The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา 2564-ปีการศึกษา 2567

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by photographer046, 2022-05-27 04:06:40

แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา 2564-ปีการศึกษา 2567

แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา 2564-ปีการศึกษา 2567

บันทกึ การให้ความเหน็ ชอบแผนพฒั นาคุณภาพการจัดศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2564-2567
ของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้นื ฐานโรงเรียนบา้ นกาแย
………………………………………………….

ที่ประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนบ้านกาแย คร้ังที่ 2/2564 มีมติเห็นชอบ
แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ระยะ 4 ปี (ปีการศึกษา 2564-2567) ของโรงเรียนบ้านกาแย เพ่ือใช้
เป็นกรอบทิศทางการดำเนินการจัดการศึกษา ของโรงเรียนในระยะ 4 ปี ซึ่งแผนดังกล่าวเกิดจากความ
ร่วมมือของคณะครู และกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานโรงเรียนบ้านกาแย และเห็นว่าเป็นประโยชน์แก่
นกั เรียนและโรงเรยี นเปน็ อย่างมาก

คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนบ้านกาแย จึงขอขอบคุณคณะทำงานแผนพัฒนา
การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน ระยะ 4 ปี ทกุ ท่าน

(…………………………………………………………..)
นายมูฮมั หมัด อาหวัง

ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พื้นฐานโรงเรยี นบา้ นกาแย

คำนำ

แผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน ปีการศกึ ษา 2564-2567 โรงเรียนบา้ นกาแยฉบบั นี้ จัดทำ
ข้ึนเพ่ือเป็นเคร่ืองมือในการบริหารจัดการศึกษาท่ีมีระบบ มีทิศทาง มีระเบียบแบบแผน ตอบสนองมาตรฐาน
การศึกษาข้ันพ้ืนฐานกระทรวงศึกษาธิการ โดยการสำรวจสถานภาพของโรงเรียน จากรายงานประเมินตนเอง
การประเมินคุณภาพภายนอกของสำนักงานรับรองมาตรฐาน และประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) และผล
วิเคราะห์สภาพการณ์ท้ังภายในและภายนอกโรงเรียน และนำมากำหนดเป็นแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้น
พื้นฐานโรงเรียนบ้านกาแย ปีการศึกษา 2564-2567 ซ่ึงประกอบด้วย ทิศทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ และกลยุทธ์ กรอบกลยุทธ์พัฒนาการศึกษา วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ ตัวชี้วัด
ค่าเป้าหมาย และแนวทางการพัฒนา โครงการ/กิจกรรมระยะ 4 ปี และการบริหาร การติดตามและประเมิน
แผน

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนบ้านกาแยฉบับนี้ ใช้เป็นแนวทางในการทำแผนปฏิบัติงาน
ประจำปีของโรงเรียน ต้ังแต่ปีการศึกษา 2564-2567 เพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน ตาม
มาตรฐานการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานตอ่ ไป

โรงเรียนบ้านกาแย
เดือนพฤษภาคม พ.ศ.2564

สารบัญ หนา้
1
เรอ่ื ง 1
บทท่ี 1 ภาพรวมโรงเรียน 2
2
- ขอ้ มูลท่ัวไป 3
- ขอ้ มูลผ้บู ริหารปัจจบุ ัน 4
- สัญลกั ษณโ์ รงเรียน 4
- โครงสรา้ งการบริหารงานโรงเรียน 5
- ข้อมูลนักเรียน 5
- ขอ้ มูลครแู ละบุคลากร 6
- ข้อมูลด้านอาคารสถานท่ี 8
- สภาพชมุ ชนโดยรวม 9
- โครงสร้างหลักสตู ร 13
- ผลการจัดการศึกษา 13
- รางวัลเกยี รติยศ 15
บทที่ 2 การวิเคราะห์สถานภาพสถานศกึ ษา 16
- ผลการวิเคราะหส์ ภาพแวดล้อมภายใน 19
- ผลการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก 19
- จดุ ยนื การพัฒนาการศึกษา 20
บทที่ 3 ทิศทางการจดั การศกึ ษา 20
- วสิ ัยทศั น์ 21
- อัตลกั ษณ์ 21
- พนั ธกิจ 22
- เปา้ ประสงค์ 28
- กลยุทธ์ 28
บทที่ 4 กรอบกลยทุ ธ์การพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา 29
บทที่ 5 โครงการ/กิจกรรม 31
- กลยุทธท์ ่ี 1 34
- กลยุทธท์ ี่ 2 37
- กลยทุ ธ์ที่ 3 39
- กลยทุ ธ์ที่ 4 44
- กลยุทธท์ ี่ 5 44
- กลยทุ ธท์ ี่ 6
บทที่ 6 การบริหารแผน กำกบั ตดิ ตาม ประเมินผล
- การบริหารแผน กำกบั ตดิ ตาม ประเมินผล

1

บทที่ ๑
ภาพรวมของโรงเรียน

๑. ขอ้ มูลท่วั ไป

๑.๑ ชือ่ โรงเรียนบ้านกาแย ตัง้ อยเู่ ลขท่ี ๕๓ หมู่ที่ ๓ ตำบลดซุ งญอ อำเภอจะแนะ

จงั หวัดนราธิวาส รหัสไปรษณีย์ ๙๖๒๒๐ โทรศพั ท์ 088-5933158 , 081-0969180

e-mail : [email protected] website : โรงเรียนบา้ นกาแย

๑.๒ เปดิ สอนตง้ั แต่ระดับช้ันอนุบาลที่ ๑ ถึงระดับช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๓

๑.๓ เน้ือท่ี ๑๐ ไร่ ๒ งาน ๕๕ ตารางวา

๑.๓ มเี ขตพน้ื ทีบ่ ริการ ๒ หมู่บา้ น ไดแ้ ก่ หม่ทู ่ี ๕ บา้ นกาแย หมู่ที่ ๖ บา้ นกาเตา๊ ะ

๑.๔ ประวตั โิ ดยยอ่ และวัตถุประสงค์เฉพาะของสถานศกึ ษา

โรงเรียนบ้านกาแย ได้ก่อตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ.2508 โดยหน่วยพัฒนาการเคลื่อนที่ของกองอำนวยการ
กลางรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ จัดสร้างเปน็ อาคารเรียนช่ัวคราวหลังคามุงจาก เปิดทำการสอนเมื่อวันที่
28 มกราคม 2508 มีนายวิโชติ เชย่ี วเลีย่ น เป็นครคู นแรก ต่อมาในปี พ.ศ.2510 อาคารเรียนชัว่ คราว
ได้ถกู พายพุ ดั จนเสยี หายใช้ในการเรียนไมไ่ ด้ จงึ ไปอาศยั ศาลาประชาคมบา้ นกาแยเปน็ สถานทเี่ รียนชว่ั คราว

พ.ศ.2512 ทางราชการได้จัดสรรงบประมาณสร้างอาคารเรียนแบบ ป.1 ก จำนวน 1 หลัง 3
ห้อง
โดยในขณะนั้นมีนายจำเริญ ชุมแดง รักษาการในตำแหน่งครูใหญ่ ต่อมาท่านได้ย้ายไปปฏิบัติราชการที่อ่ืน
นายมาหะมะ แมะเก ได้รบั การแตง่ ตง้ั ให้เปน็ ผูร้ กั ษาการในตำแหนง่ ครูใหญ่แทน

พ.ศ.2525 นายมาหะมะ แมะเก ได้ย้ายไปปฏิบัติราชการที่อื่น นายสมหมาย เจ๊ะแว จึงได้รับ
การแต่งตัง้ ใหร้ กั ษาการในตำแหน่งครูใหญแ่ ทน แลว้ ได้รับตำแหนง่ ครูใหญใ่ นปตี อ่ มา

พ.ศ.2527 ได้รบั งบประมาณค่าซ่อมแซมอาคารเรยี น ป.1 ก เปน็ เงิน 150,000 บาท
พ.ศ.2528 ไดร้ ับงบประมาณคา่ กอ่ สรา้ งบ้านพกั ครูแบบเรือนแถว จำนวน 1 หน่วย
พ.ศ.2530 ได้รับงบประมาณค่าก่อสร้างอาคารเรียนแบบ สปช.102/26 จำนวน 1 หลัง 3
หอ้ งเรยี น
พ.ศ.2531 โรงเรยี นไดร้ บั การกำหนดตำแหนง่ ผู้บริหารโรงเรียนจากครใู หญเ่ ปน็ อาจารย์ใหญ่
พ.ศ.2532 ได้รับงบประมาณค่าก่อสร้างเรือนเพาะชำแบบ พ.1 จำนวน 1 หลัง ค่าก่อสร้างส้วม
แบบ สปช.601/26 จำนวน 1 หลัง 4 ที่นั่ง และในปีนี้ทางโรงเรียนได้รับรางวัลผู้บริหารโรงเรียนดีเด่น
อบั ดบั 2 ระดบั จงั หวัด
พ.ศ.2534 ไดร้ บั งบประมาณคา่ ก่อสร้างถงั เก็บนำ้ แบบ ฝ.33 จำนวน 1 ชดุ และอาคารเรยี นแบบ
สปช.102/26 จำนวน 1 หลงั 3 ห้องเรยี น ในปีตอ่ มาไดร้ ับงบประมาณคา่ ก่อสร้างอาคารอเนกประสงค์
แบบ สปช.203/26 จำนวน 1 หลังและบา้ นพักครแู บบ สปช.301/26 จำนวน 1 หลัง
พ.ศ.2536 ได้รับงบประมาณค่าก่อสร้างบ้านพักครูแบบ สปช.303/28 จำนวน 1 หลัง 2
หน่วย
พ.ศ.2539 ได้รับเลือกจากสำนักงานคณะกรรมการประถมศึกษาแห่งชาติ ให้เป็นโรงเรียนใน
โครงการขยายโอกาสทางการศึกษา และโรงเรียนปฏิรปู การศึกษา และไดร้ ับการจัดสรรงบประมาณค่าจัดทำ

2

หอ้ งปฏิบตั กิ ารทางวทิ ยาศาสตร์ หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารทางภาษา และหอ้ งคอมพิวเตอร์ พรอ้ มอปุ กรณ์และครุภัณฑ์
ประจำห้อง

พ.ศ.2540 โรงเรียนได้รับการกำหนดตำแหน่งผู้บริหารโรงเรียนจากอาจารย์ใหญ่เป็นผู้อำนวยการ
โรงเรียน

พ.ศ.2542 ได้รับความอนุเคราะห์จาก อบต.ดุซงญอ ช่วยก่อสร้างถนนคอนกรีตทางขึ้นโรงเรียน
ดา้ นหมทู่ ่ี 5 บา้ นกาแย 180 เมตร และปตี ่อมาได้สร้างเพม่ิ เติมดา้ นหม่ทู ่ี 6 บ้านกาเตา๊ ะ 120 เมตร

พ.ศ. 2549 ได้รับงบประมาณค่าก่อสร้างอาคารเรียนแบบ สปช.105/29 ๒ ชั้น จำนวน 1 หลงั
4 ห้องเรียน ได้ทำการซ่อมแซมอาคารละหมาด และต่อเติมโรงอาหาร ในปีเดียวกันได้เปิดการสอน 2
ระบบในระดบั ช้ัน ป.1 และ ม.1

พ.ศ. 2550 ได้มีการต่อเติมอาคารเรียนชั่วคราวเป็น 2 ห้องเรียน และได้รับงบประมาณเพิ่มเติม
ตอ่ เตมิ อาคารเรียน สปช. 105/29 จำนวน 3 ห้อง 1 ห้องสมดุ และ 2 หอ้ งเรียน

พ.ศ. 255๔นายสมหมาย เจ๊ะแว ย้ายไปปฎิบัติราชการที่อื่น นายฟิกกรี ยีระ รักษาราชการแทนใน
ตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียน

พ.ศ. ๒๕๕๕ นายกอเรน็ เกษม มารบั ตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรยี น
พ.ศ. ๒๕๕๖ โรงเรียนผ่านการประเมินและได้รบั โล่ โรงเรยี นดีศรตี ำบล
พ.ศ. ๒๕๕๗ ได้รับงบประมาณปรับปรุงอาคารเรียน ป1ก และอาคาร ๑๐๒/๒๖ ค่าปรับปรุงระบบ
ไฟฟ้าในอาคาร และคา่ ซ่อมแซมบา้ นพกั ครู ๓๐๓/๒๖ และ ๓๐๑/๒๖
พ.ศ. ๒๕๕๘ ได้รับงบประมาณค่าก่อสร้างอาคารเรียนแบบ สปช.๑๐๕/๒๙ (ปรับปรุง) ๒ ชั้น ๘
หอ้ งเรียน
พ.ศ. ๒๕๕๙ ไดร้ ับการจัดสรรอาคารเรยี น สปช.๑๐๙/๒๙ จำนวน ๑ หลงั แบบ ๒ ชัน้ ๘
หอ้ งเรียน และอาคารเรยี น สปช.๑๐๙/๒๙ จำนวน ๑ หลงั แบบ ๒ ชน้ั ๔ หอ้ งเรยี น ใตถ้ นุ โล่ง
พ.ศ. 25๖๓ นายอะหห์ มดั ซานาดี แวอารง มารบั ตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรยี น

