำอธบิ าย ตรวจสอบความถกู ต้อง ประเภทคยี ์ คา่ เบอ้ื งตน้
(No.) (Attribute) (Type) (Width) (Description) (Validation Check) (Key Type) (Default)
รหสั ประเภท ไมเ่ ป็นคา่ วา่ งหรือคา่ ซ้ำ Primary Key
1 ID int 10 การกระทำ -
ความผิด
SPU CHONBURI -
2 Name varchar 100 ช่ือประเภท ตวั อักษร -
การกระทำ N
ความผิด

3 Status varchar 1 สถานะ N = ปกติ -
C = ยกเลกิ

ตารางที่ 3.5 แสดงการออกแบบตารางประเภทความผดิ

รหัส Penalties

ช่ือตาราง บทลงโทษ

วัตถปุ ระสงค์ เก็บรายละเอยี ดบทลงโทษ

ตารางที่เกี่ยวข้อง -

ตารางแสดงรายละเอยี ด

ลำดับ คุณสมบตั ิ ประเภท ขนาด คำอธิบาย ตรวจสอบความถูกต้อง ประเภทคีย์ ค่าเบอ้ื งตน้
(No.) (Attribute) (Type) (Width) (Description) (Validation Check) (Key Type) (Default)
Primary Key
1 ID int 10 รหสั บทลงโทษ ไม่เป็นค่าวา่ งหรือคา่ ซำ้ -
- -
2 Name varchar 100 ช่อื บทลงโทษ ตัวอกั ษร - -

3 Detail varchar 255 รายละเอยี ด ตัวอักษร - N
4 Status
บทลงโทษ

varchar 1 สถานะ N = ปกติ

C = ยกเลิก

ตารางที่ 3.6 แสดงการออกแบบตารางบทลงโทษ

24

รหสั News

ชอ่ื ตาราง ขา่ วสาร

วัตถุประสงค์ เกบ็ รายละเอยี ดข้อมลู ข่าวสาร

ตารางทีเ่ ก่ยี วข้อง -

ตารางแสดงรายละเอียด

ลำดบั คุณสมบัติ ประเภท ขนาด คำอธบิ าย ตรวจสอบความถกู ตอ้ ง ประเภทคีย์ คา่ เบอ้ื งตน้
(No.) (Attribute) (Type) (Width) (Description) (Validation Check) (Key Type) (Default)
รหสั ขา่ วสาร ไม่เป็นค่าวา่ งหรอื คา่ ซ้ำ Primary Key
1 ID int 10 หวั ขอ้ ขา่ ว ตัวอักษร -
2 Subject varchar 100 รายละเอียด ตัวอกั ษร - -
3 Detail varchar 255 วันท่ีบนั ทกึ YYYY-MM-DD - -
4 Newsdate 10 - -
SPU CHONBURI dateti
- N
me

5 Status varchar 1 สถานะ N = ปกติ
C = ยกเลิก

ตารางที่ 3.7 แสดงการออกแบบตารางขา่ วสาร

รหสั Activity

ชือ่ ตาราง กจิ กรรม

วตั ถุประสงค์ เก็บรายละเอยี ดกจิ กรรม

ตารางท่ีเก่ียวข้อง กิจกรรม

ตารางแสดงรายละเอยี ด

ลำดับ คณุ สมบตั ิ ประเภท ขนาด คำอธิบาย ตรวจสอบความถกู ตอ้ ง ประเภทคยี ์ คา่ เบอ้ื งตน้
(No.) (Attribute) (Type) (Width) (Description) (Validation Check) (Key Type) (Default)
Primary Key
1 ID int 10 รหสั รปู ภาพ ไมเ่ ปน็ คา่ วา่ งหรอื ค่าซ้ำ Foreign Key -
-
2 Activity_ID int 10 รหัสกจิ กรรม ตัวอักษร - -
- N
3 Photo varchar 30 ภาพกจิ กรรม ตัวอกั ษร

