The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประจำปี 2563 สนง.สหกรณ์จังหวัดนครศรีธรรมราช

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sala, 2022-01-14 02:53:55

รายงานประจำปี 2563 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดนครศรีธรรมราข

รายงานประจำปี 2563 สนง.สหกรณ์จังหวัดนครศรีธรรมราช

Keywords: รายงานประจำปี 63

รายงานผลการดาํ เนินงานประจําป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 39

ปจจยั แหงความสําเรจ็
1. เจาหนาท่ีสงเสริมสหกรณเขาแนะนําสงเสริมใหสหกรณดําเนินธุรกิจตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง

โดยเฉพาะการทําเกษตรอินทรียแบบมีสวนรวมของสมาชิก ในการประกอบอาชีพเล้ียงกุง-ปู-ปลา เชน การ
จัดทํานํ้าหมักปุยชีวภาพขายใหกับสมาชิกในราคาเพ่ือถูกลดตนทุนการผลิต และผลผลิตสวนเกินขายใหแก
บุคคลภายนอก

2. เนื่องจากที่ทําการของนิคมสหกรณปากพญา ต้ังอยูในพื้นที่ชุมชนของสมาชิก ทําใหการเขาแนะนํา
สงเสริมของเจาหนาท่ีสงเสริมสหกรณ มีความใกลชิด และทั่วถึง มีการลงพื้นท่ีพบปะสมาชิกอยางสม่ําเสมอ
และสมาชิกสหกรณเขา มามีสวนรว มในกจิ กรรมตางๆ เชน กจิ กรรมสาธารณประโยชนในพื้นท่ีนิคมสหกรณปาก
พญา กิจกรรมรองเพลงชาติ ฯลฯ สงผลใหเจาหนาท่ีสงเสริมสหกรณสามารถรับรูและเขาใจถงึ ปญหาตางๆของ
สหกรณฯ ในเชงิ ลกึ

3. เจาหนาที่สงเสริมสหกรณเขาแนะนําสงเสริม และติดตามผลการดําเนินธุรกิจดานตางๆ ของ
สหกรณรวมถึงสงเสริมการมีสวนรวมของสมาชิกใหเปน ไปตามแผนที่กําหนด รวมประชุมกําหนดแผนและแนว
ทางแกไ ขปญ หาตางๆ เชน แผนการติดตามหนี้คางชาํ ระของสมาชิก เปน ตน

4. แนะนําสงเสริมใหคณะกรรมการดําเนินการสหกรณ บริหารงานภายใตหลักธรรมาภิบาล สงผลให
คณะกรรมการฯ มีความเขมแข็ง มุงม่ัน ทุมเท ต้ังใจในการบริหารงาน โดยยึดหลักการสหกรณ ดวยความซ่ือ
สัตว สจุ ริต

5. นิคมสหกรณปากพญาเปนหนวยงานประสานงาน ในการบูรณาการระหวางหนวยงานภาครัฐ,
ภาคสังคม สวนทองถ่ิน ที่เก่ียวของกับสหกรณ อํานวยความสะดวกเพ่ือใหสมาชิกสหกรณสามารถเขาถึง
โครงการภาครฐั ท่เี กีย่ วขอ ง

สาํ นักงานสหกรณจ ังหวัดนครศรีธรรมราช

รายงานผลการดําเนนิ งานประจําป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 40

อําเภอ ลานสกา

ประกอบดว ย สหกรณ 5 แหง สมาชกิ 2,496 คน กลมุ เกษตรกร 2 แหง สมาชิก 306 คน
 ผลการเขา แนะนาํ สงเสรมิ และแกไขปญ หาสหกรณและกลุมเกษตรกร

จากการเขาแนะนําสงเสริมสหกรณและกลุมเกษตรกรที่รับผิดชอบใน อําเภอลานสกา จังหวัด
นครศรีธรรมราช ตามภารกิจของกลุมสงเสริมสหกรณ 1 สงผลตอพัฒนาสหกรณและกลุมเกษตรกร โดย
ภาพรวม ดังน้ี

1. การพฒั นาองคก รของสหกรณแ ละกลุม เกษตรกร
1.1 พัฒนาโครงสรา งของสหกรณ กลุมเกษตรกร
สงเสริมใหสหกรณและกลุมเกษตรกรมีการพัฒนาดานโครงสรางการบริหารองคกรท่ีดีและมี

ประสิทธิภาพย่ิงข้ึน โดยมีระบบอํานาจการบังคับบัญชา การติดตอสื่อสาร ท่ีสามารถเชื่อมตอคนและงาน เพ่ือ
รว มกนั ทํางานใหบ รรลเุ ปา หมายตามแผนงานทไ่ี ดรับความเหน็ ชอบจากท่ีประชมุ ใหญส มาชิก

1.2 พัฒนากระบวนการทาํ งานของสหกรณกลุม เกษตรกร
การพัฒนากระบวนการทํางาน สหกรณและกลุมเกษตรกรไดใหความสําคัญในการเลือกผูนํา

และบุคลากรท่ีมีความรูความสามารถ บุคลิกภาพและมุงหวังในผลประโยชนขององคกร โดยไดกําหนด
วัตถุประสงคและเปาหมายของงานที่ชัดเจน มีการเตรียมการวางแผนการทํางาน รายงานและประเมินผลการ
ปฏิบตั งิ านเปน ประจําทกุ เดอื น รวมทงั้ การปรบั ปรงุ การปฏบิ ตั ิงานใหเ ปน ไปตามแผนงานทก่ี ําหนด

1.3 พฒั นาบคุ ลากรของสหกรณ กลุมเกษตรกร
บุคลากรผูเกี่ยวของกับงานสหกรณและกลุมเกษตรกรอันประกอบดวย สมาชิก

คณะกรรมการ พนักงานเจาหนาที่ ไดมีความรูความเขาใจในบทบาทหนาท่ี และตระหนักในความรับผิดชอบ
มากยิ่งข้ึน ในการพัฒนาบุคลากรไดจัดใหมีการประชุม อบรม สัมมนา โดยสหกรณ กลุมเกษตรกรเปน
ผูดําเนินการเอง และสงบุคลากรไปรับการอบรม สัมมนากับหนวยงานตางๆ เพ่ือเพ่ิมทักษะความชํานาญงาน
ของบุคลากร รวมทั้งการปรับเปลี่ยนทัศนคติของบุคลากรเพ่ือมุงเปาหมายสูความสําเร็จตามวัตถุประสงคของ
สหกรณ กลุม เกษตรกร

2. การพฒั นาธรุ กิจของสหกรณ/ กลมุ เกษตรกร
ธรุ กิจของแตละสหกรณ กลุมเกษตรกร มีความแปลกแยกแตกตางกันไปตามประเภทและชนิดของ

สหกรณ กลุมเกษตรกร ตามวัตถุประสงคของการจัดตั้งสหกรณ กลุมเกษตรกรซ่ึงกําหนดไวในขอบังคับ โดยมี
ธุรกิจตางๆ เชน ธุรกิจดานการเงิน ธุรกิจดานการผลิต ธุรกิจรวบรวมผลผลิต ธุรกิจดานการแปรรูป ธุรกิจดาน
การบริการ เปนตน ในแตละดานของธุรกิจ สหกรณกลุมเกษตรกรไดพัฒนารูปแบบของผลิตภัณฑและบริการ
การกําหนดกลยุทธ เพื่อความพึงพอใจสมาชิกซ่ึงเปนผูรับสินคาและบริการของสหกรณ กลุมเกษตรกร อันจะ
นํามาซง่ึ ความมั่งค่งั ย่ังยนื ทางเศรษฐกจิ และสังคมของมวลสมาชิกสหกรณ กลุมเกษตรกร

การพัฒนาธุรกิจของสหกรณขางตนของสหกรณกลุมเกษตรกรในพื้นที่ อําเภอลานสกา จังหวัด
นครศรีธรรมราช นอกจากจะทําใหธุรกิจแตละดานเติบโตอยางตอเน่ือง อํานวยประโยชนแกสมาชิกท้ังทาง
เศรษฐกิจและสังคมโดยภาพรวม ธุรกิจของสหกรณบางธรุ กิจยังเปนตนแบบ หรือเปนทีอ่ างองิ ของธุรกิจเอกชน
ซึ่งสงผลกระทบตอสังคมในภาพรวม

สํานกั งานสหกรณจังหวดั นครศรธี รรมราช

รายงานผลการดําเนินงานประจาํ ป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 41

ดา นปจจัยและเง่ือนไขของการดําเนินธุรกิจสหกรณแ ละกลมุ เกษตรกร ดําเนินธุรกิจโดยพ่ึงพาตนเอง
เปนหลัก โดยการจัดหาเงินทุนจากสมาชิก สะสมทุนจากสวนเกินในการดําเนินงาน และดําเนินกิจการงานทั้ง
มวลภายใตกรอบของกฎหมาย คําสั่ง คําแนะนํา ประกาศนายทะเบียน ระเบียบ มติที่ที่ประชุมใหญสมาชิก
และมตทิ ี่ประชุมคณะกรรมการดาํ เนนิ การ
 ปญหา/อปุ สรรคในการดาํ เนินงานของสหกรณ/กลุมเกษตรกร

ดานบุคลากร
1. สมาชิกสหกรณ

- สมาชิกสหกรณใ หความสาํ คัญกับสทิ ธิทีต่ นเองจะไดร บั แตล ะเลยการทําหนาที่ของตน
2. คณะกรรมการสหกรณ

- ขาดองคความรใู นการบริหารกิจการสหกรณ
3. ฝายจดั การสหกรณ

- เจา หนา ทท่ี ่ีมปี ระสบการณแ สวงหาประโยชนส วนตน โดยอาศยั ความไมรูของคณะกรรมการ
4. ผูตรวจสอบกจิ การสหกรณ

- ผตู รวจการสหกรณไมป ฏิบตั ิหนาท่ตี ามอํานาจหนา ที่ทพ่ี ึงกระทาํ
5. เจาหนาที่ของรฐั

- เจา หนา ที่สงเสรมิ สหกรณใ หความสาํ คัญกับการกํากับสหกรณม ากกวาการแนะนําสงเสริม
ปญหาดานการจดั การ
1. ในบางสหกรณ กลุมเกษตรกรจัดตั้งขึ้นตามนโยบาย ไมไดเกิดจากความตองการของผูซึ่งจะเปน
สมาชิก
2. สมาชกิ ไมท ราบขอ มูลของสหกรณ
3. สหกรณข าดความคลองตัวในการจัดการธุรกจิ ในภาวะท่จี ะตองแขงขนั กบั เอกชน
4. การใหบ ริการของสหกรณท่ไี มค รอบคลุมครบวงจร
5. การแสวงหาผลประโยชนส วนของกลมุ คนที่รวมกนั จัดต้ังสหกรณ
ปญ หาจากภาครัฐ
1. การขาดการประสานรวมมอื กนั ของหนว ยงานภาครัฐ
2. เทคโนโลยีทก่ี า วกระโดดทําใหส หกรณล า หลงั
ปญหาอน่ื ๆ
1. ระบบอปุ ถมั ภและการเมืองในสหกรณ
2. การปลอ ยปละละเลยเกรงใจ ไมน ําหลกั กฎหมายมาบังคบั ใชอยา งจริงจัง
3. ความมอี ทิ ธิพลของกรรมการและเจา หนา ท่ใี นสหกรณ

สาํ นักงานสหกรณจังหวดั นครศรธี รรมราช

รายงานผลการดําเนินงานประจาํ ป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 42

 ขอเสนอแนะ/แนวทางแกไขปญ หา
สรปุ แนวทางสงเสรมิ สหกรณแ ละกลมุ เกษตรกรใหไดม าตรฐาน มดี ังนี้
1. การสงเสริมใหบุคลากรของสหกรณและกลุมเกษตรกรมีความรูความเขาใจในบทบาทหนาที่และ

ตระหนักถึงความรับผิดชอบในตําแหนงหนาที่ของตน รวมท้ังการเพิ่มพูนความรู ประสบการณ ความเขาใจใน
เรอื่ งการบรหิ ารจัดการธรุ กิจของเจา หนาทีแ่ ละกรรมการสหกรณ

2. จัดระบบควบคุมในสหกรณ
3. การจัดใหมีธรรมาภิบาลในสหกรณ
4. การสือ่ สารขอมลู ถงึ สมาชกิ ทีร่ วดเรว็ ถกู ตอ ง
5. การสอบถามความจาํ เปน ตองการของสมาชิกสหกรณ
6. ความรวมมอื บรู ณาการของหนว ยงานภาครฐั ในการสง เสริมงานสหกรณ

 สหกรณ/กลุม เกษตรกรท่ีสะทอนผลสาํ เร็จของการปฏิบตั งิ านตามภารกจิ ของ สสจ./สสพ.
ในปงบประมาณ พ.ศ. 2563

สหกรณ/ กลุมเกษตรกร สหกรณเครดติ ยูเน่ยี นลานแกวประชาสรรค จํากัด

ผลงาน/ความสาํ เร็จของสหกรณ/ กลมุ เกษตรกร

1. จาํ นวนสมาชกิ
- จาํ นวนสมาชกิ 712 คน
- ระหวา งปมรี ับสมาชกิ ใหม 16 คน
2. ผลการดําเนินงานปส นิ้ สดุ บญั ชี 30 มถิ นุ ายน 2563
- สินทรัพย 48,513,292.00 บาท
- เงนิ สดและเงินฝากธนาคาร 8,351,933.42 บาท
- ลูกหนีเ้ งนิ ใหกยู ืมแกส มาชกิ 36,273,680.80 บาท
- ดอกเบ้ียเงินใหก คู า งรบั 363,192.45 บาท
- เงนิ ลงทนุ ระยะยาว 291,400.00 บาท
- สินคา คงเหลือ 72,573.13 บาท
- สินทรพั ยอนื่ 135,726.97 บาท
- ท่ีดนิ อาคาร และอปุ กรณ 3,024,857.23 บาท
- หนีส้ ิน 19,304,112.09 บาท
- เงินรับฝากจากสมาชิก 17,288,791.48 บาท
- เงนิ กยู ืมและเงนิ เบิกเกินบัญชี 990,688.78 บาท
- สํารองบาํ เหนจ็ เจาหนาท่ี 953,780.00 บาท
- หนี้สินอน่ื 70,761.83 บาท

สาํ นกั งานสหกรณจังหวดั นครศรธี รรมราช

รายงานผลการดําเนินงานประจาํ ป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 43

- ทนุ 29,209,179.91 บาท
- ทุนเรอื นหนุ 24,856,850.00 บาท
- ทุนสํารอง 0.00 บาท
- ขาดทุนสะสม (1,255,559.30) บาท
- ทุนสะสมตามขอบังคบั 3,943,803.35 บาท
- กาํ ไรสทุ ธิ 1,664,085.86 บาท
สหกรณมีกําไรสุทธิประจําปมากกวายอดขาดทุนสะสมจากปกอน หากจะนํากําไรสุทธิประจําปไป
ชดเชยผลการขาดทุนสะสม ก็จะทาํ ใหย อดขาดทนุ สะสมหมดไป แตเ พอื่ ใหส มาชิกไดรบั ผลตอบแทน ณ วันส้ินป
คณะกรรมการดําเนินการ ไดนํากําไรสุทธิจํานวนหนึ่งตามหลักเกณฑท่ีนายทะเบียนสหกรณกําหนด มาจัดสรร
ตามขอบังคับ เพื่อใหสมาชิกไดรับเงินปนผลเงินเฉลี่ยคืน และสหกรณไมมีขอบกพรองและไมมีขอสังเกตท่ีสุม
เส่ยี งตอ การดําเนินงาน
3. ประโยชนท ี่สมาชกิ สหกรณไดรับ
ดานเศรษฐกิจ
- สหกรณใหสินเชื่อแกสมาชิกในเงื่อนไขท่ีผอนปรน ระหวางปบัญชีส้ินสุด 30 มิถุนายน 2563
สหกรณค ิดดอกเบี้ยเงนิ กูกับสมาชกิ โดยเฉล่ยี รอ ยละ 10 ตอ ป
- สหกรณใหดอกเบยี้ เงินรบั ฝากสมาชกิ โดยเฉลยี่ รอ ยละ 3 ตอป
- สมาชกิ ไดร ับสวัสดิการ เกิด แก เจบ็ ตาย จากสหกรณ
- สหกรณเหลือกําไรท่ีจากการโอนไปชดเชยคางขาดทุนสะสม จํานวน 824,085.86 บาท นําไป
จดั สรรเปน เงิน
ปน ผลตามหนุ และเงนิ เฉลยี่ คืนตามสว นธรุ กจิ รอ ยละ 2.50 และ 2.00 ตามลําดบั
ดา นสงั คม
- สมาชกิ สหกรณร วมมอื กนั ทํากิจกรรมของสังคมอยา งตอ เนื่อง
- ดวยเหตุที่สมาชิกสหกรณเครดิตยูเน่ียนลานแกวประชาสรรค จํากัด มีท่ีต้ังอยูในชุมชนเล็กๆ มี
สหกรณเปน แกนกลางในการจัดกิจกรรมทางสงั คมอยูเนืองๆ สมาชิกไดมีการแลกเปลีย่ นเรยี นรูระหวางกนั เปน
โอกาสทจ่ี ะไดส รางสัมพันธภาพท่ีดีตอกัน
- สหกรณใ ชทนุ สาธารณะประโยชนเ พอื่ สงั คมตามหลักการสหกรณ

สาํ นกั งานสหกรณจงั หวดั นครศรีธรรมราช

รายงานผลการดําเนนิ งานประจาํ ป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 44

ภาพการประชุมใหญส ามญั ประจาํ ป 2563
สหกรณเ ครดติ ยเู น่ยี นลานแกวประชาสรรค จาํ กัด

สํานกั งานสหกรณจงั หวัดนครศรีธรรมราช

รายงานผลการดําเนนิ งานประจําป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 45

ภาพประชมุ โครงการพัฒนาคณุ ภาพชีวิตสมาชกิ เครดิตยเู นยี่ นดว ยพลงั สตรีและเยาวชน

สํานักงานสหกรณจังหวดั นครศรีธรรมราช

รายงานผลการดาํ เนนิ งานประจําป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 46

ปจจัยแหงความสําเรจ็
- คณะกรรมการบริหารงานสหกรณดวยความรอบคอบ ตามกรอบวัตถุประสงคของสหกรณ คําส่ัง

คําแนะนาํ ระเบยี บ ประกาศนายทะเบียนสหกรณ ระเบยี บของสหกรณ และมตขิ องทปี่ ระชมุ
- พนักงาน เจาหนาท่ีฝายจัดการ มีความรู ประสบการณในงานท่ีรับผิดชอบ มีการจัดการงานของ

สหกรณอ ยา งเปนระบบ มีการควบคุม และการตดิ ตามการปฏบิ ัติงานทอี่ ยางตอ เนอื่ ง
- สมาชิกสวนใหญเปนผูมีพ้ืนความรูประสบการดานการออม ตามแนวทางของการสหกรณเครดิตยู