๒. สัญลักษณ์โรงเรียน

๒.๑ ตราโรงเรียน

๒.2 ปรัชญา
“ มีวินัย ใฝ่เรยี นรู้ จติ อาสา”

๒.๔ สปี ระจำโรงเรยี น
สีแสด หมายถึง ความความสวา่ งไสวแห่งปญั ญา
สีดำ หมายถึง ความอดทนและความแขง็ แกร่ง

3

๓. โครงสรา้ งการบรหิ ารงานโรงเรยี น (เสนอแผนภมู ิ)

โครงสร้างการบริหารงานโรงเรยี นบ้านกาแย

นายอะห์หมัดซานาดี แวอารง
ผอู้ านวยการสถานศกึ ษา

นางสาวตอฮเี ราะห์ ยาเอ๊ะ นายมูฮมั หมัด อาหวัง
รองผูอ้ านวยการสถานศกึ ษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน

กลุม่ บริหารวชิ าการ กล่มุ บริหารงบประมาณ กลุม่ บริหารงานบุคคล กลมุ่ บริหารทัว่ ไป
นางสาวสตี รี อฮานา บอื ซา นายรุสลนั ซา
นางไมมเู น๊าะ สนิ นางรอซีดะห์ เกษม
หวั หนา้ กลุ่มบรหิ ารงานวิชาการ หวั หนา้ กล่มุ บริหารงานงบประมาณ หัวหนา้ กลมุ่ บรหิ ารงานบคุ คล หวั หนา้ กลุ่มงานบริหารทว่ั ไป

นางสาวสุนติ า วานอ นางสาวนาซฮี าห์ สะรีดี นายธีรศักด์ิ ไพสฐิ ศิรกิ ุล นางสาววรรณะ สาและ
งานวดั ผลและประเมินผล การเงนิ การมาปฏิบัติราชการ กีฬาและนนั ทนาการ
นางสาวซฮู าดา เจะ๊ สะแม
นางอามนี ะฮ์ เจะลี นางโรสนี สนิ การพฒั นาบคุ ลากร นายวาวี สนิ
ผู้ชว่ ยงานวัดผลและประเมินผล การบญั ชี สภาพแวดล้อม
นางมูนีเรา๊ ะ ลาเต๊ะ
นางสาวนรุ อิสซนั สมะแอ นางสาวรอซีดะห์ ดาเรง อาหารกลางวนั
วิชาการระดับชั้นป.1-3 หวั หนา้ เจ้าหน้าทพ่ี ัสดุ นางสาวนาอิมะ๊ สาและ
นางนอรไ์ อนี เจะ๊ ดาโอ๊ะ นางสาวอาซียะ๊ สาแลแม งานอนามยั
เจ้าหน้าที่พสั ดุ EGP นายไซมิง เจะ๊ หะ
วชิ าการอนบุ าล นางสาวแซนะ วาเซะ พฒั นาผู้เรียน
นางสาวซามเี ร๊าะ ดอเลา๊ ะ เจา้ หน้าทีพ่ ัสดทุ ่วั ไป นางซากีเราะห์ สหุ ลงละ
นางสาวคอรีเย๊าะ หะยีเจะมะ สหกรณ์ร้านค้า
งานวชิ าการอนบุ าล เจา้ หน้าทพ่ี ัสดุทวั่ ไป นายอับดุลรอมัน มามะ
นางสาวฮาลเี มาะห์ สามะ ตอ่ ต้านยาเสพตดิ
นางซลิ มี อายิ
งานทะเบยี น ประสานงาน
นายมรั วาน สะอะ นายยะโกะ๊ ซิแต
งานวชิ าการศาสนา
นางพาตยี ะ ลาเตะ งานท่วั ไป
งานวัดผลอสิ ลามศกึ ษา นางสาวมาลยี านี สาแม
นางสาวอาซรี นี า เจ๊ะอามะ
ผชู้ ว่ ยวชิ าการอสิ ลามศกึ ษา ธรุ การ

4

๔. ขอ้ มูลนักเรียน

ระดบั ชนั้ จำนวนนกั เรยี น จำนวน
ชาย หญงิ รวม ห้องเรยี น
อนุบาล 1 ( ชอ่ื เดิมอนบุ าล 3 ขวบ ) ---
อนบุ าล 2 ( เดิมชอื่ อนบุ าล 1 ) -
อนุบาล 3 ( เดมิ ชอ่ื อนุบาล 2 ) 14 11 25
14 14 28 1
รวมก่อนประถมศกึ ษา 2
ประถมศึกษาปีที่ 1 28 25 53
ประถมศกึ ษาปีท่ี 2 3
ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 23 16 39
ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 19 24 43 2
ประถมศกึ ษาปีที่ 5 23 17 40 2
ประถมศึกษาปีที่ 6 18 25 43 2
12 24 36 2
รวมประถมศกึ ษา 27 18 45 1
มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 2
มธั ยมศึกษาปีท่ี 2 122 124 246
มัธยมศึกษาปีที่ 3 11
4 10 14
รวมมธั ยมศกึ ษา 7 16 23 1
รวมท้ังสิน้ 6 11 17 1
1
17 37 54
3
167 186 353
17

๖. ขอ้ มูลครูและบคุ ลากร เพศ ระดับการศึกษาสงู สุด
ชาย หญงิ ตำ่ กว่า ป.ตรี ป.ตรี สูงกวา่ ป.ตรี
ประเภทบุคลากร ๑-
-1 --๑
ผู้อำนวยการ --1
รองผูอ้ ำนวยการ ๒ 16
ขา้ ราชการครู - 1๐ 8
ครสู อนศาสนาอิสลามแบบเข้ม 23
พนักงานราชการ - 41
นกั การ / ภารโรง 34
อืน่ ๆ ธุรการ/รปภ. -7-
๑-
รวม ๑- -
รวมท้ังส้ิน ๑๑
๑๑ -
11 25
2 22 11
35

5

๕. ขอ้ มลู ด้านอาคารสถานที่ สร้างเมื่อ จำนวน
พ.ศ. หลัง หอ้ ง / ท่ี / ถัง
อาคาร / รูปแบบ ๒๕๓๕
๑๓
อาคารเรยี น ๒๕๓๕ ๑๓
- อาคารถาวร แบบ ป. ก ๒๕๓๙ ๑๓
- อาคารถาวร แบบ สปช. ๑๐๒/๒๖ ๒๕๓๒ ๑๒
- อาคารถาวร แบบ สปช. ๑๐๒/๒๖ ๒๕๓๔ ๑๗
- อาคารถาวร แบบ สปช. ๑๐๒/๒๖ ๒๕๑๗ ๒๔
- อาคารถาวร แบบ สปช. ๑๐๕/๒๙
- อาคารเรยี นชว่ั คราว ๒๕๓๖ ๑๑
๒๕๓๘ ๒๓
อาคารประกอบ ๒๕๓๗ ๑๑
- อาคารอเนกประสงค์ แบบ สปช. ๒๐๓/๒๖ ๑๔
- บา้ นพกั ครู แบบ สปช. ๓๐๓/๒๘ - ๒๖
- บ้านพักครู แบบ สปช. ๓๐๑/๒๖ - ๑๑
- ส้วม แบบ ส. ๓ - ๑๑
- ส้วม แบบ สปช. ๖๐๑/๒๖ ๒๕๓๙ ๑๑
- อาคารโรงอาหาร (อาคารทที่ ำการหมบู่ ้านเดิม) ๒๕๕๘ ๑๑
- อาคารหอ้ งสมดุ (ชั่วคราว) ๒๕๔๐ ๑
- อาคารสหกรณร์ า้ นคา้ (ชว่ั คราว) ๒๕๔๓
- อาคารละหมาด ๒

สาธารณูปโภค
- นำ้ ประปา
- ไฟฟ้า
- ถังเกบ็ น้ำฝน
- ถงั ไฟเบอร์

๖. สภาพชุมชนโดยรวม
สภาพชุมชนรอบโรงเรยี นมีลักษณะเป็นภูเขาลอ้ มรอบ .มีประชากรประมาณ 2,288 คน อาชีพหลกั

ของชุมชนคือ เกษตรกรและชาวสวนยางพารา เนื่องจากประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม ประเพณี
ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นที่รู้จักโดยทั่วไปคือ การถือศิลอด การทำอาซูรอ งานเมาลิด ผู้ปกครองส่วนใหญ่จบ
การศกึ ษาระดับประถมศึกษาปีที่ 6 รายได้โดยเฉลีย่ ประมาณ 25,000บาท/คน/ปี

6

๗. โครงสรา้ งหลักสูตร

โรงเรยี นบ้านกาแยจัดการสอนตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดย
โรงเรยี นไดจ้ ดั สัดส่วนสาระการเรียนรู้และเวลาเรยี น ดงั แสดงในตารางต่อไปน้ี

โครงสร้างหลกั สตู รการศึกษาปฐมวัย

ช่วงอายุ อายุ ๔-๖ ปี
สาระการเรยี นรู้
ประสบการณ์สำคัญ สาระทค่ี วรเรยี นรู้
ระยะเวลาเรยี น
- ดา้ นร่างกาย - เรอื่ งราวเกี่ยวกับตัวเด็ก
กจิ กรรมการเรยี น
(ประจำวันใน - ด้านอารมณ์ จิตใจ - เร่อื งราวเกี่ยวกับบุคคล และสถานท่ีแวดล้อมเดก็
หอ้ งเรยี น)
- ด้านสงั คม - ธรรมชาตริ อบตวั

- ด้านสตปิ ญั ญา - ส่ิงต่างๆ รอบตัวเด็ก

มีเวลาเรยี นไม่น้อยกวา่ 180 วัน/ปกี ารศกึ ษา แต่ละวนั ใชเ้ วลาไม่เกิน 5 ชว่ั โมง

กิจกรรมประจำวนั

- กิจกรรมเคลื่อนไหวและจงั หวะ

- กจิ กรรมเสริมประสบการณ์ / กจิ กรรมในวงกลม

- กจิ กรรมสรา้ งสรรค์

- กจิ กรรมเสรี / การเลน่ ตามมมุ

- กจิ กรรมกลางแจ้ง

- กิจกรรมเกมการศึกษา

โครงสรา้ งหลกั สูตรประถมศึกษา
โครงสร้างเวลาเรียนระดับประถมศกึ ษา หลกั สูตรโรงเรียนบา้ นกาแย พทุ ธศกั ราช 2551 (ปรบั ปรุง 2563)

เวลาเรียน

กลุ่มสาระการเรียนรู้/ กจิ กรรม ระดับประถมศึกษา

กล่มุ สาระการเรียนรู้ ป. 1 ป. 2 ป. 3 ป. 4 ป. 5 ป. 6
ภาษาไทย
คณิตศาสตร์ 200 200 200 160 160 160
200 200 200 160 160 160
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 80 80 80 80 80 80

สงั คมศกึ ษา ศาสนา 40 40 40 80 80 80
และวฒั นธรรม

ประวตั ิศาสตร์ 40 40 40 40 40 40
สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา 40 40 40 80 80 80
ศิลปะ 40 40 40 80 80 80
การงานอาชีพ 40 40 40 80 80 80
ภาษาตา่ งประเทศ 160 160 160 80 80 80
รวมเวลาเรียน (พืน้ ฐาน) 840 840 840 840 840 840

7

กลุ่มสาระการเรียนรู้/ กจิ กรรม เวลาเรียน
ระดับประถมศึกษา
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ป. 1 ป. 2 ป. 3 ป. 4 ป. 5 ป. 6
รายวิชาเพ่ิมเตมิ
คณิตศาสตร์เสริม 40 40 40 40 40 40

ภาษาองั กฤษเพมิ่ เติม 40 40 40 40 40 40
80 80 80 120 120 120
รวมเวลาเรียน (เพิม่ เติม) 120 120 120 120 120 120
กจิ กรรมพัฒนาผ้เูรียน 40 40 40 40 40 40
-กิจกรรมแนะแนว 40 40 40 40 40 40
-กิจกรรมลกู เสือ-เนตรนารี 30 30 30 30 30 30
-กิจกรรมชุมนุมพฒั นาการอ่านออกเขียน
ได้ 10 10 10 10 10 10
-กิจกรรมบาเพญ็ ประโยชน์
/กิจกรรมเสริมทกั ษะชีวิต รวม 1,040 ชว่ั โมง รวม 1,040 ชว่ั โมง
รวมเวลาเรียนท้งั หมด

โครงสร้างเวลาเรียนระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ หลักสตู รโรงเรยี นบา้ นกาแย พุทธศกั ราช 2551 (ปรบั ปรุง 2564)

กลุ่มสาระการเรียนรู้/ กิจกรรม ม. 1 เวลาเรียน ม. 3

กลุ่มสาระการเรียนรู้ 120 (3 นก.) ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น 120(3 นก.)
ภาษาไทย 120(3 นก.) 120 (3 นก.)
คณิตศาสตร์ 120 (3 นก.) ม. 2 120 (3 นก.)
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 120 (3 นก.) 120 (3 นก.)
สังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม 120 (3 นก.)
40 (1 นก.) 120 (3 นก.) 40 (1 นก.)
ประวตั ิศาสตร์ 120 (3 นก.)
สุขศึกษาและพลศึกษา 80 (2นก.) 120 (3 นก.) 80 (2 นก.)
ศลิ ปะ 80 (2นก.) 80 (2 นก.)
การงานอาชีพ 80 (2นก.) 40 (1 นก.) 80 (2 นก.)
ภาษาต่างประเทศ 120 (3 นก.) 120 (3 นก.)
80 (2 นก.)
รวมเวลาเรียน (พืน้ ฐาน) 880 (22 นก.) 80 (2 นก.) 880 (22 นก.)
80 (2 นก.)
120 (3 นก.)
880 (22 นก.)