4 Status varchar 1 สถานะ N = ปกติ

C = ยกเลิก

ตารางท่ี 3.8 แสดงการออกแบบตารางกจิ กรรม

25

รหัส Activity_photo

ชอื่ ตาราง ภาพกิจกรรม

วตั ถุประสงค์ เก็บรายละเอยี ดรปู ภาพกิจกรรม

ตารางท่เี กยี่ วข้อง กิจกรรม

ตารางแสดงรายละเอยี ด

ลำดบั คุณสมบัติ ประเภท ขนาด คำอธิบาย ตรวจสอบความถกู ต้อง ประเภทคยี ์ คา่ เบือ้ งต้น
(No.) (Attribute) (Type) (Width) (Description) (Validation Check) (Key Type) (Default)
SPU CHONBURI Primary Key
1 ID int 10 รหัสรปู ภาพ ไมเ่ ป็นค่าว่างหรอื คา่ ซ้ำ Foreign Key -
-
2 Activity_ID int 10 รหัสกจิ กรรม ตัวอักษร - -
- N
3 Photo varchar 30 ภาพกจิ กรรม ตัวอักษร

4 Status varchar 1 สถานะ N = ปกติ
C = ยกเลกิ

ตารางที่ 3.9 แสดงการออกแบบตารางภาพกจิ กรรม

รหัส Leaves_type

ช่อื ตาราง ประเภทการลา

วัตถุประสงค์ เก็บรายละเอียดประเภทการลา

ตารางท่เี กยี่ วข้อง -

ตารางแสดงรายละเอียด

ลำดับ คุณสมบัติ ประเภท ขนาด คำอธิบาย ตรวจสอบความถกู ตอ้ ง ประเภทคยี ์ ค่าเบอ้ื งตน้
(No.) (Attribute) (Type) (Width) (Description) (Validation Check) (Key Type) (Default)
รหัสประเภท ไม่เป็นคา่ วา่ งหรือคา่ ซ้ำ Primary Key
1 ID int 10 การลา -
ชือ่ ประเภท ตวั อกั ษร -
2 Name varchar 100 การลา -
-
3 Status varchar 1 สถานะ N = ปกติ N
C = ยกเลิก

ตารางท่ี 3.10 แสดงการออกแบบตารางประเภทการลา

26

รหัส Worktime

ชือ่ ตาราง การลงเวลาทำงาน

วตั ถุประสงค์ เกบ็ รายละเอียดการลงเวลาทำงาน

ตารางท่ีเกี่ยวข้อง พนักงาน

ตารางแสดงรายละเอยี ด

ลำดบั คุณสมบตั ิ ประเภท ขนาด คำอธบิ าย ตรวจสอบความถูกต้อง ประเภทคยี ์ ค่าเบอ้ื งต้น
(No.) (Attribute) (Type) (Width) (Description) (Validation Check) (Key Type) (Default)
รหัสการลง ไมเ่ ป็นคา่ วา่ งหรอื คา่ ซำ้ Primary Key
1 ID Int 10 เวลา -

SPU CHONBURI2 Employee_IDInt 10 รหัสพนกั งาน ตวั อักษร - -
-
3 Workdate date 10 วันทลี่ งเวลา YYYY-MM-DD - -
-
4 Time_in varchar 20 เวลาเข้า ตวั อักษร - N

5 Time_out varchar 20 เวลาออก ตัวอกั ษร -

6 Status varchar 1 สถานะ N = ปกติ C = ยกเลิก -

ตารางที่ 3.11 แสดงการออกแบบตารางการลงเวลาทำงาน

รหสั Offense

ช่อื ตาราง ขอ้ มูลการกระทำความผิด

วตั ถุประสงค์ เกบ็ รายละเอยี ดข้อมูลการกระทำความผดิ

ตารางท่ีเกีย่ วข้อง ประเภทการกระทำความผดิ , พนักงาน, บทลงโทษ

ตารางแสดงรายละเอียด

ลำดบั คณุ สมบัติ ประเภท ขนาด คำอธบิ าย ตรวจสอบความถกู ต้อง ประเภทคยี ์ คา่ เบอ้ื งต้น
(No.) (Attribute) (Type) (Width) (Description) (Validation Check) (Key Type) (Default)
รหัสการ ไมเ่ ปน็ คา่ วา่ งหรือคา่ ซำ้ Primary Key
1 ID Int 10 กระทำ -
ความผดิ
-
2 Type_ID Int 10 รหสั ประเภท ตัวเลข Foreign Key
-
3 Employee_ID การกระทำ Foreign Key -
4 Penalties_ID Foreign Key -
5 Reason ความผดิ -
6 Note - -
7 Offdate Int 10 รหสั พนกั งาน ตัวเลข -
- N
Int 10 รหัสบทลงโทษ ตัวเลข

