คำนำ
ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอกมลาไสย ไดจ้ ดั ทาหนังสือเรียน
สาระการประกอบอาชีพ รายวชิ า การทาธงุ อสี าน รหสั วชิ า อช 0300514 ระดบั ประถมศึกษา มธั ยมศึกษา
ตอนตน้ มธั ยมศึกษาตอนปลาย ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2564 จัดทาขน้ึ มวี ตั ถปุ ระสงค์เพ่ือต้องการพัฒนาผเู้ รยี นให้
มคี วามรู้ ความสามารถ มีคุณธรรม และมีศักยภาพในการประกอบอาชีพ สารมารถดารงชีวิตอยู่ในครอบครัว
ชมุ ชน สงั คม และประเทศชาติไดอ้ ย่างดยี ่ิง โดยผเู้ รยี นสามารถนาหนงั สอื ไปศึกษาคน้ คว้าได้ดว้ ยตวั เอง ทา
ความเขา้ ใจในเน้อื หาสาระของแต่ละบทเรยี น เพื่อแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ และเพิ่มพูนความรู้ โดยคณะผู้จัดทาได้
ศึกษาค้นควา้ เนื้อหาสาระจากสือ่ ตา่ งๆ อาทิ เอกสารการทาธงุ อินเตอร์เนต็ ภูมิปญั ญาท้องถ่นิ และแหล่ง
เรียนรู้ นามารวบรวม เรยี บเรยี ง และเพื่อให้สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้ัน
พืน้ ฐาน พ.ศ.2551 และประโยชน์ต่อผู้เรยี นอยา่ งแท้จรงิ
ขอขอบคุณ คณะครู กศน.อาเภอกมลาไสย และผ้มู ีส่วนเก่ียวขอ้ งท่ีทาให้การจัดทาหนงั สอื เรียน
สาระการประกอบอาชีพ รายวชิ า การทาธงุ อีสาน รหสั วชิ า อช0300514 ระดับประถมศึกษา มธั ยมศกึ ษา
ตอนตน้ มัธยมศึกษาตอนปลาย ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ.2564 เลม่ นีส้ าเร็จตามวัตถปุ ระสงค์ หวงั เป็นอย่างยง่ิ วา่
หนงั สอื เรยี นเล่มนี้ จะเปน็ ประโยชน์ในการจดั การเรยี นการสอนของครู ผู้เรยี น และผ้สู นใจในวิชาการทาธุง
อสี านเลม่ น้ี
กันยายน 2564
1
สารบญั
เรอ่ื ง หนา้
บทท่ี 1 การเลือกชอ่ งทางและการตัดสินใจประกอบอาชพี การทาธงุ อีสาน 1
เรือ่ งท่ี 1 ความรเู้ กีย่ วกบั อาชีพ 2
เรื่องที่ 2 องคป์ ระกอบในการตัดสินใจเลือกอาชพี 5
เรื่องท่ี 3 ปัญหาและอุปสรรคการประกอบอาชีพหัตถกรรม 7
บทที่ 2 ประวัติความเปน็ มาของธงุ อีสาน 9
เรือ่ งที่ 1. ประวตั ิความเปน็ มาของพระธาตุยาคู 10
เร่อื งท่ี 2. ประวัติความเป็นมาของธุงอสี านได้ 12
24
บทที่ 3 ข้นั ตอนและวธิ กี ารทาธุงอีสาน
25
เร่ืองที่ 1 วสั ดอุ ุปกรณ์การทาธุงอสี าน 26
เรอ่ื งท่ี 2 การเลอื กแบบธุงอีสาน 28
เรอ่ื งท่ี 3 ข้ันตอนวธิ ีการทาธงุ อีสาน 35
เรอ่ื งท่ี 4 วธิ กี ารประกอบธุงอีสาน 36
บทที่ 4 การสร้างนวตั กรรมจากธุงอีสาน 37
39
เรื่องท่ี 1 ความหมายของนวัตกรรม 42
เรอ่ื งท่ี 2 นวตั กรรมการทาเครอื่ งประดบั
เรอ่ื งที่ 3 นวัตกรรมการทาเคร่ืองตกแตง่ 46
บทท่ี 5 การดูแลและเกบ็ รักษาธุงอสี าน 47
48
เร่อื งที่ 1 คุณสมบัติของวัสดุอุปกรณ์ทีใ่ ช้ในการทาธงุ อสี าน
เรื่องที่ 2 สถานทแ่ี ละข้ันตอนในการเกบ็ รักษาธงุ อีสาน 50
บทที่ 6 การจดั จาหน่ายและการวางแผนดา้ นการตลาด 51
55
เรื่องที่ 1 หลักการตลาด
เรื่องที่ 2 ตลาดสนิ คา้ หตั ถกรรม 59
เรื่องที่ 3 กลยทุ ธก์ ารตลาดออนไลน์ 63
เรือ่ งท่ี 4 การทาบญั ชรี ายรับ-รายจ่าย
คณะผู้จัดทา
2
รายละเอียดคาอธิบายรายวิชาการทาธงุ อีสาน จานวน 3 หนว่ ยกิต (120 ชวั่ โมง)
สาระการประกอบอาชีพ รหสั วชิ า อช 0300514
ระดับประถมศึกษา/มธั ยมศึกษาตอนตน้ /มธั ยมศึกษาตอนปลาย
มาตรฐานท่ี
มาตรฐานที่ 3.1 มีความรู้ ความเข้าใจ และเจตคติที่ดใี นงานอาชพี มองเหน็ ช่องทางและตัดสนิ ใจ
ประกอบอาชีพได้ตามความต้องการและศักยภาพของตนเอง
มาตรฐานที่ 3.2 มีความรู้ ความเขา้ ใจ ทักษะในอาชีพท่ตี ัดสนิ ใจเลือก
มาตรฐานที่ 3.3 มีความรู้ ความเขา้ ใจ ในการจัดการอาชีพอย่างมีคณุ ธรรม
มาตรฐานท่ี 3.4 มีความรู้ ความเข้าใจ ในการจดั การอาชีพให้มีความมนั่ คง
ท่ี หน่วยการเรียนรู้ ผลการเรยี นรทู้ ่คี าดหวงั สาระการเรยี นรู้ จานวน
ช่วั โมง
1 การเลอื กช่องทาง 1. อธบิ ายเกี่ยวกับลักษณะ 1 ความรเู้ กย่ี วกบั อาชพี
5
การประกอบอาชีพ อาชพี ต่างๆได้ 2 องคป์ ระกอบในการตดั สินใจ
5
2. อธิบายองค์ประกอบในการ เลือกอาชีพ
ตัดสนิ ใจเลอื กอาชพี ได้ 3 ปัญหาและอุปสรรคการ
3. อธิบายปัญหาและ ประกอบอาชีพหัตถกรรม
อปุ สรรคในการประกอบ
อาชพี ทาหัตถกรรมได้
2 ประวตั คิ วามเป็นมาของธงุ 1. ผู้เรยี นอธิบายความเป็นมา 1. ความเปน็ มาของพระธาตุยาคู
อีสาน ของพระธาตยุ าคู 2. ประวตั คิ วามเปน็ มาของธุง
2. ผู้เรยี นอธบิ ายประวัติ อสี านได้
ความเป็นมาของธุงอีสานได้
3 ขน้ั ตอนและวิธีกำรทำธงุ อีสำน 1. อธิบายวัสดุอปุ กรณ์การ 1 วัสดุอปุ กรณ์การทาธุงอสี าน
ทาธุงอสี านได้ 2 การเลอื กแบบธุงอีสาน
2. สามารถอธบิ ายรปู แบบธุง 3 ขน้ั ตอนวิธกี ารทาธงุ อีสาน
อีสานได้ 4 วธิ กี ารประกอบธงุ อสี าน
3. อธบิ ายขัน้ ตอนวิธีการทาธงุ
อีสานได้
4. บอกวธิ กี ารประกอบธุง
อีสานได้
3
4 อธบิ ายความหมายของ
5 การดูแลและเก็บรักษาธุง นวตั กรรมได้
อีสาน
2.ผู้เรียนอธบิ ายการสร้าง
6 การจดั จาหน่ายและการ
วางแผนด้านการตลาด นวตั กรรมจากธุงอีสานเปน็
เครอ่ื งประดับได้
3.ผู้เรียนอธบิ ายการสรา้ ง
นวตั กรรมจากธุงอีสานเปน็
เคร่ืองตกแต่งได้
1. อธบิ ายเก่ียวกับคุณสมบตั ิ 1 คุณสมบตั ิของวัสดุอุปกรณ์ท่ีใช้
ของวสั ดอุ ปุ กรณ์ทใ่ี ชใ้ นการ ในการทาธงุ อสี าน
ทาธงุ อสี านได้ 2 สถานทแ่ี ละขนั้ ตอนในการเก็บ
2. อธบิ ายสถานท่แี ละขน้ั ตอน รกั ษาธุงอีสาน
ในการเก็บรักษาธุงอีสานได้
อธิบายหลกั การตลาดและการ 1 หลกั การตลาด
วางแผนดา้ นการตลาดได้ 2 ตลาดสนิ ค้าหัตถกรรม
2.ผู้เรยี นอธิบายตลาดสินค้า 3 กลยทุ ธ์การตลาดออนไลน์
หตั ถกรรมได้ 4 การทาบญั ชรี ายรบั -รายจ่าย
3.ผู้เรียนอธบิ ายกลยุทธ์
การตลาดออนไลน์ได้
4.ผเู้ รยี นมคี วามร้แู ละสามารถ
การทาบญั ชรี ายรบั -รายจา่ ย
4
บทที่ 1
การเลอื กช่องทางและการตดั สนิ ใจประกอบอาชพี การทาธุงอสี าน
สาระสาคัญ
กำรประกอบอำชีพกำรทำธุงอีสำนเป็นอำชีพด้ำนหัตถกรรม ที่ก่อให้เกิดรำยได้กับชุมชน สังคมและ
ประเทศ กำรประกอบอำชีพจำเป็นต้องพัฒนำอย่ำงต่อเนอื่ งเพื่อให้ทันกับกำรเปล่ยี นแปลง ด้วยกำรใช้ควำมรู้
ควำมสำมำรถ ทักษะกำรประกอบอำชีพ ใหผ้ เู้ รยี นสำมำรถเลือกแนวทำงกำรพฒั นำอำชีพที่เหมำะสมตอ่ ตนเอง
และสังคม อกี ทงั้ เป็นกำรอนรุ กั ษแ์ ละสบื สำนวฒั นธรรมประเพณีในท้องถ่นิ
ตัวชว้ี ัด
1. อธิบำยเกย่ี วกับลกั ษณะอำชพี ตำ่ งๆได้
2. อธบิ ำยองค์ประกอบในกำรตดั สนิ ใจเลอื กอำชพี ได้
3. อธิบำยปญั หำและอุปสรรคกำรทำหตั ถกรรมได้
ขอบข่ายเนื้อหา
เร่ืองท่ี 1 ควำมรู้เก่ยี วกับอำชพี
เรือ่ งที่ 2 องค์ประกอบในกำรตัดสนิ ใจเลอื กอำชีพ
เร่ืองที่ 3 ปญั หำและอุปสรรคกำรประกอบอำชีพหัตถกรรม
จานวนชวั่ โมง
จำนวน 10 ชวั่ โมง
ส่ือการเรยี นรู้
1. หนังสือเรียน
2. แหลง่ เรียนรู้/ ภูมปิ ญั ญำ
3. สอ่ื ออนไลน์
5
เรอ่ื งท่ี 1 ความร้เู กี่ยวกบั อาชีพ
ความรูเ้ ก่ยี วกับอาชีพ
อาชพี หมายถงึ การทากจิ กรรม การทางาน การประกอบการที่ไมเ่ ปน็ โทษต่อสังคม
และรายได้ตอบแทน โดยอาศัยแรงงาน ความร้ทู ักษะ อปุ กรณเ์ ครอื่ งมือ วธิ ีการแตกต่างกันไป
ประเภทและลักษณะของอาชพี
การแบง่ ประเภทของอาชีพ สามารถแบง่ ตามลักษณะได้เป็น 2 ลกั ษณะ คือแบ่งตามเนอ้ื หาวชิ า
ของอาชีพและแบ่งตามลักษณะของการประกอบอาชพี
1. การแบ่งอาชีพตามเนอ้ื หาวชิ าของอาชีพ สามารถจัดกลมุ่ อาชีพตามเนื้อหาได้ 6 ประเภทดงั นี้
1.1 อาชีพเกษตรกรรม ถือเป็นอาชีพหลัก และเป็นอาชีพทีส่ าคญั ของประเภท ปัจจบุ นั
ประชากรของไทยไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 60 ยงั ประกอบอาชพี นี้อยู่อาชีพเกษตรกรรมเป็นอาชีพเกยี่ วเน่อื งกบั การ
ผลิตและการจดั จาหน่ายสนิ ค้า และบริการทางด้านการเกษตรซ่งึ ผลผลิตและการจัดจาหนา่ ยและบริการ
ทางด้านการเกษตรจากการใช้ในการบรโิ ภคเปน็ ส่วนใหญ่แล้วยงั ใช้เป็นวัตถุดบิ ในการผลิตทางอุตสาหกรรมอกี
ดว้ ย ไดแ้ ก่การทานา ทาไร่ ทาสวน เลย้ี งสตั วฯ์ ลฯ
1.2 อาชพี อตุ สาหกรรม การทาอตุ สาหกรรม หมายถึงการผลติ สินคา้ อันเนื่องมาจากการ
นาเอาวสั ดุ หรือสนิ ค้าบางชนิดมาแปรสภาพให้เกิดประโยชนต์ ่อผูใ้ ชม้ ากข้ึน
กระบวนการประกอบการอุตสาหกรรมประกอบดว้ ย
วัตถุดิบหรือสินค้า กระบวนการผลติ สนิ ค้า ผู้บริโภ
สาเรจ็ รูป ค ในขนั้ ตอน
ขบวนการผลิตมีปัจจยั มากมายนับแต่แรงงาน เครอ่ื งจักร เครือ่ งมือ เครื่องใชเ้ งินทนุ ทีด่ ิน อาคาร รวมทง้ั การ
บรหิ ารจดั การ
การประกอบอาชีพอตุ สาหกรรมแบ่งตามขนาดไดด้ ังน้ี
อตุ สาหกรรมในครอบครวั เป็นอตุ สาหกรรมทที่ ากันในครวั เรอื น หรือ
ภายในบา้ นใช้แรงงานภายในครัวเรอื น ครอบครัวเปน็ หลัก บางทีอาจใช้เคร่ืองจักรขนาดเลก็ เขา้ ชว่ ย ในการ
ผลติ ใช้วตั ถดุ ิบ วสั ดุหาไดใ้ นท้องถ่ินมาเป็นปจั จยั ในการผลิตอตุ สาหกรรมในครวั เรอื น ได้แก่ การทอผา้ การ
จกั สาน การทาร่ม การทาอิฐมอญฯลฯ ลักษณะการดาเนินงานทไ่ี ม่เปน็ ระบบมากนัก รวมทงั้ การใชเ้ ทคโนโลยี
แบบง่ายๆ ไมย่ ุ่งยากซบั ซ้อน และมกี ารลงทนุ ไม่มากหนกั
6
อตุ สาหกรรมขนาดย่อม เปน็ อตุ สาหกรรมทม่ี ีการจา้ งคนงาน มากกวา่ 50 คน ใชท้ ุน
ดาเนินการ ไม่เกิน 10 ลา้ นบาท อุตสาหกรรมขนาดย่อม ได้แกอ่ ู่ซอ่ มรถ โรงกลงึ โรงงานทาขนมปงั โรงสีข้าว
เป็นตน้ ในการดาเนนิ อุตสาหกรรมขนาดย่อม มีขบวนการผลติ ไม่ซบั ซ้อน ใช้แรงงานท่มี ีฝมี อื ไม่มากนัก
อตุ สาหกรรมขนาดกลาง เปน็ อตุ สาหกรรมที่มีการจา้ งคนงานมากกว่า 50 คน แต่ไม่เกิน 200
คน ใชท้ นุ ดาเนนิ การมากกวา่ 10 ล้านบาทแต่ไม่เกนิ 100 ล้านบาทอุตสาหกรรมขนาดกลาง ได้แก่
อุตสาหกรรมทอกระสอบ อุตสาหกรรมเส้อื ผา้ สาเรจ็ รูป เป็นต้น การดาเนินอุตสาหกรรมขนาดกลาง ตอ้ งมี
