The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ฝึกฝนเรียนรู้พัฒนาจิตให้มีความเจริญใน สติ สัมปชัญญะ สมาธิ และปัญญา ในท่ามกลางความเป็นไปของชีวิตและโลก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by DrSomchaiV, 2021-12-24 08:45:59

กระแสธารธรรม

ฝึกฝนเรียนรู้พัฒนาจิตให้มีความเจริญใน สติ สัมปชัญญะ สมาธิ และปัญญา ในท่ามกลางความเป็นไปของชีวิตและโลก

Keywords: ธรรม,สติ,ปัญญา,พุทธ

หลักการ ได้จุดยืน อันนามาสู่แนวทางการปฏิบัติ ที่เร่ิ มจากสติปัฏฐาน 4,
สัมมปั ปธาน 4, อทิ ธิบาท 4, อนิ ทรีย์ 5, พละ 5, โพชฌงค์ 7 และอริยมรรคอนั มีองค์
8 ซ่ึงท้งั หมดน้ีคอื โพธิปักขยิ ธรรม 37 ประการ เดินตามแนวน้ี ปฏิบตั ิตามแนวน้ี จึง
จะเป็นหนทางแห่งการรูแ้ จง้ เห็นจริง หนทางแห่งการท่จี ะรูจ้ กั โลกและรูจ้ กั ชีวติ ตาม
ความเป็ นจริง ชีวิตก็จะมีความสุขในทุกมิติ ด้วยจิตท่ีเป็ นอิสระจากความยดึ มน่ั ถือ
มนั่ ในสงั ขารธรรม ธรรมอนั มเี หตุปัจจยั ปรุงแต่ง วา่ โดยย่อก็คือ ขนั ธ์ 5 นนั่ เอง

มาถึงตรงน้ีเพ่ือให้เห็นอย่างชัดเจนยิ่งข้ึน ถึงความสัมพนั ธ์ขององค์ธรรม
และหมวดธรรม ท่ีสนบั สนุนเก้ือกูลกนั อย่างต่อเนื่อง อนั นาไปสู่การเขา้ ถึงความ
เป็นพระอริยบคุ คลน้นั มกี ลา่ วถงึ ใน พระไตรปิ ฎก เล่มท่ี 14 พระสุตตนั ตปิ ฎก เลม่
ที่ 6 มชั ฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ 8 อานาปานสติสูตร (118) ซ่ึงมีเน้ือหาดังต่อไปน้ี
คอื

[285] ดูกรภิกษุท้ังหลาย ย่อมมีภิกษุในภิกษุสงฆ์น้ี ผูเ้ ป็ นพระอรหันต
ขีณาสพ อยู่จบพรหมจรรยแ์ ลว้ ทากิจที่ควรทาเสร็จแลว้ ปลงภาระได้แลว้ บรรลุ
ประโยชนต์ นแลว้ โดยลาดบั ส้ินสัญโญชน์ในภพแลว้ พน้ วิเศษแลว้ เพราะรู้ชอบ แม้
ภกิ ษเุ ช่นน้ีในหมู่ภิกษนุ ้ี กม็ อี ยู่ ฯ

ดูกรภิกษุท้งั หลาย ย่อมมีภิกษุในภิกษุสงฆ์น้ี ผูเ้ ป็ นอุปปาติกะ เพราะสิ้น
สัญโญชน์ส่วนเบ้ืองต่าท้งั 5 จะไดป้ รินิพพานในโลกน้นั ๆ มอี นั ไมก่ ลบั มาจากโลก
น้นั อีกเป็นธรรมดา แมภ้ กิ ษเุ ชน่ น้ีในหมู่ภกิ ษุน้ี กม็ อี ยู่ ฯ

45

ดูกรภิกษุท้งั หลาย ย่อมมีภิกษุในภิกษุสงฆ์น้ี ผูเ้ ป็ นพระสกทาคามี เพราะ
สิ้นสัญโญชน์ 3 อย่าง และเพราะทาราคะ โทสะ โมหะให้เบาบาง มายงั โลกน้ีอีก
คร้ังเดยี วเท่าน้นั ก็จะทาท่ีสุดแห่งทกุ ขไ์ ด้ แมภ้ ิกษเุ ช่นน้ีในหม่ภู กิ ษุสงฆน์ ้ี ก็มีอยู่ ฯ

ดกู รภิกษุท้งั หลาย ยอ่ มมภี กิ ษใุ นภกิ ษุสงฆน์ ้ี ผูเ้ ป็นพระโสดาบนั เพราะสิ้น
สัญโญชน์ 3 อยา่ ง มอี นั ไม่ตกอบายเป็นธรรมดา แน่นอนทจ่ี ะไดต้ รัสรูใ้ นเบ้ืองหน้า
แมภ้ ิกษเุ ชน่ น้ีในหมูภ่ ิกษนุ ้ี ก็มอี ยู่ ฯ

ดูกรภิกษุท้งั หลาย ย่อมมีภิกษุในภิกษุสงฆน์ ้ี ท่ีเป็ นผูป้ ระกอบความเพียร
ในอนั เจริญสติปัฏฐาน 4 อยู่ แมภ้ ิกษเุ ชน่ น้ีในหม่ภู กิ ษุน้ี กม็ อี ยู่ ฯ

[286] ดูกรภิกษุท้งั หลาย ย่อมมีภิกษุในภกิ ษุสงฆ์น้ี ท่ีเป็ นผูป้ ระกอบความ
เพียรในอนั เจริญสมั มปั ปธาน 4 อยู่ แมภ้ กิ ษเุ ชน่ น้ีในหม่ภู กิ ษุน้ี กม็ อี ยู่ ฯ

ดกู รภิกษทุ ้งั หลาย ย่อมมีภิกษุในภกิ ษสุ งฆน์ ้ี ทเ่ี ป็นผปู้ ระกอบความเพยี รใน
อนั เจริญอทิ ธิบาท 4 อยู่ แมภ้ ิกษุเช่นน้ีในหมู่ภิกษนุ ้ี กม็ ีอยู่ ฯ

ดูกรภิกษุท้งั หลาย ย่อมมีภิกษใุ นภกิ ษุสงฆน์ ้ี ท่ีเป็นผปู้ ระกอบความเพียรใน
อนั เจริญอนิ ทรีย์ 5 อยู่ แมภ้ ิกษุเช่นน้ีในหมู่ภิกษนุ ้ี ก็มีอยู่ ฯ

ดกู รภิกษทุ ้งั หลาย ยอ่ มมีภกิ ษใุ นภกิ ษุสงฆน์ ้ี ที่เป็นผูป้ ระกอบความเพยี รใน
อนั เจริญพละ 5 อยู่ แมภ้ กิ ษเุ ชน่ น้ีในหมภู่ กิ ษนุ ้ี กม็ ีอยู่ ฯ

ดูกรภกิ ษุท้งั หลาย ยอ่ มมภี กิ ษุในภกิ ษุสงฆน์ ้ี ทเี่ ป็นผูป้ ระกอบความเพยี รใน
อนั เจริญโพชฌงค์ 7 อยู่ แมภ้ ิกษเุ ช่นน้ีในหมภู่ กิ ษุน้ี กม็ อี ยู่ ฯ

46

ดูกรภกิ ษทุ ้งั หลาย ยอ่ มมภี ิกษุในภกิ ษสุ งฆน์ ้ี ทเ่ี ป็นผูป้ ระกอบความเพียรใน
อนั เจริญมรรคมีองค์ 8 อนั ประเสริฐอยู่ แมภ้ กิ ษุเช่นน้ีในหมู่ภกิ ษุน้ี ก็มอี ยู่ ฯ…..

