The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการประเมินผลตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของหน่วยงานในสังกัดกรมการแพทย์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Sujaree Wiangsamut, 2020-12-06 21:32:20

คู่มือคำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี64

คู่มือการประเมินผลตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของหน่วยงานในสังกัดกรมการแพทย์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

ค่มู อื การประเมินผลการปฏิบตั ริ าชการตามคำรบั รองการปฏบิ ตั ริ าชการของหนว่ ยงานในสงั กดั กรมการแพทย์
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

คูม่ ือการประเมินผลการปฏบิ ัติราชการ
ตามคำรบั รองการปฏิบัติราชการ

ของหน่วยงานในสังกดั กรมการแพทย์
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

กลุ่มพฒั นาระบบบริหาร กรมการแพทย์
พฤศจิกายน 2563

1

คู่มือการประเมนิ ผลการปฏบิ ัตริ าชการตามคำรบั รองการปฏิบตั ิราชการของหนว่ ยงานในสงั กดั กรมการแพทย์
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

คำนำ

พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2545 มาตรา 3/1
วรรค 3 และวรรค 4 บัญญัติว่า ในการปฏิบัติหน้าที่ของส่วนราชการต้องใช้วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
โดยเฉพาะอย่างยิ่งให้คำนึงถึงความรับผิดชอบของผู้ปฏิบัติงาน การมีส่วนร่วมของประชาชน การติดตาม
ตรวจสอบและการประเมินผลการปฏิบัติงาน ซึ่งกรมการแพทย์ได้ยึดถือปฏิบัติตามกฎหมายดังกล่าว โดยการ
วางระบบประเมินผลการปฏิบัติราชการ กำหนดให้มีการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการตั้งแต่ระดับกรม ระดับ
หน่วยงาน และระดบั บุคคล

สำหรับปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 นี้ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร โดยมติคณะกรรมการจัดทำคำรับรองการ
ปฏิบัติราชการกรมการแพทย์ ได้จัดทำกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ
ระยะ 20 ปี ยุทธศาสตร์และพันธกิจของกรมการแพทย์ และได้รับความเห็นชอบจากผู้บริหารกรมการแพทย์แล้ว
จงึ ได้ดำเนินการสื่อสารให้กับหนว่ ยงานในสังกัด โดยการจัดทำคู่มือการประเมินผลการปฏิบตั ิราชการของหน่วยงาน
ในสังกัดกรมการแพทย์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 เพ่ือให้หนว่ ยงานใช้เป็นแนวทางในการจัดทำคำรับรองการ
ปฏิบัติราชการระดับหน่วยงาน และดำเนินการตามตัวชี้วัดเพื่อบรรลุเป้าหมายของหน่วยงานและกรมการแพทย์
ต่อไป

กลมุ่ พัฒนาระบบบริหาร กรมการแพทย์
พฤศจกิ ายน 2563

2

คูม่ อื การประเมนิ ผลการปฏิบตั ริ าชการตามคำรบั รองการปฏบิ ัติราชการของหนว่ ยงานในสังกัดกรมการแพทย์
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

สารบญั

เรื่อง หน้า

กรอบการประเมินผลการปฏบิ ัติราชการตามคำรับรองการปฏบิ ัติราชการของหน่วยงานในสงั กดั กรมการแพทย์ 4

ข้นั ตอนและวิธกี ารจดั ทำคำรับรองการปฏบิ ัตริ าชการ 6

ปฏิทนิ การจัดทำคำรับรองการปฏบิ ัตริ าชการและการประเมินผลการปฏิบตั ิราชการของหน่วยงาน 7
ระดับโรงพยาบาล/สถาบัน/สำนัก/กอง/ศนู ย์

กรอบการปฏบิ ัติราชการตามคำรับรองการปฏบิ ัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 8