8

กลุ่มสาระการเรียนรู้/ กจิ กรรม เวลาเรียน ม. 3
ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น
กล่มุ สาระการเรียนรู้ ม. 1 ม. 2 40(1 นก.)
รายวชิ าเพิม่ เติม 40(1 นก.)
อลั กรุ อาน 40(1 นก.) 40(1 นก.) 40(1 นก.)
วิทยาการคานวณ 40(1 นก.) 40(1 นก.) 80(2 นก.)
ภาษาองั กฤษเพ่ิมเติม 40(1 นก.) 40(1 นก.) 200 (5 นก.)
ภาษาอาหรับ 80(2 นก.) 80(2 นก.)
รวมเวลาเรียน (เพิ่มเติม) 200 (5 นก.) 200 (5 นก.) 120
กิจกรรมพฒั นาผ้เูรียน 40
-กิจกรรมแนะแนว 120 120 40
-กิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี 30
-กิจกรรมชุมนุมตา้ นทจุ ริตศึกษา 40 40 10
-กิจกรรมบาเพญ็ ประโยชน์ 40 40
30 30
รวมเวลาเรียนท้งั หมด 10 10
ปี ละ 1,200 ช่ัวโมง

๘. ผลการจัดการศึกษาที่ผา่ นมา

๘.๑ อัตราการเกณฑเ์ ด็กเข้าเรยี นชน้ั อนุบาลปที ี่ 2 และ ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 1 ในเขตพ้ืนทบี่ รกิ าร

ปีการศึกษา ประชากรในเขตบริการ เข้าเรียน คิดเป็นรอ้ ยละ
อนบุ าลปีท่ี 2
ประถมศกึ ษาปีที่ 1

8.2 อตั ราการศกึ ษาต่อช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 1

ปกี ารศกึ ษา นักเรียนจบชั้น ป.6 ศกึ ษาต่อชัน้ ม.1 คดิ เปน็ ร้อยละ หมายเหตุ

2561 100 100 100
2562 100 100 100
2563 100 100 100

8.3 ผลการทดสอบความสามารถระดบั ชาติ (NT) นกั เรียนช้ันประถมศึกษาปที ่ี 3

ความสามารถด้านด้าน ๒๕๖๐ ปีการศึกษา 2563
๒๕๖๑ 2562 24.97
23.87
ด้านการอ่านการเขียน ๓๙.๐๙ ๓๔.๗๗ 28.07
-
ด้านการคิดคำนวณ ๒๙.๗๕ ๒๘ 28.05 24.42

ดา้ นเหตผุ ล ๒๙.๙๖ ๓๑.๗๕ -

เฉลี่ย ๓๒.๙๓ ๓๑.๕๑ 28.06

8.4 ผลการทดสอบความสามารถระดับชาติ (O-NET) นักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 6 9

วิชา ปีการศกึ ษา 2563
39.71
๒๕๖๐ ๒๕๖๑ 2562 18.54
31.67
ภาษาไทย ๒๗.๑๒ ๓๕.๒๕ 30.53 28.13
29.71
คณติ ศาสตร์ ๒๑.๑๙ ๒๓.๐๐ 23.67

วทิ ยาศาสตร์ ๒๗.๔๐ ๒๗.๖๗ 25.20

ภาษาองั กฤษ ๒๔.๖๔ ๒๗.๓๕ 26.38

เฉลี่ย 29.77 28.72 26.44

8.5 ผลการทดสอบความสามารถระดบั ชาติ (O-NET) นักเรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3

วิชา ปีการศึกษา

๒๕๖๐ ๒๕๖๑ 2562 2563
40.73
ภาษาไทย 3๓.๑๘ ๔๓.๓๘ 41.71 21.93
24.32
คณติ ศาสตร์ ๒๐.๔๗ 23.๘๕ 22.12 28.19
28.79
วิทยาศาสตร์ ๒๖.๘๒ ๓๐.๐๐ 25.62

ภาษาอังกฤษ 26.๙๔ ๒๖.๐๘ 28.47

เฉลี่ย ๒๖.๘๕ ๓๐.๘๓ 29.48

9. รางวลั เกยี รติยศ

9.1 โรงเรียน
- ชื่อรางวัล โรงเรียนดปี ระจำตำบล พ.ศ. 2557

9.2 ผลงานครู
1. ปกี ารศกึ ษา 2563

สรปุ เหรยี ญการแขง่ วชิ าการและวิชาชีพระดบั สำนกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษานราธิวาส
เขต 3
เหรยี ญทองชนะเลศิ 2 รายการ
1. กิจกรรม การแขง่ ขนั การพูดภาษาองั กฤษ (Inpromptu Speech) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3
2. กจิ กรรม การแข่งขันการแสดงทางวิทยาศาสตรฯ์ (Science Show) ระดับชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1-3

เหรียญทอง 6 รายการ
1. กจิ กรรม การแข่งขนั การพูดภาษาอังกฤษ (Inpromptu Speech) ระดบั ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 4-6
2. กจิ กรรม การจดั สวนถาดแบบชน้ื ระดับช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 1- 3
3. กิจกรรม การประกวดท่องจำอลั กรุ-อาน ระดบั ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1- 3
4.การแข่งขันการขับร้องเพลงไทยลูกรุงหญิง ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 1- 3
5.กิจกรรม การแข่งขันคีตะมวยไทย ระดับชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 1-6
6.กิจกรรม การแขง่ ขันคตี ะมวยไทย ระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 1- 3

10

เหรยี ญเงนิ 2 รายการ
1. กจิ กรรม การแข่งขันการเล่านิทาน Story Telling ระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1- 3
2. กจิ กรรม การแข่งขันทักษะมวยสากลสมคั รเล่นระดบั ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6

เหรียญทองแดง 1 รายการ
1. กจิ กรรม การแขง่ ขนั การคัดอาหรับแบบสรา้ งสรรค์ ระดับชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 1- 3

เขา้ ร่วม
1. กจิ กรรม การแขง่ ขนั ตอบปัญหาอสิ ลามศึกษา 4 ภาษา ระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 1- 3
2. กจิ กรรม การแขง่ ขันศิลป์สรา้ งสรรค์ ระดับชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1- 3
3. กจิ กรรม การแข่งขันอัจฉรยิ ภาพทางวทิ ยาศาสตร์ ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 1- 3

การแข่งขันระดับอำเภอ
1. ได้รับรางวลั รองชนะเลิศอันดับ 2 กิจกรรมประกวดขบั ร้องเพลงชาตแิ ละเพลงสดุดีจอมราชา ระดบั ชน้ั
ประถมศึกษาปที ่ี 1-6
2. ไดร้ บั รองชนะเลศิ อนั ดับ 1 กิจกรรมประกวดขบั ร้องเพลงฉ่อยและเพลงพ้นื บ้าน (อนาซีด) TO BE
NUMBER ONE ระดับชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 4-6

http://gg.gg/p31ug
รางวัลการแข่งขันในรอบปี
2. ปีการศึกษาทผ่ี ่านมา (ย้อนหลังไม่เกิน 2 ปี)
ระดบั เขตพ้นื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษานราธวิ าส เขต 3 ปีการศกึ ษา 2562
http://gg.gg/p31ur

๑๐. มาตรฐานการศกึ ษาโรงเรยี น
ระดบั ปฐมวัย

มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของเด็ก
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
มาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณ์ทีเ่ นน้ เดก็ เปน็ สำคัญ
แต่ละมาตรฐานมรี ายละเอียดดงั นี้
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเดก็ มี 4 เปา้ หมายการพัฒนา
1.1 มพี ัฒนาการด้านร่างกายแข็งแรง มสี ุขนสิ ยั ทีด่ ี และดูแลความปลอดภยั ของตนเองได้
1.2 มพี ฒั นาการดา้ นอารมณ์ จิตใจ ควบคมุ และแสดงออกทางอารมณไ์ ด้
1.3 มีพฒั นาการดา้ นสังคม ช่วยเหลือตนเอง และเปน็ สมาชิกท่ีดขี องสงั คม
1.4 มพี ัฒนาการดา้ นสติปญั ญา สื่อสารได้ มีทักษะการคดิ พื้นฐาน และแสวงหาความรไู้ ด้

11

มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ มี 6 เป้าหมายการพัฒนา
2.1 มหี ลกั สูตรครอบคลมุ พฒั นาการท้ัง 4 ด้าน สอดคล้องกับบริบทของท้องถิน่
2.2 จัดครูให้เพยี งพอกบั ชั้นเรยี น
2.3 สง่ เสริมใหค้ รมู คี วามเชย่ี วชาญดา้ นการจัดประสบการณ์
2.4 จดั สภาพแวดลอ้ มและส่ือเพ่ือการเรยี นรู้อย่างปลอดภัย และเพยี งพอ
2.5 ใหบ้ ริการสอ่ื เทคโนโลยสี ารสนเทศและส่ือสารการเรียนรเู้ พ่อื สนับสนนุ การจดั ประสบการณ์
2.6 มรี ะบบบรหิ ารคณุ ภาพที่เปดิ โอกาสให้ผเู้ ก่ียวขอ้ งทกุ ฝ่ายมีส่วนรว่ ม

มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ที่เนน้ เด็กเปน็ สำคญั มี 4 เปา้ หมายการพัฒนา
3.1 จัดประสบการณท์ ส่ี ง่ เสริมให้เด็กมพี ัฒนาการทุกด้านอย่างสมดลุ เตม็ ศักยภาพ
3.2 สรา้ งโอกาสใหเ้ ดก็ ได้รับประสบการณ์ตรง เลน่ และปฏบิ ัตอิ ยา่ งมีความสุข
3.3 จดั บรรยากาศทเ่ี อื้อต่อการเรียนรู้ใช้สื่อและเทคโนโลยที ่ีเหมาะสมกบั วัย
3.4 ประเมนิ พัฒนาการเด็กตามสภาพจริงและนำผลการประเมนิ พฒั นาการเด็กไปปรับปรุงการจดั

ประสบการณ์และพัฒนาเดก็

ระดับการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน

มาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พ.ศ.2561 มจี ำนวน 3 มาตรฐาน ได้แก่
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผเู้ รยี น
1.1 ผลสมั ฤทธิท์ างวชิ าการของผเู้ รยี น
1.2 คุณลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ
มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนที่เน้นผเู้ รียนเปน็ สำคญั

แตล่ ะมาตรฐานมีรายละเอียด ดังนี้
มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผเู้ รียน

1.1 ผลสัมฤทธ์ทิ างวิชาการของผ้เู รยี น
1) มีความสามารถในการอา่ น การเขยี น การส่ือสาร และการคิดคำนวณ
2) มคี วามสามารถในการคิดวเิ คราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภปิ รายแลกเปลยี่ น
ความคดิ เหน็ และแก้ปัญหา
3) มคี วามสามารถในการสร้างนวตั กรรม
4) มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร
5) มีผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นตามหลักสตู รสถานศึกษา
6) มคี วามรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติทดี่ ีต่องานอาชีพ

1.2 คณุ ลักษณะทีพ่ ึงประสงค์ของผู้เรยี น
1) การมคี ณุ ลักษณะและค่านิยมทดี่ ตี ามที่สถานศกึ ษากำหนด
2) ความภมู ใิ จในท้องถ่นิ และความเปน็ ไทย
3) การยอมรบั ทจ่ี ะอยู่รว่ มกันบนความแตกตา่ งและหลากหลาย
4) สขุ ภาวะทางร่างกาย และจติ สงั คม