[287] ดกู รภกิ ษุท้งั หลาย ย่อมมภี กิ ษุในภกิ ษสุ งฆน์ ้ี ทเี่ ป็นผูป้ ระกอบความ
เพยี รในอนั เจริญอานาปานสตอิ ยู่ ฯ

ดูกรภิกษทุ ้งั หลาย อานาปานสติ อนั ภิกษเุ จริญแลว้ ทาใหม้ ากแลว้ ยอ่ มมผี ล
มาก มีอานิสงส์มาก ภิกษุที่เจริญอานาปานสติแลว้ ทาให้มากแลว้ ย่อมบาเพ็ญสติ
ปัฏฐาน 4 ให้บริบูรณ์ได้ ภิกษุที่เจริญสติปัฏฐาน 4 แลว้ ทาให้มากแลว้ ย่อมบาเพญ็
โพชฌงค์ 7 ใหบ้ ริบูรณไ์ ด้ ภิกษุที่เจริญโพชฌงค์ 7 แลว้ ทาให้มากแลว้ ย่อมบาเพ็ญ
วิชชาและวมิ ตุ ติให้บริบรู ณไ์ ด้ ฯ

ชีวิตท่ีเลอื กได้ หำกให้โอกำส

ทางเดินน้ีเป็ นทางเดนิ ของคนท่ีปรารถนาพฒั นาพลงั แห่งชีวติ พฒั นาพลงั
ปัญญา พลงั ศลี พลงั สมาธิ ซ่ึงโดยอตั ภาพของความเป็นมนุษยม์ ศี กั ยภาพทจ่ี ะศึกษา
ปฏิบตั ิไดอ้ ยแู่ ลว้ อยทู่ ี่วา่ จะมีความแน่วแน่มนั่ คงไม่หวน่ั ไหวตอ่ การท่จี ะปฏบิ ตั ิตาม
น้ีหรือไม่ และนี่แหละเป็ นชีวิตท่ีเลือกได้ ทุกคนเลือกได้ ชีวิตน้ีไม่ได้เป็ นไปตาม
พรหมลิขิต เพราะแมแ้ ต่พระพรหมกต็ อ้ งเวยี นวา่ ยตายเกิด ตามกฎแห่งกรรม โอกาส
ท่ีจะมาเป็ นเทพ พรหม โอกาสที่จะเป็นมนุษยอ์ ีกก็ยาก โดยส่วนใหญจ่ ะลงสู่ความ
เป็นเดรจั ฉาน เปรต อสุรกาย และสตั วน์ รก ดว้ ยเหตุที่ชีวติ น้ีเราตดั สินใจเลือกชะตา
กรรมดว้ ยตวั เราเอง เพราะฉะน้นั โอกาสจึงอยทู่ ี่ทกุ คน อยู่ที่ว่าผูใ้ ดจะมีปัญญาเลือก
ทางเดินไปในทิศทางทถี่ กู ตอ้ งไดห้ รือไม่ เพราะไดอ้ ตั ภาพของความเป็นมนุษยแ์ ลว้

47

เพียงแตว่ ่าจะใชโ้ อกาสน้ีไหม ซ่ึงในยคุ สมยั ปัจจุบนั นบั เป็นเงือ่ นไขโอกาสแวดลอ้ ม
ท่เี หมาะสมสนับสนุนเก้ือกูลโดยทย่ี งั อยู่ภายใตก้ ปั ที่มีสมเด็จพระสมั มาสัมพุทธเจา้
อบุ ตั ิข้ึน นน่ั หมายถงึ ว่ามหี ลกั ธรรมคาสอนของพระพุทธเจ้าอยู่ จึงนบั เป็นโอกาสท่ี
จะได้ยินไดฟ้ ัง ไดศ้ ึกษาเรียนรู้ แลว้ น้อมนามาสู่การฝึกฝนปฏิบตั ิตามหลกั ธรรมคา
สอนน้ัน ส่วนเม่ือปฏิบตั แิ ลว้ จะได้ผลมากนอ้ ยกอ็ ยทู่ ี่ความขยนั พากเพียรและความ
อดทนทจี่ ะพฒั นาสติ สัมปชัญญะ สมาธิ และปัญญา ในทิศทางแนวทางโพธิปักขยิ
ธรรม 37 ประการน้ี ประเดน็ จงึ อย่ทู วี่ า่ มีปัญญาเพียงพอท่จี ะเห็นโอกาส และเลือกใช้
โอกาสน้ีหรือไม่ ซ่ึงตรงจุดน้ีก็ข้ึนอยู่กับวาสนาบารมีอันเป็ นกรรมวิบากท่ีจะ
ผลกั ดนั ใหเ้ ป็นไป หมายความว่า อดตี เหตสุ ่งมาเป็นปัจจุบนั ผล ทาใหไ้ ดโ้ อกาส แต่
ปัจจุบนั เหตุคือ กรรมในปัจจุบนั ที่จะรู้จกั ใช้โอกาสท่ีได้รับอารมณ์คือโอกาสอนั
ส่งเสริมเก้อื กลู น้ีมาอบรมพฒั นาจติ ใหเ้ จริญงอกงามในธรรมหรือไม่ ก็เป็นเร่ืองของ
แตล่ ะปัจเจกบคุ คลทจี่ ะคดิ พจิ ารณาเลอื กทางเดนิ ชีวติ ของตนเอง

โดยภาพรวมของสังคมไทยค่อนขา้ งที่จะเปิ ดโอกาสแห่งการเรียนรู้ใน
ท่ามกลางความหลากหลายของวิถีวฒั นธรรม โดยเฉพาะเรื่องความเชื่อในศาสนา
ในลทั ธิต่าง ๆ แต่ตอ้ งอยู่บนเงื่อนไขท่ีว่า ไม่ให้ร้ายทาร้ายเบียดเบียนสังคม และ
เบียดเบียนซ่ึงกันและกนั จึงเห็นได้ว่าเป็ นสิ่งแวดลอ้ มท่ีดีท่ีเปิ ดโอกาสให้คนใน
สังคมได้เลือกที่จะศรัทธาในสิ่งที่ตนเห็นว่าเหมาะสมกบั แนวคิดแนวทางของตน
การไดอ้ ยู่ในประเทศท่ีเปิ ดโอกาสอย่างน้ีก็ถือเป็นอานิสงสผ์ ลบุญอยา่ งหน่ึงซ่ึงเป็ น
หน่ึงในมงคล 38 ประการท่ีว่า การอยู่ในถิ่นอนั สมควร เป็ นที่ที่ให้โอกาสแห่งการ
เรียนรู้เพ่ือความเจริญกา้ วหน้าในการดาเนินชีวิต แต่ถึงกระน้ันก็ตามโลกและชีวิต

48

ตามความเป็ นจริง ซ่ึงเป็ นสังขารธรรมมีเหตุปัจจยั ปรุงแต่งล้วนอยู่ภายใต้สามญั
ลกั ษณะคือ อนิจจัง ทุกขงั อนัตตา ย่อมมีสภาพท่ีแปรเปล่ียนปรวนแปรไปใน
ทา่ มกลางความเป็นไปของโลกและชีวติ ทกุ คนเกิดมาแลว้ ไมแ่ ก่ ไม่เจ็บ ไม่ตาย ไม่
มี และในท่ามกลางก็ย่อมประสบกบั ความมีลาภ เส่ือมลาภ ความมียศ เส่ือมยศ
ความสรรเสริญ นินทา และความสุข ความทุกข์ ซ่ึงก็คอื โลกธรรมท้งั 8 นนั่ เอง นน่ั
ย่อมหมายความวา่ ทุกท่านลว้ นอยภู่ ายใตแ้ รงบีบค้นั และผลกั ดนั ของเหตุปัจจยั ตา่ ง
ๆท้ังภายนอกและภายในตลอดเวลา และถ้าหากมีสติปัญญาในระดับหน่ึง
แรงผลักดันตรงน้ีก็จะเป็ นพลงั ขับเคลื่อนให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ไปสู่ความ
เจริญก้าวหนา้ ในทางสติปัญญายิ่ง ๆข้ึน ด้วยทุกชีวิตลว้ นปรารถนาหลกั ประกนั ใน
ชีวิต ซ่ึงอย่างน้อยให้ทรงตวั อยู่ได้ไม่ตกต่าไปกว่าท่ีเป็ นอยู่ และหาทางให้ชีวิต
เจริญกา้ วหนา้ มากกวา่ น้ี ดว้ ยเหตุน้ีจึงตอ้ งการหลกั คิด ซ่ึงหลกั คดิ กต็ อ้ งมาจากหลกั
วิชา นามาซ่ึงปัญญาในเบ้ืองตน้ ท่ีเรียกว่า สุตตามยปัญญา เป็ นปัญญาท่ีได้จาก
การศึกษาเลา่ เรียน การไดย้ นิ ไดฟ้ ัง ไดอ้ ่านไดเ้ หน็ แลว้ มาประมวลเพ่ือคิดวเิ คราะห์
พิจารณาไตร่ตรอง กระบวนการน้ีนามาซ่ึงปัญญาในระดบั ที่เรียกว่า จนิ ตามยปัญญา
และโดยส่วนใหญ่กน็ าปัญญาในระดบั น้ีไปช้ีนาการใช้ชีวิต ไปใชใ้ นการประกอบ
อาชีพการงาน ไปใช้ชีวิตที่เกี่ยวขอ้ งกบั ผูค้ น เหตุการณ์ต่าง ๆ และแมแ้ ต่เมื่อเผชิญ
กบั วิกฤติของชีวติ ประเด็นจงึ อยทู่ ีว่ ่า ไดห้ ลกั วชิ าทีถ่ ูกตอ้ งหรือไม่ หากไดห้ ลกั วิชา
ท่ีไม่ถูกตอ้ ง หลกั คิดก็ไม่ถูกตอ้ ง หลกั ปฏิบตั ิก็ไม่ถูกตอ้ ง ซ่ึงแทนที่จะนาชีวติ ไปสู่
ทางเจริญกา้ วหนา้ แตก่ ลบั นาไปสู่ทางเสื่อม