มติ ิท่ี 1 ดา้ นประสิทธิผล

1.1 ทศิ ทางงานวชิ าการ (Research , TA , CPG , MD) เพอ่ื การนำไปใชป้ ระโยชน์ 9

1.2 ระดับความสำเรจ็ ในการพฒั นาศูนยค์ วามเปน็ เลศิ ทางการแพทย์ 20

1.3 ระดบั ความสำเรจ็ ในการจัดการนวตั กรรมทางการแพทย์ 29

1.4 ระดับความสำเรจ็ ของความรว่ มมือด้านวชิ าการและบริการกับเขตสขุ ภาพ 33
หมายเหตุ : สำหรบั หน่วยงานสนับสนุน **
1.1 ระดับความสำเรจ็ ในการปรับปรงุ องค์การตามเกณฑ์การเป็นระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0) 40
43
1.3 ระดับความสำเรจ็ ในการพัฒนาปรบั ปรงุ กระบวนการในการปฏบิ ัตงิ านวิถีใหม่ (WorkingProcessRedesign)

มิตทิ ่ี 2 ดา้ นคุณภาพ

2.1 ระดับความความสำเรจ็ ของการจดั ทำคู่มอื การใหบ้ ริการประชาชน 45

2.2 ระดับความสำเรจ็ ในการเตรยี มความพรอ้ มในการขอสมคั รรางวลั เลิศรฐั สาขาบรกิ ารภาครัฐ 48

2.3 ระดบั ความสำเร็จของหน่วยงานท่ดี ำเนินการตามเกณฑ์การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส 50
ในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครฐั (Integrity and Transparency Assessment : ITA)

มิตทิ ่ี 3 ด้านประสทิ ธิภาพ

3.1 ร้อยละความสำเร็จของการเบิกจ่ายเงนิ งบประมาณรายจา่ ยภาพรวม 53
3.2 ร้อยละความสำเร็จของการเบกิ จา่ ยเงินงบประมาณรายจา่ ยงบลงทนุ 55
3.3 ระดบั ความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของหนว่ ยงาน 57

มติ ิที่ 4 ด้านพัฒนาองค์กร

4.1 ระดบั ความสำเร็จของการบริหารยทุ ธศาสตร์ (ของหน่วยงาน) 59

4.2 ระดับความสำเร็จในการบรหิ ารทรัพยากรบุคคล (HR SC)

4.2.1 ระดับความสำเรจ็ ของการสรา้ งองค์กรแหง่ ความสขุ (Happy DMS) 65

4.2.2 บันทกึ ฐานข้อมูลระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการบคุ ลากรสาธารณสุข (HROPS) 67

4.2.3 การตรวจสอบข้อมูลบคุ ลากรในโปรแกรมฯ DPIS ถูกตอ้ ง ครบถว้ นและเป็นปจั จุบนั 69

4.3 Digital Reform (Digital Transformation) 72

3

คมู่ ือการประเมินผลการปฏิบตั ริ าชการตามคำรบั รองการปฏิบตั ิราชการของหน่วยงานในสงั กัดกรมการแพทย์
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

กรอบการประเมินผลการปฏบิ ัตริ าชการตามคำรับรองการปฏบิ ัตริ าชการของหนว่ ยงานในสงั กัดกรมการแพทย์
***********************