เน่ียน และใหค วามรวมมือปฏิบตั ิตามระเบียบ กติกาทส่ี หกรณกําหนด
- ผตู รวจสอบกิจการ ชวยเหลือตรวจสอบการปฏบิ ัตงิ านของสหกรณอ ยา งเครง ครดั
- สหกรณม เี ครอ่ื งมือ อุปกรณ และเทคโนโลยที เ่ี พียงพอในการปฏิบตั ิงาน
- สหกรณไดรบั ขอเสนอแนะ คําแนะนาํ และความรวมมือจากองคกร หนว ยงานภาคี และสว นราชการ

ทรี่ ับผิดชอบเปน อยางดี
- เจาหนาที่สงเสริมสหกรณในกลุมสงเสริมสหกรณ 1 มีความมุงม่ัน เสียสละ ปฏิบัติหนาท่ีแนะนํา

สงเสริมสหกรณ กลุมเกษตรกร ดวยจิตวิญญาณของนักสหกรณ โดยการเขารวมประชุมคณะกรรมการ แสดง
ความเห็น เสนอแนะใหการดาํ เนนิ งานเปน ไปตามวตั ถุประสงค กฎหมาย ระเบียบท่ีเกี่ยวขอ ง รวมท้ังการใหการ
ชว ยเหลือจดั ทาํ บญั ชี งบการเงินในสหกรณก ลมุ เกษตรกรขนาดเล็กทย่ี งั มีความออนแอในการจัดการ อีกดวย

สาํ นักงานสหกรณจ ังหวัดนครศรธี รรมราช

รายงานผลการดาํ เนนิ งานประจาํ ป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 47

อาํ เภอ พรหมครี ี

ประกอบดว ย สหกรณ 3 แหง สมาชกิ 4,097 คน กลุม เกษตรกร 5 แหง สมาชิก 587 คน
 ผลการเขาแนะนาํ สงเสรมิ และแกไ ขปญหาสหกรณแ ละกลมุ เกษตรกร

จากการเขา แนะนาํ สงเสริมสหกรณและกลุม เกษตรกรท่รี บั ผิดชอบใน อําเภอพรหมครี ี นครศรีธรรมราช
ตามภารกิจของกลมุ สงเสรมิ สหกรณ 1 สง ผลตอ การพฒั นาสหกรณและกลมุ เกษตรกรโดยภาพรวม ดงั น้ี

1. การพฒั นาองคกรของสหกรณและกลมุ เกษตรกร
1.1 พฒั นาโครงสรา งของสหกรณ กลมุ เกษตรกร
สงเสริมใหสหกรณและกลุมเกษตรกรมีการพัฒนาดานโครงสรางการบริหารองคกรที่ดีและมี

ประสทิ ธิภาพย่งิ ขนึ้
1.2 พฒั นากระบวนการทาํ งานของสหกรณกลมุ เกษตรกร
กรรมการและเจาหนาที่ของสหกรณมีการพัฒนากระบวนการทํางานท่ีสอดประสาน สนอง

ความตอ งการของสมาชกิ ดขี นึ้
1.3 พฒั นาบคุ ลากรของสหกรณ กลมุ เกษตรกร
สมาชิก คณะกรรมการ และพนักงานเจาหนาที่ของสหกรณ ไดตระหนักในภาระ บทบาท

หนา ทขี่ องตน ปรบั เปลย่ี นทศั นคตเิ ปนทพี่ งึ ประสงคมากขน้ึ
2. การพฒั นาธุรกจิ ของสหกรณ/ กลมุ เกษตรกร
ธรุ กิจของสหกรณในภาพรวมมีอตั ราการเติบโตที่ใกลเคียงกบั ปก อน สมาชิกสหกรณ กลุมเกษตรกร

ใหความสําคญั กับธุรกิจนี้เปนลําดับแรก การซื้อสินคา การรับฝากเงิน และรวบรวมผลผลิต เปนธรุ กิจที่สมาชิก
ใหความสาํ คัญเปนลาํ ดับรอง ตามลาํ ดบั

สหกรณและกลุมเกษตรกรในพ้ืนท่ี อําเภอพรหมคีรี จังหวัดนครศรีธรรมราช เปนสหกรณภาค
การเกษตร แมจ ะมสี หกรณเครดิตยูเนี่ยน แตสมาชิกสหกรณกวารอยละ 90 เปน เกษตรกร แมสมาชิกบางสวน
มีอาชีพนอกภาคเกษตรแตก็มีอาชีพรองทางดานการเกษตร ธุรกิจของสหกรณในภาพรวมจึงเกี่ยวเน่ืองกับ
การเกษตร และสหกรณ กลมุ เกษตรกรกเ็ ปนทีพ่ ่งึ ทห่ี วังของบรรดาสมาชกิ
 ปญ หา/อปุ สรรคในการดําเนินงานของสหกรณ/ กลมุ เกษตรกร

ดา นบคุ ลากร
1. สมาชิกสหกรณ

- เกษตรกรสวนใหญไ มมพี น้ื ความรูดานการสหกรณ
2. คณะกรรมการสหกรณ

- คณะกรรมการที่มาจากสมาชิกท่ีขาดพ้ืนความรูดานการสหกรณ ทําใหถูกชักจูง ครอบงําจาก
กรรมการอนื่ และ/หรือจากฝายจดั การทมี่ ีประสบการณส งู โดยหยบิ ยื่นผลประโยชนเชงิ นโยบายเปนเหยอื ลอ

3. ฝา ยจัดการสหกรณ
- พนักงานเจา หนาท่ีฝา ยจดั การ อาศัยความไดเ ปรยี บดานขอ มูลและประสบการณอนั ยาวนาน แสวง

ประโยชนจ ากความไมรู ออ นดอยของกรรมการ
4. ผตู รวจสอบกจิ การสหกรณ
- ผูตรวจสอบกิจการมีความเกรงใจฝายจัดการและกรรมการ ทําใหไมกลาจะทําหนาท่ีอยาง

ตรงไปตรงมา
สํานักงานสหกรณจงั หวัดนครศรธี รรมราช

รายงานผลการดําเนนิ งานประจาํ ป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 48

5. เจาหนา ทขี่ องรฐั
- ในอดีตเจาหนาที่สงเสริมสหกรณบางคนรวมกับฝายจัดการแสวงผลประโยชนจากสหกรณ โดย

อาศัยทรพั ยากรของสหกรณเอื้อประโยชนตอกนั
ปญหาดา นการจัดการ
1. การจดั การงานสหกรณของฝายจดั การท่หี ลบหลกี การปฏบิ ตั ติ ามระเบียบฯ
2. การไมเ ปดเผย ซอ นเรน ขอมูล ของฝายจัดการ
ปญหาจากภาครฐั
1. ความตอเนอ่ื งของนโยบาย
2. เจาหนา ทีข่ องรัฐหยอนยานการทาํ หนาท่ี
ปญ หาอนื่ ๆ
1. ระบบอปุ ถมั ภที่ครอบงาํ ในสหกรณ
2. การไมกลาไมกลา บงั คบั ใชกฎหมายของเจา หนาท่รี ัฐ
3. การมอี ํานาจเหนือกรรมการของฝา ยจดั การ หรือกรรมการมอี ทิ ธิพลเหนอื เจา หนาท่สี หกรณ

 ขอเสนอแนะ/แนวทางแกไ ขปญหา
สรุปแนวทางสงเสรมิ สหกรณแ ละกลมุ เกษตรกรใหไดม าตรฐาน มีดังน้ี
บุคลากรทุกฝายที่เก่ียวของกับสหกรณ กลุมเกษตรกร มีความตระหนักในภาระหนาที่ และ

ปฏบิ ัติหนา ที่โดยยึดประโยชนของสว นรวมเปน หลกั ไมแ สวงประโยชนจ ากสหกรณ

 สหกรณ/กลมุ เกษตรกรท่ีสะทอ นผลสําเรจ็ ของการปฏบิ ัตงิ านตามภารกจิ ของ สสจ./สสพ.
ในปง บประมาณ พ.ศ. 2563

สหกรณ/ กลมุ เกษตรกร สหกรณการเกษตรพรหมครี ี จาํ กัด

ผลงาน/ความสําเรจ็ ของสหกรณ/กลุม เกษตรกร

1. จาํ นวนสมาชิก
- จาํ นวนสมาชกิ 2,922 คน ในจํานวนนเ้ี ปนสมาชิกสมทบ 1,488 คน
- ระหวางปม รี บั สมาชกิ ใหม 42 คน
2. ผลการดาํ เนนิ งานปส ิ้นสุดบัญชี 31 ธนั วาคม 2562
- สินทรพั ย 591,536,659.66 บาท
- เงินสดและเงนิ ฝากธนาคาร 7,623,189.27 บาท
- เงินฝากสหกรณอ น่ื 42,006,777.36 บาท
- เงนิ ลงทุน 2,100,000.00 บาท
- ลกู หนี้เงินใหกูย มื แกสมาชกิ 495,066,687.04 บาท
- ดอกเบย้ี เงินใหกคู างรับ 4,055,511.12 บาท
- สินคาคงเหลือ 3,876,932.65 บาท
- สนิ ทรพั ยอ่นื 249,547.30 บาท
- ทีด่ ิน อาคารและอุปกรณ 69,719,314.92 บาท

สํานกั งานสหกรณจ ังหวัดนครศรธี รรมราช

รายงานผลการดาํ เนนิ งานประจําป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 49

- หนี้สิน 438,100,301.20 บาท
- เงินรับฝากจากสมาชิก 332,980,863.93 บาท
- เงนิ กูย ืมและเงินเบกิ เกินบญั ชี 75,795,560.14 บาท
- สาํ รองบาํ เหน็จเจาหนาที่ 10,534,230.00 บาท
- หน้สี นิ อื่น 18,899,646.49 บาท
- ทุน 153,436,358.46 บาท
- ทุนเรอื นหุน 117,256,730.00 บาท
- ทนุ สํารอง 19,554,427.88 บาท
- ทนุ สะสมตามขอ บังคับ 5,101,406.87 บาท
- กําไรสุทธิ 11,523,793.71 บาท
***สหกรณม ีขอสังเกตลูกหน้ีการคาคางนานกวา เกิน 2 ป จาํ นวน 1.79 ลา นบาท ไดรบั การแกไขดาน
เอกสาร แตสหกรณไมไดร บั การชําระหนี้ เปนเงนิ 1.61ลา นบาท***
3. ประโยชนที่สมาชกิ สหกรณไดรับ
ดานเศรษฐกจิ
- สมาชกิ สหกรณไดร บั สินเชอื่ ในเง่ือนไขทีผ่ อ นปรน อัตราดอกเบีย้ ตาํ่ กวา ตลาดเงนิ ท่วั ไป
- สมาชกิ ผูฝากเงนิ ไดรบั ดอกเบย้ี เงินฝากทเ่ี ปน ธรรมและสงู กวาในตลาดเงนิ
- สหกรณจัดสวสั ดิการตา งๆ แกสมาชกิ
- ในสหกรณที่มผี ลประกอบการมีสวนเกินจากการดําเนินธุรกิจ(กาํ ไร) จะไดรบั การจดั สรรเงนิ
สวนเกินกลบั คืน
ดา นสงั คม
- สมาชิกสหกรณไดมโี อกาสตดิ ตอ สอ่ื สมั พนั ธในโอกาสตางๆทสี่ หกรณจ ดั ขึน้ เปนการสรา งสมั พันธ
แลกเปล่ียนขอมูลขาวสารตอกัน

สาํ นกั งานสหกรณจงั หวัดนครศรีธรรมราช

รายงานผลการดําเนินงานประจาํ ป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 50

ภาพการกระจายลําไย จากการเขา รวมโครงการสนบั สนนุ การกระจายผลไมข องสถาบนั เกษตรกร

ปจจัยแหงความสาํ เร็จ
- บุคลากรทุกฝายท่ีเกยี่ วขอ งปฏิบัตหิ นาท่ีของตนดวยความมุงม่ันตอผลประโยชนของสวนรวม ภายใต

กฎกติกาที่เปนธรรม ไดรับผลประโยชนหรือคาตอบแทนที่เหมาะสม มีเครื่องมืออุปกรณที่เพียงพอตอการ
ปฏิบตั ิงาน

- พนักงานเจาหนาที่สงเสริมสหกรณในกลุมสงเสริมสหกรณ 1 มีความมุงม่ัน เสียสละ ปฏิบัติหนาท่ี
แนะนําสงเสริมสหกรณ กลุมเกษตรกร ดวยจิตวิญญาณของนักสหกรณ โดยการเขารวมประชุมคณะกรรมการ
แสดงความเหน็ เสนอแนะใหการดําเนนิ งานเปนไปตามวัตถุประสงค กฎหมาย ระเบยี บท่ีเก่ยี วของ รวมท้ังการ
ใหการชวยเหลือจัดทําบัญชี งบการเงินในสหกรณกลุมเกษตรกรขนาดเล็กท่ียังมีความออนแอในการจัดการ
อีกดวย

สํานกั งานสหกรณจ งั หวดั นครศรีธรรมราช

รายงานผลการดําเนินงานประจาํ ป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 51

อาํ เภอ ปากพนัง

ประกอบดว ย สหกรณ 3 แหง สมาชกิ 1,735 คน กลมุ เกษตรกร 8 แหง สมาชกิ 358 คน
 ผลการเขาแนะนํา สงเสรมิ และแกไ ขปญ หาสหกรณและกลมุ เกษตรกร

จากการเขา แนะนําสง เสริมสหกรณและกลุมเกษตรกรท่ีรับผิดชอบในอําเภอปากพนงั ตามภารกจิ ของ
กลุมสง เสรมิ สหกรณ 2 สง ผลตอสหกรณและกลุมเกษตรกรมกี ารพฒั นาในองคกรและพัฒนาธรุ กจิ ดังนี้

1. ดานการพัฒนาองคกรของสหกรณแ ละกลมุ เกษตรกร
1.1 บุคลากรในสหกรณและกลุมเกษตรกรซึ่งประกอบดวย สมาชิก คณะกรรมการ ผูตรวจสอบ

กิจการและเจาหนาที่สหกรณ มีความรูความเขาใจในบทบาทหนาที่ของตนเองมากย่ิงข้ึนสงผลใหบุคลากรใน
สหกรณแ ละกลมุ เกษตรกรมคี วามรคู วามเขาใจเกีย่ วกบั สหกรณและกลุมเกษตรกรมากยิ่งขน้ึ

1.2 คณะกรรมการมีการตดิ ตามงานตามแผนงานประจําปทีไ่ ดรบั การอนุมัตจิ ากทป่ี ระชุมใหญเปน
ประจาํ ทกุ เดือนทําใหมีการควบคมุ ภายในที่ดีและไมมีขอ บกพรอ งเกดิ ข้ึน

2. ดา นการพัฒนาธุรกิจของสหกรณและกลุมเกษตรกร
2.1 ดานเงินทุน สหกรณและกลุมเกษตรกรมีความรูความเขา ใจในบทบาทหนา ที่ของตนเองมากขึน้

มีความเขา ใจวาสมาชิกทุกคนเปน เจา ของ เปน ผูใชบริการในธุรกิจ ทําใหส หกรณแ ละกลุมเกษตรกรมีการเพิ่มทนุ
ภายในจากการถือหุนและเงินรับฝากจากสมาชกิ มากขนึ้ ซง่ึ ชว ยลดตน ทุนในการบรหิ ารจัดการของสหกรณและ
กลมุ เกษตรกร

2.2 สหกรณและกลุมเกษตรกรท่ีอยูในความรับผดิ ชอบ ไดขยายธุรกิจเพิ่มขึ้นโดยเฉพาะธรุ กจิ จัดหา
สนิ คา มาจาํ หนา ย สินคา ที่มีความจําเปน ในการดาํ รงชวี ิตของสมาชกิ คือขา วสาร ทาํ ใหสามารถลดคาใชจายใน
ครวั เรอื นของสมาชิกไดเพื่อซ้ือสนิ คา ตน ทนุ ต่ําจากสหกรณ

ผลการจดั มาตรฐาน ประจาํ ป 2563
สหกรณท่ีผานมาตรฐานสหกรณ 1 แหง
สหกรณท ไี่ มผานมาตรฐานสหกรณ 2 แหง
กลุม เกษตรกรผานเกณฑมาตรฐาน ๘ แหง จากท้ังหมด 9 แหง

 ปญ หา/อปุ สรรคในการดําเนินงานของสหกรณ/ กลุมเกษตรกร
จากการเขา แนะนําสงเสริมสหกรณและกลุมเกษตรกรท่อี ยูในความรบั ผดิ ชอบของกลุมสงเสริมสหกรณ

2 มปี ญหาอุปสรรคในการดําเนนิ งาน ดังน้ี
1. ดานบคุ ลากร
1.1 สมาชิกไมม ีความรูความเขาใจในอุดมการณ หลกั การและวธิ กี ารสหกรณเทา ที่ควร สว นใหญ

การเขามาเปนสมาชิกของสหกรณแ ละกลมุ เกษตรกรหวังแตจะรบั ประโยชนข องตนเอง (กเู งนิ เพียงอยา งเดยี ว)
1.2 คณะกรรมการยงั ขาดความรใู นเรอ่ื งการบริหารธรุ กิจสงผลใหธรุ กิจของสหกรณเ กิดการขาดทนุ

และไมม กี ารวิเคราะหถึงจุดคุมทุน
๑. ๓ คณะกรรมการและฝา ยจัดการไมไดน ําหลักธรรมมาภบิ าลมาใชในการบรหิ ารจดั การองคก ร
1.๔ ในการจัดทําแผนงานและประมาณการรายไดและคาใชจ า ยประจําปเพอื่ นาํ เสนอทป่ี ระชุมใหญ

พิจารณา ขาดการมีสวนรวมจากทุกฝา ย สวนใหญฝายจดั การจะดาํ เนนิ การเพยี งฝา ยเดียว

สํานกั งานสหกรณจังหวัดนครศรีธรรมราช

รายงานผลการดําเนินงานประจําป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 52

2. ดา นการพฒั นาธรุ กิจของสหกรณและกลมุ เกษตรกร
2.1 ทนุ ดาํ เนินงานของสหกรณไมเ พยี งพอตอ การดําเนนิ ธรุ กจิ
2.2 สหกรณและกลุม เกษตรกรท่ีไมมีโครงสรา งดานการบริหารจัดการองคกร ทาํ ใหการดําเนินงาน

ของสหกรณแ ละกลุม เกษตรกรเกดิ การขาดทนุ
 ขอเสนอแนะ/แนวทางแกไ ขปญ หา

จัดทําแผนพัฒนาความเขมแข็งสหกรณ แผนพัฒนาธุรกิจสหกรณ รวมถึงแผนฟนฟูกิจการสหกรณ
แบบมีสวนรวม โดยตองวิเคราะหจากผลการดําเนินงานของสหกรณท่ีผานมา จัดทําแผนรายเดือน และแตละ
เดือนจะตองมีการติดตามประเมินผล โดยตองมีการมอบหมายใหกับคณะกรรมการและฝายจัดการท่ีเก่ียวของ
แตล ะฝา ย
 สหกรณ/ กลุม เกษตรกรท่ีสะทอนผลสาํ เร็จของการปฏิบตั งิ านตามภารกจิ ของ สสจ./สสพ.
ในปงบประมาณ พ.ศ. 2563
สหกรณ/กลมุ เกษตรกร สหกรณการเกษตรปากพนงั จํากัด
ผลงาน/ความสาํ เร็จของสหกรณ/ กลุม เกษตรกร