49

กลั ยำณมติ รเป็ นหนงึ่ ในโสตำปัตติยงั คะ

ซ่ึงเรื่องน้ีพอจะยกตวั อย่างในประวตั ิของท่านพระองคุลีมาลเถระเป็ น
กรณีศึกษาได้ ตามประวตั เิ ดมิ ท่านช่ือ “อหิงสกะ” เมีความสามารถในการเรียนรู้ได้
อย่างรวดเร็ว จนศิษยร์ ่วมสานกั เกดิ ความอิจฉาริษยา และไปยยุ งอาจารยใ์ ห้เกิดความ
ระแวง จนถึงข้นั คิดกาจดั เสีย จึงออกอุบายว่า หากตอ้ งการสาเร็จวชิ า ก็ตอ้ งฆ่าคน
ให้ได้ 1,000 คนเสียก่อน อหิงสกะไม่เฉลียวใจจึงทาตามในส่ิงที่อาจารยบ์ อก ก็ไล่
ตามฆ่าคนและตดั นิ้วหัวแม่มือมาคลอ้ งคอเพื่อให้จาได้ว่า ฆ่าคนไปจานวนเท่าไร
แลว้ ดว้ ยเหตุน้ีจึงไดส้ มญานามว่า “องคุลมี าล” ซ่ึงแปลวา่ ผูม้ นี ิ้วมือเป็นมาลยั ทา่ น
ฆ่าคนมาได้ 999 คนแลว้ เหลือเพียงอีก 1 คนก็จะครบ 1,000 คนตามที่อาจารยบ์ อก
และคนท่ี 1,000 น้ันก็คือ มารดาของทา่ นเอง องค์สมเดจ็ พระสัมมาสัมพทุ ธเจา้ ทรง
ทราบดว้ ยพระญาณวา่ องคุลีมาล มศี กั ยภาพที่จกั บรรลธุ รรมเป็นพระอรหันตไ์ ด้ แต่
หากปล่อยให้องคุลีมาลฆ่ามารดาของท่านแลว้ ไซร้ จกั เป็ นเหตุให้ไม่อาจบรรลุ
ธรรมไดใ้ นชาตนิ ้ี พระพุทธองคจ์ งึ เสด็จมาโปรด จนในท่สี ุดท่านองคุลีมาลก็บรรลุ
ธรรมเป็ นพระอรหันต์ ซ่ึงน่ีก็เป็ นตวั อย่างท่ีดีท่ีจักแสดงให้เห็นถึงหลักธรรมใน
มงคล 38 ประการท่ีว่า การไม่คบคนพาล ให้คบบณั ฑิต และในหลกั ธรรมท่ีว่า โส
ตาปัตตยิ งั คะ 4 อนั เป็นองคค์ ุณเคร่ืองบรรลุพระโสดาบนั หรือคณุ สมบตั ทิ ่ที าให้เป็น
พระโสดาบนั และเมอ่ื เจริญการปฏิบตั ใิ หม้ าก ทาให้ต่อเนื่องกย็ อ่ มนาไปสู่การบรรลุ
อริยผลไปตามลาดบั จนถึงอรหัตตผล ซ่ึงขอ้ แรกคือ สัปปุริสสังเสวะ หมายถึงการ
คบหาท่านผทู้ รงธรรม ทรงปัญญาเป็นกลั ยาณมิตร

50

ในเร่ืองความเป็ นกัลยาณมิตรน้ีก็มีอีกหน่ึงตัวอย่างที่ดีคือ ความเป็ น
กัลยาณมิตรระหว่างท่านอุปติสสะกบั ท่านโกลิตะ ซ่ึงตามประวตั ิของท้งั สองท่าน
น้นั ก็คือ ท่านเป็ นมิตรสหายกนั มีฐานะ และเกิดในตระกูลที่ดี จึงมีโอกาสในการ
เสวยสุขสาราญไดม้ าก แตเ่ พราะความทีเ่ ป็นผมู้ ีสติปัญญาในระดบั หน่ึง จึงเกดิ ความ
เบือ่ หน่ายและปรารถนาที่จกั พน้ ทุกข์ จงึ คอยช่วยเหลือเก้ือกูลสนบั สนุนซ่ึงกันและ
กนั ในการแสวงหาหนทางพน้ ทุกขด์ ว้ ยการแสวงหาครูอาจารยท์ จ่ี ะคอยแนะนาสง่ั
สอนช้ีทิศบอกทางให้ถึงเป้าหมายสูงสุดท่ีตนปรารถนาน้นั ให้ได้ ในท่ีสุดท่านอุป
ติสสะ ก็บรรลุความเป็ นพระอรหันต์ในฐานะพระอคั รสาวกเบ้ืองขวา ผูเ้ ลิศดว้ ย
ปัญญา คือ พระสารีบุตรเถระนนั่ เอง ส่วนทา่ นโกลติ ะ กบ็ รรลคุ วามเป็นพระอรหนั ต์
ในฐานะพระอคั รสาวกเบ้อื งซ้าย ผเู้ ลศิ ดว้ ยฤทธ์ิ คอื พระโมคคลั ลานะเถระนน่ั เอง

51

จะเหน็ ไดว้ ่าเมอ่ื มีกลั ยาณมิตร ก็จะนาไปสู่สัทธมั มสั สวนะ คือการไดย้ นิ ได้
ฟังได้โอกาสแห่งการศึกษาเรียนรู้ เพื่อการให้ได้เข้าถึงธรรมท่ีแท้จริง โดยการ
โยนิโสมนสิการ คือ ทาในใจโดยแยบคาย เป็ นกระบวนการคดิ พจิ ารณาหาเหตุผล
อย่างเป็นระบบดว้ ยการช้ีนาทางปัญญาในเบ้อื งตน้ ในขณะเดยี วกนั ก็พฒั นาปัญญา
ให้ลึกซ้ึงย่ิงข้ึน แต่ก็ยงั อยู่ในระดับจินตามยปัญญา ในที่สุดก็กา้ วเขา้ สู่ขอ้ สุดท้าย
ของโสตาปัตติยงั คะ 4 ที่เรียกว่า ธัมมานุธัมมปฏิปัตติ คือ การน้อมนาปัญญาที่ได้
ศกึ ษาเรียนรู้น้นั ๆมาสู่การปฏิบตั ิธรรมอยา่ งถูกหลกั ช้ีนาการดาเนินชีวิตให้ถูกตอ้ ง
ตามธรรม ศีลคือการประพฤติถูกตอ้ งทางกายและวาจาก็เกิดข้ึนและพฒั นาข้ึน
ตามลาดบั การเก่ียวขอ้ งกบั ผอู้ ่ืนและสัตวอ์ น่ื ๆก็เกย่ี วขอ้ งไดอ้ ย่างเก้อื กลู โดยยืนบน
หลกั ที่ไม่ใหร้ า้ ย ไม่ทารา้ ย ไมเ่ บียดเบียนซ่ึงกนั และกนั แต่เปี่ ยมไปดว้ ยความเมตตา
กรุณา ความสงบเยน็ ทางใจก็มคี วามละเอียดมากข้นึ สมาธิตามธรรมชาติก็ปรากฏ
ยงั ความปี ติสุข อ่ิมเอิบเบิกบาน กายเบา จิตเบา ความสงบต้งั มน่ั ทางจิตกม็ มี ากข้ึน
พร้อมต่อการนาไปสู่วิปัสสนาปัญญาท่ีมองเห็นสังขตธรรมตามความเป็ นจริงใน
ลกั ษณะของพระไตรลกั ษณค์ อื อนิจจงั ทกุ ขงั อนตั ตา นาไปสู่ความเบอ่ื หน่าย คลาย
กาหนดั กา้ วสู่ความหลุดพน้ ถงึ บรมธรรมคอื พระนิพพานไดใ้ นท่สี ุด

