The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานการสำรวจทรัพยากรป่าไม้

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Chantarat Somkane, 2020-11-17 04:32:18

อุทยานแห่งชาติไทรโยค

รายงานการสำรวจทรัพยากรป่าไม้

รายงานการสารวจทรพั ยากรป่าไม้
อุทยานแห่งชาติไทรโยค

กลมุ่ สำรวจทรัพยำกรป่ ำไม้ สว่ นสำรวจและวิเครำะห์ทรัพยำกรป่ ำไม้
สำนกั ฟื น้ ฟแู ละพฒั นำพืน้ ท่อี นรุ ักษ์

กรมอทุ ยำนแห่งชำติ สตั ว์ป่ ำ และพนั ธ์ุพืช

รายงานการสารวจทรพั ยากรป่าไม้

อุทยานแหง่ ชาติไทรโยค

สว่ นสารวจและวิเคราะหท์ รัพยากรป่าไม้ สานักฟืน้ ฟแู ละพัฒนาพ้นื ทอี่ นรุ กั ษ์
กรมอุทยานแหง่ ชาติ สตั วป์ า่ และพันธพ์ุ ชื
พ.ศ. 2557

บทสรุปสาหรบั ผู้บริหาร

จากสถานการณ์ป่าไม้ในปัจจุบันพบว่า พื้นที่ป่าไม้ในประเทศเหลืออยู่เพียงประมาณร้อยละ
33.56 ของพื้นท่ีประเทศ การดาเนินการสารวจทรัพยากรป่าไม้จึงเป็นอีกทางหนึ่งที่ทาให้ทราบถึงสถานภาพ
และศักยภาพของทรพั ยากร ตลอดจนปัจจัยทางเศรษฐกิจและสังคมที่มีผลต่อการบุกรุกทาลายป่า เพ่ือนามาใช้
ในการดาเนินการตามภาระรับผิดชอบต่อไป ซ่ึงกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์ุพืช ได้ดาเนินการ
มาอย่างต่อเนอ่ื ง

ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์ุพืช ได้จัดสรรงบประมาณ
การดาเนนิ งานและกาหนดจดุ สารวจเปา้ หมายในพื้นท่ีอุทยานแห่งชาติไทรโยค ซ่ึงมีเน้ือที่ 595,980.62 ไร่ หรือ
ประมาณ 953.56 ตารางกิโลเมตร (พ้ืนที่ได้จากการแปลภาพถ่ายทางอากาศ) ครอบคลุมท้องที่อาเภอทองผาภูมิ
และอาเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี ซึ่งอยู่ในความดูแลรับผิดชอบของสานักบริหารพื้นท่ีอนุรักษ์ ที่ 3 (บ้านโป่ง)
และกลุ่มสารวจทรัพยากรป่าไม้ สานักฟ้ืนฟูและพัฒนาพื้นท่ีอนุรักษ์ ดาเนินการได้ท้ังส้ิน 78 แปลง สาหรับ
การวางแปลงตัวอย่างถาวร (Permanent Sample Plot) ที่มีขนาดคงท่ี รูปวงกลม 3 วง ซ้อนกัน คือ วงกลม
รัศมี 3.99, 12.62, 17.84 เมตร ตามลาดบั และมวี งกลมขนาดรัศมี 0.631 เมตร อยตู่ ามทิศหลกั ทั้ง 4 ทศิ

ผลการสารวจและวเิ คราะห์ข้อมูล พบว่า มีชนิดป่าหรือลักษณะการใช้ประโยชน์ท่ีดินที่สารวจพบ
ท้ังหมด 5 ประเภท ได้แก่ ป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง สวนป่า และพื้นที่เกษตร โดยป่าเบญจพรรณ
พบมากทสี่ ุด คิดเป็นรอ้ ยละ 53.58 ของพื้นที่ท้ังหมด รองลงมา คือ ป่าดิบแล้ง คิดเป็นร้อยละ 43.56 ของพื้นที่
ท้ังหมด พ้ืนที่เกษตร คิดเป็นร้อยละ 1.42 ของพื้นท่ีทั้งหมด สวนป่า คิดเป็นร้อยละ 0.85 ของพื้นที่ทั้งหมด และ
ปา่ เตง็ รงั คดิ เป็นรอ้ ยละ 0.31 ของพ้ืนท่ที ้ังหมด อีกทง้ั ยงั มลี ักษณะการใช้ประโยชน์ท่ีดินประเภท ทุ่งหญ้า ที่อยู่
อาศัย และแหล่งน้า คิดเป็นร้อยละ 1.82,0.79 และ 0.01 ตามลาดับ ของพื้นที่ท้ังหมด (ซ่ึงได้จากการ แปลภาพถ่าย
ทางอากาศปี พ.ศ. 2545) สาหรบั พรรณไม้รวมทุกชนดิ ป่าพบทง้ั ส้นิ 47 วงศ์ มีมากกวา่ 245 ชนิด จานวน 33,859,000ต้น
ปริมาตรไม้รวมท้ังหมด 11,437,459.18 ลูกบาศก์เมตร ความหนาแน่นของไม้เฉล่ีย 50 ต้นต่อไร่ และปริมาตรไม้
เฉล่ยี 16.53 ลกู บาศกเ์ มตรตอ่ ไร่ เม่อื เรียงลาดบั ตามปรมิ าตรจากมากสดุ ไปหาน้อยสดุ 10 อันดับแรก คือ เสลาเปลือกบาง
(Lagerstroemia venusta) แดง (Xylia xylocarpa) ยางแดง (Dipterocarpus turbinatus) จุมปี (Michelia
baillonii) ลาพูป่า (Duabanga grandiflora) ข่อยหนาม (Streblus ilicifolius) ประยงค์ป่า (Aglaia odoratissima)
มังตาน (Schima wallichii) ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) และขี้อ้าย (Terminalia
triptera) ตามลาดบั ไมย้ นื ต้นพบปรมิ าณมากทส่ี ุดในป่าดิบแลง้ รองลงมา คือป่าเบญจพรรณ

ลูกไม้ (Sapling) ที่พบในแปลงสารวจมีมากกว่า 95 ชนิด รวมจานวนท้ังหมด 117,232,555 ต้น
ซ่ึงเมื่อเรียงลาดับจากจานวนต้นท่ีพบมากสุดไปหาน้อยสุด 10 อันดับแรก ได้แก่ ข่อยหนาม เติม (Bischofia
javensis) มะม่วงป่า (Mangifera caloneura) ยอป่า (Morinda coreia) ขางปอย (Acalypha kerrii) เปล้าเลือด
(Croton robustus) แดง คาแสด (Mallotus philippensis) ลาย (Microcos paniculata) และ คอแลน (Xerospermum
noronhianum) ตามลาดบั ชนิดปา่ ที่สารวจพบจานวนลูกไม้มากทส่ี ดุ คอื ป่าดบิ แลง้ รองลงมา คือ ปา่ เบญจพรรณ

กล้าไม้ (Seeding) ท่ีพบในแปลงสารวจมีมากกว่า 100 ชนิด รวมจานวนทั้งหมด 1,801,090,620 ต้น
ซ่ึงเม่อื เรยี งลาดบั จากจานวนตน้ ทพ่ี บมากสดุ ไปหานอ้ ยสดุ 10 อันดบั แรก ได้แก่ ชงโค (Bauhinia purpurea)

การสารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พน้ื ทอ่ี ุทยานแห่งชาตไิ ทรโยค

พลองกินลูก (Memecylon ovatum) ข่อยหนาม คันหามเสือ (Aralia montana) ข่อย (Streblus asper)
สาโรง (Sterculia foetida) มะคังดง (Ostodes paniculata) เปล้าใหญ่ (Croton roxburghii) และผีเสื้อหลวง
(Casearia grewiifolia) ตามลาดับ ชนิดป่าท่ีสารวจพบจานวนกล้าไม้มากที่สุด คือ ป่าดิบแล้ง รองลงมา คือ
ป่าเบญจพรรณ

ไผ่ (Bamboo) ท่ีพบในแปลงสารวจ มีทั้งหมด 10 ชนิด มีจานวน 26,773,283 กอ รวมท้ังสิ้น
จานวน 351,011,190 ลา ได้แก่ ไผ่ผากมัน (Gigantochloa hasskarliana) ไผ่ไร่ (Gigantochloa albociliata)
ไผ่ซาง (Dendrocalamus strictus) ไผ่รวก (Thyrsostachys siamensis) ไผ่บงดา (Bambusa tulda) ไผ่ซางนวล
(Dendrocalamus membranaceus) ไผบ่ ง (Bambusa nutans) ไผ่ข้าวหลาม (Cephalostachyum pergracile)
ไผ่ป่า (Bambusa bambos) และไผ่เฮียะ (Cephalostachyum virgatum) ซึ่งพบได้ใน ป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ
ปา่ เตง็ รัง และ สวนป่า

ส่วนปริมาณหวายเส้นตั้ง พบเพียงในป่าเบญจพรรณเท่านั้น โดยชนิดหวายที่สารวจพบ มีชนิดเดียว
คือ หวายโป่ง (Calamus latifolius) และตอไม้ท่ีสารวจพบ มีมากกว่า 16 ชนิด รวมจานวนทั้งส้ิน 908,054 ตอ
มคี ่าความหนาแน่นของตอไมเ้ ฉลย่ี 1.52 ตอ/ไร่ โดยจานวนตอมากท่ีสุดในปา่ เบญจพรรณ มีจานวน 464,485 ตอ
รองลงมา คือ ป่าดิบแลง้ มจี านวน 415,391 ตอ สวนป่า มจี านวน 16,209 ตอ และป่าเต็งรัง มีจานวน 11,969 ตอ
ตามลาดบั

ส่วนผลการวิเคราะห์ข้อมูลสังคมพชื เชิงปริมาณ (Quantitative Value) พบว่า ชนิดไม้ที่มีความถ่ี
(Frequency) มากท่ีสุด คือ แดง รองลงมา คือ แคหางค่าง (Fernandoa adenophylla) ชนิดไม้ที่มีความหนาแน่น
ของพชื พรรณ (Density) มากที่สุด คือ แดง รองลงมา คือ กระพี้จั่น ชนิดไม้ที่มีความเด่น (Dominance) มากที่สุด
คอื แดง รองลงมา คือ ตะแบกเปลอื กบาง ชนิดไมท้ ี่มีคา่ ความสาคัญทางนิเวศวิทยา (Importance Value Index : IVI)
แยกตามชนิดปา่ ไดแ้ ก่ ปา่ ดิบแล้ง มากท่ีสุด คือ ข่อยหนาม ป่าเบญจพรรณ มากที่สุด คือ แดง ป่าเต็งรัง มากที่สุด
คอื เต็ง (Shorea obtusa) และ สวนป่า มากท่ีสุด คือ สัก (Tectona grandis) ข้อมูลเก่ียวกับความหลากหลาย
ทางชีวภาพ พบว่า ชนิดป่าหรือลักษณะการใช้ประโยชน์ท่ีดิน ท่ีมีความหลากหลายของชนิดพันธุ์ไม้ (Species
Diversity) มากทส่ี ดุ คือ ป่าเบญจพรรณ รองลงมา คอื ป่าดบิ แล้ง ซง่ึ ชนดิ ป่าหรือลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดิน
ทมี่ ีความมากมายของชนดิ พนั ธ์ุไม้ (Species Richness) มากทสี่ ุด คือ ปา่ เบญจพรรณ รองลงมา คือ ป่าดิบแล้ง
และชนิดป่าหรือลักษณะการใช้ประโยชน์ท่ีดินที่มีความสม่าเสมอของชนิดพันธุ์ไม้ (Species Evenness) มากที่สุด
คอื ป่าเบญจพรรณ รองลงมา คอื ป่าดบิ แล้ง

ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูลโครงสรา้ งป่าในทุกชนิดป่าหรือทุกลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดิน พบว่า มีไม้ยืนต้น
ขนาดเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) ระหว่าง 15-45 เซนติเมตร จานวน 20,742,078 ต้น คิดเป็นร้อยละ 61.26
ของไม้ทง้ั หมด รองลงมา คือ ไม้ยืนต้นขนาดเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) อยู่ระหว่าง >45-100 เซนติเมตร จานวน
8,616,152 ต้น คิดเป็นร้อยละ 25.45 ของไม้ท้ังหมด และไม้ยืนต้นขนาดเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) มากกว่า
100 เซนติเมตรขนึ้ ไป จานวน 4,500,769 ตน้ คดิ เปน็ ร้อยละ 13.29 ของไม้ทั้งหมด

การสารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พน้ื ทอ่ี ทุ ยานแห่งชาตไิ ทรโยค

จากผลการดาเนนิ งานดังกล่าว ทาให้ทราบข้อมูลพ้ืนฐานเก่ียวกับทรัพยากรป่าไม้ โดยเฉพาะด้าน
กาลังผลิตและความหลากหลายของพันธ์ุพืชในพื้นท่ีต่างๆ ของอุทยานแห่งชาติไทรโยค อีกท้ังยังเป็นแนวทาง
ในการสารวจทรพั ยากรปา่ ไม้ เกย่ี วกับรปู แบบ วิธีการสารวจ และการวิเคราะห์ข้อมูลอย่างเป็นระบบและแบบแผน
เพ่ือเป็นแนวทางในการติดตามการเปล่ียนแปลงของทรัพยากรป่าไม้ในพ้ืนท่ีอุทยานแห่งชาติไทรโยค ต่อไป

การสารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พน้ื ทอ่ี ทุ ยานแหง่ ชาตไิ ทรโยค

สารบญั i

สารบัญ หน้า
สารบัญตาราง i
iii
สารบญั ภาพ
iv
คานา
วัตถปุ ระสงค์ 1
เป้าหมายการดาเนินการ 2
ข้อมูลทั่วไปอทุ ยานแหง่ ชาติไทรโยค 2
3
ประวตั คิ วามเป็นมา 3
ทตี่ ้งั และอาณาเขต 4
การเดนิ ทางและเส้นทางคมนาคม 4
ลักษณะภมู ิประเทศ 5
ลกั ษณะภูมิอากาศ 6
จดุ เดน่ ทีน่ ่าสนใจ 7
รปู แบบและวิธีการสารวจทรัพยากรป่าไม้ 10
การสมุ่ ตวั อยา่ ง (Sampling Design) 10
รปู รา่ งและขนาดของแปลงตวั อย่าง (Plot Design) 11
ขนาดของแปลงตัวอยา่ งและข้อมลู ท่ีทาการสารวจ 11
การวเิ คราะห์ข้อมูลการสารวจทรัพยากรป่าไม้ 12
1. การคานวณเน้ือทป่ี ่าและปรมิ าณไมท้ ้งั หมดของพื้นทอี่ นรุ ักษ์ 12
2. การคานวณปริมาตรไม้ 12
3. ข้อมลู ทัว่ ไป 13
4. การวิเคราะห์ข้อมูลองคป์ ระกอบของหมู่ไม้ 13
5. การวิเคราะห์ข้อมูลชนดิ และปริมาณของลูกไม้ (Sapling) และกลา้ ไม้ (Seeding) 14
6. การวเิ คราะห์ข้อมลู ชนดิ และปรมิ าณของไม้ไผ่ หวาย 14
7. การวิเคราะห์ข้อมลู สงั คมพืช 14
8. วเิ คราะหข์ อ้ มลู ความหลากหลายทางชีวภาพ 15

สารบัญ (ต่อ) ii

ผลการสารวจและวิเคราะห์ข้อมูลทรัพยากรปา่ ไม้ หนา้
1. การวางแปลงตวั อย่าง 17
2. พ้นื ที่ป่าไม้ 17
3. ปรมิ าณไม้ 18
4. ชนดิ พนั ธไุ์ ม้ 26
5. สังคมพืช 31
6. ความหลากหลายทางชีวภาพ 40
45
สรปุ ผลการสารวจและวเิ คราะห์ข้อมูลทรพั ยากรป่าไม้ 46
ปัญหาและอุปสรรค 50
ข้อเสนอแนะ 50
เอกสารอ้างอิง 51
ภาคผนวก 52

การสารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พน้ื ทอ่ี ทุ ยานแห่งชาตไิ ทรโยค

iii

สารบัญตาราง หน้า
11
ตารางที่ 19
1 ขนาดของแปลงตวั อย่างและข้อมูลทท่ี าการสารวจ
2 พน้ื ทป่ี า่ ไม้จาแนกตามลักษณะการใช้ประโยชนท์ ่ีดนิ ในอุทยานแหง่ ชาติไทรโยค 26
(Area by Landuse Type)
3 ปรมิ าณไมท้ ้ังหมดจาแนกตามลักษณะการใช้ประโยชน์ท่ดี นิ ในอทุ ยานแห่งชาตไิ ทรโยค 28
(Volume by Landuse Type)
4 ความหนาแน่นและปรมิ าตรไม้ต่อหนว่ ยพน้ื ที่จาแนกตามลักษณะการใชป้ ระโยชนท์ ่ีดิน 29
ในอุทยานแหง่ ชาติไทรโยค (Density and Volume per Area by Landuse Type) 30
5 การกระจายขนาดความโตของไมท้ ั้งหมดในอทุ ยานแหง่ ชาติไทรโยค 33
6 ชนั้ เรอื นยอดจาแนกตามชว่ งชั้นความสูงของอุทยานแหง่ ชาตไิ ทรโยค 34
7 ปรมิ าณไมท้ ง้ั หมดของอทุ ยานแหง่ ชาตไิ ทรโยค 35
8 ปริมาณไม้ในป่าดบิ แล้งของอุทยานแห่งชาติไทรโยค 36
9 ปริมาณไม้ในปา่ เบญจพรรณของอุทยานแห่งชาติไทรโยค 36
10 ปริมาณไม้ในปา่ เต็งรงั ของอุทยานแหง่ ชาติไทรโยค 36
11 ปรมิ าณไม้ในสวนป่าของอทุ ยานแหง่ ชาตไิ ทรโยค 37
12 ปรมิ าณไม้ในพ้ืนที่เกษตรของอทุ ยานแห่งชาติไทรโยค 38
13 ชนดิ และปรมิ าณของลกู ไม้ (Sapling) ทพ่ี บในอทุ ยานแหง่ ชาตไิ ทรโยค 39
14 ชนิดและปรมิ าณของกลา้ ไม้ (Seedling) ทพ่ี บในอุทยานแหง่ ชาติไทรโยค 39
15 ชนิดและปรมิ าณไม้ไผ่ หวาย และไมก้ อ ท่พี บในอุทยานแห่งชาตไิ ทรโยค 41
16 ชนดิ และปรมิ าณของตอไม้ (Stump) ทพ่ี บในอุทยานแหง่ ชาตไิ ทรโยค
17 ดัชนคี วามสาคัญของชนิดไม้ (Importance Value Index : IVI) ของป่าดบิ แล้ง 42
ในอทุ ยานแหง่ ชาติไทรโยค
18 ดชั นคี วามสาคญั ของชนิดไม้ (Importance Value Index : IVI) ของป่าเบญจพรรณ 43
ในอทุ ยานแหง่ ชาติไทรโยค
19 ดชั นคี วามสาคัญของชนิดไม้ (Importance Value Index : IVI) ของป่าเตง็ รงั 43
ในอทุ ยานแห่งชาตไิ ทรโยค
20 ดัชนคี วามสาคัญของชนิดไม้ (Importance Value Index : IVI) ของสวนปา่ 43
ในอุทยานแห่งชาติไทรโยค
21 ดัชนีความสาคญั ของชนิดไม้ (Importance Value Index : IVI) ของพืน้ ที่เกษตร 45
ในอุทยานแหง่ ชาติไทรโยค
22 ความหลากหลายทางชวี ภาพของชนดิ พนั ธ์ไุ มใ้ นอุทยานแห่งชาติไทรโยค

สารบัญภาพ iv

ภาพที่ หน้า
1 แผนทแ่ี สดงลักษณะภูมิประเทศของอทุ ยานแห่งชาติไทรโยค 5
2 แสดงท่ตี ง้ั และอาณาเขตของอุทยานแห่งชาติไทรโยค 6
3 จุดเดน่ ทนี่ า่ สนใจ (น้าตกไทรโยคใหญ)่ 8
4 จุดเด่นทนี่ ่าสนใจ (น้าตกไทรโยคนอ้ ย) 8
5 จุดเดน่ ทีน่ า่ สนใจ (แมน่ า้ แควนอ้ ย) 9
6 จุดเดน่ ทีน่ ่าสนใจ (ถ้าดาวดงึ ) 9
7 ลักษณะและขนาดของแปลงตัวอย่าง 10
8 แผนทแ่ี สดงขอบเขตและลกั ษณะภูมปิ ระเทศของเขตอทุ ยานแห่งชาติไทรโยค 17
9 แปลงตัวอย่างที่ไดด้ าเนนิ การสารวจภาคสนามในอทุ ยานแหง่ ชาติไทรโยค 18
10 พื้นทปี่ า่ ไมจ้ าแนกตามชนดิ ปา่ ในพ้ืนท่ีอทุ ยานแห่งชาติไทรโยค 20
11 ลักษณะทัว่ ไปของป่าดบิ แล้งพื้นทอ่ี ทุ ยานแหง่ ชาติไทรโยค 21
12 ลกั ษณะท่ัวไปของปา่ เบญจพรรณในพื้นท่ีอทุ ยานแห่งชาติไทรโยค 22
13 ลกั ษณะท่ัวไปของป่าเต็งรงั ในพืน้ ที่อุทยานแห่งชาติไทรโยค 23
14 ลักษณะทว่ั ไปของสวนปา่ ในพ้ืนท่ีอุทยานแห่งชาติไทรโยค 24
15 ลกั ษณะทว่ั ไปของพืน้ ท่ีเกษตรในพ้ืนท่ีอทุ ยานแหง่ ชาตไิ ทรโยค 25
16 ปรมิ าณไม้ทั้งหมดท่ีพบในพืน้ ท่ีอุทยานแหง่ ชาติไทรโยค 27
17 ปรมิ าตรไม้ท้งั หมดท่พี บในพนื้ ท่ีอุทยานแห่งชาติไทรโยค 27
18 ความหนาแนน่ ของไมท้ ้ังหมดในพนื้ ที่อทุ ยานแหง่ ชาตไิ ทรโยค 28
19 ปริมาตรไม้ (ลบ.ม./ไร)่ ของพื้นที่แต่ละประเภทในพ้นื ที่อทุ ยานแหง่ ชาติไทรโยค 29
20 การกระจายขนาดความโตของไมท้ ั้งหมด (ร้อยละ)ในพ้ืนทอี่ ุทยานแห่งชาตไิ ทรโยค 29
21 การจาแนกช้ันเรือนยอดของต้นไม้(ร้อยละ)ของอุทยานแห่งชาติไทรโยค 30

1

คานา

ปัจจบุ ันประเทศไทยมีพืน้ ทีป่ า่ ไมเ้ หลืออยู่ประมาณร้อยละ 33.56 ของพ้นื ทปี่ ระเทศ (ท่ีมา:หนงั สอื
ข้อมูลสถิติอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช, 2552) ซึง่ พ้ืนที่ดังกล่าวส่วนใหญ่อยู่ในความรับผิดชอบของ
กรมอุทยานแห่งชาติ สตั วป์ ่า และพันธพุ์ ืช ทจ่ี ะต้องดาเนินการอนุรักษ์ สงวน และฟื้นฟูทรัพยากรปา่ ไม้ ให้สามารถ
ตอบสนองความต้องการของประชาชนในประเทศได้อย่างย่ังยืน จงึ จาเปน็ ที่จะต้องทราบถึงสถานภาพและศกั ยภาพ
ของทรัพยากร โดยเฉพาะทรัพยากรป่าไม้ รวมทั้งความหลากหลายทางชีวภาพที่มีอยู่ในพนื้ ทปี่ า่ ไม้ โดยมรี ปู แบบ
และวธิ กี ารสารวจแบบแปลงตัวอย่างถาวรรูปวงกลมรัศมี 17.84 เมตร และสุ่มตวั อย่างแบบสม่าเสมอ (Systematic
Sampling) ในพน้ื ที่ภาพถ่ายดาวเทียมทีม่ ีการแปลสภาพวา่ เป็นป่า โดยให้แต่ละแปลงตัวอยา่ งมีระยะหา่ งเทา่ ๆ กนั
บนเส้นกริดแผนท่ี 2.5x2.5 กโิ ลเมตร เพื่อนาข้อมูลมาใช้ประกอบการพิจารณาในการดาเนินการตามภาระรับผิดชอบ
ต่อไป ดังน้นั ส่วนสารวจและวิเคราะหท์ รัพยากรปา่ ไม้ สานักฟ้นื ฟูและพฒั นาพื้นท่ีอนุรักษ์ ดาเนินการสารวจพื้นที่
ป่าอนุรักษ์ในเขตอุทยานแห่งชาติไทรโยค เพ่ือรวบรวมเป็นฐานข้อมูลในการดาเนินงานด้านทรัพยากรป่าไม้ใน
พ้นื ท่ีอนรุ ักษ์ รวมทง้ั ใชใ้ นการประเมินสถานภาพและศักยภาพของทรัพยากรป่าไม้และทรัพยากรอ่ืนๆ ท่ีเกี่ยวข้อง
เพ่ือนาไปเป็นข้อมลู พ้นื ฐานในการดาเนนิ การในภารกจิ ต่างๆ ของกรมอทุ ยานแหง่ ชาติ สัตว์ป่า และพันธ์ุพืช
ต่อไป

การสารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พน้ื ทอ่ี ทุ ยานแหง่ ชาตไิ ทรโยค

2

วัตถุประสงค์

1. เพ่อื ใหท้ ราบขอ้ มลู พนื้ ฐานเก่ยี วกบั ทรพั ยากรป่าไม้ โดยเฉพาะด้านกาลังผลิต และความหลากหลาย
ของพชื พันธุใ์ นพ้ืนท่ีอนรุ ักษต์ า่ งๆ ของประเทศไทย

2. เพือ่ ใชเ้ ป็นแนวทางในการสารวจทรัพยากรป่าไม้ เกี่ยวกับรูปแบบ วิธีการสารวจ และการวิเคราะห์
ข้อมลู อย่างเปน็ ระบบและแบบแผน

3. เพอื่ เปน็ แนวทางในการวางระบบตดิ ตามการเปลีย่ นแปลงของทรัพยากรป่าไม้ในพ้นื ที่
4. เพื่อให้ได้ข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับพรรณไม้เด่นและชนิดไม้มาใช้ในการวางแผนเพาะชากล้าไม้
เพอ่ื ปลกู เสริมปา่ ในแตล่ ะพน้ื ท่ี

เป้าหมายการดาเนนิ งาน

ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2556 ส่วนสารวจและวิเคราะหท์ รพั ยากรปา่ ไม้ สานักฟ้ืนฟูและพัฒนาพื้นที่
อนุรักษ์ กรมอุทยานแหง่ ชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ได้จัดสรรงบประมาณการดาเนินงานและกาหนดพ้ืนที่สารวจ
เปา้ หมายในพื้นท่ีอุทยานแห่งชาติไทรโยค ในท้องท่ีอาเภอทองผาภูมิและอาเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรีซ่ึงอยู่
ในความดแู ลรบั ผิดชอบของสานักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ ท่ี 3 (บ้านโป่ง) และกลุ่มสารวจทรัพยากรป่าไม้ สานักฟ้ืนฟู
และพฒั นาพื้นทอี่ นรุ กั ษ์ ดาเนนิ การได้ทัง้ สิน้ 78 แปลง

การสารวจใช้การวางแปลงตัวอย่างถาวร (Permanent Sample Plot) ที่มีขนาดคงที่ รูปวงกลม
3 วง ซ้อนกัน คือ วงกลมรัศมี 3.99, 12.62, 17.84 เมตร ตามลาดับ และมีวงกลมขนาดรัศมี 0.631 เมตร อยู่ตาม
ทิศหลักทั้ง 4 ทิศ โดยจุดศูนย์กลางของวงกลมทั้ง 4 ทิศ จะอยู่บนเส้นรอบวงกลมของวงกลมรัศมี 3.99 เมตร
และทาการเกบ็ ข้อมลู การสารวจทรัพยากรปา่ ไมต้ า่ งๆ อาทิ เช่น ชนิดไม้ ขนาดความโต ความสูง จานวนกล้าไม้
และลกู ไม้ ชนิดป่า ลักษณะตา่ งๆ ของพื้นท่ที ่ีตน้ ไม้ขน้ึ อยู่ ข้อมูลลักษณะภูมิประเทศ เช่น ระดับความสูง ความลาด
ชัน เป็นต้น ตลอดจนการเก็บข้อมูลองค์ประกอบร่วมของป่า เช่น ไม้ไผ่ หวาย ไม้พุ่ม เถาวัลย์ และพืชชั้นล่าง
แล้วนามาวิเคราะห์และประมวลผลเพ่ือให้ทราบเน้ือท่ีป่าไม้ ชนิดป่า ชนิดไม้ ปริมาณ และความหนาแน่นของหมู่ไม้
กาลังผลิตของปา่ ตลอดจนการสบื พนั ธุต์ ามธรรมชาติของหมไู่ ม้ในป่าน้ัน

การสารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พน้ื ทอ่ี ทุ ยานแห่งชาตไิ ทรโยค

3

ขอ้ มลู ทั่วไปอุทยานแหง่ ชาตไิ ทรโยค

ประวตั ิความเปน็ มา
อุทยานแห่งชาติมีพื้นที่ครอบคลุมอยู่ในท้องที่ทองผาภูมิและอาเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี

มีประวัติความเป็นมายาวนาน ต้ังแต่ครั้งสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ได้เสด็จ
ประพาสนา้ ตกไทรโยค และลงสงฆ์น้าในธารน้าอันเย็นฉ่าภายใต้ร่มแห่งแมกไม้ของป่าใหญ่ จากนั้นน้าตกไทรโยค
จึงเปน็ ทีร่ ูจ้ กั ของนักทอ่ งเทยี่ วและผู้คนโดยทั่วไป ดงั่ เพลง “เขมรไทรโยค” เปน็ เพลงไทยอมตะบรรยายถงึ ความซาบซ้ึง
ในธรรมชาติ และความสวยงามของน้าตกไทรโยค ยงั ความประทับใจแก่ชาวไทยมาตราบเท่าทุกวันน้ี เดิมพ้ืนท่ีป่า
บริเวณวังใหญ่ - แม่น้าน้อยได้ประกาศเป็นป่าสงวนแห่งชาติตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 417 (พ.ศ. 2512) และ
ปา่ ห้วยเขย่ง ไดป้ ระกาศเป็นปา่ สงวนแหง่ ชาตติ ามกฎกระทรวง ฉบบั ที่ 480 (พ.ศ. 2515) ในเดือนธันวาคม 2519
ส่วนอทุ ยานแหง่ ชาตไิ ด้รับแจ้งจากหวั หนา้ สวนสักไทรโยค (นายสมจิตต์ วงศ์วัฒนา) ว่าบริเวณป่าน้าตกไทรโยค
มีสภาพปา่ และสภาพธรรมชาตสิ วยงามมาก เหมาะสมจัดตั้งเป็นอุทยานแห่ง กองอุทยานแห่งชาติจึงมีหนังสือท่ี
กส. 0808/3203 ลงวันท่ี 4 ธันวาคม 2519 เสนอกรมป่าไม้ให้นายสมบูรณ์ วงศ์ภักดี นักวิชาการป่าไม้ 4 ไปทาการ
สารวจข้อมูลเบือ้ งตน้ บริเวณป่าวงั ใหญ่ ปา่ แม่น้าน้อย และป่าห้วยเขย่ง จังหวัดกาญจนบุรี ปรากฏว่าบริเวณดังกล่าว
มเี อกลกั ษณ์ทางธรรมชาตสิ วยงามท่ีสาคัญหลายแห่ง เช่น น้าตกไทรโยค ถ้าต่างๆ และสถานท่ีทางประวัติศาสตร์
หลายแห่งกลา่ วคอื ใน พ.ศ. 2480 - 2488 สมยั สงครามโลกคร้ังท่ี 2 ญ่ีปุ่นได้เกณฑ์ทหารเชลยศึกทาการก่อสร้าง
ทางรถไฟเพ่ือทีจ่ ะเปน็ เส้นทางตอ่ เข้าไปยังประเทศพม่า ส่วนหน่ึงของทางผ่าน เข้ามาในพื้นท่ีอุทยานแห่งชาติ
เลียบลาน้าแควน้อยไปจรดด่านเจดีย์สามองค์ ท่ีอาเภอสังขละบุรี บริเวณต้นน้าตกไทรโยคยังเป็นแหล่งหุงหาอาหาร
และทพ่ี ักพงิ หลบภยั ดังปรากฏเตาหุงข้าวของทหารญี่ปุ่น จนมาถึงปัจจุบัน เหมาะสมที่จะต้ังเป็นอุทยานแห่งชาติ
ตามบันทึกรายงานการสารวจลงวันท่ี 3 พฤษภาคม 2520 กองอุทยานแห่งชาติจึงได้จัดต้ังพ้ืนท่ีดังกล่าวเป็น
อทุ ยานแหง่ ชาติ และเพอื่ สนองนโยบายคณะรัฐมนตรี ได้มมี ตวิ นั ที่ 9 มกราคม 2522 ในการท่ีจะเสริมมาตรการ
อนุรักษธ์ รรมชาติ กรมป่าไม้ได้มีคาสัง่ ท่ี 2294/2522 ลงวนั ที่ 16 พฤศจิกายน 2522 ให้นายพิภพ ละเอียดอ่อน
นักวิชาการป่าไม้ 5 และนายภูมิ สมวัฒนศักดิ์ ช่างโยธา 3 จัดตั้งอุทยานแห่งชาติไทรโยค ซ่ึงมีหนังสือที่ กส.0708/9
ลงวนั ที่ 28 ธนั วาคม 2522 รายงานผลการสารวจเพิ่มเตมิ ว่าพนื้ ทีด่ ังกล่าวมจี ุดเดน่ และสถานที่ท่องเท่ียว สวยงาม
เหมาะสม เป็นอทุ ยานแหง่ ชาติ กรมอทุ ยานแหง่ ชาติ กรมป่าไม้ จึงได้เสนอคณะกรรมการอุทยานแห่งชาติ และ
ได้มมี ติ ในการประชุมครั้งท่ี 1/2523 เมื่อวันท่ี 8 มกราคม 2523 เห็นสมควรให้ออกพระราชกฤษฎีกากาหนดให้
พื้นที่ดังกล่าวเป็นอุทยานแห่งชาติ โดยได้มีพระราชกฤษฎีกากาหนดบริเวณท่ีดินป่าวังใหญ่ ป่าแม่น้าน้อย และ
ป่าห้วยเขย่ง ในท้องท่ีตาบลลิ่นถิ่น อาเภอทองผาภูมิ และตาบลไทรโยค ตาบลวังกระแจะ ตาบลบ้องตี้ ตาบลลุ่มสุ่ม
อาเภอไทรโยค จงั หวดั กาญจนบุรี ให้เป็นอุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2523 ซ่ึงประกาศไว้ในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่97
ตอนที่ 165 ลงวันที่ 27 ตลุ าคม 2523 นับเป็นอุทยานแห่งชาติลาดับที่ 19 ของประเทศและเป็นอุทยานแห่งชาติ
ทางประวัตศิ าสตร์ทีส่ าคญั แห่งหน่งึ

การสารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พน้ื ทอ่ี ทุ ยานแห่งชาตไิ ทรโยค

4

ทต่ี ้งั และอาณาเขต
อุทยานแห่งชาติไทรโยคมีพ้ืนท่ีครอบคลุมอยู่ในท้องที่ 2 อาเภอของจังหวัดกาญจนบุรี คือ อาเภอ

ไทรโยค และอาเภอทองผาภมู ิ ซ่ึงมีพ้ืนที่อยู่ในท้องท่ีอาเภอไทรโยค ตาบลไทรโยค ตาบลวังกระแจะ ตาบลบ้องต้ี
และตาบลลมุ่ สุ่ม อาเภอทองผาภมู ิ ตาบลลิ่นถิ่น พื้นทปี่ ่าสงวนท่อี ยูใ่ นเขตอุทยานแห่งชาติไทรโยค ได้แก่ ป่าสงวน
แห่งชาติป่าวังใหญ่แม่น้าน้อย จังหวัดกาญจนบุรี ประกาศตามกฎกระทรวงฉบับท่ี 417 (พ.ศ. 2512) และป่าสงวน
แห่งชาตหิ ว้ ยเขย่ง จังหวัดกาญจนบุรี ประกาศตามกฎกระทรวงฉบับท่ี 480 (พ.ศ. 2515) โดยมีอาณาเขตติดต่อ
ดังน้ี

ทิศเหนอื อาณาเขตตดิ ตอ่ กับ เขตปา่ สงวนแห่งชาตหิ ว้ ยเขยง่
ทศิ ใต้ อาณาเขตตดิ ตอ่ กบั เขตปา่ สงวนแหง่ ชาตวิ ังใหญ่แม่นา้ น้อย
ทศิ ตะวันออก อาณาเขตติดตอ่ กับ อทุ ยานแห่งชาติเอราวณั
ทศิ ตะวนั ตก อาณาเขตตดิ ต่อกับ ประเทศพม่า

การเดินทางและเส้นทางคมนาคม
การเดินทางมายังอุทยานแหง่ ชาติไทรโยคสามารถเดินทางมาได้ 3 ทาง ไดแ้ ก่
- เรือ
จากอาเภอเมืองกาญจนบุรี ลงเรือท่ีท่าเรือ จะมีเรือหางให้เช่าเหมาลา เดินทางไปตามลาน้าแควน้อย

จนถึงน้าตกไทรโยค หรือจากสถานีรถไฟสามารถต่อเรือที่ท่าเรือปากแซง บ้านท่าเสา อาเภอไทรโยค ต่อไปยัง
น้าตกไทรโยคไดอ้ ีกทางหนงึ่

- รถยนต์
ใช้ทางหลวงสายกรุงเทพ ฯ - กาญจนบุรี จากตัวเมืองใช้ทางหลวงหมายเลข 323 สายกาญจนบุรี
ทองผาภูมิ ระยะทางประมาณ 96 กิโลเมตร ทางเข้าอุทยานฯอยู่ทางซ้าย หากเดินทางโดยรถโดยสารประจาทาง
จากกรุงเทพ ฯ ขึ้นรถที่สถานีขนส่งสายใต้ลงที่สถานีขนสง่ กาญจนบุรีต่อรถประจาทางสายกาญจนบรุ ี ทองผาภูมิ
- รถไฟ
จากสถานบี างกอกน้อย ( ธนบุรี ) มาลงทีส่ ถานนี ้าตกไทรโยคนอ้ ย ระยะทางประมาณ 195 กิโลเมตร
(ใชร้ ะยะเวลาประมาณ 5 ช่วั โมง ) ต่อรถประจาทางกาญจนบุรี-ทองผาภมู ิ อีกประมาณ 33 กโิ ลเมตร ติดต่อสถานี
รถไฟบางกอกน้อย โทร.02-4113102

การสารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พน้ื ทอ่ี ทุ ยานแห่งชาตไิ ทรโยค

5

Reference www.dnp.go.th

ภาพท่ี 1 แผนทีแ่ สดงลักษณะภมู ิประเทศของอทุ ยานแหง่ ชาติไทรโยค
ลักษณะภูมิประเทศ

ภูมปิ ระเทศโดยท่วั ไปของอทุ ยานแห่งชาติ ประกอบด้วยเทือกเขาสลับซับซ้อน ส่วนใหญ่มีความสูง
โดยเฉล่ียอยู่ในช่วง 300-600 เมตร จากระดับน้าทะเลปานกลาง เทือกเขาส่วนใหญ่จะทอดยาวจากตอนเหนือ
ของพื้นท่ี ด้านทิศตะวันตกติดชายแดนพม่าจะมีความสูงชันมากกว่าด้านทิศตะวันออก จุดสูงสุดของพ้ืนท่ีอุทยาน
แห่งชาติฯ คือ เทือกเขาเราะแระ ซึ่งสูงประมาณ 1,132 เมตร ต้ังอยู่บริเวณแนวเขตด้านทิศตะวันออกเฉียงใต้
ถัดจากบริเวณเชิงเขาจะเป็นท่ีราบถึงที่ราบลอนคล่ืนในระหว่างหุบเขาและร่องน้า ที่ราบลุ่มอันเกิดจากตะกอน
ลาน้าจะมีพื้นท่ีไม่มากนัก เน่ืองจากพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นหุบเขาดังที่กล่าวมาแล้ว จากสภาพพื้นที่ส่วนใหญ่ เป็น
เทือกเขาความลาดชันโดยรวมจึงค่อนข้างสูง โดยเฉพาะอย่างย่ิงตอนกลางเหนือใต้ พื้นที่ด้านทิศตะวันตกและ
บางจดุ ของพนื้ ทร่ี ิมลานา้ แควนอ้ ย พ้นื ทีร่ าบความลาดชัน 0-8% ที่เป็นบริเวณกว้างกว่าจุดอ่ืน ๆ ปรากฏเฉพาะ
ริมฝัง่ ตะวันออกของแม่น้าแควน้อยตอนบนที่จุดไหลผ่านเขตอุทยานแห่งชาติ บริเวณบ้านวังกร่าง บ้านไทรโยค
และที่ทาการอทุ ยานแห่งชาติไทรโยคทางทศิ ตะวันออกรมิ หว้ ยแม่น้าน้อย ห้วยผ้ึง และตอนกลางของพื้นที่บริเวณ
หว้ ยแหง้ และห้วยบอ้ งตี้ เท่าน้ัน

การสารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พน้ื ทอ่ี ทุ ยานแหง่ ชาตไิ ทรโยค

6

Reference www.dnp.go.th

ภาพท่ี 2 แสดงที่ตัง้ และอาณาเขตของอุทยานแห่งชาติไทรโยค
ลักษณะภมู ิอากาศ

เน่อื งจากพน้ื ทสี่ ่วนใหญข่ องอทุ ยานแห่งชาติไทรโยค เปน็ พนื้ ท่สี ูงและยงั คงพน้ื ท่ีปา่ ไม้ ทงั้ ยังมี แนวสันเขา
ยาวกั้นแนวพรมแดน ทาให้ลักษณะอากาศภายในพ้ืนท่ีมีความผันแปรค่อนข้างมาก ประกอบกับได้รับอิทธิพล
ของลมมรสมุ ตะวนั ออกเฉียงเหนือ ซึ่งทาให้อากาศเย็นและแห้งแล้ง และได้รับลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ในฤดูฝน
ทาให้มีฝนตกและอากาศชุ่มชื้น จากข้อมูลของสถานีตรวจวัดอากาศในลุ่มน้าแม่กลองซึ่งตั้งอยู่ใกล้กับพื้นที่
อทุ ยานแห่งชาตไิ ทรโยคมากท่สี ดุ สามารถสรุปลกั ษณะภมู อิ ากาศไดด้ ังน้ี

1. ฤดูกาล สามารถแบ่งได้ 3 ฤดูกาล กล่าวคือ ฤดูฝนจะเร่ิมตั้งแต่กลางเดือนพฤษภาคมไปจนถึง
เดือนตุลาคม โดยเดือนกันยายนจะเป็นเดือนท่ีฝนตกชุกที่สุด ฤดูหนาวจะเริ่มตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน จนถึง
กลางเดอื นกมุ ภาพันธ์ โดยชว่ งเดอื นธันวาคมจะเป็นช่วงหนาวเยน็ ท่สี ุด ฤดูร้อน เร่ิมประมาณเดือนเมษายน จนถึง
กลางเดือนพฤษภาคม ซึ่งในช่วงนี้เปน็ ระยะทลี่ มฝ่ายใต้พัดปกคลุมพื้นที่ ทาให้อากาศร้อนอบอ้าวทั่วไป โดยช่วง
เดือนเมษายนของทุกปจี ะเปน็ ช่วงอากาศรอ้ นอบอ้าวทส่ี ดุ

2. อุณหภูมิ เน่ืองจากสภาพพ้ืนท่ีส่วนใหญ่ของอุทยานแห่งชาติไทรโยคเป็นเทือกเขาสลับซับซ้อน
จะมีอากาศร้อนอบอ้าวในฤดูร้อนและค่อนข้างหนาวเย็นในฤดูหนาว อุณหภูมิเฉลี่ยตลอดท้ังปีประมาณ 27.02
องศาเซลเซยี สอณุ หภมู ิตา่ สดุ เฉลี่ย 15.43 องศาเซลเซียส และอุณหภมู สิ ูงสดุ เฉลีย่ 31.1 องศาเซลเซียส

3. ความชื้นสัมพัทธ์ สภาพความชื้นของพื้นที่จะมีความชื้นสัมพัทธ์กับมวลอากาศ และอิทธิพล
ของมรสุมท่ีสาคัญในช่วงฤดูหนาวซ่ึงเป็นระยะที่ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือพัดปกคลุม อากาศจะหนาวเย็น
ในตอนเชา้ และความชนื้ สมั พัทธส์ ูง แตจ่ ะลดตา่ ลงอยา่ งรวดเรว็ ในช่วงบ่ายถึงเย็น ช่วงฤดูร้อนอากาศจะแห้งแล้ง
และอบอ้าวมาก ความชนื้ สัมพัทธ์จะต่ากว่าในฤดูหนาว และสูงข้ึนเรื่อยๆ เม่ือเข้าสู่ฤดูฝน ความช้ืนสัมพัทธ์ของ
พน้ื ทีเ่ ฉลีย่ ตลอดปี 76.5 % โดยมีความชื้นสงู สุดในเดือนกุมภาพันธ์ 89.92% และความช้ืนต่าสุดในเดือน มิถุนายน
62.30 % ปริมาณน้าฝน โดยเฉลี่ยแล้วปริมาณน้าฝนท่ีตกตลอดปีไม่สูงมากนัก ทั้งน้ีเนื่องจากเทือกเขาตะนาวศรี

การสารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พน้ื ทอ่ี ทุ ยานแห่งชาตไิ ทรโยค

7

ซ่ึงทอดยาวตลอดพรมแดนไทย-พม่า ปิดกั้นลมมรสุมตะวันออกเฉียงใต้ที่พัดผ่าน ทาให้ลมดังกล่าวอ่อนกาลังลง
สว่ นหน่งึ ของพ้ืนท่ีมีสภาพเป็นบริเวณอับฝน ปริมาณน้าฝนรวมท้ังปีประมาณ 975.4 มิลลิเมตร โดยเดือนกันยายน
จะเป็นเดอื นที่มฝี นตกชุกมากทีส่ ุด คอื ประมาณ 178.2 มิลลเิ มตร และเดือนมกราคม กุมภาพันธ์ มนี าคม จะเป็นเดือน
ที่แทบจะไม่มีฝนตกเลย
จดุ เดน่ ทีน่ า่ สนใจ

