The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ฝึกฝนเรียนรู้พัฒนาจิตให้มีความเจริญใน สติ สัมปชัญญะ สมาธิ และปัญญา ในท่ามกลางความเป็นไปของชีวิตและโลก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by DrSomchaiV, 2021-12-24 08:45:59

กระแสธารธรรม

ฝึกฝนเรียนรู้พัฒนาจิตให้มีความเจริญใน สติ สัมปชัญญะ สมาธิ และปัญญา ในท่ามกลางความเป็นไปของชีวิตและโลก

Keywords: ธรรม,สติ,ปัญญา,พุทธ

คำนำ

ด้วยเป็ นครอบครัวท่ีนับถือพระพุทธศาสนา คุณแม่จึงสอนให้รู้จกั ทาบุญ
ตกั บาตร สวดมนต์ไหว้พระต้งั แต่วยั เด็ก จึงเป็ นส่วนหน่ึงของจุดเริ่มตน้ ท่ีทาให้
สนใจศึกษาในหลักธรรมคาสอนทางพระพุทธศาสนาในลาดับต่อมา และเมื่อมี
โอกาสก็มกั จะไปกราบครูบาอาจารยต์ ามวดั และสานกั ปฏิบตั ิธรรมต่าง ๆในสมยั
น้นั และด้วยความเมตตากรุณาของท่านผทู้ รงศีลทรงธรรมท้งั ท่ีเป็ นพระสงฆ์ แม่ชี
และฆราวาสที่ไดใ้ ห้ความรู้ ความเขา้ ใจในทางธรรม พร้อมท้งั แนะนาการปฏิบตั ิ
จิตตภาวนา

นบั จากวนั น้นั จวบจนมาวนั น้ีก็ประมาณกวา่ 50 ปี แลว้ กาลเวลาไดก้ ลนื กนิ
สรรพชีวิต พร้อมท้งั ตวั เอง เป็ นสัจธรรมท่ีมิอาจปฏิเสธได้ ก็ยงั คงทาหน้าที่อย่าง
เท่ียงตรง อย่างเป็ นธรรมอยู่ดว้ ยความเป็ นเช่นน้นั เอง ไม่เป็ นอื่น แมต้ วั เราก็จกั ตอ้ ง
แก่ เจ็บ และตายจากโลกน้ีไปเฉกเช่นกนั ดว้ ยขนั ธ์ 5 คือ ชีวิตอนั ประกอบดว้ ยกาย
และใจ เป็ นท้งั ธรรมในฝ่ ายรูปธรรม และธรรมในฝ่ ายนามธรรม ซ่ึงเป็ นสังขาร
ธรรมหรือสังขตธรรม ลว้ นตกอยู่ภายใตก้ ฎแห่งพระไตรลกั ษณ์ คือ อนิจจงั ทุกขงั
อนตั ตา อนั เป็นสามญั ลกั ษณะประจาชีวิตและโลกนน่ั เอง

ดว้ ยเหตนุ ้ีเมอื่ ชีวติ ยงั จงึ ขอใชโ้ อกาสในชีวติ ท่ีเหลือนอ้ ยนิดน้ีให้เกิดคุณค่า
ความหมายในปัจจุบนั เท่าท่ีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ พอจะมีบา้ ง
ในอนั ทจ่ี กั เกิดประโยชน์ ไมม่ ากกน็ อ้ ย ตามแตเ่ หตปุ ัจจยั ท่ีจกั เอ้ืออานวย จงึ เกิดแรง

บนั ดาลใจทจ่ี กั ถา่ ยทอดแงค่ ิด มมุ มองทางธรรม ออกมาในรูปแบบลายลกั ษณอ์ กั ษร
เท่าท่ีพอจะนามาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ได้บ้าง และก็แน่นอนย่อมต้องมีจุดอ่อน
ขอ้ บกพร่อง ขาดความรอบด้านสมบูรณ์อย่างมิอาจปฏิเสธได้ ซ่ึงก็ขอนอ้ มรับขอ้
วิพากษว์ ิจารณ์ต่าง ๆดว้ ยความเคารพแตโ่ ดยดี ซ่ึงก็ถือเป็ นครูที่ช่วยอบรมส่ังสอน
ด้วยความปรารถนาดี และก็ถือเป็ นหน่ึงในกระบวนการเรียนรู้ ฝึ กฝนพัฒนาไป
ดว้ ยกนั ดว้ ยเหตุผลต่างๆเหล่าน้ี จงึ เป็นแรงสนบั สนุนผลกั ดนั ใหเ้ กิดความกลา้ ที่จะ
นาเสนอความคิดออกมา ก็ดว้ ยเชื่อมนั่ ในกศุ ลเจตนานน่ั เอง ซ่ึงเน้ือหาและรูปแบบน้ี
จะเรียกวา่ บนั ทกึ ความทรงจา หรือ บทความ หรือ หนงั สือ ก็ไดต้ ามแต่จะเรียกเถดิ

หัวเร่ืองที่ว่า “กระแสธารธรรม ท่ามกลางความเป็ นไปของชีวิตและโลก”
ซ่ึงเป็ นชื่อท่ีกวา้ งๆ สบายๆในลกั ษณะที่เป็ นเพียงกระแสความคิดในด้านหน่ึง ใน
แง่มุมหน่ึง ต่อประเด็นเรื่องราวหน่ึงๆเท่าที่จะนึกข้ึนมาได้ในขณะที่กาลงั เขียน
ออกมาน้ี โดยที่เน้ือหาอาจจะต่อเน่ืองกนั บา้ ง และไม่ต่อเน่ืองกนั บา้ ง ก็เป็ นไปโดย
ธรรมชาตขิ องกระแสความคดิ ทเ่ี ป็นไปในทา่ มกลาง จงึ ขอกราบเรียนมา ณ ท่ีน้ี แตก่ ็
พยายามท่ีจะส่ือสารถ่ายทอดออกมาให้เห็นภาพ พอที่จะเขา้ ใจได้ด้วยภาษาง่าย ๆ
ในทีน่ ้ีจงึ เปรียบดุจแผนทีก่ วา้ งๆเทา่ น้นั ไม่ขอลงในรายละเอียด จึงเป็นเพียงการยก
ให้เห็นหัวขอ้ หมวดธรรม และองคธ์ รรมท่ีเกี่ยวขอ้ งเชื่อมโยง พอเป็ นแนวทางเพ่ือ
เปิ ดโอกาสให้ท่านผูท้ ี่สนใจไดศ้ ึกษาคน้ ควา้ เพิ่มเติมไดอ้ ย่างอิสระในลาดับต่อไป

ส่วนผูอ้ ่านจะเกิดแง่มุมทางความคิด ในแนวใด ก็ได้อย่างเป็ นอิสระตาม
อัธยาศัย แต่หากว่าเน้ือหาใจความที่ท่านได้อ่านน้ีจักมีส่วนจุดประกายแห่ง

สติปัญญา นาไปสู่กศุ ลธรรมใดๆ ท้งั ทางกาย วาจา และใจ บา้ งแลว้ ไซร้ กข็ อให้เป็น
การนอ้ มกราบสักการะด้วยกตญั ญูกตเวทิตาในพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ และ
พอ่ แม่ ครูบาอาจารย์ พร้อมท้งั ขอต้งั จติ อุทศิ ส่วนบุญกศุ ลน้ีให้แกส่ รรพชีวิตท้งั มวล
และเจา้ กรรมนายเวรท้งั หลายที่เป็นเพื่อนร่วมทุกข์ เกดิ แก่ เจ็บ ตาย ในวฏั สงสารน้ี
ได้รับโอกาสแห่งอานิสงส์ผลบุญกุศลน้ี พร้อมดว้ ยความสุข ความเจริญในกาลงั
ทรัพย์ กาลงั กาย กาลังใจ กาลังสติปัญญา กาลังความสามารถ กาลงั แห่งความดี
ตราบจนบรรลซุ ่ึง มรรค ผล และนิพพาน ในทีส่ ุดน้ีเทอญ.

สมชยั วิเศษมงคลชยั
3 มถิ นุ ายน 2564

สำรบัญ หน้ำ
• โลกอนั น่าอยู่ 1
• โลกคอื ความหลากหลาย 4
• ชีวติ และโลก 6
• วทิ ยาศาสตร์ทางวตั ถุ เช่ือมต่อ วทิ ยาศาสตร์ทางจติ 9
• ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งกายและจิต 10
• กาย จิต อารมณ์ และอายตนะ 14
• การฝึกฝนพฒั นาจติ 20
• ใชพ้ ลงั จติ ในชีวิตประจาวนั 25
• หลกั วิชา หลกั คิด หลกั การ จุดยืน 29
• อภยั ทาน 34
• ยากทจ่ี ะไดอ้ ตั ภาพมนุษย์ 35
• จากพ่ึงพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ สู่การพ่งึ ตนเอง 37
• โพธิปักขยิ ธรรม 37 ประการ 39
• ชีวิตท่เี ลอื กได้ หากให้โอกาส 47
• กลั ยาณมติ รเป็นหน่ึงในโสตาปัตติยงั คะ 50
• ยากท่ีจะมาศกึ ษาปฏบิ ตั ิธรรม 52
• พระสงฆส์ าวกของพระผมู้ พี ระภาคเจา้ 54
• ศกึ ษาเป็น ปฏบิ ตั ไิ ด้ จากหน่ึงองคธ์ รรม สู่สภาวธรรม 58
• บทสรุป 62
• กตญั ญกู ตเวทติ าธรรม 64

กระแสธำรธรรม ท่ำมกลำงควำมเป็ นไปของชีวติ และโลก

โลกอนั น่ำอยู่

โ ล ก ใ บ น้ ี ช่ื อ ว่ า โ ล ก อัน น่ า อ ยู่ ก็ ด้ ว ย เ ห ตุ ที่ มี ร ะ บ บ นิ เ ว ศ ธ ร ร ม ช า ติ อัน
เหมาะสม ท่ีเป็ นปัจจยั พ้ืนฐานของทุกชีวิต คือมีดิน น้า อากาศ และช้ันบรรยากาศ
พร้อมด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ ที่มีบทบาทต่อวถิ ีการดาเนินชีวติ ของเหล่า
สรรพสัตว์ ซ่ึงหน่ึงในน้นั ก็คอื มนุษย์ ทอ่ี ย่ดู ว้ ยกนั อย่างเป็นสงั คมชมุ ชนที่ตอ้ งอาศยั
ปัจจยั ที่จาเป็ นต่อการดารงชีวิต ก็คือ อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ท่ีอยู่อาศยั ยารักษาโรค
และส่ิงอานวยความสะดวกสบายต่างๆท่ีถูกพัฒนาข้ึน ไม่ว่าจะเป็ นอุปกรณ์
เคร่ืองมือ และยานพาหนะที่ใช้ในการเดินทาง เป็ นต้น ตรงน้ีเรียกว่า ระบบ
วฒั นธรรม ดว้ ยเหตุท่ีมนุษยเ์ ป็ นสัตวท์ ่ีฝึ กฝนพฒั นาทางด้านสติปัญญาได้ จึงเกิด
ความรู้ ความสามารถในการประดิษฐ์คดิ คน้ ในด้านต่าง ๆ ที่ถูกถ่ายทอด สืบทอด
จากรุ่นหน่ึง สู่รุ่นหน่ึง มาอย่างต่อเน่ือง จึงเกิดเป็ นระบบภูมิปัญญาท่ีมีความสาคญั
ต่อการพฒั นาชีวิต และเม่ือประกอบดว้ ยระบบวฒั นธรรมจึงเป็ นท่ีมาของความมี
อารยธรรมของกลมุ่ ชนตา่ ง ๆ ณ ทน่ี ้นั ๆ บนโลกใบน้ีนน่ั เอง

ดุลยภาพของ 3 ระบบน้ี คือ ระบบนิเวศ ระบบวฒั นธรรม และระบบภูมิ
ปัญญา จึงมีความสาคัญท่ีจาเป็ นโดยพ้ืนฐานของการดารงอยู่ และการพัฒนา
เจริญรุ่งเรืองของสังคมมนุษยบ์ นโลกใบน้ี ที่แสดงออกมาทางดา้ นคุณภาพชีวิต
เศรษฐกิจ สังคม วฒั นธรรม และสิ่งแวดลอ้ ม โดยจะให้อยไู่ ดอ้ ยา่ งมคี วามสุขในทุก

1

มิติอย่างยงั่ ยืนในปัจจุบนั ท้งั รู้จกั ใชภ้ ูมิปัญญาด้งั เดมิ ท่ีสั่งสมสืบทอดส่งต่อจากรุ่น
ก่อน ๆมาสู่รุ่นในปัจจุบนั ในขณะเดยี วกนั กพ็ ฒั นาสร้างสรรค์นวตั กรรมใหม่ ๆให้
สอดคลอ้ งกบั สถานการณ์ท่ีแปรเปล่ียนไปภายใตค้ วามเป็ นอนิจจงั ทุกขงั อนัตตา
ของสังขารธรรมที่มเี หตปุ ัจจยั ปรุงแต่งน้นั จงึ เป็นความทา้ ทายภมู ิปัญญาของมนุษย์
ว่าจะสามารถดาเนินการจดั การอย่างมีคณุ ภาพ สมดุล และต่อเนื่องสืบทอดส่งต่อไป
ยงั รุ่นตอ่ ๆไปในอนาคตไดอ้ ย่างสง่างามไดห้ รือไม่ นนั่ ยอ่ มหมายความวา่ มนุษยใ์ น
ยุคปัจจุบนั ตอ้ งมีความมุ่งมน่ั พร้อมด้วยความรู้ ความสามารถในการอนุรกั ษร์ กั ษา
ระบบนิเวศ ระบบวฒั นธรรม และระบบภูมิปัญญาที่ดีงามอยู่แลว้ ให้คงอยู่ได้ ใน
ขณะเดียวกนั ก็พฒั นาต่อยอดให้ดียงิ่ ๆข้ึนอย่างเป็นพลวตั

2

จากน้ีไปสถานการณ์โลกไมเ่ หมอื นเดิม ดลุ อานาจ จะมกี ารปรบั เปล่ียนคร้ัง
ใหญ่อีกคร้ังหน่ึงในระบบนิเวศธรรมชาติแวดลอ้ ม วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและ
นวตั กรรม พลงั งาน และความกา้ วหน้าในยุคดจิ ิตอล ซ่ึงก็คือ การพฒั นาอย่างกา้ ว
กระโดดของธรรมในฝ่ายรูปธรรม แต่ไม่วา่ จะอยา่ งไร พ้ืนฐานของทกุ ชีวิต กห็ นีไม่
พน้ ปัจจยั ท้งั 5 คือ อาหาร เคร่ืองนุ่งห่ม ท่ีอยู่อาศยั ยารกั ษาโรค และส่ิงอานวยความ
สะดวกสบายต่าง ๆ ซ่ึงสิ่งเหล่าน้ีเก่ียวขอ้ งกบั ปัจจยั การผลิต พลงั การผลิต และ
ความสัมพนั ธ์ทางการผลิต รวมถึงการครอบครองทรัพยากร การจดั สรรทรพั ยากร
การใช้ทรัพยากร จึงเป็ นเรื่องที่ทา้ ทายภูมิปัญญาของมนุษย์ ว่าจะดาเนินการให้
ถูกตอ้ งชอบธรรมไดอ้ ย่างไร?