การจดั การท่ีดี แรงงานทตี่ ้องมที ักษะความรคู้ วามสามารถในกระบวนการผลติ เปน็ อยา่ งดีเพ่อื ทีจ่ ะไดส้ นิ ค้าที่มี
คุณภาพระดบั เดียวกัน
อตุ สาหกรรมขนาดใหญ่ เป็นอตุ สาหกรรมขนาดใหญ่มีคนงานมากกวา่ 200 คนขน้ึ ไป เงนิ
ดาเนนิ การมากกว่า 200 ล้านบาท อุตสาหกรรมขนาดใหญไ่ ด้แกอ่ ุตสาหกรรมผลติ แบตเตอรี่ อุตสาหกรรมถลุง
เหลก็ เปน็ ต้นอตุ สาหกรรมขนาดใหญ่มีระบบจดั การที่ดใี ชค้ นท่มี ีความรมู้ ีทกั ษะ ความสามารถเฉพาะด้าน
หลายสาขา เชน่ วศิ วกรรม อีเลก็ ทรอนิกส์ ในการดาเนินงานการผลติ มีกรรมวิธที ่ียุ่งยาก ใช้เครอื่ งจักร คนงาน
เงินทนุ จานวนมากขนึ้ มีกระบวนการผลิตท่ที นั สมยั และผลิตสนิ ค้าได้ทีละมากๆ มีการวา่ จ้างบุคคลระดับ
ผ้บู รหิ ารท่ีมีความสามารถ
1.3 อาชพี พาณชิ ยการและบริการ อาชีพพาณิชยกรรม เปน็ การประกอบอาชพี ที่เปน็ การแลกเปล่ยี น
ระหว่างสินค้ากบั เงนิ ส่วนใหญ่จะมี ลกั ษณะซ้อื มา ขายไป ผู้ประกอบอาชีพทางพาณิชกรรม จึงจดั เป็นคนกลาง
ซึ่งทาหนา้ ท่ซี ้ือสนิ คา้ จากผผู้ ลติ หรือบรกิ ารตา่ งๆ นบั ตงั้ แต่การนาวตั ถุดบิ จากผผู้ ลติ ดา้ นเกษตรกรรม ตลอดจน
สินคา้ สาเรจ็ รปู จากโรงงานอุตสาหกรรมรวมทัง้ คหกรรม ศิลปกรรม หตั ถกรรมและการนามาขายต่อผู้บริโภค
ประกอบดว้ ย การคา้ สินค้าสง่ และการค้าสินคา้ ปลีก โดยอาจจัดจาหน่ายในรูปของการขายตรงหรือขายอ้อม จงึ
เป็นกิจกรรมท่ีสอดแทรกทุกอาชีพ การประกอบอาชีพพาณิชยกรรม หรือบรกิ ารผปู้ ระกอบอาชพี มี
ความสามารถในการจดั หา มีความคิดริเริม่ และมีคุณธรรม จงึ ทาใหก้ ารประกอบอาชพี เจรญิ ก้าวหนา้ อาชีพ
บริการ เป็นอาชีพที่ทาให้ใหเ้ กิดความพอใจแก่ผูซ้ อ้ื การบริการอาจเป็นสนิ คา้ ที่มีตัวตนหรอื ไม่มี ตัวตนก็ได้
การบรกิ ารท่ีมีตัวตน ได้แก่การบริการขนส่ง บริการทางการเงิน สว่ นบริการไม่มตี วั ตน ได้แก่ บริการ ท่องเท่ยี ว
บริการรักษาพยาบาล เปน็ ตน้
1.4 อาชพี คหกรรม ไดแ้ ก่อาชีพทีเ่ กยี่ วกับอาหาร ขนม ตดั เยบ็ การเสริมสวย ดดั ผม เป็นตน้
1.5 อาชพี หัตถกรรม การประกอบอาชีพหัตถกรรมไดแ้ ก่อาชพี ที่เกี่ยวกับงานชา่ ง โดยการใช้มอื ใน
การผลิตชนิ้ งานเปน็ ส่วนใหญ่ได้แกอ่ าชีพ จักสาน แกะสลัก ทอผา้ ด้วยมือ ทอสื่อ ทาธงุ เปน็ ต้น
1.6 อาชีพศิลปกรรม การประกอบอาชีพศลิ ปกรรม ไดแ้ ก่อาชพี ทีเ่ กีย่ วข้องกับ การแสดงออก ใน
ลกั ษณะตา่ งๆ เชน่ การวาดภาพ การปัน้ การดนตรี ละคร การโฆษณา ถ่ายภาพ เปน็ ต้น
7
2. การแบ่งอาชีพตามลักษณะของการประกอบอาชีพ
ลักษณะของการประกอบอาชพี เป็น 2 ลักษณะ คืออาชพี อสิ ระและอาชีพรบั จ้าง
2.1 อาชพี อิสระ หมายถงึ อาชพี ทุกประเภทที่มีผู้ประกอบการดาเนินการดว้ ยตนเอง แตเ่ พียงผู้
เดียว หรือเปน็ กล่มุ อาชีพอสิ ระท่ไี มต่ ้องใช้คนจานวนมาก แตถ่ ้าหากมีความจาเป็นอาจมีการจา้ งคนอนื่ อาจมา
ช่วยงานก็ไดเ้ จา้ ของกิจการเป็นผ้ลู งทุน และจาหนา่ ยเอง คิดและตดั สนิ ใจด้วยตนเองทุกเรื่องในการบรหิ าร การ
จัดการไปอย่างรวดเรว็ ทนั ต่อเหตุการณ์ การประกอบอาชพี อสิ ระ เชน่ การขายอาหาร การขายของช่างซ่อม
รถจักรยานยนตฯ์ ลฯ ในการประกอบอาชีพอสิ ระผู้ประกอบการจะต้องมีความรูค้ วามสามารถในการบรหิ าร
การจดั การ เช่นการตลาด ทาเลทีต่ ้งั เงินทุน การตรวจสอบทเ่ี กิดขน้ึ มคี วามคิดริเรม่ิ สรา้ งสรรค์และมองเหน็
ภาพการดาเนนิ งานของตนเองได้ทะลุปรโุ ปร่ง
2.2 อาชีพรบั จ้าง ทีม่ ีผู้อืน่ เป็นเจา้ ของกจิ การโดยตวั เองเป็นผรู้ บั จา้ งให้และได้รับค่าตอบแทน
เป็น คา่ จ้างหรอื เงินเดือน อาชีพรับจา้ งประกอบด้วยบุคคล 2 ฝ่าย ซงึ่ ตกลงวา่ จ้างกันบุคคลฝ่ายแรกเรียกวา่
“นายจ้าง” หรือผวู้ ่าจา้ งบุคคลฝ่ายหลงั เรียกว่า “ลกู จ้าง” หรือผู้รับจ้างมีคา่ ตอบแทน ผทู้ วี่ ่าจา้ งจะต้องจ่าย
ให้แกผ่ ู้รบั จ้างเรยี กว่า “ค่าจา้ ง” การประกอบอาชีพรับจา้ ง โดยทว่ั ไปมีลกั ษณะเป็นการรับจา้ ง ทางานในสถาน
ประกอบการหรือโรงงาน เป็นการรบั จา้ งโดยทั่วไปมีลกั ษณะเป็นการรับจา้ งในสถานประกอบการหรอื โรงงาน
เป็นการรบั จา้ งในลักษณะขายแรงงาน โดยรบั คา่ ตอบแทนเป็นเงนิ เดอื น หรือ ค่าตอบแทนเป็นเงนิ เดอื น หรือ
คา่ ตอบแทนท่ตี ามชิน้ งานท่ีทาได้อัตราค่าจ้างข้ึนอยู่กับการกาหนดของเจา้ ของประกอบการ หรอื นายจา้ ง การ
ทางานผ้รู ับจา้ งจะตอ้ งทางานอยู่ภายในโรงงาน ตามเวลาที่นายจา้ งกาหนด การประกอบอาชพี รบั จา้ งใน
ลกั ษณะนี้มขี ้อดีคอื ไมเ่ สีย่ งต่อการลงทุนเพราะลกู จ้างจะใช้เครอ่ื งมอื อปุ กรณ์ท่ี นายจ้างจัดไว้ ใหท้ างานตาม
นายจา้ งกาหนด แต่มีข้อเสียคือ มักจะเป็นงานซ้าๆ เหมือนกันทกุ วนั และตอ้ งปฏบิ ัตติ ามระเบียบของนายจ้าง
น้นั ในการประกอบอาชพี รบั จ้างน้ันมีปัจจัยหลายอย่างที่เอื้ออานวยให้ผ้ปู ระกอบอาชีพรับจ้าง มีความ
เจริญก้าวหนา้ ได้เชน่ ความรู้ความชานาญในการทางาน มนี ิสัยทางานที่ดีมีความกระตือรือร้น มานะ อดทน ใน
การทางาน ยอมรบั กฎเกณฑ์และเช่อื ฟงั คาส่งั มคี วามซื่อสัตยส์ ุจรติ ความขยันหมัน่ เพียร รับผิดชอบ มีมนุษย์
สมั พันธ์ที่ดีรว่ มทัง้ สุขภาพอนามัยท่ีดอี าชพี ตา่ งๆมีมากมายหลากหลายอาชีพซ่ึง บุคคลสามารถเลือกประกอบ
อาชพี ไดต้ ามความถนัด ความตอ้ งการ ความชอบและความสนใจ ไมว่ ่าจะเป็นอาชพี ใด จะเป็นอาชีพอสิ ระหรอื
อาชีพรบั จา้ ง หากเปน็ อาชีพท่ีสุจริตย่อมทาให้เกดิ รายได้มาส่ตู นเองและ ครอบครวั ถ้าบุคลผู้นน้ั มีความม่งุ ม่ัน
ขยัน อดทน ตลอดจนมีความรู้ข้อมลู เกยี่ วกบั อาชีพต่างๆ จะทาใหเ้ ห็นโอกาสในการเข้าสู่อาชีพและพัฒนา
อาชพี ใหม่ๆ ใหเ้ กิดข้นึ อยู่เสมอ
8
เร่ืองที่ 2 องค์ประกอบในการตัดสนิ ใจเลือกอาชพี
องค์ประกอบในการตัดสินใจเลือกอาชพี การตัดสนิ ใจเลอื กอาชพี คือ การนาข้อมูลหลาย ๆ ด้านท่ี
เกี่ยวกับอาชีพที่จะเลือกมาพิจารณาอย่างถ่ถี ้วน รอบคอบ เพือ่ ประกอยการตดั สินใจเลอื กประกอบการให้
เหมาะสมกับขดี ความสามารถของตนเองให้มากที่สดุ มีปัญหาอุปสรรคนอ้ ยทีส่ ดุ การตัดสนิ ใจเลือกอาชพี มี
องค์ประกอบท่สี าคัญมดี ังตอ่ ไปนี้
1. ข้อมลู ประกอบการตัดสินใจ ซึง่ พิจารณาข้อมูล 3 ดา้ น คือ ก. ขอ้ มลู เก่ียวกบั ตนเอง คือข้อมูลตา่ งๆ
ท่เี กย่ี วกบั การประกอบอาชพี ที่ตนเองมอี ยู่ เช่น เงนิ ทนุ ท่ีดินอาคารสถานที่แรงงาน เครอ่ื งมือ เคร่ืองใชว้ สั ดุ
อปุ กรณ์ความรทู้ ักษะตา่ งๆ ท่ีจะนาไปใช้ในการ ประกอบอาชีพมหี รอื ไม่อย่างไร ข. ขอ้ มลู เกยี่ วกบั
สภาพแวดล้อมและสังคม เช่นผู้ทมี่ าใชบ้ รกิ าร(ตลาด) ส่วนแบง่ ของตลาด ทาเลการคมนาคม ทรัพยากรทจ่ี ะ
เอ้ือทมี่ ีในท้องถิน่ แหล่งความรู้ตลอดจนผลทจ่ี ะเกดิ ขน้ึ ต่อชุมชน ค. ข้อมูลทางวิชาการ ได้แก่ความรู้เทคนิค
ตา่ งๆ ท่ีจาเป็นต่ออาชพี นั้นๆ เช่นการตรวจสอบ ซอ่ มแก้ไขเทคนคิ การบริการลูกคา้ ทักษะงานอาชพี ตา่ งๆ
ฯลฯ เปน็ ต้น
2. ความถนัด โดยทวั่ ไปคนเรามีความถนัดในเชิงชา่ ง แต่ละคนแตกต่างกันไป เชน่ ความถนดั ใน
การทาอาหาร ถนัดในงานประดิษฐฯ์ ลฯ ผู้ทีม่ ีความถนดั จะชว่ ยทาให้การทางานน้นั เป็นไปไดอ้ ย่างรวดเรว็
สะดวก รวดเร็ว คล่องแคลว้ รวมท้งั ยังชว่ ยให้การทางานนนั้ เปน็ ไปได้อย่าง สะดวก รวดเร็ว คล่องแคลว้ รวมทั้ง
ยงั ช่วย ใหม้ องเหน็ ลทู่ างในการพฒั นาอาชีพน้ันๆ ใหร้ ุดหน้าไดด้ ีกว่าคนท่ไี ม่มคี วาม
3. เจตคตติ อ่ งานอาชพี เปน็ ความรสู้ กึ ภายในของแต่ละคนทมี่ ีตอ่ งานอาชีพ ได้แกค่ วามรกั ความ
ศรัทธาความภูมิใจ ฯลฯ ความรู้สึกตา่ งๆเหลา่ นจี้ ะเปน็ แรงผลกั ดนั ให้คนเกิดความมานะ อดทน มุ่งมนั่ ขยนั
กลา้ สู้กล้าเส่ยี ง ทาใหป้ ระสบความสาเรจ็ ในการประกอบอาชีพได้การทีจ่ ะตดั สินใจ เลอื กอาชพี ผปู้ ระกอบการ
ตอ้ งเอาข้อมูลตา่ งๆ มาวเิ คราะหโ์ ดยมแี นวทางในการพจิ ารณา คอื 1) วเิ คราะห์สภาพทีเ่ ปน็ อยู่ หมายถึงส่ิงที่
เปน็ ยใู่ นขณะนัน้ เก่ียวกบั เรอื่ งต่างๆ ตอ้ งมาวเิ คราะห์ ตามสภาพจริงที่เปน็ อยู่ 2) วิเคราะห์ทางออก หมายถึง
แนวทางในการดาเนนิ งานที่ผู้วิเคราะหเ์ หน็ ว่า ในกรณสี ภาพที่ เป็นอยนู่ นั้ เปน็ ไปตามความต้องการ หรือตามที่
กาหนดแต่อาจมแี นวทางการดาเนนิ งาน หรอื ทางออกอนื่ ๆทท่ี าให้เป็นไปตามท่ีตอ้ งการไดอ้ กี หลายวธิ ีซึ่งต้อง
ตัดสนิ ใจเลือกทางออกหรอื วธิ กี ารทเี่ หมาะสม เป็นไปได้มากท่ีสดุ 3) วิเคราะห์ความเปน็ ไปได้ หมายถึงการ
วเิ คราะห์ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งสภาพที่เปน็ อยู่กับทางออกแนวทางท่ีจะดาเนนิ การน้ัน เป็นสงิ่ ท่ีสามารถจะทา
ให้เกดิ ขน้ึ หรือเปน็ ไปไดจ้ รงิ หรอื ไม่ตามตามออกที่คดิ ไว้ 4) ตดั สนิ ใจเลอื กเปน็ การสรุปเลือกอาชพี หลงั จากการ
วิเคราะห์ เปรียบเทียบอย่างละเอยี ด รอบคอบแลว้ การวเิ คราะหค์ วามพรอ้ มและความเป็นไปได้ของอาชีพที่
9
ตัดสนิ ใจเลือก เม่ือตัดสินใจท่ีประกอบอาชีพใดแลว้ เพ่ือให้เกดิ ความมน่ั ใจ และเช่ือม่ันวา่ อาชีพที่เลือกนน้ั
สามารถจะดาเนินการได้ตลอดรอดฝง่ั มีความจาเปน็ ตอ้ งมีการ
วิเคราะห์ความพรอ้ มและความเปน็ ไปไดข้ องอาชพี ทีต่ ัดสินใจเลือก โดยมีข้ันตอนการวิเคราะหด์ งั น้ี
อาชีพที่ตดั สินใจเลอื ก
ความพรอ้ มของตนในการประกอบอาชีพนนั้ ความเป็นไปไดข้ อง
อาชพี ลือก
-เงินทนุ -สว่ นแบ่งการตลาด
-การขยายงานกจิ การ
-แรงงาน -ความมัน่ คงในอาชีพ
- วสั ดุอุปกรณ์
- สถานประกอบการ
-วัตถุดบิ
- คุณสมบตั ทิ จี่ าเปน็ ต่อการประกอบ
อาชีพ พร้อม ไม่พร้อม พอใจ
-สุขภาพ ล้มเลิก
ไม่พอใจ กาหนดโครงการและ
แผนงานในอาชีพ
-ความถนลดั ม้ ใเจลริกักในอาชีพ
10