1. น้าตกไทรโยคใหญ่ เป็นน้าตกที่ไหลลงสู่แม่น้าแควน้อย แยกเป็น 2 แพร่ง ส่วนที่อยู่ทางตอนเหนือ
เรียกวา่ นา้ ตกไทรโยคใหญ่ เป็นน้าตกขนาดใหญ่ช้ันเดียว รองรับด้วยชั้นหินสลับกันเป็นชั้นๆ มีความสูงประมาณ
8 เมตร สามารถชมทัศนียภาพของน้าตกไทรโยคได้โดยการเดินข้ามสะพานแขวนไปยังฝ่ังตรงข้ามหรือโดยทางน้า
ในฤดหู นาวจะสมั ผสั บรรยากาศของความหนาวเย็นแห่งสายน้าและขนุ เขา ผ่านน้าตกมเี สน่ห์ชวนให้หลงไหลย่งิ ขน้ึ

2. นา้ ตกไทรโยคนอ้ ย นา้ ตกไทรโยคนอ้ ย หรือเรียกอีกชื่อหน่ึงว่า น้าตกเขาพัง เป็นน้าตกท่ีมีช่ือเสียง
มาช้านาน เหตทุ ่ีได้ชอื่ ว่านา้ ตกเขาพัง เพราะเกดิ บนหนา้ ผาหนิ ปูนทีพ่ งั ทลายลงมา จนเกิดโขดหินปูนลดหลั่นกัน
อยู่ตรงบริเวณเชิงเขา ต้นกาเนิดเป็นน้าผุดจากภูเขาแล้วไหลมาตามลาธารเล็กๆ ไหลตกลงท่ี ผาหินปูนที่มีความสูง
ประมาณ 15 เมตร แผก่ ระจายไปตามพื้นเขาลาดเอียง ภายใต้ร่มเงาของพันธ์ุไม้นานาชนิด ในลาธารมีต้นกกขึ้นอยู่
กระจัดกระจาย นบั เป็นบรรยากาศที่ชวนให้ไปสมั ผสั อกี แหง่ หนง่ึ

3. แมน่ า้ แควนอ้ ย มีต้นกาเนิดจากผืนป่าดงดิบทางตะวันตกตามแนวชายแดนไทย-พม่า แล้วไหล
ไปรวมกบั แม่น้าแควใหญเ่ ปน็ แมน่ ้าแม่กลองที่ตัวเมืองกาญจนบุรี ริมสองฝั่งแม่น้าแควน้อยในพ้ืนท่ีอุทยานแห่งชาติฯ
มธี รรมชาติที่งดงาม มีโขดเขาเกาะแกง่ ทีโ่ ดดเด่นเปน็ เอกลกั ษณ์ รอ่ งน้าที่ลดั เลาะไปตามซอกเขาหินปูน ความแตกต่าง
ของพนื้ ทเี่ เละเกาะแก่งเป็นเหตใุ ห้แมน่ ้าสายนี้ไหลเชี่ยวและวกวน บางตอนจะเป็นหาดทรายย่ืนออกมาในลาน้า
เป็นทชี่ ื่นชอบของผ้นู ิยมลอ่ งแพโดยทวั่ ไป

4. ถา้ ดาวดึงส์ อยทู่ างตอนเหนอื ของอุทยานแห่งชาติบริเวณหน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติที่ ทย.2
(ถ้าดาวดึงส์) เปน็ ถ้าทีม่ ีช่ือเสียงและงดงามมากท่ีสดุ แห่งหนึง่ ของประเทศ คน้ พบโดย นายสาลี คูหา ซึ่งตามสัตว์
เข้าไปในถา้ ในปี พ.ศ. 2515 ถา้ ลึกประมาณ 300-400 เมตร แบ่งเป็นห้องๆ ได้ 8 ห้อง มีชื่อตามลักษณะของ
หินงอกหินย้อย โดยทั่วไปมีสขี าว เช่น หอ้ งโคมระย้า หอ้ งเจดีย์ หอ้ งจีบม่านฟา้ เป็นตน้

การสารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พน้ื ทอ่ี ุทยานแห่งชาตไิ ทรโยค

8

http://travel.mthai.com/blog/3593.html

ภาพที่ 3 นา้ ตกไทรโยคใหญ่

http://travel.mthai.com/blog/3593.html

ภาพที่ 4 นา้ ตกไทรโยคนอ้ ย

การสารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พน้ื ทอ่ี ทุ ยานแหง่ ชาตไิ ทรโยค

9

http://www.unseenkanchanaburi.com

ภาพท่ี 5 แม่นา้ แควนอ้ ย

ภาพท่ี 6 ถา้ ดาวดงึ ส์ http://www.108like.com/trips

การสารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พน้ื ทอ่ี ทุ ยานแห่งชาตไิ ทรโยค

10

รปู แบบและวธิ กี ารสารวจทรัพยากรป่าไม้

การสารวจทรัพยากรป่าไม้ในแต่ละจังหวัดท่ัวประเทศไทย ดาเนินการโดยกลุ่มสารวจทรัพยากร
ป่าไม้ ส่วนสารวจและวิเคราะห์ทรัพยากรป่าไม้ สานักฟ้ืนฟูและพัฒนาพ้ืนที่อนุรักษ์ และสานักบริหารพื้นที่
อนุรักษต์ า่ งๆ ในสงั กัดกรมอทุ ยานแห่งชาติ สัตวป์ า่ และพันธ์พุ ชื
การสุ่มตวั อย่าง (Sampling Design)

การสารวจทรัพยากรป่าไม้ ใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบเป็นระบบ (Systematic Sampling) ในพ้ืนที่ที่
ภาพถ่ายดาวเทียมแปลว่ามีสภาพเป็นป่า โดยให้แต่ละแปลงตัวอย่าง (Sample plot) มีระยะห่างเท่าๆ กัน
โดยกาหนดใหแ้ ตล่ ะแปลงห่างกัน 2.5x2.5 กิโลเมตร เริ่มจากการสุ่มกาหนดแปลงตัวอย่างแรกบนเส้นกริดแผน
ที่ (Grid) ลงบนขอบเขตแผนท่ีประเทศไทยมาตราส่วน 1:50,000 ให้มีระยะห่างระหว่างเส้นกริดท้ังแนวต้ังและ
แนวนอนเท่ากบั 2.5x2.5 กโิ ลเมตร คอื ระยะชอ่ งกรดิ ในแผนท่เี ท่ากับ 10 ช่อง จุดตัดของเส้นกริดท้ังสองแนวก็
จะเป็นตาแหน่งที่ตั้งของแปลงตัวอย่างแต่ละแปลง เมื่อดาเนินการเสร็จสิ้นแล้วจะทราบจานวนหน่วยตัวอย่าง
และตาแหน่งทีต่ ง้ั ของหนว่ ยตวั อย่าง โดยลักษณะและขนาดของแปลงตัวอย่างแสดงดงั ภาพท่ี 7

ภาพท่ี 7 ลักษณะและขนาดของแปลงตัวอยา่ ง

การสารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พน้ื ทอ่ี ุทยานแห่งชาตไิ ทรโยค

11

รูปรา่ งและขนาดของแปลงตัวอยา่ ง (Plot Design)

แปลงตัวอย่าง (Sample Plot) ท่ีใช้ในการสารวจมีท้ังแปลงตัวอย่างถาวรและแปลงตัวอย่าง
ชว่ั คราว เปน็ แปลงทม่ี ีขนาดคงท่ี (Fixed – Area Plot) และมีรปู ร่าง 2 ลักษณะดว้ ยกนั คอื

1. ลกั ษณะรปู วงกลม (Circular Plot)
1.1 รูปวงกลมที่มีจุดศูนย์กลางร่วมกัน รัศมีแตกต่างกัน จานวน 3 วง คือ วงกลมรัศมี 3.99,

12.62 และ 17.84 เมตร ตามลาดบั
1.2 รูปวงกลมที่มีรัศมีเท่ากัน จุดศูนย์กลางต่างกัน จานวน 4 วง รัศมี 0.631 เมตร เท่ากัน

โดยจุดศูนยก์ ลางของวงกลมอยู่บนเส้นรอบวงของวงกลมรศั มี 3.99 เมตร ตามทิศหลกั ทั้ง 4 ทิศ

2. ลักษณะแบบแนวเส้นตรง (Intersect Line) จานวน 2 เส้น ความยาวเส้นละ 17.84 เมตร
โดยมีจุดเริม่ ต้นร่วมกนั ณ จุดศูนย์กลางแปลงตัวอย่างทามุมฉากซึ่งกันและกัน ซ่ึงตัวมุม Azimuth ของเส้นท่ี 1
ไดจ้ ากการสมุ่ ตวั อย่าง

ขนาดของแปลงตัวอยา่ งและข้อมูลท่ีทาการสารวจ

ขนาดของแปลงตัวอยา่ ง และข้อมูลที่ทาการสารวจแสดงรายละเอยี ดไว้ในตารางท่ี 1

ตารางที่ 1 ขนาดของแปลงตวั อยา่ งและขอ้ มลู ที่ทาการสารวจ

รัศมขี องวงกลม หรอื จานวน พืน้ ที่หรอื ความยาว ขอ้ มลู ทสี่ ารวจ
ความยาว (เมตร)
4 วง 0.0005 เฮกตาร์ กล้าไม้
0.631 1 วง 0.005 เฮกตาร์ ลูกไม้และการปกคลุมพ้ืนที่ของกล้าไม้
และลกู ไม้
3.99 ไม้ไผ่ หวายทยี่ ังไมเ่ ลอ้ื ย และตอไม้
ตน้ ไม้ และตรวจสอบปจั จัยท่ีรบกวน
12.62 1 วง 0.05 เฮกตาร์ พนื้ ที่ป่า
17.84 1 วง 0.1 เฮกตาร์ Coarse Woody Debris (CWD)
หวายเล้ือย และไมเ้ ถา ทพี่ าดผ่าน
17.84 (เส้นตรง) 2 เสน้ 17.84 เมตร

การสารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พน้ื ทอ่ี ุทยานแหง่ ชาตไิ ทรโยค

12

การวเิ คราะหข์ อ้ มลู การสารวจทรพั ยากรปา่ ไม้

1. การคานวณเน้ือทป่ี า่ และปรมิ าณไม้ทงั้ หมดของพ้นื ท่ีอนรุ กั ษ์
1.1 ใช้ข้อมูลพื้นท่ีอนุรักษ์จากการคานวณพ้ืนท่ีจาก shape file จากส่วนรังวัดแนวเขตที่ดินป่าไม้

สานกั ฟื้นฟูและพัฒนาพื้นท่อี นรุ กั ษ์
1.2 คานวณค่าความหนาแน่นของไม้และปริมาตรไม้ต่อไร่ในแต่ละลักษณะการใช้ประโยชน์ท่ีดิน

จากแปลงตวั อยา่ งท่ีทาการสารวจและนามาคานวณกับเนอื้ ท่ีในข้อ1.1 เปน็ ปริมาณไมท้ ้ังหมด
2. การคานวณปรมิ าตรไม้

สมการปริมาตรไมท้ ่ีใช้ในการประเมนิ การกักเก็บธาตคุ ารบ์ อนในพ้ืนทปี่ า่ ไม้ แบบวิธี Volume
based approach โดยแบ่งกลุ่มของชนิดไม้เป็นจานวน 7 กล่มุ ดงั น้ี

2.1 กลมุ่ ท่ี 1 ไดแ้ ก่ ยาง เต็ง รัง เหียง พลวง กระบาก เค่ียม ตะเคียน สยา ไข่เขยี ว พะยอม
จนั ทน์กะพ้อ สนสองใบ

สมการท่ีได้ ln V = 2.372083 + 2.443847 ln (DBH/100)
R2 = 0.94, sample size = 188

2.2 กลมุ่ ที่ 2 ไดแ้ ก่ กระพจี้ ั่น กระพี้เขาควาย เก็ดดา เก็ดแดง เกด็ ขาว เถาวลั ยเ์ ปรยี ง พะยงู
ชิงชนั กระพี้ ถ่อน แดง ขะเจ๊าะ แคทราย แคฝอย และสกุลมะเกลือ

สมการที่ได้ ln V = 2.134494 + 2.363034 ln (DBH/100)
R2 = 0.91, sample size = 135

2.3 กล่มุ ท่ี 3 ได้แก่ รกฟ้า สมอพเิ ภก สมอไทย หูกวาง หกู ระจง ตีนนก ขี้อ้าย กระบก ตะคร้า
ตะคร้อ ตาเสือ ค้างคาว สะเดา ยมหอม ยมหิน กระทอ้ น เล่ียน มะฮอดกกานี ขี้อ้าย ตะบูน ตะบนั รัก ต้วิ
สะแกแสง ปู่เจ้า และไม้สกุลส้าน เสลา อนิ ทนลิ ตะแบก ชะมวง สารภี บนุ นาค

สมการที่ได้ ln V = 1.880578 + 2.053321 ln (DBH/100)
R2 = 0.89, sample size = 186

2.4 กลมุ่ ท่ี 4 ไดแ้ ก่ กางขม้ี อด คนู พฤกษ์ มะคา่ โมง นนทรี กระถินพิมาน มะขามป่า หลมุ พอ
และสกุลขีเ้ หล็ก

สมการท่ีได้ ln V = 1.789563 + 2.025666 ln (DBH/100)
R2 = 0.90, sample size = 36

การสารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พน้ื ทอ่ี ทุ ยานแหง่ ชาตไิ ทรโยค

13

2.5 กลุ่มที่ 5 ได้แก่ สกุลประดู่ เตมิ
สมการที่ได้ ln V = 2.037096 + 2.299618 ln (DBH/100)

R2 = 0.94, sample size = 99
2.6 กล่มุ ที่ 6 ได้แก่ สกั ตนี นก ผา่ เสย้ี น หมากเลก็ หมากน้อย ไข่เน่า กระจับเขา กาสามปกี สวอง
สมการท่ีได้ ln V = 2.119907 + 2.296511 ln (DBH/100)

R2 = 0.94, sample size = 186
2.7 กลมุ่ ที่ 7 ได้แก่ ไมช้ นิดอนื่ ๆ เช่น กกุ๊ ขวา้ ว งว้ิ ป่า ทองหลางปา่ มะมว่ งป่า ซ้อ โมกมนั
แสมสาร และไมใ้ นสกลุ ปอ ก่อ เปล้า เป็นต้น
สมการท่ีได้ ln V = 2.250111 + 2.414209 ln (DBH/100)

R2 = 0.93, sample size = 138

โดยที่ V คอื ปรมิ าตรสว่ นลาต้นเมื่อตัดโค่นทีค่ วามสูงเหนือดนิ (โคน) 10 เซนตเิ มตร
ถึงก่ิงแรกท่ีทาเปน็ สนิ คา้ ได้ มีหนว่ ยเป็นลกู บาศกเ์ มตร