3

หลักใครใหญ่ใครอยู่ เป็ นหลักพ้ืนฐานของสัญชาตญาณของเดรัจฉาน
ตดั สินแพช้ นะดว้ ยพละกาลงั แต่มนุษยเ์ ป็ นสัตว์ ที่ฝึ กได้ พฒั นาได้ และสามารถอยู่
เหนือสัญชาตญาณของความเป็ นสัตว์ได้ดว้ ยสติปัญญา ด้วยการพฒั นาคุณธรรม
จริยธรรม อยบู่ นดุลยภาพที่ทกุ ฝ่ายต่างไดร้ บั ประโยชนเ์ ก้อื กูลกนั จงึ หาใช่ว่าจะตอ้ ง
มีฝ่ ายหน่ึงแพ้ อีกฝ่ ายหน่ึงชนะ หากเป็ นเช่นน้ันฝ่ ายแพก้ ็เจ็บช้า น้อยเน้ือต่าใจ
อาฆาตพยาบาท จองเวร ส่วนฝ่ ายชนะก็จะเย่อหย่ิงผยองลาพองใจ ซ่ึงเป็ นไปตาม
วฏั ฏะของ กิเลส กรรม วิบาก อยูใ่ นวงั วนอนั หาจุดจบมิได้

โลกคอื ควำมหลำกหลำย

ความแตกต่างในเร่ืองศาสนา การเมือง ลทั ธิ อุดมการณ์ ความเชื่อ วิถี
วฒั นธรรม เป็ นเร่ืองปกติ เพราะโลกและชีวิตคอื ความหลากหลาย คือการปรุงแตง่
ของเหตุปัจจยั และเงื่อนไขท่ีแตกต่างกันไป แต่เพราะเกี่ยวขอ้ งกบั ผลประโยชน์
อานาจ ยศถาบรรดาศักด์ิ และบริวาร ด้วยตัณหา อุปาทาน มานะ ทิฐิ ซ่ึงอาจ
ประนีประนอมกนั ได้ ในระดบั หน่ึง แต่หากประเด็นเหล่าน้นั ขดั แยง้ กนั รุนแรง เม่ือ
ถึงท่ีสุด มิอาจยอมกันได้ สงครามการเข่นฆ่าประหัตประหารกนั จึงเกิดข้นึ เพราะ
หลงโลภ หลงโกรธ ดว้ ยอคติ เพราะรัก เพราะชงั เพราะหลง และเพราะกลวั ภยั ท้งั น้ี
ด้วยเหตุแห่งอวชิ ชา ความที่ไม่รูไ้ ม่เห็นตามความเป็ นจริงนน่ั เอง บุคคลซ่ึงมืดบอด
ทางความคิด มืดมิดทางปัญญา จึงกา้ วล่วงละเมิดศีล อนั เป็ นเหตุนาไปสู่อบายภูมิ
ยากท่ีจะหลุดพน้ บ่วงแห่งความทุกข์ไปได้ เสียดายได้อตั ภาพแห่งความเป็นมนุษย์
แต่กลบั ไม่รู้จกั ใช้ ให้เกิดคุณค่าความหมาย ท่ีจกั นาพาชีวิตไปสู่ทางอนั งดงามอนั
ประเสริฐ กล่มุ บคุ คลเหล่าน้ี จงึ กล่าวไดว้ ่า เป็นโมฆะบุรุษโดยแท้

4

มนุษย์มีความแตกต่างกันหรือความไม่เสมอกนั ในทิฏฐิ ทาน ศีล สมาธิ
และปัญญา มีมากบ้างน้อยบ้าง หยาบบ้าง ละเอียดบา้ ง ท่ีลดหลนั่ กันไปตามแต่
วาสนาบารมีท่ีสั่งสมปฏิบตั กิ นั มา น้ีคือธรรมชาติ เป็ นอย่างน้ีเอง เป็ นเช่นน้ีเอง ไม่
เป็ นอ่ืน แต่ก็เป็ นชีวิตที่เลือกไดด้ ว้ ยการกระทากรรมใหม่ในปัจจุบนั อดีตผ่านไป
แลว้ แกไ้ ขอะไรมิได้ อนาคตยงั มาไม่ถึง หาควรปริวิตกกงั วลไม่ ปัจจุบนั คือความ
จริงทก่ี าลงั เผชิญอยู่ หากเผชิญกบั อารมณ์ต่าง ๆท่ีผ่านเขา้ มาทาง ตา หู จมกู ลิ้น กาย
และใจ ดว้ ยสติปัญญา จึงเป็ นการทาปัจจุบนั เหตอุ ย่างถูกตอ้ งแลว้ ปัจจุบนั ผลย่อม
ตอ้ งเหมาะสมสอดคลอ้ งกบั เหตุทที่ าน้นั และยอ่ มส่งผลไปสู่อนาคตท้งั ใกลแ้ ละไกล
ดว้ ยความสมควรแก่ธรรมน้นั ๆอยา่ งมติ อ้ งสงสัย

โลกคือการปรุงแต่ง ชีวิตคือการปรุงแต่ง คนตะวนั ออกมีความรู้ในเรื่อง
การปรุงแต่งทางนามธรรม มหาบุรุษ สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า คือผูท้ ี่ตกผลกึ
ทางภูมิจิต ภูมิธรรม ภูมิปัญญาที่มนุษยจ์ กั พึงเขา้ ถึงได้ดว้ ยการส่ังสมบุญญาบารมี
พระพุทธองคจ์ ึงรูแ้ จง้ พร้อมท้งั อยเู่ หนือท้งั การปรุงแต่งในส่วนของนามธรรมและ
รูปธรรมไดอ้ ยา่ งรอบดา้ นสมบูรณ์

กรรมคอื เจตนา เมือ่ เจตนาประกอบดว้ ยปัญญาสัมมาทิฏฐิแลว้ ย่อมรู้จกั ใช้
ธรรมฝ่ ายรูปธรรมและนามธรรมน้ัน ยงั ประโยชน์ต่อการพัฒนากุศลกรรม จน
นาไปสู่ มรรค ผล และนิพพานได้ ซ่ึงก็คือหลักปฏิบัติอันเป็ นหัวใจของ
พระพุทธศาสนาคือ ละเวน้ ความช่ัวทุกชนิด ทาความดีให้ถึงพร้อม ยงั จิตใจให้
บริ สุทธ์ ิ

5

แต่มาในเวลาน้ี เร่ิมเห็นเป็ นจริงว่า ต่อไปพระพุทธศาสนา จะเคล่ือนไปยงั
ตะวนั ตก อนั ที่จริงคงไม่ไดข้ ้ึนอยู่กับว่าตะวนั ตกหรือตะวนั ออกของซีกโลก สิ่ง
เหล่าน้ีเป็ นเพียงสมมุติบญั ญตั ิ การเคล่ือนไปของพุทธศาสนาเคล่ือนไปตามภูมจิ ิต
ภูมิธรรม ภมู ิปัญญาของมนุษย์ ณ สถานทน่ี ้นั ๆตา่ งหาก

ชีวติ และโลก

ชีวิตคือการเดินทาง ชีวิตคือการเรียนรู้ ชีวิตคือการดาเนินไปตามความ
ใฝ่ฝัน ทา่ มกลางการเดนิ ทางไดเ้ ปิ ดโลกทศั น์และชีวทศั น์ ใหก้ วา้ งไกลและรอบดา้ น
มากยง่ิ ข้นึ เผชิญกบั ประสบการณ์ใหม่ๆ เปิ ดโอกาสแห่งการฝึกฝนเรียนรูแ้ ละพฒั นา
ตอ่ ยอดจากฐานทีม่ ี และเตมิ เตม็ ในสิ่งท่ีขาด

ศาสนธรรม ศาสนบุคคล ศาสนพิธี ศาสนวัตถุ ล้วนมีความสัมพันธ์
เกี่ยวขอ้ งกนั ผูร้ ู้จึงรู้จกั ใช้ประโยชนแ์ ห่งความสัมพนั ธ์น้นั เพื่อความเก้ือกูลพฒั นา
เจริญงอกงามในธรรม จึงช่ือว่า รู้จกั ใช้ประโยชน์จากธรรมท้งั ในฝ่ ายรูปธรรมและ
นามธรรม

โลกคือ หมูด่ วงดาวนอ้ ยใหญ่ หม่นื โลกธาตุ แสนโกฏิจกั รวาล หาตน้ ไมเ่ จอ
หาปลายไมพ่ บ ไมม่ ีจุดจบ เป็นอย่างน้ีเอง เป็นเช่นน้ีเอง ไมเ่ ป็นอ่นื

โลกคือ หมู่สรรพสัตวน์ ้อยใหญ่ หาตน้ ไม่เจอ หาปลายไม่พบ ไม่มีจุดจบ
เป็นอยา่ งน้ีเอง เป็นเชน่ น้ีเอง ไม่เป็นอ่ืน

6

โลกคือ กายยาววาหนาคืบกว้างศอกน้ี ส่งจิตเข้ามา มีสติระลึกรู้ มี
สมั ปชญั ญะรูต้ วั ทวั่ พรอ้ ม มคี วามเพียรกาหนดรูอ้ ย่างตอ่ เน่ือง เห็นกายในกาย เหน็
เวทนาในเวทนา เห็นจิตในจติ เห็นธรรมในธรรม มีจุดจบได้ แจ้งประจกั ษไ์ ด้ แทง
ตลอดในพระสัทธรรมได้ เขา้ ถึงซ่ึงบรมสุขได้ ส้ินภพสิ้นชาตไิ ด้

อดีตผ่านไปแล้ว แก้ไขอะไรไม่ได้ อนาคตยงั มาไม่ถึง หาควรตอ้ งวิตก
กงั วลไม่ ปัจจุบนั คือความจริงที่กาลงั เผชิญอยู่ ทาให้ดีที่สุด สุขกับปัจจุบนั นี่แหละ
คุณคา่ ความหมายของชีวิต ทอ่ี ยู่อย่างมสี ตปิ ัญญา

ทา่ มกลางการเดนิ ทางน้นั ๆ เขา้ ใจปฏิสมั พนั ธ์ระหว่างธรรมในฝ่ายรูปธรรม
และฝ่ายนามธรรม จากการเดินทางภายนอก เก่ยี วขอ้ งกบั ธรรมในฝ่ายรูปธรรม ก็ได้

7

กา้ วเขา้ มาสู่ธรรมในฝ่ ายนามธรรม เป็ นการเดินทางภายใน จึงได้เร่ิมข้ึน เป็ นการ
เดนิ ทางเพอ่ื ฝึกฝนเรียนรูแ้ ละพฒั นาในดา้ นจติ ใจ ในดา้ นคณุ ธรรม เกดิ ความรูค้ วาม
เขา้ ใจในโลกและชีวติ มากย่งิ ข้นึ

ในท่ีสุด ก็รู้ว่า โลกก็เป็ นอย่างน้ีเอง เป็ นเช่นน้ีเองไม่เป็ นอื่น เป็ นสังขาร
ธรรม ท่ีมีการปรุงแต่งไปตามเหตุปัจจยั เกิดข้ึน ต้งั อยู่ ดบั ไป เป็ นไปตามกระแส
แห่งปัจจยาการ หรือปฏิจจสมุปบาท เพราะส่ิงน้ีมีสิ่งน้ีจึงมี เพราะสิ่งน้ีเกิดส่ิงน้ีจงึ
เกดิ เพราะส่ิงน้ีดบั สิ่งน้ีจึงดบั เป็นอยู่เช่นน้ีโดยหาตน้ ไมพ่ บ ปลายไมเ่ จอ

แตย่ งั มธี รรมในอีกมติ ิหน่ึง คืออสังขตธรรม เป็นธรรมที่เหนือการปรุงแต่ง
อยู่เหนือการเวียนว่ายในวฏั สงสาร สงบเย็น ปราศจากความเร่าร้อน ด้วยกิเลส
ตณั หา อุปาทาน มานะ ทฏิ ฐิใดๆ

การจะเขา้ ถึงธรรมะในมิติน้ีได้ ตอ้ งเร่ิมตน้ จากการปฏิบตั ทิ ี่เรียกว่าสติปัฏ
ฐาน 4 โดยมีอานาปานสติเป็ นหน่ึงในวิธีการปฏิบตั ิ ซ่ึงมีองค์ประกอบแห่งองค์
ธรรมคือ สติ สัมปชญั ญะและความเพียร และนี่คือ จุดเริ่มตน้ ของการเดินทางใน
แนวทเี่ รียกวา่ "มชั ฌมิ าปฏปิ ทา" หรือ “ไตรสิกขา” โดยมีเป้าหมายแแห่งการพฒั นา
ให้เขา้ ถึงซ่ึง วิเวก (ความสงัด ความสงบ) วิราคะ (ความคลายกาหนัด) นิโรธะ
(ความดบั ทุกข)์ และปฏินิสสัคโค (สละคืน)

8

วิทยำศำสตร์ทำงวตั ถุ เช่ือมต่อ วทิ ยำศำสตร์ทำงจติ

ฐานความเช่ือเดิม จนกระทง่ั ปัจจุบนั ของชาวตะวนั ตกคอื เช่ือในพระเจา้
แต่ที่ผ่านมาชาวตะวันตกเป็ นนักคิด นักประดิษฐ์ นักค้นคว้า และประสบ
ความสาเร็จในด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี ซ่ึงก็คือวิทยาศาสตร์ทางวตั ถุธรรม
หมายรวมถึงเร่ืองร่างกายด้วย และความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ จวบจนมา
ปัจจุบนั คือ วิทยาศาสตร์ทางจิต ยุคดิจิตอล และมาถึงจุดของการเช่ือมต่อของ
วิทยาศาสตร์ทางจิตกับวิทยาศาสตร์ทางวตั ถุ พระพุทธศาสนาจึงไดร้ ับการยอม
รับมาเป็ นลาดบั จนถึงปัจจบุ นั และต่อไปในอนาคต จกั เป็ นศาสนาของผูป้ รารถนา
ความรูแ้ จง้ เห็นจริงในเร่ืองชีวิตและโลก

วิทยาศาสตร์ทางวตั ถุและวทิ ยาศาสตร์ทางจิตก็จะเกิดดุลยภาพ ความสมดุล
ความยง่ั ยืนทหี่ าใชค่ วามหยดุ น่ิง แตเ่ ป็นไปอย่างพลวตั เกิดข้ึนต้งั อย่ดู บั ไป บนฐาน
ของกฎไตรลกั ษณ์ แต่เกิดการพฒั นาอยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสมสอดคลอ้ งในท่ามกลาง
ความเป็ นไปด้วยหลกั แห่งเหตุผล ท้งั น้ีก็ข้ึนอยู่กบั เจตจานงของมนุษยว์ ่าตอ้ งการ
ความสงบสุขสันตติ ามความใฝ่ฝันทง่ี ดงามของโลกและชีวิตหรือไม่?