จากการแนะนาํ ใหม กี ารจัดประชมุ เสวนาคณะกรรมการและสมาชิก แนะนําสหกรณจ ัดใหมกี ารประชุม
กลุมสมาชิกประจําทุกไตรมาสและใหทําการสํารวจความตองการสินคาจากสมาชิก จากการสํารวจความ
ตองการของสมาชิก สมาชิกมีความตองการใหกลุมจัดหาสินคาอปุ โภค บริโภคที่มีความจําเปนในการดํารงชีวิต
ประจําวันเพ่ือลดคาใชจา ยในครัวเรือน โดยการจัดหาขา วสารมาจําหนาย เจา หนาท่ีสงเสริมสหกรณ ไดแนะนํา
ใหกลุมเกษตรกรเชอื่ มโยงธุรกิจกับสหกรณการเกษตรพรหมคีรี จํากดั เพื่อมาบริการสมาชิก ยอดการจําหนาย
ขาวสาร ตั้งแตเดือนตุลาคม 2562 – 30 กันยายน 2563 สหกรณจัดหาขาวสารมาจําหนายใหแกสมาชิก
จํานวน 20.45 ตัน จํานวนเงิน 732,634.00 บาทซึ่งจําหนายราคาถูกกวาทองตลาด เฉล่ียกิโลละ 2 บาท
สง ผลใหส มาชิกลดคาใชจายในครวั เรือนจาํ นวน 500 บาท/ครัวเรือน สมาชกิ ใชบ ริการจาํ นวน 264 ราย
สหกรณ/ กลุม เกษตรกร กลุม เกษตรกรทาํ นาชะเมา
ผลงาน/ความสาํ เร็จของสหกรณ/กลุมเกษตรกร

จากการแนะนําใหมีการจัดประชุมเสวนาคณะกรรมการและสมาชิก แนะนํากลุมเกษตรกรจัดใหมีการ
ประชุมคณะกรรมการดําเนินการเปนประจําทุกเดือนและใหทําการสํารวจความตองการสนิ คาจากสมาชิก จาก
การสํารวจความตองการของสมาชิก สมาชิกมีความตองการใหกลุมจัดหาสินคา อุปโภค บรโิ ภคที่มีความจําเปน
ในการดํารงชวี ิตประจําวันเพ่อื ลดคาใชจายในครัวเรือน โดยการจัดหาขาวสารมาจําหนาย แตก ลุมฯ ไมมีเงินทุน
หมุนเวียนเพียงพอในการดําเนินธุรกิจ เจาหนาท่ีสงเสริมสหกรณ ไดแนะนําใหกลุมเกษตรกรเชื่อมโยงธุรกิจกับ
สหกรณการเกษตรพรหมคีรี จํากัด โดยสหกรณการเกษตรพรหมคีรี จํากัด ไดจําหนายขาวสารเปนเงินเช่ือ
ใหแกกลุมเกษตรกรทํานาชะเมา เพื่อมาบริการสมาชิก ยอดการจําหนายขาวสาร ตั้งแตเดอื นตุลาคม 2562 –
30 กันยายน 2563 กลุมฯจัดหาขา วสารมาจาํ หนายใหแ กสมาชิกจํานวน 5.6 ตนั จํานวนเงนิ 169,046.00
บาทซ่ึงจําหนายราคาถูกกวาทองตลาด เฉลี่ยกิโลละ 2 บาท สงผลใหสมาชิกลดคาใชจายในครัวเรือนจํานวน
500 บาท/ครวั เรอื น สมาชกิ ใชบ ริการจาํ นวน 19 ราย คดิ เปน รอยละ 70

สาํ นกั งานสหกรณจงั หวัดนครศรธี รรมราช

รายงานผลการดําเนนิ งานประจาํ ป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 53

ประโยชนท ี่สหกรณ/กลมุ เกษตรกรไดรับ
- สามารถลดตน ทุนเพราะไดซื้อสินคา ในราคาถูกซื้อมาจากศูนยกระจายสนิ คา
- มปี ริมาณธุรกิจเพม่ิ ข้ึน
- สมาชิกมีสวนรว มเพ่มิ ขนึ้
- มีรายไดเ พ่ิมขน้ึ

ประโยชนท ่ีสมาชิกไดรบั
- สมาชกิ สามารถลดคาใชจ า ยในครัวเรือนลงได
- สมาชกิ ไดบ ริโภคขา วสารท่ีมีคุณภาพ เปน ขาวหอมมะลิ 100 เปอรเซ็นต

ภาพประกอบการประชมุ 3 ฝาย

สํานกั งานสหกรณจ งั หวดั นครศรีธรรมราช

รายงานผลการดาํ เนนิ งานประจาํ ป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 54

ภาพประกอบ ธุรกิจจัดหาสนิ คามาจําหนาย

ปจจัยแหงความสําเร็จ
กลมุ สงเสรมิ สหกรณ 2 สงเสริมแนะนําใหสหกรณการเกษตรกรปากพนงั จํากัดและกลุมเกษตรกร

ทาํ นาชะเมา เช่ือมโยงธรุ กจิ จัดหาสินคามาจําหนายกบั สหกรณการเกษตรพรหมครี ี จาํ กัดซ่ึงเปนศนู ยก ระจาย
สินคา สหกรณและกลุมจัดหาสินคาราคามีคุณภาพและราคาถกู มาจําหนายแกสมาชกิ สงผลใหส หกรณแ ละ
กลุม เกษตรกรพัฒนาความเขมแข็ง และพฒั นาธุรกจิ ทําใหสหกรณและกลุมเกษตรกรมีความเขม แข็งและเปน
ศนู ยกลางในการรวบรวมผลผลติ จากสมาชกิ และชุมชน

สาํ นกั งานสหกรณจ ังหวัดนครศรีธรรมราช

รายงานผลการดาํ เนนิ งานประจาํ ป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 55

อําเภอ เชยี รใหญ

ประกอบดวย สหกรณ 2 แหง สมาชิก 2,409 คน กลมุ เกษตรกร 3 แหง สมาชกิ 201 คน
● ผลการเขาแนะนาํ สง เสริม และแกไ ขปญหาสหกรณและกลุมเกษตรกร

จากการเขา แนะนําสง เสริมสหกรณและกลมุ เกษตรกรที่รบั ผิดชอบในอาํ เภอเชียรใหญ ตามภารกิจของ
กลุมสงเสริมสหกรณ 2 สงผลตอ สหกรณและกลุมเกษตรกรมกี ารพัฒนาในองคกรและพัฒนาธุรกจิ ดังน้ี

1. ดา นการพัฒนาองคกรของสหกรณและกลุมเกษตรกร
ใชเกณฑ จัดช้ันสมาชิก เปนเคร่ืองมือในการบริหารจัดการธุรกิจของสหกรณ และไดมีการจัด

ประชุมกลุมสมาชิก สงผลใหสมาชิก ผูนํากลุมมีความรูความเขาใจ มีความรูความเขาใจในบทบาทหนาที่ของ
ตนเองมากยงิ่ ข้ึน

2. ดา นการพัฒนาธุรกจิ ของสหกรณแ ละกลุมเกษตรกร
สมาชิกสหกรณม สี ว นรวมในการทาํ ธุรกิจกับสหกรณเ พิ่มข้นึ มีการขยายธรุ กจิ เพ่มิ ขึ้น

ผลการจัดมาตรฐาน ประจาํ ป 2563
สหกรณท ่ผี า นมาตรฐานสหกรณ 1 แหง
สหกรณท่ไี มผ านมาตรฐานสหกรณ 1 แหง
กลุม เกษตรกรผานเกณฑมาตรฐาน 3 แหง จากทั้งหมด 3 แหง

● ปญหา/อปุ สรรคในการดาํ เนินงานของสหกรณ/กลมุ เกษตรกร
จากการเขาแนะนําสงเสริมสหกรณและกลุมเกษตรกรที่อยูในความรบั ผิดชอบของกลุมสงเสริมสหกรณ

2 มปี ญ หาอปุ สรรคในการดําเนนิ งาน ดังนี้
1.1 สมาชกิ ไมม คี วามรูความเขา ใจในอุดมการณ หลกั การและวธิ ีการสหกรณเ ทา ทคี่ วร สว นใหญก าร

เขามาเปน สมาชิกของสหกรณและกลุมเกษตรกรหวังแตจะรับประโยชนของตนเอง (กเู งนิ เพยี งอยางเดียว)
1.2 คณะกรรมการยงั ขาดความรูในเร่อื งการบริหารธุรกจิ สงผลใหธรุ กจิ ของสหกรณเ กิดการขาดทุน

และไมม กี ารวเิ คราะหถงึ จุดคุมทนุ
๑.๓ คณะกรรมการและฝา ยจัดการไมไ ดน าํ หลักธรรมมาภบิ าลมาใชในการบริหารจดั การองคกร
1.๔ ในการจดั ทาํ แผนงานและประมาณการรายไดและคาใชจ ายประจาํ ปเ พ่ือนําเสนอท่ีประชุมใหญ

พจิ ารณา ขาดการมสี วนรวมจากทุกฝา ย สว นใหญฝายจัดการจะดาํ เนนิ การเพยี งฝายเดยี ว
● ขอ เสนอแนะ/แนวทางแกไขปญ หา

จัดทําแผนพัฒนาความเขมแข็งสหกรณ แผนพัฒนาธุรกิจสหกรณ แบบมีสวนรวม โดยตองวิเคราะห
จากผลการดําเนินงานของสหกรณท่ีผานมา จัดทําแผนรายเดือน และแตละเดือนจะตองมีการติดตาม
ประเมินผล โดยตองมกี ารมอบหมายใหก ับคณะกรรมการและฝา ยจัดการทีเ่ กีย่ วขอ งแตละฝาย

สํานกั งานสหกรณจงั หวดั นครศรธี รรมราช

รายงานผลการดําเนินงานประจําป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 56

●สหกรณ/กลมุ เกษตรกรท่ีสะทอนผลสาํ เรจ็ ของการปฏบิ ัติงานตามภารกิจของ สสจ./สสพ.
ในปง บประมาณ พ.ศ. 2563
สหกรณ/ กลมุ เกษตรกร สหกรณการเกษตรบา นเนิน – บา นกลาง จํากดั
ผลงาน/ความสาํ เร็จของสหกรณ/ กลุม เกษตรกร

จากการแนะนาํ ใหมีการจดั ประชุมเสวนาคณะกรรมการและสมาชิก แนะนําสหกรณจดั ใหมีการประชุม
กลุมสมาชิกและใหท าํ การสํารวจความตอ งการสนิ คา จากสมาชกิ จากการสํารวจความตองการของสมาชิก
สมาชิกมคี วามตองการใหก ลุมจัดหาสนิ คาอุปโภค บริโภคท่ีมคี วามจําเปน ในการดํารงชวี ิตประจาํ วนั เพื่อลด
คา ใชจ ายในครัวเรือน โดยการจดั หาขาวสารมาจาํ หนาย เจาหนาท่ีสง เสริมสหกรณ ไดแนะนําใหสหกรณ
เชอื่ มโยงธุรกจิ กบั สหกรณก ารเกษตรพรหมคีรี จาํ กดั เพื่อมาบริการสมาชกิ ยอดการจําหนายขาวสาร ตง้ั แต
เดอื นตุลาคม 2562 – 30 กันยายน 2563 สหกรณจ ดั หาขาวสารมาจาํ หนา ยใหแ กส มาชิก จาํ นวน 44.45
ตนั จาํ นวนเงนิ 1,186,058.00 บาทซงึ่ จําหนายราคาถกู กวาทอ งตลาด เฉล่ยี กิโลละ 2 บาท สง ผลใหสมาชิก
ลดคาใชจ ายในครวั เรือนจาํ นวน 500 บาท/ครวั เรอื น สมาชกิ ใชบ ริการจาํ นวน 98 ราย

เช่อื มโยงเครือขา ยปยุ ผสมจากสหกรณการเกษตรปากพนงั ทําใหส มาชกิ ไดร บั ปุย ท่มี ีคุณภาพ ราคาถูก
ทําใหสมาชกิ ลดตนทุนการผลิต ทาํ ใหสหกรณม ีปรมิ าณธรุ กิจเพม่ิ ขึ้นต้ังแตเ ดือนตุลาคม 2562 – 30 กันยายน
2563 สหกรณจ ัดหาปุยผสมจําหนา ยใหแ กส มาชิก จาํ นวน 32.90 ตนั จาํ นวนเงนิ 481,020.00 บาท ซ่งึ
จาํ หนายราคาถูกกวาทองตลาด เฉล่ียกิโลละ 6 บาท สง ผลใหส มาชกิ ลดตนทนุ การผลติ ไดปล ะ 1,000 บาท/ไร
สมาชกิ ใชบริการจาํ นวน 15 ราย

ประโยชนท ่ีสหกรณ/กลุมเกษตรกรไดร ับ
- สามารถลดตน ทุนเพราะไดซ ้ือสนิ คา ในราคาถูกซื้อมาจากศูนยกระจายสินคา
- มปี รมิ าณธุรกจิ เพมิ่ ข้ึน
- สมาชิกมสี ว นรวมเพม่ิ ขน้ึ
- มรี ายไดเ พ่ิมขึน้

ประโยชนท ่ีสมาชิกไดรบั
- สมาชกิ สามารถลดคาใชจายในครัวเรือนลงได
- สมาชิกไดบรโิ ภคขา วสารทีม่ ีคณุ ภาพ เปน ขาวหอมมะลิ 100 เปอรเซน็ ต

ภาพประกอบ ธรุ กิจจดั หาสนิ คามาจาํ หนาย

สาํ นักงานสหกรณจ ังหวดั นครศรธี รรมราช

รายงานผลการดําเนนิ งานประจาํ ป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 57

ภาพประกอบ ธรุ กิจรวบรวมผลผลติ จากสมาชิก (ปาลม )

ปจจัยแหงความสําเร็จ
แนะนําใหมีการประชุม 3 ฝาย เจาหนาที่สงเสริม คณะกรรมการ ฝายจัดการเพ่ือจัดทําแผนพัฒนา

ความเขมแข็งสหกรณ แผนพัฒนาธุรกิจสหกรณ รวมถึงแผนฟนฟูกิจการสหกรณ แบบมีสวนรวม โดยตอง
วิเคราะหจากผลการดําเนินงานของสหกรณท่ีผานมาจัดทําแผนรายเดือน และแตละเดือนจะตองมีการติดตาม
ประเมินผล

สํานักงานสหกรณจงั หวดั นครศรีธรรมราช

รายงานผลการดาํ เนินงานประจาํ ป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 58

อาํ เภอ หัวไทร

ประกอบดว ย สหกรณ 4 แหง สมาชกิ 3,049 คน กลมุ เกษตรกร 6 แหง สมาชกิ 433 คน
● ผลการเขา แนะนาํ สงเสริม และแกไ ขปญหาสหกรณและกลุม เกษตรกร

จากการเขาแนะนาํ สง เสรมิ สหกรณแ ละกลุมเกษตรกรท่รี ับผิดชอบในอาํ เภอหัวไทร ตามภารกจิ ของ
กลุมสงเสรมิ สหกรณ 2 สง ผลตอ สหกรณและกลุมเกษตรกรมีการพฒั นาในองคกรและพัฒนาธุรกิจ ดังนี้

1. ดา นการพัฒนาองคก รของสหกรณแ ละกลุมเกษตรกร
สมาชิกสหกรณและกลมุ เกษตรกร คณะกรรมการ ผูต รวจสอบกิจการและเจา หนา ท่ีสหกรณ ได

จัดทาํ เวทเี สวนา เพ่อื ใหผ นู าํ กลุมเปน ศนู ยก ลางในการพฒั นาสหกรณในทุก ๆ ดาน โดยใชเกณฑ จดั ชน้ั สมาชิก
เปนเคร่อื งมือในการบริหารจัดการธรุ กิจของสหกรณ

2. ดา นการพฒั นาธรุ กิจของสหกรณและกลุมเกษตรกร
สมาชิกสหกรณและกลุมเกษตรกรมีสวนรวมในการทําธุรกิจกับสหกรณ/ กลุมเกษตรกรเพม่ิ ข้นึ มี

การขยายธรุ กิจเพ่มิ ขึ้น โดยเฉพาะธรุ กจิ จดั หาสนิ คา มาจาํ หนา ย (สินคาอุปโภค บรโิ ภค) ท่ีมีความจาํ เปนในการ
ดํารงชีวติ ประจําวนั ทาํ ใหล ดคา ใชจ ายในครัวเรอื น

ผลการจดั มาตรฐาน ประจาํ ป 2563
สหกรณท ่ีผานมาตรฐานสหกรณ 2 แหง
สหกรณที่ไมผานมาตรฐานสหกรณ 2 แหง
กลมุ เกษตรกรผา นเกณฑมาตรฐาน 5 แหง จากท้ังหมด 6 แหง

● ปญ หา/อปุ สรรคในการดาํ เนินงานของสหกรณ/กลุมเกษตรกร
จากการเขา แนะนําสงเสริมสหกรณแ ละกลุมเกษตรกรทอี่ ยูในความรบั ผดิ ชอบของกลุมสงเสริมสหกรณ

2 มปี ญ หาอุปสรรคในการดําเนินงาน ดงั นี้
1. ดา นบคุ ลากร
1.1 สมาชิกไมม ีความรูความเขาใจในอุดมการณ หลักการและวธิ ีการสหกรณเทาที่ควร สว นใหญ

การเขามาเปน สมาชิกของสหกรณแ ละกลุมเกษตรกรหวงั แตจะรบั ประโยชนของตนเอง (กเู งินเพยี งอยา งเดียว)
1.2 คณะกรรมการยงั ขาดความรูในเรื่องการบริหารธรุ กิจสงผลใหธ รุ กิจของสหกรณเ กิดการขาดทนุ

และไมม ีการวิเคราะหถึงจุดคุมทนุ
๑.๓ คณะกรรมการและฝายจดั การไมไดนาํ หลักธรรมมาภิบาลมาใชใ นการบริหารจัดการองคก ร
1.๔ ในการจัดทาํ แผนงานและประมาณการรายไดและคาใชจ า ยประจําปเ พ่ือนาํ เสนอทป่ี ระชมุ ใหญ

พจิ ารณา ขาดการมสี วนรว มจากทุกฝาย สว นใหญฝา ยจดั การจะดําเนนิ การเพียงฝา ยเดียว
2. ดานการพัฒนาธุรกจิ ของสหกรณแ ละกลมุ เกษตรกร
2.1 ทุนดาํ เนินงานของสหกรณไมเ พยี งพอตอ การดําเนินธุรกิจ
2.2 สหกรณและกลมุ เกษตรกรท่ีไมมีโครงสรา งดานการบริหารจัดการองคก ร ทาํ ใหการดําเนนิ งาน

ของสหกรณแ ละกลุมเกษตรกรเกิดการขาดทนุ

สาํ นักงานสหกรณจ ังหวดั นครศรธี รรมราช

รายงานผลการดาํ เนินงานประจาํ ป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 59

● ขอเสนอแนะ/แนวทางแกไขปญหา
วิเคราะหผ ลการดําเนินงานของสหกรณ ระดมสมอง กําหนดแนวทางการสรา งความเขมแขง็