varchar 255 สาเหตุ ตวั อักษร

varchar 255 หมายเหตุ ตวั อกั ษร

date 10 วันที่ ท่ีทำ YYYY-MM-DD

ความผิด

8 Status varchar 1 สถานะ N = ปกติ C = ยกเลิก -

ตารางท่ี 3.12 แสดงการออกแบบตารางข้อมูลการกระทำความผดิ

27

รหัส Training

ช่ือตาราง ข้อมูลการฝึกอบรม

วตั ถุประสงค์ เกบ็ รายละเอยี ดข้อมูลการฝกึ อบรม

ตารางท่ีเก่ยี วข้อง พนกั งาน

ตารางแสดงรายละเอียด

ลำดบั คุณสมบตั ิ ประเภท ขนาด คำอธิบาย ตรวจสอบความถกู ต้อง ประเภทคีย์ คา่ เบอ้ื งต้น
(No.) (Attribute) (Type) (Width) (Description) (Validation Check) (Key Type) (Default)
รหัสการ ไม่เปน็ คา่ วา่ งหรอื ค่าซำ้ Primary Key
1 ID Int 10 ฝึกอบรม -

SPU CHONBURI2 Employee_IDInt 10 รหัสพนักงาน ตวั อกั ษร - -
-
3 Startdate date 10 วนั ที่เริม่ YYYY-MM-DD - -
-
4 Enddate date 10 วันที่ส้ินสดุ YYYY-MM-DD -
-
5 Starttime dateti 10 เวลาท่ีเรมิ่ ตวั อกั ษร -
-
me -
-0.00
6 Endtime dateti 10 เวลาที่ส้ินสดุ ตัวอักษร - -
N
me

7 Name varchar 255 ช่อื หลกั สตู ร ตัวอักษร -

8 Detail varchar 255 รายละเอยี ด ตัวอักษร -

9 Price Float 7 ราคา ตวั เลข Foreign Key

10 Organizer varchar 100 ผจู้ ัดฝกึ อบรม ตัวอักษร -

11 Status varchar 1 สถานะ N = ปกติ C = ยกเลกิ -

ตารางที่ 3.13 แสดงการออกแบบตารางข้อมลู การฝึกอบรม

รหสั Leaves

ชื่อตาราง ข้อมลู การลา

วตั ถปุ ระสงค์ เก็บรายละเอียดการลางาน

ตารางทเี่ กย่ี วข้อง ประเภทการลางาน, พนกั งาน

ตารางแสดงรายละเอยี ด

ลำดับ คุณสมบัติ ประเภท ขนาด คำอธบิ าย ตรวจสอบความถูกต้อง ประเภทคยี ์ ค่าเบอื้ งต้น
(Key Type) (Default)
(No.) (Attribute) (Type) (Width) (Description) (Validation Check) Primary Key
-
1 ID Int 10 รหัสการลา ไมเ่ ปน็ ค่าว่างหรอื ค่าซ้ำ Foreign Key
งาน -
Foreign Key
2 Type_ID Int 10 รหสั ประเภท ตวั อกั ษร - -
-
3 Employee_ID การลางาน
4 Startdate
Int 10 รหสั พนกั งาน ตัวอักษร

date - วันที่ลา YYYY-MM-DD

5 St_day Int 1 สถานการณล์ า 1 = ลาเตม็ วนั - 28
2 = ลาครงึ่ วนั
6 Enddate - -
7 En_day date - ถงึ วนั ท่ี YYYY-MM-DD -
-
8 Sumdate Int 1 สถานะการลา 1 = ลาเต็มวัน - -
9 Note 2 = ลาครึ่งวัน -
10 Status - -
varchar 20 จำนวนวนั ลา ตวั อกั ษร หรอื ตวั เลข -
11 Reqdate - -
varchar 255 หมายเหตุ ตวั อักษร
12 Status - -
varchar 1 สถานะ 1 = อนุมตั ิ
2 = ไม่อนมุ ตั ิ N