เรือ่ งที่ 3 ปัญหาและอปุ สรรคการประกอบอาชพี หัตถกรรม
ปญั หาการประกอบอาชีพหตั ถกรรม
การประกอบอาชพี หัตถกรรมเปน็ ภมู ปิ ญั ญาท้องถ่นิ แขนงหน่ึงทีถ่ ่ายทอดกนั มาแต่รุ่นปูย่ า่ ตายาย
ชว่ ยเหลือเกอ้ื กูลกันในการทามาหากนิ สรา้ งรายได้สรา้ งความเข้มแขง็ ให้กับชุมชน แตส่ ิ่งเหล่านก้ี าลังจะเลือน
หายไป หากผู้นาท้องถน่ิ หรือคนในชมุ ชนขาดความสานกึ ไม่เห็นคุณคา่ และความสาคญั จะทาใหส้ ูญหายไปตาม
การเปลยี่ นแปลงของวิถีชวี ิตในยคุ ปจั จุบัน จงึ จาเปน็ อย่างยิ่งที่จะต้องมีการอนุรกั ษ์และสืบสานใหค้ งอยู่โดย
ปจั จบุ นั มีเพยี งบางชมุ ชนทยี่ ังมคี วามรัก ความเช่ือ และความศรทั ธาในงานหัตถกรรมท้องถิ่น จึงได้มีการนา
เทคโนโลยใี หม่ๆมาพัฒนาปรับปรงุ งานหัตถกรรมให้ดยี ่ิงข้ึน เพ่อื เป็นชอ่ งทางในการประกอบอาชีพทาให้เกดิ
รายได้ต่อตนเองชุมชนสังคมเกิดความรักความสามัคคตี ่อไป
โอกาส (Opportunity)
1. เป็นผลิตภัณฑ์ทมี่ ีเอกลกั ษณ์ประจาท้องถน่ิ
2. เปน็ แหล่งศึกษาเรียนร้ดู งู านภูมปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ
เอกลักษณ์โดดเด่นของผลติ ภณั ฑ์
1. เป็นผลติ ภณั ฑ์ท่ที าจากวัสดธุ รรมชาติและมีอยใู่ นท้องถ่ิน
2. รูปแบบทนั สมยั ทงั้ ที่เป็นงานหตั ถกรรมประดิษฐโ์ ดยฝมี ือชาวบ้าน
3. มีการนาเอาภูมิปญั ญาด้ังเดิมมาปรับปรุงให้เขา้ กับยุคปจั จุบันทาใหม้ คี วามทันสมยั อยู่เสมอ
4. ฝมี อื ประณีตสีและลวดลายทันสมยั และลูกค้าสามารถส่งั ทาผลติ ภณั ฑ์ได้ตามความตอ้ งการ
ปัญหาการประกอบอาชพี หัตถกรรม
จุดแข็ง (Strength)
1. มีแหลง่ วัตถดุ บิ ที่มีคณุ ภาพและเพียงพอในท้องถิ่น
2. เป็นแหล่งศึกษาดงู านภูมิ ปัญญาท้องถนิ่
3. สินคา้ ไดร้ ับมาตรฐานผลิตภณั ฑ์ชุมชน
4. มีแบรนด์ทเ่ี ป็นเอกลักษณ์ ของกลมุ่ (ตราสนิ ค้า)
5. มีฐานลกู ค้าเดมิ
6. มีเงนิ ทุนหมุนเวยี น
7. มกี ารจดั ทาบญั ชีเป็นปัจจุบันตรวจสอบได้
11
จุดอ่อน (Weakness)
1. มีคู่แขง่ ในต่างจงั หวดั หลายกลุ่ม และจาหน่าย สินคา้ แบบตดั ราคา
(ไม่เน้นคณุ ภาพ)
2. ขาดแรงงานท่ีมีฝมี ือและความชานาญในดา้ นการออกแบบ และผลติ แบบใหม่ๆ
3. ส่วนใหญ่ยงั ยดึ ตดิ กับการผลติ สินค้าแบบเดมิ ๆ
4. ต้องใช้เวลาในการทาช้ินงานเพื่อใหเ้ กิดความปราณีต
5. เงนิ ทุนไมเ่ พยี งพอหากต้องการ ขยายงาน เพอื่ รองรบั การสง่ ออก ไปยังจงั หวัดต่างๆหรอื ส่งออกต่างประเทศ
12
บทท่ี 2
ประวัตคิ วามเปน็ มาของธงุ อีสาน
สาระสาคัญ
สงั คมของคนภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื หรือคนอีสานมคี วามเชื่อวา่ พระธาตยุ าคูเปน็ ทีบ่ รรจุ
อฐั ิของพระภกิ ษผุ ู้ที่ไดด้ ารงตนอยใู่ นสมณเพศตลอดชีวติ จนแก่ชรา และเปน็ ผู้ที่มาสอนหลกั ธรรม พร้อมกบั การ
ตงั้ ถนิ่ ฐาน จนชาวบ้านเกิดความศรทั ธาและเคารพบชู า มกี ารนาธงุ มาศักการะบชู าพุทธศาสนกิ ชนชาวอสี าน
จึงถือว่าธงเป็นเคร่ืองสกั การะ ใช้ในพิธีกรรมทางพุทธศาสนา ในงานบุญและขบวนแห่ตา่ งจะประดับประดาใน
งานพิธเี พื่อความสวยงาม มคี วามแตกตา่ งกันตามความเชื่อในพธิ กี รรมของแตล่ ะทอ้ งถิ่น ชาวเมืองฟ้าแดดสง
ยางนยิ มทา ธง 2 รปู แบบ ธงผ้า มคี วามยาวประมาณ 1–3 เมตร ทอด้วยผา้ ลายขดิ หรือลวดลายทเี่ ปน็
เอกลกั ษณ์พนื้ บ้าน ธงใย ใชเ้ ส้นฝ้ายหลายสมี าสานคล้ายกบั ใยแมงมุม เปน็ รูปส่ีเหลยี่ ม และรปู หกเหลยี่ ม นามา
ประกอบเปน็ ต้นธง และเม่อื ถึงเทศกาลมาฆปูรมีบูชา ชาวเมืองฟ้าแดดสงยางพร้อมใจกนั ทานธงเพ่ือถวายเป็น
พทุ ธบชู าเปน็ จานวนมาก จนกลายเป็นทะเลธง ทม่ี องไปไกลสวยงามตระการตา นอกจากนย้ี งั มีการฟ้อนราจาก
ชาวบ้านในละแวกนแี้ ละการแสดงแสงสีเสยี งที่ชาวบา้ นร่วมมอื รว่ มใจกนั จดั แสดงข้นึ มาเพ่ือบูชาพระธาตุยาคู
ตวั ชี้วัด
1. ผเู้ รยี นอธบิ ายความเปน็ มาของพระธาตุยาคู
2. ผ้เู รยี นอธิบายประวตั คิ วามเป็นมาของธุงอสี านได้
ขอบข่ายเน้อื หา
เรอื่ งท่ี 1. ความเปน็ มาของพระธาตยุ าคู
เรื่องท่ี 2. อธบิ ายประวตั ิความเปน็ มาของธงุ อสี านได้
ระยะเวลาในการศึกษา
จานวน 5 ชว่ั โมง
สอ่ื การเรียนรู้
1. หนงั สอื เรยี น
2. .แหล่งเรียนร้/ู ภูมปิ ัญญา
3. บคุ คล
4. สอ่ื ออนไลน์ตา่ งๆ
13
เร่ืองท่ี 1. ประวตั คิ วามเปน็ มาของพระธาตุยาคู
พระธาตุยาคู เปน็ โบราณสถานทางตอนเหนือของเมอื งฟ้าแดดสงยาง คาดว่าสร้างราวสมัยทวาร
วดชี ่วงพุทธศตวรรษที่ 12–16
โบราณสถาน
โบราณสถานประกอบไปด้วยพระธาตุ เป็นศาสนสถานเนื่องในศาสนาพุทธในสมัยทวารวดี โดย
ลักษณะฐานอิฐสี่เหล่ียมยกเก็จมีบันไดทางข้ึนทั้งสี่ด้าน ก่อด้วยอิฐขนาดใหญ่แบบอิฐที่พบในโบราณสถานสมัย
ทวารวดี ไม่หล่อปูน ด้านบนเป็นฐานแปดเหลี่ยม เป็นเจดีย์แบบสมัยอยุธยาซ้อนทับและมีหลักฐานว่าบูรณะ
ใหมใ่ นสมยั รตั นโกสนิ ทร์ รวมความสูงปจั จุบนั สูง 15 เมตร มขี นาดกวา้ ง 16 เมตร ลักษณะของพระธาตุยาคู
จากการขุดแต่งของกรมศิลปากรพบว่า ก่อนที่จะเป็นองค์สถูปเจดีย์ ได้พบฐานเดิมซ่ึงลึกลงไปจากสถานสถูป
เจดีย์ในปัจจุบันอีกชั้นหนึ่ง ก่อด้วยอิฐมีผังคล้ายรูปกากบาท แต่มีการย่อมุม ที่ตรงปลายของแต่ละด้านท่ียื่น
ออกไปมีความสูงจากพื้นล่างขึ้นมาประมาณ 1 เมตร เศษ ต่อจากนั้นจึงเป็นฐานที่บูรณะขึ้นใหม่จากลักษณะที่
เป็นกองอิฐธรรมดาตามรอยเดิมในลักษณะของฐานเขียง ผังแปดเหล่ียมซ้อนกันสามชั้น และอีกช้ันท่ีส่ีมีความ
สูงมากกว่าทุกช้ันแต่ทาส่วนบนสอบเข้าเล็กน้อย จากน้ันทาตอนบนเหนือขึ้นไปผายออกเล็กน้อย ทาส่วนบน
สอบเข้าหาจุดศูนย์กลางโดยการกออิฐลดหลั่นเป็นข้ันบันไดข้ึนไปตอนบน แล้วจึงเป็นองค์ระฆังแปดเหลี่ยม
ทรงอวบอว้ นสอบเข้าตอนปลายเลก็ นอ้ ยจากองค์ระฆังข้ึนไปชารดุ แต่ถูกบูรณะขนึ้ ใหม่
จากการขดุ ค้นทางโบราณคดี ทาให้กาหนดอายพุ ระธาตุยาคไู วใ้ นชว่ งพทุ ธศตวรรษที่ 12–16 ฐาน
ของเจดียข์ ุดพบใบเสมาสลักเป็นภาพเลา่ เร่ืองเกี่ยวกบั พุทธประวัติปักไวท้ ฐ่ี าน โดยมีเสมาหินทรายแผน่ หนึง่ พบ
ระหว่างการขุดแต่งองค์พระธาตุห่างไป 11 เมตร ทางด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือ โดยอยู่ในลักษณะท่ีคว่า
หนา้ หันสว่ นยอดของปลายใบเสมาเขา้ ส่อู งค์เจดยี ์ ในความลึกจากระดบั ดิน
เดิมประมาณ 30 เซนติเมตร จากการศึกษาลักษณะประติมาณวิทยาของภาพสลัก แปลความได้ว่าเป็นภาพ
สลักเล่าเรื่องมโหสถชาดก กาหนดอายุได้ประมาณพุทธศตวรรษท่ี 14–15 เช่นเดียวกับการกาหนดอายุของใบ
เสมาท่เี มอื งฟา้ แดดสงยาง
14
โบราณวตั ถุ
บรเิ วณพระธาตุยาคูชาวบ้านขดุ คน้ พบโบราณวตั ถุต่างๆหลายอยา่ ง เชน่ ใบเสมา ภาชนะเคร่ืองใช้
ดินเผา กาไล แหวน กระดูกสัตว์ ลูกปัดแก้ว และเคร่ืองประดับชนิดต่าง ๆ และพระพิมพ์ดินเผาวางเรียง
ซ้อนทับกันจานวนหลายร้อยองค์ เม่ือขุดลึกไปประมาณ 70 เซนติเมตรโดยรอบพระธาตุยาคูมีใบเสมาจานวน
หนึ่งปักไว้ ใบเสมาสลกั บางแผ่นสลักภาพเล่าเร่ืองชาดกในพุทธศาสนา เช่น ชาดกเร่ืองมโหสถชาดก ชาดกเรื่อง
ภูริทัตชาดก เป็นต้น ถัดออกไปทางทิศใต้ประมาณ 25 เมตร มีซากเจดีย์สมัยทวารวดีกระจายตัวอยู่รวมกันหา้
องค์พระพิมพ์มีทั้งสมบูรณ์และแตกหักชารุด พระพิมพ์ดินเผาในพ้ืนที่พระธาตุยาคู เรียกว่า กรุฟ้าแดดสงยาง
สมัยทวารวดี ซึ่งมีหลายพิมพ์ด้วยกันคือ พิมพ์ใหญ่ พิมพ์กลาง พิมพ์เล็กพิมพ์กลีบบัว (หลังกุ้ง) พิมพ์ปกโพธ์ิ
และพิมพ์พระแผง แต่พระพิมพ์ที่ได้รับความนิยมสูงสุดของพระกรฟุ ้าแดดสงยางคือ พิมพ์ใหญ่นิยม องค์พระมี
ขนาดกวา้ ง 5 นิ้ว สงู 7 นิ้ว
ประวัติ
ชาวบ้านเช่ือกันว่าพระธาตุยาคูเป็นท่ีบรรจุอัฐิของพระเถระผู้ใหญ่ผู้ต้ังหมู่บ้านท่ีชาวเมืองเคารพนับ
ถือ เนื่องจากคาว่า "ยาคู" เป็นคาเรียกสมณศกั ด์ิของพระสงฆข์ องภาคอีสานโบราณ ซ่ึงเม่ือพระสงฆ์รูปใดเปน็ ผู้
ประพฤติปฏิบัติดีมีคุณธรรมและบวชมาแลว้ ไม่น้อยกว่าสามพรรษา ชาวบ้านจะนิมนต์มาทาพิธีฮีดสรง จากนั้น
กไ็ ดเ้ ล่อื นสมณศกั ดเ์ิ ปน็ "ยาคู ยาซา"
ข้อมูลจากการสัมภาษณ์ชาวบ้านผู้สูงอายุกล่าวถึงเมืองโบราณบริเวณท่ีต้ังพระธาตุยาคูว่า เดิม
พน้ื ท่ีบริเวณนี้เป็นทีร่ กร้างปรากฏมีซากเจดีย์และแผน่ หนิ รปู ใบเสมาอยู่มากมาย ชาวบ้านเห็นเป็นทาเลดี จงึ ได้
มีชาวบ้านกลุ่มหนึ่งอพยพออกมาจากเมืองกมลาไสย มาต้ังบ้านเรือนและจับจองที่ทาไร่นา และเรียกหมู่บ้าน
ตัวเองว่าบ้านบักก้อม ซ่ึงเรียกตามชอื่ เสือโครง่ หางด้วนทีพ่ บบริเวณป่าใกลห้ มู่บา้ น
การอพยพมาต้ังบ้านเรือนมีพระภิกษุอนั เป็นท่ีเคารพนับถือของชาวบ้านตามมาและตั้งสานักสงฆแ์ ละกลายเป็น
วัดประจาหมู่บ้าน ภิกษุรูปน้ีชาวบ้านเรียกว่า ยาคูง่อม เมื่อภิกษุรูปนี้มรณภาพลง ชาวบ้านจึงทาศาลใส่อัฐิไวใ้ น
บรเิ วณบ้านบักกอ้ ม ภายหลงั หมูบ่ ้านแหง่ นีไ้ ด้ชือ่ ใหม่ว่า "บ้านเสมา”"บริเวณทต่ี ัง้ ศาลเป็นวดั ประจาหมูบ่ า้ น ชอื่
ว่า วดั โพธิชยั เสมาราม ต่อมา เมื่อชาวบ้านยคุ ใหม่เห็นว่ามีซากเจดียข์ นาดใหญส่ มบูรณ์กว่าท่ีอ่ืน ชาวบา้ นจึงคิด
วา่ เปน็ ทบ่ี รรจุอฐั ิของภิกษยุ าคงู ่อม จึงเรียกเจดยี แ์ ห่งน้ีว่า พระธาตยุ าคู จวบจนปจั จุบนั
อย่างไรก็ตาม กรมศิลปากรได้ขุดแต่งและบูรณะเจดีย์องค์นี้ในช่วงปี พ.ศ. 2510–2522 ผลจาก
การขุดค้นทางโบราณคดีท่ีพระธาตุยาคู ทราบว่าพระธาตุยาคูมีมาแล้วต้ังแต่สมัยทวารวดี อายุประมาณพุทธ
ศตวรรษท่ี 12–16 ขัดแยง้ กบั ความเช่ือของชาวบ้านในปัจจุบนั เกีย่ วกบั การบรรจุอฐั ิของพระภิกษทุ ช่ี าวบ้านนับ
ถือในช่วงที่เพ่ิงตั้งหมู่บ้านซึ่งเป็นช่วงเวลาไม่นานมานี้ ประกอบกับผลการขุดพบใบเสมาสลักภาพเล่าเร่ืองใน
พุทธศาสนาปักไว้ท่ีฐานพระธาตุ ดังนั้น พระธาตุยาคูคงไม่ใช่เจดีย์ท่ีบรรจุอัฐิธาตุของพระเถระดงั ความเชอ่ื ของ