รวมกันจดั ทําแผนพฒั นาความเขม แข็ง เนนการพฒั นาดา นระบบการบรหิ ารจดั การองคกร การควบคุมภายใน
การสงเสริมการมสี ว นรวม และธรรมาภบิ าลในการบริหาร วิเคราะหจ ัดทําแผนพัฒนาธุรกิจสหกรณ ซง่ึ แผนที่
จดั ทาํ นั้นสามารถตอบสนองความตองการของสมาชกิ และชุมชน ในการจัดทาํ แผนพัฒนาธรุ กจิ นาํ ขอ มูลการ
ประเมินศักยภาพเบื้องตนของสหกรณ/ กลุมเกษตรกร มาประกอบการพจิ ารณาในการจัดทาํ แผนพฒั นาสหกรณ
● สหกรณ/ กลุมเกษตรกรที่สะทอนผลสาํ เรจ็ ของการปฏบิ ตั ิงานตามภารกิจของ สสจ./สสพ.
ในปงบประมาณ พ.ศ. 2563
สหกรณ/ กลุมเกษตรกร สหกรณปาลมควนชะลิก จํากัด
ผลงาน/ความสําเร็จของสหกรณ/ กลมุ เกษตรกร

สหกรณสามารถฟนฟูกิจการสหกรณไดสําเร็จ สหกรณลดขาดทุนสะสมไดจํานวน 1,214,330.18
บาท วันส้ินปทางบัญชี 30 มิถุนายน 2563 มีสมาชิกเพ่ิมข้ึนจากปกอน 58 ราย สมาชิกมีสวนรวมในการทํา
ธุรกิจกับสหกรณ 285 คนเพ่ิมข้ึนจากปกอน 45 คน ปริมาณธุรกิจเพิ่มข้ึน 23,268,043 บาท สหกรณมี
กาํ ไรสุทธปิ ระจําป 1,167,722 บาท

สหกรณเชอ่ื มโยงธรุ กิจกับสหกรณการเกษตรพรหมคีรี จาํ กัด เพอ่ื มาบริการสมาชกิ ยอดการจําหนาย
ขาวสาร ตง้ั แตเดือนตุลาคม 2562 – 30 กนั ยายน 2563 สหกรณจัดหาขา วสารมาจําหนา ยใหแกสมาชิก
จาํ นวน 38.40 ตนั จํานวนเงนิ 1,414,279.00 บาทซึง่ จาํ หนายราคาถูกกวา ทองตลาด เฉลี่ยกโิ ลละ 2 บาท
สง ผลใหส มาชิกลดคา ใชจ า ยในครัวเรอื นจาํ นวน 500 บาท/ครวั เรือน สมาชิกใชบรกิ ารจํานวน 74 ราย

สาํ นกั งานสหกรณจงั หวดั นครศรธี รรมราช

รายงานผลการดาํ เนินงานประจาํ ป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 60

ภาพกิจกรรม การดาํ เนินงานของสหกรณป าลม ควนชะลกิ จาํ กัด

ปจจัยแหง ความสาํ เรจ็
แนะนําใหมีการประชุม 3 ฝาย เจาหนาที่สงเสริม คณะกรรมการ ฝายจัดการเพื่อจัดทําแผนพัฒนา

ความเขมแข็งสหกรณ แผนพัฒนาธุรกิจสหกรณ รวมถึงแผนฟนฟูกิจการสหกรณ แบบมีสวนรวม โดยตอง
วิเคราะหจากผลการดําเนินงานของสหกรณท่ีผานมาจัดทําแผนรายเดือน และแตละเดือนจะตองมีการติดตาม
ประเมินผล

สํานกั งานสหกรณจังหวัดนครศรธี รรมราช

รายงานผลการดําเนนิ งานประจาํ ป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 61

อาํ เภอ เฉลมิ พระเกยี รติ

ประกอบดวย สหกรณ 2 แหง สมาชิก 2,144 คน กลมุ เกษตรกร 3 แหง สมาชกิ 124 คน
● ผลการเขา แนะนํา สงเสริม และแกไขปญ หาสหกรณและกลุมเกษตรกร

จากการเขาแนะนําสงเสริมสหกรณและกลุมเกษตรกรท่ีรับผิดชอบในอําเภอเฉลิมพระเกียรติ
ตามภารกิจของกลุมสงเสริมสหกรณ 2 สงผลตอสหกรณและกลุมเกษตรกรมีการพัฒนาในองคกรและพัฒนา
ธุรกิจ ดงั น้ี

แนะนํา สงเสริม ใหคําปรึกษา ใหสหกรณ/กลุมเกษตรกร ปฏิบัติตามกฎหมาย ขอบังคับ ระเบียบ
ขอกําหนดตาง ๆ ตามคําสั่งนายทะเบียนสหกรณ นโยบาย มติท่ีประชุมใหญและมติท่ีประชุมคณะกรรมการ
รวมท้ังการแนะนําสงเสริมใหคณะกรรมการดําเนินการกํากับ ดูแล การปฏบิ ัติงานของฝา ยจัดการใหเปนไปตาม
กฎหมาย ขอบังคับ ระเบียบ มติที่ประชุมใหญ หรือมติที่ประชุมคณะกรรมการ โดยมีแนวทางการปฏิบัติงาน
เชน แนะนําใหสหกรณสงสําเนารายงานการประชุมใหญห รือรายงานการประชุมคณะกรรมการใหกลุมสงเสริม
สหกรณท ราบ เปน ตน

ผลการจัดมาตรฐาน ประจาํ ป 2563
สหกรณทผ่ี านมาตรฐานสหกรณ 1 แหง
สหกรณท ่ีไมผ า นมาตรฐานสหกรณ 1 แหง
กลมุ เกษตรกรผา นเกณฑมาตรฐาน 3 แหง จากทั้งหมด 3 แหง

● ปญหา/อุปสรรคในการดาํ เนินงานของสหกรณ/กลมุ เกษตรกร
- สมาชิกสหกรณมสี วนรวมในการซ้อื สนิ คา จากสหกรณน อ ยลง
- สมาชกิ สหกรณ/ กลมุ เกษตรกรไมสามารถชาํ ระหน้ีสินได
- สหกรณยังไมไ ดดาํ เนินธุรกิจรวบรวมผลผลิตจากสมาชิก

● ขอเสนอแนะ/แนวทางแกไขปญหา
1. สหกรณสํารวจความตองการสินคาของสมาชิก นําสินคาไปจําหนายตอนประชุมกลุม ออกรานกับ

หนว ยงานราชการตามพืน้ ที่ตาง ๆ และรับยอดซ้อื สินคาตามทอ่ี งคการบริหารสวนตําบลสั่งซ้ือเปนครง้ั คราว
2. สหกรณเชิญสมาชิกช้ันนํามาเสนอปญหาอุปสรรคและแนวทางแกไข และจัดทําฐานขอมูลสมาชิก

และแผนงานการดําเนนิ ธรุ กจิ รวบรวมผลผลติ จากสมาชกิ

สาํ นกั งานสหกรณจงั หวัดนครศรีธรรมราช

รายงานผลการดําเนินงานประจําป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 62

●สหกรณ/กลมุ เกษตรกรที่สะทอ นผลสําเร็จของการปฏิบัตงิ านตามภารกจิ ของ สสจ./สสพ.
ในปงบประมาณ พ.ศ. 2563
สหกรณ/ กลุมเกษตรกร สหกรณการเกษตรศภุ นิมติ ฯ เฉลิมพระเกียรติ จํากัด
ผลงาน/ความสาํ เรจ็ ของสหกรณ/ กลมุ เกษตรกร

จากการแนะนําใหม กี ารจัดประชมุ เสวนาคณะกรรมการและสมาชิก แนะนําสหกรณจัดใหมกี ารประชุม
กลุมสมาชิกและใหทําการสํารวจความตองการสินคาจากสมาชิก จากการสํารวจความตองการของสมาชิก
สมาชิกมีความตองการใหกลุมจัดหาสินคาอุปโภค บริโภคที่มีความจําเปนในการดํารงชีวิตประจําวันเพ่ือลด
คาใชจายในครัวเรือน โดยการจัดหาขาวสารมาจําหนาย เจาหนาที่สงเสริมสหกรณ ไดแนะนําใหสหกรณ
เชื่อมโยงธุรกิจกับสหกรณการเกษตรพรหมคีรี จํากัด เพ่ือมาบริการสมาชิก ยอดการจําหนายขาวสาร ต้ังแต
เดือนตุลาคม 2562 – 30 กันยายน 2563 สหกรณจัดหาขาวสารมาจําหนายใหแกสมาชิก จํานวน 7.6 ตัน
จํานวนเงิน 273,585.00 บาทซึ่งจําหนายราคาถูกกวาทองตลาด เฉล่ียกิโลละ 2 บาท สงผลใหสมาชิกลด
คา ใชจ า ยในครัวเรือนจาํ นวน 500 บาท/ครวั เรอื น สมาชิกใชบริการจํานวน 35 ราย

ประโยชนท ่สี หกรณ/ กลมุ เกษตรกรไดรับ
- สามารถลดตนทนุ เพราะไดซ้ือสนิ คา ในราคาถูกซื้อมาจากศูนยก ระจายสนิ คา
- มีปริมาณธรุ กจิ เพม่ิ ขึ้น
- สมาชกิ มสี ว นรวมเพิม่ ขึน้
- มรี ายไดเพ่ิมขนึ้

ประโยชนทส่ี มาชิกไดรบั
- สมาชกิ สามารถลดคา ใชจา ยในครวั เรือนลงได
- สมาชิกไดบรโิ ภคขา วสารที่มีคุณภาพ เปน ขาวหอมมะลิ 100 เปอรเ ซน็ ต

ภาพประกอบ ธุรกิจจัดหาสินคา มาจาํ หนาย

ปจจัยแหง ความสาํ เร็จ
แนะนําใหมีการประชุม 3 ฝาย เจาหนาท่ีสงเสริม คณะกรรมการ ฝายจัดการเพื่อจัดทําแผนพัฒนา

ความเขมแข็งสหกรณ แผนพัฒนาธุรกิจสหกรณ รวมถึงแผนฟนฟูกิจการสหกรณ แบบมีสวนรวม โดยตอง
วิเคราะหจากผลการดําเนินงานของสหกรณท่ีผานมาจัดทําแผนรายเดือน และแตละเดือนจะตองมีการติดตาม
ประเมินผล

สํานักงานสหกรณจ งั หวดั นครศรีธรรมราช

รายงานผลการดาํ เนินงานประจาํ ป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 63

อาํ เภอ พระพรหม

ประกอบดวย สหกรณ 3 แหง สมาชิก 5,029 คน กลุมเกษตรกร 3 แหง สมาชกิ 214 คน
● ผลการเขา แนะนาํ สงเสริม และแกไขปญหาสหกรณและกลุมเกษตรกร

1. ดา นการพฒั นาองคก รของสหกรณแ ละกลมุ เกษตรกร
1.1 สมาชิกสหกรณและกลุมเกษตรกร คณะกรรมการ ผูตรวจสอบกิจการและเจาหนาท่ีสหกรณ

ไดจัดทําเวทีเสวนา เพื่อใหผูนํากลุมเปนศูนยกลางในการพัฒนาสหกรณในทุก ๆ ดาน โดยใชเกณฑ จัดชั้น
สมาชกิ เปนเคร่อื งมือในการบรหิ ารจดั การธรุ กิจของสหกรณ และไดมกี ารจัดประชุมกลมุ สมาชิก จดั ประชุมผูน ํา
กลมุ สมาชกิ ทําใหสมาชกิ มคี วามรูความเขาใจ มคี วามรคู วามเขาใจในบทบาทหนาท่ขี องตนเองมากยิ่งขน้ึ

1.2 คณะกรรมการมกี ารติดตามงานตามแผนงานประจาํ ปท ี่ไดรบั การอนมุ ัติจากท่ปี ระชมุ ใหญเปน
ประจาํ ทุกเดือนทาํ ใหม ีการควบคุมภายในทดี่ ี

2. ดานการพัฒนาธรุ กิจของสหกรณและกลุมเกษตรกร
2.1 ดานเงินทุน สหกรณและกลุมเกษตรกร สวนใหญพึ่งพาจากแหลง เงนิ ทุนภายใน จากการถือ

หุน และเงนิ ฝากจากสมาชิกเพ่ือลดตนทุนในการบริหารจดั การสหกรณแ ละกลมุ เกษตรกรโดยลดการพ่งึ พาจาก
แหลง เงนิ ทุนภายนอก

2.2 ดานการพัฒนาธรุ กิจ
สมาชิกสหกรณและกลุมเกษตรกรมีสว นรว มในการทาํ ธรุ กจิ กบั สหกรณ/กลมุ เกษตรกรเพิ่มขนึ้

มีการขยายธรุ กิจเพ่มิ ขึน้ โดยเฉพาะธรุ กจิ จัดหาสินคามาจาํ หนา ย (สินคา อุปโภค บรโิ ภค) ท่ีมคี วามจาํ เปน ในการ
ดํารงชีวติ ประจําวัน ทําใหล ดคาใชจายในครวั เรอื น

ผลการจัดมาตรฐาน ประจาํ ป 2563
สหกรณท ผ่ี า นมาตรฐานสหกรณ 1 แหง
สหกรณท ี่ไมผ า นมาตรฐานสหกรณ 2 แหง
กลุมเกษตรกรผา นเกณฑมาตรฐาน 1 แหง จากทั้งหมด 3 แหง

● ปญหา/อุปสรรคในการดาํ เนินงานของสหกรณ/กลุมเกษตรกร
จากการแนะนําสงเสริมสหกรณและกลุมเกษตรกรในความรับผิดชอบของกลุมสงเสริมสหกรณ 2 มี

ปญ หาและอุปสรรค ดังน้ี
1. สหกรณและกลุมเกษตรกรมีการพบปะสมาชิกนอย ปละ 1 – 2 คร้ัง สงผลใหสมาชิกไมมีความรู

ความเขา ในในบทบาทหนาทข่ี องตนเอง และไมสามารถทราบปญ หา และความตองการของสมาชกิ อยา งแทจ ริง
2. คณะกรรมการไมคอยแสดงความคิดเห็นในท่ีประชุมคณะกรรมการประจําเดือน ไมไ ดใชงบการเงิน

มาเปนเครื่องมือในการบริหารจดั การองคกร

สาํ นกั งานสหกรณจ ังหวัดนครศรีธรรมราช

รายงานผลการดําเนนิ งานประจาํ ป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 64

● ขอเสนอแนะ/แนวทางแกไขปญหา
จัดทําแผนพัฒนาความเขมแข็ง จัดทาํ แผนการพัฒนาการดําเนนิ การแกไขปญหา เนนการพัฒนาดาน

การบริหารจัดการองคกร และธรรมาภิบาลในการบริหาร เกิดจากกระบวนการจัดทําแผนแบบมีสวนรวม
ประกอบดวย คณะกรรมการดําเนินการ ฝายจัดการ ผูนําสมาชิก ท่ีปรึกษาของสหกรณ และเจาหนาท่ีสงเสริม
สหกรณ ดงั นี้

วเิ คราะหผ ลการดาํ เนนิ งานของสหกรณ ระดมสมอง กาํ หนดแนวทางการสรางความเขม แขง็
รวมกนั จัดทําแผน พัฒนาความเขมแข็ง เนนการพฒั นาดานระบบการบริหารจัดการองคก ร การควบคุมภายใน
การสงเสริมการมีสวนรวม และธรรมาภิบาลในการบริหาร วิเคราะหจัดทําแผนพัฒนาธุรกิจสหกรณ ซึ่งแผนที่
จัดทําน้ันสามารถตอบสนองความตองการของสมาชิกและชุมชน ในการจัดทําแผนพัฒนาธุรกิจ นําขอมูลการ
ประเมนิ ศักยภาพเบ้ืองตนของสหกรณ/กลุม เกษตรกร มาประกอบการพิจารณาในการจัดทําแผนใหเ หมาะสมใน
การจัดทาํ แผนพฒั นาสหกรณ/ กลุมเกษตรกร จัดทําแผนปฏิบัติงานหลักในการพฒั นาแกไ ขปญหาสหกรณ/ กลุม
เกษตรกร
● สหกรณ/กลมุ เกษตรกรที่สะทอ นผลสําเรจ็ ของการปฏิบัตงิ านตามภารกจิ ของ สสจ./สสพ.
ในปง บประมาณ พ.ศ. 2563
สหกรณ/ กลุม เกษตรกร สหกรณการเกษตรพระพรหม จาํ กัด
ผลงาน/ความสําเรจ็ ของสหกรณ/ กลมุ เกษตรกร

สมาชกิ มีสว นรวมในการทาํ กิจกรรมและรวมทําธรุ กจิ กบั สหกรณ รอ ยละ 80ของสมาชกิ ทัง้ หมด
สมาชกิ คณะกรรมการ ผตู รวจสอบกจิ การและเจาหนาทีส่ หกรณ ไดจ ดั ทําเวทเี สวนา เพื่อใหผูน ํากลมุ เปน
ศูนยก ลางในการพัฒนาสหกรณในทุกๆ ดา น โดยใชเกณฑ จัดช้ันสมาชิก เปนเครือ่ งมือในการบรหิ ารจัดการ
ธรุ กจิ ของสหกรณ และไดม ีการจัดประชุมกลุมสมาชกิ จดั ประชมุ ผนู ํากลุมสมาชิกทาํ ใหสมาชิกมีความรูความ
เขา ใจ มีความรูความเขาใจในบทบาทหนาที่ของตนเองมากย่งิ ขึ้น

ภาพประกอบ กจิ กรรมประชุมกลมุ สมาชิก

สาํ นกั งานสหกรณจ งั หวดั นครศรีธรรมราช

รายงานผลการดําเนินงานประจําป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 65

ภาพประกอบ ธรุ กจิ จดั หาสนิ คามาจําหนา ย

ภาพประกอบ ธรุ กิจรับเงนิ ฝากจากสมาชกิ

ปจจยั แหงความสาํ เรจ็
แนะนําใหมีการประชุม 3 ฝาย เจาหนาท่ีสงเสริม คณะกรรมการ ฝายจัดการเพื่อจัดทําแผนพัฒนา

ความเขมแข็งสหกรณ แผนพัฒนาธุรกิจสหกรณ แบบมีสวนรวม โดยตองวิเคราะหจากผลการดําเนินงานของ
สหกรณท ่ีผา นมาจดั ทําแผนรายเดอื น และแตล ะเดอื นจะตอ งมีการติดตามประเมนิ ผล

พัฒนาสหกรณใหเปน ศูนยก ลางเศรษฐกิจและสังคมของชุมชนพฒั นาใหเปน สหกรณระดับอําเภอ 1
สหกรณ 1 อาํ เภอ) นนั้ สงผลใหส หกรณพฒั นาความเขมแข็ง และพัฒนาธรุ กจิ ทาํ ใหสหกรณมคี วามเขมแข็ง
และเปนศูนยกลางในการรวบรวมผลผลิตจากสมาชิกและชุมชน

สาํ นกั งานสหกรณจ งั หวัดนครศรธี รรมราช

รายงานผลการดาํ เนินงานประจําป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 66

อําเภอ รอ นพบิ ลู ย

ประกอบดวย สหกรณ 3 แหง สมาชิก 3,392 คน กลมุ เกษตรกร 2 แหง สมาชกิ 890 คน
 ผลการเขา แนะนํา สง เสริม และแกไขปญหาสหกรณและกลมุ เกษตรกร