ยำกท่จี ะมำศึกษำปฏบิ ัตธิ รรม

หากมองภาพกวา้ ง ๆตามความเป็นจริงแลว้ โดยกลไกของความเป็นไปของ
ชีวิตลว้ นต้องเผชิญกับความทุกข์ ความปรวนแปรไปในท่ามกลาง ท้ังความแก่
ความเจ็บ ความตาย ความไม่สมปรารถนา ความพลดั พรากจากส่ิงอันเป็ นท่ีรัก
ความไมส่ บายกายไม่สบายใจ ความหงุดหงดิ ขุ่นขอ้ งหมองใจ ความเครียดจากผคู้ น

52

จากเหตุการณ์เรื่องราวต่าง ๆ จนกระทัง่ ถึงข้ันวิกฤตของชีวิต ซ่ึงส่ิงเหล่าน้ีเป็ น
แรงผลกั ดนั ให้แสวงหาหนทางพน้ ไปจากความเป็นไปในความทกุ ขเ์ หล่าน้ี ไม่วา่ จะ
เชื่อหรือไม่เช่ือ ไม่ว่าจะเขา้ ใจหรือไม่เขา้ ใจ โดยกลไกในกระบวนการทางธรรม
แลว้ เป็นเช่นน้ี

แต่การท่ีจะมาศึกษาปฏิบตั ิธรรมน้นั ก็ไม่ง่ายเช่นกนั เพราะโดยส่วนใหญ่ที่
ขาดการพิจารณาโดยแยบคาย ก็มกั จะไปทางออ้ นวอนร้องขอ แลว้ ก็ทาแตเ่ พียงวตั ถุ
ธรรมภายนอก เช่น ไปหาหมอดู แลว้ ให้ไปทาโน่นไปทานี่ ไปหาทรงเจา้ แลว้ ให้ไป
ทาโน่นไปทานี่ ไปบนบานศาลกลา่ ว อยา่ งน้นั อยา่ งน้ี ก็พากนั ไป จะสาเร็จสมความ
ปรารถนาหรือไม่ ก็ไม่ทราบ แต่ก็ทาไปก่อน ดว้ ยวลีที่ว่า “ไม่เช่ือ อย่าลบหลู่” ซ่ึง
ประเด็นน้ีตอ้ งพิจารณาแยกแยะให้ชดั เจน หมายความว่า การกระทาใด ๆควรอยู่
ภายใตก้ ารช้ีนาของสัมมาทิฏฐิ ที่ว่า ทานท่ีให้แลว้ ย่อมมีผล การบูชาย่อมมีผล การ
เซ่นสรวงย่อมมีผล ผลวบิ ากแห่งกรรมที่ทาดีและกรรมที่ทาชวั่ มีอยู่ นนั่ หมายความ
ว่า การกระทาน้ัน ทาด้วยความรู้ ทาด้วยความเขา้ ใจ ยืนอยู่บนหลกั ของกฎแห่ง
กรรม มใิ ชท่ าไปดว้ ยความหลง หวงั พ่ึงพลงั จากส่ิงภายนอกเพยี งถา่ ยเดยี ว ทก่ี ลา่ วมา
น้ี มิไดห้ มายความวา่ พลงั ภายนอกไม่มี แตจ่ ดุ ยนื ทชี่ ดั เจนคอื ใหพ้ ่งึ พลงั จากภายใน
พลังบุญกุศลท่ีเกิดจากภายใน หากทาได้เช่นน้ี พลังภายนอกจะมาช่วยเสริม
สนบั สนุนหรือไม่ ก็ไม่หวนั่ ไหว แต่หากเราเขา้ ใจในหลกั กฎแห่งกรรมแลว้ กรรม
ใหม่ในปัจจุบนั หากมกี าลงั แรง ก็ยอ่ มเหมือนพลงั แมเ่ หล็ก ดงึ ส่ิงทีเ่ ป็นบุญกุศลเขา้
มาได้ สมดงั หลกั ธรรมที่ว่า จิตทฝี่ ึกมาดีแลว้ ย่อมนาสุขมาให้ การกระทาเช่นน้ีเป็ น

53

กาลงั แห่งศรัทธาอนั ประกอบดว้ ยปัญญา ย่อมมีผลมาก เพราะเป็ นหนทางที่ตวั เอง
เป็นทพี่ ่งึ แห่งตนไดจ้ ริงดว้ ยสติปัญญา ก็จะทาให้มพี ลงั จิตมากข้ึนตามลาดบั

พระสงฆ์สำวกของพระผ้มู พี ระภำคเจ้ำ

แนวคิดในเร่ืองที่พ่งึ ตรงน้ีคือ การที่ไดเ้ ห็นพระสงฆ์ผูป้ ฏิบตั ิดีปฏิบตั ิชอบ
แลว้ เขา้ หาท่าน กน็ บั เป็นกลั ยาณมติ ร มาถงึ ตรงน้ีพงึ ทาความเขา้ ใจกอ่ นวา่ คาว่า

“พระสงฆ์” ในช่วงแรก ๆของการเผยแผ่พระธรรมของพระพุทธเจ้าน้ัน
ลว้ นเป็นพระอริยสงฆ์ คือนบั จากพระโสดาบนั บุคคลเป็นตน้ ไปจนถงึ พระอรหันต์
ซ่ึงโดยเน้ือหาคือ คุณภาพของจิตท่ีเขา้ ถึงธรรมโดยการละสังโยชน์ คือ กิเลสท่ี
ผกู มดั ใจสัตวไ์ วก้ บั ทุกข์ 10 อยา่ ง ไดใ้ นระดบั ตา่ ง ๆ เช่น พระโสดาบนั ละสังโยชน์

54

3 อย่างแรกได้ คือ สักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา สีลพั พตปรามาส, พระสกิทาคามี ละ
สงั โยชน์ 3 อย่างแรกไดแ้ ลว้ และยงั ทาสังโยชน์ อีก 2 อย่าง คือ กามราคะ ปฏิฆะ ให้
เบาบางลงด้วย , พระอนาคามี ละสังโยชน์ 5 อย่างแรกขา้ งตน้ ได้หมด และพระ
อรหนั ต์ ละสังโยชนท์ ้งั 10 อย่างได้ คือ สักกายทฏิ ฐิ วิจิกจิ ฉา สีลพั พตปรามาส กาม
ราคะ ปฏิฆะ รูปราคะ อรูปราคะ มานะ อุทธจั จะ อวิชชา ซ่ึง “สกั กายทฏิ ฐิ วิจิกจิ ฉา
สีลพั พตปรามาส กามราคะ ปฏิฆะ” อยู่ในกลุ่มที่ช่ือว่า โอรัมภาคิยสังโยชน์ คือ
สงั โยชนเ์ บ้ืองตา่ ส่วน “รูปราคะ อรูปราคะ มานะ อุทธจั จะ อวชิ ชา” อยู่ในกลุ่มทีช่ ื่อ
ว่า อุทธมั ภาคยิ สงั โยชน์ คือ สงั โยชน์เบ้ืองสูง ดว้ ยเหตนุ ้ีตามบทสวดในสังฆคุณน้นั
จงึ หมายถึง พระอริยสงฆ์ ซ่ึงอาจเป็นคฤหัสถห์ รือบรรพชิต ก็ไดน้ น่ั เอง