คนตะวนั ตกเป็นนกั คิด นกั สร้างสรรค์ นกั ประดิษฐ์ มีความรูค้ วามเขา้ ใจใน
เร่ืองของวตั ถุธรรมเป็นอย่างดี จึงสามารถนาการปรุงแต่งทางวตั ถุในทกุ รูปแบบ มา
ประดิษฐ์คิดคน้ เป็ นวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวตั กรรม จนมาถึง ณ ปัจจุบนั
ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ทางวตั ถุธรรมได้มาสู่การเช่ือมต่อกับความรู้ทางดา้ น
วิทยาศาสตร์ทางจิตในระดบั หน่ึง พร้อมท้งั การรับรองในงานวิจยั ต่างๆอย่างเป็ น

9

รูปธรรมมมี ากข้ึนและอย่างตอ่ เน่ือง เป็นเหตใุ ห้คนตะวนั ตกจงึ เริ่มมีความต่ืนตวั เป็น
อย่างย่ิงในดา้ นการศกึ ษาและปฏิบตั ธิ รรม

โดยเฉพาะอย่างยิ่งความรู้ทาง ด้านกายวิภาคศาสตร์ (Anatomy) และ
สรีรวทิ ยา (Physiology) ของสรีระร่างกายมนุษย์ ทเ่ี ป็นประเดน็ กค็ อื ความรูท้ างดา้ น
สมอง ระบบประสาทส่วนกลาง ระบบประสาทอตั โนมัติที่เชื่อมโยงกับการทา
หน้าท่ีของโครงสร้างทางร่างกายและอวยั วะนอ้ ยใหญ่เช่ือมต่อกบั ระบบประสาท
ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย โดยการทางานอยา่ งมคี วามสัมพนั ธ์อนั แนบแน่นระหว่างจติ
กบั กาย โดยจิตมีการทางานร่วมกบั สมองและระบบประสาทต่าง ๆ ทาใหช้ ีวติ และ
การทาหนา้ ทขี่ องชีวิตเป็นไปไดอ้ ยา่ งปกติ ภายใตก้ ฎธรรมชาตทิ ่วี า่ จิตเป็นนาย กาย
เป็นบ่าว จิตคดิ จึงส่งั กายให้พูด และกระทาทางกาย

ควำมสัมพนั ธ์ระหว่ำงกำยและจิต

เราลองมาดูความสัมพนั ธ์ระหวา่ งกายและจิตในแงท่ ่ีจติ มีอิทธิพลส่งผลถงึ
กาย ในกรณีท่มี ีโรคภยั ไขเ้ จ็บมาเบยี ดเบยี นกาย คนโดยปกตทิ ว่ั ไปเมือ่ ทุกขก์ ายหรือ
เกดิ อาการเจ็บป่ วยทางกาย ใจก็มกั จะทุกขไ์ ปดว้ ย โดยแสดงอาการของความเครียด
วิตกกงั วลเร่าร้อนกลุม้ ใจ ซ่ึงก็ส่งผลกลบั มาท่ีกาย ทาให้กายที่เจ็บป่ วยอยูแลว้ กลบั
ตอ้ งมาเจ็บป่ วยหนกั มากข้ึน ดว้ ยการถูกซ้าเติมจากใจ หากผูป้ ่ วยน้นั พอจะทาใจได้
ไม่วิตกกงั วลจนเกินกว่าเหตุก็อาจช่วยให้อาการป่ วยทางกายน้นั ไมห่ นกั มากยิง่ ข้นึ
หรือไม่หนกั มากไปกว่าท่คี วรจะเป็น ซ่ึงกน็ บั วา่ ยงั ดีกว่าในกรณีแรก

10

แต่หากจะให้ดีกว่าน้ี ก็คือผูป้ ่ วยทางกายน้ัน มีความรู้ความเขา้ ใจในระดบั
หน่ึง ถึงเร่ืองการพฒั นาจิตในแงข่ องสมาธิและต้งั ใจปฏบิ ตั ิอย่างจริงจงั อย่างตอ่ เนื่อง
จนปรากฏผลทว่ี า่ จติ มคี วามสงบพร้อมปี ติสุขอยู่ภายในอนั เต็มเปี่ ยมไปดว้ ยพลงั ทาง
จติ แลว้ อานาจแห่งพลงั จิตน้นั สามารถส่งผลถงึ การเยียวยารกั ษาโรคทางกายได้ ซ่ึง
มีคาอธิบายท้งั ทางวิทยาศาสตร์ทางจิตและวทิ ยาศาสตร์ทางการแพทย์ โดยเฉพาะ
งานวิจยั ในเรื่องสมาธิและผลของสมาธิ ว่ามีผลต่อร่างกายโดยส่งเสริมและกระตนุ้
การหลัง่ ของสารที่มีช่ือว่า “เอ็นดอร์ฟี น” (Endorphin) ซ่ึงเป็ นสารที่ถูกขับหล่ัง
ออกมาในขณะท่ีมีความสุขอนั มีผลทาให้ร่างกายเกิดการผ่อนคลายเบาสบายและ
กระตุน้ ภูมิคุม้ กนั โรคต่างๆ สารตวั น้ีจะขบั หลงั่ ออกมาในกรณีตา่ ง ๆเช่น ในขณะ
ออกกาลงั กาย ในขณะหัวเราะเพลิดเพลินกบั สิ่งทีช่ อบ และในขณะทาสมาธิ เป็นตน้

11

นอกจากน้ียงั มีการพิสูจน์อย่างเป็ นวิทยาศาสตร์ และเป็ นเหตุผลท่ีเป็ นรูปธรรม
ชดั เจน ถงึ การท่จี ติ อนั ประกอบดว้ ยสติ สมาธิ สัมปชญั ญะ และปัญญา ส่งผลถึงกาย
ในท่ีน้ีคือ สมอง และระบบประสาท ทาให้มีการทาหน้าที่ไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ
จึงเป็ นอีกหน่ึงเหตุผลที่ทาให้ชาวตะวนั ตกหันมานบั ถือพระพุทธศาสนามากยงิ่ ข้นึ
เพราะพุทธศาสนาคือ ศาสนาแห่งการประพฤติปฏิบัติ เห็นผลได้ในปัจจุบัน
ประจกั ษแ์ จง้ โดยไม่จากดั กาล

ดว้ ยหตุน้ีจึงมกี รณีตวั อยา่ งของผปู้ ่ วยบางรายทหี่ ายจากโรคบางอย่างไดด้ ว้ ย
การฝึกปฏิบตั ิสมาธิ ซ่ึงเป็นการรกั ษาโรค (Treatment) ดว้ ยพลงั แห่งสมาธิจติ ท้งั น้ีก็
ไม่อาจพดู แบบเหมารวม คงตอ้ งพจิ ารณาเป็นรายๆไป แต่ก็มไิ ดห้ มายความวา่ สมาธิ

12

จิตน้ันไม่มีผลใด ๆต่อกาย ตรงกันขา้ มกลบั ตอ้ งเนน้ ย้าว่า สมาธิจิตน้ันมีผลดีอย่าง
แน่นอนต่อร่างกายท้งั ในภาวะปกตแิ ละต่อร่างกายในภาวะเจ็บป่ วย ซ่ึงตอ้ งการการ
เยียวยารักษาอยา่ งเขม้ งวด ในทางการแพทยท์ างเลือกกม็ ีการปฏิบตั ิสมาธิเป็นหน่ึง
ในหลายๆวิธีที่ได้ใช้ในการแนะนาให้ผูป้ ่ วยนาไปฝึ กปฏิบตั ิ จะเห็นได้ว่าในศูนย์
เฮลท์แอนด์สปา (Health and Spa Center) หลายแห่งมีการจัดฝึ กสมาธิให้ผูไ้ ปใช้
บริการทวั่ ไปดว้ ย ในกรณีน้ีเรียกวา่ เป็ นการป้องกนั (Prevention) หรือ การส่งเสริม
สุขภาพ (Health Promotion) นน่ั เอง

จะอยา่ งไรกต็ ามชีวติ ทเ่ี กดิ มาในโลกย่อมมีความจากดั ดว้ ยอายุขยั ไม่มีใคร
จะอยู่ค้าฟ้าได้ เกดิ มาแลว้ ไม่ตายไม่มี น่ี คอื ความรูค้ วามเขา้ ใจในระดบั ปัญญา ทีจ่ ิต
มาทาหน้าท่ีพิจารณาไตร่ตรองอยู่เนืองๆด้วยความไม่ประมาท แมว้ ่าจะรักษา
สุขภาพกายใหด้ ีทีส่ ุดเท่าทจ่ี ะทาไดแ้ ลว้ แต่ในทส่ี ุดกไ็ มอ่ าจหนีพน้ ความตายได้ การ
ยอมรับความจริงของชีวิตน้ีน่ีเองท่ีเรียกวา่ จิตมีการพฒั นาเขา้ สู่วิถีทางแห่งปัญญา
หรือจะพูดอกี นัยหน่ึง ก็ว่าจิตมาทาหนา้ ทท่ี างปัญญาให้ยอมรบั ความจริงแห่งความ
เป็นไปของชีวิต ซ่ึงหากพฒั นาจติ มาถงึ ระดบั น้ีแลว้ ไมว่ า่ ร่างกายจะหายหรือไม่หาย
จากความเจ็บป่ วย ก็ไม่มีผลในทางเป็ นโทษต่อจิตใจ ตรงกันขา้ มกลบั เป็นบทเรียน
แบบฝึกหัดให้จิตไดพ้ ฒั นา ก่อใหเ้ กดิ ประโยชน์อยา่ งมหาศาลต่อชีวติ น้นั ๆ

ด้วยเหตุที่ว่า จิตมีความแจ่มใสบันเทิงด้วยปี ติสุข สงบระงับและวาง
อุเบกขาอนั ประกอบดว้ ยปัญญา มีความรู้ความข้าใจและสานึกอย่างลึกซ้ึงถึงชีวิต
และโลกทเี่ รียกวา่ รู้แจง้ โลกแจง้ ชีวติ ระดบั น้ีนี่เองท่ีเป็นระดบั สูงของการพฒั นาจิต
ท่ียงั ประโยชน์ท้งั ต่อตนเองและผูอ้ ื่นไดด้ ว้ ยการเห็นและยอมรับสภาพตามความ

13

เป็นจริง ความสัมพนั ธใ์ นลกั ษณะของการตอบสนองระหว่างกายและจติ ในแงค่ วาม
เจ็บป่ วยทางกาย โดยระดบั ของจิตท่ีแตกตา่ งกนั ดงั ทก่ี ล่าวมาน้ีน้นั ในทางจิตวทิ ยา
และทางการแพทยเ์ รียกวา่ ผลอนั จิตส่งถึงกาย (Psychosomatic effect)

กำย จติ อำรมณ์ และอำยตนะ

ชีวิตเป็ นธรรมชาติที่ประกอบด้วยกายและจิตในลักษณะที่มีดุลยภาพ
ธรรมชาติส่วนกายอยู่ไดแ้ ละพฒั นาไดด้ ว้ ยการหล่อเล้ียงและอิงอาศยั ปัจจยั ภายนอก
ซ่ึงก็คือ อาหาร เครื่ องนุ่งห่ม ท่ีอยู่อาศัย ยารักษาโรค และส่ิงอานวยความ
สะดวกสบายตา่ งๆ โดยมีการดาเนินกจิ วตั รประจาวนั คอื การรับประทานอาหาร

14

และด่ืมน้าเพ่ือรักษาและเสริมสร้างพลงั ทางกาย การอาบน้าชาระร่างกาย
ใหส้ ดช่ืน การออกกาลงั กายดว้ ยรูปแบบวิธีการตา่ งๆ เพื่อความแข็งแรงของร่างกาย
และการนอนหลบั เพื่อพกั ผ่อนฟ้ื นฟูพลงั ทางกาย ตลอดจนการอยใู่ นสิ่งแวดลอ้ มที่
สะดวกสบายไม่มมี ลพษิ เป็นตน้

ในขณะท่ีธรรมชาติส่วนจิตไม่ได้ตอ้ งการปัจจยั ภายนอกอย่างท่ีร่างกาย
ตอ้ งการ แต่ชีวิตส่วนจติ ตอ้ งการปัญญาที่จะรูเ้ ขา้ ใจชีวติ และโลกตามความเป็นจริง
โดยไดร้ บั การหลอ่ เล้ยี งและองิ อาศยั ปัจจยั ภายในคอื ความสงบต้งั มน่ั พรอ้ มดว้ ยปี ติ
สุข

ธรรมชาติส่วนจิต เป็นธรรมชาติทีร่ ู้ รู้สึก นึกคดิ และจดจา จิตคดิ แลว้ จึงสั่ง
กายพูด จิตคิดแลว้ จึงสั่งกายให้กระทา ดว้ ยเหตุน้ีจึงมีคาพูดท่ีว่า "จิตเป็ นนาย กาย
เป็นบ่าว" กลไกตามธรรมชาตขิ องจิต จึงเป็นกลไกท่ี รับรู้และตอบสนองตอ่ อารมณ์
ต่าง ๆทม่ี าเก่ียวขอ้ ง โดยผา่ นช่องทางคอื ตา หู จมกู ลิ้น กาย และใจ อารมณใ์ นท่ีน้ี
มิใช่อารมณ์ตามความเขา้ ใจทวั่ ไป ซ่ึงในภาษาองั กฤษใชค้ าวา่ "Emotion" หมายถงึ
อารมณ์โกรธ อารมณ์ร้อน อารมณเ์ ยน็ หรืออนื่ ๆ เป็นตน้

แต่ “อารมณ์” ที่กาลงั กล่าวถึงน้ี หมายถึงสิ่งที่ถูกรู้ หรือธรรมชาติที่ถูกรู้
ภาษาองั กฤษใชค้ าว่า " Sense-objects" เป็นธรรมชาติท่ถี ูกรูโ้ ดยจิต ซ่ึงเป็นธรรมชาติ
ที่รู้ คอื จิตรูอ้ ารมณ์ต่าง ๆ เชน่ จิตรับรู้อารมณค์ อื รูปโดยผ่านตา(เหน็ ) จติ รับรู้อารมณ์
คือเสียง โดยผ่านหู(ไดย้ ิน) จิตรับอารมณ์คือกลิ่น โดยผ่านจมูก(ได้กล่ิน) จิตรับรู้
อารมณ์คือรส โดยผา่ นลิน้ (รูร้ ส) จิตรับรู้อารมณค์ ือสิ่งตอ้ งกาย(เยน็ ร้อนอ่อนแข็ง)

15

โดยผ่านกาย(รูส้ ึกสัมผสั ) และจิตรบั รูอ้ ารมณ์คอื ธรรมารมณ์ โดยผา่ นใจ(รู้
ความนึกคดิ ) น้ีเป็ นกลไกตามธรรมชาติของชีวติ อนั เป็ นปฏิสัมพนั ธ์ระหว่างจติ กบั
อารมณ์ หรือจะกลา่ วในอกี นยั หน่ึงกค็ ือจิต กาย และสิ่งแวดลอ้ มนนั่ เอง

ผสั สะ เป็นการกระทบกนั แห่งอายตนะภายใน อายตนะภายนอก (อารมณ์,
ส่ิงที่ถูกรู้) และวิญญาณ (ความรู้แจง้ อารมณ์) ซ่ึงเป็ นกลไกตามธรรมชาตทิ ีเ่ กดิ ข้ึน
ต้งั อยู่ และดบั ไปตามกฎแห่งปัจจยาการ ผสั สะเกิดข้นึ ในขณะท่จี ติ รับรูอ้ ารมณ์หรือ
รู้แจง้ อารมณ์ ณ จุดกระทบคือ อายตนะ หมายถึง ที่เชื่อมต่อให้เกิดความรู้ ซ่ึงก็มี
อายตนะภายใน 6 คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจ และอายตนะภายนอก 6 คือ รูป
เสียง กลน่ิ รส สิ่งท่ตี อ้ งกาย (โผฏฐพั พะ) และอารมณ์ทีเ่ กดิ กบั ใจ (ธรรมารมณ์) เม่ือ