12

มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ
2.1 มเี ป้าหมายวสิ ยั ทศั นแ์ ละพันธกิจท่สี ถานศึกษากำหนดชัดเจน
2.2 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศกึ ษา
2.3 ดำเนนิ งานพัฒนาวิชาการท่ีเน้นคณุ ภาพผ้เู รียนรอบด้านตามหลักสตู รสถานศึกษา
และทุกกล่มุ เป้าหมาย
2.4 พฒั นาครแู ละบคุ ลากรใหม้ ีความเชย่ี วชาญทางวชิ าชีพ
2.5 จดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมท่ีเอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมคี ุณภาพ
2.6 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนบั สนนุ การบรหิ ารจดั การและการจดั การเรียนรู้

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนทเ่ี น้นผ้เู รยี นเป็นสำคญั
3.1 จัดการเรยี นรูผ้ า่ นกระบวนการคิดและปฏบิ ัตจิ ริง และสามารถนำไปประยุกตใ์ ชใ้ นชีวิตได้
3.2 ใช้ส่อื เทคโนโลยสี ารสนเทศและแหล่งเรยี นรู้ท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้
3.3 มกี ารบรหิ ารจัดการชนั้ เรียนเชิงบวก
3.4 ตรวจสอบและประเมนิ ผู้เรียนอยา่ งเป็นระบบและนำผลมาพัฒนาผเู้ รยี น
3.5 มกี ารแลกเปลี่ยนเรียนรู้และใหข้ ้อมลู สะท้อนกลบั เพื่อพฒั นาและปรับปรุงการจัดการเรยี นรู้

พระบรมราโชบายดา้ นการศึกษาในหลวงรชั การที่ 10
1. มที ัศนคติท่ถี ูกต้องตอ่ บ้านเมอื ง
- มีความร้คู วามเข้าใจต่อชาติบ้านเมือง
- ยึดม่นั ในศาสนา
- ม่ันคงในสถาบนั พระมหากษัตริย์
- มีความเอ้อื อาทรต่อครอบครัวและชมุ ชนของตน
2. มพี น้ื ฐานชีวิตที่มนั่ คง – มีคณุ ธรรม
- รู้จักแยกแยะสงิ่ ทผี่ ิด –ชอบ / ชว่ั – ดี
- ปฏิบัตแิ ตส่ ่งทชี่ อบ ส่ิงทด่ี ีงาม
- ปฏิเสธสง่ิ ทผี่ ดิ สง่ิ ที่ชั่ว
- ช่วยกันสรา้ งคนดใี หแ้ ก่บ้านเมือง
3. มงี านทำ – มีอาชพี
- การเล้ยี งดูลกู หลานในครอบครัว หรือการฝึกฝนอบรมในสถานศึกษาต้องมุ่งให้เด็กและเยาวชนรักงาน
ส้งู าน ทำจนงานสำเรจ็
- การฝึกฝนอบรมทั้งในหลักสูตรและนอกหลักสูตรต้องมีจุดมุ่งหมายให้ผู้เรียนทำงานและมีงานทำใน
ทสี่ ุด
- ต้องสนบั สนนุ ผ้สู ำเรจ็ หลกั สตู รมีอาชีพ มีงานทำ จนสามารถเลี้ยงตวั เองและครอบครัว
4. เป็นพลเมอื งดี
- การเป็นพลเมืองดี เป็นหนา้ ท่ีของทุกคน
- ครอบครวั – สถานศึกษาและสถานประกอบการต้องส่งเสริมใหท้ กุ คนมโี อกาสทำหนา้ ทีเ่ ปน็ พลเมอื งดี

๑๓

บทท่ี ๒
การวเิ คราะห์สถานภาพของโรงเรยี น

การวเิ คราะห์สถานภาพของโรงเรยี นบา้ นกาแย เป็นการวเิ คราะหโ์ ดยใช้เทคนคิ SWOT Analysis
วิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอกทั่วไป 4 ดา้ น วิเคราะห์สภาพแวดลอ้ มภายใน 6 ด้านและดำเนินการ
ประเมนิ สถานภาพของสถานศึกษา ซ่ึงมารายละเอยี ด ดังนี้

๑. การวเิ คราะห์สภาพแวดล้อมภายใน

ด้านผลสัมฤทธ์ทิ างวิชาการของผเู้ รียน

จุดแข็ง (Strength) จดุ ออ่ น (Weakness)

1. ผ้เู รยี นความก้าวหนา้ ทางการเรียนตามหลกั สตู ร 1 นักเรียนมีผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นต่ำกว่าเกณฑท์ ่ี

2. ผเู้ รียนมีความพร้อมในการศึกษาต่อ หรือการ กำหนด

ทำงาน 2. นักเรียนยังขาดทักษะทกั ษะการเรียนที่สำคญั ใน

3. นักเรียนมคี วามสามารถในการแข่งขันทักษะ ศตวรรษท่ี 21 โดยเฉพาะทักษะการคิดวิเคราะห์

วชิ าการเฉพาะดา้ น การส่ือสาร การคิดคำนวณ

4. สถานศึกษามีกจิ กรรมท่สี ่งเสรมิ การพฒั นาการ

อา่ นออกเขยี นได้ โดยใชท้ ักษะการคิดวิเคราะห์และ

การเรียนรู้เปน็ กลุ่มตามช่วงวัย

5. สถานศกึ ษามีการวดั และประเมินผลตามสภาพ

จรงิ

ดา้ นคุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ของผู้เรียน

จุดแขง็ (Strength) จุดอ่อน (Weakness)

1. ผู้เรยี นมคี ณุ ลักษณะและค่านยิ มทดี่ ีท่ี 1. สขุ ภาวะทางร่างกายและลักษณะจติ สงั คม

สถานศกึ ษากำหนด โดยไมข่ ัดกับกฎหมายและ

วฒั นธรรมอนั ดีงามของสงั คม

2. ความภาคภูมใิ จในทอ้ งถ่นิ และความเป็นไทย

3 ยอมรับที่จะอยรู่ ว่ มกนั บนความแตกตา่ งและ

ความหลากหลาย

๑๔

ดา้ นกระบวนการจัดการเรยี นการสอน

จดุ แข็ง (Strength) จุดอ่อน (Weakness)

1. สถานศกึ ษามีหลักสูตรสถานศึกษาท่ีเหมาะสม 1.หลักสูตรเพมิ่ เติมดา้ นวชิ าชีพไม่ตอ่ เนื่องและตรง

กับผูเ้ รียนสอดคล้องกับทอ้ งถ่ิน มหี ลักสตู รเพมิ่ เติม ตามความต้องการ

ท่สี อดคล้องกบั ความต้องการและความถนัด 2. การจดั กระบวนการจัดการเรียนการสอนยงั ไม่ใช้

๒. กระบวนการจดั การเรียนรู้ท่ีเน้นใหน้ กั เรยี น รปู แบบการเรียนการสอนท่ีหลากหลาย ทำให้

ปฏบิ ัติจรงิ ผลสัมฤทธิท์ างวิชาการ ไม่เป็นไปตามเป้าหมาย

3. การวัดผลประเมินผลผูเ้ รียน ยังใชเ้ ครื่องมือที่ไม่

หลากหลาย และไม่ประเมนิ ตามสภาพจริง

โดยเฉพาะการประเมนิ เก่ยี วกับคณุ ลักษณะที่พงึ

ประสงค์

ด้านครแู ละบุคลากรทางการศึกษา

จุดแขง็ (Strength) จดุ อ่อน (Weakness)

1. อตั รากำลังครูและบุคลากรทางการศึกษา มี 1. บคุ ลากรควรไดร้ บั การพฒั นาด้านความรู้และ

ความเพยี งพอ ทำใหส้ ามารถจดั กิจกรรมการเรียน วิชาชีพอยา่ งต่อเนอ่ื ง

การสอนได้อยา่ งเหมาะสม 2. ครูควรไดร้ บั การพฒั นาดา้ นชมุ ชนแหง่ การ

๒. ความรู้ ความสามารถ ทกั ษะและความ เรียนรู้ (PLC) อย่างต่อเน่อื ง

เชยี่ วชาญในการสอน 3. การใชเ้ ครอ่ื งมือวดั และประเมนิ ผลไม่ตรงตาม

๓. ครูมคี ุณธรรม จริยธรรม ความมุ่งม่ัน มาตรฐาน

ด้านกระบวนการบรหิ ารและการจัดการ

จดุ แข็ง (Strength) จุดออ่ น (Weakness)

1. ผบู้ รหิ ารใหก้ ารสนับสนุนในการจดั การเรียนการ 1. แหล่งเรยี นรู้ภายในโรงเรียนยังขาดคุณภาพและ

สอนอยา่ งเหมาะสม มาตรฐานและไม่เพียงพอ

2. ผบู้ ริหารมีภาวะความเปน็ ผนู้ ำและสร้างความ 2. เทคโนโลยใี นการบริหารและจัดการเรียนรไู้ ม่

เป็นเอกภาพในองค์กร เพยี งพอ

3. สถานศกึ ษาส่งเสริมการจัดการเรยี นร้แู บบ 3. การดำเนนิ การตามระบบประกันคุณภาพ

STEM โรงเรยี นยังขาดประสิทธภิ าพเกยี่ วระบบข้อมูล

4. สถานศึกษามีการจัดการประกนั คุณภาพภายใน สารสนเทศ ระบบการวางแผน การดำเนินการตาม

5. โรงเรยี นได้รับความรว่ มมือจากคณะกรรมการ แผน และการติดตามประเมินผล

สถานศึกษาข้นั พ้ืนฐานผปู้ กครอง ชมุ ชน ในการร่วม

รว่ มระดมความคดิ ร่วมปฏิบัติ ร่วมพัฒนาโรงเรียน

อย่างดีตลอดมา

๑๕

๒. การวิเคราะหส์ ภาพแวดล้อมภายนอก

ดา้ นการเมอื งและ กฎหมาย (Political and Legal)

โอกาส (opportunity) อปุ สรรค (Threat)

1. นโยบายเรียนฟรี 15 ปี 1. นโยบายทางการศกึ ษามีการเปลยี่ นแปลงบ่อย

2. สถานศกึ ษามีขนบธรรมเนียมหลากหลายเหมาะ 2. สถานะทางเศรษฐกิจลดลงสง่ ผลใหเ้ กดิ การ

กบั การเป็นแหล่งเรียนรู้ สนบั สนุนทางการศึกษาลดลง

3. หนว่ ยงานอ่นื ใหก้ ารสนบั สนุนโครงการต่างๆไม่

ตอ่ เน่อื ง

ด้านเศรษฐกิจ (Economic)

โอกาส (opportunity) อุปสรรค (Threat)

1. นโยบายเรยี นฟรี 15 ปี 1. รายไดข้ องผูป้ กครอง

2. งบประมาณอาหารกลางวัน 2. สภาวะทางการเงนิ ของผปู้ กครอง

3. ขนบธรรมเนยี มประเพณี ความเชื่อ ค่านิยมและ 3. โครงสร้างครอบครวั

วัฒนธรรม

ดา้ นสังคม วัฒนธรรม (Social-cultural)

โอกาส (opportunity) อปุ สรรค (Threat)

1. สง่ เสริมการฝกึ อบรมที่เหมาะสมกบั บุคคล 1. ครู และบคุ ลากรทางการศึกษา พักนอกเขต

2. ส่งเสรมิ การจดั ทำแผนการจดั การเรยี นรู้ พืน้ ท่ีบริการ

3. กลมุ่ เครือขา่ ยเข้มแข็ง 2. ผ้ปู กครองมคี ่านิยมในการสง่ บุตรเรยี นนอกเขต

พนื้ ท่บี รกิ าร

ดา้ นเทคโนโลยี (Technological)

โอกาส (opportunity) อุปสรรค (Threat)

1. ชมุ ชนให้ความรว่ มมือในการบรหิ ารจดั 1. นโยบายรัฐบาลมกี ารเปลี่ยนแปลงบอ่ ย

การศกึ ษา 2. สาธารณปู โภคไมเ่ ออ้ื ต่อการบริหารจดั การ

2. รฐั บาลสนบั สนุนงบประมาณทางด้านการจัด ภายในสถานศึกษา ได้แก่ การจา่ ยกระแสไฟฟ้า

การศึกษา ระบบอนิ เทอร์เนต็ ไม่เสถียร

3. อปุ กรณ์ครภุ ัณฑ์ที่ได้รบั จดั สรรไม่เพยี งพอและ

ไมค่ งทน

๑๖

๓. จดุ ยืนการพฒั นาการศกึ ษา

๓.๑ ดา้ นผลสมั ฤทธิ์ทางวิชาการของผ้เู รียน
1) ส่งเสริมการอ่าน การเขยี น และคิดคำนวณ
2) ส่งเสรมิ กจิ กรรมยกระดบั ผลสัมฤทธิร์ ะดับสถานศกึ ษาและระดับชาติ
3) สง่ เสรมิ ดา้ นการส่ือสารและการใช้เทคโนโลยี