เม่ือกาลเวลาผา่ นมา มีผูส้ นใจเขา้ มาบวชเป็นพระภกิ ษุสงฆม์ ากข้นึ โดยท่ียงั
มิได้มีความรู้ความเขา้ ใจในหลักธรรมคาสอนมากนัก แต่เข้ามาอยู่ในรูปแบบ
พระภิกษสุ งฆ์ ดว้ ยเหตุน้ีจงึ มีชื่อเรียกวา่ “สมมติสงฆ”์ แต่ไม่ว่าจะเป็นพระอริยสงฆ์
หรือ สมมติสงฆ์ ที่ยอมรบั และปฏบิ ตั ิตามพระธรรมวนิ ัย กย็ อ่ มทาให้เกดิ โอกาสใน
การได้ยินไดฟ้ ังหลกั ธรรมคาสอน แลว้ ก็นอ้ มนาหลกั ธรรมคาสอนมาสู่การปฏิบตั ิ
ดว้ ยการละชว่ั ทาดี จนมาถึงการฝึกฝนปฏิบตั ิจิตตภาวนาเพ่ือยงั จิตให้บริสุทธ์ิ ให้มี
ความสงบ ต้งั มนั่ มีปี ติสุขเป็นอาหารหล่อเล้ียงจิตใหม้ พี ลงั แลว้ ใชจ้ ิตท่มี คี ุณสมบตั ิ
น้ีไปคิดพจิ ารณาปัญหาอย่างรอบคอบ รอบด้าน ดว้ ยสติปัญญา น้ีคือผลอนั เกิดจาก
การท่ีไดพ้ บกลั ยาณมิตร คือพระสงฆ์ แลว้ พระสงฆก์ ็ให้หลกั ธรรมคาสอน ทาให้มี
ความรู้ความเขา้ ใจมากข้ึนตามลาดบั ในท่ามกลางการฝึกฝนปฏิบตั นิ ้นั ๆ จนประสบ
ความสาเร็จในระดบั หน่ึงคือ จิตรู้ จิตตื่น จิตเบิกบาน น่ีคือจุดเริ่มตน้ แห่งกระแส

55

ธารแห่งความเป็ นพุทธะ ไดเ้ กิดข้ึน ไดพ้ ฒั นาข้ึนแลว้ เป็นกระบวนการของอริยสัจ
4 ความจริงอนั ประเสริฐ ความจริงที่ทาให้ผูเ้ ขา้ ถึงกลายเป็ นอริยะ ดว้ ยเห็นทุกขท์ ี่
เกิดข้ึนแลว้ กส็ าวหาเหตุแห่งทกุ ขน์ ้นั เพ่ือทาการลดละเลิกเสีย โดยมงุ่ สู่ผลท่ีตอ้ งการ
เขา้ ถึงคือ ความสงบสุขสนั ติ ดว้ ยการพฒั นาจิตไปตามแนวทางอริยมรรคอนั มอี งค์ 8
วา่ โดยย่อคอื ศลี สมาธิ ปัญญา ดว้ ยการปฏบิ ตั ธิ รรมท้งั สมถและวิปัสสนากรรมฐาน
โดยเร่ิมตน้ จากการฝึกฝนพฒั นาสติ สมั ปชญั ญะ ดว้ ยความเพยี รในอารมณท์ ้งั 4 คอื
กาย เวทนา จติ และธรรม ซ่ึงเป็นธรรมท่เี รียกวา่ สติปัฏฐาน 4 และหน่ึงในการเจริญ
สติท่ามกลางอารมณ์ทางกาย และอารมณ์ท่ีเก่ียวเน่ืองกับกายที่เรียกว่า กายสังขาร
คอื ลมหายใจเขา้ และออก ทรี่ ูจ้ กั คนุ้ เคยกนั ก็คอื อานาปานสติ เป็นการพฒั นาจติ ดว้ ย
การเจริญสตใิ ห้ระลึกรูอ้ ยู่ทล่ี มหายใจเขา้ และออกอยา่ งต่อเน่ืองนนั่ เอง

จากการเร่ิมเห็นพระสงฆก์ ่อน แลว้ เขา้ ถึงพระธรรมด้วยการปฏิบตั ิ ทาให้
เขา้ ใจอยา่ งแจ่มแจง้ ในความเป็นพระพุทธเจา้ โดยจากประวตั ิท่ีเจา้ ชายสิทธตั ถะทรง
นงั่ ขดั สมาธิบลั ลงั ก์ใตต้ น้ พระศรีมหาโพธ์ิ จนตรสั รู้พระอนุตตรสัมมาสมั โพธิญาณ
แลว้ ก็ทรงเผยแผ่หลกั ธรรมโดยเริ่มตน้ จากปัญจวคั คยี ท์ ่ีเขา้ ถึงธรรมบรรลคุ วามเป็ น
พระอริยสงฆ์ และก็เป็ นการยืนยนั ว่า ธรรมท่ีพระพุทธองค์ทรงเขา้ ถึงและนามา
แสดงน้ัน สามารถยงั จิตของปุถุชนให้เขา้ ถึงความเป็นพระอริยบคุ คลหรือพระอริย
สงฆ์ได้ และในที่สุดก็เกิดพุทธบริษทั ท้งั 4 คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก และอุบาสิกา
ตอ่ มาตามลาดบั

และนี่เองเป็ นท่ีมาของการท่ีมีพระรัตนตรัยเป็ นท่ีพ่ึง เป็ นท่ียึดถือ ได้ให้
หลกั วิชา จงึ มีหลกั คดิ อนั นาไปสู่หลกั การ ถา้ ไมม่ ีตรงน้ี ไมม่ ีหลกั คิด ไมม่ หี ลกั การ

56

ทางธรรมเช่นน้ี การคิด การกระทาทางกาย วาจาและใจ ก็มกั จะไปทางใจรอ้ น วูว่ าม
ทาอะไรไปโดยท่ีไม่คานึงถึงความถูกผิดดีชวั่ ไม่มีความละอายและความเกรงกลวั
ต่อบาป ไม่รู้เร่ืองกรรม เรื่องวิบาก ชีวิตก็สะเปะสะปะไปตามอกุศลจิต เกิดผลคือ
ความเดอื ดร้อน ทกุ ขก์ ายทุกขใ์ จไม่สิ้นสุด หากมหี ลกั คดิ หลกั การเป็นเคร่ืองกางก้นั
ด้วยมีหลกั อนั เป็ นที่พ่ึง คือมี พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ เป็ นท่ีพ่ึงดังท่ีกล่าว
มาแลว้ คือมีหลกั ประจาใจเป็ นเครื่องกางก้ัน โอกาสที่จะไปทางหลงผิดก็ยากข้ึน
ดว้ ยเหตุท่ีอย่างนอ้ ยไดเ้ ห็นหนทางทถ่ี ูกตอ้ งแลว้ เป็นขอ้ เปรียบเทยี บ เหน็ เหตเุ หน็ ผล
ซ่ึงก็คือ เห็นความเป็ นกฎแห่งกรรม ท่ีว่า “ธรรมท้ังหลายมีใจเป็ นหัวหน้า มีใจ
ประเสริฐที่สุด สาเร็จแลว้ ดว้ ยใจ ถา้ บุคคลมีใจอนั เป็นโทษประทษุ ร้ายแลว้ กล่าวอยู่
ก็ตาม ทาอยู่ก็ตาม ทุกข์ย่อมไปตามบุคคลน้ันเพราะทุจริต 3 อย่างน้ัน เหมือนลอ้
เกวียนหมุนไปตามรอยเทา้ โคผลู้ ากเกวียนอยู่ ฉะน้นั ธรรมท้งั หลายมีใจเป็นหัวหนา้
มีใจประเสริฐท่ีสุด สาเร็จแลว้ ด้วยใจ ถา้ บุคคลมีใจผ่องใส กล่าวอยู่ก็ตาม ทาอยู่ก็
ตาม สุขย่อมไปตามบคุ คลน้นั เพราะสุจริต 3 อย่าง เหมือนเงามีปรกตไิ ปตาม ฉะน้นั ”