dateti - วันที่ขอลา YYYY-MM-DD
SPU CHONBURI
me

varchar 1 สถานะ N = ปกติ C = ยกเลกิ

ตารางที่ 3.14 แสดงการออกแบบตารางข้อมูลการลา

การสร้างเคร่อื งมือประเมนิ ความพึงพอใจโปรแกรม

ในการพัฒนาระบบการจัดการบุคลากรในองคก์ รของ บริษทั ชโย โลจิสตกิ ส์ จำกดั ผจู้ ัดทำ

ได้มีการสร้างแบบประเมินการใช้งานระบบเพ่ือใช้ในการประเมินประสิทธิภาพการทำงานของระบบ

โดยมีขัน้ ตอนการสร้างเครอื่ งมือความพงึ พอใจโปรแกรมดังนี้

1. การสร้างแบบประเมิน เร่ิมจากการออกแบบใบประเมินความพึงพอใจ และกำหนด

หวั ข้อท่จี ะประเมนิ ผลโดยแบ่งออกเปน็ 2 สว่ น คือ

การทดสอบด้าน Functional Test คือ การทดสอบด้านฟังก์ชนั การทำงานของระบบวา่ มี

ความถูกต้องตรงกับการใช้งานระบบในส่วนน้ันโดยจะมีการทดสอบความถูกต้องในการจัดเก็บข้อมูล

พน้ื ฐาน และการวิเคราะห์และออกแบบรายงาน

การทดสอบด้าน Usability Test คือ การทดสอบความมีประสิทธิภาพในการใช้งานของ

โปรแกรมความเหมาะสมในการจัดวางของหน้าจอ สีของตัวอักษร และรูปแบบความยากง่ายในการ

เขา้ ใช้งานระบบ

2. ตรวจสอบแบบประเมินให้อาจารยท์ ี่ปรึกษาตรวจสอบความถูกต้องและเสนอแนะ

3. ทำการปรับปรงุ แบบประเมินให้ถกู ต้องตามข้อเสนอของอาจารย์ทป่ี รึกษา

4. เก็บผลประเมนิ

5. วเิ คราะหข์ อ้ มลู

6. สรุปผลการประเมนิ

โดยมีการแบง่ เกณฑ์ใหค้ ะแนนของแบบประเมนิ โครงงาน 5 ระดบั ดังน้ี

ระดบั ค่าเฉลยี่ ความหมาย

29

1 1.00-1.50 น้อย (Much Below Average)

2 1.51-2.50 พอใช้ (Below Average)

3 2.51-3.50 ปานกลาง (Fair Average)

4 3.51-4.50 ดี (Above Average)

5 4.51-5.00 ดีมาก (Much Above Average)

ตารางที่ 3.9 แสดงเกณฑ์การใหค้ ะแนนแบบประเมนิ โครงงาน

การทดสอบและประเมนิ ผลระบบ
การทดสอบ
ในการทดสอบระบบการจัดการทรพั ยากรบคุ คลมาใชใ้ น บรษิ ัท ชโย โลจิสตกิ ส์ จำกัด ใช้

วิธีการทดสอบระบบด้วยวิธี การทดลองให้ผู้ใช้ทำการตรวจสอบความถูกต้อง
การประเมินผลระบบ
ในการประเมินผลระบบไดใ้ ช้แบบประเมินทส่ี ร้างข้ึน โดยผู้ประเมินได้แก่ บุคลากรภายใน

บรษิ ัท ชโย โลจิสติกส์ จำกัด
SPU CHONBURI
สถติ ิทใี่ ช้ในการวเิ คราะหข์ ้อมลู
สถิตทิ ่นี ำมาใชใ้ นการวิเคราะหข์ ้อมลู เป็นสถิติอย่างง่ายโดยนำผลการทดสอบทไ่ี ด้มาทำการ