ชาวบ้านในปัจจุบัน ส่วนคาเรียก "พระธาตุยาคู" เป็นคาเรียกต่อกันมาจนกระทั่งทางกรมศิลปากรเข้ามา
บรู ณปฏิสังขรณ์จึงเรยี กตามชาวบ้านดว้ ย
15
เร่ืองท่ี 2. ประวตั คิ วามเปน็ มาของธุงอสี าน
“ตงุ ” หรือ “ทุง” ชาวอาเภอกมลาไสย ทาเป็น 2 แบบ คอื
1. แบบตุงผ้าธงผะเหวด เปน็ การประยุกต์นวตั กรรมการทอผ้ามาทอธงผะเหวด ซง่ึ จะมีความยาก และใช้เวลา
ในการทอธงผะเหวดมากกวา่ ทอผา้ เปน็ การใชเ้ วลาว่างให้เกิดประโยชน์ ใช้แรงงานในชุมชน เปน็ การสร้าง
รายได้ให้กบั คนในหมู่บ้านอีกทางหนงึ่
2. แบบตุงใย เปน็ การนาเอาด้ายกบั ไมไ้ ผม่ าถักให้เป็นรปู ทรงตามถนัด เช่น ทรงส่ีเหลีย่ ม และทรงหกเหลี่ยม มี
ขนาดเลก็ ไปจนถงึ ขนาดใหญ่ แสดงใหเ้ ห็นถึงความสามัคคี และพลงั ศรัทธาในพระพุทธศาสนา ตามความเช่อื
ของชาวอีสาน “ตงุ ” หรือ “ทุง” เป็นสญั ลกั ษณ์ทีเ่ ป็นสริ ิมงคล ความดงี าม เช่ือว่าเมือ่ ไดถ้ วายตุง จะเปน็ บนั ได
ไปสู่สวรรคน์ ่นั เอง
2.1 ความเชอ่ื ท่ีเก่ยี วกบั การถวายธงุ ให้วดั ส่วนใหญ่ เชอ่ื วา่ ไดก้ ุศลแรงเพราะธงุ ถือเป็นของสงู ในพิธีกรรมและมัก
ถกู นามาใชต้ กแต่งในงานบุญท่ีสาคัญเสมอ หากถวายเพ่ืออุทศิ ส่วนกศุ ลใหผ้ ู้ตายเชื่อวา่ บุญจะถงึ และได้บุญมาก
ดงั นั้นผ้าธุงท่ีญาตโิ ยมนามาถวายวัดจงึ มักนยิ มเขียนหรือปักชอื่ ทง้ั ญาตทิ ่ีเสยี ชวี ติ ไปแลว้ และชื่อผูอ้ ุทศิ ส่วนกุศล
ไปให้ดังนัน้ คนอีสานจงึ มีความเชอื่ เกย่ี วกบั ธุงใน 2 ลกั ษณะ ไดแ้ ก่
- การทาบญุ เม่ือได้ทาบุญดว้ ยการถวายธงุ แล้ว จะอยู่เย็นเป็นสขุ เป็นสิริมงคลแกช่ วี ติ
- การให้ทาน เมื่อได้ใหท้ านดว้ ยการถวายธงุ แลว้ จะชว่ ยให้วิญญาณผู้ตายหลดุ พ้นจากนรก
หรอื วิบากกรรม
2.2 ความเชื่อเก่ียวกับการนาธุงมาใช้ เชื่อว่า การปักหรือแขวนธุงในเขตงานบุญเป็นการบอกกล่าวหรือเป็น
สัญลักษณ์ให้ผู้คน รวมทั้งสิ่งที่มองไม่เห็นได้รับรู้สถานท่ีแห่งนี้กาลังมีงานบุญ บางแห่งได้เย็บกระเป๋าติดกับ
ตัวธุงสาหรับใส่เงิน ดอกไม้และอ่ืน ๆ ไว้ด้วย ส่วนความเช่ือเกี่ยวกับการใส่เงินอาจมีแตกต่างกันไปบ้าง เช่น
บางแห่งเชื่อว่าเป็นการส่งเงินให้คนหรือญาติที่ตายไปแล้ว บางแห่งบอกว่าให้กับเจ้ากรรมนายเวรการปักหรือ
แขวนธุงเป็นการปอ้ งกันพญามารมารบกวนเขตพธิ ีอันศักด์สิ ิทธิต์ ามความเชอ่ื ท่สี บื ต่อกันมาการปักหรือแขวนธุง
เปน็ การตกแต่งสถานท่งี านบุญท่ีสาคญั ท่ีเคยยดึ ถือสบื ตอ่ กันมาจนเป็นประเพณี
ประเภทของธุง
ความเช่ือของคนอสี านเกี่ยวกับธงุ พบว่า ความเช่ือที่เกีย่ วเนื่องจากธุงของคนอสี านไมแ่ ตกต่างกันมาก
นัก ท้ังนี้จากจาแนกออกเป็น 2 ด้าน คือ ด้านการถวายผ้าธุง และด้านการนาธุงมาใช้สาหรับความเชื่อท่ี
เกี่ยวกับการถวายธุงให้วัดส่วนใหญ่ เช่ือว่า ได้กุศลแรง เพราะธุงถือเป็นของสูงในพิธีกรรม และมักถูกนามาใช้
ตกแตง่ ในงานบญุ ทสี่ าคญั เสมอ หากถวายเพอ่ื อทุ ศิ ส่วนกุศลให้ผูต้ ายเช่ือว่าบุญจะถงึ และได้บุญมาก ดังนนั้ ผ้าธุง
ท่ีญาติโยมนามาถวายวัดจึงมักนิยมเขียนหรือปักชื่อทั้งญาติที่เสียชีวิตไปแล้ว และช่ือผู้อุทิศส่วนกุศลไปให้
ดังน้ัน คนอีสานจึงมีความเชื่อเก่ียวกับธุงใน 2 ลักษณะ คือ การทาบุญ เม่ือได้ทาบุญด้วยการถวายธุงแล้ว จะ
16
อยู่เย็นเป็นสุข เป็นสิริมงคลแก่ชีวิต การให้ทาน เม่ือได้ให้ทานด้วยการถวายธุงแล้วจะช่วยให้วิญญาณผู้ตาย
หลุดพ้นจากนรกหรือวิบากกรรม
ความเชอ่ื เก่ียวกับการนาธงุ มาใช้ เชอ่ื วา่
1. การปักหรือแขวนธุงในเขตงานบญุ เปน็ การบอกกล่าวหรือเปน็ สัญลกั ษณ์ให้ผู้คน รวมทั้งส่งิ ท่ีมองไมเ่ ห็นได้รับ
รู้สถานท่ีแห่งน้ีกาลังมีงานบุญ บางแห่งได้เย็บกระเป๋าติดกับตัวธุงสาหรับใส่เงิน ดอกไม้และอื่น ๆ ไว้ด้วย ส่วน
ความเชอื่ เกีย่ วกับการใส่เงินอาจมีแตกตา่ งกันไปบา้ ง เช่น บางแหง่ เชื่อว่าเป็นการสง่ เงนิ ให้คนหรือญาตทิ ี่ตายไป
แล้ว บางแห่งบอกวา่ ใหก้ ับเจา้ กรรมนายเวร
2. การปักหรอื แขวนธุงเปน็ การป้องกันพญามารมารบกวนเขตพธิ ีอนั ศักดิ์สิทธิ์ตามความเช่ือทีส่ บื ต่อกันมา
3. การปักหรอื แขวนธุงเป็นการตกแตง่ สถานทงี่ านบุญท่ีสาคญั ทีเ่ คยยดึ ถือสบื ต่อกันมาจนเปน็ ประเพณี
รายละเอียดเพ่ิมเตมิ : บนั ทกึ ศึกษา ธงุ อีสาน รายงานโครงการทานบุ ารุง
ศิลปวัฒนธรรม มหาวทิ ยาลยั อบุ ลราชธานี ปี 2554
“ตงุ ” ความศรัทธาที่งดงามยามสายลมไหว
บนแผ่นดินอีสานจะมีงานบุญประเพณีในแต่ละเดือนท่ีบ่งบอกถึงวิถีการดารงชีวิตที่เชื่อมโยงระหว่าง
พิธีกรรมและการดารงชีวติ ของผู้คนในแต่ละพ้ืนถ่ิน ก่อให้เกิดความภาคภมู ิใจและความสามัคคีในพ้ืนถิ่นโดยใช้
งานบุญประเพณีประจาเป็นตัวเชื่อมประสานในงานบุญประเพณีแต่ละเดือนของช าวอีสานมักจะ
ประดิษฐ์ “ตุง” หรือ “ธุง” หลากหลายรูปแบบและหลากหลายสีสันบนผืนผ้าหรือใช้วัสดุส่ิงอ่ืนเพื่อสื่อ
ความหมายระหว่างมนษุ ย์กบั สงิ่ ศกั ดสิ์ ิทธติ์ า่ ง ๆ ตามความเชื่อทม่ี มี าแตโ่ บราณ
“ตุง” มีความเป็นมาจากเรื่องเล่าเม่ือคร้ังในอดีตว่า มีพวกเหล่ามารปีศาจข้ึนไปก่อกวนเทวดาบน
สวรรค์ จนทาให้เหล่าเทวดาตกใจกลัวเป็นอย่างมาก ทาให้เจ้าแห่งสวรรค์สร้าง “ตุง” ข้ึนมา เพื่อให้เหล่า
เทวดาได้มองเห็น “ตุง” แล้วเกิดความกล้าหาญไม่หวาดกลัวเหล่ามารปีศาจอีกต่อไป “ตุง” จึงเป็นเหมือน
ตัวแทนในการขับไล่มารร้ายไปจากสวรรค์นั้นเอง ทาให้ในกาลต่อมามนุษย์จึงได้ประดิษฐ์ “ตุง” เพ่ือเป็น
ส่ือกลางในการติดต่อระหว่างมนุษย์กับสิง่ ศักด์สิ ิทธิ์ การตดิ ต่อส่ือสารระหว่างมนุษย์กับผู้ที่ลว่ งลับไปแล้ว อกี ทั้ง
เพอื่ เปน็ พทุ ธบูชา อกี ทั้งเป็นปจั จัยการส่งกุศลใหแ้ ก่ตนเองในชาตหิ นา้ จะได้เกิดบนสรวงสวรรคต์ ่อไป
การใช้ "ตุง" ประดับตกแต่งในพิธีสักการะบุคคลสาคัญในเขตภาคเหนือและภาคอีสาน มีการ
แบ่งประเภทของ “ตุง” ตามลักษณะของวัสดุท่ีนามาใช้ทาอยู่ 5 ประเภท ด้วยกัน คือ ตุงผ้าทอ ตุงใย ตุง
กระดาษ และตุงกระด้าง ตุงผ้าทอ นิยมทอด้วยผ้าฝ้ายสีขาว มีลวดลายใช้สีดาและสีแดงเป็นเส้นพุ่ง หรืออาจ
สอดสีอื่น ๆ เพ่ือความสวยงาม โดยท่ัวไปจะมีขนาดกว้าง 1 – 50 เซนติเมตร มีขนาดความยาวต้ังแต่ 1 – 3
เมตร ลักษณะของตุงผ้าทอแบ่งออกตามลักษณะการใช้งาน คือ ตุงไชย ใช้ในพิธีเฉลิมฉลองต่าง ๆ เช่น งาน
สงกรานต์ งานตังธรรมมาสน์เทศน์มหาชาติ (ทาด้วยผ้าสี)ตุงพญายอ ใช้ในเทศกาลสงกรานต์ ตุงพันวา ใช้ใน
งานพธิ ีเฉลมิ ฉลองปีใหม่ ตงุ พระบฎ หรือ ผ้าพระบฎ ใช้ถวายวัดเป็นพุทธบูชา และ ตงุ ตะขาบ/ตุงจระเข้ ใชใ้ น
17
ขบวนแห่กฐิน การแห่ตุงพระบฎ หรือ ผ้าพระบฎ เพื่อถวายวัดเป็นพุทธบูชาในงานเทศน์มหาชาติของชาวบา้ น
หนองโอ อาเภอหนองสูง จงั หวัดมกุ ดาหาร
ภาพประกอบ ผา้ พระบฎ
18
ภาพประกอบ ตุงจระเข้ใชแ้ ห่งานกฐนิ
ภาพประกอบ ตุงผา้ ทอแบบประยุกตใ์ ช้ผา้ ขาวม้า
ภาพประกอบ ตุงธงไทย หัวใจรกั ชาตเิ ตม็ รอ้ ย
19
ภาพประกอบ การใช้ "ตงุ " ตกแต่งในงานสาคญั ของชุมชน
ภาพประกอบ ตุงใย
จะใช้เสน้ ฝา้ ยสขี าวมดั หรอื สานคลา้ ยใยแมงมุม แล้วมีไม้ไผ่สอดเป็นโครงยึดเปน็ ชว่ ง ๆ ทาด้วย
ดอกไมห้ รือพูห่ ้อย นอกจากนั้นจะจดั ทาเป็นตุงราว ประดับด้วยผ้าหรือกระดาษสีต่าง ๆ แขวนบนเชือกโยงตาม
เสาของศาลาธรรมในงานประจาปีของวัด
20
ภาพประกอบ "ตุงใย" จะใชเ้ ส้นฝา้ ยสขี าวมัดหรือสานคล้ายใยแมงมุม
'ตุง' สัญลักษณ์แหง่ ล้านนา
"ตงุ " ของลา้ นนา ก็คือ "ธง" ของไทยภาคกลางนัน่ เอง มีลักษณะเป็นแผน่ วัตถสุ ว่ นปลายแขวนติดกบั
เสา หอ้ ย เป็นแผ่นยาวลงมา วสั ดทุ ่ีใช้ทา ตงุ นัน้ มีหลายอย่าง เชน่ ไม้ สงั กะสี ผ้า กระดาษ ใบลาน เปน็ ต้น ตงุ
เปน็ ส่งิ ที่ทา ขึน้ เพอื่ ใช้ในงานพิธีทางพุทธศาสนา โดยมขี นาด รูปรา่ ง และ รายละเอยี ดด้านวัสดตุ กแต่งแตกตา่ ง
กนั ไปตามความเช่ือและพิธกี รรมตลอดจนตามความนยิ มในแตล่ ะทอ้ งถ่นิ ด้วยส่วนจดุ ประสงคข์ องการทาตุง
ลา้ นนากค็ ือ ทาถวายเปน็ พุทธบูชาโดยทงั้ ชาวไทยยวน ไทลื้อ ไทเขิน และไทใหญ่ จะถือว่าเป็นการทาบุญอทุ ิศ
ใหแ้ กผ่ ูท้ ีล่ ่วงลบั ไปแล้ว หรอื ถวายเพ่อื เปน็ ปจั จยั ส่งกศุ ลให้แกต่ นไปในชาติหนา้ ด้วย ความเชอื่ วา่ เมื่อตายไปแล้ว
จะไดเ้ กาะยดึ ชายตงุ ข้ึนสวรรค์ ความงามของตุงจะวดั กนั ท่ีลวดลาย และ สีสนั ทแี่ ตง่ แตม้ ประดิษฐ์ลงไปท่ีผืนตุง
โดยจาแนกตามวัสดทุ ใ่ี ชท้ าตงุ ดงั นี้
ตุงผา้ ทอ โดยท่วั ไปมขี นาดกว้าง 15-50 ซม. ยาว 1-6 เมตร โครงสร้างประกอบด้วย สว่ นหัว-ตวั -หาง นิยมทอ
ด้วยฝ้ายสีขาว มลี วดลายขิตสดี าและแดงเป็นเส้นพุ่ง อาจสอดสีอ่ืน ๆ เพ่อื ความสวยงาม
ตุงใย ใชเ้ ส้นฝ้ายสขี าวมัดหรอื ถกคลา้ ยแมงมุมชกั ใย มไี ม้ไผส่ อดเป็นโครงยดึ เป็นช่วงๆ ทาดว้ ยวัสดตุ า่ ง ๆ เป็น
ดอกไม้ หรอื พูห่ ้อย
ตงุ กระดาษ เชน่ ตุงไสห้ มู ไสช้ า้ ง ตงุ พญายอ โดยการนากระดาษแกว้ สตี ่าง ๆ อยา่ งน้อยแผ่นละสีมารวมกัน พบั
ไปมาแลว้ ตัดสลับไมใ่ ห้ขาดจากกนั เมื่อคลี่ออก และจับหงายขึน้ จะเปน็ ชอ่ พวงยาว ผกู ตดิ กบั ไมย้ าวประมาณ 1
เมตร ปักตกแต่งหรอื ใชร้ ว่ มขบวนแห่ครัวทานเข้าวดั หรือปกั เจดียท์ รายในเทศกาลสงกรานต์
ตงุ กับงานประเพณตี า่ ง ๆ เช่น งานปีใหม่ หรอื ประเพณีสงกรานต์ของชาวล้านนา ประชาชนจะทาเครื่องสักการะ
คือ ธูป น้าส้มปอ่ ย ตุง และ ช่อตุงหรือธงุ อนั เป็นเครื่องสักการะ มี 4 ประเภท คือ
21
1. ตุงเด่ยี ว หรือตงุ คา่ คงิ สาหรบั บูชาแทนตนเอง
2. ตุงไสห้ มู บชู าพระเจดีย์ พระธาตุทั้งหลาย
3. ตงุ ไจยหรือธงุ ไชย ถวายบชู าพระพุทธรูป เพ่ือสร้างความสวัสดมี ชี ัย
4. ช่อหรอื ธงชัย สาหรบั ปกั เครือ่ งบชู าต่าง ๆ
ตุงจดั เปน็ เครี่องสักการะของล้านนาไทย มตี งุ หลายชนิดที่ใชใ้ นพิธีกรรม เช่น งานฉลอง หรืองานปอย งาน