ที่พ่ึงดังท่ีกล่าวมาน้ี เป็ นท่ีพ่ึงในแนวทางปัญญานัน่ เอง คือให้เห็นแผนท่ี
เห็นแนวทาง เห็นทิศทางเห็นเป้าหมาย ช่วยช้ีนาทางแนวทางการปฏิบตั ิ และเม่ือ
ปฏิบตั ไิ ดผ้ ลในระดบั หน่ึง กเ็ ร่ิมมคี วามเช่ือมน่ั ในการเป็นทีพ่ ่งึ แก่ตนเองได้ ดว้ ยการ
ปฏบิ ตั ิไดส้ มาธิระดบั หน่ึง ไดค้ วามสงบ ต้งั มน่ั ปี ติ สุข เกิดความกระจา่ งใส แจง้ ชดั
ในชีวิตมากข้ึน มีปัญญา มีความรู้ มีความเขา้ ใจมากข้ึน ทาให้มีความศรัทธามาก
ยิ่งข้ึน มีความเพียรมากข้ึนในการพัฒนาสติให้เจริญยิ่ง ๆข้ึน สมาธิและปัญญาก็
พัฒนาอย่างต่อเน่ือง หลักธรรมตรงน้ีคือ อินทรีย์ 5 พละ 5 นั่นเองเป็ นธรรมท่ี

57

คมุ้ ครองตน เป็นวหิ ารธรรม มธี รรมเป็นเคร่ืองอยู่ มธี รรมเป็นทีพ่ กั อิงอาศยั ในระดบั
จิตระดบั ธรรมท่ีสมควรแกธ่ รรมน้นั ๆที่ปฏิบตั ิถึง นั่นหมายความว่า มีตนเป็นท่พี ่งึ
แลว้ ถือเป็นความสาเร็จในระดบั หน่ึงแลว้ ซ่ึงเป็นความสาเร็จทไ่ี ม่ไดม้ าง่ายๆ ตอ้ งมี
สัมมาทิฏฐิเป็ นเบ้ืองตน้ ฝึ กฝนปฏิบตั ิในท่ามกลาง พฒั นาสติ สัมปชัญญะ สมาธิ
และปัญญาให้เกิดมรรคสมงั คีในศีล สมาธิ และปัญญา จึงจะบรรลุถึงท่ีสุดแห่ง
เป้าหมายสูงสุดทางพระพุทธศาสนาได้ คอื บรมธรรม บรมสุข พระนิพพานนน่ั เอง

ศึกษำเป็ น ปฏบิ ตั ิได้ จำกหนง่ึ องค์ธรรม สู่สภำวธรรม

จากหน่ึงองค์ธรรมในท่ามกลางการทาหนา้ ท่ีบนความหลากหลายของ
หมวดธรรมในระดบั ต่าง ๆ ดงั ตวั อยา่ งในการพิจารณาดงั ต่อไปน้ีเชน่ สติคือ ธรรม
อนั มีอุปการะมาก เป็ นธรรมที่โน้มนากุศลธรรมท้งั หลายให้มารวมกันในการทา
หนา้ ท่ี เชน่ สติในสติปัฏฐาน 4 สตใิ นอินทรีย์ 5 สตใิ นพละ 5 สตใิ นโพชฌงค์ 7 และ
สติในอริยมรรคอนั มีองค์ 8 เป็ นตน้ หรืออีกตวั อย่างหน่ึง คือ สมาธิในอินทรีย์ 5
สมาธิในพละ 5 สมาธิในโพชฌงค์ 7 และสมาธิในอริยมรรคอนั มอี งค์ 8 เป็นตน้ เป็น
กระบวนการสั่งสมพฒั นาจากปริมาณไปสู่คุณภาพ จากคุณภาพหน่ึงสู่อีกคุณภาพ
หน่ึง และเมื่อมาถึงระดบั อริยมรรคอนั มีองค์ 8 แลว้ แต่ละองคธ์ รรมในอริยมรรค
อนั มีองค์ 8 ซ่ึงมีกาลงั ในการทาหนา้ ท่ที ก่ี ลมกลนื ในสัดส่วนท่ีเหมาะสม จนประชุม
รวมกนั เป็ นหน่ึงทีเ่ รียกว่า มรรคสมงั คี จึงเป็ นพลงั ที่มีอานาจเพยี งพอทจ่ี กั ตดั ความ
ยึดมน่ั ถือมัน่ ในรูปและนามไดอ้ ย่างถอนรากถอนโคน ยงั ชีวิตให้เป็ นอิสระจาก
พนั ธนาการท้งั ปวง พร้อมดว้ ยความบริสุทธ์ิทางจิตปราศจากกิเลสตณั หาใดๆอีก
ตอ่ ไป ท้งั น้ีก็ดว้ ยพลงั แห่งสติ สัมปชญั ญะ สมาธิ และปัญญานนั่ เอง

58

ในอีกแง่มุมหน่ึงของการกล่าวถึงหลกั วิชา มิได้หมายความว่า จะตอ้ งไปรู้
ความรู้ในทุก ๆดา้ นท่ีถูกรวบรวมมาด้วยการจดั ระเบียบหมวดหมู่อย่างเป็ นระบบ
มาเป็ นหลักธรรมคาสอนในพระไตรปิ ฎก เพราะน่ันเป็ นเรื่องของวิชาการทาง
พระพุทธศาสนา ท่ีมีประวตั ิศาสตร์ในความเป็ นไปของเหตุการณ์เรื่องราว เน้ือหา
รูปแบบ บุคคล สถานที่ ที่เกี่ยวขอ้ งกับสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจา้ พร้อมด้วย
หลกั ธรรมคาสอนท่ีชื่อว่า “ธรรมวินยั ” ในช่วงแรก และต่อมาจนถึงปัจจุบนั ชื่อวา่
“พระไตรปิ ฎก” นบั เป็ นเรื่องที่ดี ท่ียืนยนั ถึงการอุบตั ิข้ึนของสมเด็จพระสัมมาสัม
พทุ ธเจา้ พร้อมดว้ ยพระธรรม และพระสงฆ์ วา่ เป็นเร่ืองจริง มที ีม่ าทไี่ ป มีหลกั ฐาน
อา้ งองิ อยา่ งเป็นวิทยาศาสตร์ มใิ ช่เร่ืองทีค่ ิดเอาเองแลว้ บอกตอ่ ๆกนั มาดว้ ยความเชื่อ
เท่าน้นั

เหตุที่หลักธรรมคาสอนมีถึง 84,000 พระธรรมขนั ธ์ ก็เน่ืองด้วยความ
หลากหลายของกิเลส ตณั หา อุปาทาน ท่ีมีอยู่และสะทอ้ นแสดงออกมาในบคุ คลที่
หลากหลายนน่ั เอง พระพุทธองค์จึงทรงแสดงหลกั ธรรมคาสอนให้สอดคลอ้ งกบั
จริตนิสัย วาสนา และความยึดมน่ั ถือมน่ั ในส่ิงน้นั ๆของบุคคลน้ัน ๆให้มีความรู้
ความเขา้ ใจ ยอมรบั ตามความเป็นจริงในความเป็นไปของรูปและนาม จนเกดิ ความ
เบื่อหน่าย คลายกาหนัด ละวาง หลุดพน้ เขา้ ถึงซ่ึงพระนิพพาน จึงเป็ นเรื่องเฉพาะ
ตนของบุคคลน้นั ๆ และเม่ือถูกรวบรวมมาตลอดการแสดงธรรมเป็ นเวลานานถงึ
45 ปี จึงมจี านวนหลกั ธรรมคาสอนทีม่ ากนนั่ เอง

ในแง่ของการปฏิบตั ิ คือ การรู้จกั เลือกเฟ้นธรรมให้สอดคลอ้ งกบั ความ
เป็ นไปของตนเอง อุปมาอุปไมยดงั่ การเลือกใช้ยารักษาให้ตรงกบั โรคที่เป็น แต่ไม่