DBH มีหนว่ ยเป็นเซนตเิ มตร
Ln = natural logarithm
3. ขอ้ มูลทั่วไป
ข้อมลู ท่วั ไปท่นี าไปใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ทต่ี ้ัง ตาแหนง่ ชว่ งเวลาทีเ่ ก็บขอ้ มูล ผู้ทท่ี าการเกบ็
ขอ้ มลู ความสูงจากระดับนา้ ทะเล และลักษณะการใช้ประโยชนท์ ี่ดนิ เป็นตน้ โดยข้อมูลเหล่านี้จะใช้ประกอบใน
การวเิ คราะห์ประเมินผลรว่ มกับข้อมลู ดา้ นอ่นื ๆ เพือ่ ติดตามความเปลย่ี นแปลงของพน้ื ที่ในการสารวจทรัพยากร
ปา่ ไมค้ รั้งต่อไป
4. การวิเคราะห์ข้อมูลองค์ประกอบของหมู่ไม้
4.1 ความหนาแนน่
4.2 ปรมิ าตร
5. การวเิ คราะหข์ อ้ มูลชนดิ และปรมิ าณของลกู ไม้ (Sapling) และกลา้ ไม้ (Seeding)
6. การวิเคราะห์ขอ้ มูลชนดิ และปริมาณของไมไ้ ผ่ หวาย
6.1 ความหนาแนน่ ของไมไ้ ผ่ (จานวนกอ และ จานวนลา)
6.2 ความหนาแนน่ ของหวายเส้นตงั้ (จานวนต้น)

การสารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พน้ื ทอ่ี ุทยานแหง่ ชาตไิ ทรโยค

14

7. การวิเคราะหข์ อ้ มลู สังคมพืช
โดยมรี ายละเอียดการวิเคราะห์ขอ้ มลู ดงั นี้
7.1 ความหนาแน่นของพรรณพืช (Density : D) คือ จานวนต้นไม้ทั้งหมดของชนิดพันธ์ุท่ีศึกษาท่ี

ปรากฏในแปลงตวั อยา่ งต่อหน่วยพ้ืนที่ที่ทาการสารวจ

D = จำนวนต้นของไมช้ นดิ นน้ั ทง้ั หมด
.
พ้นื ที่แปลงตวั อย่ำงทั้งหมดทท่ี ำกำรสำรวจ

7.2 ความถี่ (Frequency : F) คอื อตั ราร้อยละของจานวนแปลงตัวอย่างทป่ี รากฏพนั ธไุ์ ม้
ชนดิ นน้ั ตอ่ จานวนแปลงที่ทาการสารวจ

F = จำนวนแปลงตัวอยำ่ งที่พบไม้ชนิดท่กี ำหนด X 100
จำนวนแปลงตวั อย่ำงทงั้ หมดท่ีทำกำรสำรวจ

7.3 ความเด่น (Dominance : Do) ใชค้ วามเดน่ ด้านพ้ืนท่หี น้าตัด (Basal Area : BA)
หมายถงึ พนื้ ทีห่ น้าตดั ของลาต้นของต้นไมท้ ว่ี ดั ระดับอก (1.30 เมตร) ตอ่ พน้ื ทีท่ ี่ทาการสารวจ

Do = พน้ื ทหี่ นำ้ ตดั ท้งั หมดของไมช้ นดิ ทก่ี ำหนด X 100
พ้ืนทีแ่ ปลงตัวอย่ำงที่ทำกำรสำรวจ

7.4 คา่ ความหนาแนน่ สัมพัทธ์ (Relative Density : RD) คือ คา่ ความสมั พทั ธ์ของความ
หนาแน่นของไมท้ ตี่ อ้ งการต่อค่าความหนาแน่นของไม้ทกุ ชนดิ ในแปลงตวั อยา่ ง คิดเปน็ รอ้ ยละ

RD = ควำมหนำแนน่ ของไม้ชนดิ นน้ั X 100
ควำมหนำแน่นรวมของไม้ทุกชนดิ

7.5 คา่ ความถ่สี ัมพทั ธ์ (Relative Frequency : RF) คอื ค่าความสัมพัทธ์ของความถี่ของชนิดไม้ที่
ตอ้ งการต่อค่าความถ่ีทัง้ หมดของไมท้ ุกชนดิ ในแปลงตวั อยา่ ง คิดเป็นรอ้ ยละ

RF = ควำมถขี่ องไม้ชนดิ นน้ั X 100
ควำมถรี่ วมของไม้ทกุ ชนิด

7.6 คา่ ความเด่นสมั พทั ธ์ (Relative Dominance : RDo) คอื คา่ ความสมั พนั ธข์ องความเดน่
ในรปู พน้ื ทหี่ นา้ ตดั ของไม้ชนดิ ท่กี าหนดตอ่ ความเดน่ รวมของไม้ทุกชนิดในแปลงตัวอย่าง คิดเปน็ ร้อยละ

RDo = ควำมเด่นของไม้ชนิดนั้น X 100
ควำมเด่นรวมของไม้ทุกชนดิ

การสารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พน้ื ทอ่ี ทุ ยานแห่งชาตไิ ทรโยค

15

7.7 ค่าดชั นีความสาคญั ของชนดิ ไม้ (Importance Value Index : IVI) คือ ผลรวมของค่า
ความสมั พัทธ์ตา่ งๆ ของชนดิ ไม้ในสงั คม ได้แก่ ค่าความสัมพัทธด์ า้ นความหนาแน่น คา่ ความสัมพัทธ์ด้านความถ่ี
และคา่ ความสมั พัทธ์ดา้ นความเดน่

IVI = RD + RF + RDo

8. วิเคราะหข์ อ้ มูลความหลากหลายทางชวี ภาพ
โดยทาการวิเคราะห์ค่าต่างๆ ดงั นี้
8.1 ความหลากหลายของชนิดพันธุ์ (Species Diversity) วัดจากจานวนชนิดพันธ์ุท่ีปรากฏใน

สังคมและจานวนต้นท่ีมีในแต่ละชนิดพันธุ์ โดยใช้ดัชนีความหลากหลายของ Shannon-Wiener Index of
diversity ตามวิธกี ารของ Kreb (1972) ซึ่งมีสตู รการคานวณดังต่อไปน้ี

s

H = ∑ (pi)(ln pi)

i=1

โดย H คอื คา่ ดัชนีความหลากชนดิ ของชนิดพนั ธุไ์ ม้
pi คอื สดั สว่ นระหว่างจานวนต้นไมช้ นิดที่ i ตอ่ จานวนตน้ ไม้ทัง้ หมด
S คอื จานวนชนิดพันธไุ์ มท้ ง้ั หมด

8.2 ความร่ารวยของชนิดพันธุ์ (Richness Indices) อาศัยความสัมพันธ์ระหว่างจานวนชนิดกับ
จานวนต้นท้ังหมดที่ทาการสารวจ ซ่ึงจะเพิ่มข้ึนเม่ือเพ่ิมพื้นที่แปลงตัวอย่าง และดัชนีความร่ารวย ที่นิยมใช้กัน
คือ วิธีของ Margalef index และ Menhinick index (Margalef 1958, Menhinick 1964) โดยมีสูตรการ
คานวณดังน้ี

1) Margalef index (R1)
R1 = (S-1)/ln(n)

2) Menhinick index (R2)
R2 = S/

เมือ่ S คือ จานวนชนดิ ทงั้ หมดในสังคม
n คือ จานวนต้นทัง้ หมดทส่ี ารวจพบ

การสารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พน้ื ทอ่ี ทุ ยานแหง่ ชาตไิ ทรโยค

16

8.3 ความสม่าเสมอของชนิดพันธุ์ (Evenness Indices) เป็นดัชนีท่ีต้ังอยู่บนสมมติฐานที่ว่า ดัชนี
ความสมา่ เสมอจะมีคา่ มากทส่ี ุดเมอื่ ทุกชนิดในสังคมมจี านวนต้นเท่ากันทั้งหมด ซ่ึงวิธีการท่ีนิยมใช้กันมากในหมู่
นักนเิ วศวทิ ยา คือ วธิ ขี อง Pielou (1975) ซง่ึ มีสตู รการคานวณดงั นี้

E = H/ ln(S) = ln (N1)/ln (N0)
เม่ือ H คอื คา่ ดัชนคี วามหลากหลายของ Shannon-Wiener

S คือ จานวนชนิดท้ังหมด (N0)
N1 คือ eH

การสารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พน้ื ทอ่ี ทุ ยานแหง่ ชาตไิ ทรโยค

17

ผลการสารวจและวิเคราะห์ขอ้ มลู ทรัพยากรป่าไม้

1. การวางแปลงตัวอยา่ ง
จากผลการดาเนินการวางแปลงสารวจเพ่ือประเมินสถานภาพและศักยภาพของทรัพยากรป่าไม้

ในพื้นท่ีอุทยานแห่งชาติไทรโยค โดยแบ่งพ้ืนท่ีดาเนินการวางแปลงสารวจตามพื้นท่ีในความดูแลรับผิดชอบของ
สานักบริหารพื้นท่ีอนุรักษ์ ท่ี 3 (บ้านโป่ง) และกลุ่มสารวจทรัพยากรป่าไม้ สานักฟื้นฟูและพัฒนาพื้นท่ี
อนุรักษ์ ดาเนินการได้ท้ังส้ิน 78 แปลง แสดงดังภาพท่ี 8-9

ภาพที่ 8 แผนทแี่ สดงขอบเขตและลกั ษณะภมู ิประเทศของอทุ ยานแห่งชาติไทรโยค

การสารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พน้ื ทอ่ี ทุ ยานแห่งชาตไิ ทรโยค

18

ภาพท่ี 9 แปลงตัวอยา่ งท่ไี ดด้ าเนินการสารวจภาคสนามในอุทยานแหง่ ชาตไิ ทรโยค
2. พื้นทีป่ า่ ไม้

จากการสารวจ พบว่า มีพน้ื ที่ปา่ ไม้จาแนกตามลักษณะการใช้ประโยชน์ท่ีดินได้ 5 ประเภท ได้แก่
ป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง สวนป่า และพื้นท่ีเกษตร โดยป่าเบญจพรรณพบมากสุด มีพื้นที่ 510.93
ตารางกิโลเมตร (319,333.46 ไร่) คิดเป็นร้อยละ 53.58 ของพ้ืนที่ท้ังหมด รองลงมา คือ ป่าดิบแล้ง มีพื้นที่
415.39 ตารางกิโลเมตร (259,619.33 ไร่) คิดเป็นร้อยละ 43.56 ของพ้ืนท่ีท้ังหมด พ้ืนที่เกษตร มีพื้นท่ี 13.52
ตารางกิโลเมตร (8,450.80 ไร่) คิดเป็นร้อยละ 1.42 ของพื้นที่ทั้งหมด สวนป่า มีพื้นที่ 8.11 ตารางกิโลเมตร
(5,065.42 ไร่) คิดเป็นร้อยละ 0.85 ของพ้ืนท่ีท้ังหมด และป่าเต็งรัง มีพื้นที่ 0.31 ตารางกิโลเมตร (1,870.09 ไร่)
คิดเป็นร้อยละ 3.33 ของพื้นที่ทั้งหมด อีกทั้งยังมีลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดินประเภท ทุ่งหญ้า ที่อยู่อาศัย
และแหล่งน้า คิดเป็นร้อยละ 1.82,0.79 และ 0.01 ตามลาดับ ของพ้ืนท่ีท้ังหมด (ซ่ึงได้จากการ แปลภาพถ่าย
ทางอากาศปี พ.ศ. 2545) รายละเอียดแสดงดังตารางที่ 2 ภาพที่ 10 และลักษณะทั่วไป ของลักษณะการใช้
ประโยชน์ทดี่ ิน แสดงดงั ภาพที่ 11-15

การสารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พน้ื ทอ่ี ทุ ยานแห่งชาตไิ ทรโยค

19

ตารางที่ 2 พนื้ ทป่ี ่าไมจ้ าแนกตามลกั ษณะการใช้ประโยชน์ทีด่ ินในอุทยานแหง่ ชาตไิ ทรโยค
(Area by Forest Type)

ลกั ษณะการใช้ประโยชนท์ ดี่ นิ จานวน พ้ืนท่ี รอ้ ยละ

(Landuse Type) แปลงตัวอยา่ ง ตร.กม. เฮกตาร์ ไร่ ของพื้นทท่ี ั้งหมด

ป่าดบิ แลง้ 8 415.39 41,539.00 259,619.33 43.562

(Dry Evergreen Forest)

ปา่ เบญจพรรณ 66 510.93 51,093.00 319,333.46 53.581

(Mixed Deciduous Forest)

ปา่ เตง็ รัง 1 2.99 299.00 1,870.09 0.314

(Dry Dipterocarp Forest)

สวนปา่ 1 8.11 811.00 5,065.42 0.850

(Forest Plantation)

พ้นื ทเี่ กษตรกรรม 2 13.52 1,352.00 8,450.80 1.418

(Agriculture land)

ทงุ่ หญา้ - 1.82 181.93 1,137.17 0.191

(Glassland) - 0.01 1.00 9.18 0.002
แหล่งน้า

(Natural water resourses) - 0.79 79.00 495.17 0.083
ที่อย่อู าศยั

(Built up lands)

รวม (Total) 78 953.56 95,356.90 595,980.62 100.00

หมายเหตุ :
- ใช้ข้อมูลจากการแปลภาพถ่ายทางอากาศ (ปี 2545)
- ร้อยละของพ้นื ทีท่ ัง้ หมดไดจ้ ากการแปลภาพถ่ายทางอากาศซ่ึงมพี นื้ ท่เี ทา่ กบั 953.56 ตารางกิโลเมตร หรือ

595,980.62 ไร่
- พนื้ ทเี่ กษตร ได้แก่ ไรม่ นั สาปะหลัง
- ลกั ษณะการใช้ประโยชนท์ ่ดี ินประเภท ทงุ่ หญ้า แหลง่ นา้ ทีอ่ ยอู่ าศยั ไดจ้ ากการแปลภาพถ่ายทางอากาศซงึ่ นามาคดิ

คานวณร้อยละของพื้นทท่ี ง้ั หมด

การสารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พน้ื ทอ่ี ทุ ยานแห่งชาตไิ ทรโยค

20

ภาพที่ 10 การใชป้ ระโยชนท์ ่ีดนิ ในพืน้ ที่อุทยานไทรโยคทไี่ ด้จากการแปลภาพถ่ายทางอากาศปี พ.ศ. 2545

การสารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พน้ื ทอ่ี ุทยานแห่งชาตไิ ทรโยค

21

ภาพที่ 11 ลกั ษณะทั่วไปของปา่ ดิบแล้งในพนื้ ท่ีอทุ ยานแหง่ ชาตไิ ทรโยค

การสารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พน้ื ทอ่ี ุทยานแห่งชาตไิ ทรโยค

22

ภาพท่ี 12 ลกั ษณะทั่วไปของเบญจพรรณในพื้นที่อุทยานแหง่ ชาตไิ ทรโยค

การสารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พน้ื ทอ่ี ุทยานแห่งชาตไิ ทรโยค

23

ภาพที่ 13 ลกั ษณะทั่วไปของป่าเต็งรังในพน้ื ที่อทุ ยานแห่งชาตไิ ทรโยค

การสารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พน้ื ทอ่ี ุทยานแห่งชาตไิ ทรโยค

24

ภาพที่ 14 ลกั ษณะท่ัวไปของสวนป่าในพนื้ ที่อทุ ยานแห่งชาตไิ ทรโยค

การสารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พน้ื ทอ่ี ทุ ยานแห่งชาตไิ ทรโยค

25

ภาพท่ี 15 ลักษณะทั่วไปของพน้ื ท่เี กษตรในพืน้ ท่ีอทุ ยานแหง่ ชาตไิ ทรโยค

การสารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พน้ื ทอ่ี ทุ ยานแห่งชาตไิ ทรโยค