หาค่าเฉลย่ี และสว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐานซง่ึ มีวธิ กี ารในการคำนวณดังน้ี
1. ค่าเฉล่ยี (Mean) หรือคา่ กลางเลขคณติ ค่าเฉลย่ี คา่ มชั ฌิมาเลขคณติ เป็นต้น

เมอื่ แทนท่ี ค่าเฉล่ยี
แทน ผลรวมของคะแนนทัง้ หมดของกลุ่ม
แทน จำนวนของคะแนนในกลุ่ม

2. สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) เปน็ การวัดกระจายท่นี ยิ มใช้กนั มาก
เขียนแทนดว้ ย S.D. หรอื S

หรือ

30

เม่ือ แทน คา่ เฉลย่ี เบี่ยงเบนมาตรฐาน
แทน คา่ คะแนน
แทน จำนวนของคะแนนมนแต่ละกลุ่ม
แทน ผลรวม

SPU CHONBURI

SPU CHONBURI บทท่ี 4
ผลการดำเนนิ งาน

จากการฝึกสหกิจศึกษา ณ บรษิ ัท ชโย โลจิสติกส์ จำกัด ผู้จัดทำได้รับมอบหมายให้พัฒนา
ระบบการจัดการทรัพยากรบคุ ลของ บรษิ ัท ชโย โลจสิ ตกิ ส์ จำกัด ซ่ึงมผี ลการดำเนินงาน ดงั ต่อไปนี้

ผลการพัฒนาระบบ
การพัฒนาระบบการจัดการทรัพยากรบุคลของ บริษัท ชโย โลจิสติกส์ จำกัด มีผลการ

ดำเนนิ งานตามขอบเขตการดำเนินงานของโครงงาน ดงั นี้
1. การจดั การขอ้ มูลพ้นื ฐาน
1.1 หนา้ จอเพิ่มข้อมลู แผนก
1.2 หนา้ จอจัดการข้อมลู แผนก
1.3 หนา้ จอเพิ่มข้อมูลตำแหน่ง
1.4 หนา้ จอจัดการข้อมลู ตำแหน่ง
1.5 หนา้ จอเพ่ิมขอ้ มลู ประวตั ิพนกั งาน
1.6 หนา้ จอจัดการข้อมลู ประวัติพนักงาน
1.7 หนา้ จอเพิ่มขอ้ มูลระเบียบการปฏบิ ัตงิ าน
1.8 หน้าจอเพม่ิ ขอ้ มูลประเภทการกระทำความผดิ
1.9 หน้าจอจัดการข้อมูลประเภทการกระทำความผดิ
1.10 หนา้ จอเพ่ิมข้อมูลการลงโทษผกู้ ระทำความผิด
1.11 หน้าจอจดั การขอ้ มูลการลงโทษผกู้ ระทำความผิด
1.12 หน้าจอเพ่ิมข้อมลู ข่าวสาร
1.13 หนา้ จอจัดการข้อมูลขา่ วสาร
1.14 หนา้ จอเพ่ิมข้อมลู ภาพกิจกรรม
1.15 หนา้ จอจัดการข้อมลู ภาพกจิ กรรม
1.16 หนา้ จอเพิ่มข้อมลู ประเภทการลา
2. การลงเวลาทำงาน
2.1 หน้าจอบนั ทึกลงเวลา-ออกงาน
2.2 หนา้ จอประวัตกิ ารลงเวลาเข้า-ออกจากงาน

SPU CHONBURI 32

3. ขอ้ มูลการกระทำความผิด
3.1 หนา้ จอบนั ทกึ ข้อมลู การกระทำความผดิ
3.2 หนา้ จอจดั การข้อมลู การกระทำความผดิ

4. การทำขอ้ มูลการฝกึ อบรม
4.1 หน้าจอบันทึกข้อมูลประวัติการฝกึ อบรม
4.2 หนา้ จอจัดการข้อมูลประวตั ิการฝกึ อบรม

5. การทำขอ้ มลู การลา
5.1 หนา้ จอบนั ทกึ ข้อมลู การลา
5.2 หนา้ จอจดั การอนมุ ัตแิ ละยกเลกิ ลางาน