๑. การสง เสริมสหกรณแ ละกลุมเกษตร
๑.๑ สงเสริมและเผยแพรความรูเก่ียวกับหลักการ วิธีการ อุดมการณสหกรณและขอบังคับ

ระเบียบท่ีถกู ตอง เหมาะสม โดยผานที่ประชุมคณะกรรมการดําเนนิ การประชมุ กกลุมสมาชกิ สหกรณ และการ
เขา รวมประชุมกับกลุมองคก รประชาชนอน่ื ๆ

๑.๒ สงเสริม ติดตามและชวยแกปญหาดานการดําเนินธุรกิจและการบริหารจัดการองคกรให
เปนไปตามกฎหมาย ขอ บังคับ ระเบียบ คําส่งั และกฎหมายอนื่ ท่ีเกยี่ วของดวยวธิ ีการสหกรณตามวัตถุประสงค
การจัดต้งั และการใหบ ริการทีด่ ีแกสมาชิก โดยยึดหลกั ธรรมาภิบาล

๑.๓ สง เสรมิ แนะนํา และตดิ ตามใหม ีการใชอุปกรณก ารตลาด อยางมปี ระสิทธิภาพ
๑.๔ สงเสรมิ แนะนํา ตดิ ตามการเช่ือมโยงธรุ กิจกับสหกรณระหวางสหกรณ/ กลุมเกษตรกร
๑.๕ สงเสริมสหกรณ/กลุมเกษตรกรใหดําเนินงานเปนไปตามแผนงานประจําปที่ไดรับอนุมัติ
จากที่ประชุมใหญ
๑.๖ สงเสริมสหกรณ/กลุมเกษตรกรใหนําขอมูลทางบัญชี รายงานการตรวจการ รายงานการ
ตรวจสอบกิจการ ปญหาและอุปสรรคตาง ๆ ไปใชในการประเมินสถานภาพ เพื่อปรับปรุงกระบวนการบริหาร
และวางแผนการดําเนนิ งานไมใหเ กดิ ขอ บกพรอ ง การทจุ รติ และสงเสรมิ ใหผ า นเกณฑมาตรฐาน
๒. เขารวมประชุมกลุมสมาชิกสหกรณ เพ่ือเผยแพรอุดมการณ หลักการและวิธีการสหกรณ รวมท้ัง
การนําความคดิ เหน็ และขอเสนอแนะจากสมาชิกใหค ณะกรรมการพจิ ารณาแกไขปรับปรงุ
๓. รวมประชุมคณะกรรมการดําเนินการใหคําแนะนํา ขอเสนอแนะ ขอสังเกตในการดําเนินงาน
ภายใตกรอบของกฎหมาย ขอบังคับ คําสั่ง/คําแนะนําของนายทะเบียนสหกรณ ระเบียบและมติของที่ประชุม
ใหญและทป่ี ระชมุ คณะกรรมการดําเนินการ
๔. แนะนาํ สง เสรมิ ชวยเหลอื การจดั ทาํ บญั ชีของกลุมเกษตรกร
๕. ติดตาม ตรวจสอบ แนะนําสหกรณ/กลุมเกษตรกรท่ีหยุดดําเนินธุรกิจ เพ่ือใหกลับมาดําเนินธุรกิจ
มีการเพิ่มปรมิ าณธรุ กิจ
๖. ปฏบิ ัตงิ านตามโครงการ/กจิ กรรมทเ่ี ปนภารกิจของกลมุ งานวิชาการ
๖.1 กลุมสงเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ โดยสงเสริมใหสหกรณ/กลุม
เกษตรกรพัฒนาคุณภาพการบรหิ ารจัดการสหกรณ การยกระดบั ชัน้ การควบคมุ ภายในของสหกรณ การสง เสริม
ธรรมาภิบาล ลดภาระหนแี้ ละชดเชยดอกเบ้ียสมาชิกสหกรณผูประสบอุทกภยั การติดตามการใชเงนิ กตู า ง ๆ
๖.2 กลุมสงเสริมและพฒั นาธุรกิจสหกรณ โดยสง เสริมการสรางเครือขายและเช่ือมโยงธุรกิจ
ระหวา งสหกรณ รวมทัง้ การสง เสริมกลมุ อาชีพในสหกรณ
๖.3 กลุมตรวจการสหกรณ โดยการตรวจการสหกรณในฐานะผูต รวจการสหกรณ สหกรณละ
๑ ครั้ง รวมท้งั การใหคําแนะนําและการรายงานผลการแกไขขอสงั เกตของผตู รวจการสหกรณ
6.4 กลุมจัดตั้งและสงเสริมสหกรณกิจกรรมสงเสริมกิจกรรมสหกรณในโรงเรือนตํารวจตระ
เวนชายแดน การประกวดการบันทกึ รายงานการประชุม การบนั ทกึ บญั ชี การศกึ ษาดงู าน สหกรณดเี ดน

สํานักงานสหกรณจ งั หวดั นครศรธี รรมราช

รายงานผลการดําเนนิ งานประจําป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 67

 ปญหา/อปุ สรรคในการดาํ เนินงานของสหกรณ/กลุมเกษตรกร
1. ปญ หาภายในองคกรสหกรณ/กลมุ เกษตรกร
1.๑ ดานสมาชกิ
สมาชิกขาดการมสี ว นรวมในการดําเนนิ ธรุ กจิ กบั สหกรณอยางตอเนื่อง
1.2 ดานคณะกรรมการ
คณะกรรมการขาดความรู ความเขาใจในบทบาทหนาที่ของตนเองการมอบหมายงาน

การดําเนนิ งานตามแผนงานใหประสมความสําเรจ็
1.3 ผตู รวจสอบกจิ การ
ผูตรวจสอบกจิ การ ยงั ขาดความรู ความเขา ใจในการตรวจสอบเชงิ ลึก
1.4 การดาํ เนินธรุ กจิ
ธุรกิจของสหกรณยังไมครบวงจรโดยเฉพาะธุรกิจรวบรวมผลผลิต บุคลากรในห

สกรณขาดการขับเคลื่อนอยางจริงจัง ทําแตธุรกิจแบบเดิมเนนสินเช่ือ สําหรับธุรกิจจัดหาสินคามาจําหนายยัง
ขาดทุน

1.5 ดานฝา ยจดั การ
เจา หนา ที่ของสหกรณยังขาดความกระตือรอื รนในการขับเคลอื่ นพฒั นาธรุ กจิ สหกรณ

ใหม ีความเขม แข็งการขบั เคลอื่ นตามแผนกลยุทธ
 ขอเสนอแนะ/แนวทางแกไ ขปญหา

1. จัดใหม ีการศึกษาอบรมสมาชิก คณะกรรมการและเจาหนาท่สี หกรณอ ยา งตอเนื่องทุกป
2. จัดใหม ีการศึกษาดงู านสหกรณทปี่ ระสมความสําเรจ็ แลว นํามาขบั เคลื่อนประยุกตใ ช
3. ทบทวนแผนกลยุทธทุกป
4. สหกรณควรมีธรุ กิจครบวงจรสอดคลอ งกบั ความตอ งการสมาชิก มีสนิ คา ตรงตามความตอ งการของ
สมาชิกหลากหลายรวมถงึ รบั ฝากขายผลผลิตสมาชกิ
 สหกรณ/ กลมุ เกษตรกรท่ีสะทอนผลสําเร็จของการปฏิบตั ิงานตามภารกจิ ของ สสจ./สสพ.
ในปง บประมาณ พ.ศ. 2563
สหกรณ/กลุมเกษตรกร สหกรณการเกษตรเขานอ ย จํากัด
ผลงาน/ความสาํ เร็จของสหกรณ/ กลุมเกษตรกร
สหกรณก ารเกษตรระดบั อําเภอ
1. ชือ่ สหกรณก ารเกษตรเขานอ ย จํากดั ประเภทของสหกรณก ารเกษตร
2. จาํ นวนสมาชิกสหกรณ ณ 30 มิถนุ ายน 2563 จํานวน 1,390 ราย
3. ผลผลติ การเกษตรหลกั ของสหกรณ ยางพารา ปาลมนํา้ มนั
๔. สหกรณด ําเนินธุรกิจ สนิ เช่ือ เปน ธรุ กิจหลัก และธรุ กิจอื่นประกอบดวย

- สนิ เชื่อ
- รบั ฝากเงนิ
- ซ้อื (ปยุ ขา วสาร อาหารสัตว วสั ดกุ ารเกษตร)

สาํ นกั งานสหกรณจงั หวดั นครศรีธรรมราช

รายงานผลการดําเนินงานประจาํ ป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 68

5. ผลการดาํ เนินงานท่โี ดดเดน ของสหกรณ มีสวัสดกิ ารตา ง ๆ ใหก ับสมาชิก ธรุ กจิ สนิ เชื่อ,ธรุ กจิ จดั หา
6. บทบาทของสหกรณในการขับเคล่ือนงานตามนโยบายของรฐั เปน แมขายในอําเภอรอนพิบูลย
7. เปน สหกรณบ ริการสมาชกิ ตามจดุ ตาง ๆ ทกุ เดือน
8. มีโครงการระดมทนุ เปนกรณีพิเศษ
9. มีการจดั ชน้ั สมาชกิ
10. มกี ารเชื่อมโยงธรุ กิจระหวางสหกรณ
11. เขารว มสนับสนุนกจิ กรรมสหกรณนักเรียนโรงเรียนตชด.เขาวงั และโรงเรียนตชด.บานควนมีชยั
12. เขา รวมกจิ กรรมวนั สหกรณนกั เรยี น

ภาพกิจกรรม การดาํ เนินงานของสหกรณก ารเกษตรเขานอ ย จํากดั

สํานักงานสหกรณจังหวดั นครศรีธรรมราช

รายงานผลการดาํ เนนิ งานประจําป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 69

ปจ จยั แหง ความสาํ เรจ็
1. รวมประชุมคณะกรรมการดําเนินการสหกรณเพื่อทบทวนแผนพัฒนาความเขมแข็งและแผนพัฒนา

ธุรกิจสหกรณ โดยใชเ คร่อื งมอื และเทคนิคตางๆ ดังนี้
- SWOT Analysis
- CAMELS Analysis การวิเคราะหอ ัตราสว นทางการเงนิ
- เกณฑก ารประเมนิ ความเขม แขง็
- เกณฑม าตรฐานสหกรณ
นาํ ผลการวิเคราะหท ่ีไดไปนําเสนอในการประชมุ เชงิ ปฏิบตั ิการฯ รว มกบั คณะกรรมการ/ฝา ย

จดั การ/ผนู ํากลุม/หนว ยงานท่ีเก่ยี วของ
2. แนะนําใหสหกรณมีแผนการออกบริการในพ้ืนท่ีทุกเดือนในวันท่ี 4,5,6,7,8 เพ่ือสรางความ

เขม แข็งสรางการมสี ว นรวมของสมาชิก
3. ไดแนะนําขับเคลื่อนโครงการเช่ือมโยงธุรกิจระหวางสหกรณ/กลุมเกษตรกร เพื่อเพ่ิมปริมาณธุรกิจ

รวมกัน ซื้อ-ขาย ไดสินคาคุณภาพดี ราคาถูก มาจําหนายแกสมาชิก และเครือขายโดยส่ังซ้ือขาวสารของ
สหกรณการเกษตรกันทลักษณ จํากัด จังหวัดศรีสะเกษ สหกรณกองทุนสวนยางบานเสม็ดจวนพัฒนา จํากัด
และส่ังซ้อื ขาวสารสหกรณการเกษตรวสิ ยั จํากดั จังหวดั รอ ยเอ็ด

4. ไดแนะนําใหสหกรณปฏิบัติตามหลักสหกรณขอท่ี 7 เอื้ออาทรตอชุมชนบริจาคทุนสาธารณประโยชน
เปนขาวสารแกนกั เรียนของโรงเรียนตํารวจตระเวนชายแดนบานเขาวัง ตําบลหินตก อําเภอรอนพิบูลย จังหวัด
นครศรีธรรมราช ซ่งึ เปนโครงการพระราชดาํ รใิ นสมเดจ็ พระกนิษฐาธิราชเจา กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
สยามบรมราชกมุ ารี

5. ไดแนะนําในท่ีประชุมคณะกรรมการดําเนินงานใหสหกรณมีการประชมุ กลุมสมาชิก เพื่อขับเคล่ือน
การดาํ เนินงานสรา งการมสี ว นรว มของสมาชิกอยา งตอเนื่อง

สํานักงานสหกรณจ งั หวดั นครศรีธรรมราช

รายงานผลการดําเนนิ งานประจําป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 70

อําเภอ บางขัน

ประกอบดวย สหกรณ 8 แหง สมาชกิ 1,017 คน กลุมเกษตรกร 3 แหง สมาชกิ 151 คน
 ผลการเขา แนะนํา สงเสริม และแกไขปญหาสหกรณแ ละกลุมเกษตรกร

๑. การสง เสริมสหกรณและกลุมเกษตร
๑.๑ สงเสริมและเผยแพรความรูเก่ียวกับหลักการ วิธีการ อุดมการณสหกรณและขอบังคับ

ระเบียบที่ถูกตอง เหมาะสม โดยผานท่ีประชุมคณะกรรมการดําเนนิ การประชุมกกลุม สมาชิกสหกรณ และการ
เขารว มประชมุ กบั กลมุ องคก รประชาชนอน่ื ๆ

๑.๒ สงเสริม ติดตามและชวยแกปญหาดานการดําเนินธุรกิจและการบริหารจัดการองคกรให
เปนไปตามกฎหมาย ขอ บังคับ ระเบียบ คําส่งั และกฎหมายอืน่ ทเี่ ก่ียวของดวยวิธีการสหกรณต ามวัตถุประสงค
การจัดต้งั และการใหบ รกิ ารที่ดแี กส มาชกิ โดยยดึ หลกั ธรรมาภบิ าล

๑.๓ สงเสรมิ แนะนาํ และติดตามใหม ีการใชอ ปุ กรณการตลาด อยา งมปี ระสทิ ธิภาพ
๑.๔ สงเสริม แนะนํา ติดตามการเชื่อมโยงธุรกิจกับสหกรณอ่ืน โดยเฉพาะการรับฝากเงิน
ระหวางสหกรณ
๑.๕ สงเสริมสหกรณ/กลุมเกษตรกรใหดําเนินงานเปนไปตามแผนงานประจําปที่ไดรับอนุมัติ
จากทปี่ ระชมุ ใหญ
๑.๖ สงเสริมสหกรณ/กลุมเกษตรกรใหน ําขอมูลทางบัญชี รายงานการตรวจการ รายงานการ
ตรวจสอบกิจการ ปญหาและอุปสรรคตาง ๆ ไปใชในการประเมินสถานภาพ เพ่ือปรับปรุงกระบวนการบริหาร
และวางแผนการดําเนินงานไมใ หเกิดขอ บกพรอง การทจุ ริต และสงเสรมิ ใหผ า นเกณฑมาตรฐาน
๒. เขารวมประชุมกลุมสมาชิกสหกรณ เพื่อเผยแพรอุดมการณ หลักการและวิธีการสหกรณ รวมท้ัง
การนาํ ความคดิ เหน็ และขอ เสนอแนะจากสมาชิกใหค ณะกรรมการพิจารณาแกไขปรบั ปรุง
๓. รวมประชุมคณะกรรมการดําเนินการใหคําแนะนํา ขอเสนอแนะ ขอสังเกตในการดําเนินงาน
ภายใตกรอบของกฎหมาย ขอบังคับ คําสั่ง/คําแนะนําของนายทะเบียนสหกรณ ระเบียบและมติของที่ประชุม
ใหญแ ละทปี่ ระชมุ คณะกรรมการดําเนินการ
๔. แนะนาํ สงเสรมิ ชว ยเหลอื การจดั ทําบญั ชีของกลมุ เกษตรกร
๕. ติดตาม ตรวจสอบ แนะนําสหกรณ/กลุมเกษตรกรทห่ี ยุดดาํ เนนิ ธุรกจิ เพอื่ ใหก ลบั มาดําเนินธุรกจิ
๖. ปฏิบัติงานตามโครงการ/กิจกรรมทีเ่ ปนภารกจิ ของกลุมงานวชิ าการ
๖.1 กลุมสงเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ โดยสงเสริมใหสหกรณ/กลุม
เกษตรกรพัฒนาคุณภาพการบริหารจดั การสหกรณ การยกระดับช้นั การควบคมุ ภายในของสหกรณ การสงเสริม
ธรรมาภิบาล ลดภาระหน้แี ละชดเชยดอกเบี้ยสมาชกิ สหกรณผปู ระสบอุทกภัย การตดิ ตามการใชเงินกูตางๆ
๖.2 กลุมสงเสริมและพฒั นาธุรกิจสหกรณ โดยสง เสริมการสรางเครือขายและเชื่อมโยงธุรกิจ
ระหวางสหกรณ รวมทงั้ การสงเสรมิ กลมุ อาชีพในสหกรณ
๖.3 กลมุ ตรวจการสหกรณ โดยการตรวจการสหกรณใ นฐานะผูตรวจการสหกรณ สหกรณล ะ
๑ ครัง้ รวมทัง้ การใหคําแนะนาํ และการรายงานผลการแกไขขอสังเกตของผตู รวจการสหกรณ

สํานกั งานสหกรณจังหวัดนครศรธี รรมราช

รายงานผลการดําเนินงานประจาํ ป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 71

 ปญ หา/อปุ สรรคในการดาํ เนินงานของสหกรณ/ กลุมเกษตรกร
1. ปญ หาดานบุคลากรของสหกรณ
1.๑ ดานสมาชิก สวนใหญยังขาดความรูความเขาใจเก่ียวกับหลักการ อุดมการณ และวิธีการ

สหกรณ และบทบาทหนาท่ีของตน สงผลใหรวมทําธุรกิจกับสหกรณนอย โดยเฉพาะสหกรณที่ประสบภาวะ
ขาดทนุ จากการดําเนนิ งาน

1.๒ ดานกรรมการดําเนินการและฝายจัดการ สวนใหญยังไมเขาใจบทบาท หนาท่ีของตน
และยังขาดความรวมมือในการแกไขปญหาการดําเนินงานและแนวคิดในการพัฒนาสหกรณ กรรมการที่ไดรับ
การเลือกต้ังเขามาใหมยังขาดความรูความเขาใจเกี่ยวกับหลักการ อุดมการณ วิธีการสหกรณ และบทบาท
หนาท่ีของตน

1.3 ผตู รวจสอบกิจการ สวนใหญย ังขาดความรคู วามสามารถในการตรวจสอบกิจการสหกรณ
เน่ืองจากสวนใหญยังไมผานการอบรมหลักสูตรผูตรวจสอบกิจการที่กรมตรวจบัญชีสหกรณรับรอง สงผลใหไม
สามารถปฏิบัตหิ นาทตี่ ามบทบาทหนาท่ขี องตนไดอยางมีประสทิ ธิภาพ

2. เน่ืองจากสหกรณ/กลุมเกษตรกร สวนใหญในอําเภอบางขันดําเนินธุรกิจแปรรูปยางพารา ซ่ึงมี
ภาวะการแขงขันคอยขางสูงกับภาคเอกชนในพ้ืนท่ี ประกอบกับราคายางพาราตกต่ําและมีความผันผวน สงผล
ใหสหกรณส ว นใหญประสบปญหาขาดทุนจากการดาํ เนนิ งาน เน่ืองจากมีตน ทุนการผลิตท่ีสูง
 ขอ เสนอแนะ/แนวทางแกไขปญหา