26

3. ปรมิ าณไม้

3.1 จานวนและปรมิ าตรไม้

จากการวิเคราะห์เกย่ี วกับชนิดไม้ ปริมาณ ปริมาตร และความหนาแน่นของต้นไม้ในป่า โดยการสารวจ
ทรพั ยากรป่าไมใ้ นแปลงตัวอยา่ งถาวร ในพ้ืนที่เขตอุทยานแห่งชาติไทรโยค จานวนทั้งส้ิน 78 แปลง พบว่า ชนิดป่า
หรือลกั ษณะการใชป้ ระโยชน์ท่ีดินทส่ี ารวจพบทั้ง 5 ประเภท ได้แก่ ป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง สวนป่า
และพื้นท่ีเกษตร พบไม้ยืนต้นที่มีความสูงมากกว่า 1.30 เมตร และมีขนาดเส้นรอบวงเพียงอก (GBH) มากกว่า
หรอื เท่ากับ 15 เซนตเิ มตรขนึ้ ไป มีมากกว่า 245 ชนิด รวมทั้งหมด 33,859,000 ต้น ปริมาตรไม้รวมท้ังหมด 11,437,459.18
ลูกบาศก์เมตร ปริมาตรไม้เฉลี่ย 16.53 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ มีความหนาแน่นของต้นไม้เฉลี่ย 50.46 ต้นต่อไร่
พบปรมิ าณไมม้ ากสุดในป่าดิบแล้งจานวน 18,173,353 ต้น รองลงมา ป่าเบญจพรรณ พบจานวน 14,964,159 ต้น
สาหรับปริมาตรไม้พบมากสุดในป่าดิบแล้ง จานวน 6,236,242.31 ลูกบาศก์เมตร รองลงมา คือ ป่าเบญจพรรณ
จานวน 5,034,480.05 ลูกบาศก์เมตร สาหรับการกระจายขนาดความโตของไม้ท้ังหมดในอุทยานแห่งชาติไทรโยค
พบขนาดความโต 15-45 เซนติเมตร มากท่ีสุด จานวน 20,742,078 ต้น คิดเป็นร้อยละ 61.26 แสดงให้เห็นว่า
ขนาดของไม้ในอทุ ยานแห่งชาตินี้มีขนาดเล็ก แสดงดงั ตารางที่ 3-5 และภาพที่ 16-20

ตารางที่ 3 ปริมาณไม้ทงั้ หมดจาแนกตามลักษณะการใชป้ ระโยชน์ทดี่ นิ ในอุทยานแห่งชาติไทรโยค
(Volume by Landuse Type)

ลักษณะการใชป้ ระโยชนท์ ด่ี ิน ปรมิ าณไมท้ ้ังหมด
(Landuse Type)
จานวน (ต้น) ปรมิ าตร (ลบ.ม.)
ปา่ ดบิ แล้ง
(Dry Evergreen Forest) 18,173,353 6,236,242.31
ป่าเบญจพรรณ
(Mixed Deciduous Forest) 14,964,159 5,034,480.05
ป่าเตง็ รงั *
(Dry Dipterocarp Forest) 403,939 69,186.92
สวนปา่
(Forest Plantation) 202,617 85,747.14
พืน้ ทีเ่ กษตรกรรม
(Agriculture land) 114,931 11,802.76

รวม (Total) 33,859,000 11,437,459.18

* มีแปลงตวั อยา่ งของป่าเต็งรัง จานวน 1 แปลง อาจมีความคลาดเคลื่อนของข้อมูลค่อนข้างสูง เนื่องจากพื้นที่ป่าเต็งรังมีน้อย
และแปลงตวั อยา่ งตกอย่ใู นพน้ื ทป่ี ่าเต็งรงั มีสภาพสมบรู ณ์

การสารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พน้ื ทอ่ี ทุ ยานแหง่ ชาตไิ ทรโยค

27

ภาพที่ 16 ปรมิ าณไม้ทั้งหมดทพี่ บในพ้ืนท่ีอุทยานแห่งชาตไิ ทรโยค

ภาพท่ี 17 ปริมาตรไม้ทั้งหมดที่พบในพนื้ ที่อุทยานแห่งชาตไิ ทรโยค

การสารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พน้ื ทอ่ี ทุ ยานแห่งชาตไิ ทรโยค

28

ตารางท่ี 4 ความหนาแน่นและปริมาตรไมต้ อ่ หน่วยพ้นื ที่จาแนกตามลกั ษณะการใชป้ ระโยชนท์ ดี่ นิ
ในอทุ ยานแหง่ ชาติไทรโยค (Density and Volume per Area by Landuse Type)

ลักษณะการใชป้ ระโยชน์ทดี่ ิน ความหนาแน่น ปริมาตร
(Landuse Type) ต้น/ไร่ ตน้ /เฮกตาร์ ลบ.ม./ไร่ ลบ.ม./เฮกตาร์
70.00 437.50
ป่าดบิ แล้ง 24.02 150.13
(Dry Evergreen Forest) 46.86 292.88
ปา่ เบญจพรรณ 15.77 99.53
(Mixed Deciduous Forest) 216.00 1,350.00
ป่าเตง็ รัง 37.00 231.23
(Dry Dipterocarp Forest) 40.00 250.00
สวนป่า 16.93 105.80
(Forest Plantation) 13.60 85.00
พื้นทีเ่ กษตรกรรม 1.40 8.73
(Agriculture land) 50.46 315.38
16.53 103.32
เฉลี่ย (Average)

ภาพที่ 18 ความหนาแน่นของไม้ (ตน้ /ไร)่ ในพน้ื ท่ีอทุ ยานแหง่ ชาติไทรโยค

การสารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พน้ื ทอ่ี ุทยานแห่งชาตไิ ทรโยค

29

ภาพที่ 19 ปริมาตรไม้ (ลบ.ม./ไร)่ ในพ้ืนทอี่ ุทยานแหง่ ชาติไทรโยค

ตารางท่ี 5 การกระจายขนาดความโตของไม้ท้ังหมดในอุทยานแห่งชาตไิ ทรโยค

ขนาดความโต (GBH: cm.) ปริมาณไม้ทัง้ หมด (ต้น) ร้อยละ (%)
15 - 45 20,742,078 61.26
>45 - 100 8,616,152 25.45
>100 4,500,769 13.29
33,859,000 100.00
รวม (Total)

ภาพที่ 20 การกระจายขนาดความโตของไม้ทงั้ หมดในพนื้ ทอี่ ุทยานแหง่ ชาตไิ ทรโยค

การสารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พน้ื ทอ่ี ทุ ยานแหง่ ชาตไิ ทรโยค

30

3.2 ชน้ั เรือนยอด (Crown Class)

จากการสารวจทรัพยากรปา่ ไมภ้ าคสนามในพื้นที่อุทยานแห่งชาติไทรโยค การใช้ประโยชน์ท่ีดินประเภท
ต่างๆ 3 ประเภท คือ ป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ และป่าเต็งรัง สามารถจาแนกช้ันเรือนยอด (Crown Class)
ไดเ้ ป็น 4 ช้ัน คือ Suppressed ช่วงความสูง 5-10 เซนติเมตร Intermediate ช่วงความสูง 10-15 เซนติเมตร
Co-dominant ช่วงความสูง 15-25 เซนติเมตร และ Dominant ช่วงความสูง มากกว่า 25 เซนติเมตร พบว่า
ต้นไม้มีชั้นเรือนยอดมากที่สุดในช้ัน Suppressed จานวน 28 ต้นต่อไร่ คิดเป็นร้อยละ 59.76 ของต้นไม้ทั้งหมด
รองลงมา คือ Intermediate จานวน 10 ต้น/ไร่ คิดเป็นร้อยละ 20.49 ของต้นไม้ทั้งหมด Co-dominant จานวน
8 ต้นต่อไร่ คิดเป็นร้อยละ 17.23 ของต้นไม้ทั้งหมด และDominant จานวน 1 ต้นต่อไร่ คิดเป็นร้อยละ 2.52
ของตน้ ไม้ท้งั หมด รายละเอียดแสดงดงั ตารางท่ี 6 และภาพที่ 21

ตารางที่ 6 ชน้ั เรอื นยอดจาแนกตามช่วงความสูงของอุทยานแหง่ ชาติไทรโยค

ช้นั ความสูง ช่วงความสูง จานวน (ตน้ /ไร)่ รอ้ นละ (%)
Suppressed
Intermediate 5-10 27.75 59.76
Co-dominant 10-15 9.52 20.49
Dominant 15-25 8.00 17.23
>25 1.17 2.52
รวม (Total) 46.44 100.00

ภาพที่ 21 การจาแนกชัน้ เรอื นยอดของตน้ ไม้ (รอ้ ยละ) ของอุทยานแหง่ ชาตไิ ทรโยค

การสารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พน้ื ทอ่ี ทุ ยานแห่งชาตไิ ทรโยค

31

4. ชนดิ พันธ์ุไม้

ชนดิ พนั ธ์ุไม้ท่ีสารวจพบในภาคสนาม จาแนกโดยใช้เจา้ หนา้ ทผี่ ู้เช่ียวชาญทางด้านพันธุ์ไม้ช่วยจาแนก
ชนิดพันธุ์ไม้ที่ถูกต้อง และบางคร้ังจาเป็นต้องใช้ราษฎรในพ้ืนท่ีซ่ึงมีความรู้ในชนิดพันธ์ุไม้ประจาถิ่นช่วยในการ
เก็บข้อมูลและเก็บตัวอย่างชนิดพันธุ์ไม้ เพื่อนามาให้ผู้เชี่ยวชาญด้านพันธุ์ไม้ในสานักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 3
(บ้านโป่ง) เจ้าหน้าที่จากส่วนกลาง และสานักหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ช่วยจาแนก
ชือ่ ทางการและช่ือวิทยาศาสตรท์ ถี่ ูกต้องอกี ครั้งหนงึ่ และชนิดพันธ์ุไม้ส่วนใหญ่ที่พบมักจะเป็นพันธุ์ไม้ที่รู้จักและ
คุ้นเคยสาหรับเจ้าหน้าท่ีท่ีทาการสารวจอยู่แล้ว โดยชนิดพันธุ์ไม้ที่พบทั้งหมดในพื้นที่อุทยานแห่งชาติไทรโยค
มี 47 วงศ์ มีมากกว่า 245 ชนิด มีปริมาณไม้รวม 33,859,000 ต้น คิดเป็นปริมาตรไม้รวมท้ังหมด 11,437,459.18
ลูกบาศก์เมตร มคี วามหนาแน่นของไมเ้ ฉลีย่ 50.46 ตน้ ตอ่ ไร่ และมีปริมาตรไม้เฉล่ีย 16.53 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่
ซ่ึงเมื่อเรียงลาดับตามปริมาตรจากมากสุดไปหาน้อยสุด 10 อันดับแรก คือ เสลาเปลือกบาง (Lagerstroemia
venusta) แดง (Xylia xylocarpa) ยางแดง (Dipterocarpus turbinatus) จุมปี (Michelia baillonii) ลาพูป่า
(Duabanga grandiflora) ข่อยหนาม (Streblus ilicifolius) ประยงค์ป่า (Aglaia odoratissima) มังตาน
(Schima wallichii) ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) และ ขี้อ้าย (Terminalia triptera)
ตามลาดบั รายละเอยี ดแสดงดงั ตารางท่ี 7

ป่าดบิ แลง้ มปี ริมาณไม้รวม 18,173,353 ต้น คิดเป็นปริมาตรไม้รวม 6,236,242.31 ลูกบาศก์เมตร
มคี า่ ความหนาแนน่ เฉล่ีย 70.00 ต้นต่อไร่ มีปริมาตรไม้เฉล่ีย 24.02 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ชนิดไม้ที่มีปริมาตรไม้
มากท่ีสุด 10 อันดับแรก ได้แก่ เสลาเปลือกบาง ยางแดง จุมปี (Michelia baillonii) ลาพูป่า (Duabanga
grandiflora) ข่อยหนาม (Streblus ilicifolius) ประยงค์ป่า (Aglaia odoratissima) มังตาน (Schima wallichii)
สมอพิเภก (Terminalia bellirica) ลาไยป่า (Paranephelium xestophyllum) และ พะวา (Garcinia speciosa)
รายละเอยี ดแสดงดงั ตารางที่ 8

ปา่ เบญจพรรณมปี ริมาณไมร้ วม 14,964,159 ต้น คิดเป็นปริมาตรไม้รวม 5,034,480.05 ลูกบาศก์เมตร
มคี ่าความหนาแนน่ เฉลี่ย 46.86 ตน้ ตอ่ ไร่ มีปริมาตรไมเ้ ฉลยี่ 15.77 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ชนิดไม้ที่มีปริมาตรไม้
มากท่ีสุด 10 อันดับแรก ได้แก่ แดง ตะแบกเปลือกบาง ข้ีอ้าย ตะแบก กระพ้ีจั่น ซ้อ หว้า มะม่วงป่า (Mangifera
caloneura) กรวยป่า (Horsfieldia macrocoma) และ ตะคร้า (Garuga pinnata) รายละเอียดแสดงดัง
ตารางท่ี 9

ป่าเต็งรังมีปริมาณไม้รวม 403,939 ต้น คิดเป็นปริมาตรไม้รวม 69,186.92 ลูกบาศก์เมตร มีค่า
ความหนาแน่นเฉลี่ย 216.00 ต้นต่อไร่ มีปริมาตรไม้เฉลี่ย 37.00 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ชนิดไม้ที่มีปริมาตรไม้
มากที่สุด 10 อันดับแรก ได้แก่ เต็ง ก่อนก (Lithocarpus polystachyus) พลวง (Dipterocarpus tuberculatus)
ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus) ส้านใหญ่ (Dillenia obovata) สวอง (Vitex limonifolia) ก่อแพะ
(Quercus kerrii) เปล้าเลือด (Croton robustus) ยอเถื่อน (Morinda elliptica) และยอป่า (Morinda coreia)
รายละเอียดแสดงดังตารางที่ 10

สวนป่ามีปริมาณไม้รวม 202,617 ต้น คิดเป็นปริมาตรไม้รวม 85,747.14 ลูกบาศก์เมตร มีค่า
ความหนาแน่นเฉล่ีย 40.00 ต้นต่อไร่ มีปริมาตรไม้เฉลี่ย 16.93 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ชนิดไม้ที่มีปริมาตรไม้
มากท่ีสุด ได้แก่ สัก (Tectona grandis) รองลงมาคือ เพกา (Oroxylum indicum) และกระพี้จ่ัน รายละเอียด
แสดงดังตารางที่ 11

การสารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พน้ื ทอ่ี ุทยานแห่งชาตไิ ทรโยค

32

พ้ืนที่เกษตรมีปริมาณไม้รวม 114,931 ต้น คิดเป็นปริมาตรไม้รวม 11,802.76 ลูกบาศก์เมตร
มีค่าความหนาแน่นเฉล่ีย 13.60 ต้นต่อไร่ มีปริมาตรไม้เฉล่ีย 1.40 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ชนิดไม้มีปริมาตรไม้
มีชนดิ เดียว ได้แก่ สม้ โอ (Citrus maxima) รายละเอียดแสดงดงั ตารางที่ 12

ชนดิ และปริมาณของลกู ไมท้ ่ีพบอทุ ยานแห่งชาติไทรโยค มีมากกว่า 95 ชนดิ รวมจานวนทงั้ หมด
117,232,555 ตน้ มีความหนาแนน่ ของลูกไม้ 140.72 ตน้ ต่อไร่ ซึ่งเม่ือเรียงลาดับจากจานวนต้นทพี่ บมากสุด
ไปหาน้อยสุด 10 อันดับแรก ได้แก่ ข่อยหนาม เติม มะม่วงป่า ยอป่า ขางปอย เปล้าเลือด แดง คาแสด ลาย
และ คอแลน (Xerospermum noronhianum) รายละเอียดแสดงดงั ตารางที่ 13