1. หลักการ/ที่มา
• มาตรา 3/1 แห่งพระราชบญั ญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดนิ (ฉบบั ท่ี 5) พ.ศ. 2545
“การบริหารราชการตามพระราชบัญญัตินี้ต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของประชาชนเกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ
ความมีประสิทธิภาพ ความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ การลดขั้นตอน การปฏิบัติงาน การลดภารกิจและยุบเลิก
หน่วยงานที่ไม่จำเป็น การกระจายภารกิจและทรัพยากรให้แก่ท้องถ่ิน การกระจายอำนาจตัดสินใจ การอำนวยความ
สะดวกและการตอบสนองความต้องการของประชาชน ท้งั นโี้ ดยมีผู้รับผดิ ชอบต่อผลของงานการจดั สรรงบประมาณ และ
การบรรจุและแตง่ ตัง้ บคุ คลเข้าดำรงตำแหน่งหรือปฏิบัติหน้าท่ีต้องคำนึงถงึ หลักการตามวรรคหน่ึง ในการปฏิบัติหน้าที่
ของสว่ นราชการต้องใชว้ ธิ กี ารบรหิ ารกจิ การบ้านเมอื งทีด่ โี ดยเฉพาะอย่างย่งิ ให้คำนึงถงึ ความรับผดิ ชอบของผู้ปฏบิ ตั ิงาน
การมีส่วนร่วมของประชาชน การเปิดเผยข้อมูลการติดตามตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติงาน ทั้งนี้ตามความ
เหมาะสมของแต่ละภารกิจเพื่อประโยชน์ในการดำเนินการให้เป็นไปตามมาตรานี้ จะตราพระราชกฤษฎีกากำหนด
หลักเกณฑแ์ ละวธิ ีการในการปฏบิ ัตริ าชการและการสัง่ การใหส้ ว่ นราชการและขา้ ราชการปฏบิ ตั ิกไ็ ด้”
• พระราชกฤษฎกี าวา่ ด้วยหลักเกณฑแ์ ละวิธีบริหารกจิ การบ้านเมอื งทด่ี ี พ.ศ. 2546 และฉบับที่ 2 พ.ศ. 2562
มาตรา 6 การบริหารกิจการบ้านเมืองทด่ี ี
มาตรา 9 (3) ส่วนราชการต้องจัดให้มกี ารติดตามและประเมนิ ผลการปฏิบตั ิตามแผนปฏบิ ัติราชการตามหลักเกณฑ์และ
วธิ กี ารทีส่ ่วนราชการกำหนดข้นึ ซ่ึงสอดคล้องกบั มาตรฐานที่ ก.พ.ร. กำหนด
มาตรา 12 เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติราชการให้เกิดผลสัมฤทธิ์ ก.พ.ร. อาจเสนอต่อคณะรัฐมนตรี เพื่อกำหนดการ
กำกับการปฏิบัติราชการ โดยวิธีการจัดทำความตกลงเป็นลายลักษณ์อักษร หรือโดยวิธีการอื่นใดเพื่อแสดงความ
รับผดิ ชอบในการปฏิบัตริ าชการ
• ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (2560-2579) ดา้ นการปรับสมดลุ และพัฒนาระบบบริหารจดั การภาครัฐ ประเด็นที่ 4
ตามแผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
ด้านสาธารณสุข มีเป้าหมายเพอื่ ประชาชนสุขภาพดี เจา้ หนา้ ท่มี ีความสขุ ระบบสุขภาพยง่ั ยืน โดยในส่วนกลาง
เน้นการพฒั นานโยบาย การกำกับติดตาม และการประเมนิ ผล ภายใตย้ ุทธศาสตร์ความเป็นเลิศ 4 ด้านคอื
1) ด้านสง่ เสริมสุขภาพ ป้องกันโรคและค้มุ ครองผู้บรโิ ภค (Promotion Prevention & Protection Excellence)
2) ดา้ นบรกิ ารเปน็ เลิศ (Service Excellence)
3) ดา้ นบคุ ลากรเป็นเลิศ (People Excellence)
4) ด้านบริหารเปน็ เลิศด้วยธรรมาภบิ าล (Governance Excellence)
วตั ถปุ ระสงค์
• เพ่อื วางระบบการตดิ ตามประเมนิ ผลโดยการถ่ายทอดตวั ชีว้ ดั จากระดบั องค์กรลงส่รู ะดบั หนว่ ยงานจนถึงระดบั บคุ คล
• เพื่อให้หน่วยงานในสังกัดกรมการแพทย์ระดับ โรงพยาบาล/สถาบัน/สำนัก/กอง จัดทำการประเมินผลตนเอง
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ตามเกณฑ์ที่คณะกรรมการจัดทำคำรับรอง
การปฏบิ ตั ิราชการกรมการแพทยก์ ำหนด

4

คู่มือการประเมนิ ผลการปฏบิ ัตริ าชการตามคำรบั รองการปฏบิ ตั ริ าชการของหนว่ ยงานในสังกดั กรมการแพทย์
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

2. กรอบการประเมนิ ผลการปฏิบตั ิราชการ

ดำเนนิ การจัดทำคำรบั รองและประเมินผลการปฏิบัตริ าชการภายใตก้ รอบการประเมนิ ผล 4 มิติ ดงั น้ี

มิตทิ ี่ 1: ด้านประสทิ ธผิ ล มิติท่ี 2: ดา้ นคุณภาพ

แสดงผลงานที่บรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายของ แสดงการให้ความสำคัญกับผู้รับบริการในการให้บริการ