1. วิเคราะหขอ มูลและบรบิ ทของสหกรณโ ดยใชเ ครื่องมือและเทคนิคตางๆ ไดแ ก SWOT Analysis
การวิเคราะหอ ตั ราสว นทางการเงนิ , เกณฑการมาตรฐานสหกรณ, เกณฑก ารประเมินความเขม แขง็ ของสหกรณ
เพอ่ื นําผลการวิเคราะหมาจัดทําแผนการแนะนําสง เสรมิ พฒั นา และกาํ กับดแู ลสหกรณ

2. เขารวมประชุมคณะกรรมการดําเนินการสหกรณ เพ่ือแนะนําสงเสริมตามแผนการแนะนําสงเสริม
พรอมทั้งใชเวทีตางๆ ในการแนะนําสงเสริมสหกรณและขับเคลื่อนพัฒนาสหกรณ เชน การประชุมเชิง
ปฏิบัติการจดั ทําแผนกลยุทธข องสหกรณ การประชุมใหญส ามัญประจาํ ป การประชมุ สามฝา ยรวมกบั หนวยงาน
ทีเ่ ก่ียวของ เปน ตน

3. ติดตามผลการดําเนินงานของสหกรณ พรอมสรุปปญหา/อุปสรรคของสหกรณ ที่ไมเปนไปตาม
แผนงานทวี่ างไว เพอื่ หาแนวทางการปรับปรุงแกไ ข

4. ใหความชวยเหลือ ประสานงานการไดรับงบประมาณสนับสนุนจากกรมสงเสริมสหกรณและ
หนวยงานท่ีเกี่ยวของ ในการเขารวมโครงการตางๆ ตามนโยบายท่ีสําคัญของรัฐ เพ่ือใหสหกรณดําเนินการได
ทนั เวลาท่กี ําหนด

สํานกั งานสหกรณจงั หวดั นครศรีธรรมราช

รายงานผลการดําเนนิ งานประจําป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 72

ภาพกิจกรรม การดาํ เนินงานของสหกรณกองทุนสวนยางโสตประชา จํากัด

 สหกรณ/ กลมุ เกษตรกรที่สะทอนผลสําเร็จของการปฏบิ ัตงิ านตามภารกิจของ สสจ./สสพ.
ในปง บประมาณ พ.ศ. 2563
สหกรณ/ กลมุ เกษตรกร สหกรณกองทนุ สวนยางโสตประชา จํากดั
ผลงาน/ความสําเร็จของสหกรณ/กลุมเกษตรกร

1. ช่ือ สหกรณก องทุนสวนยางโสตประชา จํากัด ประเภทของสหกรณ สหกรณก ารเกษตร
2. จํานวนสมาชิกสหกรณ ณ 31 มีนาคม 2563 จํานวน 226 ราย
3. ผลผลติ การเกษตรหลักของสหกรณ ยางพารา ปาลม นาํ้ มนั
4. ธรุ กิจทสี่ หกรณดําเนินการ ธรุ กิจสนิ เชือ่ ธุรกจิ การรับฝากเงิน ธรุ กจิ จัดหาสินคามาจําหนา ย
ธรุ กจิ รวบรวมผลติ ผลการเกษตร (ปาลม นํา้ มนั ผลิตภณั ฑยางพารา) ธรุ กจิ แปรรูปผลิตผลการเกษตร (แปรรปู
ปยุ ผสม, แปรรูปยางพารา และแปรรปู ยางคอมปาวด) ซงึ่ สหกรณด าํ เนนิ ธุรกิจครบวงจรสอดคลอ งกบั ความ
ตองการของสมาชกิ
5. ผลการดําเนินงานที่โดดเดนของสหกรณ สหกรณกองทุนสวนยางโสตประชา จํากัด เปนสหกรณ
แหงเดียวในจังหวัดนครศรีธรรมราช ท่ีดําเนินธุรกิจรวบรวมผลิตผลยางพาราจากสมาชิกมาแปรรูปเปน
ผลิตภัณฑย างคอมปาวด ซึ่งสงผลใหสมาชกิ สามารถขายผลิตผลทางการเกษตรไดในราคาท่สี ูง และเกิดการจาง
แรงงานแกลูกหลานสมาชิกในชุมชน และสหกรณไดเขารวมโครงการสงเสริมการใชยางในภาครัฐในการเปน
ผูผลิตแผนยางธรรมชาติครอบกําแพงคอนกรีต และหลักนําทางยางธรรมชาติ ซึ่งกระทรวงคมนาคมและ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ ไดมีการทําบันทึกขอตกลงความรวมมือในการนําอุปกรณทางดานการจราจรและ
อํานวยความปลอดภัยในหนวยงานภาครัฐเพื่อยกระดับความปลอดภัยทางถนน ซึ่งเปนการสงเสริมสนับสนุน
ผลิตผลจากเกษตรกรชาวสวนยางพาราในจังหวัดนครศรีธรรมราชและจังหวัดใกลเคียง ทําใหราคายางพารา
ปรับตวั สงู ขนึ้ ซ่ึงเปนผลดีสาํ หรบั เกษตรกรชาวสวนยาง

สาํ นักงานสหกรณจ งั หวัดนครศรธี รรมราช

รายงานผลการดําเนนิ งานประจาํ ป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 73

อําเภอ จฬุ าภรณ

ประกอบดวย สหกรณ 2 แหง สมาชกิ 299 คน กลมุ เกษตรกร 2 แหง สมาชกิ 210 คน
 ผลการเขาแนะนํา สง เสริม และแกไ ขปญ หาสหกรณแ ละกลุมเกษตรกร

๑. การสง เสรมิ สหกรณแ ละกลุมเกษตร
๑.๑ สงเสริมและเผยแพรความรูเกี่ยวกับหลักการ วธิ ีการ อดุ มการณส หกรณและขอบังคับระเบียบ

ท่ีถูกตอ ง เหมาะสม โดยผานทีป่ ระชุมคณะกรรมการดําเนิน การประชุมกกลุมสมาชิกสหกรณ และการเขา รวม
ประชุมกับกลุมองคก รประชาชนอื่น ๆ

๑.๒ สง เสรมิ ตดิ ตามและชวยแกปญหาดานการดาํ เนนิ ธุรกิจและการบรหิ ารจดั การองคกรใหเ ปน ไป
ตามกฎหมาย ขอบังคับ ระเบียบ คําส่ัง และกฎหมายอ่ืนท่ีเกี่ยวของดวยวิธีการสหกรณตามวัตถุประสงคการ
จัดตั้ง และการใหบรกิ ารที่ดแี กสมาชกิ โดยยึดหลักธรรมาภบิ าล

๑.๓ สงเสริม แนะนํา และติดตามใหม ีการใชอปุ กรณการตลาด อยางมีประสิทธภิ าพ
๑.๔ สงเสริม แนะนํา ติดตามการเช่ือมโยงธุรกิจกับสหกรณอ่ืน โดยเฉพาะการรับฝากเงินระหวาง
สหกรณ
๑.๕ สงเสริมสหกรณ/กลุมเกษตรกรใหดําเนินงานเปนไปตามแผนงานประจําปท่ีไดรับอนุมัติจากท่ี
ประชุมใหญ
๑.๖ สงเสริมสหกรณ/กลุมเกษตรกรใหนําขอมูลทางบัญชี รายงานการตรวจการ รายงานการ
ตรวจสอบกิจการ ปญหาและอุปสรรคตางๆ ไปใชในการประเมินสถานภาพ เพ่ือปรับปรุงกระบวนการบริหาร
และวางแผนการดําเนนิ งานไมใหเกดิ ขอบกพรอง การทุจรติ และสงเสรมิ ใหผานเกณฑมาตรฐาน
๒. เขารวมประชุมกลุมสมาชิกสหกรณ เพ่ือเผยแพรอุดมการณ หลักการและวิธีการสหกรณ รวมท้ัง
การนําความคิดเหน็ และขอเสนอแนะจากสมาชกิ ใหค ณะกรรมการพจิ ารณาแกไขปรับปรุง
๓. รวมประชุมคณะกรรมการดําเนินการใหคําแนะนํา ขอเสนอแนะ ขอสังเกตในการดําเนินงาน
ภายใตกรอบของกฎหมาย ขอบังคับ คําสั่ง/คําแนะนําของนายทะเบียนสหกรณ ระเบียบและมติของท่ีประชุม
ใหญแ ละท่ีประชุมคณะกรรมการดําเนินการ
๔. แนะนํา สง เสริม ชวยเหลือการจัดทําบัญชขี องกลมุ เกษตรกร
๕. ตดิ ตาม ตรวจสอบ แนะนําสหกรณ/กลมุ เกษตรกรที่หยุดดําเนินธรุ กิจ เพื่อใหก ลับมาดาํ เนนิ ธรุ กจิ
๖. ปฏบิ ัติงานตามโครงการ/กิจกรรมท่เี ปนภารกจิ ของกลมุ งานวิชาการ
๖.๑ กลุมสงเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ โดยสงเสริมใหสหกรณ/กลุมเกษตรกร
พฒั นาคุณภาพการบรหิ ารจัดการสหกรณ การยกระดับช้ันการควบคมุ ภายในของสหกรณ การสงเสรมิ ธรรมาภิ
บาล ลดภาระหนีแ้ ละชดเชยดอกเบี้ยสมาชกิ สหกรณผ ูประสบอุทกภัย การตดิ ตามการใชเ งนิ กตู างๆ
๖.๒ กลุมสงเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ โดยสงเสริมการสรางเครือขายและเชื่อมโยงธุรกิจ
ระหวางสหกรณ รวมทั้งการสง เสรมิ กลมุ อาชพี ในสหกรณ
๖.๓ กลุมตรวจการสหกรณ โดยการตรวจการสหกรณในฐานะผูตรวจการสหกรณ สหกรณละ ๑
ครัง้ รวมทั้งการใหค าํ แนะนําและการรายงานผลการแกไขขอ สังเกตของผตู รวจการสหกรณ
๖.๔ กลุมจัดต้ังและสงเสรมิ สหกรณ วเิ คราะหข อมูลตาง ๆ ที่เก่ียวของกับการจดั ตั้งสหกรณ เพื่อให
คําแนะนําแกคณะผูจัดต้ังเกี่ยวกับการขอจดทะเบียนจัดตั้งเปนสหกรณ ศึกษาวิเคราะหถึงความเปนไปไดของ
การจดั ตัง้ สหกรณ และผลกระทบทเ่ี กดิ ขึน้ โดยเปนเจาภาพหลกั ประสานกบั ทุกกลมุ ฝาย ในการจัดต้งั สหกรณ

สาํ นกั งานสหกรณจ งั หวดั นครศรีธรรมราช

รายงานผลการดาํ เนนิ งานประจําป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 74

 ปญหา/อุปสรรคในการดําเนนิ งานของสหกรณ/ กลมุ เกษตรกร
1. การจัดต้ังสหกรณ/กลุมเกษตรบางสถาบัน ไมไดเกิดขึ้นจากความตองการ“สหกรณ”ของ

ประชาชนโดยแทจริง แตจัดตั้งขึ้นจากความ“อยาก”ของหนวยงานภาครัฐหรือดวยแรงผลักดันทางการเมือง
หรือดวยอํานาจของคนบางคน ภายหลังเม่อื หนวยงานเปลี่ยนผูบริหารเปล่ยี นนโยบาย หรืออํานาจทางการเมือง
เส่อื มลง จะสงผลตอเสถยี รภาพและความมั่นคงของสหกรณ/กลุมเกษตรกรอยางหลีกเล่ียงไมได

๒. ปญหาภายในองคก รสหกรณ/ กลมุ เกษตรกร
๒.๑ ดานสมาชกิ
คุณภาพของสมาชิกเขาใหมหลังการกอตั้ง จํานวนไมนอยเปนผูไมมีคุณภาพในฐานะสมาชิก

สหกรณ เขามาเปนสมาชิกสหกรณเพียงเพื่อหวังประโยชนจากสหกรณ ไมใสใจท่ีจะศึกษารับความรูดานการ
สหกรณไมปฏบิ ัตหิ นา ท่ขี องสมาชกิ อยา งแทจรงิ

๒.๒ ดา นกรรมการและผตู รวจสอบกิจการ
มีกรรมการของสหกรณจํานวนหนึ่งท่ีอาสาเขามาเปนกรรมการเพื่อหวังจะไดประโยชนจาก
สหกรณ หรือเพ่อื หวังประโยชนท างสังคม/การเมอื ง ไมใสใจศึกษากจิ การงานของสหกรณ ไมแสดงความคดิ เห็น
ใด เปนกรรมการตรายางเพื่อประทับตราเอกสารตามท่ีฝายจัดการเสนอข้ึนมา ในสวนของสหกรณ/กลุม
เกษตรกรที่ไมมีพนกั งานเจา หนาที่ มปี ระธานกรรมการ และ/หรือ กรรมการอ่ืนทําหนา ท่ผี ูจัดการและเจาหนาที่
ทาํ ใหอํานาจเบด็ เสรจ็ เดด็ ขาด
ผูตรวจสอบกิจการบางคน/บางสถาบันไมปฏิบัติหนาที่ตามอํานาจหนาที่ของตน การ
ตรวจสอบกิจการตรวจสอบตามเอกสารท่ีพนักงานเจาหนาที่หยิบย่ืนใหซึ่งจะไมไดประโยชนใดๆจากการตรวจ
การ
๒.๓ ดานฝายจดั การ
ผูจัดการ/ฝายจัดการของบางสหกรณมีช่ัวโมงบินสูง สามารถดําเนินการใดๆใหประธาน
กรรมการหรือคณะกรรมการทั้งคณะอยูในอํานาจของตน สหกรณมีขอบกพรองทางการเงิน/บัญชี ขาดการ
กระตือรือรนในการทํางาน
2.4 การดาํ เนินธรุ กิจไมค รบวงจร
 ขอ เสนอแนะ/แนวทางแกไขปญ หา
๑. การจัดต้งั สหกรณ/ เกษตรกรตองมาจากความตองการของประชาชนอยา งแทจรงิ เทาน้นั
๒. บุคลที่สมัครเขาเปนสมาชิกตองผานการอบรมบทบาทหนาที่ของสมาชิกเปนเบ้ืองตน และควรใช
ขอมูลท่ีเปนสิทธิและหนาที่ของสมาชิก นํามาจัดช้ันสมาชิกอยางเขมขน เพ่ือประโยชนการใหบริการและสิทธิ
ประโยชนท ่ีแตกตาง
๓. ในสหกรณท่ีมีความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ควรกําหนดท่ีคุณสมบัติของผูท่ีจะเขาสูตําแหนง
ประธานกรรมการและกรรมการอ่ืนท่เี หมาะสมกับเศรษฐกจิ ของสหกรณ
๔. การจัดจางผูจัดการและเจาหนาที่ตองโปรงใสและเปนธรรม การจัดทําสัญญาจางตองกําหนด
เงอ่ื นไขการประเมนิ คุณภาพทุก ๆ หวงเวลา ๓ – ๕ ป รวมทั้งกําหนดเงอื่ นไขใหพนักงานเจาหนาทีไ่ ดสบั เปลย่ี น
หมุนเวยี นการปฏบิ ตั หิ นา ทใ่ี นหว งเวลาเดยี วกบั การประเมินคณุ ภาพ
5. สหกรณควรดาํ เนินธรุ กจิ ครบวงจรสอดคลอ งกับความตองการของสมาชิก

สาํ นักงานสหกรณจังหวัดนครศรีธรรมราช

รายงานผลการดาํ เนินงานประจาํ ป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 75

 สหกรณ/ กลุม เกษตรกรที่สะทอนผลสําเร็จของการปฏิบตั งิ านตามภารกจิ ของ สสจ./สสพ.
ในปง บประมาณ พ.ศ. 2563
สหกรณ/ กลุมเกษตรกร สหกรณก องทุนสวนยางเทพทองพัฒนา จํากัด
ผลงาน/ความสําเร็จของสหกรณ/ กลุมเกษตรกร

สหกรณการเกษตรระดบั อาํ เภอ
1. ช่ือสหกรณก องทนุ สวนยางเทพทองพัฒนา จํากดั ประเภทของสหกรณการเกษตร
2. จาํ นวนสมาชิกสหกรณ ณ 31 มนี าคม 2563 จาํ นวน 232 ราย
3. ผลผลิตการเกษตรหลกั ของสหกรณ ยางพารา
๔. สหกรณดาํ เนินธุรกิจ ขาย (รวบรวมน้ํายางสด แปรรูปเปนยางแผนรมควนั ) เปนธุรกิจหลัก

และธรุ กจิ อน่ื ประกอบดว ย
- รับฝากเงนิ
- ซ้อื (ปุย วัสดกุ ารเกษตร)

5. ผลการดําเนินงานที่โดดเดนของสหกรณ สหกรณรวบรวมผลผลิต (น้ํายางสด) จากสมาชิก
และเกษตรกรทั่วไป ดวยความยุติธรรม สามารถสรางอํานาจตอรองกับตลาดและยกระดับราคาผลผลิตใน
ภาพรวมของอําเภอได

6. มกี ารเชอ่ื มโยงธุรกิจปุยกับสหกรณก องทุนสวนยางเสมด็ จวดพฒั นา จํากัด

ภาพถาย การมสี ว นรว มของสหกรณก องทนุ สวนยางเทพทองพฒั นา จาํ กัด

สาํ นกั งานสหกรณจังหวัดนครศรีธรรมราช

รายงานผลการดําเนินงานประจําป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 76

ปจจัยแหง ความสาํ เร็จ
1. รวมประชุมคณะกรรมการดําเนินการสหกรณเพ่ือทบทวนแผนพัฒนาความเขมแข็งและแผนพัฒนา

ธรุ กิจสหกรณ โดยใชเคร่อื งมือและเทคนิคตา ง ๆดังนี้
- SWOT Analysis
- CAMELS Analysis การวเิ คราะหอตั ราสวนทางการเงิน
- เกณฑการประเมินความเขมแขง็
- เกณฑมาตรฐานสหกรณ
นาํ ผลการวิเคราะหท่ีไดไปนาํ เสนอในการประชุมเชงิ ปฏิบัติการฯ รวมกับคณะกรรมการ/ฝา ย

จัดการ/ผนู าํ กลุม /หนวยงานท่ีเก่ยี วของ
2. แนะนําใหสหกรณรวบรวมน้ํายางสดจากสมาชิก เพื่อแปรรูปเปนยางกอนถวยโดยซื้อแบบกงสี

ทําใหสหกรณม ผี ลการดาํ เนินงานจากธรุ กิจแปรรปู มกี ําไรอยางตอเนื่อง ลดความเสย่ี งดานการขาดทนุ
3. ไดแนะนําในท่ีประชุมคณะกรรมการดําเนินการสํารวจความตองการปุยผสมของสมาชิก และมีการ

เช่ือมโยงเครือขายระหวางสหกรณดานปุยผสมโดยไดเชื่อมโยงกับสหกรณกองทุนสวนยางบานเสม็ดจวนพัฒนา
จํากัด

สํานกั งานสหกรณจ งั หวัดนครศรธี รรมราช

รายงานผลการดําเนินงานประจําป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 77