ชนดิ และปรมิ าณของกล้าไม้ที่พบในอทุ ยานแห่งชาติไทรโยค มีมากกวา่ 101 ชนิด รวมจานวนท้ังหมด
1,801,090,620 ต้น มีความหนาแน่นของกล้าไม้ 2,387.69 ตน้ ต่อไร่ ซง่ึ เมื่อเรียงลาดบั จากจานวนต้นที่พบมากสดุ
ไปหาน้อยสุด 10 อันดบั แรก ได้แก่ ชงโค พลองกนิ ลูก ข่อยหนาม คันหามเสือ ข่อย สาโรง (Sterculia foetida)
มะคังดง เปล้าใหญ่ และผีเสอื้ หลวง รายละเอียดแสดงดงั ตารางที่ 14

สาหรับไม้ไผ่ ในพื้นที่อุทยานแห่งชาติไทรโยค พบว่ามีไม้ไผ่อยู่ 10 ชนิด ได้แก่ ไผ่ผากมัน
(Gigantochloa hasskarliana) ไผ่ไร่ (Gigantochloa albociliata) ไผ่ซาง (Dendrocalamus strictus)
ไผร่ วก (Thyrsostachys siamensis) ไผ่บงดา (Bambusa tulda) ไผซ่ างนวล (Dendrocalamus membranaceus)
ไผ่บง (Bambusa nutans) ไผ่ข้าวหลาม (Cephalostachyum pergracile) ไผ่ป่า (Bambusa bambos)
และ ไผ่เฮียะ (Cephalostachyum virgatum) มีปริมาณไม้ไผ่จานวน 26,773,283 กอ รวมทั้งสิ้น จานวน
351,011,190 ลา สาหรับหวายเส้นตั้งพบเพียงชนิดเดียวในป่าเบญจพรรณ คือ หวายโป่ง (Calamus
latifolius) มีจานวนเส้นท้งั หมด 220,054 เส้นรายละเอียดแสดงดังตารางที่ 15

ชนิดและปริมาณตอไม้ที่สารวจพบในอุทยานแห่งชาติไทรโยค มีมากกว่า 16 ชนิด รวมจานวน
ท้ังสิ้น 908,054 ตอ มีค่าความหนาแน่นของตอไม้เฉล่ีย 1.52 ตอต่อไร่ โดยชนิดตอไม้ที่มีปริมาณมากที่สุด 10
อันดับแรก ได้แก่ ตะครา้ แดง ปอขาว (Sterculia pexa) กระพ้ีจั่น แสมสาร (Senna garrettiana) เพกา
กระทุ่มเนิน (Mitragyna rotundifolia) สัก แคทราย และตะแบก (Lagerstroemia cuspidata) รายละเอียด
แสดงดงั ตารางท่ี 16

การสารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พน้ื ทอ่ี ุทยานแห่งชาตไิ ทรโยค

33

ตารางท่ี 7 ปริมาณไม้และปริมาตรไม้ของอุทยานแหง่ ชาตไิ ทรโยค (30 ชนิดแรกทม่ี ีปริมาตรไม้สงู สุด)

ลาดับ ชนดิ พันธุ์ไม้ ชือ่ วิทยาศาสตร์ ปรมิ าณไม้ ปริมาตรไม้ ความหนาแน่น ปรมิ าตร

(ต้น) (ลบ.ม.) (ตน้ /ไร่) (ลบ.ม./ไร)่

1 เสลาเปลอื กบาง Lagerstroemia venusta 119,331 1,293,726.77 0.08 0.51

2 แดง Xylia xylocarpa 1,114,764 531,048.17 2.95 1.41

3 ยางแดง Dipterocarpus turbinatus 119,331 495,807.80 0.08 0.32

4 จุมปี Michelia baillonii 51,924 363,573.95 0.02 0.14

5 ลาพูปา่ Duabanga grandiflora 51,924 325,814.56 0.02 0.13

6 ข่อยหนาม Streblus ilicifolius 4,479,992 250,689.75 2.15 0.12

7 ประยงคป์ ่า Aglaia odoratissima 51,924 207,779.80 0.02 0.08

8 มงั ตาน Schima wallichii 103,848 196,992.54 0.04 0.08

9 ตะแบกเปลอื กบาง Lagerstroemia duperreana 374,797 189,370.92 0.76 0.50

10 ขี้อา้ ย Terminalia triptera 348,364 167,758.20 0.92 0.44

11 สมอพเิ ภก Terminalia bellirica 243,193 162,779.62 0.41 0.13

12 ลาไยป่า Paranephelium xestophyllum 870,812 152,261.88 0.90 0.14

13 ตะแบก Lagerstroemia cuspidata 216,760 150,596.93 0.57 0.40

14 กระพจี้ นั่ Millettia brandisiana 883,248 138,318.32 2.34 0.37

15 กกุ๊ Lannea coromandelica 237,718 136,611.37 0.51 0.21

16 หวา้ Syzygium cumini 196,745 131,433.68 0.29 0.28

17 ซอ้ Gmelina arborea 38,707 122,599.42 0.10 0.32

18 มะมว่ งปา่ Mangifera caloneura 134,813 117,947.05 0.12 0.26

19 พะวา Garcinia speciosa 67,407 115,120.59 0.06 0.05

20 สา้ นใหญ่ Dillenia obovata 287,885 113,983.23 0.55 0.22

21 ขนุนป่า Artocarpus lanceifolius 178,996 107,412.74 0.12 0.05

22 ยางโอน Polyalthia viridis 199,011 98,612.86 0.41 0.16

23 ปออเี ก้ง Pterocymbium tinctorium 142,555 94,849.52 0.14 0.23

24 สกั Tectona grandis 185,681 93,351.58 0.47 0.24

25 กรวยปา่ Horsfieldia macrocoma 116,121 91,401.89 0.31 0.24

26 ตะคร้า Garuga pinnata 92,897 87,073.89 0.25 0.23

27 แคทราย Stereospermum neuranthum 301,915 82,644.57 0.80 0.22

28 ปอตาน Sterculia urena 131,604 82,418.79 0.35 0.22

29 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 305,634 80,823.65 0.72 0.23

30 งิ้วปา่ Bombax anceps 309,657 76,716.34 0.82 0.20

31 อื่นๆ Other 21,901,445 5,177,938.82 33.15 8.40

รวม (Total) 33,859,000 11,437,459.18 50.46 16.53

หมายเหตุ : มชี นดิ พันธไุ์ มท้ ี่สารวจพบมากกว่า 245 ชนดิ

การสารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พน้ื ทอ่ี ทุ ยานแหง่ ชาตไิ ทรโยค

34

ตารางที่ 8 ปรมิ าณไม้และปรมิ าตรไม้ในปา่ ดิบแล้งของอทุ ยานแห่งชาติไทรโยค (30 ชนดิ แรก

ท่มี ีปรมิ าตรไม้สูงสดุ )

ลาดบั ชนิดพนั ธไุ์ ม้ ชือ่ วทิ ยาศาสตร์ ปรมิ าณไม้ ปรมิ าตรไม้ ความหนาแน่น ปริมาตร
(ลบ.ม./ไร่)
(ต้น) (ลบ.ม.) (ต้น/ไร่)
4.98
1 เสลาเปลือกบาง Lagerstroemia venusta 103,848 1,293,336.01 0.40 1.70
1.40
2 ยางแดง Dipterocarpus turbinatus 103,848 441,585.90 0.40 1.25
0.93
3 จุมปี Michelia baillonii 51,924 363,573.95 0.20 0.80
0.76
4 ลาพูป่า Duabanga grandiflora 51,924 325,814.56 0.20 0.51
0.46
5 ขอ่ ยหนาม Streblus ilicifolius 4,309,681 241,606.40 16.60 0.44
0.40
6 ประยงค์ปา่ Aglaia odoratissima 51,924 207,779.80 0.20 0.29
0.26
7 มังตาน Schima wallichii 103,848 196,992.54 0.40 0.25
0.25
8 สมอพิเภก Terminalia bellirica 103,848 132,634.06 0.40 0.25
0.23
9 ลาไยปา่ Paranephelium xestophyllum 623,086 118,533.72 2.40 0.23
0.21
10 พะวา Garcinia speciosa 51,924 113,944.47 0.20 0.19
0.17
11 ขนนุ ป่า Artocarpus lanceifolius 155,772 103,311.58 0.60 0.17
0.15
12 เหรยี ง Parkia timoriana 51,924 75,942.17 0.20 0.14
0.13
13 กุ๊ก Lannea coromandelica 51,924 67,616.31 0.20 0.11
0.10
14 เสม็ดทุง่ Lophopetalum wallichii 51,924 65,274.71 0.20 0.09
0.09
15 มะคังดง Ostodes paniculata 155,772 64,662.70 0.60 0.09
6.98
16 อินทนิลบก Lagerstroemia macrocarpa 207,695 64,004.86 0.80
24.02
17 เตมิ Bischofia javensis 155,772 60,398.81 0.60

18 สะเดา Azadirachta indica 103,848 60,194.71 0.40

19 พลอง Memecylon garcinioides 571,163 54,360.52 2.20

20 กระเบากลกั Hydnocarpus ilicifolia 363,467 48,947.48 1.40

21 ยางโอน Polyalthia viridis 51,924 45,390.93 0.20

22 ปอเลยี งฝา้ ย Eriolaena candollei 415,391 43,154.41 1.60

23 สา้ นหง่ิ Dillenia parviflora 51,924 38,011.33 0.20

24 ส้านใหญ่ Dillenia obovata 103,848 37,066.44 0.40

25 กะเจยี น Polyalthia cerasoides 51,924 34,156.72 0.20

26 หวา้ Syzygium cumini 103,848 29,792.45 0.40

27 ผีเส้ือหลวง Casearia grewiifolia 51,924 26,759.57 0.20

28 คอแลน Nephelium hypoleucum 155,772 24,655.70 0.60

29 มะม่นุ Elaeocarpus stipularis 103,848 22,763.17 0.40

30 ตีนนก Vitex pinnata 51,924 22,668.67 0.20

31 อน่ื ๆ Other 9,605,915 1,811,307.68 37.00

รวม (Total) 18,173,353 6,236,242.31 70.00

หมายเหตุ : มชี นดิ พนั ธุ์ไม้ที่สารวจพบมากกวา่ 74 ชนิด

การสารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พน้ื ทอ่ี ุทยานแห่งชาตไิ ทรโยค

35

ตารางที่ 9 ปรมิ าณไม้และปรมิ าตรไม้ในป่าเบญจพรรณของของอทุ ยานแหง่ ชาติไทรโยค

(30 ชนดิ แรกท่ีมปี ริมาตรไมส้ ูงสุด)

ลาดับ ชนิดพันธไ์ุ ม้ ชื่อวิทยาศาสตร์ ปริมาณไม้ ปริมาตรไม้ ความหนาแนน่ ปรมิ าตร
(ลบ.ม./ไร)่
(ต้น) (ลบ.ม.) (ต้น/ไร่)
1.66
1 แดง Xylia xylocarpa 1,114,764 531,048.17 3.49 0.59
0.53
2 ตะแบกเปลือกบาง Lagerstroemia duperreana 270,950 187,263.09 0.85 0.47
0.43
3 ขอ้ี า้ ย Terminalia triptera 348,364 167,758.20 1.09 0.38
0.32
4 ตะแบก Lagerstroemia cuspidata 216,760 150,596.93 0.68 0.30
0.29
5 กระพีจ้ ัน่ Millettia brandisiana 867,039 138,105.85 2.72 0.27
0.26
6 ซ้อ Gmelina arborea 38,707 122,599.42 0.12 0.26
0.26
7 หว้า Syzygium cumini 92,897 101,641.23 0.29 0.24
0.24
8 มะม่วงป่า Mangifera caloneura 30,966 95,814.28 0.10 0.24
0.23
9 กรวยปา่ Horsfieldia macrocoma 116,121 91,401.89 0.36 0.22
0.22
10 ตะคร้า Garuga pinnata 92,897 87,073.89 0.29 0.22
0.21
11 ปออเี ก้ง Pterocymbium tinctorium 38,707 83,685.76 0.12 0.20
0.19
12 แคทราย Stereospermum neuranthum 301,915 82,644.57 0.95 0.19
0.19
13 ปอตาน Sterculia urena 131,604 82,418.79 0.41 0.17
0.17
14 ง้วิ ป่า Bombax anceps 309,657 76,716.34 0.97 0.17
0.17
15 สา้ นใหญ่ Dillenia obovata 178,053 75,946.60 0.56 0.16
6.34
16 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 247,725 75,560.94 0.78
15.77
17 เกด็ ขาว Dalbergia glomeriflora 69,673 74,349.78 0.22

18 เสลาขาว Lagerstroemia tomentosa 100,638 71,368.42 0.32

19 สาโรง Sterculia foetida 61,931 70,545.46 0.19

20 กกุ๊ Lannea coromandelica 185,794 68,995.06 0.58

21 กระทุม่ เนิน Mitragyna rotundifolia 294,174 66,003.20 0.92

22 มะกอกเกลอ้ื น Canarium subulatum 69,673 62,862.77 0.22

23 กร่าง Ficus altissima 15,483 59,626.21 0.05

24 กางหลวง Albizia chinensis 38,707 59,494.85 0.12

25 เสม็ดน้า Syzygium putil 46,449 59,179.89 0.15

26 ยางแดง Dipterocarpus turbinatus 15,483 54,221.89 0.05

27 กาสามปกี Vitex peduncularis 123,863 53,339.47 0.39

28 ยางโอน Polyalthia viridis 147,087 53,221.94 0.46

29 ตะครอ้ Schleichera oleosa 139,346 53,148.91 0.44

30 รงั Shorea siamensis 77,414 52,668.83 0.24

31 อ่ืนๆ Others 9,181,321 2,025,177.41 28.75

รวม (Total) 14,964,159 5,034,480.05 46.86

หมายเหตุ : มีชนดิ พนั ธุ์ไม้ท่ีสารวจพบมากกวา่ 214 ชนิด

การสารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พน้ื ทอ่ี ทุ ยานแหง่ ชาตไิ ทรโยค

36

ตารางที่ 10 ปริมาณไม้และปรมิ าตรไม้ในป่าเต็งรงั ท้ังหมดของอทุ ยานแหง่ ชาตไิ ทรโยค (เรยี งตามปริมาตรไม้)

ลาดับ ชนิดพันธุไ์ ม้ ชื่อวทิ ยาศาสตร์ ปรมิ าณไม้ ปริมาตรไม้ ความหนาแนน่ ปรมิ าตร

(ต้น) (ลบ.ม.) (ตน้ /ไร่) (ลบ.ม./ไร่)

1 เตง็ Shorea obtusa 86,772 38,169.07 46.40 20.41

2 ก่อนก Lithocarpus polystachyus 143,623 12,250.57 76.80 6.55

3 พลวง Dipterocarpus tuberculatus 71,811 7,563.98 38.40 4.04

4 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 5,984 4,505.93 3.20 2.41

5 สา้ นใหญ่ Dillenia obovata 5,984 970.20 3.20 0.52

6 สวอง Vitex limonifolia 8,976 721.53 4.80 0.39

7 ก่อแพะ Quercus kerrii 2,992 289.30 1.60 0.15

8 เปลา้ เลอื ด Croton robustus 14,961 219.20 8.00 0.12

9 ยอเถื่อน Morinda elliptica 2,992 184.38 1.60 0.10

10 ยอป่า Morinda coreia 8,976 175.81 4.80 0.09

11 กอ่ หวั หมู Lithocarpus sootepensis 2,992 26.64 1.60 0.01

12 F.ANACARDIACEAE F.ANACARDIACEAE 35,906 3,391.30 19.20 1.81

13 F.ANNONACEAE F.ANNONACEAE 2,992 97.87 1.60 0.05

14 อ่ืนๆ Other 8,976 621.15 4.80 0.33

รวม (Total) 403,939 69,186.92 216.00 37.00

ตารางท่ี 11 ปรมิ าณไม้และปรมิ าตรไม้ในสวนปา่ ของอุทยานแหง่ ชาติไทรโยค (เรียงตามปรมิ าตรไม)้