แผนปฏบิ ตั ริ าชการตามทไ่ี ด้รับงบประมาณมาดำเนนิ การ ท่มี คี ุณภาพสรา้ งความพงึ พอใจแก่ผู้รับบริการ

เพื่อให้เกดิ ประโยชน์สุขต่อประชาชน

มิติท่ี 3: ด้านประสทิ ธิภาพ มติ ทิ ี่ 4 : ด้านพัฒนาองคก์ ร

แสดงความสามารถในการปฏิบัติราชการ เช่น การลด แสดงความสามารถในการบริหารจัดการองค์กรและ

รอบระยะเวลาให้บริการ การบริหารงบประมาณ การจัดการทุนด้านมนุษย์ เพื่อสร้างความพร้อมในการ

ประสิทธิภาพของการใช้พลังงาน เปน็ ตน้ สนับสนนุ แผนปฏบิ ตั ริ าชการ

องค์ประกอบของคำรับรองการปฏิบัติราชการของหน่วยงานในสังกัดกรมการแพทย์ระดับโรงพยาบาล/

สถาบนั /สำนกั /กอง/กลมุ่ /ศูนย์ ประกอบดว้ ย
➢ การเจรจาข้อตกลงและประเมนิ ผล

กรมการแพทย์ ไดม้ คี ำส่งั ที่ 686/2562 ลงวนั ท่ี 13 กันยายน 2562 แตง่ ตัง้ คณะกรรมการจดั ทำคำรับรองการปฏิบัติ

ราชการกรมการแพทย์ เพื่อทำหน้าที่พิจารณาวิเคราะห์และให้ข้อเสนอแนะการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ

ประจำปี ของท้ังระดบั กระทรวง กลุ่มภารกจิ ระดบั กรมและหน่วยงาน และรายงานผลการพจิ ารณาให้ท่ีประชุมกรม
การแพทย์พจิ ารณาตอ่ ไป
➢ วธิ ตี ิดตามประเมินผล

• ศกึ ษาจากขอ้ มูล เอกสาร หลกั ฐานอา้ งอิงของหน่วยงาน 3 ประเดน็
- การสง่ รายงานตรงเวลา ความครบถว้ นของรายงาน การตรวจสอบจากหลักฐานอ้างอิง

• จากการติดตาม สังเกต ของคณะกรรมการจัดทำคำรับรองการปฏิบตั ิราชการกรมการแพทย์ และความเห็นจาก
หนว่ ยงานทีเ่ ป็นเจ้าภาพหลกั ของแตล่ ะตัวชี้วัด

➢ เอกสารประกอบคำรับรองการปฏบิ ัตริ าชการ ประกอบดว้ ย
- คำรับรองการปฏิบัติราชการ ระหว่าง อธิบดีกรมการแพทย์ กับ รองอธิบดีกรมการแพทย์ ตามคำสั่งกรมการแพทย์

เรื่องมอบหมายอำนาจและหน้าที่ให้ข้าราชการปฏิบัติราชการแทนอธิบดีกรมการแพทย์ และกับที่ปรึกษากรมการ
แพทย์ ตามคำส่ังกรมการแพทย์ทีม่ อบหมายให้ปฏบิ ตั ิ
- คำรับรองการปฏิบัติราชการ ระหว่าง รองอธิบดีกรมการแพทย์ กับ ผู้อำนวยการโรงพยาบาล/สถาบัน/สำนกั /กอง/
กลุ่ม/ศนู ย์ ตามคำสงั่ กรมการแพทย์
- ระยะเวลาของคำรับรองการปฏบิ ตั ิราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 คอื 1 ตุลาคม 2563 – 30 กันยายน
2564
- แผนปฏิบัติราชการของหน่วยงาน กำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ แผนท่ียุทธศาสตร์

(Strategy Map)
- รายละเอียดข้อตกลงในคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 กรอบการประเมินผล

ตัวชี้วดั ผลการปฏิบตั ิราชการ นำ้ หนกั ผลงานในอดตี เปา้ หมาย เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน

5

คมู่ ือการประเมินผลการปฏิบตั ริ าชการตามคำรบั รองการปฏบิ ัติราชการของหน่วยงานในสังกัดกรมการแพทย์
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ขน้ั ตอนและวิธกี ารในการจดั ทำคำรบั รองการปฏิบัตริ าชการ

กรมการแพทย์ทบทวนวิสยั ทัศน์ เจา้ ภาพตัวชว้ี ดั ประชมุ ปรกึ ษาหารือ
พันธกิจ แผนยุทธศาสตร์ เพ่ือจัดทำร่างเกณฑ์การประเมนิ ผล
แผนปฏบิ ตั ิราชการ
ตัวช้วี ดั

หนว่ ยงานในสงั กดั กรมการแพทย์ คณะกรรมการจัดทำคำรบั รองฯพจิ ารณา
ทบทวนแผนปฏบิ ัติราชการประจำปี กรอบการประเมนิ ผล ตวั ช้วี ดั

จดั ทำความเชือ่ มโยงกบั แผน ค่าเป้าหมาย เกณฑก์ ารประเมินผล
ยุทธศาสตร์กรมและแผนที่ยุทธศาสตร์
จัดทำร่างคำรับรองฯ เสนอ อธิบดี
และผ้บู ริหารกรมการแพทย์

พิธลี งนามคำรับรอง การลงนามคำรบั รองการปฏิบัติ
การปฏบิ ัตริ าชการ ราชการอธิบดี – รองอธบิ ดี/ท่ี
ปรกึ ษารองอธิบดี - หนว่ ยงาน

ชีแ้ จงหน่วยงาน เพือ่ จดั ทำคำรบั รอง
การปฏบิ ัติราชการ ตัวช้วี ดั คา่ เป้าหมาย

เกณฑ์การประเมินผล

ดำเนินการตามคำรับรองการปฏิบัตริ าชการ
และรายงานผลการดำเนินงานผ่านระบบ
คำรับรองการปฏิบัติราชการกรมการแพทย์

(E-PA) รอบ 6 เดือน / 12 เดือน

ประเมินผล แจ้งผลการประเมินฯ
และ FEEDBACK

6

คู่มอื การประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ริ าชการตามคำรับรองการปฏิบัตริ าชการของหน่วยงานในสังกัดกรมการแพทย์
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ปฏทิ ินการจัดทำคำรับรองการปฏิบตั ิราชการและการประเมนิ ผลการปฏิบตั ริ าชการของหน่วยงาน
ระดับโรงพยาบาล / สถาบัน / สำนกั / กอง / กลุ่ม / ศนู ย์

วันท่ี กิจกรรมการดำเนนิ งาน
29 กนั ยายน 2563
ประชมุ คณะกรรมการคณะกรรมการจัดทำคำรับรองการปฏิบตั ริ าชการ
23 พฤศจิกายน 2563 กรมการแพทย์ เพ่ือพิจารณากรอบ และหลกั เกณฑ์ คำรบั รองการ
3 ธันวาคม 2563 ปฏิบตั ริ าชการระดับกรม และระดับหน่วยงานในสงั กัดกรมการแพทย์

15 - 20 กมุ ภาพันธ์ 2564 - พธิ ลี งนามคำรบั รองการปฏิบตั ิราชการระดับหนว่ ยงานในสังกัด
22 – 27 กมุ ภาพนั ธ์ 2564 กรมการแพทย์ ประจำปงี บประมาณ 2564
16 – 21 สิงหาคม 2564
23 – 28 สิงหาคม 2564 - ชี้แจงแนวทางการจัดทำคำรับรองการปฏบิ ัตริ าชการของหนว่ ยงาน
และการใช้งานระบบคำรบั รองการปฏิบตั ิราชการกรมการแพทย์ (E-PA)
ประจำปงี บประมาณ 2564

รายงานผลการประเมนิ ตนเอง รอบ 6 เดือน
ผ่านระบบระบบคำรบั รองการปฏิบัตริ าชการ กรมการแพทย์ (E-PA)

เจ้าภาพตวั ชีว้ ัดตรวจสอบผลการดำเนินงานของหนว่ ยงาน
(รอบ 6 เดือน)

รายงานผลการประเมินตนเอง รอบ 12 เดือน
ผา่ นระบบคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมการแพทย์ (E-PA)