16

เกดิ ผสั สะ ส่ิงท่ีตามมาก็คือ เวทนา โดยเมอ่ื จติ ทาหนา้ ที่รูอ้ ยา่ งมีสติ ณ ระดบั ผสั สะ
หรือระดบั เวทนา โดยให้รบั รูอ้ ย่างมีสตโิ ดยอาการสกั แตว่ า่ รู้ จะป้องกนั ไม่ใหต้ กลง
ไปในวงั วนของตณั หา คือความอยากหรือไมอ่ ยาก ความชอบหรือไม่ชอบดว้ ยความ
หลง สติสมั ปชญั ญะจงึ เป็ นธรรมมีอุปการะมากท่ีจกั ช่วยพฒั นาจิตใหป้ ระกอบด้วย
สมาธิและปัญญา นน่ั ก็คือ กระบวนการภาวนานน่ั เอง ภาวนา คือ การพฒั นาจิต ให้
มี สติ สัมปชญั ญะ สมาธิ และปัญญา

ชีวิตนอกจากจะเป็ นธรรมชาติดังท่ีกล่าวมาแล้ว ชีวิตยงั มีลักษณะของ
ธรรมชาติท่ถี กู ปรุงแต่งดว้ ยเหตุปัจจยั และเงื่อนไขตา่ งๆ ชีวติ ส่วนกายประกอบด้วย
เซลล์ เน้ีอเยื่อ อวยั วะและระบบอวยั วะต่างๆ ท่ีเปล่ียนแปลงเคล่ือนไหวไปเพ่ือการ

17

รักษาดุลยภาพแห่งความมีชีวิตให้อยู่อย่างปกติและพฒั นาเติบโตไปได้หรื อท่ี
เรียกว่า มีสุขภาพร่างกายสมบรู ณ์แข็งแรงปราศจากโรคภยั ไขเ้ จบ็ มาเบยี ดเบยี นและ
มีความพร้อมตอ่ การทาหนา้ ท่ตี ่างๆไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ

ใ น ข ณ ะ ที่ชี วิต ส่ ว น จิ ต ก็ปร ะก อ บด้ว ยอ งค์ประ ก อ บท าง จิ ต ท่ีมีค ว าม
หลากหลายอนั กอ่ ให้เกดิ คุณสมบตั แิ ละอาการทางจิตในลกั ษณะตา่ งๆกนั ไป ท้งั ที่ดี
อนั เป็ นคุณประโยชน์และไม่ดีอนั เป็ นโทษ ท่ีดีก็เช่น จิตมีสติ ศรัทธา ไม่โลภ ไม่
โกรธ มีความสงบ มคี วามละอาย และเกรงกลวั ต่อบาป เป็นตน้ ในส่วนทไ่ี มด่ ีก็เช่น
ความโลภ ความโกรธ ความหลง ความไมล่ ะอายและเกรงกลวั ต่อบาป เป็นตน้

18

และด้วยเหตุฉะน้ีน่ีเอง ชีวิตจึงมีลักษณะของความปรวนแปรไปใน
ท่ามกลางความเป็ นไปแห่งเหตุปัจจยั ที่ปรุงแต่งซ่ึงรียกว่า “ความเป็ นทุกข์” ความ
เป็ นทุกข์ในท่ีน้ีหมายถึง ความท่ีไม่อาจคงทนอยู่สภาพเดิมได้ เพราะเหตุท่ี
องค์ประกอบและเหตุปัจจยั ต่าง ๆแปรเปลี่ยนไป เห็นได้อย่างชดั เจนท่ีว่า เราทุก
ท่านคงไมม่ ใี ครปฏิเสธวา่ ไมต่ อ้ งการความแก่ชรา ไม่ตอ้ งการความเจบ็ ไขไ้ มส่ บาย
และท่ีสุดไม่ตอ้ งการพบกบั ความตาย แต่ส่ิงท่ีกล่าวมาน้ีก็ยงั คงเป็ นสัจธรรมท่ีทุก
ชีวิตไม่อาจหนีพน้ ไปได้ ดว้ ยเหตนุ ้ีจึงมคี ากลา่ วตอ่ มาว่า “ชีวิตเป็นของไมเ่ ทยี่ ง” ส่ิง
ทไี่ มอ่ าจคงทนอยู่ในสภาพเดมิ ได้ เปลีย่ นแปลงไปในท่ามกลางความเป็นไป ไม่อาจ
บงั คบั บญั ชาได้ จะยึดมน่ั ถอื มน่ั วา่ เป็นตวั เรา ของเรา ในลกั ษณะที่เท่ยี งแทแ้ น่นอน
แบบตายตวั ก็ย่อมไม่ได้ ลกั ษณะเช่นน้ีนี่เองทเ่ี รียกว่า “อนตั ตา” ดว้ ยเหตนุ ้ีธรรมชาติ

19

ของชีวิตจึงมีลกั ษณะท่ีเรียกว่า “สามญั ลกั ษณะ” คือลกั ษณะท่ีเป็ นธรรมชาติ เป็ น
ธรรมดา เป็นอยา่ งน้นั เอง เป็นเช่นน้ีเอง เกิดข้นึ ต้งั อยู่ และดบั ไปอย่างตอ่ เนื่องของ
ส่ิงท้งั หลายที่ถูกปรุงแตง่ ดว้ ยเหตปุ ัจจยั ท้งั ที่เป็ นธรรมชาติฝ่ายรูปธรรมคอื ร่างกาย
และนามธรรมคอื จติ ใจนน่ั เอง

ท่ีกล่าวมาท้งั หมดน้ีกเ็ พื่อให้เห็นถงึ ความเป็นธรรมชาติของชีวติ ธรรมชาติ
ของกายและจิต ธรรมชาติของจิตและอารมณ์ กลไกธรรมชาติของการตอบสนอง
ระหว่างจิตกบั อารมณ์โดยผา่ นช่องทางต่างๆ และยอมรับลกั ษณะธรรมชาตขิ องชีวติ
อนั เป็ นส่ิงท่ีมกี ารปรุงแตง่ ว่า ตอ้ งแปรเปล่ียนไปตามเหตปุ ัจจยั การมองเห็น เขา้ ใจ
และยอมรับธรรมชาติของชีวิตตามความเป็นจริงน้ีเป็นส่ิงที่มีความจาเป็นอนั สาคญั
ทมี่ คี ณุ คา่ ความหมายอย่างมากต่อการพฒั นาจิตเพ่ือการมีชีวิตอยูอ่ ย่างเป็นสุขในทุก
มติ ิ

กำรฝึ กฝนพฒั นำจิต

เปรียบเทียบในเชิงอุปมาถึงการฝึ กมา้ เพ่ือนามาใช้ประโยชน์ การท่ีจะฝึก
มา้ ไดด้ ีน้นั ก็ตอ้ งรู้จกั ธรรมชาติของมา้ รูอ้ ุปนิสยั พฤตกิ รรมและการตอบสนองของ
มา้ ในรูปแบบตา่ ง ๆเฉกเช่นเดียวกบั การฝึกจิต ยิ่งรู้จกั ธรรมชาติของจติ มากเทา่ ใด ก็
จะทาใหร้ ู้จกั ท่ีจะฝึกจติ ไดด้ เี ท่าน้นั

20

ประเดน็ อยทู่ ่ีว่าตอ้ งทาให้จิตมคี วามเห็นถูกตอ้ งตรงตอ่ ความเป็นจริง เพราะ
หากจติ มคี วามรู้ความเขา้ ใจที่ถกู ตอ้ งแลว้ ก็จะส่งผลให้ความนึกคดิ การพูดและการ
กระทาในดา้ นตา่ ง ๆเป็นไปในทิศทางที่สร้างสรรค์เป็นประโยชน์ และนาความสุข
มาสู่ชีวติ ได้ ซ่ึงตรงกนั ขา้ มหากจิตไม่มคี วามรูค้ วามเขา้ ใจที่ถกู ตอ้ งตรงต่อความเป็น
จริงหรือเห็นผิดไปจากความจริงแลว้ ความนึกคิด การพูดและการกระทาในด้าน
ตา่ ง ๆ กจ็ ะเป็นไปในลกั ษณะท่ีนาความทกุ ขค์ วามเดือดร้อนมาสู่ชีวติ ตนและผอู้ นื่

จุดเริ่มตน้ ของการฝึ กฝนพฒั นาจิตก็อยู่ท่ีมีความเพียร พฒั นาสติคือความ
ระลึกรู้และสมั ปชญั ญะคอื ความรูต้ วั ทวั่ พร้อม ในขณะทีร่ บั รูอ้ ารมณ์ต่าง ๆ คือ กาย
(ท่ายืน เดิน นั่ง นอนและลมหายใจเขา้ ออก เป็ นตน้ ) เวทนา (สุข ทุกข์ ไม่สุขไม่

21

ทุกข)์ จิต (ลกั ษณะความเป็ นไปของจิต เช่นโลภ โกรธ สมาธิ เป็ นตน้ ) และธรรม
(เห็นความเป็นอนิจจงั ทุกขงั อนัตตา ในรูปและนามตามความเป็ นจริง ซ่ึงคาวา่ รูป
นามในที่น้ีอาจจะเป็ น ขนั ธ์ 5, ธาตุ 4, อายตนะ 6 หรือแมแ้ ต่ นิวรณ์ 5 เป็ นตน้ ) จน
เกิดความเบ่ือหน่าย คลายกาหนัด ละวางซ่ึงอุปาทาน) โดยเพ่งพิจารณาอย่าง
สม่าเสมอและต่อเนื่อง จนเกดิ ผลท้งั 2 ดา้ น คอื สมาธิและปัญญา

จิตท่ีทาหนา้ ที่ทางสมาธิ จะมีคุณสมบัติคือ มีความต้ังมั่น มีพลัง มีความ
สงบ ผ่อนคลาย สดชื่น และพร้อมต่อการทาหน้าที่ในด้านอื่นๆต่อไป โดยเฉพาะ
อยา่ งยง่ิ เป็นบาทฐานของการพฒั นาปัญญา

22

ส่วนจิตที่ทาหน้าท่ีทางปัญญา จะมีลกั ษณะพินิจพิจารณาความเป็ นไปอยู่
ภายใน กอ่ ใหเ้ กดิ ความรู้ความเขา้ ใจและความเห็นที่ถูกตอ้ งตรงต่อความเป็นจริง คือ
เหน็ ความเป็นพระไตรลกั ษณใ์ นรูปและนาม

หลกั ในขณะฝึกฝนปฏิบตั อิ ยู่ท่ี อยา่ ส่งจติ ออกนอก ใหจ้ ติ อยภู่ ายใน ไมย่ นิ ดี
ยินร้าย ไม่มีตัวเราและของเราในขณะน้ัน เพียงความรู้ตวั ทวั่ พร้อมในขณะท่ีจิต
ระลกึ รูอ้ ยทู่ อี่ ารมณน์ ้นั อดตี คอื สิ่งที่ผ่านไปแลว้ มิอาจแกไ้ ขใด ๆได้ อนาคตคอื ส่ิงท่ี
ยงั มาไม่ถึง ใยตอ้ งวิตกกงั วลเล่า ปัจจุบนั คอื ความจริงท่ีกาลงั เผชิญอยู่ ทาให้ดีท่สี ุด
อะไรจะเกดิ ก็เกดิ อะไรจะเป็ นไปกเ็ ป็ นไป ปล่อยให้เป็ นไปโดยธรรมชาติ หนา้ ที่ก็
คือ ทาเหตุอย่างจริงจงั และตอ่ เนื่อง ผลก็จะปรากฏเอง และเมื่อผลปรากฏกไ็ ม่ยนิ ดี

23

ยนิ ร้ายในผลน้นั จติ ยงั คงทาหนา้ ท่อี ย่างมีสตแิ ละสัมปชญั ญะในอารมณน์ ้นั อารมณ์
ไหนเดน่ กร็ ะลึกรูอ้ ยู่ท่ีอารมณน์ ้นั

ฝึกฝนพฒั นาจิตไปในแนวทางน้ีอยา่ งสม่าเสมอ กจ็ ะทาให้เกดิ ความชานาญ
คลอ่ งแคลว่ ในการเพ่งให้จติ เป็นสมาธิไดง้ ่ายและเร็วข้นึ ตามลาดับ ในณะเดียวกนั ก็
เกิดความคล่องแคล่วในการพิจารณาทาให้จิตมาทาหน้าที่ทางปัญญาได้อย่าง
รวดเร็วเช่นกนั

เมือ่ เป็นดงั น้ีก็ชื่อวา่ ประสพความสาเร็จในการฝึกฝนพฒั นาจิตไดใ้ นระดบั
หน่ึง เป็ นระดบั ที่สามารถนามาใชก้ บั ชีวิตประจาวนั ได้ ท้งั ที่เก่ียวขอ้ งกบั ตนเอง
ครอบครัว เพ่ือนร่วมงานและผูค้ นในสังคม หรือเก่ียวขอ้ งกบั เหตุการณ์เร่ืองราว
ความเป็นไปในดา้ นต่าง ๆโดยจติ มาทาหนา้ ทีข่ ณะเผชิญกบั อารมณภ์ ายนอกเหล่าน้ี
ได้อย่างมีสติ สัมปชญั ญะ สมาธิและปัญญา เมื่อจิตมาทาหนา้ ที่ในแนวทางน้ี ก็จะ
เกิดคุณประโยชน์ต่อท้งั ตนเองและผูอ้ ่ืนไดอ้ ยา่ งไม่ตอ้ งสงสัย ซ่ึงก็ย่อมหมายความ
ว่า เป็ นผูท้ ่ีรู้จักใช้จิตให้ทาหนา้ ท่ีได้อย่างหมาะสมท้งั ในเวลาท่ีให้จิตออกมาทา
หนา้ ที่ต่ออารมณภ์ ายนอก กร็ ู้จกั ทจ่ี ะใชพ้ ลงั ทางสมาธิและปัญญา ตลอดท้งั ในเวลา
ที่ให้จิตมาทาหน้าท่ีต่ออารมณ์ภายใน ก็รู้จกั ที่จะฟ้ื นฟูพลังทางสมาธิและปัญญา
เช่นกนั

หากทาไดเ้ ช่นน้ี กจ็ ะไดช้ ื่อว่า เป็นผูท้ รี่ ู้จกั ใชอ้ ารมณ์ต่าง ๆ ท้งั ภายนอกและ
ภายในมาเป็ นบทเรียนแบบฝึ กหัดให้กับการพัฒนาจิต เป็ นการฝึ กฝนเรีย นรู้
ท่ามกลางความเป็ นไปในความจริงที่ปรากฏในขณะน้นั ซ่ึงเป็ นการพฒั นาจิตอย่าง

24

ต่อเนื่องและตลอดสายท้งั ดา้ นสมาธิและปัญญา ผลปรากฏก็คือความสุขในทุกมติ ิ
ของชีวติ นน่ั เอง