๓.๒ ด้านคุณลกั ษณะที่พึงประสงค์ของผเู้ รียน
1) สถานศึกษาส่งเสริมใหผ้ ู้เรียนมีคณุ ลกั ษณะ และคา่ นยิ มทพี่ ึงประสงค์ มีความภมู ิใจใน
ทอ้ งถนิ่ ของตน ปฏิบัตติ ามขนบธรรมเนียมประเพณที ี่ดงี าม
2) สถานศึกษาเรง่ รัดจัดโภชนาการทเ่ี หมาะสมตามช่วงวยั
3) สถานศึกษามีการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาพัฒนาองค์ความรู้งานวิจยั นวตั กรรมดว้ ย การ
ส่งเสรมิ คุณภาพชีวติ ทเ่ี ป็นมิตรกับส่ิงแวดลอ้ ม และนำแนวคิดตามหลกั เศรษฐกจิ พอเพียงสู่
การปฏิบตั ิในการดำเนินชวี ิต

๓.๓ ดา้ นกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นผเู้ รียนเป็นสำคัญ
1) สถานศึกษาพัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรยี นการสอนการวดั และประเมินผล ใช้ภมู ปิ ญั ญา
ทอ้ งถิน่ ตรงตามความต้องการโดยใช้ชุมชนแหง่ การเรียนรู้ (PLC)

๓.๔ ด้านคณุ ภาพครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา
1) ส่งเสรมิ ใหบ้ คุ ลากรทางการศึกษาได้รบั การอบรมเพื่อพัฒนาความรแู้ ละทักษะวิชาชีพ
2) พฒั นาการใชเ้ ครือ่ งมอื วดั และประเมินผลให้ตรงตามมาตรฐาน

๓.๕ ด้านกระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
๑) สนบั สนนุ งบประมาณในการบริหารจดั การศึกษาเพ่ือพัฒนาระบบประกนั คุณภาพภายใน

สถานศึกษา

๑๗

ประเด็นการวิเคราะหส์ ภาพแวดลอ้ มภายใน

ด้าน ประเดน็ สำคัญในการวิเคราะห์

๑. ดา้ นผลสัมฤทธทิ์ างวชิ าการ ๑) ความสามารถในการอา่ น เขียน การสอื่ สาร และการคิดคำนวณตามเกณฑ์

ของผเู้ รยี น ของแตล่ ะระดบั ชน้ั

๒) ความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ คดิ วิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยน

ความคดิ เหน็ และแกป้ ัญหา

๓) ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ และการส่ือสาร

๔) ความกา้ วหนา้ ทางการเรียนตามหลักสูตร

๕) ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นและพฒั นาการจากผลการสอบวดั ระดับชาติ

๖) ความพร้อมในการศึกษาต่อ การฝึกงาน หรอื การทำงาน

๒. ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ๑) มคี ณุ ลกั ษณะและคา่ นยิ มทีด่ ตี ามทีส่ ถานศึกษากำหนด โดยไมข่ ัดกบั

ของผูเ้ รียน กฎหมายและวฒั นธรรมอันดีของสงั คม

๒) ความภูมใิ จในท้องถน่ิ และความเป็นไทย

๓) ยอมรับท่ีจะอย่รู ่วมกนั บนความแตกต่างและความหลากหลาย

๔) สขุ ภาวะทางร่างกาย และลกั ษณะจติ สังคม

๓. ด้านกระบวนการจดั การเรียน ๑) หลักสูตรสถานศึกษา หลกั สูตรเพิ่มเตมิ

การสอน ๒) กระบวนการจดั การเรียนรู้ทีเ่ น้นใหน้ กั เรยี นปฏิบตั จิ รงิ

๓) การตรวจสอบและประเมินความรคู้ วามเข้าใจของผ้เู รยี นอยา่ งเปน็ ระบบ

และมปี ระสิทธิภาพ

๔. ด้านครูและบคุ ลากรทางการ ๑) อตั รากำลังครูและบุคลากรทางการศึกษา

ศกึ ษา ๒) ความรู้ ความสามารถ ทักษะและความเชีย่ วชาญในการสอน

๓) คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ความม่งุ มั่นของครูและบุคลากรทางการศึกษา

๕. ด้านการบรหิ ารและการ 1) การบรหิ ารอาคาร สถานทบี่ รรยากาศ สิ่งแวดลอ้ มภายในโรงเรียนท่เี อ้ือต่อ

จดั การ การจัดการเรยี นรู้

2) แหล่งเรยี นรู้ สอื่ เทคโนโลยี

3) การเสริมสร้างโอกาสทางการศกึ ษา

4) ระบบการประกนั คุณภาพภายใน

5) การวางแผนและการจัดการข้อมลู สารสนเทศอยา่ งเปน็ ระบบ

6) การกำกับ ติดตาม ประเมินผลการบริหารและการจัดการศึกษา

7) การมสี ว่ นร่วมของผเู้ กี่ยวข้องทกุ ฝ่าย และการร่วมรับผดิ ชอบต่อผลการจัด

การศึกษา

๑๘

ประเดน็ การวเิ คราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก

ดา้ นการเมอื งและกฎหมาย 1) นโยบายรฐั บาล
(Political and legal :P) 2) นโยบายการศกึ ษาของหน่วยงานต้นสงั กัด
3) บทบาทของกล่มุ ผลประโยชนแ์ ละกลมุ่ พลังทางการเมือง
ด้านเศรษฐกจิ พฤติกรรมทางการเมือง
(Economic factors: E) 4) ระเบียบกฎหมายทเี่ ก่ียวข้องในการจดั การศกึ ษา
ด้านสงั คมและวัฒนธรรม
(Social – cultural :S) ๑) รายได้ของผ้ปู กครอง
๒) อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกจิ
ด้านเทคโนโลยี ๓) ภาวะทางการเงิน
(Technological: T)
1) จำนวนประชากรและโครงสร้างประชากรกลุ่มเป้าหมาย
2) สภาพของชุมชนครัวเรอื นกลุ่มเป้าหมาย
๓) คณุ ภาพชวี ิตของประชาชน
๔) ขนบธรรมเนยี มประเพณี ความเชอ่ื ค่านิยม และวฒั นธรรม
5) ระดับการศึกษาและอตั ราการรู้หนังสอื ของประชากร
6) ผลกระทบจากโรคระบาด (COVID 19)

๑) ความก้าวหน้าทางดา้ นเทคโนโลยี
๒) เทคโนโลยสี ารสนเทศ
๓) ภมู ปิ ญั ญา
4) ระบบสาธารณูปโภค

19

บทที่ ๓
ทศิ ทางการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา

ทิศทางการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาประกอบของโรงเรียนบ้านกาแย ประกอบด้วย วิสยั ทัศน์ อัตลักษณ์
พนั ธกิจ เป้าประสงค์ และกลยทุ ธ์ ซ่ึงมรี ายละเอียด ดงั นี้

วสิ ยั ทัศน์ (Vision)

ภายในปี พ.ศ.2567 โรงเรียนบ้านกาแยเป็นโรงเรียนดีมีคณุ ภาพ มีทักษะจำเป็นในศตวรรษที่ 21 เน้น
การอ่าน การเขียน และคิดคำนวณ ส่งเสริมอาชีพ สร้างเครือข่ายชุมชนแห่งการเรียนรู้ ตามวิถีอิสลามด้วยหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ชมุ ชนมีสว่ นรว่ ม

คำอธิบายวสิ ยั ทศั น์
โรงเรียนดมี คี ุณภาพ หมายถงึ โรงเรียนทีจ่ ัดการศึกษาได้มาตรฐาน ดังน้ี
๑. นักเรียนมีคุณภาพ คือ นกั เรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเพิ่มสงู ขึ้น มีทักษะการเรยี นรู้ ใน
ศตวรรษที่ ๒๑ (การอ่าน การเขยี น การคดิ คำนวณ การใชเ้ ทคโนโลยี การใชภ้ าษาในการสื่อสาร
และทกั ษะอาชีพ)
๒. ครมู คี ุณภาพ คอื ครมู คี วามรคู้ วามสามารถทักษะวิชาชพี มีคุณธรรม จริยธรรม
๓. โรงเรียนมคี ุณภาพ คือ โรงเรยี นมีผลการประเมินตนเองตามระบบประกันคุณภาพในระดับดีขึ้นไป
๔. การบริหารมีคุณภาพ คือ สถานศกึ ษามีระบบการบรหิ ารจดั การที่เน้นการมีสว่ นรว่ มยดึ
หลกั ธรรมาภบิ าล
๕. สิง่ แวดลอ้ มดี คือ สถานศึกษามสี ภาพแวดล้อมทีเ่ อื้อต่อการจัดการเรียนรู้ สะอาดและปลอดภัย
๖. เครือข่ายชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ดี คอื สถานศึกษามเี ครือขา่ ยชมุ ชนแห่งการเรียนรทู้ ุกกลุ่มสาระการ
เรียนรู้
๗. ชมุ ชนมีสว่ นร่วม คือ คณะกรรมการสถานศกึ ษา ผู้ปกครอง และหนว่ ยงานที่เก่ียวข้องมสี ่วนร่วมใน
การบริหารจดั การสถานศกึ ษา

ทกั ษะในศตวรรษท่ี 21 คอื นักเรียนมีทักษะตาม 3R 8C
3R คอื
R 1 Reading - อา่ นออก,
R 2 (W) Writing - เขียนได้,
R 3 (A) Arithmetic - มีทักษะในการคำนวณ
8C คอื
1. Critical Thinking and Problem Solving: มที ักษะในการคิดวิเคราะห์ การคดิ อย่างมี

วิจารณญาณ และแก้ไขปญั หาได้
2. Creativity and Innovation: คดิ อยา่ งสรา้ งสรรค์ คิดเชงิ นวัตกรรม
3. Collaboration Teamwork and Leadership: ความรว่ มมือ การทำงานเป็นทมี และภาวะผนู้ ำ
4. Communication Information and Media Literacy: ทักษะในการส่ือสาร และการร้เู ทา่ ทนั ส่อื
5. Cross-cultural Understanding: ความเข้าใจความแตกต่างทางวฒั นธรรม กระบวนการคดิ ข้าม

วฒั นธรรม

20

6. Computing and ICT Literacy: ทกั ษะการใช้คอมพิวเตอร์ และการรเู้ ท่าทันเทคโนโลยี ซึง่
เยาวชนในยคุ ปจั จบุ ันมคี วามสามารถด้านคอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยอี ย่างมากหรอื เปน็ Native
Digital ส่วนคนรุ่นเก่าหรือผ้สู ูงอายุเปรยี บเสมือนเป็น Immigrant Digital แตเ่ ราตอ้ งไม่อายทจ่ี ะ
เรียนร้แู มว้ า่ จะสูงอายแุ ล้วก็ตาม

7. Career and Learning Skills: ทักษะทางอาชีพ และการเรียนรู้
8. Compassion: มคี ุณธรรม มเี มตตา กรณุ า มรี ะเบียบวนิ ยั ซงึ่ เป็นคณุ ลักษณะพ้นื ฐานสำคัญของ

ทกั ษะขัน้ ต้นทั้งหมด และเป็นคุณลักษณะท่เี ด็กไทยจำเปน็ ต้องมี

วถิ อี สิ ลาม คอื นกั เรียนมที ักษะดังต่อไปนี้
1. รกั การอ่านอลั กรุ อาน
2. รกั การละหมาด
3. รกั ความสะอาด
4. มมี ารยาทแบบอสิ ลาม
5. มคี วามรับผดิ ชอบ

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คือ นักเรียนสามารถปฏบิ ัติตามหลักการดังน้ี
3 หว่ ง

1. พอประมาณ
2. มเี หตุผล
3. มีภูมคิ ุ้มกันในตวั ท่ีดี

2 เง่ือนไข
1. ความรู้
2. คุณธรรม

อัตลกั ษณ์(Identity)

“มีวินัย ใฝ่เรยี นรู้ จิตอาสา”

คำอธบิ าย

มวี ินยั หมายถงึ ปฏบิ ตั ิตามกฎของสถานศกึ ษา
ใฝเ่ รยี นรู้ หมายถึง นักเรยี นมีคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงคท์ ี่สถานศึกษากำหนด
จิตอาสา หมายถงึ นักเรยี นเข้ารว่ มกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น กจิ กรรมบำเพ็ญประโยชน์และสาธารณะ
ประโยชนท์ ี่สถานศกึ ษากำหนด

พนั ธกิจ (Mission)