สบื ชาตา หรอื ขบวนแห่ต่าง ๆ เปน็ ต้น แมจ้ นกระท่งั ปจั จุบนั ตุงกย็ งั มีหนา้ ที่สาคัญผูกพันกับความศรทั ธาของชาว
ลา้ นนา นอกจากนั้นก็ยงั มีหนา้ ท่ีใหมเ่ พ่มิ เข้ามาได้แก่ การแห่แหนหรือการประดบั ประดาเพ่ือเฉลมิ ฉลองงานการ
ท่องเทีย่ ว ตลอดจนมีการพัฒนารปู แบบทย่ี ่ิงใหญอ่ ลงั การมากขึ้นไปอกี ดังเช่น การแห่ตุงพนั วาในขบวนแหส่ ลุง
หลวงที่ จ.ลาปาง และในขบวนแห่ต่างๆ ที่ จ.เชยี งใหม่ และ จ.เชยี งราย เป็นตน้
โดย วทิ ยา วุฒไิ ธสง นกั วชิ าการวัฒนธรรม ศนู ย์วฒั นธรรม มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น
ในงานบุญประเพณีแต่ละเดือนของชาวอสี านมักจะประดษิ ฐ์ “ตงุ ” หรอื “ธงุ ” หลากหลาย
รูปแบบ
และหลากหลายสีสนั บนผนื ผา้ หรือใชว้ ัสดุส่ิงอ่นื เพ่ือสอ่ื ความหมายระหวา่ งมนุษยก์ บั ส่ิงศักดิ์สิทธติ์ า่ ง ๆ
ตาม
ความเช่ือที่มมี าแต่โบราณในงานบุญประเพณีแต่ละเดือนของชาวอีสานมกั จะประดิษฐ์ “ตงุ ” หรอื “ธุง”
หลากหลายรปู แบบและหลากหลายสสี นั บนผนื ผา้ หรอื ใช้วัสดสุ งิ่ อนื่ เพ่ือสอ่ื ความหมายระหว่างมนษุ ย์กับสิ่ง
ศกั ดสิ์ ทิ ธติ์ า่ ง ๆ ตามความเชื่อท่ีมีมาแตโ่ บราณ
“ตุง” มีความเป็นมาจากเรื่องเล่าเมื่อครั้งในอดีตว่า มีพวกเหล่ามารปีศาจข้ึนไปก่อกวนเทวดาบน
สวรรค์ จนทาให้เหล่าเทวดาตกใจกลัวเป็นอย่างมาก ทาให้เจ้าแห่งสวรรค์สร้าง “ตุง” ขึ้นมา เพื่อให้เหล่า
เทวดาได้มองเห็น “ตุง” แล้วเกิดความกล้าหาญไม่หวาดกลัวเหล่ามารปีศาจอีกต่อไป “ตุง” จึงเป็นเหมือน
ตัวแทนในการขับไล่มารร้ายไปจากสวรรค์น้ันเอง ทาให้ในกาลต่อมามนุษย์จึงได้ประดิษฐ์ “ตุง” เพื่อเป็น
สือ่ กลางในการตดิ ตอ่ ระหวา่ งมนุษย์กับสิ่งศักดสิ์ ิทธ์ิ การตดิ ตอ่ สอ่ื สารระหว่างมนษุ ย์กับผู้ทลี่ ่วงลบั ไปแล้ว อกี ท้ัง
เพอื่ เป็นพทุ ธบชู า อกี ท้งั เป็นปจั จยั การส่งกศุ ลใหแ้ ก่ตนเองในชาตหิ น้าจะไดเ้ กิดบนสรวงสวรรคต์ อ่ ไป
“ตงุ ” จงึ นับได้ว่าเปน็ เคร่ืองสักการะ เพอ่ื ใชพ้ ิธกี รรมทางพุทธศาสนา ในบญุ เฉลิมฉลอง หรอื ขบวน
แห่ต่าง ๆ การประดับประดาในงานพิธีต่าง ๆ เพื่อความสวยงามตระการตา โดยมีความแตกต่างกันตามความ
เชื่อในการประกอบพิธีกรรมของท้องถ่ิน ซึ่งโดยทั่วไปตุงจะมีลักษณะคล้ายกับธงมีความยาวประมาณ 1 – 3
เมตร อาจทอดว้ ยผ้าฝา้ ยเป็นลายขดิ ลวดลายสัตว์ คน ต้นไม้ หรอื พระพุทธรูป เพื่อถวายพระสงฆ์เปน็ พทุ ธบูชา
22
ภาพประกอบ ตงุ ใย
ตุงคาว่าตงุ กค็ ือ ทุง หรือ ธง นั่นเอง เปน็ ธงแบบหอ้ ยยาวจากบนลงล่าง เม่ือเข้าไปในวหิ าร ก็จะเหน็ ตงุ
หลากหลาย ตงุ เหลา่ นที้ ามาจากวสั ดตุ า่ งๆ เช่น ผ้า กระดาษ ธนบัตร เปน็ ต้น โดยมีขนาด รูปทรงตลอดจนการ
ตกแตง่ ต่างกันออกไปตามระดับความเชอ่ื ความศรัทธา และฐานะ ทางเศรษฐกิจของผูถ้ วายคติความเช่ือ
เก่ียวกบั การถวายตงุ การทช่ี าวบ้านนาตงุ มาถวายเปน็ พทุ ธบูชา ทงั้ ท่ีเปน็ การทาบญุ อุทิศส่วนกศุ ลใหแ้ กผ่ ู้ท่ี
ลว่ งลบั ไปแล้วหรือเป็นการถวายเพ่ือสง่ กศุ ลผลบุญให้แกต่ นเองในชาติหนา้ ก็ดว้ ยคติความเชื่อทีว่ า่ เมื่อตายไป
แล้วจะพ้นจากการตกนรกโดยอาศยั เกาะชายตุงขึ้นสวรรค์ จะได้พบพระศรีอริยะเมตตรัย หรือ จะได้ถงึ ซึ่งพระ
นิพพาน จากความเช่ือน้ีจึงมีการถวายตงุ ทว่ี ัด อย่างน้อยครง้ั นงึ ในชีวิตของตน ตุงผา้ โดยทั่วไปจะมีขนาดกว้าง
ตั้งแต่ 10-15 ซม. มีความยาวตง้ั แต่ 1-6 เมตร โครงสรา้ งของตุงประกอบดว้ ยสว่ นหัว ตวั และ หาง โดยมีไม้ไผ่
สอดคั่นเปน็ ระยะ ๆ และ นิยมตกแต่งดว้ ยวัสดตุ า่ ง เช่น เศษผ้า กระดาษ ไหมพรม เมล็ดฝกี เพกา ทาเปน็ พู่
หอ้ ยประดับตลอดท้ังฝนื เรยี กสว่ นตกแต่งนี้วา่ ใบไฮ (ใบไทร) ใบสะหลี (ใบโพธ)์ิ สวย (กรวย) สว่ นหัวตุงมกั ทา
เปน็ รปู โครงสร้างปราสาท โดยใช้ไม้แผ่นใหญ่ หรือใช้ไม้ขนาดเลก็ กว้างประมาณ 4-5 เซนตเิ มตร เรยี งติดต่อกัน
หลายช้นิ แล้วต่อกันเป็นโครง ส่วนหางตุงก็มักตกแต่งชายด้วยการถกั เปน็ ตาขา่ ย หรอื เย็บเปน็ รูปหมอน หรือ
ใชไ้ ม้ไผ่ห้อยชายตุงเปน็ การถว่ งน้าหนกั ตงุ หรือ ธงุ ในภาคเหนือเรียกวา่ ตงุ ภาคอสี านเรียกวา่ ธุง ใน
ภาษาไทยใหญ่เรียกว่า ตาข่อน พมา่ เรียกว่า ตะขนุ่ สาหรบั ในประเทศไทยโดยทั่วไปนยิ มเรียกวา่ ตุง ตามอย่าง
ทางภาคเหนอื เพราะมีการใช้ในกิจกรรมพธิ ีการค่อนขา้ งมาก และมีรูปแบบทหี่ ลากหลาย จนกลายเปน็
เอกลักษณ์ของล้านนาหรือภาคเหนือ ตุงคานี้เปน็ ภาษาภาคเหนอื หมายถึง ธง ซึ่งตรงกับลักษณะของ ปฎากะ
ท่ีเป็นธงของอนิ เดีย
23
สว่ นธงุ ของอีสานนิยมทอเป็นผืนยาวๆ มีรปู สตั ว์หรือรูปภาพต่างๆ ตามความเช่อื บนผืนธงุ เชน่
จระเข้ เสือ ตะขาบ นางเงือก เทวดา และอ่ืนๆ นอกจากน้นั ยงั มีการดดั แปลงวัสดุธรรมชาติอืน่ มาเปน็ ธุงดว้ ย
เช่น ลกู ปดั จากเมล็ดพชื ไมแ้ กะรูปทรงตา่ งๆ เป็นต้น ตงุ มีชือ่ เรียกต่างๆ มากมายตามการใช้งาน และรูปร่าง
รปู ทรง เช่น ธุงราว ทาจากผ้าหรอื กระดาษอาจเปน็ รูปสามเหลยี่ ม ส่ีเหลย่ี ม หรืออืน่ ๆ นามารอ้ ยเรยี งเปน็ ราว
แขวนโยง
ธุงไชย เป็นเครอ่ื งหมายของชัยชนะหรอื สริ ิมงคลทอจากเส้นดา้ ยหรอื เส้นไหมสลับสี บางคร้ังใช้ไม้
ไผ่ค่นั นยิ มใชล้ ายประจายาม ลายปราสาท ลายเครือเถา ลายสตั ว์ ลายดอกไม้
ธงุ สิบสองราศี นยิ มทาดว้ ยกระดาษ ลักษณะของตุงสบิ สองราศี มรี ูปนักษัตรหรือสัตว์ สิบสองราศใี น
ผืนเดยี วกัน เชื่อว่าในครอบครัวหนึ่งอาจมสี มาชกิ หลายคน แตล่ ะคนอาจมีการเกดิ ในปตี ่างกัน หากมีการนาไป
ถวายเท่ากับว่าทุกคนในครอบครวั ได้รับอานิสงค์จากการทานตงุ เท่าๆ กนั ถอื วา่ เป็นการสมุ่ ทาน ใช้เป็นตงุ บูชา
เจดีย์ทรายในวนั สงกรานต์
ธงุ ใยแมงมุม เปน็ ตุงที่ทาจากเสน้ ด้ายจากเสน้ ฝ้ายหรือเสน้ ไหม ผกู โยงกนั คล้ายใยแมงมุม นยิ มใช้
แขวนตกแต่งไวห้ นา้ พระประธาน หรอื โดยรอบในงานพิธีกรรม ใช้ในการปกป้องคมุ้ ครองคลา้ ยกับตงุ ไชย เปน็ ท่ี
แพรห่ ลายในภาคอีสาน การประดบั ธงุ ใยแมงมุมของวัดไชยศรี งานบญุ เผวสบ้านสาวะถี และ ประดบั ในงาน
รว่ มสมัย
ธุงเจดียท์ ราย ใช้ปักประดบั ที่เจดียท์ ราย ทาจากกระดาษสีต่างๆ ใหห้ ลากสี ตัดฉลลุ ายด้วยรูปทรง
สวยงาม เมื่อได้ตุงนามาร้อยกับเสน้ ดา้ ย ผกู ตดิ กับกงิ่ ไมห้ รือก่ิงไผ่ ปกั ไวท้ ่เี จดยี ท์ รายในวัด ธุงตะขาบ ธงุ จระเข้
เปน็ ผ้าผืนท่ีมีรปู จระเข้หรือตะขาบไวต้ รงกลาง เปน็ สญั ลักษณใ์ นงานทอดกฐนิ ใชแ้ หน่ าขบวนไปทอดยังวัด บน
ความเชือ่ เกยี่ วกบั จ้าวแหง่ สัตวใ์ นท้องถนิ่ ท่ีจะมาชว่ ยปกป้องคุ้มครองในงานบุญกุศล บางแหง่ อาจมรี ูปเสือท่ี
เปน็ เจา้ แห่งป่ารว่ มด้วย
ปจั จบุ ัน ธงุ หรือ ตุง ในมมุ มองของคนรุน่ ใหม่อาจเห็นภาพไม่ชดั เจน ขาดความรูค้ วามเข้าใจที่
ถูกต้อง แต่ ธงุ หรือ ตุง กย็ ังอยใู่ นวถิ ีวัฒนธรรมความเชื่อของคนอีสาน รวมถึงผคู้ นในแถบลมุ่ น้าโขง และถือได้
วา่ ธงุ หรอื ตุง เปน็ มรดกทางวัฒนธรรมท่มี ีเอกลักษณ์เฉพาะตามความเชอื่ ถือของแตล่ ะท้องถิ่น ท่ีไดร้ ับการ
ถา่ ยทอดมาจากบรรพบุรุษ จนกลายเปน็ มรดกทางวฒั นธรรมอันลา้ คา่ ทค่ี วรแก่การบนั ทึก ศึกษา ไว้ใหล้ กู หลาน
เรยี นร้สู ืบไป
24
ภาพประกอบ ตุงราว
ภาพประกอบ ธุงเจดยี ์ทราย
ภาพประกอบ ธงุ ใยแมงมุม
25
บทที่ ๓
ขน้ั ตอนและวธิ ีการทาธุงอสี าน
สาระสาคัญ
1. วัสดุอปุ กรณ์การทาธงุ อีสานและนยิ ำมศัพทเ์ ฉพำะ
2. การเลือกแบบธุงอสี าน
3. ข้ันตอนวธิ ีการทาธุงอสี าน
4. วธิ ีการประกอบธุงอีสาน
ตวั ชี้วดั
1. อธบิ ายวสั ดอุ ปุ กรณ์การทาธงุ อสี านได้
2. สามารถอธบิ ายรูปแบบธงุ อีสานได้
3. อธิบายขั้นตอนวิธกี ารทาธงุ อสี านได้
4. บอกวธิ ีการประกอบธุงอสี านได้
ขอบขา่ ยเน้อื หา
เรื่องที่ 1 วสั ดอุ ปุ กรณ์การทาธงุ อสี าน
เร่ืองที่ 2 การเลอื กแบบธุงอีสาน
เรอื่ งที่ 3 ขัน้ ตอนวิธกี ารทาธงุ อสี าน
เรื่องท่ี 4 วธิ กี ารประกอบธงุ อีสาน
จานวนชวั่ โมง
จานวน 40 ช่ัวโมง
ส่อื การเรยี นรู้
1. หนงั สอื เรียน
2. แหล่งเรียนร/ู้ ภูมปิ ญั ญา
3. สือ่ ออนไลน์
26
เรอ่ื งที่ 1 วสั ดุอุปกรณ์การทาธงุ อีสาน
วสั ดอุ ุปกรณ์
1. ดา้ ยไหมพรม
2. ไม้ไผ่ (ส่วนทีเ่ ปน็ ลาต้น)
3. เขม็
4. ดา้ ย
5. กรรไกร
6. กาวลาเทก็ ซห์ รือกาวร้อน
7. ลูกปดั หลากสีสนั (อปุ กรณต์ กแตง่ )
8. ดอกไมพ้ ลาสติก
ภาพวสั ดุอปุ กรณ์
27
เร่ืองที่ 2 การเลอื กแบบธุงอีสาน
การเลอื กรูปแบบธุงอสี านสามารถเลือกทาได้หลายรูปแบบ และเลือกสีสันไหมพรมได้หลากหลายสสี ัน
ตามความชอบของแตล่ ะบคุ คล ชมุ ชน และตามความต้องการของผ้ทู ่สี นใจนาไปใชใ้ นการประดบั ตกแต่งหรือ
ตามงานประเพณี เทศกาลตา่ งๆ โดยจาแนกเป็นรูปแบบ ดังน้ี
1. ธงุ อีสาน 1 มติ ิ รูปส่ีเหลี่ยม
- ธงุ อสี าน 1 มิติ รปู หกเหล่ยี ม
- ธุงอสี าน 1 มติ ิ รูปแปดเหลยี่ ม
- ธุงอสี าน 2 มติ ิ รปู ส่ีเหล่ียม
28
- ธุงอสี าน 2 มติ ิ รปู หกเหล่ยี ม
- ธุงอสี าน 3 มติ ิ
- ธุงอีสาน 4 มติ ิ
29
เรื่องที่ 3. ขั้นตอนวธิ กี ารทาธงุ อีสาน
แบบท่ี 1 ธุงอีสาน 1 มิติ รูปสเี่ หล่ียม
ขน้ั ตอนวิธีการทา
1.นาไมไ้ ผ่ทีผ่ ่านการเหลาตามขนาดทตี่ ้องการ (ความยาวเท่ากัน) จานวน 2 อัน มาประกบกนั พันเสน้ ไหมพรม
รอบๆไม้ บรเิ วณกึ่งกลางของความยาวไม้ แล้วล็อกใหแ้ น่น
2. แยกไม้ออกจากกนั ใหเ้ ป็นรูปกากบาท (X) หรือ สีเ่ หล่ียมมุมฉาก พันเส้นไหมพรมรอบๆไม้ ให้ตดั กับแนวเดิม
ที่พนั ไว้ จนมีความหนาเทา่ ๆกัน แลว้ ลอ็ กให้แน่น
3. พนั เส้นไหมพรมรอบไม้แต่ละด้าน โดยวนจากล่างหมุนรอบไมข้ ึน้ ขา้ งบน สลบั กับวนจากบนลงล่างหมนุ เขา้
หาตัวเอง สลับกนั แตล่ ะไม้ทาซ้าแบบเดมิ รอบไม้ถดั ไป
30
4. เพิม่ สสี ันใหธ้ ุง ดว้ ยการใชเ้ ส้นไหมพรมหลากสี ตดั เส้นไหมพรมสีเกา่ มัดปมกับเสน้ ไหมพรมอีกสีใหแ้ นน่