59

วา่ จะอยา่ งไร กม็ ีหลกั พ้นื ฐานทวั่ ไปในเชิงของการปฏิบตั ิในชีวิตประจาวนั โดยเร่ิม
จากการที่มีความเพียรในการเจริญสติ กาหนดรู้ในปัจจุบันอารมณ์ เป็ นอารมณ์
ภายใน ซ่ึงในทนี่ ้ีจะขอยกตวั อย่างโดยใชว้ ิธีการปฏบิ ตั ิอานาปานสติ คอื มีสตกิ าหนด
รู้ลมหายใจเขา้ และออก ณ จุดท่ีปลายจมกู ลมเขา้ ก็รู้ ลมออกก็รู้ ที่ปลายจมูก โดยที่
ไม่ตอ้ งตามลมเขา้ และออก เพียงความรู้สึกรู้ ณ จุดที่ปลายจมูกเทา่ น้นั มาถึงตรงน้ี
บางท่านอาจจะใช้คาบริกรรมเขา้ มากากบั พร้อมกับลมหายใจเขา้ และออก เช่น
ในขณะทหี่ ายใจเขา้ กน็ ึกคาว่า “พุท” หายใจออกก็นึกคาว่า “โธ” ในช่วงตน้ ของการ
ฝึกปฏิบตั ิ และเมอ่ื การปฏบิ ตั มิ ีความกา้ วหนา้ พฒั นาดขี ้ึน จติ จะละทง้ิ คาบริกรรมเอง
โดยอตั โนมตั ิ จิตทาหนา้ ที่พฒั นาสติให้ระลึกรู้อารมณ์คือ ลมหายใจเขา้ และออก
พร้อมท้งั ปรับวางจิตโดย ไม่มีความยินดี ยินร้าย ไม่มีตวั เรา ไม่มีของเรา เพียง
ความรู้สึกรู้เท่าน้ัน ปล่อยให้เป็ นไปอย่างธรรมชาติ ธรรมดา มีความเพียรฝึ กฝน
เรียนรู้ท่ีจะทาเช่นน้ีอย่างต่อเนื่อง หากทาไดจ้ นเกิดความชานาญในระดับหน่ึง จาก
เหตุคือมีสติอย่างต่อเน่ือง ก็จะปรากฏเป็ นผลคือ สมาธิ ตรงน้ีเรียกว่า เอกคั คตา มี
อารมณ์เป็ นหน่ึง มีความสงบ ต้งั มนั่ ผ่องใส อิ่มเอิบเบิกบาน ปราศจากนิวรณใ์ ด ๆ
สมาธิจิตน้ีจึงมีความพร้อมต่อการนาไปทาหน้าที่ทางปัญญาในลาดับต่อไป และ
เป็ นวิหารธรรม คือ ธรรมเป็ นเคร่ืองอยู่ ที่พกั อาศยั ได้ เพ่ือความสงบ ปี ติสุข พร้อม
ด้วยพลังท่ีมีประสิทธิภาพ ซ่ึงสามารถนาไปใช้ในการทาหนา้ ท่ีต่าง ๆได้อย่างมี
ประสิทธิผลนนั่ เอง

มาถึงตรงน้ีเรียกวา่ รู้เพ่ือเขา้ ใจ เขา้ ใจเพ่ือปฏิบตั ิ ปฏิบตั ิเพ่ือละวาง ละวาง
เพือ่ เขา้ ถึง เขา้ ถึงเพ่ือประจกั ษแ์ จง้ แทงตลอดในพระสทั ธรรม จงึ ชื่อว่า ศึกษาเป็น ใช้

60

เป็น อย่างตรงเป้าเขา้ จดุ นนั่ คอื ศกึ ษาเพ่ือนามาสู่การปฏิบตั ิ การปฏิบตั กิ ็เพ่อื นาไปสู่
ผลที่พึงประสงค์แห่งการพฒั นาจิตท้งั ทางด้านสมถภาวนา (การฝึ กสมาธิ) และ
วปิ ัสสนาภาวนา (การฝึกอบรมปัญญาใหเ้ กิดความรู้แจง้ ตามความเป็นจริง) จากการ
ฝึ กฝนพฒั นาสติในอารมณ์ภายในจนมาได้ผลในระดบั ที่ว่าน้ีแลว้ ก็สามารถใช้จิต
ให้ทาหนา้ ท่ีพฒั นาสติในท่ามกลางการรับรูอ้ ารมณ์ภายนอกตา่ ง ๆท่ีผ่านเขา้ มาทาง
ตา หู จมูก ล้ิน กาย และใจ ท่ีเกิดข้ึนอย่างต่อเนื่องได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ ด้วยการ
ทาหน้าท่ีเกี่ยวข้องกับบุคคล เหตุการณ์เร่ืองราวต่าง ๆในชีวิตประจาวนั ได้อย่าง
ถูกตอ้ งเหมาะสม พร้อมท้งั มสี ติระลกึ รู้ความเคลอ่ื นไหวในอิริยาบถต่าง ๆ ไม่วา่ จะ
ยืน เดนิ นง่ั นอน และคูเ้ หยียดในท่วงท่าทาง ท่ามกลางการทาหนา้ ท่นี ้นั ๆอย่างเป็ น
ธรรมชาติ และเกิดกระบวนการพัฒนาสติ สมาธิ สัมปชัญญะ และปัญญา ใน
ท่ามกลางการทาหนา้ ท่ีของจิตนนั่ เอง หากกล่าวอย่างเป็ นรูปธรรมก็คือ ในยามค่า
คืน ซ่ึงเป็ นเวลาพักผ่อนส่วนตัว ก็ฝึ กฝนพัฒนาจิตให้เข้าถึงความสงบ ต้ังมั่น
เสริมสร้างพฒั นาพลงั ทางสมาธิ พลงั ทางปัญญา และในยามกลางวนั ก็ใช้พลงั ทาง
สมาธิ พลงั ทางปัญญา ใหท้ าหนา้ ที่อยา่ งมสี ติเกย่ี วขอ้ งกบั บุคคล เหตกุ ารณ์เร่ืองราว
ตา่ ง ๆ ให้มีความเพยี รทาเชน่ น้ีอยา่ งสม่าเสมอและต่อเน่ือง จนเกดิ เป็นความคนุ้ เคย
เคยชินอย่างเป็นธรรมชาติ ความเป็นปกตทิ างจติ ทางกายและวาจากจ็ ะเกดิ ข้นึ นนั่ ก็
คือ การมีศีลโดยธรรมชาตแิ ลว้ ซ่ึงก็เป็ นผลมาจากคณุ ภาพทด่ี ีของภูมจิ ิต ภูมิธรรม
ภูมิปัญญา น่นั เอง จากน้ีก็ตอ้ งเพียรรักษาคุณธรรมที่มีอยู่น้ี พร้อมท้งั เพียรในการ
พฒั นาต่อยอดคุณธรรมให้ยิ่งๆข้นึ นี่คือแนวทางการปฏิบตั ิ ให้เห็นภาพกวา้ งๆโดย
ย่อ ซ่ึงสามารถนาไปใชป้ ฏบิ ตั ิในชีวิตประจาวนั ได้

61

บทสรุป

เน้ือหาท่ีกล่าวมาท้งั หมดน้ี เป็ นเพียงกระแสธารธรรมในท่ามกลางความ
เป็นไปของชีวิตและโลก ท่ีแสดงใหเ้ ห็นทศิ ทาง แนวทางการศึกษาปฏิบตั ธิ รรม โดย
ย่อพอเป็ นสังเขป อนั เป็ นไปเพ่ือความสุขในทุกมิติของชีวิตในปัจจุบนั ที่เราท่าน
ท้งั หลายสามารถเลือกได้ โดยการให้โอกาสแกต่ นเอง ดว้ ยการพฒั นาสตปิ ัญญาให้
รูเ้ ท่าทนั ตามความเป็นจริงในความเป็นไปของชีวิตและโลก ซ่ึงเร่ิมตน้ จากหลกั วิชา
คือพทุ ธศาสตร์ พทุ ธธรรม เป็นการติดอาวธุ ทางความคดิ ดว้ ยปัญญาในเบ้อื งตน้ อนั
นาไปสู่หลกั คิดมุมมองในการท่ีจะเรียนรู้โลก เขา้ ใจโลก เรียนรู้ชีวิต เขา้ ใจชีวิต มี
หลกั การในการดาเนินชีวิต ไม่สะเปะสะปะ หลงมวั เมาไปตามกระแส แลว้ ก็มาสู่
จดุ ยืนทีส่ ามารถพ่งึ ตนเองได้ ดว้ ยเหตทุ มี่ ธี รรมเป็นที่พ่งึ นนั่ เอง