1. พัฒนานักเรียนให้มคี ุณภาพด้านการอ่าน การเขยี น การคิดคำนวณ การสอื่ สาร การใช้เทคโนโลยี
และทักษะอาชีพ

2. พฒั นาคณุ ภาพนักเรียนใหม้ ีผลสัมฤทธ์ิระดบั สถานศึกษาและระดับชาติสูงข้ึน
3. ปลูกฝงั คุณธรรมจริยธรรม คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตามวถิ อี สิ ลามดว้ ยหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ

พอเพียง

21

4. สร้างเสรมิ ศกั ยภาพบุคลากรทุกระดับใหเ้ ป็นครผู เู้ ชีย่ วชาญในวิชาชีพ
5. เพิ่มสมรรถนะของสถานศกึ ษาในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
6. สรา้ งพลังขับเคลอื่ นให้โรงเรยี นมีระบบบริหารจดั การที่ดี โดยใช้ชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้(PLC) และ

ชุมชนมสี ่วนรว่ ม

เป้าประสงค(์ Goal)

1. นกั เรยี นสามารถอ่าน เขียน คิดคำนวณ สือ่ สาร ใช้เทคโนโลยี และมีทักษะอาชีพ
2. นักเรยี นมีผลสัมฤทธิ์ระดับสถานศกึ ษาและระดบั ชาติสูงขนึ้
3. นกั เรยี นมีคุณธรรมจริยธรรม คณุ ลักษณะที่พึงประสงค์ ตามวถิ อี สิ ลามดว้ ยหลักปรชั ญาของ

เศรษฐกิจพอเพียง
4. บคุ ลากรมีความเชย่ี วชาญในวชิ าชีพ
5. สถานศึกษาใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
6. สถานศกึ ษามรี ะบบบริหารจัดการท่ีมีประสิทธิภาพ โดยใชช้ ุมชนแหง่ การเรยี นรู้(PLC) และชุมชนมี

ส่วนรว่ ม

กลยทุ ธ(์ Strategic)

1. พฒั นานกั เรยี นให้มีคุณภาพด้านการอ่าน การเขียน การคดิ คำนวณ การส่อื สาร การใชเ้ ทคโนโลยี
และทักษะอาชีพ

2. พัฒนาคณุ ภาพนกั เรียนให้มผี ลสมั ฤทธิ์ระดบั สถานศึกษาและระดบั ชาติสูงขนึ้
3. ปลกู ฝงั คณุ ธรรมจริยธรรม คุณลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ ตามวถิ ีอิสลามดว้ ยหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ

พอเพียง
4. สรา้ งเสรมิ ศกั ยภาพบคุ ลากรทุกระดบั ใหเ้ ป็นครผู เู้ ชย่ี วชาญในวชิ าชีพ
5. เพ่ิมสมรรถนะของสถานศึกษาในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ
6. สรา้ งพลงั ขบั เคลอ่ื นให้โรงเรียนมรี ะบบบรหิ ารจัดการที่ดี โดยใช้ชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้(PLC) และ

ชุมชนมสี ่วนรว่ ม

บทท

กรอบกลยทุ ธ์การพฒั น

ขอ้ มลู ฐ

วตั ถุประสงคเ์ ชิงกลยทุ ธ์ ตวั ช้ีวัด ปี

2562

ประเดน็ กลยทุ ธท์ ่ี 1 พฒั นานักเรียนใหม้ ีคุณภาพด้านการอ่าน การเขียน การคิดคำนวณ ก

1. นกั เรียนมีคุณภาพด้าน 1.1 รอ้ ยละของนักเรยี นทม่ี ีความสามารถใน

การอ่าน การเขยี น การคิด การอา่ น เขยี น และการคิดคำนวณ

คำนวณ การส่อื สาร การใช้ 1.2 ร้อยละของนักเรยี นทมี่ ีความสามารถใน

เทคโนโลยี และทกั ษะอาชพี การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร

ตามระดบั ช้นั ผ่านเกณฑทก่ี ำหนด
1.3 รอ้ ยละของนักเรยี นที่ศึกษาตอ่ ในระดับ
ที่สูงข้ึนและนำความรู้ไปประกอบอาชีพ

ประเดน็ กลยุทธท์ ่ี 2 พัฒนาคุณภาพนักเรียนให้มผี ลสัมฤทธ์ริ ะดบั สถานศึกษาและระดบั ชา

1. นักเรียนมีผลสัมฤทธ์ิ 1.1 รอ้ ยละของนักเรียนระดับกอน

ระดบั สถานศึกษาและ ประถมศึกษาท่ีมีพัฒนาการ ผ่านเกณฑใน
ระดับชาติสูงข้นึ ระดับดขี ึน้ ไป

1.2 รอ้ ยละของนักเรียนทม่ี ีผลการเรยี นใน
แตล่ ะกลุมสาระการเรยี นทกุ ระดับช้ัน ใน
ระดับ 2.5 ขึ้นไป

1.3 รอ้ ยละคะแนนเฉลย่ี ผลการทดสอบ
ระดบั ชาติ O-NET, I-NET ชน้ั ประถมศึกษา

ปที ่ี 6 และชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 สงู ขนึ้

1.4 รอ้ ยละของนักเรยี นทม่ี ีความสามารถใน

การคดิ วเิ คราะห์ คดิ วจิ ารณญาณ อภิปราย

แลกเปลยี่ นความคิดเหน็ และแกป้ ญั หา

ท่ี ๔ 22
นาคุณภาพการศกึ ษา
กลยทุ ธร์ เิ ริม่
ฐาน คา่ เปา้ หมาย
ปี ปี ปี ปี ปี 1. สง่ เสริมการอา่ นเขียนในระดับ
ปฐมวัย
2563 2564 2565 2566 2567
การสอ่ื สาร การใช้เทคโนโลยี และทกั ษะอาชพี 2. ยกระดับผลสัมฤทธท์ิ ุกระดับชั้น
ของรายวิชา ดังนี้
65 70 75 80
75 80 85 90 2.1 ภาษาไทย
2.2 คณิตศาสตร์
85 90 95 97.5 2.3 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
2.4 การงานอาชีพ
าติสูงขนึ้ 2.5 ภาษาองั กฤษ
85 90 95 100
1. ยกระดบั ผลสัมฤทธท์ิ างวิชาการ
60 65 70 75 ทกุ กล่มุ สาระการเรยี นรู้แกน่ ักเรียน
ทุกระดับชั้น
50 55 60 65 2. พฒั นานกั เรียนให้มที ักษะการ
เรียนรทู้ ่สี ำคญั ในศตวรรษที่ 21
3. พัฒนาศักยภาพนักเรยี นสู่ความ
เป็นเลิศทางวชิ าการในระดบั ต่างๆ

75 80 85 90

ข้อมูลฐา

วัตถปุ ระสงค์เชิงกลยทุ ธ์ ตัวช้ีวัด ปี ป

2562 2

1.5 ร้อยละของนักเรยี นทม่ี ีความสามารถ

ในการสรา้ งนวตั กรรมตามระดบั ชั้นผ่าน

เกณฑทีก่ ำหนด

ประเด็นกลยุทธ์ท่ี 3 ปลกู ฝังคุณธรรมจริยธรรม คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตามวถิ ีอิสลามด

1. นกั เรยี นมคี ุณลกั ษณะที่ 1.1 ร้อยละของนักเรียนท่มี ีคุณลักษณะ

พึงประสงค์ ตามวถิ ีอสิ ลาม และคา่ นยิ มท่ดี ีงามตามที่สถานศกึ ษา

กำหนดระดบั ดขี ้ึนไป

1.2 ร้อยละของนักเรยี นทมี่ ีความ

ภาคภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย

1.3 รอ้ ยละของนักเรยี นทีย่ อมรับทจ่ี ะอยู่

รว่ มกนั บนความแตกตา่ งและหลากหลาย

ผ่านเกณฑ์ท่กี ำหนด

1.4 ร้อยละของนักเรยี นทมี่ ีจิตสำนกึ รกั ษ์

ส่ิงแวดล้อมผา่ นเกณฑ์ทีก่ ำหนด

2. นกั เรียนมีทกั ษะชีวิตและ 2.1 ร้อยละของนักเรยี นทีน่ าํ แนวคิดตาม

พัฒนาการเรยี นรู้สู่อาชพี ตาม หลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงสู่การ

หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ ปฏิบัตผิ า่ นเกณฑที่กำหนด

พอเพยี ง 2.2 สขุ ภาวะทางรา่ งกายและลกั ษณะจติ

สังคม

2.3 ร้อยละของนักเรียนที่ไดร้ บั การ

ส่งเสรมิ ความเปน็ ประชาธปิ ไตยในสังคม

2.4 รอ้ ยละของนักเรยี นทม่ี ีความรู้ ความ

เขา้ ใจ และมีทกั ษะในการป้องกนั ตนเอง

จากภยั ทกุ รูปแบบ

23

าน ค่าเป้าหมาย กลยุทธ์รเิ รม่ิ

ปี ปี ปี ปี ปี
2563 2564 2565 2566 2567

70 75 80 85

ด้วยหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 95 1. ปลกู ฝงั ใหน้ ักเรยี นมีคณุ ธรรม
80 85 90 จรยิ ธรรมใชก้ จิ กรรมท่หี ลากหลาย
โดยความรว่ มมือจากผ้ปู กครอง
80 85 90 ชมุ ชน และองค์กรปกครองส่วน
ท้องถ่ิน
80 85 90
80 85 90 95 2. เสรมิ สรา้ งให้นักเรยี นรักและยึด
มน่ั ในสถาบันหลักของชาติและการ
80 85 90 ปกครองในระบอบประชาธิปไตย
80 85 90
85 90 95 95 อันมีพระมหากษัตรยิ ์เป็นประมขุ

95 1. ส่งเสริมการพัฒนานักเรยี นใหม้ ี
ความรพู้ ้ืนฐานในการประกอบ
วชิ าชพี และมที ักษะชีวติ ตามหลัก

95 ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
2. เสรมิ สร้างให้นักเรยี นมสี ขุ ภาวะ

95 ร่างกายและจิตใจท่ดี ี มภี ูมิคมุ้ กันจาก
ภัยทกุ รูปแบบ

97.5

ขอ้ มลู ฐา

วัตถุประสงคเ์ ชงิ กลยทุ ธ์ ตวั ช้ีวัด ปี ป

2562 2

ประเด็นกลยุทธ์ที่ 4 สรา้ งเสริมศกั ยภาพบุคลากรทุกระดบั ให้เป็นครูผู้เช่ยี วชาญในวชิ าชพี

1. สถานศกึ ษามีหลักสตู ร 1.ระดบั ความสำเรจ็ เรอ่ื งของการจัดทำ

สถานศึกษาทเี่ หมาะสมกบั หลักสตู รสถานศกึ ษาทีเ่ หมาะสมกับ

นักเรียน สอดคล้องกบั ท้องถ่ิน นกั เรียนสอดคล้องกบั ท้องถนิ่ และการ

และการเปล่ยี นแปลงของ เปลี่ยนแปลงของสงั คม

สังคม จดั กระบวนการเรยี นรู้ 2.ระดับความสำเร็จของการจัด
ท่หี ลากหลาย เนน้ การปฏบิ ตั ิ กระบวนการเรยี นรผู้ า่ นกระบวนการคิด
จรงิ ใชเ้ ทคโนโลยี แหลง่ การ และการปฏบิ ัติจรงิ และสามารถนำไป

เรยี นรู้ ปราชญช์ าวบ้าน วดั ผล ประยุกต์ใชใ้ นชีวิตได้
ประเมนิ ผลตามสภาพจริง 3.ระดบั ความสำเร็จในการใชส้ ่อื
โดยใชเ้ ครอ่ื งมือท่ีมคี ุณภาพ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง่ เรยี นร้ทู ่ี
ตรวจสอบได้ และนำ
เอ้อื ต่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีมาใช้ในการวัดผล 4.ระดบั ความสำเร็จของการบริหารจัดการ
ประเมินผล
ชน้ั เรียนเชงิ บวก