ใช้พลงั จิตในชีวติ ประจำวัน

เร่ืองของพลงั จิต ที่จะนามาใช้ในชีวิตประจาวนั ก็ยงั เป็ นประเด็นท่ีสาคญั
และยนื พ้นื อย่างท่ีไดบ้ อกกลา่ วไปแลว้ ว่าชีวติ ทไ่ี มม่ พี ลงั คอื ชีวิตทหี่ มดหวงั ส้ินหวงั
และเป็ นชีวิตท่ีรอวนั แต่จะแห้งตายไป เพราะกาลงั ไม่มี ก็คือเป็ นชีวิตที่ถูกกระทา
โดยสถานการณ์ เหตกุ ารณ์ เรื่องราวต่างๆ ถา้ ในทางหลกั ธรรมคอื ถกู อารมณ์ท่ีผ่าน
เขา้ มาทางตา หู จมูก ล้ิน กาย และใจ เป็ นฝ่ ายรุกเป็ นฝ่ ายกระทาจิต เพราะจิตไม่มี
พลงั จิตไมม่ ีพลงั อานาจที่จะไปเรียนรูศ้ ึกษา ทาความเขา้ ใจ และไมม่ อี านาจทจ่ี ะไป
ฝืนอานาจพลงั ของอารมณ์ ซ่ึงอารมณ์ส่วนใหญ่คอื ธรรมฝ่ ายรูปธรรมท้งั 5 ก็คือ รูป
รส กลิ่น เสียง ส่ิงตอ้ งกายท้งั หลาย และส่วนอารมณ์ทางใจก็ส่วนใหญ่ลว้ นแต่นึก
คิดไปในทางอกุศล นึกคิดไปในทางที่ให้ร้ายและทารา้ ยตวั เอง คิดในเชิงท่ีเรียกว่า
ดอ้ ยคา่ ตวั เอง ใหต้ วั เองน้นั ทอ้ แทห้ มดหวงั สิ้นหวงั ใหต้ วั เองอยใู่ นความท่วี ิตกกงั วล
เขาเรียกย้าคิดย้าจาแตใ่ นเรื่องท่ีไมด่ ี น่ีคือความคิดของปถุ ุชนคนทวั่ ไป เร่ืองท่ีดๆี มี
มากมายไม่ค่อยคิด แต่จะคิดในทางท่ีให้ร้ายตวั เอง ซ่ึงส่ิงน้ีเป็ นเรื่องที่สาคญั เป็ น
เร่ืองที่คนที่มาศึกษาเรียนรู้ในเรื่องของหลกั ธรรมควรท่ีจกั ตอ้ งทาความเขา้ ใจใน
เร่ืองน้ี ชีวิตท่ีสงั่ สมแตส่ ิ่งทีไ่ ม่ดี ย้าคิดย้าจาแต่เรื่องที่ไมด่ ี เขาเรียกว่า สัญญาอารมณ์
ในทางที่ไม่ดี เอามาคิดอยู่เรื่อย เม่ือคิดอย่างน้ีแลว้ ก่อนที่จะส้ินชีวิตในช่วงมรณา
สันนกาลตรงน้ัน มนั ก็จะคุน้ เคยเคยชินกบั ความคดิ ท่ีไมด่ ี คิดในเร่ืองของอกศุ ลใน
เร่ืองบาปกรรมทางกาย ทางวาจา และทางใจของตวั เอง คนส่วนใหญจ่ ะเป็นอย่างน้ี

25

เพราะสัง่ สมทุกวนั ๆ กอ่ นที่ตวั เองจะใกลเ้ สียชีวิตก็จะไปคดิ อยา่ งน้ี และเสียชีวติ ไป
กบั ความคดิ เช่นน้ี อกุศลจิตก็จะนาไปสู่คติท่เี ป็นอบาย คอื เดรัจฉาน เปรต อสุรกาย
และสตั วน์ รก

อานาจพลังทางจิต จะเกิดข้ึนได้ต้องผ่านการฝึ กฝนพัฒนา ในขณะ
ท่ามกลางการกระทบอารมณต์ า่ ง ๆทผ่ี า่ นเขา้ มาทางอายตนะท้งั 6 หากพลงั จิต พลงั
ศีล พลงั สมาธิ และพลงั ปัญญายงั ไมเ่ ขม้ แข็งมากพอ ก็ไมส่ ามารถตา้ นทานอกศุ ลจิต
ได้ ก็จะตกลงไปในลักษณะตามกระแส ด้วยเหตุน้ีจึงเป็ นความจาเป็ นที่จกั ตอ้ ง
ฝึกฝนพฒั นาจนกระทงั่ จติ น่ิงในอารมณ์ใดอารมณห์ น่ึง ณ จุดใดจดุ หน่ึงท่ีจติ คนุ้ เคย
เคยชิน ด้วยความชานิชานาญ ซ่ึงเรียกว่า เอกัคคตา เมื่อจิตมีพลังแล้วก็สามารถ

26

เคล่ือนจิตไปยงั อารมณ์ตา่ ง ๆได้อย่างมนั่ คง ไม่หวนั่ ไหว รู้ชัด แจ่มใสในการพนิ ิจ
พจิ ารณาธรรมได้ กจ็ ะนามาซ่ึงความรู้ความเขา้ ใจในธรรมมากข้ึน หลกั จึงอยูต่ รงน้ี
คือ เมือ่ ศึกษาแลว้ ตอ้ งปฏิบตั ิ และการปฏิบตั ิน้ีแหละจะเป็นตวั ช้ีขาดในผลสาเร็จที่
พงึ ปรารถนา

นี่คือเร่ืองสาคญั ของการท่ีทาไมเราถึงจะตอ้ งมีอานาจมีพลงั ที่จะต้องฝื น
เพราะว่าความรู้สึกนึกคิดต่าง ๆ ของเราส่วนใหญ่เปรียบเหมือนสวะท่ีตาม
กระแสน้า จิตใจของปุถุชนมนั เหมือนสวะที่ตามน้าที่ไหลไป จะคิดส่ังสมแต่เรื่อง
ไม่ดี ไปคุยกับคนน้นั คนน้ีกม็ ีแต่คิดแต่เรื่องท่ีไม่ดสี ่วนใหญ่ ส่วนใหญ่แลว้ จะวิตก
กงั วลเรื่องน้นั เรื่องน้ี แลว้ กลางคนื ก่อนนอนกจ็ ะไปยอ้ นย้าคดิ แตเ่ ร่ืองน้นั เร่ืองน้ี อนั
น้ีถือเป็ นเร่ืองที่สุ่มเสี่ยง เพราะเหตุน้ีจึงควรท่ีจกั ตอ้ งมาทาการศกึ ษาเรียนรูใ้ นเรื่อง
ของหลกั ธรรมคาสอนของพระพุทธเจ้า แลว้ ตอ้ งฝึ กปฏิบตั ิ ถา้ ไม่ฝึ กปฏิบตั ิ อานาจ
พลังทางจิตมันไม่มี ถ้าพลังอานาจทางจิตไม่มี อานาจที่จกั ทวนกระแสก็ไม่มี
เพราะวา่ กุศลธรรมมนั ตอ้ งยอ้ นทวนกระแส คือตอ้ งสูก้ บั แรงโนม้ ถ่วง มนั ตอ้ งทวน
น้า การทาความดี การทาสิ่งท่ีเป็ นกุศล การทาบุญตอ้ งยอ้ น ตอ้ งทวนกระแสความ
โลภ ความโกรธ ความหลง คนส่วนใหญ่จะง่ายต่อการตามกระแสด้วยความโลภ
โกรธ หลง เพราะจิตของปุถุชนมนั คนุ้ เคยและเคยชินกบั สิ่งท่ีคิดอยากจะได้ อยาก
ได้แลว้ ไม่ได้สมปรารถนาก็คิดโกรธ พอคิดโกรธแลว้ ก็อาฆาตพยาบาท อาฆาต
พยาบาทก็คดิ จองเวร จองเวรก็คดิ ในลกั ษณะคอยท่ีจะให้รา้ ยทาร้ายอยู่อย่างน้ี แลว้
ผลก็คือย้าคิดย้าทา แลว้ ก็เก็บสะสมแต่ส่ิงท่ีเป็ นอกุศล แลว้ ก็เป็ นวิบากกรรม เป็ น
ฝ่ายถกู กระทาโดยอารมณ์และความคดิ ในทางอกศุ ล เมือ่ จิตไมม่ อี านาจพลงั ท่ีจะไป

27

ตา้ นไปฝื น ก็จะตามกระแสของอารมณ์และความคิดในทางอกศุ ลน้นั ๆ ซ่ึงอารมณ์
ส่วนใหญ่ก็เป็ นรูปธรรม เป็ นวตั ถุธรรมเสียส่วนใหญ่ แต่จิตก็ไปย้าคิดย้าจาแลว้ ก็
วิตก ส่วนใหญ่ก็วิตกในการคิดโน่นคิดนี่แล้วกังวล กังวลแลว้ ก็ฟุ้งซ่าน ท่ีสุดก็
ซึมเศรา้ เหงาหงอย มนั กอ็ ยู่อยา่ งน้ี จิตฟู จิตแฟบ จติ ตก จติ ข้ึนบน ลงล่าง ไปซ้าย ไป
ขวา เหวี่ยงไปอย่อู ยา่ งน้ี อนั น้ีคอื ปถุ ชุ นทีไ่ มไ่ ดศ้ ึกษาและไมป่ ฏบิ ตั จิ ะเป็นอยา่ งน้ี

การได้ยินได้ฟัง ไดเ้ ห็นไดอ้ ่าน เป็ นสุตตามยปัญญา เป็ นปัญญาในระดบั
เบ้อื งตน้ อนั เป็นพ้นื ฐานของทกุ ชีวิต ซ่ึงอยา่ งนอ้ ยกเ็ ป็นแนวทาง เปรียบไดก้ บั การได้
เห็นแผนท่ี แผนที่ชีวิตเป็ นลาดบั อย่างมีข้นั ตอน ต้งั แต่เกิด เป็ นเด็ก มารู้ความตอน
วยั รุ่นหนุ่มสาว กา้ วมาวยั กลางคน จนมาวยั สูงอายุ เขา้ มาสู่ความเป็นผอู้ าวโุ ส ทาให้
เห็นภาพว่าควรจะเดินไปทิศทางใด ท่ีจะนาไปสู่ความสาเร็จสมปรารถนาใน
ความสุขทุกระดบั ตา่ งๆของชีวิต และเมอ่ื ถงึ บ้นั ปลายของชีวติ จนถงึ ข้นั ทจ่ี ะตอ้ งละ
สังขารคือ สิ้นชีวิต ก็ยงั ปรารถนาที่จะไปสู่ภพภูมิท่ีดีในสัมปรายภพ คงไม่มีใคร
ปรารถนาทจี่ ะใหต้ วั เองตกต่าไปสู่ทุคติไปสู่อบายภมู ิ ซ่ึงเร่ืองน้ีเป็นพ้ืนฐานเบ้อื งตน้
ท่ีมีความสาคญั เพราะเป็ นความรู้ความเขา้ ใจที่ถูกตอ้ ง ทาให้เห็นโลกเห็นชีวิตตาม
ความเป็นจริง แยกแยะถกู ผดิ ดีชว่ั ประโยชน์มิใช่ประโยชน์ ควรและมคิ วรไดอ้ ย่าง
ชดั เจน รู้และเขา้ ใจวา่ ชีวติ คืออะไร ตอ้ งการอะไร เป้าหมายของชีวติ อยูท่ ใ่ี ด และจะ
ทาอย่างไรให้บรรลุเป้าหมายน้นั ๆ ตรงน้ีเรียกว่าสัมมาทิฏฐิ ถา้ มีสัมมาทิฏฐิแต่แรก
สัมมาสังกปั ปะหมายถึง ความดาริชอบ ความนึกคิดไปในทิศทางที่จะไม่ตกเป็ น
ทาสของวตั ถธุ รรม นึกคิดไปในทางทีไ่ ม่ให้ร้าย ไม่ทารา้ ย ไม่เบยี ดเบียน ปรารถนา
ไปสู่ทางสงบสุขสันติ ก็จะเกิดข้นึ ไดอ้ ยา่ งเป็นเหตุเป็นผล

28

แต่ถา้ หากไม่ไดศ้ ึกษาแผนที่ ชีวิตก็สะเปะสะปะ ชีวิตของคนส่วนใหญ่ก็
มกั จะโน้มเอียงไปสู่มิจฉาทิฏฐิ คือไม่เช่ือในบาป ไม่เช่ือในบุญ ไม่เชื่อในผลของ
บาป ไม่เช่ือในผลของบุญ ไม่เชื่อในพระคุณของพ่อแม่ครูอาจารย์ ไม่เชื่อในการ
ตรัสรู้จริงของพระพุทธเจ้า ไม่เช่ือในหลกั ธรรมคาสอน เช่ือว่าตายแลว้ ก็สูญ ทา
อะไรก็ทาได้ตามความอยาก จะเข่นฆ่าใคร จะด่าใคร จะทาร้ายใคร ไม่ได้มี
ความหมายอะไร เพราะตายแลว้ สูญ บางคนกเ็ ช่ือว่าเวียนว่ายตายเกดิ มี แต่เวยี นเกิด
เวียนตาย ๆ ก็อยู่อย่างน้ี ไม่มีทางออก ก็เป็ นความเขา้ ใจท่ีผิดอีก ผิดท้งั คู่ ด้วยเหตุ
ฉะน้ีชีวติ จงึ สะเปะสะปะ เหวยี่ งไปโน่นไปนี่ ลองผิดลองถกู ไปอยา่ งไรท้ ศิ ทาง

หลกั วิชำ หลกั คดิ หลกั กำร จดุ ยนื

ดงั น้นั การท่ีไดม้ าศึกษา มาไดฟ้ ังไดอ้ า่ นหลกั ธรรมคาสอนของพระพทุ ธเจา้
จึงเป็ นการเปิ ดโลกทศั นช์ ีวทศั น์ เห็นแนวทางท่ีจะไดม้ าซ่ึงความสุขในทุกมติ ิและ
ทุกระดบั ข้นั ตอนของชีวิต จนถึงบรมสุข และทาให้รู้ว่าควรจะตอ้ งมีความรู้ความ
เขา้ ใจในเร่ืองโลกในเรื่องชีวิตท่ถี ูกตอ้ งตรงตอ่ ความเป็นจริง ดว้ ยเหตนุ ้ีพระธรรมจึง
เปรียบเหมือนการหงายของที่คว่า เปิ ดของท่ีปิ ด บอกทางแก่คนหลงทาง และตาม
ประทีปในที่มดื ซ่ึงผทู้ ม่ี ดี วงตาจกั เห็นรูปได้

เมื่อเห็นแผนท่ีชีวติ น้ี ก็จะเป็ นการเปิ ดโอกาสให้มีทางเลือกมากกว่าทวั่ ไป
มากกว่าคนที่ไมไ่ ดศ้ กึ ษาเรียนรูท้ างธรรม คนเหล่าน้นั ก็ใชช้ ีวิตไปตามเร่ืองตามราว
ตามเพ่ือน ตามคนโนน้ ตามคนน้ี ตามสิ่งเร้าภายนอก ตามอารมณ์ความรู้สึก ตาม
ข่าวสารบา้ นเมือง ซ่ึงลว้ นแลว้ แตเ่ ป็นไปแต่ในเร่ืองของทางวตั ถุธรรม ลว้ นแลว้ แต่

29

เป็นไปในทางท่สี ่งเสริมให้เกิดความโลภ ความโกรธ ความหลง เป็นไปเพื่อการให้
ร้ายทาร้ายกันก่อให้เกิดความอาฆาตพยาบาท การเบียดเบียนซ่ึงกนั และกัน ดูข่าว
ต่าง ๆ ก็เป็ นอย่างน้ี ปัจจุบนั ก็จะเห็นแต่เร่ืองท่ีเป็ นภยั ท้งั หลายแหล่ ภยั ของสังคม
ภยั ของธรรมชาติที่เกิดข้ึนมากมาย ลว้ นแต่เป็ นเรื่องท่ีน่าสะพรึงกลวั ลว้ นแต่เป็ น
เร่ืองท่ีทาให้ตวั เองน้ันหวนั่ ไหว เรียกว่ามีความหวน่ั ไหวต่ออารมณต์ ่างๆ ที่เกิดข้นึ
ก่อให้เกิดความไม่แน่ใจในหลกั ประกันของชีวิต ซ่ึงคนโดยทวั่ ไปก็จะมีความ
หวนั่ ไหว เพราะไม่มีหลกั ยึด ไม่มีหลกั ยึดเพราะไมม่ หี ลกั คดิ ไม่มีหลกั คิดเพราะไม่
มีหลกั วิชา