ลาดบั ชนิดพันธไ์ุ ม้ ช่ือวทิ ยาศาสตร์ ปริมาณไม้ ปริมาตรไม้ ความหนาแนน่ ปริมาตร

(ตน้ ) (ลบ.ม.) (ต้น/ไร)่ (ลบ.ม./ไร่)

1 สัก Tectona grandis 170,198 84,490.51 33.60 16.68
2 เพกา Oroxylum indicum 16,209 1,044.16 3.20 0.21
3 กระพจี้ น่ั Millettia brandisiana 16,209 3.20 0.04
212.47

รวม (Total) 202,617 85,747.14 40.00 16.93

ตารางที่ 12 ปริมาณไม้และปริมาตรไม้ในพนื้ ทเ่ี กษตรของอุทยานแหง่ ชาตไิ ทรโยค

ลาดบั ชนดิ พนั ธ์ุไม้ ชื่อวทิ ยาศาสตร์ ปริมาณไม้ ปรมิ าตรไม้ ความหนาแนน่ ปริมาตร
(ตน้ /ไร)่ (ลบ.ม./ไร่)
(ตน้ ) (ลบ.ม.) 13.60
13.60 1.40
1 ส้มโอ Citrus maxima 114,931 11,802.76 1.40

รวม (Total) 114,931 11,802.76

การสารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พน้ื ทอ่ี ทุ ยานแห่งชาตไิ ทรโยค

37

ตารางที่ 13 ชนิดและปริมาณของลกู ไม้ (Sapling) ท่ีพบในอุทยานแหง่ ชาติไทรโยค

(30 ชนดิ แรกท่มี ีปรมิ าณไมส้ ูงสุด)

ลาดับ ชนิดพรั ธไุ์ ม้ ชอ่ื วิทยาศาสตร์ ปริมาณลกู ไมท้ งั้ หมด

จานวน (ต้น) ความหนาแนน่ ( ตน้ /ไร)่

1 ขอ่ ยหนาม Streblus ilicifolius 15,467,653 8.21
2 เติม Bischofia javensis 12,461,728 4.92
3 มะม่วงปา่ Mangifera caloneura 6,230,864 2.46
4 ยอป่า Morinda coreia 5,192,387 2.05
5 ขางปอย Acalypha kerrii 4,153,909 1.64
6 เปลา้ เลือด Croton robustus 4,009,259 4.10
7 แดง Xylia xylocarpa 3,934,895 5.74
8 คาแสด Mallotus philippensis 3,734,745 2.87
9 ลาย Microcos paniculata 3,579,917 2.46
10 คอแลน Xerospermum noronhianum 3,115,432 1.23
11 เงาะป่า Nephelium cuspidatum 3,115,432 1.23
12 กระเบากลกั Hydnocarpus ilicifolia 3,115,432 1.23
13 กระพ้ีจน่ั Millettia brandisiana 2,632,082 6.97
14 ผเี สื้อหลวง Casearia grewiifolia 2,076,955 0.82
15 เสยี้ วป่า Bauhinia saccocalyx 2,012,768 5.33
16 เปล้าใหญ่ Croton roxburghii 2,012,768 5.33
17 โมกมัน Wrightia arborea 1,967,447 2.87
18 มะเมา่ เขา Antidesma laurifolium 1,548,283 4.10
19 ม่วงกอ้ ม Turpinia cochinchinensis 1,548,283 4.10
20 มะเดอ่ื ปล้อง Ficus hispida 1,502,962 1.64
21 ชงโค Bauhinia purpurea 1,238,627 3.28
22 ลาไยป่า Paranephelium xestophyllum 1,193,306 0.82
23 ตาเสือ Aphanamixis polystachya 1,193,306 0.82
24 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 1,083,798 2.87
25 นมน้อย Polyalthia evecta 1,083,798 2.87
26 ติว้ เกลี้ยง Cratoxylum cochinchinense 1,083,798 2.87
27 ข่อย Streblus asper 1,083,798 2.87
28 สัตบรรณ Alstonia scholaris 1,038,477 0.41
29 ลาพปู า่ Duabanga grandiflora 1,038,477 0.41
30 มะกอก Spondias pinnata 1,038,477 0.41
31 อ่ืนๆ Others 22,743,489 54.00

รวม (Total) 117,232,555 140.72

หมายเหตุ : มชี นิดพนั ธ์ุกลา้ ไมท้ สี่ ารวจพบมากกวา่ 95 ชนิด

การสารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พน้ื ทอ่ี ทุ ยานแหง่ ชาตไิ ทรโยค

38

ตารางท่ี 14 ชนดิ และปริมาณของกล้าไม้ (Seeding) ที่พบในอทุ ยานแห่งชาติไทรโยค
(30 ชนดิ แรกทมี่ ีปรมิ าณสูงสุด)

ลาดบั ชนดิ พนั ธุ์ไม้ ช่ือวิทยาศาสตร์ ปริมาณกล้าไม้ท้ังหมด

1 ชงโค Bauhinia purpurea จานวน (ต้น) ความหนาแนน่ ( ตน้ /ไร)่
227,369,938 110.77

2 พลองกนิ ลูก Memecylon ovatum 145,386,825 57.44

3 ขอ่ ยหนาม Streblus ilicifolius 110,040,866 57.44

4 คนั หามเสือ Aralia montana 93,462,959 36.92

5 ข่อย Streblus asper 65,858,417 57.44

6 สาโรง Sterculia foetida 65,027,905 172.31

7 มะคังดง Ostodes paniculata 62,308,639 24.62

8 เปลา้ ใหญ่ Croton roxburghii 52,830,288 69.74

9 ผเี ส้ือหลวง Casearia grewiifolia 51,923,866 20.51

10 เขม็ ปา่ Ixora cibdela 40,969,882 61.54

11 ม่วงก้อม Turpinia cochinchinensis 35,610,519 94.36

12 ส้านใหญ่ Dillenia obovata 34,250,886 20.51

13 ยอปา่ Morinda coreia 34,250,886 20.51

14 เสี้ยวป่า Bauhinia saccocalyx 34,134,887 90.26

15 ยาบขี้ไก่ Grewia laevigata 32,513,952 86.15

16 เสลาเปลอื กบาง Lagerstroemia venusta 31,154,320 12.31

17 โมกมนั Wrightia arborea 27,869,102 73.85
18 คาแสด Mallotus philippensis 25,867,608 45.13

19 ขอี้ ้าย Terminalia triptera 24,772,535 65.64

20 ตะแบกเปลือกบาง Lagerstroemia duperreana 23,224,252 61.54

21 มะขามป้อม Phyllanthus emblica 19,478,318 28.72
22 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 17,031,118 45.13

23 กระพ้จี ่นั Millettia brandisiana 17,031,118 45.13

24 ลาย Microcos paniculata 15,482,834 41.03

25 มะเดื่อปลอ้ ง Ficus hispida 14,502,057 41.03
26 สาธร Millettia leucantha 13,934,551 36.92

27 ผ่าเสยี้ น Vitex canescens 13,934,551 36.92

28 ชงโคนา Bauhinia racemosa 13,481,340 12.31

29 ยาบใบยาว Colona flagrocarpa 12,386,268 32.82
30 ฉนวน Dalbergia nigrescens 12,386,268 32.82

31 อ่ืนๆ Others 432,613,666 795.90

รวม (Total) 1,801,090,620 2,387.69

หมายเหตุ : มีชนดิ พนั ธุ์กล้าไมท้ ี่สารวจพบท้งั หมด 101 ชนิด

การสารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พน้ื ทอ่ี ทุ ยานแหง่ ชาตไิ ทรโยค

39

ตารางท่ี 15 ชนิดและปริมาณไม้ไผ่ หวาย และไม้กอ ทีพ่ บในอุทยานแหง่ ชาตไิ ทรโยค

ลาดับ พนั ธ์ไุ ผ/่ หวาย ช่อื วิทยาศาสตร์ ปริมาณไมไ้ ผ่ท้งั หมด จานวนเส้นท้งั หมด

จานวนกอ จานวนลา -
-
1 ไผผ่ ากมนั Gigantochloa hasskarliana 12,543,100 169,881,983 -
-
2 ไผ่ไร่ Gigantochloa albociliata 3,716,474 30,783,163 -
-
3 ซาง Dendrocalamus strictus 3,594,222 54,328,982 -
-
4 ไผร่ วก Thyrsostachys siamensis 3,080,761 44,133,129 -
-
5 บงดา Bambusa tulda 1,687,084 29,242,782 220,054
220,054
6 ไผซ่ างนวล Dendrocalamus membranaceus 978,019 8,410,968

7 ไผบ่ ง Bambusa nutans 440,109 7,604,101

8 ขา้ วหลาม Cephalostachyum pergracile 366,757 3,471,969

9 ไผป่ ่า Bambusa bambos 195,604 1,589,282

10 ไผ่เฮียะ Cephalostachyum virgatum 122,252 1,369,227

11 หวายโปง่ Calamus latifolius --

รวม (Total) 27,188,942 371,060,590

หมายเหตุ : ไมพ่ บไมก้ อ

ตารางท่ี 16 ชนิดและปริมาณตอไม้ท่ีพบในอทุ ยานแหง่ ชาตไิ ทรโยค

ลาดบั ชนิดพนั ธไ์ุ ม้ ชอื่ วิทยาศาสตร์ ปริมาณตอไม้ท้ังหมด

จานวน (ตอ) ความหนาแน่น ( ตอ/ไร่)

1 ตะคร้า Garuga pinnata 103,848 0.04

2 แดง Xylia xylocarpa 30,966 0.08

3 ปอขาว Sterculia pexa 30,966 0.08

4 กระพ้จี นั่ Millettia brandisiana 30,966 0.08

5 แสมสาร Senna garrettiana 30,966 0.08

6 เพกา Oroxylum indicum 30,966 0.08

7 กระทมุ่ เนนิ Mitragyna rotundifolia 30,966 0.08

8 สกั Tectona grandis 16,209 0.04

9 แคทราย Stereospermum neuranthum 15,483 0.04

10 ตะแบก Lagerstroemia cuspidata 15,483 0.04

11 ก้านเหลอื ง Nauclea orientalis 15,483 0.04

12 ประดู่ Pterocarpus macrocarpus 15,483 0.04

13 เสลาขาว Lagerstroemia tomentosa 15,483 0.04

14 ก่อนก Lithocarpus polystachyus 11,969 0.08

15 F.MORACEAE F.MORACEAE 207,695 0.08

16 อ่นื ๆ Others 305,125 0.57
908,054 1.52
รวม (Total)

การสารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พน้ื ทอ่ี ุทยานแหง่ ชาตไิ ทรโยค

40

5. ข้อมูลสงั คมพชื
จากผลการสารวจเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลสังคมพืชในอุทยานแห่งชาติไทรโยค พบว่ามีสังคมพืช

5 ประเภท ได้แก่ ป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง สวนป่า และพื้นที่เกษตร และจากการวิเคราะห์ข้อมูล
สังคมพืช พบความหนาแน่นของพรรณพืช (Density) ความถ่ี (frequency) ความเด่น (Dominance) และดัชนี
ความสาคญั ของพรรณไม้ (IVI) ดังนี้

ป่าดบิ แลง้ ชนดิ ไม้ทีม่ คี ่าดชั นีความสาคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด 10 อันดับแรก ได้แก่ ข่อยหนาม
(Streblus ilicifolius) เสลาเปลือกบาง (Lagerstroemia venusta) ลาไยป่า (Paranephelium xestophyllum)
ยางแดง (Dipterocarpus turbinatus) พลอง (Memecylon garcinioides) ขางปอย (Acalypha kerrii)
ปอเลียงฝ้าย (Eriolaena candollei) ละมุดป่า (Manilkara littoralis) จุมปี (Michelia baillonii) และมังตาน
(Schima wallichii) รายละเอียดแสดงดงั ตารางท่ี 17

ป่าเบญจพรรณ ชนิดไม้ท่ีมีค่าดัชนีความสาคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด 10 อันดับแรก ได้แก่ แดง
(Xylia xylocarpa) กระพี้จั่น (Millettia brandisiana) ขี้อ้าย (Terminalia triptera) เพกา (Oroxylum
indicum) ตะแบกเปลือกบาง (Lagerstroemia duperreana) เปล้าใหญ่ (Croton roxburghii) ง้ิวป่า (Bombax
anceps) แคทราย (Stereospermum neuranthum) ตะแบก (Lagerstroemia cuspidata) และกระทุ่มเนิน
(Mitragyna rotundifolia) รายละเอียดแสดงดังตารางท่ี 18

ป่าเต็งรงั ชนดิ ไม้ท่ีมคี า่ ดัชนีความสาคญั ของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด คือ เต็ง (Shorea obtusa) ก่อนก
(Lithocarpus polystachyus) พลวง (Dipterocarpus tuberculatus) ประดู่ (Pterocarpus macrocarpus)
เปล้าเลือด (Croton robustus) สวอง (Vitex limonifolia) ส้านใหญ่ (Dillenia obovata) ยอป่า (Morinda
coreia) ก่อแพะ (Quercus kerrii) และยอเถื่อน (Morinda elliptica) รายละเอยี ดแสดงดังตารางท่ี 19

สวนป่า มีชนิดไม้ที่มีค่าดัชนีความสาคัญของชนิดไม้ (IVI) สูงสุด คือ สัก (Tectona grandis)
รองลงมาคือ เพกา (Oroxylum indicum) และกระพ้ีจ่นั รายละเอยี ดแสดงดังตารางท่ี 20

พ้ืนที่เกษตร มีชนิดไม้ที่มีค่าดัชนีความสาคัญของชนิดไม้ (IVI) เพียงชนิดเดียว คือ ส้มโอ (Citrus
maxima) รายละเอียดแสดงดงั ตารางที่ 21

การสารวจทรพั ยากรปา่ ไม้
พน้ื ทอ่ี ทุ ยานแห่งชาตไิ ทรโยค

ตารางท่ี 17 ชนิดพนั ธุ์ไมจ้ ากการวเิ คราะหข์ ้อมูลสังคมพืชดา้ นดัชนีความสาคญั ของช

ในอุทยานแห่งชาตไิ ทรโยค (20 อันดบั แรก)

ลาดับ ชนดิ พันธไ์ุ ม้ ช่อื วทิ ยาศาสตร์ แปลงพบ ค่าความหน

1 ข่อยหนาม Streblus ilicifolius 5 2
1 0
2 เสลาเปลอื กบาง Lagerstroemia venusta 3 3
1 0
3 ลาไยป่า Paranephelium xestophyllum 2 3
2 3
4 ยางแดง Dipterocarpus turbinatus 3 2
2 3
5 พลอง Memecylon garcinioides 1 0
2 0
6 ขางปอย Acalypha kerrii 3 2
1 0
7 ปอเลยี งฝา้ ย Eriolaena candollei 3 1
2 1
8 ละมดุ ปา่ Manilkara littoralis 1 2
1 0
9 จมุ ปี Michelia baillonii 1 0
1 0
10 มงั ตาน Schima wallichii 2 0
2 0
11 ขี้หนอน Zollingeria dongnaiensis 4

12 ลาพูปา่ Duabanga grandiflora 10

13 มะเดื่อปล้อง Ficus hispida

14 อนิ ทนิลบก Lagerstroemia macrocarpa

15 กระเบากลกั Hydnocarpus ilicifolia

16 ประยงคป์ ่า Aglaia odoratissima

17 สมอพเิ ภก Terminalia bellirica

18 ขนนุ ปา่ Artocarpus lanceifolius

19 คอแลน Nephelium hypoleucum

20 สา้ นใหญ่ Dillenia obovata

21 อืน่ ๆ Other

รวม (Total)


Click to View FlipBook Version