จะเหน็ วา่ หลกั ธรรมคาสอนของพระพุทธเจา้ น้นั เป็นสจั ธรรม คือความจริง
ท่ีไม่แปรเปล่ียนไปตามความเช่ือ ท่านจะเช่ือหรือไม่เชื่อ ความจริงเป็ นอย่างไร ก็
ยงั คงเป็นความจริงอยูอ่ ยา่ งน้นั ส่ิงทเี่ ราเช่ือ อาจจะไมจ่ ริง สิ่งท่เี ป็นจริง เราอาจจะไม่
เช่ือ หน้าท่ีของเราก็คอื ตอ้ งพฒั นาจากความเช่ือให้เขา้ ถึงความจริง และเม่ือเขา้ ถึง
ความจริง ก็จะมชี ีวิตอยู่โดยทไี่ มข่ ้ึนกบั ความเช่ือ แต่เป็นชีวติ ที่อยู่ดว้ ยปัญญา อสิ ระ
บริสุทธ์ิ นน่ั เอง

มีความรอบด้าน และชัดเจน ท้งั ในลกั ษณะทว่ั ไป และลกั ษณะเฉพาะ มี
ความเป็ นลาดับข้นั ตอนอยา่ งเป็ นระบบโดยกระบวนการที่แสดงให้เห็นดว้ ยความ
งดงามในเบ้อื งตน้ งดงามในทา่ มกลาง และงดงามในทส่ี ุด อย่างสอดคลอ้ งเหมาะสม

62

ด้วยเหตุผล บุคคล ชุมชน เหตุการณ์ เวลา สถานที่ อนั นอ้ มนาไปสู่เป้าหมายสูงสุด
คือ มรรค ผล นิพพาน อนั เป็ นผลปรากฏของการไดร้ ู้ไดเ้ ห็นตามความเป็ นจริง จึง
เบื่อหน่าย คลายกาหนดั ดบั ไม่เหลือ และสลดั คืน มีความแจง้ ประจกั ษแ์ ลว้ ว่า สิ่ง
ท้งั หลายท้งั ปวงไมค่ วรยึดมนั่ ถือมน่ั

ในขณะเดียวกันก็ช้ีให้เห็นอย่างชดั เจนในการวางจิตให้จิตทาหน้าที่ต่อ
ธรรมที่ปรากฏเฉพาะหนา้ คือ “ทุกข์” ควรกาหนดรู้ “สมุทยั ” ควรละ “นิโรธ” ควร
ทาให้แจ้ง “มรรค” ควรเจริญ ซ่ึงก็คือกิจในอริยสัจ 4 เป็ นความจริงที่ทาให้เขา้ ถึง
ความเป็ นอริยะ นั่นเอง สมดังคากล่าวท่ีว่า ธรรมท่ีพระพุทธองค์ทรงแสดงน้ัน
เปรียบประดุจ หงายของที่คว่า เปิ ดของที่ปิ ด บอกทางแก่คนหลงทาง จุดแสงสวา่ ง
ในทีม่ ืด ดว้ ยหวงั วา่ ผูท้ มี่ ดี วงตาจกั เหน็ รูปได้ ฉะน้นั

63

กตญั ญูกตเวทติ ำธรรม

ดว้ ยเป็นครอบครวั ที่นบั ถอื พระพุทธศาสนา คณุ แม่จึงสอนใหร้ ูจ้ กั
ทาบุญตกั บาตร สวดมนต์ไหว้พระมาต้งั แต่วยั เด็ก วนั เสาร์อาทิตยก์ ็มกั จะพาไป
กราบหลวงป่ ูลาภู คงั คปัญโญ ณ วดั ใหม่อมตรส แถวบางขุนพรหม กรุงเทพฯ ซ่ึง
หลวงป่ ูท่านเป็ นพระสงฆ์ที่มีความเมตตากรุณาสูง จึงเป็ นส่วนหน่ึงที่ทาให้สนใจ
ศกึ ษาในหลกั ธรรมคาสอนทางพระพทุ ธศาสนาในลาดบั ตอ่ มา

จากการสั่งสมความรู้และประสบการณต์ ลอดระยะเวลากวา่ 50 ปี ท้งั โดย
การได้อ่านหนังสือธรรมะเช่น หนังสือบรมธรรม, อานาปานสติ 16 ข้นั และสูตร
ของเว่ยหล่าง ของท่านพทุ ธทาสภกิ ขุ, หนงั สือประวตั ิและหลกั ธรรมคาสอนของครู
บาอาจารยส์ ายหลวงป่ ูมนั่ ภูริทตั โต, หนงั สือพระไตรปิ ฎกฉบบั ประชาชน โดยทา่ น
สุชีพ ปญุ ญานุภาพ และหนงั สือพทุ ธธรรม, พจนานุกรมพทุ ธศาสตร์ ฉบบั ประมวล
ศพั ท์ และฉบบั ประมวลธรรม โดยพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยตุ โต) เป็นตน้ และ
ท้งั ไดม้ โี อกาสฟังธรรมบรรยาย และสนทนาธรรม พร้อมดว้ ยการฝึกฝนปฏบิ ตั ิจิตต
ภาวนากบั ครูบาอาจารยต์ ่าง ๆ ท้งั พระสงฆ์ แมช่ ี และฆราวาส เช่น หลวงป่ ลู าภู คงั ค
ปัญโญ, หลวงป่ ูเทสก์ เทสรังสี, หลวงป่ ูเหรียญ วรลาโภ, หลวงป่ ูสาม อกิญจโน,
หลวงป่ ูชอบ ฐานสโม, หลวงตามหาบวั ญาณสัมปันโน, หลวงป่ ูบุดดา ถาวโร,
หลวงป่ ูวยั จตั ตาลโย, หลวงพ่อพุธ ฐานิโย, หลวงพ่อจรัญ ฐิตธมั โม, หลวงพ่อวชิ ยั
เขมโิ ย, หลวงพอ่ จาเนียร สีลเสฏโฐ, พระอาจารยเ์ ปล่ียน ปัญญาปทีโป, พระอาจารย์
พทุ ธทาส อนิ ทปัญโญ, พระอาจารยพ์ งษศ์ กั ด์ิ เตชะธมั โม, ครูบาเทือง นาถสีโล, ครู

64

บาบุญชุ่ม ญาณสังวโร, แม่ชีวรมยั กบิลสิงห์, คุณหญิงสุรีพนั ธุ์ มณีวตั และท่านสตั
ยา นารายัน โกเอ็นก้า เป็ นต้น จนมาถึงการได้รับความเมตตากรุ ณาจาก
ศาสตราจารยก์ ิตติคุณ ดร.ระวี ภาวิไล ให้มีโอกาสมาบรรยายธรรม ณ ธรรมสถาน
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั โดยการประสานงานจาก เภสัชกรสุรพล ไกรสราวุฒิ ใน
ราวปี พุทธศกั ราช 2533 เป็นตน้ มาจวบจนปัจจุบนั

ดว้ ยสานึกในพระคุณของพระรัตนตรัย พระคุณของบิดรมารดา พระคุณ
ของครูบาอาจารย์ และพระคุณของทุก ๆทา่ นท้งั ท่เี อ่ยนามกด็ ีและมิไดเ้ อ่ยนามก็ดี ที่
ไดม้ ีส่วนแห่งการอบรมสั่งสอนถา่ ยทอดสรรพวิชา ให้มคี วามเจริญงอกงามในธรรม
ทาให้พอเห็นเป้าหมาย แนวทาง ในการดาเนินชีวติ ใชช้ ีวิต ให้มีคุณค่าความหมาย
ยงั ประโยชน์ตนและประโยชน์ท่าน เท่าท่ีจักพึงทาได้ในอตั ภาพของความเป็ น
มนุษย์ ขา้ พเจา้ ขอนอ้ มกราบสกั การะดว้ ยกตญั ญกู ตเวทติ าธรรม มา ณ ท่นี ้ี

65

66


Click to View FlipBook Version