ด้วยเหตุน้ีจึงเป็ นการสมควรท่ีจะตอ้ งมาเรียนหลกั วิชา หลกั วิชาการทาง
พระพุทธศาสนา หลกั วิชาการทางธรรมะหรือพุทธธรรม เมื่อได้หลกั วิชาการ ก็จะ
ไดห้ ลกั คิด ก็จะรู้วา่ จะมีวิธีคดิ มุมมองอย่างไรต่อชีวติ และโลกคือโลกทศั น์และชีว
ทศั น์ พอรู้วิธีคิดก็มีหลกั การ มีหลกั การในการดาเนินชีวติ ซ่ึงจะช่วยให้ใช้ชีวิตได้
อยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสมในกาละ เทศะ บคุ คล รูว้ ่าในวยั ทเ่ี รายงั เป็นเดก็ ควรเคารพพ่อ
แม่ เช่ือฟังพ่อแม่ กตญั ญูต่อพ่อแม่ เมื่อถึงวยั ที่ตอ้ งเขา้ ศึกษาเล่าเรียนก็เชื่อฟังครูบา
อาจารย์ เรียนสรรพวชิ าตา่ ง ๆจากครูบาอาจารย์ เพ่ือทจ่ี ะทาใหต้ นเองมคี วามรูค้ วาม
เขา้ ใจมากข้ึนในการดารงชีวติ และใช้ชีวิต เม่ือถึงเวลาท่ีจะตอ้ งทางานเพ่ือหาเล้ียง
ชีวติ ตนเองและครอบครวั กป็ ระกอบอาชีพในสมั มาอาชีวะ เป็นอาชีพทส่ี ุจริต และ
ในท่ามกลางการทาหน้าท่ีการงานน้ันๆ ก็ใฝ่ หาประสบการณ์ของการใช้ชีวิตที่
เกีย่ วขอ้ งกบั ผคู้ นในระดบั ต่างๆ ซ่ึงมที ้งั เจ้านาย ลูกน้อง เพื่อนร่วมงาน ก็ทาหนา้ ที่
ได้อย่างเหมาะสม มีความเจริญก้าวหน้าในอาชีพน้นั ๆ อนั นามาซ่ึงรายได้ เมื่อได้

30

ทรัพยม์ า ก็รู้จกั จบั จ่ายใชส้ อยทรัพย์ รู้จกั เก็บรักษาทรัพย์ เพ่ือเป็ นหลกั ประกนั ใน
ชีวิต รู้จกั แบ่งทรพั ยไ์ วใ้ ชใ้ นยามจาเป็น รู้จกั แบ่งปันทรัพยด์ ว้ ยความเอ้ือเฟ้ื อเผ่อื แผ่
ซ่ึงเป็ นไปตามหลกั พุทธธรรม น้ีคือ มีหลกั การ เป็ นชีวิตที่มีหลกั การ ดว้ ยเหตุว่ามี
หลกั วิชา เม่ือมีหลกั วิชาก็ไดห้ ลกั คดิ พอได้หลกั คิดก็ทาให้มีหลกั การ มีหลกั การท่ี
จะวางแผนตามข้นั ตอน เมือ่ มีหลกั การก็จะทาให้มจี ดุ ยนื จะมจี ดุ ยนื ท่แี น่วแน่มน่ั คง
ไมห่ วน่ั ไหว ต่างจากกลมุ่ คนทว่ั ไปทม่ี ีความหวนั่ ไหว คอื หวนั่ ไหวตอ่ อารมณท์ ี่ผ่าน
เข้ามาทางตา หู จมูก ล้ินกาย และใจ เปรียบได้กับกระต่ายต่ืนตูม ฟุ้งซ่านต่ืน
ตระหนก ขาดความย้งั คิด แล้วท่ีสุดเมื่อเกิดอุบัติเหตุ เกิดวิกฤตของชีวิตก็ย่ิง
หวน่ั ไหว ย่งิ ทอ้ แท้ เพราะว่าไม่มีหลกั วิชา ไมม่ ีหลกั คิด ไม่มหี ลกั การ จึงไมม่ จี ดุ ยืน

เพราะฉะน้นั การทไี่ ด้ศกึ ษาและปฏิบตั ิธรรมทาให้มีหลกั วิชา วิชาคือพุทธ
ธรรม พุทธศาสตร์ จึงมีหลกั คดิ ดว้ ยเหตุท่ีไดแ้ นวคดิ ไดว้ ิสัยทศั น์ ทาให้มีหลกั การ
ในการดาเนินชีวิตแต่ละวยั แต่ละข้นั ตอนของชีวิต จึงมีจุดยืนที่แน่วแน่มน่ั คงไม่
หวน่ั ไหว เพราะการนาหลกั ธรรมมาสู่การฝึกฝนและปฏบิ ตั ิ เป็นเหตุให้ไมห่ วน่ั ไหว
ต่อโลกธรรมท้งั 8 คือ มีลาภ เสื่อมลาภ มียศ เส่ือมยศ มีสรรเสริญ มีนินทา มีสุข มี
ทกุ ข์ ดว้ ยมีความรูค้ วามเขา้ ใจว่าสิ่งเหล่าน้ีย่อมตอ้ งปรวนแปรไปในทา่ มกลาง จติ จึง
ไม่หวน่ั ไหว ดว้ ยความเช่ือมนั่ แน่วแน่ต่อการอบุ ตั ิข้ึนขององค์สมเดจ็ พระสมั มาสมั
พทุ ธเจา้ น้นั มจี ริง หลกั ธรรมคาสอนของพระพุทธเจา้ มจี ริง และเป็นหลกั ธรรมที่ทา
ให้พน้ ทุกข์ได้จริง พระคุณของพ่อแม่ของครูบาอาจารยม์ ีจริง ภพภูมิมีจริง กรรม
และวิบากมีจริงดว้ ยความเป็ นเหตุและผล สิ่งเหล่าน้ีเกิดข้ึนมีข้ึนไดด้ ้วยการผ่าน
ประสบการณ์ ผ่านการหล่อหลอม ผ่านการฝึ กฝนปฏิบตั ิ นามาซ่ึงจุดยืนที่แน่วแน่

31

มนั่ คงไม่หวน่ั ไหว และบุคคลที่ช่ือว่า เขา้ กระแสพระนิพพาน ก็คือนับจากพระ
โสดาบนั บคุ คล ก็เพราะว่าไมห่ วนั่ ไหวและมีความศรัทธาที่มน่ั คงในพระพุทธ พระ
ธรรม และ พระสงฆ์ นนั่ เอง

การทีไ่ ดม้ าฟัง เป็นสุตมยปัญญา เมอื่ พินิจพจิ ารณาใคร่ครวญความเป็นเหตุ
ความเป็นผล อนุมาน ประเมิน เห็นความเป็นไปได้ เป็นจินตามยปัญญา แลว้ ก็นอ้ ม
นามาสู่การปฏิบตั ิเพ่ือพฒั นาจิต เป็ นภาวนามยปัญญา ภาวนามยปัญญาเป็ นตวั
ตดั สินช้ีขาดในความเขา้ ถึงพระสัทธรรม เพียงแต่ศึกษาแต่ไม่ลงมือปฏิบตั ิจะไม่มี
ทางที่จะเข้าถึงความรู้ความเขา้ ใจในทางพระพุทธศาสนาท่ีแท้จริงได้ เพราะ

32

หลกั ธรรมในพระพุทธศาสนาไดม้ าจากการปฏิบตั ิจนตรสั รู้ รูแ้ จง้ แทงตลอดในพระ
สทั ธรรมดว้ ยพระปัญญาของพระพุทธเจา้

ดังน้ันการท่ีไดม้ าศึกษาธรรม คือการมาเรียนหลกั วชิ าพุทธธรรมอนั ไดม้ า
จากการคน้ พบของพระพุทธเจา้ ซ่ึงนนั่ คือประสบการณ์ทางตรงของพระพุทธเจา้
แต่เป็ นประสบการณ์ทางออ้ มของเรา ซ่ึงเราจะตอ้ งพฒั นาจิตจนเกิดประสบการณ์
ตรงข้ึนมา นี่คือภาวนามยปัญญานน่ั เอง ตรงน้ีคือส่ิงท่ีทาให้มศี รทั ธาแน่วแน่มน่ั คง
ไมห่ วน่ั ไหวในหลกั วิชา ในหลกั คดิ ในหลกั การ และจดุ ยนื ส่ิงน้ีเป็นเร่ืองสาคญั โดย
พ้ืนฐาน ซ่ึงถา้ มีตรงน้ีแลว้ กจ็ ะทาให้การใชช้ ีวติ เป็ นชีวิตที่ไม่หวนั่ ไหวตอ่ ภยั ต่างๆ
แมก้ ระทง่ั จะตอ้ งเผชิญหนา้ กบั ความตาย ซ่ึงแมจ้ ะรู้วา่ เกดิ มาแลว้ ไม่ตายไมม่ ี แตค่ น
โดยทว่ั ไปก็ยงั คงหวน่ั ไหว เพราะคนส่วนใหญ่ยงั รกั ตวั กลวั ตาย แตจ่ ติ ของผทู้ ่ีศึกษา
ปฏิบตั ิธรรมจนเขา้ ถงึ ความเป็นจริงไดร้ ะดบั หน่ึงแลว้ จะไม่กลวั ตาย แต่ตรงกนั ขา้ ม
คอื กลวั การเกดิ เมอื่ กลวั เกิดก็เบ่ือหน่าย เบอ่ื หน่ายในภพชาติ เบ่ือหน่ายการเวยี นว่าย
ตายเกิด ดว้ ยเหน็ แลว้ ว่าชาติ นามาซ่ึง ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทกุ ข์ โทมนสั และ
อุปายาส อนั ไม่มีจุดจบ เพราะความเกิดท่ีถูกครอบงาดว้ ยอวิชชา ตณั หา อุปาทาน
มานะ ทิฐิ นั่นเอง ผูท้ ่ีมาถึงจุดท่ีมองเห็นโทษภยั ในวฏั สงสาร มองเห็นความไม่
แน่นอนในวฏั สงสาร มองเห็นน้าตาของตวั เองในวฏั สงสารมากมายยงิ่ กว่าน้าตาใน
ทอ้ งทะเลและมหาสมุทร เห็นพิษภยั เห็นโทษภยั จึงเกิดความเบ่ือหน่าย เม่ือเบื่อ
หน่ายก็คลายกาหนดั จติ ก็ละวางความยดึ มนั่ ถือมน่ั ความเป็นอิสระทางจติ ก็เกิดข้ึน
และเมื่อถึงที่สุดก็แจ้งประจักษ์ในพระนิพพานอันเป็ นจุดมุ่งหมายสูงสุดทาง
พระพุทธศาสนา

33

อภยั ทำน

การให้อภยั ด้วยเมตตา แมจ้ ะมิใช่การลบลา้ งเหตุการณ์เรื่องราวในอดีตก็
จริง แต่เป็ นการเปิ ดโอกาสให้จิตเป็ นอิสระ ได้คิดสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆด้วยกุศล
เจตนา ยงั ความงดงามแห่งชีวติ ท้งั ในปัจจบุ นั และอนาคต อนั เป็นผลดว้ ยกุศลวิบาก
อย่างมิตอ้ งสงสัย และความกลา้ หาญทางคุณธรรมจริยธรรม เป็ นพ้ืนฐานที่ดีของ
การอยู่ร่วมกนั อยา่ งสงบสุขสนั ติ

ความอาฆาตพยาบาท อุปมาอุปไมยเปรียบเทียบ ดั่งเช่น มีดท่ีกรีดบนหิน
มีดทีก่ รีดบนดนิ มีดท่ีกรีดบนผืนทราย มีดทก่ี รีดบนผนื น้า มีดที่กรีดบนอากาศ ซ่ึงมี
ระดบั ความรุนแรง และระยะเวลาทีส่ ่งผลท่แี ตกตา่ งกนั ไป พอเทียบเคียงให้เห็นบา้ ง
ดังน้ี มีดที่กรีดบนหิน ย่อมยงั ร่องรอยทล่ี ึก อยู่นาน ยากที่จะลบร่องรอยน้นั ออกได้
ง่ายๆ, มีดท่ีกรีดบนดิน ย่อมยงั ร่องรอยท่ีลึก แต่อยู่ไม่นาน ง่ายกว่าทจ่ี ะลบร่องรอย
น้นั เมื่อเปรียบเทียบกบั ร่องรอยบนหิน, มีดที่กรีดบนผนื ทราย สามารถลบร่องรอย
น้นั ไดง้ า่ ย กว่าร่องรอยบนดนิ , มีดท่กี รีดบนผืนน้า ชวั่ พริบตาร่องรอยน้นั กห็ ายไป,
มีดที่กรีดบนอากาศ แมไ้ ม่เห็นร่องรอยท่ีแหวกไป แต่รับรู้ รู้สึกได้ ด้วยเหตนุ ้ีความ
ผกู อาฆาตพยาบาทของจิต จงึ ยงั ความทกุ ขค์ วามเร่าร้อนทางจิต ในระดบั ทหี่ นกั เบา
และดว้ ยระยะเวลาของการส่งผลท่ีแตกตา่ งกนั ไป

ผูป้ รารถนาความสุขในทุกมิติของชีวิต ย่อมรู้ชัดว่า หาควรมีมีดไวก้ รีดสิ่ง
ใด ๆไม่ หากแต่พึงมีสติปัญญาอนั เป็นไปเพื่อการละวางซ่ึงอปุ าทาน ความยึดมน่ั ถอื
มนั่ น้นั แล พร้อมท้งั เจริญพรหมวิหารธรรมอยเู่ นืองๆ

34

เรามีสิทธ์ิท่ีจะเชื่อหรือไม่เชื่อ ความเชื่ออาจจะจริงหรือไม่จริงก็ได้ ความ
จริงไม่แปรเปล่ียนไปตามความเชื่อ จริงอย่างไรก็จริงอย่างน้ัน หน้าที่ของเราคือ
พฒั นาความเช่ือใหเ้ ขา้ ถึงความจริงดว้ ยสตปิ ัญญา ชีวติ จงึ ไม่ฝากไวก้ บั ความเช่ือ แต่
ยนื อยูบ่ นความจริง เขา้ ใจ เขา้ ถงึ และแทงตลอดในพระสัทธรรม กจ็ ะเขา้ ถึงความสุข
อนั เป็นบรมสุขคือ พระนิพพาน