6. การวเิ คราะหแ์ ละออกรายงาน
6.1 หน้าจอรายงานสถิติพนักงานราย วัน/เดือน/ปี
6.2 หนา้ จอรายงานสถติ ิการทำงานของพนกั งานราย วัน/เดือน/ปี
6.3 หน้าจอรายงานข้อมูลการกระทำความผดิ ของพนักงานราย วนั /เดอื น/ปี
6.4 หนา้ จอรายงานข้อมูลการฝึกอบรมของพนกั งานราย วัน/เดือน/ปี
6.5 หนา้ จอรายงานสถิติการลาของพนักงานราย วัน/เดอื น/ปี
6.6 หน้าจอรายงานใบขับข่ี

หนา้ จอหน้าหลักของระบบ
เปน็ หนา้ จอหลักจะเปน็ หนา้ จอสำหรับเขา้ สรู่ ะบบ

ภาพท่ี 4.1 แสดงหนา้ จอหน้าหลกั ของระบบ

SPU CHONBURI 33

1. การจัดการข้อมลู พ้นื ฐาน
1.1 หนา้ จอเพม่ิ ข้อมูลแผนก
เป็นหน้าจอสำหรับให้ผู้ดูแลระบบ สามารถเพ่ิมข้อมูลแผนกเม่ือกรอก

รายละเอียดขอ้ มลู ครบกดปุ่ม บันทึก

ภาพที่ 4.2 แสดงหนา้ จอเพิ่มข้อมูลแผนก
1.2 หน้าจอจัดการข้อมลู แผนก

เป็นหน้าจอสำหรับให้ผู้ดูแลระบบ สามารถจัดการข้อมูลแผนกได้ โดยสามารถ
แกไ้ ขขอ้ มูลแผนก และลบข้อมูลแผนกได้

ภาพท่ี 4.3 แสดงหนา้ จอจดั การขอ้ มลู แผนก

SPU CHONBURI 34

หน้าจอท่ีจะปรากฏเม่ือกด แก้ไขข้อมูล สามารถแก้ไขข้อมูลของแผนก ได้แก่ช่ือ
แผนก เมอื่ แกไ้ ขข้อมลู เรยี บรอ้ ยแล้ว กดปมุ่ บนั ทึก หน้าแก้ไขข้อมูลจะเหมอื นกนั เกือบทงั้ หมด

ภาพที่ 4.4 แสดงหนา้ จอแก้ไขข้อมลู แผนก
1.3 หนา้ จอเพมิ่ ขอ้ มลู ตำแหน่ง

เป็นหนา้ จอสำหรบั ให้ผู้ดูแลระบบมารถเพมิ่ ขอ้ มูลตำแหน่ง เมอ่ื กรอกรายละเอยี ด
ขอ้ มูลครบกดปมุ่ บนั ทึก

ภาพที่ 4.5 แสดงหน้าจอเพ่ิมข้อมูลตำแหนง่
1.4 หนา้ จอจัดการขอ้ มูลตำแหน่ง

SPU CHONBURI 35

เป็นหนา้ จอสำหรับให้ผู้ดูแลระบบ สามารถจัดการข้อมูลตำแหน่งได้ โดยสามารถ
แกไ้ ขขอ้ มูลตำแหนง่ และลบขอ้ มูลตำแหน่งได้

ภาพที่ 4.6 แสดงหนา้ จอจดั การข้อมลู ตำแหน่ง
1.5 หนา้ จอเพ่ิมขอ้ มลู ประวตั พิ นักงาน

เป็นหน้าจอสำหรับให้ผู้ดูแลระบบ สามารถเพิ่มข้อมูลประวัติพนักงาน ได้แก่ ช่ือ
นามสกุล ตำแหน่ง แผนก วัน/เดือน/ปีเกิด ที่อยู่ หมายเลขโทรศัพท์ อีเมล เม่ือกรอกรายละเอียด
ข้อมลู ครบกดป่มุ บนั ทกึ

ภาพที่ 4.7 แสดงหนา้ จอเพ่ิมข้อมูลประวัตพิ นักงาน
1.6 หนา้ จอจดั การข้อมูลประวตั พิ นักงาน


Click to View FlipBook Version