เจา้ ภาพตัวชีว้ ัดตรวจสอบผลการดำเนนิ งานของหนว่ ยงาน
(รอบ 12 เดือน)

7

คมู่ อื การประเมินผลการปฏิบตั ริ าชการตามคำรบั รองการปฏบิ ตั ิราชการของหน่วยงานในสงั กดั กรมการแพทย์
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

กรอบการประเมินผลการปฏิบัตริ าชการของหน่วยงานในสงั กดั กรมการแพทย์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ตวั ช้ีวดั น้ำหนัก
(รอ้ ยละ)
มิตทิ ี่ 1 ดา้ นประสิทธผิ ล (ร้อยละ 60)
1.1 ทศิ ทางงานวิชาการ (Research/TA/CPG/MD) เพ่ือการนำไปใชป้ ระโยชน์ 20

1.2 ระดับความสำเร็จในการพัฒนาศูนย์ความเปน็ เลิศทางการแพทย์ 20
1.3 ระดบั ความสำเรจ็ ในการจัดการนวัตกรรมทางการแพทย์ 10

1.4 ระดบั ความสำเรจ็ ของความรว่ มมอื ด้านวชิ าการ และบรกิ ารกับเขตสุขภาพ 10

หมายเหตุ : สำหรบั หน่วยงานสนบั สนุน มิติท่ี 1 ประสิทธิผล (ร้อยละ 60) ให้กำหนดตัวชวี้ ดั จาก
1.1 ระดับความสำเร็จในการปรบั ปรงุ องค์การตามเกณฑก์ ารเปน็ ระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0) (30)
1.2 ตัวชีว้ ดั ตามภารกิจหลักของหนว่ ยงาน หรือตามแผนยุทธศาสตรก์ รมการแพทยท์ ่ีหน่วยงานรับผดิ ชอบ (20)
1.3 ระดบั ความสำเรจ็ ในการพฒั นาปรับปรงุ กระบวนการในการปฏิบตั งิ านวถิ ีใหม่ (Working Process Redesign) (10)

มิตทิ ่ี 2 ด้านคุณภาพ (ร้อยละ 10)

2.1 ระดบั ความความสำเรจ็ ของการจดั ทำคู่มอื การใหบ้ รกิ ารประชาชน 3

2.2 ระดับความสำเร็จในการเตรียมความพร้อมในการขอสมคั รรางวลั เลศิ รัฐ สาขาบริการภาครัฐ 2

2.3 ระดับความสำเรจ็ ของหน่วยงานท่ีดำเนินการตามเกณฑ์การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส 5
ในการดำเนนิ งานของหน่วยงานภาครฐั (Integrity and Transparency Assessment : ITA)
มี มไี ม่
มิตทิ ี่ 3 ด้านประสทิ ธิภาพ (รอ้ ยละ 10) ครบ ครบ

3.1 รอ้ ยละความสำเรจ็ ของการเบิกจา่ ยเงนิ งบประมาณรายจ่ายภาพรวม 55

3.2 รอ้ ยละความสำเร็จของการเบกิ จา่ ยเงนิ งบประมาณรายจ่ายงบลงทุน 2-

3.3 ระดบั ความสำเรจ็ ของการดำเนนิ การตามมาตรการประหยัดพลังงานของหน่วยงาน 35
มติ ิที่ 4 ด้านพฒั นาองค์กร (ร้อยละ 20)
4.1 ระดบั ความสำเรจ็ ของการบริหารยทุ ธศาสตร์ (ของหน่วยงาน) 6
4.2 ระดบั ความสำเร็จในการพัฒนาระบบบรหิ ารทรัพยากรบุคคล
มี มไี ม่
4.2.1 ระดบั ความสำเร็จของการสรา้ งองค์กรแหง่ ความสขุ (Happy DMS) ครบ ครบ

23

4.2.2 บนั ทกึ ฐานข้อมลู ระบบสารสนเทศเพ่ือการบริหารจัดการบคุ ลากรสาธารณสุข (HROPS) 2 -

4.2.3 การตรวจสอบขอ้ มลู บคุ ลากรในโปรแกรมฯ DPIS ถกู ต้อง ครบถว้ นและเป็นปัจจบุ ัน 2 3