แล้วพนั วนรอบไมไ้ ปเรอ่ื ยๆ
5. เปลีย่ นสีตามความตอ้ งการ ทาซา้ จนเกอื บสุดความยาวไม้ มัดปมเชอื กปดิ ท้ายให้แน่น เปน็ เสร็จเรยี บร้อย
แบบท่ี 2 ธุงอสี าน 2 มิติ รูปส่เี หล่ยี ม
ขน้ั ตอนวิธีการทา
1.ขนั้ ตอนวิธีการทา ขั้นท่ี 1 และ 2 เหมอื นกับรูปแบบที่ 1 ธุงอสี าน 1 มิติ รปู ส่ีเหลีย่ ม
2. พันเส้นไหมพรมรอบไม้แต่ละด้าน โดยวนจากบนหมุนวนลงล่างรอบไม้ขึ้นข้างบน (ไม้บนจะพันเส้นไหมจาก
บนลงลา่ ง) (รปู ที่ 1) หมนุ แกนไมถ้ ัดไปมาทางขวามือ ทาซ้าแบบเดิม รอบไม้ถดั ไป โดยหมนุ วนจากลา่ งขน้ึ บน
รอบไม้ขน้ึ ขา้ งบน (ไม้ล่างจะพันเสน้ ไหมจากลา่ งขึน้ บน) (รูปที่ 2)
รูปที่ 1 รปู ท่ี 2
31
3. เพิ่มสีสนั ให้ธุง ด้วยการใชเ้ ส้นไหมพรมหลากสี ตัดเสน้ ไหมพรมสีเกา่ มัดปมกับเสน้ ไหมพรมอีกสีให้แนน่
แลว้ พันวนรอบไมไ้ ปเร่อื ยๆ (รูปที่ 1) เปล่ียนสี ทาซ้า จนเกือบสุดความยาวไม้ (รปู ท่ี 2)
รปู ที่ 1 รปู ท่ี 2
7. เม่อื สดุ ความยาวไม้ รูปท่ี 1 มัดปมเชอื กปดิ ท้ายให้แนน่ รปู ท่ี 2 เป็นเสร็จเรยี บรอ้ ย
แบบท่ี 3 ธุง รูปที่ 1 อีสาน 3 มติ ิ รูปที่ 2
ขน้ั ตอนวธิ ีการทา
1.นาไม้ไผ่ทีเ่ หลาตามขนาดท่ีต้องการ (ด้านเทา่ กนั ) จานวน 3 อนั นาไม้ไผ่ 2 อัน มาประกบกนั พนั เส้นไหม
พรมรอบๆ ไม้ บรเิ วณกงึ่ กลางของความยาวไม้ แล้วลอ็ กให้แนน่ แยกไม้ออกจากกนั ให้เป็นรปู กากบาท (X)
หรอื ส่เี หลี่ยมมมุ ฉาก พนั เส้นไหมพรมให้ตัดกบั แนวเดมิ ท่ีพันไว้ จนมคี วามหนาเทา่ ๆกนั แลว้ ลอ็ กใหแ้ น่น
2. นาไมไ้ ผ่อีก 1 อัน มาต้งั แนบตรงกลางในแนวตงั้ แล้วใช้ไหมพรมพนั ลอ็ กไมใ้ ห้แนน่ ดังรูป
32
3. ใช้ปากกาเคมที าเครอื่ งหมาย 1 , 2 , 3 , 4 กากับไวบ้ นไมไ้ ผ่แต่ละอันตามแนวนอน รวมทั้งปลายเสาด้านบน
ปลายเสาด้านล่าง โดยไม้หมายเลข 4 ต้องเป็นไม้ที่อยู่แนวล่างสุด ไม้แนวตั้งฉาก(บน-ล่าง) จะอยู่ระหว่าง ไม้
หมายเลข 3 และ ไมห้ มายเลข 4
4. ใช้ไหมพรมพันตามสูตรการทาธุงอีสาน 3 มิติ จากด้านบนลงด้นล่าง โดยเริ่มพันไหมพรมจากไม้ด้านที่ทา
เครอ่ื งหมายเลข 4 พนั ตอ่ ไปที่ไมห้ มายเลข 1 พันต่อไปที่ไม้หมายเลข 2 พนั ต่อไปทไี่ มห้ มายเลข 3 พนั ต่อไปที่
ไมท้ ่หี มายเลข 4
สตู รการทาธงุ อสี าน 3 มิติ 23 4
เริม่ ตน้ พนั ไหมพรมทหี่ มายเลข = 4 1 ล่าง 4
(1) = บน 2 34
(2) = 1 2
***ทาซ้า (1) และ (2) ไปเร่ือยๆ
5. ต่อดว้ ยพนั ไหมพรมที่ไม้ดา้ นบน โดนการตะแคงขวาลงมา พนั ตอ่ ไปท่ีไมเ้ สาหมายเลข 2 พันต่อไปที่ไม้ฉาก
ดา้ นลา่ ง กลบั มาพนั ทไ่ี มห้ มายเลข 4 จะเป็นการพันไมร้ อบท่ี 1
33
6. ข้ึนรอบท่ี 2 โดยการพนั ไหมพรมต่อไปที่ไมห้ มายเลข 1 พนั ต่อไปที่ไม้หมายเลข 2 พนั ตอ่ ไปทีไ่ ม้หมายเลข 3
พนั ตอ่ ไปที่ไมห้ มายเลข 4 พนั ตอ่ ที่ไม้ฉากดา้ นบน โดนการตะแคงขวาลงมาเหมอื นเดิม พันตอ่ ไปที่ไม้หมายเลข
2 พนั ต่อไปที่ไม้ฉากดา้ นลา่ ง พนั ต่อไปท่ีไมท้ ีห่ มายเลข 4 แล้วพนั ไหมพรมต่อไปเรื่อยๆ
7. วิธกี ารตอ่ ดา้ ยไหมพรม จะเริม่ เหมือนเดิม โดยพนั ไหมพรมจากไมห้ มายเลข 4 โดยการกดเส้นไหมพรมแลว้
พนั 1 รอบ พนั ต่อไปทีไ่ ม้หมายเลข 1 พันต่อไปท่ีไมห้ มายเลข 2 พนั ต่อไปท่ไี ม้หมายเลข 3 และพนั ต่อไปที่ไม้
หมายเลข 4 พนั ข้นึ ด้านไม้ฉากบน พนั ต่อไปท่ีไมห้ มายเลข 2 พันลงไมด้ ้านฉากไม้กล่าง วกกลับมาพันท่ี
หมายเลข 4 ทาต่อไปเร่ือยๆ จนได้ธุง 3 มติ ิ (รปู มะเฟอื ง)
34
แบบท่ี 4 ธุงอีสาน 4 มิติ
ขนั้ ตอนวธิ ีการทา
1. วิธีการทาธงุ อสี าน 4 มติ ิ ทาเหมอื นวิธีการทาธุงอสี าน 3 มติ ิ คอื ใช้ไหมพรมพันไหมพรมจากไมห้ มายเลข 4
โดยการกดเสน้ ไหมพรมแลว้ พัน 1 รอบ พันต่อไปท่ไี ม้หมายเลข 1 พนั ตอ่ ไปที่ไมห้ มายเลข 2 พันต่อไปท่ีไม้
หมายเลข 3 และพนั ต่อไปที่ไม้หมายเลข 4 พันขน้ึ ดา้ นไมฉ้ ากบน พนั ต่อไปท่ไี ม้หมายเลข 2 พันลงไม้ดา้ นฉาไม้
กลา่ ง วกกลบั มาพนั ทห่ี มายเลข 4 ทาตอ่ ไปเรื่อยๆ จนไดธ้ งุ 3 มิติ (รปู มะเฟือง)
2. ข้ันตอนต่อไป ใชไ้ หมพรม พันต่อไปที่ไมห้ มายเลข 1 พนั ไปทไ่ี มฉ้ ากดา้ นล่าง พันต่อไปท่ีไมห้ มายเลข 3
กลบั มาที่ไมฉ้ ากดา้ นบน ทาวนไปเรอื่ ยๆ พรอ้ มตรงึ มือให้ไหมพรมแตล่ ะด้านให้ไดร้ ะยะห่างเท่าๆ กนั ดงั รูป
35
เรอื่ งที่ 4 วิธีการประกอบธุงอสี าน
การประกอบธงุ สาย
ข้นั ตอนวิธีการทา
1.เตรียมเขม็ ร้อยด้าย ลูกปดั สีตา่ งๆ พทู่ ี่ทาจากไหมพรม
2. นาเขม็ รอ้ ยดา้ ยทเ่ี ตรียมไวร้ อ้ ยพู่ไหมพรม ร้อยลูกปัดขนาดความยาวและสีตามต้องการ
3. เย็บรอ้ ยเขา้ มุมดา้ นขา้ งท้งั สองด้านของธุงใยแมงมุมท่ีเตรยี มไว้
4. นาเขม็ ร้อยด้ายท่เี ตรยี มไว้รอ้ ยพู่ไหมพรม ร้อยลูกปัดขาดความยาวและสีตามต้องการ ร้อยจากธุงใย
แมงมุมด้านลา่ งสดุ ขน้ึ มาที่แกนกลาง แล้วร้อยท่ีดา้ นบนของธงุ
5. รอ้ ยลูกปัดตามแบบท่ีทาไว้ แลว้ ร้อยเขา้ กับแกนด้านล่างของธงุ ใยแมงมุมอันต่อไป
6. รอ้ ยตอ่ ไปเรือ่ ยๆจนไดข้ นาดความยาวของธงุ อีสานตามท่ีกาหนด
7. ติดกาวตามมมุ ทีร่ ้อยไว้ เพ่ือความคงทน
8. ไดธ้ งุ อีสานท่ีประดับตกแต่งสวยงาม
36
บทที่ 4
การสร้างนวัตกรรมจากธุงอีสาน
สาระสาคัญ
ศึกษาเก่ียวกับการสร้างนวัตกรรมจากธุงอีสาน เพ่ือให้เกิดความสวยงาม มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวท่ี
โดดเด่น มีคุณค่าทางจิตใจ มีผลิตภัณฑ์ท่ีได้มาตรฐานเป็นท่ีต้องการของบุคคลท่ัวไปทั้งในชุมชนของตนเอง
และชุมชนนอกพ้ืนท่ี ในประเทศไทยและต่างประเทศ เป็นการส่งเสริมอาชีพเพื่อให้เกิดรายได้ให้กับ ตนเอง
ครอบครวั ชมุ ชน สังคม อยา่ งยง่ั ยืนสืบไป
ตวั ชว้ี ัด
1. ผ้เู รียนอธบิ ายความหมายของนวตั กรรมได้
2. ผู้เรียนอธบิ ายการสร้างนวตั กรรมจากธุงอสี านเปน็ เคร่ืองประดับได้
3. ผู้เรยี นอธบิ ายการสร้างนวตั กรรมจากธงุ อสี านเป็นเครือ่ งตกแตง่ ได้
ขอบขา่ ยเนอื้ หา
เร่อื งท่ี 1 นวตั กรรม
เรื่องท่ี 2 นวตั กรรมการทาเคร่อื งประดับ
เรือ่ งท่ี 3 นวตั กรรมการทาเคร่อื งตกแตง่
จานวนชัว่ โมง
จานวน 30 ชว่ั โมง
สอ่ื การเรยี นรู้
1. หนงั สือเรียน
2. แหล่งเรยี นร/ู้ ภูมิปญั ญา
3. สอ่ื ออนไลน์
37
เร่ืองท่ี 1 ความหมายของนวตั กรรม
นวัตกรรม (Innovation) หมายถึง ส่ิงท่ีมาจากการคิดคันหรือประดิษฐ์ข้ึนมาใหม่หรือทาให้
เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ได้แก่ เทคโนโลยีความคิด ส่ิงประดิษฐ์ หรือผลิตภัณฑ์ เป็นต้น โดยส่ิงท่ีนับว่าเป็น
นวัตกรรมตาม ความหมายของนวตั กรรม หรือInnovation คอื ส่งิ ที่เปน็ ไดท้ ้งั การสร้างข้นึ มาใหมห่ รือความคิด
ทไี่ มเ่ คยมีมากอ่ น หรอื อาจจะเป็นส่ิงทมี่ ีอยแู่ ลว้ แตถ่ กู นาไปต่อยอดเพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพก็ได้
นอกจากนี้ นวัตกรรม หรือ Innovation คือ สิ่งท่ีจะเป็นท่ียอมรับก็ต่อเม่ือมีผลในทางธุรกิจหรือ
เศรษฐกิจ ซึ่งก็คือการเป็นที่ต้องการของตลาด (มี Demand) ถ้าหากว่าส่ิงนั้นไม่มีผลในทางธุรกิจหรอื เป็นสงิ่ ท่ี
ไม่มีใครต้องการใช้ ก็จะถือว่าเป็นเพียงแค่ Prototype หรือสินค้าต้นแบบเท่าน้ัน เพราะความต้องการจะ
เกิดข้นึ เม่ือ นวตั กรรม(Innovation) สามารถใชแ้ ก้ปญั หาได้จริง
สรุปให้ง่ายกวา่ นั้น นวัตกรรม คือ อะไรก็ตามที่คิดค้นข้ึนมาใหม่หรือ.ลดิ การต่อยอดประสิทธิภาพ (ท้ัง
ความคิดและสิ่งของ) ซึ่งจะต้องมีความสามารถในการแก้ไขปัญหาหรือ Pain Point บางอย่างท่ีมีอยู่แล้ว หรือ
ตอบโจทย์ความตอ้ งการบางอยา่ งท่ีเกดิ ข้ึนไดจ้ ริง
อย่างไรก็ตาม ยังมีหลายคนท่ีเข้าใจว่า Innovation หรือ นวัตกรรม หมายถึง เรื่องที่ต้องเก่ียวข้องกบั
เทคโนโลยีหรืออะไรที่ฟังดูล้า ๆ เท่านั้น แต่ในความเป็นจริงแล้ว นวัตกรรม คือ ส่ิงที่ไม่ได้จากัดอยู่แค่เร่ือง
เกย่ี วกบั เทคโนโลยีระดับสงู เพียงอย่างเดียวเท่านั้น อาจจะเป็นเรื่องง่ายๆ อย่างการคิดค้นกระดาษโน๊ต Post It
ของบรษิ ัท 3M
จากที่อธิบายจะเห็นว่าจริง ๆ แล้วการคิดค้น นวัตกรรม คือ เร่ืองที่มีรากฐานมาจากการคิดคัน
ทางออกของปัญหาที่เกิดข้ึนในชีวิตประจาวัน ด้วยการสร้างอะไรบางอย่างหรือต่อยอดอะไรบางอย่างเพื่อ
แกป้ ญั หานน่ั เองซึง่ สามารถแบง่ องคป์ ระกอบของนวตั กรรมเป็น 2 ส่วน คอื
1. ความใหม่ (Newness) ท่ีเกดิ จากการพฒั นาและองค์ความรู้
2. ประโยชน์ในทางธรุ กจิ หรอื ประโยชน์ในทางเศรษฐกจิ (Economic Benefit)
นวตั กรรม หมายถึง อะไร
นวัตกรรม หมายถึง ความคิดหรือสิ่งที่สร้างขึ้นมาใหม่หรือเปลี่ยนแปลงปรับปรุงจากเดิมเพื่อแก้ไข
ปัญหาบางอย่าง ตามที่ได้อธิบาย ความหมายของนวัตกรรม เอาไว้ในตอนต้น ในหัวข้อนี้มาดูความหมายของ
นวตั กรรมในมมุ มองอน่ื ๆ กนั บ้าง เรม่ิ จากรากศัพทข์ องคาวา่ นวตั กรรม และ Innovation
Innovation คือ คาภาษาอังกฤษท่ีมีรากศัพท์มาจากคาว่า Innovare ในภาษาละติน แปลว่า การ
ดัดแปลงหรือการทาส่ิงใหม่ และสาหรับภาษาไทยคาว่า นวัตกรรม คือ คาท่ีมาจากภาษาบาลี 3 คา ได้แก่ นว
(ใหม่) + อุตต(ตนเองหรือตัวเอง) + กรรม (การกระทา ซึ่งเมื่อนามาสมาสเป็นจะได้เป็นคาว่า นวัตกรรม
หมายถงึ การกระทาของตนเองใหม่ หรือ การทาบางอย่างใหเ้ กิดสงิ่ ใหม่
โดยราชบัณฑิตยสภาได้ให้ความหมายของ นวัตกรรม หมายถึง การกระทาหรือส่ิงท่ีทาข้ึนใหม่หรือ
แปลกจากเดิมซ่ึงอาจจะเป็นความคิด วิธีการ หรืออุปกรณ์ ป็นต้น (อ้างอิงจากราชบัณฑิตยสภา) ตัวอย่างเช่น
การใช้อินเทอร์เน็ตประกอบการเรยี นการสอน ถือว่าเปน็ นวัตกรรมทางการศึกษา
38
นอกจากน้ี สานักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (NIA) ยังได้ให้ความหมายของคาว่า Innovation หรือ