อําเภอ ชะอวด

ประกอบดวย สหกรณ 7 แหง สมาชกิ 3,087 คน กลุม เกษตรกร 4 แหง สมาชกิ 390 คน
 ผลการเขาแนะนาํ สง เสริม และแกไขปญ หาสหกรณแ ละกลมุ เกษตรกร

๑. การสง เสริมสหกรณและกลุมเกษตร
๑.๑ สงเสริมและเผยแพรความรเู ก่ยี วกับหลกั การ วิธีการ อุดมการณส หกรณและขอบังคับระเบียบ

ที่ถูกตอ ง เหมาะสม โดยผานทป่ี ระชุมคณะกรรมการดําเนิน การประชุมกกลุมสมาชิกสหกรณ และการเขารวม
ประชุมกับกลมุ องคกรประชาชนอนื่ ๆ

๑.๒ สง เสริม ตดิ ตามและชว ยแกปญ หาดานการดําเนนิ ธรุ กจิ และการบริหารจัดการองคกรใหเปน ไป
ตามกฎหมาย ขอบังคับ ระเบียบ คําส่ัง และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวของดวยวิธีการสหกรณตามวัตถุประสงคการ
จดั ตง้ั และการใหบริการท่ีดแี กสมาชกิ โดยยึดหลักธรรมาภิบาล

๑.๓ สง เสริม แนะนาํ และตดิ ตามใหมกี ารใชอ ปุ กรณก ารตลาด อยา งมปี ระสทิ ธิภาพ
๑.๔ สงเสริม แนะนํา ติดตามการเช่ือมโยงธุรกิจกับสหกรณอ่ืน โดยเฉพาะการรับฝากเงินระหวาง
สหกรณ
๑.๕ สงเสริมสหกรณ/กลุมเกษตรกรใหดําเนินงานเปนไปตามแผนงานประจําปท่ีไดรับอนุมัติจากท่ี
ประชมุ ใหญ
๑.๖ สงเสริมสหกรณ/กลุมเกษตรกรใหนําขอมูลทางบัญชี รายงานการตรวจการ รายงานการ
ตรวจสอบกิจการ ปญหาและอุปสรรคตาง ๆ ไปใชในการประเมินสถานภาพ เพื่อปรับปรุงกระบวนการบริหาร
และวางแผนการดําเนินงานไมใ หเ กิดขอบกพรอง การทุจรติ และสงเสริมใหผ า นเกณฑม าตรฐาน
๒. เขารวมประชุมกลุมสมาชิกสหกรณ เพื่อเผยแพรอุดมการณ หลักการและวิธีการสหกรณ รวมทั้ง
การนําความคดิ เห็นและขอเสนอแนะจากสมาชกิ ใหคณะกรรมการพิจารณาแกไขปรบั ปรงุ
๓. รวมประชุมคณะกรรมการดําเนินการใหคําแนะนํา ขอเสนอแนะ ขอสังเกตในการดําเนินงาน
ภายใตกรอบของกฎหมาย ขอบังคับ คําส่ัง/คําแนะนําของนายทะเบียนสหกรณ ระเบียบและมติของท่ีประชุม
ใหญแ ละทปี่ ระชมุ คณะกรรมการดาํ เนินการ
๔. แนะนาํ สง เสรมิ ชว ยเหลอื การจดั ทําบัญชีของกลุมเกษตรกร
๕. ติดตาม ตรวจสอบ แนะนาํ สหกรณ/ กลมุ เกษตรกรท่หี ยุดดาํ เนินธรุ กจิ เพื่อใหกลับมาดําเนินธรุ กิจ
๖. ปฏบิ ัติงานตามโครงการ/กจิ กรรมท่เี ปนภารกจิ ของกลุม งานวชิ าการ
๖.1 กลุมสงเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ โดยสงเสริมใหสหกรณ/กลุมเกษตรกร
พัฒนาคุณภาพการบรหิ ารจัดการสหกรณ การยกระดับชั้นการควบคมุ ภายในของสหกรณ การสงเสรมิ ธรรมาภิ
บาล ลดภาระหนแี้ ละชดเชยดอกเบีย้ สมาชกิ สหกรณผปู ระสบอุทกภัย การตดิ ตามการใชเ งินกตู า งๆ
๖.2 กลุมสงเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ โดยสงเสริมการสรางเครือขายและเช่ือมโยงธุรกิจ
ระหวางสหกรณ รวมทงั้ การสง เสริมกลุม อาชพี ในสหกรณ
๖.3 กลุมตรวจการสหกรณ โดยการตรวจการสหกรณในฐานะผูตรวจการสหกรณ สหกรณล ะ
๑ คร้งั รวมทั้งการใหค ําแนะนําและการรายงานผลการแกไขขอสงั เกตของผตู รวจการสหกรณ

สาํ นกั งานสหกรณจังหวดั นครศรีธรรมราช

รายงานผลการดาํ เนินงานประจาํ ป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 78

 ปญ หา/อปุ สรรคในการดําเนนิ งานของสหกรณ/ กลมุ เกษตรกร
1. ปญ หาภายในองคก รสหกรณ/กลุม เกษตรกร
1.๑ ดา นสมาชกิ
คุณภาพของสมาชิกเขาใหมหลังการกอตั้ง จํานวนไมนอยเปนผูไมมีคุณภาพในฐานะสมาชิก

สหกรณ เขามาเปนสมาชิกสหกรณเพียงเพื่อหวังประโยชนจากสหกรณ ไมใสใจท่ีจะศึกษารับความรูดานการ
สหกรณไ มปฏบิ ตั หิ นาท่ขี องสมาชิกอยา งแทจ ริง

1.๒ ดา นกรรมการและผูต รวจสอบกิจการ
มีกรรมการของสหกรณจํานวนหน่ึงท่ีอาสาเขามาเปนกรรมการเพื่อหวังจะไดประโยชนจาก

สหกรณ หรือเพือ่ หวงั ประโยชนท างสังคม/การเมือง ไมใสใจศกึ ษากจิ การงานของสหกรณ ไมแสดงความคิดเห็น
ใด เปนกรรมการตรายางเพ่ือประทับตราเอกสารตามที่ฝายจัดการเสนอข้ึนมา ในสวนของสหกรณ/กลุม
เกษตรกรทีไ่ มมพี นกั งานเจา หนา ท่ี มปี ระธานกรรมการ และ/หรอื กรรมการอื่นทาํ หนา ทผ่ี ูจัดการและเจาหนาที่
ทําใหอ าํ นาจเบด็ เสรจ็ เด็ดขาด

ผูตรวจสอบกิจการบางคน/บางสถาบันไมปฏิบัติหนาท่ีตามอํานาจหนาที่ของตน การ
ตรวจสอบกิจการตรวจสอบตามเอกสารท่ีพนักงานเจาหนาทหี่ ยิบยื่นใหซ่ึงจะไมไดประโยชนใด ๆจากการตรวจ
การ

1.๓ ดา นฝา ยจดั การ
ผูจัดการ/ฝายจัดการของบางสหกรณมีช่ัวโมงบินสูง สามารถดําเนินการใด ๆใหประธาน

กรรมการหรือคณะกรรมการทั้งคณะอยูในอํานาจของตน สหกรณมีขอบกพรองทางการเงิน/บัญชี ขาดการ
กระตอื รือรน ในการทาํ งาน

1.4 การดาํ เนินธุรกิจไมครบวงจร
 ขอ เสนอแนะ/แนวทางแกไ ขปญ หา

1. บุคคลที่สมัครเขาเปนสมาชิกตองผานการอบรมบทบาทหนาที่ของสมาชิกเปนเบ้ืองตน และควรใช
ขอมูลท่ีเปนสิทธิและหนาท่ีของสมาชิก นํามาจัดชั้นสมาชิกอยางเขมขน เพื่อประโยชนการใหบริการและสิทธิ
ประโยชนท ี่แตกตา ง

2. ในสหกรณท่ีมีความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ควรกําหนดที่คุณสมบัติของผูท่ีจะเขาสูตําแหนง
ประธานกรรมการและกรรมการอืน่ ท่เี หมาะสมกบั เศรษฐกจิ ของสหกรณ

3. การจัดจางผูจัดการและเจาหนาที่ตองโปรงใสและเปนธรรม การจัดทําสัญญาจางตองกําหนด
เงอื่ นไขการประเมนิ คุณภาพทกุ ๆ หวงเวลา ๓ – ๕ ป รวมทั้งกําหนดเง่ือนไขใหพ นักงานเจาหนาที่ไดสับเปลีย่ น
หมุนเวียนการปฏิบัติหนาทใ่ี นหวงเวลาเดยี วกบั การประเมนิ คณุ ภาพ

4. สหกรณควรดาํ เนินธรุ กิจครบวงจรสอดคลอ งกับความตอ งการของสมาชิก

สาํ นกั งานสหกรณจ งั หวัดนครศรธี รรมราช

รายงานผลการดาํ เนนิ งานประจําป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 79

 สหกรณ/กลมุ เกษตรกรท่ีสะทอนผลสําเรจ็ ของการปฏิบัติงานตามภารกจิ ของ สสจ./สสพ.
ในปง บประมาณ พ.ศ. 2563
สหกรณ/ กลมุ เกษตรกร สหกรณการเกษตรศภุ นมิ ติ ชะอวดพัฒนา จาํ กดั
ผลงาน/ความสําเร็จของสหกรณ/กลุมเกษตรกร

สหกรณก ารเกษตรระดบั อําเภอ
๑. ชื่อสหกรณ สหกรณก ารเกษตรศุภนมิ ิตชะอวดพฒั นา จํากดั ประเภทสหกรณก ารเกษตร
๒. จาํ นวนสมาชกิ สหกรณ ณ 31 มนี าคม ๒๕๖๓ จาํ นวน 1,843 ราย
๓. ผลผลิตการเกษตรหลักของสหกรณ ปาลม นํา้ มัน ยางพารา
๔. สหกรณด าํ เนนิ ธุรกจิ สนิ เชอ่ื เปน ธุรกจิ หลกั และธุรกิจอน่ื ประกอบดวย
- สนิ เช่อื
- รบั ฝากเงิน
- รวบรวมผลผลติ ทางการเกษตร (ปาลม ทะลาย), ยางกอนถว ย
- ซอื้ (ปุย ขาวสาร วัสดกุ ารเกษตรและสินคาอปุ โภคบริโภค)
5. ผลการดําเนินงานที่โดดเดน ของสหกรณ
- สหกรณรวบรวมผลผลิต (ปาลมทะลาย) จากสมาชิกและเกษตรกรท่ัวไป ดว ยความ

ยุตธิ รรม สามารถสรา งอาํ นาจตอรองกบั ตลาดและยกระดบั ราคาผลผลติ ในภาพรวมของอาํ เภอได
-สหกรณมกี ารรวบรวมยางกอ นถวยจากสมาชกิ และจากกลุมเกษตรกรในพ้ืนท่ีและมี

การเชื่อมโยงเครือขาย เพ่ือเปนการยกระดับผลผลิตใหมีคุณภาพ และเปนการตอรองเรื่องราคา ทําใหสมาชิก
และเกษตรกรมรี ายไดเ พิม่ มากขึน้

- สงเสริมกลมุ อาชีพในสังกัดสหกรณ เชน กลุมสตรีศุภนิมิตชะอวด มีผลิตภัณฑไดแก
ผลิตภัณฑกระจูด ทําใหสมาชิกในกลุมอาชีพมีงานทําเปนประจําอยางเนื่องและมีรายไดเพ่ิมข้ึน ทําใหความ
เปน อยูดขี ึน้

สาํ นกั งานสหกรณจงั หวัดนครศรีธรรมราช

รายงานผลการดาํ เนินงานประจาํ ป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 80

ภาพถาย การมสี วนรว มของสหกรณการเกษตรศภุ นิมิตชะอวดพฒั นา จํากดั

ปจ จยั แหง ความสาํ เร็จ
1. รวมประชุมคณะกรรมการดําเนินการสหกรณเพ่ือทบทวนแผนพัฒนาความเขมแข็งและแผนพัฒนา

ธรุ กิจสหกรณ โดยใชเ ครือ่ งมอื และเทคนิคตา ง ๆดังนี้
- SWOT Analysis
- CAMELS Analysis การวเิ คราะหอัตราสว นทางการเงนิ
- เกณฑก ารประเมนิ ความเขมแขง็
- เกณฑม าตรฐานสหกรณ
นําผลการวเิ คราะหที่ไดไปนาํ เสนอในการประชุมเชิงปฏบิ ัติการฯ รวมกบั คณะกรรมการ/ฝา ย

จดั การ/ผูน ํากลุม /หนว ยงานที่เกยี่ วของ
๒. ชวยเหลือประสานงานการไดรับงบประมาณสนับสนุนจากกรมสงเสริมสหกรณใหแกกลุมสตรี

สหกรณโดยผานสหกรณการเกษตรศุภนิมติ ชะอวดพัฒนา จํากดั ไดท นั เวลาทีก่ าํ หนด
3. ไดแนะนําในท่ีประชุมคณะกรรมการดําเนินงานใหสหกรณมีการประชุมกลุมสมาชิก เพ่ือขับเคลื่อน

การดาํ เนินงานสรา งการมสี ว นรว มของสมาชกิ อยา งตอ เนอ่ื ง
4. แนะนําในท่ีประชุมคณะกรรมการดําเนินการสหกรณใหมีการเชื่อมโยงธุรกิจระหวางสหกรณเพ่ือ

เพ่ิมปริมาณธุรกิจโดยไดรวมมือกับสหกรณกองทุนสวนยางบานควนเถียะ จํากัด ส่ังซ้ือขาวสารของสหกรณ
การเกษตรกันทลักษณ จํากัด จังหวัดศรีสะเกษ จํานวนคร้ังละ 3 ตัน ผานสหกรณกองทุนสวนยางบานเสม็ด
จวนพัฒนา จํากัด ทําใหไ ดร าคาถูกและไดเช่ือมโยงเครือขายกลุม เกษตรกรทําสวนยางพารานางหลง กลุมทํานา
นางหลง รวบรวมยางกอนถว ยเพ่ือจัดจําหนายใหไดราคาสูง โดยไดรับการสนับสนนุ จากสํานักงานการยางแหง
ประเทศไทย สาขารอนพิบูลย มาชว ยใหคําแนะนาํ

สํานักงานสหกรณจงั หวัดนครศรีธรรมราช

รายงานผลการดาํ เนนิ งานประจําป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 81

อาํ เภอ ทุงสง

ประกอบดวย สหกรณ 23 แหง สมาชิก 2,038 คน กลมุ เกษตรกร 3 แหง สมาชกิ 154 คน
● ผลการเขาแนะนาํ สงเสริม และแกไขปญ หาสหกรณและกลมุ เกษตรกร

สหกรณและกลุมเกษตรกรในภาพรวม ซ่ึงมีสหกรณ จํานวน 23 สหกรณ เปนสหกรณการเกษตร
ประเภทสหกรณกองทุนสวนยาง จํานวน 12 สหกรณ และสหกรณการเกษตรระดับอําเภอ 2 สหกรณกลุม
เกษตรกรจํานวน 3 กลมุ จากผลการแนะนาํ สง เสรมิ แยกไดดงั นี้

1. สหกรณกองทุนสวนยาง สหกรณ เจาหนาที่สงเสริมสหกรณท่ีรับผิดชอบปฏิบัติตามคูมือ
คําแนะนําการสงเสริมสหกรณตามระบบการสงเสริม ผลการดําเนินงานของสหกรณเปนไปตามระเบียบ
ขอ บงั คบั การดําเนนิ ธุรกิจ/ปริมาณธุรกจิ การรวบรวมและแปรรูปยางพาราเปนไปตามระบบเศรษฐกิจและกลไก
ของตลาดแตสหกรณสามารถถบริหารจัดการไดโดยยึดหลักและระบบสหกรณที่มุงใหเกิดประโยชนสูงสุดแก
สมาชิก แตในชวงตนฤดูกาลผลิตราคายางพารา คอนขางผันผวน สหกรณฯตองมีการปรับกระบวนการ
ในการบริหารจัดการผลิตใหท ันทวงที

2. สหกรณการเกษตรระดับอําเภอ มี 2 สหกรณ คือ สหกรณการเกษตรทุงสง จํากัด
และชุมนุมสหกรณกองทุนสวนยางนครศรีธรรมราช จํากัด เปนสหกรณขนาดใหญ มที ุนดําเนินงานและสมาชิก
จํานวนมากดาํ เนนิ ธรุ กิจครบทุกธรุ กิจ สามารถใหบรกิ ารแกส มาชกิ ได ครอบคลุม ทัว่ ถึง และมปี ระสิทธิภาพ

3. กลมุ เกษตรกร เปนกลมุ ท่ที าํ ธุรกิจสินเช่ือและธุรกจิ จัดหาสินคา มาจาํ หนา ยแกสมาชกิ
ผลการดําเนินงานเปนไปตามระเบียบ ขอบังคับ ดําเนินธุรกิจครบทุกธุรกิจ สามารถใหบริการแกสมาชิกได
เปนอยา งดี และกลมุ เกษตรกรอ่ืนเปน กลมุ เกษตรกรขนาดเลก็ ไดร ับความพึงพอใจจากสมาชกิ เปน อยางดี
● ปญ หา/อปุ สรรคในการดําเนินงานของสหกรณ/กลุม เกษตรกร

ปญหาสวนใหญที่เกิดข้ึนในสหกรณ/กลุมเกษตรกร สาเหตุสวนใหญมาจากคณะกรรมการดําเนินงาน
ของสหกรณ ขาดความรูความสามารถในการบริหารจัดการสหกรณ และเห็นแกประโยชนสวนตน พรรคพวก
ของตนเอง ในสวนของสหกรณกองทุนสวนยางฯ ที่มีโรงอบรมควันฯ ท่ีเปนที่ดินของเอกชนในการอุทิศท่ีใหใช
เม่ือมาถึงรุนลูก จะมีปญหาการใชท่ีดินเนื่องจากเจาของท่ีดินทวงกรรมสิทธ์ิในที่ดิน และมีปญหาในการ
ดาํ เนนิ งานของสหกรณ
● ขอเสนอแนะ/แนวทางแกไขปญหา

1. แนะนาํ ใหสมาชกิ เขาใจบทบาทหนาทีข่ องตนเอง คัดเลือกผูนําท่ีมีความตั้งใจ เสยี สละ และมีความ
พรอมในการทํางานใหกับสหกรณ

2. จัดใหมกี ารอบรม ใหความรแู กสมาชิก เพอ่ื เปน การสรา งจติ สาํ นกึ ยึดในอุดมการณ หลกั การและ
วธิ ีการสหกรณ อยางตอเนื่อง

3. จดั ใหม รี ะบบการประเมนิ ผลการดาํ เนินงานหรอื การบริหารจดั การของสหกรณอยางตอเน่ือง
4. ใหห นวยงานระดับกรมฯ ประสานงาน กบั การยางแหงประเทศไทย ในการจดั การการใชสิทธิ์ใน
ท่ดี ินทมี่ ีโรงรมควนั ฯ ท่ีเปน ทรัพยส ินของการยางแหง ประเทศไทยใหชัดเจน

สาํ นักงานสหกรณจังหวดั นครศรธี รรมราช

รายงานผลการดาํ เนนิ งานประจาํ ป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 82