4.3 Digital Reform (Digital Transformation) 8

รวม 100

8

คมู่ ือการประเมินผลการปฏิบัตริ าชการตามคำรบั รองการปฏิบัตริ าชการของหน่วยงานในสงั กดั กรมการแพทย์
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

มติ ิท่ี 1 ด้านประสิทธิผล

ตวั ชว้ี ดั ที่ 1.1 ทิศทางงานวิชาการ (Research / TA / CPG / MD) เพ่อื การนำไปใชป้ ระโยชน์
นำ้ หนกั : ร้อยละ 20

พันธกิจที่สำคัญของกรมการแพทย์ คือ ศึกษา วิจัย ประเมิน พัฒนา เผยแพร่องค์ความรู้และ
เทคโนโลยีเพื่อพัฒนาการแพทย์ที่สมคุณค่าของประเทศ ดังนั้นการพัฒนางานวิจัยที่มีคุณภาพ จึงเป็น
แรงขับเคลื่อนที่สำคัญ การวิจัยที่มีเป้าหมายและแนวทางชัดเจนสามารถตอบสนองต่อความต้องการ
สู่การแก้ไขปญั หาด้านการแพทย์จึงจะสามารถนำไปใช้เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาประเทศ ประกอบกับรัฐบาล
ได้มีการกำหนดนโยบาย Thailand 4.0 และกรมการแพทย์ได้จัดทำและปรับแผนยุทธศาสตร์วิชาการ
กรมการแพทย์ พ.ศ. 2560 – 2564 ที่มียุทธศาสตร์พัฒนาความเป็นเลิศของหน่วยงานสู่ศูนย์ความเป็นเลิศ
ทางวิชาการ (Centers of Excellence / National Institutes) การพฒั นาสร้างความเข็มแขง็ และเพม่ิ ศักยภาพ
ด้านบริการและวิชาการให้ได้นั้น มีปัจจัยแห่งความสำเร็จของการพัฒนาฯที่สำคัญ คือ หน่วยงาน
ในสังกัดกรมการแพทย์ต้องมีทิศทางของงานวิชาการแบบมุ่งเป้าเพื่อแก้ไขปัญหาสาธารณสุขด้านการแพทย์
ที่สำคัญตามบริบทของกรมการแพทย์ซึ่งควรมีการจัดโครงสร้าง การจัดทำแผนงานวิชาการที่ชัดเจนวิเคราะห์
และสังเคราะห์งานวิชาการที่สำคัญ สามารถนำไปจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อแก้ไขปัญหาสาธารณสุข
ด้านการแพทย์ที่สำคัญของประเทศได้ และที่สำคัญคือ การติดตามความก้าวหน้าของแผนงานวิชาการ โดยใช้
ระบบบริหารจัดการที่เหมาะสมจึงจะสามารถทำให้หน่วยงานในสังกัดกรมการแพทย์ มีการพัฒนางานวิชาการ
ทมี่ ีคณุ ภาพสามารถเปน็ ข้อมูลประกอบการตัดสินใจของผูบ้ รหิ ารและสามารถนำไปใช้ประโยชนไ์ ด้

เกณฑ์การให้คะแนน กำหนดเป็นระดับขั้นของความสำเร็จ (milestone) แบ่งระดับการให้คะแนนเป็น
5 ระดับ พจิ ารณาจาก 5 องค์ประกอบดงั นี้

1. การกำหนดทศิ ทางงานวชิ าการสู่ความสำเรจ็ (นำ้ หนกั : ร้อยละ 25)

2. ระบบการบริหารจดั การงานวิชาการของหนว่ ยงานในสงั กัดกรมการแพทย์ (นำ้ หนกั : ร้อยละ 25)

3. การจัดการผลงานวิชาการเพ่อื นำไปใช้ให้เกดิ ประโยชน์ (นำ้ หนกั : รอ้ ยละ 25)
(นำ้ หนกั : รอ้ ยละ 10)
4. ข้อเสนอโครงการวจิ ยั ทเ่ี สนอของบประมาณผา่ นสำนักงานคณะกรรมการ (นำ้ หนกั : รอ้ ยละ 15)
ส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวตั กรรม (สกสว.)