5.ระดับความสำเรจ็ การตรวจสอบ และ

ประเมนิ ผู้เรียน อย่างเปน็ ระดับ และนำผล

มาพัฒนาผูเ้ รยี น

6.ระดับความสำเรจ็ ของการและเปลี่ยน

เรยี นรู้ และให้ข้อสะท้อนกลับ เพือ่ พัฒนา

และปรับการจดั การเรียนรู้

24

าน คา่ เป้าหมาย

ปี ปี ปี ปี ปี กลยุทธร์ ิเร่ิม

2563 2564 2565 2566 2567

3 4 5 5 1. พฒั นาสถานศึกษามหี ลักสตู ร

สถานศกึ ษาทีเ่ หมาะสมกบั นกั เรยี น

สอดคล้องกบั ท้องถ่ิน และการ

3 4 4 5 เปล่ียนแปลงของสงั คม
2. กระบวนการเรยี นรทู้ หี่ ลากหลาย

เนน้ การปฏบิ ตั จิ ริง ใช้เทคโนโลยี

แหลง่ การเรยี นรู้ ปราชญ์ชาวบา้ น

3 4 4 5 3. พฒั นาประสทิ ธิภาพวดั ผล

ประเมนิ ผลตามสภาพจริง โดยมุง่ เน้น

ใช้เครือ่ งมือท่ีมคี ุณภาพ ตรวจสอบได้

4 4 5 5 และนำเทคโนโลยมี าใชใ้ นการวัดผล
ประเมินผล

344 5

344 5

วตั ถปุ ระสงค์เชิงกลยทุ ธ์ ตวั ชีว้ ัด ขอ้ มลู ฐาน
2. ครแู ละบุคลากรทางการ
ศึกษามที ักษะพนื้ ฐานและ 2.1 รอ้ ยละของครูและบุคลากรทางการ ปี
ความเชี่ยวชาญดา้ นวชิ าชีพ ศกึ ษาไดร้ ับการพฒั นาวิชาชพี 25 ช่ัวโมง 2562 2
ต่อปี
3. ครแู ละบคุ ลากรทางการ 2.2 ร้อยละของครูมคี วามสามารถในการ
ศึกษามีความกา้ วหนา้ จัดการเรียนรู้ และสามารถสอื่ สารเพอื่
ทางด้านวชิ าชีพ การปฏบิ ัตงิ านตามเกณฑ์ทโ่ี รงเรยี น
กำหนด
2.3 รอ้ ยละของครูและบุคลากรทางการ
ศึกษา มสี ่ือนวตั กรรมและเทคโนโลยี วิจัย
ทางการศึกษา ตามเกณฑ์ทโ่ี รงเรยี น
กำหนด
3.2 รอ้ ยละของครแู ละบุคลากรทางการ
ศกึ ษาไดร้ ับการประเมินเพ่ือเลอ่ื นวทิ ย
ฐานะตามเกณฑ์ท่ี สพฐ. กำหนด

ประเดน็ กลยุทธท์ ่ี 5 เพ่มิ สมรรถนะของสถานศกึ ษาในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ

1. โรงเรยี นมีสภาพแวดลอ้ ม 1.1 ระดบั ความสำเร็จของการจดั
และบรรยากาศทีเ่ อื้อต่อการ สภาพแวดลอ้ มที่เอ้ือตอ่ การจัดการเรยี นรู้
จัดการเรียนรู้อย่างมคี ุณภาพ สู่การเป็นโรงเรยี นน่าอย่นู ่าเรียนรู้

สู่การเปน็ โรงเรียนน่าอยู่น่า 1.2 ระดับความสำเรจ็ ของการจดั ระบบ
เรียนรู้มีแหลง่ เรยี นรทู้ ีไ่ ด้ สาธารณปู โภคท่มี ีความพร้อม ปลอดภัย
มาตรฐาน
และเอ้ือต่อการเรียนรู้

25

น คา่ เป้าหมาย กลยทุ ธร์ ิเร่มิ
ปี ปี ปี ปี ปี

2563 2564 2565 2566 2567

85 90 95 100 1. พฒั นาครใู ห้เป็นครยู ุคใหม่ทมี่ ี

ความเชยี่ วชาญในการจดั กระบวน

เรยี นรดู้ ว้ ยรแู บบการพฒั นาท่ี

80 85 90 100 หลากหลายและพัฒนาพืน้ ฐาน
เกย่ี วกับการใช้ภาษาอังกฤษและ

เทคโนโลยสี มยั ใหม่

85 90 95 100

80 85 90 95 1. สง่ เสรมิ ใหค้ รแู ละบคุ ลากร
ทางการศึกษามขี วญั กำลังใจในการ
ปฏิบตั ิงานดว้ ยการจดั สวสั ดิการ
สวสั ดภิ าพ และสร้างความก้าวหน้า
ทางดา้ นวชิ าชพี

4 4 5 5 1. พัฒนาโรงเรียนให้มี
สภาพแวดลอ้ มและบรรยากาศทีเ่ อื้อ
ต่อการจัดการเรียนรอู้ ย่างมีคุณภาพ

4 4 5 5 สูก่ ารเปน็ โรงเรยี นทมี่ แี หล่งเรียนรู้
น่าอยู่ น่าเรียนรู้ ภายในโรงเรียนให้
มีคณุ ภาพตามมาตรฐาน

วัตถุประสงค์เชงิ กลยุทธ์ ตวั ชวี้ ัด ขอ้ มูลฐา
ปี

2562 2

1.3 ระดบั ความสำเร็จของการจดั อาคาร

เรยี น อาคารประกอบที่พร้อมบรกิ ารและ

เพียงพอ

1.4 ระดบั ความสำเร็จของแหล่งเรยี นรู้ท่ไี ด้

มาตรฐาน

1.5 ระดบั ความสำเร็จของการดูแลรกั ษาท่ี

มปี ระสิทธภิ าพ

2. โรงเรียนเพิ่มศักยภาพ 2.1 ระดับความสำเรจ็ ของการพฒั นาระบบ

เทคโนโลยสี ารสนเทศและ เทคโนโลยมี าใช้ในการบริหารจดั การ

การสือ่ สาร(ICT) มาใชใ้ น 2.2 ระดับความสำเรจ็ ของห้องเรียนมีระบบ

การบริหารจดั การและการ เทคโนโลยที เี่ อ้อื ต่อการจดั การเรียนการสอน
เรียนรู้ 2.3 ระดับความสำเร็จของเทคโนโลยีมี

ประสทิ ธภิ าพและทันสมัย

ประเด็นกลยทุ ธท์ ่ี 6 สร้างพลังขบั เคล่ือนใหโ้ รงเรยี นมีระบบบริหารจดั การท่ดี ี โดยใช้ชมุ ชนแ

1. โรงเรียนมีระบบการ 1.1ระดับความสำเร็จของวสิ ัยทัศน์ พันธกิจ

บรหิ ารจัดการท่มี ีคณุ ภาพ เปา้ หมายท่ีชดั เจน

ตามหลักธรรมภิบาล เป็น 1.2 ระดับความสำเรจ็ ผลการประเมิน
ยอมรบั เชอ่ื มนั่ ของชมุ ชน ตนเอง
สงั คม 1.3 ระดบั ความสำเรจ็ ของระบบฐานขอ้ มูล

2. โรงเรียนมีภาคเี ครือข่าย 2.1 รอ้ ยละของผู้ปกครองท่ีมีความพึงพอใจ

การมีผ้ปู กครอง ชุมชน และ ต่อการจดั การศึกษาของโรงเรยี น

ภาคสว่ นตา่ งๆของสงั คม 2.2 ผลการประเมนิ การมีสว่ นรว่ มของ

ผู้ปกครอง ชุมชน และหน่วยงานทีเ่ กี่ยวข้อง

26

าน คา่ เปา้ หมาย กลยุทธ์ริเริม่

ปี ปี ปี ปี ปี
2563 2564 2565 2566 2567

4555

4455

4455

4 4 5 5 1. นำและพฒั นาเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสาร

4 4 5 5 (ICT)สมยั ใหม่ มาใชเ้ พม่ิ
ประสิทธภิ าพในการบรหิ ารจัดการ

4 4 5 5 และการเรยี นรู้

แหง่ การเรียนรู้(PLC) และชุมชนมีสว่ นรว่ ม 1. พฒั นาการบรหิ ารจดั การด้วย
4455 ระบบคุณภาพตามหลักธรรมภบิ าล
โดยมุ่งเน้นการสร้างความเขม้ แขง็
4455 ระบบการประกันคณุ ภาพภายใน

4455 1. ส่งเสรมิ ใหช้ ุมชน ผปู้ กครอง มี
90 92 93 95 สว่ นร่วมในการจดั การศึกษา

4555

วัตถปุ ระสงคเ์ ชงิ กลยุทธ์ ตัวชว้ี ัด ข้อมลู พน้ื
ปี 2562 ป

3. โรงเรียนระบบบรกิ าร 3.1 ผลการประเมินตนเอง ตามระบบดูแล
และการดูแลชว่ ยเหลือ ช่วยเหลือนกั เรยี น
นักเรยี นที่มีคณุ ภาพ
มาตรฐาน 3.2 ร้อยละของนักเรียนออกกลางคัน
ลดลง 5%
4. โรงเรียนมีผลงานเปน็ ท่ี
ประจกั ษ์เป็นทย่ี อมรับของ 3.3. ร้อยละของนกั เรียนท่ศี ึกษาต่อ ใน
ชุมชนและสงั คม ระดบั ทีส่ งู ขึ้นร้อยละ 80

5. โรงเรยี นมรี ะบบบรหิ าร 4.1 ระดับความสำเร็จของครู นักเรียน
จัดการท่ดี ี โดยใชช้ ุมชนแหง่ โรงเรียนทม่ี ีผลงานสำเรจ็ เชงิ ประจกั ษ์ใน
การเรยี นรู้(PLC) โรงเรียน

4.2 รอ้ ยละของโครงการ /กจิ กรรม ที่มใี น
แผนปฏบิ ัตกิ ารดำเนนิ การสำเร็จลุลว่ ง

4.3 ระดบั ความสำเรจ็ ของครู นักเรียน
โรงเรียน มีผลงานเปน็ ทีย่ อมรับระดับ
จงั หวัด ภาค ประเทศ และนานาชาติ

3.1 ร้อยละของครูและบุคลากรทางการ
ศกึ ษา มจี ำนวนชัว่ โมงกจิ กรรมชุมนุมการ
เรียนรู้ทางวชิ าชพี (PLC) 50 ชว่ั โมงตอ่ ปี

27

นฐาน ปี 2564 ค่าเปา้ หมาย ปี 2567 กลยุทธร์ เิ ริ่ม
ปี 2563 4 ปี 2565 ปี 2566 5
1. พัฒนาระบบการใหบ้ รกิ ารและ
3 45 1 ระบบดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี น
โดยมุ่งเนน้ นักเรยี นรายบคุ คลแบบ
90 22 99 เขา้ ใจ เขา้ ถงึ และพัฒนา

93 96

4 4 5 5 1. ส่งเสริมสนับสนุนผลติ ผลงาน
สร้างสรรค์ ของครู นกั เรยี น
โรงเรียน ในการส่งเขา้ รบั รางวัลใน

95 98 99 100 ระดับต่างๆ

3445

85 90 95 100 1. สง่ เสริม สนับสนุนใหบ้ คุ ลากรมี
ระบบบรหิ ารจัดการทีด่ ี โดยใช้
ชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ (PLC)

บทท
โครงการ/กจิ กร

ประเดน็ กลยทุ ธท์ ี่ 1 พัฒนานักเรียนใหม้ คี ุณภาพด้านการอา่ น การเขียน การคิดคำ

1. นกั เรียนมีคณุ ภาพด้านการอ่าน การเขยี น การคดิ คำนวณ การสือ่ สาร การใชเ้ ทคโ

กลยุทธ์ริเรมิ่ โครงการ/กิจกรรม

1. สง่ เสริมการอ่านเขียนในระดับ 1. โครงการส่งเสรมิ ความเป็นเลิศนกั เรยี น
ปฐมวัย ปฐมวัย
1) กิจกรรมหนูน้อยรกั การอา่ น
2. ยกระดบั ผลสัมฤทธิ์ทกุ ระดบั ชั้น 2. โครงการพฒั นานักเรยี นสู่ความเปน็ เลิศ
ของรายวชิ า ดังนี้ 1) กจิ กรรมพฒั นาการอ่านออกเขยี นได้
2.1 ภาษาไทย
2.2 คณิตศาสตร์ 2) กจิ กรรมกีรออาตี
2.3 วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3) กิจกรรม Excellent
2.4 การงานอาชีพ 4) กิจกรรมเสรมิ ทกั ษะคณติ ศาสตร์
2.5 ภาษาองั กฤษ
3. โครงการหอ้ งสมดุ 3 ดี

1) กจิ กรรมห้องสมดุ 3 ดี
2) กิจกรรมพัฒนาห้องสมดุ

ที่ ๕ 28
รรมระยะ ๔ ปี
กลุม่ งาน/งาน
ำนวณ การส่อื สาร การใช้เทคโนโลยี และทักษะอาชีพ ท่ีรบั ผิดชอบ

โนโลยี และทักษะอาชพี ปฐมวยั
บริหารงานวิชาการ
ปีการศึกษาท่ดี ำเนินการ
2564 2565 2566 2567 บริหารงานวชิ าการ


15,000 15,000 15,000 15,000


30,000 30,000 30,000 30,000
1,500 1,500 1,500 1,500
7,000 7,000 7,000 7,000
3,000 3,000 3,000 3,000