● สหกรณ/กลุมเกษตรกรท่ีสะทอ นผลสําเรจ็ ของการปฏบิ ัติงานตามภารกจิ ของ สสจ./สสพ.
ในปงบประมาณ พ.ศ. 2563
สหกรณ/กลมุ เกษตรกร : สหกรณก องทนุ สวนยางนาพรุ จาํ กัด

1. ช่อื สหกรณกองทุนสวนยางนาพรุ จํากดั ประเภทของสหกรณ การเกษตร
2. จาํ นวนสมาชิกสหกรณ ณ 31 ธนั วาคม 2563 จํานวน 128 ราย
3. ผลผลติ การเกษตรหลกั ของสหกรณ ยางพารา
4. ธุรกิจทีส่ หกรณดาํ เนินการ รวบรวมน้ํายางสดเพ่ือแปรรูป ธรุ กิจรวบรวมน้ํายาง ธรุ กิจจัดหาสินคา
มาจําหนาย โดยธุรกจิ หลักของสหกรณ คือ รวมรวบยางพาราเพ่อื แปรรูป
5. ผลการดําเนินงานทีโ่ ดดเดนของสหกรณ สหกรณส ามารถตอบสนองความตอ งการของสมาชกิ ใน
การรวบรวมผลผลติ ทางการเกษตรไดอ ยา งดียง่ิ สามารถเพม่ิ มลู คาผลผลติ ฯ สรา งความแตกตางดานราคา มี
การจัดสรรคืนสูสมาชิกอยางเปนธรรม และ สมาชกิ สหกรณมีสว นรวมในการดําเนนิ งานสหกรณทสี่ ูง
6. บทบาทของสหกรณใ นการขบั เคลอ่ื นงานตามนโยบายของรัฐ
ผลงาน/ความสาํ เร็จของสหกรณ/กลมุ เกษตรกร
สหกรณท่ีมีผลงานโดดเดนในอําเภอทุงสง คือ สหกรณกองทุนสวนยางนาพรุ จํากัด โดยผลงานที่ดเี ดน
ในปท่ีผานมา สหกรณกองทุนสวนยางนาพรุ จํากัด เปนสหกรณท่ีสามารถชวยเหลือเกษตรกรสมาชิกไดอยาง
แทจริง ท้ังในทางเศรษฐกิจและสังคม จากการเขาแนะนําสงเสริมฯ กํากับดูแล ของเจาหนาที่สงเสริมสหกรณ
ทําใหสหกรณสามารถสรา งการมีสว นรวมของสมาชิก 97 % เปอรเซน็ ตการแปรรูปยางแผนรว มควนั ในอัตราที่
สูง รอยละ 98 สหกรณมีอัตราการทํากําไรในแตละธุรกิจเพ่ิมข้ึนทุกป อยางตอเนื่อง สงผลใหสหกรณมีกําไร
และสหกรณผานมาตรฐานในระดับ A มีการจัดสรรสวัสดิการสมาชิกใหแกสมาชิก ในเวลาท่ีมีภัยพิบัติ เชน
วาตภัย (พายุปาบึก) อุทกภัย (นํ้าทว ม) และภัยแลง มีใชก ารทนุ สาธารณประโยชน ใหแกชุมชนในพื้นท่ี เชน
วันเด็ก วันลอยกระทง รวมบุญกฐิน ผาปา เปนประจําทุกป และในป 2563 สหกรณไดเปนเจาภาพในการ
ทอดกฐินสามัคคีของขบวนการสกรณนครศรีธรรมราช อีกท้ังสมาชิกไดรับผลตอบแทน ในสวนของการจัดสรร
กําไรสุทธิ เปนเงินปนผล และเงินเฉล่ียคืน คณะกรรมการดําเนินการมีความตั้งใจ บริหารงานโดยใชหลักธรรม
มาภิบาล สมาชิกมคี ณุ ภาพชวี ติ ทีด่ ขี ้ึน

สํานกั งานสหกรณจงั หวัดนครศรีธรรมราช

รายงานผลการดาํ เนินงานประจาํ ป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 83

ภาพถาย การมสี ว นรวมของสมาชกิ และสังคมของสหกรณก องทุนสวนยางนาพรุ จํากัด

สาํ นกั งานสหกรณจังหวัดนครศรธี รรมราช

รายงานผลการดําเนินงานประจาํ ป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 84

ปจ จัยแหงความสําเร็จ
1. การรวมกันวางแผนปฏิบัติงานประจําป ระหวางเจาหนาที่สงเสริมสหกรณและสหกรณ วิเคราะห

สหกรณ ดวยวิธีการ Swot analysis จัดทําเวทีการมีสวนรวมใหสหกรณไดแสดงความคิดเห็น ในการพัฒนา
องคกรรวมกนั

2. มีแผนปฏบิ ัตงิ านท่กี ําหนดอยางชัดเจน ปฏิบตั ิตามแผน และติดตามผลการดาํ เนินงานอยางตอ เนือ่ ง
3. ไดมีการอบรมใหความรูแกสมาชิกสหกรณ เร่ือง อุมดการณ ,หลักการ,วิธีการสหกรณ บทบาท
หนาท่ีทีด่ ีของสสมาชกิ ปลูกจิตสํานึกรักสหกรณ ทําใหสมาชกิ มี ความรูความเขาใจในระบบสหกรณโดยสมาชิก
และ มีความเช่ือมั่นและศรัทธาวาสหกรณเปนสถาบันท่ีใหความชวยเหลือและแกไข ปญหาดานเศรษฐกิจคือ
การแกไขปญหาราคายาง และสังคมใหกับสมาชิกและชุมชนได และมีความสํานึกวาสหกรณเปนของตนเอง
และเปน ของสมาชิกทุกคน จะทําใหประชาชนเขา รว มเปน สมาชกิ และมสี วนรว มในการชวยบรหิ ารดูแล
4. ไดจัดใหมีการอบรมบทบาทหนาที่ใหกับคณะกรรมการเปนประจําทุกป ทําใหคณะกรรมการ
ดําเนินการฯ มีความรูในบทบาทหนาท่ีของตนเอง และ มีความตั้งใจท่ีเขามาบริหารงาน และปฏิบัติงานดวย
ความซือ่ สัตยส จุ รติ ยดึ ถือผลประโยชนส ว นรวมของสหกรณเ ปน สําคัญ
5. สรางความรคู วามเขาใหกับเจาหนาท่ีสหกรณ ปลูกจติ สํานกึ รักองคกร ทําใหเจาหนาที่ตองมคี วามรู
ความสามารถในงานทที่ ํา มคี วามซื่อสัตยสจุ รติ มุงใฝห าความรใู นการพฒั นางาน
6. ไดการสนับสนุนจากภาครัฐโดยกรมสงเสริมสหกรณ ในการแนะนําสงเสริมสหกรณอยางสม่ําเสมอ
ทาํ ใหส หกรณปฏิบตั ิงานเปนไปตามระเบยี บ ขอบังคับฯ และหนวยราชการอนื่ ๆ ที่เก่ียวขอ ง เชน การยางแหง
ประเทศไทย สนบั สนุนงบประมาณฝก อบรมฯ ศกึ ษาดูงาน

สาํ นกั งานสหกรณจังหวดั นครศรธี รรมราช

รายงานผลการดาํ เนินงานประจําป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 85

อําเภอ ทงุ สง (นคิ มสหกรณท ุงสง)

ประกอบดวย สหกรณ 7 แหง สมาชกิ 2,426 คน กลุม เกษตรกร - แหง สมาชกิ - คน
● ผลการเขาแนะนาํ สงเสริม และแกไขปญ หาสหกรณและกลมุ เกษตรกร

ผลการแนะนําสงเสริมสหกรณ
ไดเ ขาแนะนําสงเสรมิ สหกรณท ีอ่ ยใู นความรับผิดชอบดงั น้ี
1. ดานการมีสวนรวมของสมาชิก ไดแนะนําใหสหกรณดําเนินงานตามหลักธรรมาภิบาล โปรงใส
ตรวจสอบได ตามหลักการ อุดมการณ วิธกี ารสหกรณ และเปน การสรางจิตสํานึกท่ีดีของสมาชกิ ท่ีมตี อสหกรณ
เพือ่ เปน การสรางความเขมแขง็ ใหก ับสหกรณ
2. การเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารงาน แนะนําใหสหกรณดําเนินงานอยางมีประสิทธิภาพในทุกๆ
ดา น เชนการผลิตยางพารา ธุรกิจสินเช่ือ ธุรกิจจัดหาสินคามาจาํ หนาย เพื่อเปนการสรา งมูลคาเพม่ิ ใหกับธุรกิจ
ของสหกรณ
3. การสรางอาชีพเสริมแกสมาชิก แนะนําใหสหกรณจัดทําโครงการอาชีพเสริมแกสมาชิกตามหลัก
สหกรณเพือ่ เปน การสรางอาชีพเสรมิ แกสมาชกิ
4. เศรษฐกจิ พอเพียงแนะนาํ สงเสรมิ ไหสหกรณน าํ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งลงสสู มาชกิ
● ปญหา/อปุ สรรคในการดาํ เนินงานของสหกรณ
1. ดานสมาชกิ สมาชิกยังไมเ ขา ใจถึงอุดมการณ หลักการ และวิธการสหกรณ
2. ดานกรรมการ กรรมการยังไมมจี ติ สํานึกในการเปนกรรมการสหกรณ
3. เจา หนา ท่ีของสหกรณ ยังไมมีจิตวญิ ญาณการเปน เจาหนาทข่ี องสหกรณ
4. ผตู รวจสอบกิจการยังไมมีความรู ความสารถในการทาํ หนา ท่ีของตนเอง
● ขอ เสนอแนะ/แนวทางแกไข
ใหการศึกษาอบรม ศึกษาดูงานแกบุคลากรของสหกรณและใหเจาหนาท่ีสงเสริมสหกรณมีโอกาส
ในการสรางความเขาใจถึงหลักการ อุดมการณ วิธีการแกสมาชิกและบุคคลท่ัวไปเพ่ือเปนการประชาสัมพันธ
ดา นสหกรณแกบุคคลท่ัวไปดวย
● สหกรณ/ กลมุ เกษตรกรที่สะทอ นผลสําเร็จของการปฏิบตั งิ านตามภารกจิ ของ สสจ./สสพ.
ในปง บประมาณ พ.ศ. 2563
สหกรณ/กลมุ เกษตรกร : สหกรณการเกษตรเขาขาว จํากัด
ผลงาน/ความสาํ เรจ็ ของสหกรณ/กลุมเกษตรกร
สหกรณการเกษตรเขาขาว จํากัด เปนสหกรณประเภทการเกษตรซึ่งอยูในความดูแลของนิคมสหกรณ
ทุงสง สํานกั งานสหกรณจังหวดั นครศรธี รรมราช ทางนิคมฯไดเ ขาแนะนาํ สง เสริมไหสหกรณน ําหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงลงสูสมาชิก สงเสริมการจัดทําบัญชีครัวเรือน มีความพอประมาณในการดําเนินชีวิตและการ
ประกอบอาชีตามกําลังตามศักยภาพของตนเอง สามารถสรางอาชีพเสริม ดานการเกษตร ปศุสัตว ประมงเพื่อ
เปน การเพ่ิมรายไดใหกับครอบครัว สง ผลตอคุณภาพชีวติ ความเปนอยูที่ดีข้นึ

สาํ นกั งานสหกรณจ ังหวัดนครศรีธรรมราช

รายงานผลการดําเนินงานประจําป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 86

ภาพถา ย การแนะนาํ สง เสรมิ ไหส หกรณน าํ หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงลงสูส มาชกิ

สํานกั งานสหกรณจ ังหวัดนครศรธี รรมราช

รายงานผลการดาํ เนนิ งานประจําป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 87

ปจจยั แหง ความสาํ เรจ็
1. สหกรณไดมีการเรียนรหู ลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งลงสูคณะกรรมการ เจา หนา ที่ และสมาชิก

โดยจดั ใหมีการศึกษาอบรมที่สหกรณโ ดยการเชิญวิทยามาใหการศึกษาอบรม และมกี ารนาํ สมาชิกออกไปศึกษา
ดูงานนอกสถานที่

2. สมาชิกสามารถสรางอาชีพเสริม ดานการเกษตร ปศุสัตว ประมงเพ่ือเปนการเพ่ิมรายไดใหกับ
ครอบครัว โดยยดึ หลกั แนวทางปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง

3. เสริมสรางความเขมแข็งแกสมาชิกสหกรณผูที่ดําเนินกิจกรรมตามแนวทางของปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียง ใหมีความเขมแข็งมากย่ิงข้ึนและมีความย่ังยืน สามารถเปนแกนนําและแบบอยางใหสมาชิกสหกรณ
หรือเกษตรกรทว่ั ไปไดย ึดถือเปน รูปแบบในการปรับปฏบิ ตั ิตาม

4. เขารวมประชุมคณะกรรมการเพ่ือช้ีแจงถึงความสําคัญของโครงการที่มีผลตอสมาชิก
ดา นเศรษฐกิจและไดว างแผนการดําเนินแกคณะกรรมการ

5. สหกรณประกาศรับสมาชิก เจาหนาท่ีสงเสริมไดมีสวนรวมในการคัดเลือกสมาชิกเขารวมโครงการ
เศรษฐกิจฯ

6. เจาหนาที่สงเสริมไดประชุมเรื่องหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง บันได 9 ข้ัน ใหสมาชิกเขาใจ
แลว นําไปสกู ารปฏบิ ตั ิ

7. ตดิ ตามประเมนิ ผลสมาชกิ รายตวั

สํานกั งานสหกรณจ ังหวัดนครศรีธรรมราช

รายงานผลการดําเนินงานประจาํ ป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 88

อําเภอ นาบอน

ประกอบดว ย สหกรณ 3 แหง สมาชิก 1,174 คน กลุม เกษตรกร 3 แหง สมาชิก 275 คน
● ผลการเขาแนะนาํ สง เสริม และแกไขปญ หาสหกรณและกลมุ เกษตรกร

สหกรณแ ละกลมุ เกษตรกรในอําเภอนาบอน ประกอบดว ย สหกรณภาคการเกษตร 3 สหกรณ และกลุม
เกษตรกรประเภททําสวน 3 กลุมเกษตรกร โดยมสี หกรณการเกษตรระดบั อาํ เภอ 1 สหกรณ จากการแนะนํา
สง เสรมิ แยกไดด ังน้ี

1. สหกรณก ารเกษตรระดับอําเภอ คือสหกรณการเกษตรนาบอน จํากดั เปน สหกรณท ี่สมาชกิ เปน
จํานวนมาก สหกรณมีธุรกจิ ทีส่ ามารถใหบริการสมาชกิ ไดครอบคลุม ท้ังธรุ กิจสนิ เชื่อ จดั หาสนิ คามาจําหนาย
ธรุ กิจรวบรวมผลิตผล ธุรกจิ แปรรปู ผลิตผลทางการเกษตร แปรรูปปุยผสม และเงนิ รับฝากจากสมาชิก สหกรณ
สามารถใหบ ริการสมาชกิ ไดถึงรอ ยละ 99.69 ของสมาชกิ ทัง้ หมด

ในปท ี่ผา นมา สหกรณประสบปญหาราคาผลติ ผล (ยางพารา) มีราคาผนั ผวน ราคาตกตาํ่ ประกอบกบั มี
คแู ขงเอกชนหลายราย ทาํ ใหสหกรณต องปรบั แผนการรับซ้ือผลผลิตหลายครง้ั โดยยดึ หลักการใหบริการสมาชกิ
ใหม ปี ระสทิ ธภิ าพ ดําเนินการโดยยดึ หลักการ อดุ มการณส หกรณเ พื่อใหสมาชิกไดรับประโยชนส ูงสดุ

2. สหกรณก องทนุ สวนยาง ประกอบดว ย 2 สหกรณ คือสหกรณก องทุนสวนยางควนยูง จํากัด และ
สหกรณกองทนุ สวนยางหนองดพี ัฒนา จํากดั สาํ หรับสหกรณก องทนุ สวนยางควนยงู จํากัด สหกรณด าํ เนินธุรกิจ
เพยี งธุรกิจเดยี ว คือ แปรรปู ผลิตผลทางการเกษตร (แปรรูปยางพารา) เปน สหกรณท่ีมผี ลการดําเนนิ งานขาดทุน
สะสม สมาชกิ มีสวนรว มในการดาํ เนินธรุ กิจ เพยี งรอยละ 17.04 ของสมาชิกท่ีหมด ที่ผา นมาสหกรณดําเนิน
ธรุ กจิ ขาดทนุ ตดิ ตอกันมาหลายป เนอื่ งจากราคายางพาราผนั ผวน สมาชิกมาสงนาํ้ ยางนอย ประกอบกบั มคี ูแขง
หลายราย โดยแนะนาํ ใหสหกรณสํารวจราคาตลาดรับซ้อื น้ํายางเพ่ือใหสหกรณร บั ซ้ือนาํ้ ยางไดใกลเ คยี งกบั ราคา
รานอ่ืน มีการประชมุ คณะกรรมการเปน ประจําทุกเดอื น เพ่อื รบั ทราบผลการดําเนนิ งาน และแกไ ขปญหาใหทัน
สถานการณ และสหกรณกองทนุ สวนยางหนองดีพัฒนา จํากดั สหกรณหยุดดาํ เนินธุรกจิ ตั้งแตป 2559 และปด
บญั ชีไมไดมา 4 ป แนะนาํ ใหส หกรณนัดประชุมคณะกรรมการดําเนินการเพ่ือติดตามหนี้ และรวมกันพิจารณา
วา สหกรณจ ะดาํ เนินธุรกจิ ตอไปหรอื เลกิ สหกรณ

3. กลุมเกษตรกร ประกอบดวย กลุมเกษตรกรทําสวนนาบอน และกลุมเกษตรกรทําสวนทุงสง
ประกอบธุรกิจจัดหาสินคามาจําหนายเพียงอยางเดียว เปนกลุมท่ีมีขนาดเล็ก มีทุนดําเนนิ งานนอย แตสามารถ
ใหบริการสมาชกิ ไดตามความสามารถในการบริหารงานของคณะกรรมการ และกลมุ เกษตรกรทําสวนยางพารา
นาบอน เปนกลุมทีม่ ธี ุรกิจคอนขางมาก ใหบรกิ ารสมาชิกได แตคณะกรรมการขาดความรูเร่อื งการสหกรณ การ
บรหิ ารงานและการดําเนนิ ธุรกจิ สง ผลใหกลมุ มผี ลการดําเนินงานขาดทนุ ตดิ ตอกัน
● ปญ หา/อปุ สรรคในการดําเนนิ งานของสหกรณ/ กลมุ เกษตรกร

ปญหาการดําเนินงานของสหกรณ/กลุมเกษตรกร สวนใหญเกิดจากคณะกรรมการขาดความรู
ความสามารถในการบริหารงาน ขาดการพัฒนาความรูใหทันตอสถานการณทางเศรษฐกิจปจจุบัน คิดถึง
ประโยชนสวนตนเปนใหญ ในสวนของสมาชิก ไมทราบถึงบทบาทหนาที่ของตนเอง ไมรวมทาํ ธุรกิจกับสหกรณ

สาํ นกั งานสหกรณจงั หวดั นครศรีธรรมราช


Click to View FlipBook Version