นวัตกรรม คอื สงิ่ ใหมท่ ่ีเกิดจากการใชค้ วามร้แู ละความคดิ สร้างสรรค์ท่ีมีประโยชนต์ ่อเศรษฐกจิ และสังคม
ประเภทของนวตั กรรม
นอกจากน้ี เรายังสามารถแบ่ง ประเภทของนวัตกรรม ออกเป็น 3 กลุ่ม คือ นวัตกรรมผลิตภัณฑ์
(ProductInnovation), นวัตกรรมการผลิต หรือการดาเนินงาน (Process Innovation), และนวัตกรรมธุรกจิ
(BusinessInnovation)
นวัตกรรมผลิตภัณฑ์ (Product Innovation) คือ การสร้างผลิตภัณฑ์ข้ึนมาใหม่ หรือการปรับปรุง
ผลิตภัณฑ์เดิมท่ีมีอยู่แล้วให้มีประสิทธิภาพสูงข้ึน ไม่ว่าจะเป็น การปรับเปล่ียนดีไซน์ของสินค้า การปรับปรุง
วัตถดุ บิ ท่ใี ชผ้ ลติ และการปรับเปลีย่ นบรรจุภณั ฑ์ของสินค้า เปน็ ตน้
นวัตกรรมการผลิต หรือการดาเนินงาน (Process Innovation) คือ นวัตกรรมเกี่ยวกับการปรับปรุง
วิธกี ารดาเนนิ งาน การดาเนินงานรปู แบบใหม่ หรอื วิธกี ารผลิตสนิ คา้ ท่ีมีวธิ ีการตา่ งออกไปจากเดมิ ตวั อยา่ งเช่น
ระบบ Just InTime ของ Toyota ท่ีเปล่ียนจากผลิตสินค้าจานวนมาก มาเป็นผลิตสินค้าเท่ากับจานวนการ
สั่งซอ้ื เท่านัน้
นวัตกรรมธุรกิจ (Business Innovation) คือ นวัตกรรมที่ทาให้เกิดความเปลี่ยนแปลงท่ีดีข้ึนกับ
องค์กร ได้แก่ การปรับวิธีการดาเนินงานขององค์กร รวมไปถึงการพัฒนาสินค้าหรือบริการใหม่ ๆ ให้กับธุรกิจ
ซ่ึงนวัตกรรมทางธุรกิจ คือ ส่ิงท่ีเกิดขึ้นจากการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) ภายใน
องค์กรน่ันเอง
โดยประโยชน์และเป้าหมายในทางธุรกิจของ Innovate หรือ นวัตกรรม คือ ประเด็นที่อยู่บนพื้นฐาน
ของเรื่องดังตอ่ ไปนี้:
1. การพัฒนาคุณภาพของสนิ คา้ หรอื บริการ
2. การลดต้นทุนการผลิต
3. พัฒนาขัน้ ตอนการผลติ และการดาเนนิ งาน
4. การขยายขอบเขตทางธุรกิจ ดว้ ยการพัฒนาสนิ คา้ ใหมเ่ พือ่ ขยายตลาด
39
เรื่องท่ี 2 นวัตกรรมการทาเครือ่ งประดบั
ปจั จบุ ันมหี ลายพ้นื ทีท่ ่ไี ด้นาวฒั นธรรมมาสร้างมูลคา่ จดั แสดงเปน็ สถานท่ที อ่ งเทย่ี ว
และสร้างรายไดใ้ หเ้ กดิ ข้ึนกับชุมชน ซ่งึ มเี อกลกั ษณอ์ ันโดดเดน่ เปน็ “ธงุ ใยแมงมุม”
สีสนั สดใสงดงาม และนามาพัฒนาใหเ้ ป็นนวัตกรรมทห่ี ลากหลายให้สวยงามและทันสมยั
มากยง่ิ ขน้ึ เชน่ การทาป่นิ ปกผม การทาต่างหู และการทาเข็มกลัด เป็นตน้
ป่ินปกั ผม
ป่ินปักผม หมายถึง เคร่ืองประดับผมท่ีไม่เพียงใช้ประโยชน์ได้จริงยังแฝงความสวยงามและมากกว่า
นัน้ คอื ปิ่นปกั ผมแตย่ ังแฝงหนา้ ทก่ี ารสอื่ ความหมายที่ทาให้คุณคา่ ของป่ินมีมากกวา่ การเป็นเครื่องประดบั
ปนิ่ ปกั ผมทีเ่ ป็นนวตั กรรมทเี่ กิดข้นึ จากการพัฒนาธงุ อีสานมาประยุกต์ดดั แปลง
จากธุงใยแมงมมุ มาเป็นเครอ่ื งประดบั มมี ากมายหลากหลายรปู แบบ ประโยชนใ์ ช้สอย ใชป้ กั หรือเก้ามว้ นผม
วัสด/ุ อุปกรณ์
1.ด้ายวีนัส
2.ไม้
3.ลูกปดั หลากสี
4.กาวรอ้ น
ระยะเวลาในการผลิต 1 - 3 ชั่วโมง
ต่างหู
ต่างหู คือเคร่ืองประดบั ท่ใี ชส้ าหรบั ใส่เสริมเติมแต่งให้บคุ ลิกคนเรา
ทาให้ดโู ดดเด่น สร้างบุคลกิ หวานๆ หรอื แมแ้ ต่จะทาให้ดูภมู ิฐานก็ทาไดย้ ิ่ง
การมอบตา่ งหเู ป็นของขวญั ยังสือ่ ถงึ การมอบให้ซ่ึงความคุ้มครองและการปกป้องภัย
จากอนั ตรายตา่ งๆ แต่กอ่ นจะมอบตา่ งหใู หใ้ ครเป็นของขวัญควรตรวจสอบให้แนใ่ จ
ก่อนวา่ คนทค่ี ณุ จะมอบตา่ งหใู ห้นน้ั เจาะหูแลว้ ไม่อยา่ งนนั้ ของขวญั ของคุณกจ็ ะไร้
ความหมายไปโดยปริยาย แตถ่ ้าหากคุณตอ้ งการมอบต่างหเู ปน็ ของขวัญใหผ้ ู้รบั จริงๆ
แต่เขายังไม่ได้เจาะหู ก็แนะนาว่าสามารถเลือกต่างหูแบบหนีบหรืออุปกรณ์เสริมต่างหูหนีบมาประกอบกับต่าง
หูทเ่ี ราซือ้ ไวแ้ ลว้ ก็ได้
ตา่ งหูเปน็ นวัตกรรมอกี รูปแบบหน่งึ ทส่ี ามารถนามาดัดแปลง
ใหเ้ ข้ากับความเช่อื อและวัฒนธรรมประเพณขี องชาวอีสาน
40
วสั ด/ุ อุปกรณ์
1.ดา้ ยวนี ัส
2.ไม้
3.ลกู ปัดหลากสี
4.ตะขอเกีย่ วต่างหแู บบหอ้ ย
5.กาวร้อน
ระยะเวลาในการผลิต 1 – 7 ชั่วโมง
เขม็ กลัด
เข็มกลัด หมายถึง เคร่ืองประดับสาหรับกลัดสไบและเส้ือเป็นต้น นามาติดกับเสื้อผ้าเพ่ือความ
สวยงามและดูภูมิฐานและมีความเช่ือเร่ืองการป้องกันวิญญาณท่ีต้องการไปเกิด ไม่ให้เข้ามาอยู่ในท้องแทนลูก
น้อยของเรา ซ่ึงส่วนใหญ่จะนิยมให้ติดเข็มกลัด เมื่อไปงานศพ ไปโรงพยาบาลหรือไปวัดน่ันเอง รวมถึงเมื่อต้อง
ผา่ นที่สาคญั ๆ ทเี คยมคี นตายบอ่ ยๆ หรือท่วี า่ กนั ว่าเปน็ จุดตวั ตายตวั แทนอกี ดว้ ย
เข็มกลดั เป็นอีกหนง่ึ นวัตกรรมท่ีสามรถนามาประยุกต์เพื่อให้เกิดรายได้ให้กับตัวเองและคนในชุมชน
วสั ดุ/อุปกรณ์
1.ด้ายวีนัส
2.ไม้
3.ลกู ปัดหลากสี
4.เขม็ ซ่อนปลาย
5.กาวรอ้ น
ระยะเวลาในการผลติ 1 – 3 ช่ัวโมง
41
ข้นั ตอนวธิ ีการทานวัตกรรมเครื่องประดบั
1. พนั เสน้ ไหมพรมรอบๆไม้ ทง้ั ๒ ช้ิน บริเวณก่ึงกลางของความยาวไม้
2. แยกไมอ้ อกจากกนั ใหเ้ ป็นรูปกากบาท (X) หรือ สีเ่ หลีย่ มมุมฉาก
3. พนั เสน้ ไหมพรมให้ตดั กบั แนวเดมิ ทพ่ี ันไว้ จนมคี วามหนาเท่าๆกนั
4. พนั เส้นไหมพรมรอบไม้แตล่ ะดา้ น โดยวนจากล่างหมนุ รอบไมข้ นึ้ ข้างบน
5. ทาซ้าแบบเดิม รอบไม้ถัดไป
6. เพม่ิ สสี ันใหธ้ ุง ดว้ ยการใช้เสน้ ไหมพรมหลากสี ตัดเส้นไหมพรมสเี ก่ามัดปมกบั เส้นไหมพรมอกี สใี ห้แนน่
แลว้ พนั วนรอบไม้ไปเร่ือยๆ
7. เปล่ียนสี ทาซ้า จนเกอื บสุดความยาวไม้
8. เมอื่ สุดความยาวไม้ มดั ปมเชือกปดิ ท้ายให้แน่น เป็นเสร็จเรียบรอ้ ย
9. นาชน้ิ ส่วนทที่ าไวม้ าประกอบเข้าด้วยกันทงั้ หมดแลว้ ประดบั ตกแต่งดว้ ยลกู ปัดก็จะไดเ้ ปน็ ปน่ิ ปกั ผมใน
รูปแบบตา่ งๆ
9.1 การประกอบปิ่นปกั ผม เมอื่ เราไดช้ นิ้ ส่วนที่เตรยี มใวเ้ สร็จเรียบรอ้ ยแลว้ ก็จะเปน็ วิธีการ
ประกอบชนิ้ ส่วนตา่ งๆเข้ากนั โดยการนาธงุ ใยแมงมมุ ท่ีเราพันและตกแตง่ ลวดลาย นามา
รอ้ ยติดกาวใหแ้ นน่ ใส่ก้านไมท้ เ่ี ตรยี มใว้ ผึง่ ลมใหแ้ ห้ง
9.2 การประกอบตา่ งหู จะแตกตา่ งกันจากป่ินปักผมเพราะจะมขี นาดทเ่ี ลก็ กวา่ ตามความ
ตอ้ งการของตลาด นอกจากการทาลวดลายและการรอ้ ยลกู ปัดใหส้ วยงามแลว้ ข้ันตอน
ต่อไปคือประกอบชน้ิ สว่ นเข้ากนั โดยใช้กาวรอ้ นและการรอ้ ยตะขอเกยี่ วต่างหูตอ่ กันด้วย
ความประณตี สวยงาม
9.3 การประกอบเข็มกลดั เขม็ กลดั มขี น้ั ตอนวิธกี ารทาเหมือนกนั กับปิน่ ปักผมและต่างหู
ความยากงา่ ยข้ึนอยูก่ บั ลวดลายในแต่ละแบบ ความแตกต่างคอื การใส่เข็มซ่อนปลายตรง
กลางด้านหลงั และตกแต่งให้สวยงามตามความชอบ
42
เร่อื งท่ี 3 นวตั กรรมการทาเคร่อื งตกแตง่
โมบาย หรือ กงั สดาล เปน็ นวัตกรรมบรรพบุรุษไทยมาต้ังแต่สมยั ปู่ ย่า ตา ยาย เป็นภมู ิปญั ญาของคน
ไทยสมัยโบราณ ซงึ่ แตเ่ ดิมมักทาข้นึ เพื่อ บอกทิศทางลม ความแรงของลม และใหค้ วามสวยงามเพลิดเพลนิ ซึง่
โมบายแต่เดิมในสมัยโบราณน้ัน เริ่มมาจากการนาเอาใบไม้ ลูกไม้แห้ง และวัสดุตามธรรมชาติท่ีมีอยู่ใกล้ตัวมา
ผกู มามดั แล้วใชแ้ ขวนรับลม และการนาเอาสิ่งของต่างๆ เหลา่ น้ี มาผูก มาแขวน ตามชายคา หนา้ บ้าน หน้า
ประตู ยงั มวี ัตถปุ ระสงค์เพ่ือ การขับไล่ ภตู ผีปีศาจ วญิ ญาณร้าย และสะเดาะเคราะห์ แกเ้ คล็ดต่างๆ ตามความ
เช่ือซ่ึงอย่คู ูกบั คนไทยมาช้านานแล้ว ซ่ึงตอ่ มาได้รับอทิ ธิพลความเชื่อจากชาวไทยเชื้อสายจีน เก่ยี วกับความเชื่อ
ในเรอื่ งของศาสตร์ฮวงจ้ยุ เข้ามาเกยี่ วขอ้ งมากขึน้ ทาให้มผี นู้ ยิ มแขวนเครื่องราง แก้เคล็ดกันมากข้ึน จงึ ได้มกี าร
คิดค้นวัตถุแขวนในรูปแบบต่างๆ มากขึ้น แตกต่างกันไปตามความเช่ือ ซ่ึงมีความหมายตามศาสตร์ความเชื่อ
ในเรื่องของโชคลาภ เงินทอง วาสนา บารมี และเป็นสิริมงคลมากข้ึน อีกท้ังยังให้ ความสวยงามและมีเสียงท่ี
ไพเราะอกี ด้วย
ธุงโมบาย เป็นส่อื สญั ลกั ษณค์ วามเชือ่ เรอ่ื งโชคลางของชาวอีสาน
โดยเชอื่ กันว่าสามารถใชป้ ้องกันสงิ่ ร้ายๆ หรือสง่ิ ไม่ดที ม่ี องไมเ่ ห็น อยา่ งเช่น
ภูตผีวิญญาณตา่ งๆ ที่จะมารบกวนงานบุญนัน่ เอง ธุงทามาจากเสน้ ดา้ ยทไี่ ด้
มาจากฝา้ ย หรอื เสน้ ไหม ผูกโยงกนั คลา้ ยใยแมงมุม นิยมใช้แขวนตกแตง่
บรเิ วณหนา้ พระประธาน หรือโดยรอบพน้ื ทจ่ี ดั งานพิธีกรรม
ธงุ โมบาย
เป็นธุงทท่ี าจากเส้นด้ายจากเส้นฝา้ ยหรอื เสน้ ไหม ผกู โยงกัน
คลา้ ยใยแมงมุม นยิ มใช้แขวนตกแตง่ ไว้หนา้ พระประธาน หรอื โดยรอบ
ในงานพิธีกรรม ใช้ในการปกป้องค้มุ ครองคล้ายกับตงุ ไชย เป็นทแี่ พร่
หลายในภาคอีสาน การประดบั ธุงใยแมงมุมของวัดไชยศรี งานบญุ
เผวสบ้านสาวะถี และ ประดบั ในงานร่วมสมยั
วัสดุ/อุปกรณ์
1.ดา้ ย หรือไหมพรม ดา้ ยวีนัส
2.ไม้
3.ลกู ปดั หลากสี
4.กาวร้อน
ระยะเวลาในการผลิต 24 – 48 ชว่ั โมง
43
โคมไฟ
โคมไฟ ถือเป็นอีกส่ิงท่ีจาเป็นต่อการนามาตกแต่งบ้านเป็นอย่างมาก เพราะนอกจากจะให้แสงสว่าง
และทาให้บ้านดูโล่งโปร่งขึ้นแล้ว ก็ยังช่วยให้บ้านดูมีสีสันและสวยงามอย่างมีระดับอีกด้วย แต่จาเป็นไหมท่ีเรา
จะต้องซ้ือโคมไฟราคาแพงมาประดับเสมอไป เพราะเราสามารถ DIY โคมไฟขึ้นใหม่ด้วยตัวเองได้ ในงบสุด
ประหยดั แถมได้ไอเดยี เก๋ๆ ทจ่ี ะช่วยสรา้ งความแปลกใหม่อยา่ งมีสไตล์ใหก้ ับบา้ นอกี ด้วย และในบทความนี้ เรา
ก็มี 15 ไอเดยี ประดิษฐโ์ คมไฟแบบ DIY เพอื่ การประดษิ ฐ์โคมไฟแบบง่ายๆ มาฝากกนั
การนาธุงมาทาโคมไฟ เพื่อเพ่ิมมูลค่าของวัสดุ และธุงยังเป็นสัญลักษณ์ความเชื่อโชคลางของชาว
อีสานธุงใยแมงมุม เป็นตุงที่ทาจากเส้นด้ายจากเส้นฝ้ายหรือเส้นไหมผูกโยงกันคล้ายใยแมงมุม นิยมใช้แขวน
ตกแต่งไว้หน้าพระประธาน หรือโดยรอบในงานพิธีกรรม ในการปกป้องคุ้มครองคล้ายกับตุงไชย ซ่ึงเป็นท่ี
แพร่หลายในภาคอีสาน เช่น การประดับธุงใยแมงมุมของวัดไชยศรี งานบุญผะเหวดบ้านสาวะถี และการ
ประดบั ในงานร่วมสมัย
วสั ด/ุ อปุ กรณ์
1.ดา้ ย หรือไหมพรม ด้ายวีนสั
2.ไม้