20,000 20,000 20,000 20,000
30,000 30,000 30,000 30,000

ประเดน็ กลยทุ ธ์ท่ี 2 พฒั นาคุณภาพนักเรียนให้มีผลสมั ฤทธร์ิ ะดับสถานศึกษาและระดบั
1. นกั เรยี นมผี ลสมั ฤทธริ์ ะดับสถานศึกษาและระดบั ชาตสิ งู ขน้ึ

กลยุทธร์ เิ ริม่ โครงการ/กิจกรรม

1. ยกระดบั ผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการทกุ 1. โครงการสง่ เสริมความเปน็ เลิศนักเรียน
กล่มุ สาระการเรยี นรูแ้ กน่ ักเรียนทกุ ปฐมวัย
ระดับชน้ั 1) กจิ กรรมการแข่งขันทักษะความพร้อม
ระดบั ปฐมวยั
2. พฒั นานักเรียนให้มที ักษะการเรยี นรู้ 2) กิจกรรมบา้ นนักวิทยาศาสตรน์ อ้ ย
ที่สำคัญในศตวรรษท่ี 21
3) กิจกรรมทัศนศึกษาแหล่งการเรียนรู้
3. พัฒนาศกั ยภาพนักเรยี นสู่ความเปน็
เลศิ ทางวิชาการในระดบั ต่างๆ 4) กิจกรรมจดั มุมมหัศจรรยเ์ สริมสรา้ ง
พัฒนาการให้น้อง
2. โครงการพัฒนานักเรยี นสู่ความเปน็ เลิศ

1) กจิ กรรมพฒั นาผลการทดสอบระดับชาติ
O-NET I-NET NT LAS

2) กจิ กรรมค่ายวิชาการ

3) กิจกรรมแข่งขนั ทกั ษะวชิ าการ

29

บชาติสูงข้ึน

ปีการศึกษาท่ดี ำเนนิ การ กล่มุ งาน/งาน
2564 2565 2566 2567 ทร่ี ับผิดชอบ

5,000 5,000 5,000 5,000 ปฐมวัย
7,000 7,000 7,000 7,000
15,000 15,000 15,000 15,000 บริหารงานวิชาการ
15,000 15,000 15,000 15,000

25,000 25,000 25,000 25,000
30,000 30,000 30,000 30,000
113,275 113,275 113,275 113,275

ประเดน็ กลยทุ ธท์ ี่ 2 พฒั นาคุณภาพนักเรยี นให้มีผลสมั ฤทธิ์ระดบั สถานศึกษาและระดับ
1. นกั เรยี นมผี ลสมั ฤทธิ์ระดบั สถานศกึ ษาและระดบั ชาตสิ งู ขน้ึ

กลยุทธร์ เิ ริม่ โครงการ/กจิ กรรม

3. โครงการเรียนรู้สู่โลกกวา้ ง
1) กจิ กรรมเรยี นร้สู ู่โลกกว้าง ป.1-3
2) กจิ กรรมเรยี นรู้ส่โู ลกกวา้ ง ป.4-5
3) กิจกรรมเรียนรูส้ ู่โลกกว้าง ม.1-2
4) กจิ กรรมเรียนรสู้ ู่โลกกวา้ ง ป.6 และ ม.3
4. โครงการส่งเสริมประชาธิปไตยในโรงเรยี น
1) กิจกรรมสภานักเรยี น
2) กิจกรรมหน้าเสาธง

30

บชาตสิ ูงขึ้น

ปีการศกึ ษาที่ดำเนนิ การ กลุ่มงาน/งาน
2564 2565 2566 2567 ที่รบั ผดิ ชอบ
บริหารงานท่ัวไป
25,440 25,440 25,440 25,440
13,600 13,600 13,600 13,600 บรหิ ารงานทว่ั ไป
11,720 11,720 11,720 11,720
80,000 80,000 80,000 80,000

2,500 2,500 2,500 2,500
2,500 2,500 2,500 2,500

ประเด็นกลยทุ ธ์ที่ 3 ปลกู ฝังคุณธรรมจรยิ ธรรม คณุ ลักษณะที่พึงประสงค์ ตามวถิ อี สิ ล
1. นักเรียนมีคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ ตามวิถีอิสลาม

กลยุทธร์ เิ รมิ่ โครงการ/กจิ กรรม

1. ปลูกฝงั ให้นักเรยี นมีคณุ ธรรม 1. โครงการคณุ ธรรมจริยธรรม
จรยิ ธรรมใชก้ ิจกรรมทห่ี ลากหลาย 1) กิจกรรมค่ายคณุ ธรรมจริยธรรม
โดยความรว่ มมือจากผู้ปกครอง
ชุมชน และองค์กรปกครองส่วน 2) กจิ กรรมโรงเรียนคุณธรรม
ท้องถนิ่
2. โครงการส่งเสรมิ วิถีอิสลาม
2. เสรมิ สรา้ งให้นักเรียนรกั และยึดมัน่
ในสถาบนั หลกั ของชาติและการ 1) กจิ กรรมสลามเพื่อสนั ติ
ปกครองในระบอบประชาธปิ ไตย 2) กจิ กรรมเมาลิด
อนั มีพระมหากษัตรยิ ์เป็นประมขุ
3) กิจกรรมอาซูรอสมั พนั ธ์
4) กจิ กรรมละหมาดรว่ มกนั
3. โครงการค่ายลูกเสอื -เนตรนารี ตา้ นภยั ยา
1) กจิ กรรมเขา้ คา่ ยลูกเสือสำรอง ตา้ นภัยยา
2) กิจกรรมเขา้ คา่ ยลูกเสือสามญั -สามัญรุ่นใ
ตา้ นภยั ยาเสพตดิ
3) กจิ กรรมเข้าค่ายลูกเสอื ต้านภยั ยาเสพติด
ศูนยเ์ ครอื ขา่ ย/ระดับ สพป.นธ.3

31

ลามดว้ ยหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ปกี ารศึกษาท่ีดำเนนิ การ กลมุ่ งาน/งาน
ทีร่ บั ผิดชอบ
2564 2565 2566 2567 บริหารงานวชิ าการ
บรหิ ารงานวชิ าการ
.
30,000 30,000 30,000 30,000 บริหารงานท่ัวไป
5,000 5,000 5,000 5,000

2,000 2,000 2,000 2,000
5,000 5,000 5,000 5,000
10,000 10,000 10,000 10,000
3,000 3,000 3,000 3,000
าเสพติด
าเสพติด 2,000 2,000 2,000 2,000
ใหญ่ 3,000 3,000 3,000 3,000

ดระดับ 25,000 25,000 25,000 25,000

ประเด็นกลยุทธ์ท่ี 3 ปลกู ฝังคณุ ธรรมจริยธรรม คณุ ลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ ตามวถิ อี สิ ล
2. นักเรียนมที ักษะชวี ติ และพฒั นาการเรียนรสู้ ู่อาชีพตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอ

กลยุทธร์ เิ รม่ิ โครงการ/กิจกรรม

1. ส่งเสรมิ การพฒั นานกั เรียนให้มี 1. โครงการเศรษฐกิจพอเพียงและสง่ เสริมอ
ความรู้พ้ืนฐานในการประกอบวิชาชพี 1) กจิ กรรมบริษัทสรา้ งการดี
และมีทักษะชีวิต ตามหลกั ปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพยี ง 2) กิจกรรมออมทรัพย์
3) กิจกรรมเศรษฐกจิ พอเพียง
2. เสรมิ สร้างให้นักเรียนมสี ุขภาวะ 4) กจิ กรรมสหกรณร์ ้านค้าโรงเรยี น
รา่ งกายและจิตใจทด่ี ี มภี ูมิคมุ้ กันจาก 2.โครงการส่งเสริมประชาธปิ ไตยในโรงเรยี น
ภยั ทุกรูปแบบ 1) กจิ กรรมสภานกั เรยี น
2) กิจกรรมหน้าเสาธง
3.โครงการวันสำคญั และจดั ป้ายนเิ ทศ
1) กิจกรรมต่อตา้ นยาเสพติด
2) กจิ กรรมวันสุนทรภู่

3) กิจกรรมวนั ครู

4) กิจกรรมวันสำคัญของสถาบันพระมหากษ
5) กิจกรรมวนั ปีใหม่และวนั เด็ก

ลามด้วยหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 32

อเพยี ง กลุ่มงาน/งาน
ท่รี ับผิดชอบ
ปีการศึกษาที่ดำเนินการ บรหิ ารงานวชิ าการ

2564 2565 2566 2567 บริหารงานทัว่ ไป
บรหิ ารงานวิชาการ
อาชีพ .
1,000 1,000 1,000 1,000
2,000 2,000 2,000 2,000
5,000 5,000 5,000 5,000
3,000 3,000 3,000 3,000


2,500 2,500 2,500 2,500
2,500 2,500 2,500 2,500

2,000 2,000 2,000 2,000
2,000 2,000 2,000 2,000
2,000 2,000 2,000 2,000
ษัตริย์ 4,000 4,000 4,000 4,000
17,500 17,500 17,500 17,500

ประเดน็ กลยทุ ธ์ท่ี 3 ปลกู ฝังคณุ ธรรมจรยิ ธรรม คุณลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ ตามวิถีอ
2. นักเรียนมที ักษะชีวติ และพฒั นาการเรยี นรูส้ ่อู าชีพตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พ

กลยุทธร์ ิเรม่ิ โครงการ/กจิ กรรม

4. โครงการสง่ เสริมสขุ ภาพ
1) กิจกรรมอาหารเสรมิ นม
2) กิจกรรม อย. น้อย
3) กิจกรรมแปรงฟัน
4) กจิ กรรมตรวจสขุ ภาพของนกั เรียน
5) กจิ กรรมออกกำลงั กายยามเช้า
6) กจิ กรรมสง่ เสริมความเป็นเลิศด้านกฬี
5.โครงการเฝา้ ระวังป้องกันโรคระบาดโคว
1) กจิ กรรมป้องกนั ภยั โควดิ 19

33

อสิ ลามดว้ ยหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง กลมุ่ งาน/งาน
ทร่ี บั ผดิ ชอบ
พอเพยี ง บรหิ ารงานทั่วไป

ปีการศึกษาทดี่ ำเนนิ การ บรหิ ารงานทวั่ ไป

2564 2565 2566 2567

500 500 500 500
500 500 500 500
500 500 500 500
500 500 500 500
500 500 500 500
ฬา 10,000 10,000 10,000 10,000
วิด 19
50,000 50,000 50,000 50,000

ประเด็นกลยทุ ธ์ที่ 4 สร้างเสรมิ ศกั ยภาพบคุ ลากรทุกระดับใหเ้ ป็นครผู เู้ ช่ยี วชาญในวชิ าช

1. สถานศกึ ษามีหลักสตู รสถานศกึ ษาทเ่ี หมาะสมกับนกั เรียน สอดคลอ้ งกับท้องถ่ิน และ
เทคโนโลยี แหลง่ การเรียนรู้ ปราชญ์ชาวบา้ น วัดผลประเมนิ ผลตามสภาพจริง โดยใช้เคร

กลยทุ ธ์ริเร่มิ โครงการ/กิจกรรม

1. พฒั นาสถานศึกษามีหลักสตู ร 1. โครงการพฒั นาหลกั สูตรสถานศกึ ษา

สถานศกึ ษาทเี่ หมาะสมกบั นกั เรยี น 1) กจิ กรรมพฒั นาหลักสูตรโรงเรยี น

สอดคลอ้ งกับท้องถนิ่ และการ 2.โครงการพฒั นาครูสมู่ ืออาชีพ

เปล่ยี นแปลงของสงั คม 1) กิจกรรม การเรียนการสอน Active learnin

2) กิจกรรมนเิ ทศภายใน

2. กระบวนการเรยี นรูท้ ี่หลากหลาย 3) ส่งเสริมการผลิตสือ่ การเรียนและนวัตกรร

เน้นการปฏบิ ตั จิ ริง ใชเ้ ทคโนโลยี แหล่ง การศกึ ษา
4) กจิ กรรมวิจัยในชนั้ เรยี น
การเรียนรู้ ปราชญช์ าวบา้ น
5) กิจกรรมจดั หาเอกสารธุรการช้ันเรยี นและ

3. พัฒนาประสิทธภิ าพวัดผล คลงั ข้อสอบเพือ่ วดั ผลและประเมินผล
ประเมนิ ผลตามสภาพจริง โดยมุ่งเน้นใช้ 3.โครงการส่งเสริมวถิ ีอสิ ลาม
เคร่อื งมอื ที่มคี ุณภาพ ตรวจสอบได้ และ
1) กิจกรรมจดั หาและผลติ สื่ออสิ ลาม

นำเทคโนโลยีมาใชใ้ นการวดั ผล

ประเมินผล


Click to View FlipBook Version