ยำกท่จี ะได้อัตภำพมนษุ ย์

ในท่ามกลางความเป็ นไป มาบดั น้ีเราท่านท้งั หลายไดห้ น่ึงในสิ่งอนั หาได้
ยากมาแลว้ คอื การไดม้ าซ่ึงอตั ภาพของความเป็นมนุษย์ซ่ึงองคส์ มเดจ็ พระสัมมาสมั
พทุ ธเจา้ ทรงตรัสในเชิงเปรียบเทียบไวว้ า่ “ฝุ่นนิดหน่ึงท่ีเราชอ้ นข้นึ ดว้ ยปลายเล็บน้ี
กับมหาปฐพีน้ัน ข้างไหนจะมากกว่ากัน ? ซ่ึงคาตอบก็ชัดเจนมากว่า ฝุ่นดินมี
ปริมาณนอ้ ยกวา่ การไดเ้ กดิ มาเป็นมนุษยก์ เ็ ช่นเดยี วกบั ฝ่นุ ผงธุลีน้นั เอง อกี หน่ึงการ
เปรียบเทยี บคือ เต่าตาบอดในมหาสมุทรซ่ึงทกุ ๆหน่ึงรอ้ ยปี จะตอ้ งโผล่หัวข้ึนมาเพื่อ
หายใจ แลว้ โอกาสของการโผล่หัวข้นึ มาทจี่ ะตรงกบั รูท่ีขอนไมท้ ล่ี อยล่องในน้าน้ัน
เป็นเรื่องทยี่ ากมาก อปุ มาอปุ ไมยเฉกเช่นเดียวกบั การไดม้ าซ่ึงอตั ภาพของความเป็ น
มนุษย์ ยากเช่นน้นั เช่นกนั ส่วนใหญ่เม่อื ละธาตุขนั ธ์คือ ตายแลว้ กจ็ ะลงสู่อบายภูมิ
เช่น เดรัจฉาน เปรต อสุรกาย สัตว์นรก ยากท่ีจะอุบตั ิกลบั มาเกิดในสุคติภูมิ การ
วนเวียนอยู่ในวฏั สงสารอนั ยาวนาน หาตน้ ไม่เจอ หาปลายไม่พบ อยู่ในทะเลเพลิง
แห่งความโลภ ความโกรธ ความหลง อยู่ในทะเลแห่งความทุกขโ์ ศก น้าตามากยง่ิ
กว่ามหาสมุทรท้งั หลาย กระดูกท่ีกองยิ่งกว่าภูเขาเลากาอนั นบั ไม่ได้ เมื่อมีปัญญา
เขา้ ใจโลกและชีวิตมาถึงระดบั หน่ึง จึงเกิดความเบ่ือหน่ายต่อการท่ีจะตอ้ งมาเวยี น

35

ว่ายตายเกิดอนั หาที่สุดมิได้ ดว้ ยเหตุน้ีจึงกลวั เกดิ มิไดก้ ลวั ตาย แต่เห็นความสาคญั
ในปัจจุบันน้ีว่าจะใช้ชีวิตท่ีมีอยู่น้ีให้เกิดคุณค่าความหมายเต็มภูมิของความเป็ น
มนุษย์ให้มีประสิทธิผลมากท่ีสุด เพราะการได้อตั ภาพของความเป็ นมนุษยเ์ ป็ น
อตั ภาพที่มีความเหมาะสมต่อการบรรลุธรรม เพราะมีโอกาสแห่งการประสบกบั
เรื่องทกุ ข์ เร่ืองสุข คละเคลา้ กนั ไปที่พอเหมาะพอควร ซ่ึงถา้ เป็นสัตวน์ รกน้นั มคี วาม
ทกุ ขท์ รมานมากเกินกว่าที่จะมีโอกาสไดค้ ดิ พจิ ารณาอะไร โอกาสไม่มี ส่วนเทวดาก็
เสวยสุขติดสุขอนั น่าเพลิดเพลินยาวนาน จนโอกาสที่จะมาเห็นทุกข์น้ันก็ยากอีก
ด้วยเหตุน้ีภูมิของมนุษยจ์ ึงเป็ นภูมิที่มีความเหมาะสม เพราะไม่ทุกข์ทรมาน
จนเกินไป ไม่สุขมากจนเกินไป พร้อมท้งั อายุขยั ก็ไม่ยาวนานมากไป ทาให้เห็น
ความเปลยี่ นแปลงของชีวิตในวยั ต่างๆ ไดเ้ ห็นความเส่ือมความเจ็บป่ วยของร่างกาย
เผชิญกบั เหตุการณเ์ ร่ืองราวต่างๆท้งั ในยามปกติและวกิ ฤติของชีวิต ทาให้มีโอกาส
เห็นโลกและชีวิตตามความเป็ นจริง จึงเกิดกระบวนการเรียนรู้และพัฒนาทาง
สติปัญญามากยงิ่ ข้นึ ท่ามกลางความเป็นไปน้นั ๆ

จะเห็นไดว้ ่าในท่ามกลางความเป็ นไปของชีวิตทาให้เกิดกระบวนการส่ัง
สมพฒั นาทางจิต ส่ังสมพฒั นาสตปิ ัญญา สั่งสมพฒั นาวาสนาบารมี ซ่ึงตอ้ งผ่านการ
เรียนรู้ฝึ กฝนปฏิบตั ิคร้ังแลว้ คร้ังเล่า ทาให้เกิดกระบวนทศั น์ท่ีเห็นและเขา้ ใจโลก
และชีวิตมากข้นึ ตามลาดบั เห็นความเป็ นไปของสิ่งตา่ งๆว่าไม่ไดเ้ ท่ียงแทแ้ น่นอน
แต่มีความเปล่ียนแปลง แมแ้ ต่สังขารร่างกาย ที่จะส่ังให้ไม่แก่ ไม่เจ็บ และไมต่ ายก็
เป็ นไปไม่ได้ มาถึงวนั น้ีเราท่านท้งั หลายคงผ่านการร่วมพิธีงานศพมามากพอควร
พระสวดพระอภธิ รรม ศพน้ันก็ไม่รู้เรื่องแลว้ ส่วนผูท้ ่ีไปร่วมงานก็มวั แต่พดู คุยกนั

36

งานศพก็กลายเป็นงานพบปะสังสรรค์ไปโดยปริยาย จึงไม่ไดค้ ิดพิจารณาอะไรใน
หลกั ธรรมตรงน้ัน ก็เลยไม่ได้แง่คิดมุมมองในทางธรรม แต่สิ่งท่ีได้ก็เป็ นเพียง
รูปแบบพิธีกรรมโดยประเพณีเท่าน้นั

จำกพง่ึ พระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ์ สู่กำรพึ่งตนเอง

เร่ืองสาคญั โดยพ้ืนฐานคือ ต้องมีหลักวิชา เมื่อได้หลักวิชาการในระดับ
หน่ึงแลว้ ก็จะไดใ้ นเร่ืองของหลกั คดิ วิธีคิด โลกทศั น์ ชีวทศั น์ มุมมอง แลว้ ก็จะได้
หลกั การ หลกั การในการดาเนินชีวิต ทาให้เห็นแนวทางคือ แผนท่ี ซ่ึงเม่ือลงมือ
ปฏิบตั ิอย่างจริงจงั จนแจง้ ประจกั ษช์ ดั ในระดบั หน่ึง ก็จะเกิดจดุ ยืนอนั เป็ นทพ่ี ่งึ แก่
ตนเองได้ ในช่วงของการเริ่มตน้ ศึกษาปฏิบตั ิธรรมใหม่ๆ ตอ้ งพ่ึงพระพุทธ พระ
ธรรม และพระสงฆ์ ตอ้ งพ่งึ ตารับตารา ตอ้ งพ่งึ กลั ยาณมติ ร จนกระทง่ั ไปถึงจุดหน่ึง
ของการฝึ กฝนพฒั นาจะกา้ วเขา้ มาสู่การพ่งึ ตนเอง อุปมาอุปไมยดงั่ เชน่ การเขา้ ห้อง
สอบซ่ึงไม่สามารถเปิ ดตาราหนังสือได้ เป็ นช่วงเวลาที่ตอ้ งพ่ึงตนเอง เป็ นบท
ทดสอบเป็นบทพิสูจน์ซ่ึงเป็นข้นั ตอนของชีวิตทที่ ุกท่านตอ้ งเผชิญในชีวิตจริง หาก
สอบผา่ นแลว้ ก็ย่อมรู้ดว้ ยตนเองว่าผา่ นแลว้ ไดป้ ระกาศนียบตั รคอื คุณภาพของจติ ท่ี
ไม่ตอ้ งให้ผูใ้ ดมารับรอง ผูป้ ฏิบตั ิเองเห็นเองเข้าถึงแจ้งประจกั ษเ์ องนั่นแหละท่ี
รบั รองตนเองได้ ส่ิงน้ีแหล่ะทกี่ ล่าววา่ พ่งึ พระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆเ์ ป็นสรณะ
ในเบ้ืองตน้ พอพฒั นามาถึงจุดหน่ึงก็พ่ึงตนเองได้ เป็ นผูท้ ่ีมีศีล มีธรรม มีหลกั คิด
จากประสบการณ์อนั ได้มาจากการฝึ กฝนปฏิบตั ิ เมื่อพ่ึงตนเองไดก้ ็สามารถที่จะ
ประคบั ประคองชีวติ ของตนเองไปสู่ทิศทางของความรู้แจ้งเห็นจริงได้ดว้ ยศรทั ธา
และปัญญาที่ถูกพัฒนาข้ึนมาตามลาดับน้นั เอง มิใช่ได้มาด้วยความบงั เอิญ มิใช่

37

ไดม้ าดว้ ยการออ้ นวอนร้องขอ แต่มคี วามเป็นเหตุเป็นผลจากการศกึ ษาปฏบิ ตั ิธรรม
ดว้ ยความเพียรอยา่ งต่อเนื่อง และเป็นหนทางทค่ี รูบาอาจารยท์ ้งั หลาย ลว้ นตอ้ งผา่ น
จนประสบความสาเร็จมาแลว้

ดว้ ยเหตุน้ีจงึ เป็นความสาคญั ในการที่ตอ้ งขวนขวายศกึ ษาปฏิบตั ิธรรม ซ่ึง
ในทุกวนั น้ีนับวา่ มีโอกาสมากในอนั ที่จกั ไดฟ้ ังหลกั ธรรมคาสอนของพระพุทธเจา้
และหลักธรรมคาสอนของครูบาอาจารย์ต่างๆ เพราะเป็ นยุคของเทคโนโลยี
สารสนเทศ ซีดี ดีวีดี อินเตอร์เน็ตเวบ็ ไซต์ ช่วยให้เขา้ ถึงเน้ือหาขอ้ มลู ไดง้ ่าย แต่จะ
อย่างไรก็ตามการปฏิบตั ิยงั เป็ นตวั ช้ีขาด การปฏิบตั ิจะทาให้มีความเชื่อมั่น จิตมี
ความแน่วแน่มนั่ คงไมห่ วน่ั ไหวในท่ามกลางการเผชิญกบั อารมณ์ต่างๆ ความรู้ท่ไี ด้
อา่ นไดย้ ินไดฟ้ ังมาน้นั ตอ้ งผ่านการพิสูจนด์ ว้ ยตนเอง เป็นปัจจตั ตงั เป็นเร่ืองเฉพาะ
ตน ใครทาใครได้ ใครกินใครอิ่ม และผูท้ ่ีรับประทานอาหารอยู่ในขณะน้นั ๆยอ่ มรู้
รสชาติอาหารที่ไดล้ ิ้มรสน้นั ว่าเปร้ียว หวาน เคม็ ขม เผด็ ฝาด วา่ เป็นอย่างไร?

การท่ีมาศึกษาเรียนรู้ก็เพื่อให้ได้หลกั ได้แนว และเมื่อลงมือปฏิบัติได้
ประสบการณ์ตรงทาให้มีจุดยืนท่ีแน่วแน่ม่ันคงไม่หวนั่ ไหวด้วยเหตุท่ีรู้เห็นตาม
ความเป็ นจริง ซ่ึงทาให้ใกล้เข้าสู่กระแสมากข้ึนๆ คือ กระแสของการเข้าสู่การ
คน้ พบโลกและชีวติ ท่ไี ปสู่ทางทเ่ี จริญ ไปสู่ทางที่ทาให้เราเขา้ ใจโลกเขา้ ใจชีวติ มาก
ข้ึน กระแสของความรู้แจง้ เห็นจริงของชีวิตและโลก กระแสของมรรคผลนิพพาน
ซ่ึงจะตอ้ งอาศยั พลงั ทางจิต พลงั แห่งสติ สมาธิ และปัญญา ท่ีมากในระดบั หน่ึงท่ี
เพียงพอต่อการตา้ นกระแส ต่อการทวนกระแสของอารมณ์ต่าง ๆท่ีผ่านเขา้ มาทาง
ตา หู จมูก ลนิ้ กาย และใจ ซ่ึงส่วนใหญ่ก็เป็นอารมณ์ในทางรูปธรรมหรือเกย่ี วเนื่อง

38

กับวตั ถุธรรมที่เอ้ือต่อการโน้มนาจิตให้ไปในทางเร่ืองของความโลภ ความโกรธ
และความหลง น่ีคือตามกระแส อนั เป็ นเร่ืองปกติทว่ั ไปของผูท้ ่ีไม่ได้ศกึ ษาปฏิบตั ิ
ธรรม เพราะความคนุ้ เคยเคยชินติดมาในขนั ธสันดาน จึงง่ายต่อการที่จกั ตามกระแส
นนั่ เอง

โพธิปกั ขิยธรรม 37 ประกำร

การฝึ กฝนภาวนาทางจิตคือ ฝึ กให้มีสติคอื ความระลึกรู้ในท่ามกลางความ
เป็นไปของ กาย เวทนา จติ และธรรม เป็นการปฏบิ ตั ทิ ีช่ ่ือว่า สติปัฏฐาน 4 เป็นการ
พฒั นาจิตให้มีสติ สัมปชัญญะ สมาธิ และปัญญา ดว้ ยความเพียรอย่างต่อเนื่องใน
อารมณค์ ือ กาย เวทนา จิต และธรรม ก็เพือ่ ให้จติ มีกาลงั มพี ลงั ในเบ้ืองตน้ อยา่ งนอ้ ย
ที่สุดผลคือ จิตไม่ตามกระแส ทาให้สามารถที่จะหยุดกระแสของความโลภ โกรธ
และหลงได้ ซ่ึงตรงน้ีก็คือใชห้ ลกั ธรรมท่ีเรียกว่า สมั มปั ปธาน 4 เป็นความเกย่ี วเน่ือง
ท่ีต่อเนื่องจากการปฏิบตั ิธรรมในสติปัฏฐาน 4 ซ่ึงสัมมปั ปธาน 4 เป็ นหลกั ธรรมที่
ป้องกนั ยบั ยง้ั อกุศลธรรมท่ยี งั ไม่เกดิ มิใหเ้ กดิ ส่วนอกุศลธรรมทเ่ี กดิ ข้ึนแลว้ กล็ ดละ
เลิกเสีย ซ่ึงอยู่ท่ีว่ามีพลงั จิตมากพอหรือไม่? พลงั ของสติ สัมปชัญญะ สมาธิ และ
ปัญญามมี ากพอไหม? ทจ่ี ะไปลดละเลิก และมมี ากพอไหม? ทจ่ี ะป้องกนั ไมใ่ ห้เกิด
อกี หากทาไดก้ ็หมายความว่ามีการพฒั นากุศลธรรมทไ่ี มเ่ คยเกิด ทาให้มีไดแ้ ลว้ นนั่
ก็คือการภาวนาประสบความสาเร็จในระดับหน่ึงแล้ว จิตมีกาลังข้ึนมาแล้ว เม่ือ
มาถงึ ตรงน้ีก็มีหนา้ ทต่ี ่อไปคือ การรกั ษากศุ ลธรรมทป่ี รากฏมีแลว้ น้ี ใหต้ ้งั มนั่ มน่ั คง
และพรอ้ มต่อการต่อยอดพฒั นาให้เจริญยิ่งๆข้ึนไปอย่างต่อเนื่อง ซ่ึงก็คือการพฒั นา
พลงั ของสติ พลงั ของสมั ปชญั ญะ พลงั ของสมาธิ และพลงั ของปัญญา นนั่ เอง