3.ลกู ปัดหลากสี
4.กาวร้อน
5.สายไฟ/หลอดไฟ
ระยะเวลาในการผลิต 3 – 6 ชวั่ โมง
44
ร่ม
ร่ม เป็นเครอ่ื งใชส้ าหรับกันแดดกนั ฝน มีด้ามยาวสาหรบั ถอื และสว่ นบนเปน็ แผ่นโคง้ ขอบกลมเหมือน
ดอกเห็ด ทาจากกระดาษหรือผ้า ลักษณะเฉพาะที่สาคัญของร่มคือ สามารถหุบเก็บได้ จึงพกพาได้
สะดวก ลักษณะนามว่า คนั
การนารูปแบบการทาธุงมาประยุกต์ใช้ในรูปแบบของ ร่ม เป็นการทาเพ่ือประดับตกแต่งสถานท่ีต่างๆ
ใหเ้ กดิ ความสวยงาม มองดแู ล้วสบายตา
วัสดุ/อปุ กรณ์
1.ดา้ ย หรอื ไหมพรม
2.ไม้
3.กาวรอ้ น
ระยะเวลาในการผลิต 6 – 12 ช่ัวโมง
ขน้ั ตอนวธิ กี ารทานวตั กรรมเคร่ืองตกแต่ง
1. พนั เส้นไหมพรมรอบๆไม้ ท้งั 2 ชน้ิ 4 ชิ้น 6ชนิ้ บรเิ วณกึ่งกลางของความยาวไม้
2. แยกไม้ออกจากกนั ใหเ้ ปน็ รูปกากบาท (X) หรือ ส่ีเหล่ียมมมุ ฉาก หรอื ทับซ้อนอยู่ในแนวทะแยง
3. พันเส้นไหมพรมให้ตดั กบั แนวเดมิ ทีพ่ นั ไว้ จนมคี วามหนาเทา่ ๆกัน
4. พันเสน้ ไหมพรมรอบไม้แต่ละด้าน โดยวนจากลา่ งหมุนรอบไม้ขน้ึ ขา้ งบน
5. ทาซ้าแบบเดมิ รอบไม้ถดั ไป
6. เพม่ิ สีสันใหธ้ งุ ดว้ ยการใชเ้ สน้ ไหมพรมหลากสี ตดั เส้นไหมพรมสีเกา่ มัดปมกับเสน้ ไหมพรมอีกสใี ห้แน่น
แลว้ พันวนรอบไมไ้ ปเรอื่ ยๆ
7. เปล่ยี นสี ทาซ้า จนเกอื บสุดความยาวไม้
8. เมือ่ สุดความยาวไม้ มดั ปมเชอื กปิดท้ายให้แน่น เปน็ เสรจ็ เรียบรอ้ ย
9. นาช้ินสว่ นทีท่ าไว้มาประกอบเข้าด้วยกนั ทงั้ หมดแล้วประดับตกแต่งดว้ ยลูกปัดก็จะได้เป็นป่ินปกั ผมใน
รปู แบบตา่ งๆ
9.1 การประกอบธุงโมบาย เมื่อเราได้ช้ินส่วนที่เตรียมใว้เสร็จเรียบร้อยแล้ว ก็จะเป็นวิธีการ ประกอบชิ้นส่วน
ต่างๆเข้ากัน โดยการนาธุงใยแมงมุมที่เราพันและตกแต่งลวดลาย นามาร้อยติดกาวให้แน่น ร้อยใส่ลูกปัดและ
อุปกรณ์ตกแต่งใหส้ วยงาม
9.2 การประกอบโคมไฟ เมื่อได้ช้ินส่วนตามที่ต้องการ ข้ันตอนตอ่ ไปคือการประกอบใหเ้ ป็น
รปู ร่างตามที่เราต้องการ ท้ังแบบสเี หลยี่ ม สามเหล่ยี มประกอบช้นิ ส่วนเข้ากนั และร้อย ลูกปดั ตามความ
สวยงาม
9.3 การประกอบร่ม ร่มเป็นวัสดุตกแต่งที่ไม่ต้องประกอบอไรมากเพียงแต่ตกแต่งลวดลายให้ มีความ
สวยงาม มองแล้วสบาย
45
บทที่ 5
การดแู ลและเกบ็ รักษาธุงอีสาน
สาระสาคัญ
ศึกษาเก่ียวกับคุณสมบัติของวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการทาธุงอีสาน สถานที่และขั้นตอนในการเก็บรักษา
เน่ืองจากธุงอีสานไม่ได้นามาใช้ตลอดปี แต่จะถูกใช้เมื่อมีงานบุญประเพณีภายในวดั หรืองานบญุ ประเพณตี า่ งๆ
ของชุมชน หรือการขอหยิบยืมจากวัด/ชุมชนในพ้ืนท่ีใกล้เคียง การนาออกไปใช้ในแต่ละคร้ัง มักจะถูกรื้อค้น
อย่าง ไม่ถูกวิธีทั้งน้ีได้สร้างความเสียหาย และเกิดการชารุดข้ึน การเก็บรักษาธุงอีสานจึงมีความสาคัญอย่าง
ย่ิงอกี ทัง้ เปน็ การเพมิ่ อายุการใช้งานให้ยาวนานมากยิง่ ขึ้น
ตวั ชี้วัด
1. อธบิ ายเก่ียวกบั คุณสมบตั ิของวัสดอุ ุปกรณท์ ี่ใชใ้ นการทาธุงอสี านได้
2. อธบิ ายสถานท่ีและขนั้ ตอนในการเก็บรักษาธงุ อสี านได้
ขอบข่ายเนอื้ หา
เรื่องท่ี 1 คุณสมบตั ิของวสั ดุอุปกรณท์ ่ใี ชใ้ นการทาธุงอีสาน
เรือ่ งที่ 2 สถานทแ่ี ละข้นั ตอนในการเก็บรักษาธุงอสี าน
จานวนชั่วโมง
จานวน 10 ชว่ั โมง
ส่ือการเรียนรู้
1. หนงั สือเรียน
2. แหลง่ เรยี นร/ู้ ภูมิปัญญา
3. ส่ือการเรยี นร้อู อนไลน์
46
เรื่องที่ 1 คุณสมบตั ิของวสั ดุอุปกรณท์ ีใ่ ชใ้ นการทาธุงอสี าน
ธุงใยแมงมุม ทาด้วยเส้นด้ายหรอื เส้นไหมผกู คล้ายใยแมงมุม ทั้งประเภทสี่ด้านหรือหกด้าน ทั้งแบบ 3
มิติ หรือ 4 มิติ ทามาจากเส้นไหมหรือเส้นด้ายท่ีมีหลากหลายสีสันมัดกับไม้ไผ่ท่ีเหลาแล้ว แต่จะกาหนดขนาด
มัดและม้วนจนเป็นวงรอบคล้ายใยแมงมุมท่ีโยงไปโยงมา เม่ือเสร็จแล้วก็นามาร้อยเข้าด้วยกันกลายเป็นสาย
เดียวกันหรือตามรูปแบบต่างๆ ที่ออกแบบให้สวยงาม ซึ่งเส้นไหมหรือเส้นด้ายท่ีใช้ก็มีความแตกต่างกันไป โดย
เสน้ ไหมแบ่งออกเป็นประเภทตา่ งๆ ดังนี้
ไหมพรมแบ่งออกตามวัสดุท่ใี ช้เป็น 2 ประเภท คือ
1.ไหมธรรมชาติ
2.ไหมสังเคราะห์
1.ไหมธรรมชาติแบ่งเปน็ 2 ประเภท คอื
1.1 ไหมทที่ าจากพืช ได้แก่
- คอตตอน (Cotton) ผลติ มาจากเส้นใยฝ้ายสามารถทาความสะอาดล้างไดบ้ อ่ ย
- ลนิ ิน (Linen) เสน้ ไหมท่ที าจากตน้ ลินิน จะมีความทนทาน ง่ายต่อการดูแลรกั ษา
- ไผ่ (Bamboo) เร่ิมนามาใช้ไมน่ าน แตไ่ ผ่มีข้อเสยี คือไม่ทนนา้
1.2 ไหมทที่ าจากสตั ว์ ไดแ้ ก่
-วลู (Wool) เส้นไหมที่ทาจากขนสัตว์ เช่น ขนแกะ ขนแพะ เปน็ ต้น ไหมวลู มคี วามทนทาน
-โมแฮร์ (Mohair) ทามาจากขนแพะแองโกล่า โมแฮร์มักผสมกบั วลู
-แคชเมียร์ (Cashmere) ทาจากขนแพะ แคชเมียรม์ ลี ักษณะนุ่ม หรหู รา และราคาสงู ท่สี ุด
2. ไหมสังเคราะห์
-ไนลอน (Nylon) เปน็ ไหมสังเคราะหท์ ่ีแข็งแรงทนทานที่สุด มักนาไปผสมกับไหมประเภทอ่นื และทน
นา้ ไดด้ ี
-อคลิ คิ (Acylic) เปน็ ไหมทมี่ ีน้าหนกั เบา แข็งแรง ราคาถกู
-โพลีเอสเตอร์ (Polyester) มีลกั ษณะทนทาน มกั นาไปผสมกับไหมชนดิ อ่นื ๆ
และไหมท่นี ิยมนามาทาเปน็ ธุง สว่ นใหญ่จะเปน็ ไหมสังเคราะห์ ไนลอน (Nylon) เพราะมีความแขง็ แรงทนทาน
และราคาถกู สามารถหาซื้อไดท้ ั่วไป สามารถล้างทาความสะอาดได้ ไม้ท่ีใช้เป็นโครงสร้างของธงุ นยิ มใชไ้ ม้ไผ่
เพราะมีความทนทานมีราคาถูกและหาได้ง่ายในทอ้ งถน่ิ
47
เรอื่ งที่ 2 สถานท่ีและข้ันตอนในการเกบ็ รกั ษาธุงอีสาน
สถานที่ในการเกบ็ รกั ษาจาเปน็ อย่างยง่ิ ท่ีจะต้องมีสถานท่ที ี่เหมาะสม เนอ่ื งจากลักษณะของธุงอีสานใน
ท้องถ่ิน มีขนาดท่ีหลากหลายแต่ละชนิด แต่ละแบบ จึงมีความจาเป็นอย่างย่ิงท่ีจะต้องมีสถานท่ีในการเก็บ
รักษาท่ีเหมาะสม จะต้องเป็นลักษณะที่มีอาคารสถานท่ีโล่ง มีพ้ืนที่กว้างขวางเหมาะแก่การเก็บรักษา การดูแล
ก็จะมคี วามงา่ ยขึ้น ทาใหธ้ ุงคงทนถาวรได้ใช้นานข้ึน ดงั นี้
1. ลักษณะของอาคารและอุณหภูมใิ นการเกบ็ รักษา
ในการเก็บรักษาธุงอีสาน อีกอย่างหนึ่งท่ีต้องคานึงถึงให้มากที่สุดคือลักษณะของอาคารและอุณหภูมิ
ในการเก็บรักษา ซึ่งหากเราเก็บรักษาในอาคารท่ีมีลักษณะของอุณหภูมิที่ไม่เหมาะสม จะทาให้ธุงท่ีมีความ
สวยงาม ท้ังในเรื่องของสีสัน ลวดลาย และวัสดุที่ใช้ในการทาธุงอีสาน มีอายุการใช้งานที่ลดลง ทาให้
เสื่อมสภาพได้เร็วข้ึน ดังนั้นการเก็บรักษาในอาคารจึงจาเป็นต้องคานึงถึงลักษณะของการถ่ายเทอากาศ
อุณหภูมิ แสงที่ส่องเข้าไปในอาคารห้องเก็บธุงให้มีความเหมาะสม ต้องไม่มีแสงแดดมากเกินไป ซ่ึงจะทาให้สี
ของธุงซีดได้ง่ายขึ้น ความชื้น จะต้องมีความเหมาะสมไม่มีความช้นื มากเกินไปเพราะจะทาให้วสั ดุท้ังเรอื่ งของ
เส้นดา้ ย ไม้ท่ีนามาเปน็ โครงสร้างเกดิ เชอ้ื ราทาให้ดไู ม่สวยงาม และยงั ทาใหไ้ ม้ทีน่ ามาทาธงุ อีสานมีอายุทส่ี ้ันลง
2. รูปแบบการเกบ็ รกั ษา
ธุงอีสาน ไม่ได้นามาใช้ตลอดปี แต่จะถูกใช้เม่ือมีงานบุญประเพณีภายในวัด หรืองานบุญประเพณีของ
บุคคลในชุมชน หรือการขอหยิบยืมจากวัด/ชมุ ชนในพื้นที่ใกล้เคียง ดังนั้น ธุงจึงถูกใช้เป็นช่วงๆ และต้องนามา
จัดเก็บไว้เป็นช่วงๆ เช่นเดียวกัน สาหรับพฤติกรรมการนาธุงออกไปใช้ในแต่ละคร้ัง มักจะถูกรื้อค้นอย่างไม่ถูก
วิธีท้ังนี้ได้สร้างความเสยี หาย และการชารุดเกิดขึ้นกับธงุ ซ่ึงธุงเป็นงานท่ีมีความบอบบางชารุดได้ง่าย หากมอง
ทางด้านราคาและต้นทุนในการผลิตมีราคาค่อนข้างสูง คือ ตั้งแต่ 500 – 3,000 บาท ทั้งนี้ราคาจะสัมพันธ์กับ
ความประณีตและเทคนิคในการทา ส่วนธุงอื่นๆ ราคาก็จะแตกต่างไปตามความยาก – ง่ายในการผลิต ด้วย
ราคาของธุงที่มีจาหน่ายและความศรัทธาของผู้ถวาย ธุง จึงเป็นวัตถุ สิ่งของที่ไม่อาจประเมินราคาได้ การเก็บ
รกั ษาธุงจงึ มีความสาคญั อยา่ งย่งิ
กำรเก็บรักษำโดยทั่วไปเป็นกำรเกบ็ รกั ษำแบบงำ่ ยตำมวิถชี ีวิตของชมุ ชน
48
การเก็บรกั ษาธงุ อสี านมขี ้นั ตอน ดังน้ี
1. ก่อนจดั เก็บควรแยกประเภทของธุงอสี านออกเปน็ ประเภท และขนาด เชน่ ธงุ ใยแมงมมุ 3 มิติ ธงุ
ใยแมงมุม 4 มติ ิ ธงุ ลายจนั ทร์กระจ่าง เป็นต้น
2. ตรวจสอบธุงว่าเกิดการชารุดเสียหายหรือไม่ ถา้ เกิดการชารุดเสียหายต้องซ่อมแซมดูแลรักษาให้อยู่
ในสภาพดีเสียก่อน และตอ้ งทาความสะอาดธงุ ให้อยใู่ นสภาพพร้อมใช้งาน
3. ในการเก็บรักษาต้องห่อให้มิดชิดเพ่ือป้องกันมอด แมลงกัดแทะ โดยแยกห่อทีละสายๆ เพื่อง่ายต่อ
การนามาใชง้ าน
4. จดั เกบ็ ไว้ในกลอ่ งหรือตทู้ ่ีมคี วามมิดชิดปลอดภัย
5. ควรมีข้อมูลเก่ียวกับธุงแต่ละสายเพื่อป้องกันการรื้อค้นก่อนนาไปใช้งาน และมีผู้รับผิดชอบดูแลใน
การจดั เกบ็ ไม่ว่าจะเปน็ ชุมชน หรอื หนว่ ยงานต่างๆ ที่เกี่ยวขอ้ งอย่างชัดเจน
ธุง ลายจนั ทรก์ ระจา่ ง
สี หลากสี
ขนาด กลาง
ผรู้ บั ผิดชอบ กศน.อาเภอกมลาไสย
ตวั อย่ำงข้อมูลในกำรจดั เก็บ
49
บทที่ 6
การจดั จาหนา่ ยและการวางแผนดา้ นการตลาด
สาระสาคัญ
ศกึ ษาเก่ียวกับการจัดจาหน่ายและวางแผนดา้ นการตลาด ประกอบดว้ ย หลกั การตลาดและการ
วางแผนดา้ นการตลาด ตลาดสนิ ค้าหัตถกรรม กลยุทธก์ ารตลาดออนไลน์ และการทาบญั ชีรายรบั -รายจา่ ย
ตัวชีว้ ัด
4. ผ้เู รยี นอธิบายหลกั การตลาดและการวางแผนดา้ นการตลาดได้
5. ผู้เรยี นอธบิ ายตลาดสนิ ค้าหัตถกรรมได้
6. ผู้เรียนอธบิ ายกลยุทธ์การตลาดออนไลนไ์ ด้
7. ผู้เรียนมีความรูแ้ ละสามารถการทาบัญชรี ายรับ-รายจา่ ย
ขอบข่ายเนอื้ หา
เรอ่ื งที่ 1 หลักการตลาด
เรือ่ งที่ 2 ตลาดสนิ ค้าหัตถกรรม
เรื่องที่ 3 กลยุทธ์การตลาดออนไลน์
เรื่องท่ี 4 การทาบญั ชีรายรับ-รายจา่ ย
จานวนช่ัวโมง
จานวน 15 ช่วั โมง
สอ่ื การเรยี นรู้
1. หนงั สือเรยี น
2. แหลง่ เรยี นรู้ กลุม่ อาชพี /ศนู ย์ฝึกอาชีพชุมชน
3. สือ่ ออนไลน์
50