39

จากหลกั ธรรมสัมมปั ปธาน 4 ก็จะกา้ วเขา้ มาสู่หลกั ธรรมอิทธิบาท 4 ซ่ึง
เป็นหลกั ธรรมที่ทาให้ประสบความสาเร็จยิ่งๆข้ึนไป โดยจากการปฏบิ ตั ทิ ีไ่ ด้ผลใน
ระดบั หน่ึงทาให้มี “ฉนั ทะ” คอื ความยนิ ดีพอใจเกดิ ข้ึน มีความยนิ ดีพอใจทจ่ี ะเจริญ
สตปิ ัฏฐาน 4 มคี วามยินดีพอใจทจ่ี ะพฒั นากุศลธรรมใหม้ มี ากข้นึ มีความยนิ ดีพอใจ
ที่จะพฒั นาพลงั ทางจติ อนั ประกอบดว้ ยพลงั ของสติ สัมปชญั ญะ สมาธิ และปัญญา
มากยิง่ ๆข้ึน

เมื่อมีฉันทะก็ทาให้เกิดมี “วิริ ยะ” ความเพียร มีความพยายามท่ีจะ
ดาเนินการให้บรรลุเป้าหมายหรือจุดประสงค์ที่ต้งั ใจไว้ไม่ว่าจะมีอุปสรรคขวาง
หนามมากมายเพียงใด แตก่ ลบั มี “จิตตะ” คอื จิตใจทีม่ ่งุ มน่ั มนั่ คงไมห่ วน่ั ไหว ต้งั ใจ

40

จดจ่อจบั จอ้ งมุง่ ตรงตอ่ เป้าหมายอยา่ งไมห่ ยุดยง้ั โดยไมเ่ บยี่ งเบนไปยงั จดุ อนื่ แลว้ ก็
ใช้ “วิมังสา” คือการใคร่ครวญไตร่ตรองพินิจพิจารณาหาเหตุหาผล หาจุดอ่อน
ขอ้ บกพร่องท่ียงั มีอย่เู พื่อแกไ้ ขปรับปรุง ทาให้การภาวนามคี วามกา้ วหนา้ มากยิ่ง ๆ
ข้ึน ทาให้การศึกษาปฏิบตั ิธรรมมีความลึกซ้ึงละเอียดมากข้ึน มีความรู้ความเขา้ ใจ
ตามความเป็ นจริงมากข้ึน นี่คือธรรมอนั เป็ นเครื่องมือท่ีทาให้ประสบความสาเร็จ
ตามความประสงคท์ ่ีต้งั เอาไว้

จากการพฒั นามาอย่างต่อเน่ืองทาให้จิตพัฒนาคุณภาพข้ึนมาตามลาดบั
และกา้ วเขา้ มาสู่ธรรมในส่วนทเ่ี รียกวา่ อินทรีย์ 5 คือ ศรทั ธา วิริยะ สติ สมาธิ ปัญญา
มีความศรัทธาท่ีแน่วแน่มนั่ คงไม่หวน่ั ไหวเพิ่มมากข้ึน ด้วยการฝึ กฝนปฏิบตั ินามา
ซ่ึงความเชื่อมน่ั มากข้นึ เชื่อมนั่ และยอมรับในพระคุณของพระพุทธ พระธรรม และ
พระสงฆ์ ว่ามีจริง คุณประโยชน์ของการศึกษาปฏิบตั ิน้นั มีจริง การปฏิบตั ิสมาธิ
ภาวนาทาให้จิตมีความสงบต้งั มน่ั และมีกาลังมากข้ึนน้นั จริง ซ่ึงเม่ือก่อนปฏิบตั ิ
มกั จะวติ กกงั วล ฟุ้งซ่าน ราคาญใจ หงุดหงิดวู่วาม ทอ้ แท้ หวนั่ ไหว แต่มาบดั น้ีเริ่ม
เห็นแลว้ ว่า ยิ่งปฏิบตั ิไป ก็ย่ิงมีความน่ิง มีความสงบ มีความใสทางจิตมากข้ึน ด้วย
ผลอนั ปรากฏข้ึนเหล่าน้ีช่วยส่งเสริมให้มีความศรัทธามากข้ึน คุณภาพของจิตใน
ด้านสติ สมาธิ ปัญญาก็มากข้ึนพร้อมด้วยความแน่วแน่ม่ันคงย่ิงๆข้ึน ด้วยเหตุน้ี
ธรรมในดา้ นอนิ ทรีย์ 5 น้ีกจ็ ะมาคมุ้ ครองอายตนะภายในคอื ตา หู จมูก ลิน้ กาย และ
ใจ และทาให้สามารถเพ่งพจิ ารณาอายตนะภายนอกคือ อารมณ์ต่างๆทม่ี ากระทบกบั
อายตนะภายใน ซ่ึงอารมณ์เหล่าน้นั คอื รูป เสียง กล่ิน รส ส่ิงตอ้ งกาย (โผฏฐพั พะ)
และอารมณ์ที่เกิดและรับรู้ทางใจ (ธรรมารมณ์) ได้อย่างเท่าทนั ได้อย่างทนั ทว่ งที

41

โดยสามารถป้องกนั มิให้เกดิ อกุศลจิตได้ แต่ตรงกนั ขา้ มคือ สามารถพฒั นากุศลจติ
ได้ ซ่ึงส่ิงน้ีคือ เกราะหรือภมู คิ ุม้ กนั ท่ีถกู พฒั นาข้นึ มาแลว้ ดว้ ยคุณภาพของจิตนน่ั เอง

ในท่ามกลางการพฒั นาอินทรีย์ 5 ก็เป็ นกระบวนการพัฒนาพละ 5 ไป
ด้วยกันน่ันเอง คือจากอินทรียซ์ ่ึงมีความเป็ นใหญ่ในการทาหน้าท่ีขององค์ธรรม
น้นั ๆ เม่ือทาให้มากข้ึน ก็เกิดเป็ นพลงั ท่ีมากข้ึนไปด้วยตามลาดับนนั่ เอง มีความ
มน่ั คงไม่หวนั่ ไหวในการทาหนา้ ที่ จิตมีกาลงั ในการเพ่งพิจารณาอารมณ์ต่างๆได้
อย่างคล่องแคล่วแน่วแน่มน่ั คง คือท้งั รวดเร็วและมีพลงั ในการทาหน้าท่ี ซ่ึงตรงน้ี
เรียกว่า จติ มีความควรแก่การงาน คือทาหนา้ ท่ีไดอ้ ย่างทนั ต่อเหตุการณ์ หรือทนั ต่อ
การเผชิญกบั อารมณต์ ่าง ๆ ณ ปัจจุบนั ขณะน้ัน ๆด้วยกุศลจิต ดว้ ยสติ สัมปชญั ญะ
สมาธิ และปัญญา อย่างน้อยก็แจ้งประจกั ษใ์ นความจริงที่ว่า ท้งั จิตและอารมณ์ก็มี
ความไม่เท่ียง มีความไม่อาจคงทนอยู่ในสภาพเดิมได้ เห็นความปรวนแปรไปใน
ท่ามกลางตามเหตุปัจจยั จึงไมค่ วรไปยึดมนั่ ถือมน่ั ใหเ้ ป็นทกุ ขไ์ ปไย จติ กเ็ กิดการละ
วางจางคลายไปไดใ้ นระดบั หน่ึง เป็ นการส่ังสมพลงั แห่งกุศลจิตและกศุ ลธรรมไป
ในตวั มาถึงตรงน้ีเรียกว่า จิตมิเพียงต้งั รับไดเ้ ท่าน้ัน แต่ยงั สามารถทาหนา้ ท่ีในเชิง
รุกไดด้ ว้ ย ซ่ึงกอ่ นหนา้ น้ีไมม่ คี วามรู้ ไม่มีความเขา้ ใจ และไม่รูเ้ ร่ืองการปฏิบตั ธิ รรม
จิตจะตกเป็นฝ่ายถูกกระทาดว้ ยอกศุ ลธรรมมาโดยตลอด

จากการพฒั นาทางจิตมาโดยลาดบั ดังที่กล่าวมาแลว้ ก็ก้าวเขา้ สู่เส้นทาง
แห่งการตรัสรู้ เป็ นการพฒั นาธรรมท่ีเป็ นไปเพื่อการตรัสรูท้ ่ีเรียกว่า “โพชฌงค์ 7”
เปรียบเหมือนไข่ไก่ที่มีแม่ไก่คอยกกอยู่อย่างต่อเน่ือง ก็ย่อมท่ีจะฟักเป็ นตวั ลูกไก่
อย่างมิตอ้ งสงสัย นัน่ หมายความว่า เราทาเหตุให้สอดคลอ้ งกบั ความเป็ นจริงอย่าง

42

ต่อเน่ือง ผลก็ย่อมเกิดข้ึนมาอย่างแน่นอน แม้จะมิได้คาดหวงั ในผลน้ัน จิตท่ีได้
พัฒนา “สติ” มาอย่างสม่าเสมอ สติก็ก้าวเขา้ มาทาหน้าที่ระลึกรู้ในอารมณ์ต่างๆ
อย่างมีพลงั ส่งต่อให้เกิดการสอดส่องสืบคน้ พิจารณาในธรรมท่ีเรียกว่า “ธมั มวิจ
ยะ” เป็ นธรรมที่ผุดข้ึนมาจากภายในทา่ มกลางการพิจารณาอารมณ์น้นั ๆดว้ ยความ
เพียรคือ “วิริยะ” อย่างไม่ย่อท้อ ก็จะปรากฏความอิ่มใจคือ “ปี ติ” บางคร้ังก็รู้สึก
เหมือนโยกคลอน บางคร้งั ก็รูส้ ึกเหมอื นตวั เบา บางคร้ังก็สัน่ เทม้ิ ขนลกุ ซู่ซ่า และเมอ่ื
อาการแห่งปี ติระงบั ลง ก็จะเกิดความสงบกายสงบใจคือ “ปัสสัทธิ” อนั เป็ นปัจจยั
แก่ “สมาธิ” คือมีความต้งั มน่ั ทางจิต มีความแน่วแน่มนั่ คงไม่หวน่ั ไหวทางจิต มี
ความใสปราศจากนิวรณ์ใด ๆทจ่ี ะมารบกวน ซ่ึงนิวรณค์ ือ อกศุ ลธรรมท่ขี ดั ขวางจติ
ไม่ใหบ้ รรลุคุณความดที สี่ ูงย่งิ ๆข้ึน นิวรณม์ ี 5 ประการคอื กามฉันทะ (ความพอใจ
ในกาม) พยาบาท (ความคิดร้าย ขดั เคืองแคน้ ใจ) ถีนมิทธะ (ความหดหู่และเซ่ือง
ซึม) อุทธัจจกุกกุจจะ (ความฟุ้งซ่าน กระวนกระวายใจ) และวิจิกิจฉา (ความลงั เล
สงสยั ) จิตที่ปราศจากนิวรณ์น้ี มคี ุณภาพทคี่ วรแก่นาไปทาหนา้ ท่ีทางปัญญาเพือ่ การ
รู้เห็นแจง้ ประจกั ษต์ ามความเป็นจริง จิตมคี วามเป็นกลางท่ีเรียกวา่ “อเุ บกขา” คือไม่
โอนเอียงไปทางยินดีพอใจหรือไม่ยินดีไม่พอใจตามอานาจของกิเลส ตัณหา
อุปาทาน แต่กลับสงบน่ิงตามรู้ตามดูอารมณ์น้ันๆด้วยใจท่ีเป็ นกลางอัน
ประกอบดว้ ยปัญญา

เส้นทางเดนิ ของการศกึ ษาปฏิบตั ิธรรมเป็นเสน้ ทางของ “มชั ฌิมาปฏิปทา”
เป็นการปฏิบตั ิทไ่ี ม่สุดโตง่ ไปในดา้ นท้งั สองคือ ท้งั ในทางสุขสบายและในทางทุกข์
ยากลาบาก ท้งั ในทางยนิ ดีพอใจและไม่ยนิ ดีไมพ่ อใจ เป็นการฝึกฝนพฒั นาทก่ี า้ วเขา้

43

สู่ พระอริ ยมรรคอันมีองค์ 8 โดยท่ามกลางการพัฒนาทางจิตน้ันเป็ น
กระบวนการพัฒนาความคิดความเห็นให้เข้าสู่ทิศทางของสัมมาทิฏฐิ สัมมา
สังกัปปะ เป็ นการติดเข็มทิศทางความคิด มุ่งสู่แนวทางท่ีไม่ให้ร้าย ไม่ทาร้าย ไม่
อาฆาต ไม่พยาบาท ไม่จองเวร แต่เป็ นไปเพื่อการให้อภยั เบ่ือหน่าย คลายกาหนดั
ละวางความยึดมนั่ ถือมนั่ ในขนั ธ์ 5 ดว้ ยการเจริญสติท่ีเรียกว่า สัมมาสติ เป็ นการ
เจริญสติในอารมณ์ คือ กาย เวทนา จิต และธรรม ท่ามกลางการทาหน้าท่ีเก่ียวขอ้ ง
กบั ผูค้ น เหตุการณต์ า่ ง ๆอย่างถูกตอ้ งตรงตอ่ ความเป็นจริง ให้จิตยอมรับตามความ
เป็ นจริง จิตจะเกิดปี ติสุข อนั เป็ นผลนามาสู่ความสงบ ต้งั มน่ั ใสสะอาดปราศจาก
นิวรณ์ และมีคณุ ภาพที่พรอ้ มตอ่ การทาหนา้ ทพี่ ฒั นาทางปัญญาอนั เป็นทีย่ ิ่ง ๆข้นึ ไป
ซ่ึงส่ิงน้ีคือ อริยสัมมาสมาธิ เป็นสมั มาสมาธิอนั เป็นอริยะ โดยสมั มาสมาธิเป็นหลกั
เป็นแมท่ พั ท่จี ะมกี าลงั ตดั กเิ ลส โดยมบี ริขาร หรือบริวารท้งั 7 คอื สมั มาทฏิ ฐิ สัมมา
สงั กปั ปะ สมั มาวาจา สมั มากมั มนั ตะ สมั มาอาชีวะ สัมมาวายามะ และสัมมาสติ ท้งั
7 องคน์ ้ีมาแวดลอ้ มเป็ นบริวารทาหนา้ ท่ีประสานเก้อื สนบั สนุนซ่ึงกนั และกนั อยา่ ง
พอเหมาะพอดี จนเป็ นพลงั หน่ึงเดียวทาหน้าที่ตดั กิเลสอย่างถึงท่ีสุด นี่คือทิศทาง
แนวทางท่ีพึงประสงค์ในการบรรลุถึงประโยชน์สูงสุดทางพระพุทธศาสนา ซ่ึง
ทางเดินของการปฏิบตั ิธรรมในแนวน้ีเรียกว่าโพธิปักขิยธรรม 37 ประการ เป็ น
ธรรมอนั นาไปสู่การตรัสรู้ และเป็ นแนวทางการปฏิบตั ิของผูท้ ่ีปรารถนาความพน้
ทกุ ข์

ดงั น้นั จากท่ีกลา่ วมาต้งั แต่ตน้ จนมาถงึ ตรงน้ี กเ็ พอ่ื ช้ีใหเ้ ห็นถึงความจาเป็ น
อนั เป็ นพ้ืนฐานของการศึกษาปฏิบตั ิธรรม ก็คือให้ได้หลักวิชา ได้หลักคิด ได้

44


Click to View FlipBook Version