5. การเผยแพร่ผลงานวิชาการสสู่ าธารณะ

ตารางผลรวมของคะแนนทุกองคป์ ระกอบเทียบกับระดบั ความสำเร็จ

ระดับความสำเร็จ ผลรวมของคะแนนทุกองคป์ ระกอบ (คะแนน)
1 น้อยกว่าหรือเทา่ กับ 1.00
2 1.01 – 2.00
3 2.01 – 3.00
4 3.01 – 4.00
5 4.01 – 5.00

9

คูม่ ือการประเมินผลการปฏบิ ตั ริ าชการตามคำรับรองการปฏิบัตริ าชการของหนว่ ยงานในสงั กัดกรมการแพทย์
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

องคป์ ระกอบท่ี 1 การกำหนดทศิ ทางงานวชิ าการสู่ความสำเรจ็ (น้ำหนัก : รอ้ ยละ 25)

ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน : องค์ประกอบที่ 1

1 คณะกรรมการบริหาร/คณะกรรมการวิจัยของหน่วยงานกำหนดนโยบาย ทิศทางการพัฒนางาน
วชิ าการของหนว่ ยงาน

2 จัดทำแผนยุทธศาสตร์/แผนงานวิชาการของหน่วยงานในปีงบประมาณพ.ศ. 2564 เพื่อเป็นแนว
ทางการดำเนินการวิจัย ประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์ และพัฒนารูปแบบการบริการ เพื่อให้ได้

ผลงานที่สามารถนำจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายในการแก้ไขปัญหาสาธารณสุขด้านการแพทย์ตาม
ภารกจิ ของหน่วยงานหรือศนู ยค์ วามเปน็ เลศิ เฉพาะทางทห่ี น่วยงานรบั ผิดชอบ

3 ดำเนนิ การตามแผนงานท่ีกำหนดไว้ (ในความสำเรจ็ ระดบั ท่ี 2) โดยมเี ปา้ หมายเปน็ ผลผลิตงานวชิ าการ

4 วเิ คราะหผ์ ลงานวิชาการที่เปน็ ไปตามแผนงานและทิศทางงานวิจัย (Research Mapping) ของหนว่ ยงาน

5 วิเคราะห์ผลกระทบผลงานวชิ าการของหนว่ ยงาน 3 ปีทผ่ี า่ นมา เพอื่ เปน็ แนวทางการพัฒนางาน
วชิ าการใหส้ อดคลอ้ งกบั แผนงานวชิ าการและทศิ ทางงานวิจัยของหน่วยงานในปงี บประมาณ พ.ศ.
2565

คำอธบิ าย:

งานวชิ าการ หมายถงึ งานวิจัยทางการแพทย์ (Medical Research) งานประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์
(Medical Technology Assessment) งานพัฒนาแนวทางเวชปฏิบัติ (Clinical Practice Guideline Development)
และงานพฒั นารปู แบบงานบริการ (Model Development)

ทิศทางงานวิชาการ (Academic Direction) หมายถึง ลักษณะหรือแนวทางการทำงานวิชาการที่มุ่ง
ไปสสู่ ง่ิ ทค่ี าดหวงั ว่าจะเกดิ ขน้ึ ในอนาคต หากดำเนนิ การไปตามแนวทางน้ี ความคาดหวังไม่เพยี งแต่เป็นรูปธรรม
ที่เปน็ ตวั เลขที่กำหนดไว้ แต่ยังกอ่ ใหเ้ กิดการเปล่ยี นแปลงในทางที่ดีขนึ้ ด้านสขุ ภาพโดยลำดับ

แผนงานวิชาการ หมายถึง แผนงานวิชาการที่ถูกกำหนดขึ้นจากการวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาสุขภาพ
ที่หน่วยงานรับผิดชอบ นำมาวางแผนเพื่อดำเนินการวิชาการในช่วงระยะเวลา 1 – 3 ปีหรือมากกว่า และมีการ
ติดตามการดำเนินงานให้เป็นไปตามทิศทางงานวิชาการของหน่วยงาน แล้วนำมากำหนดศึกษา วิจัย ประเมิน
พัฒนางานวิชาการ เช่น โครงการวิจัยเดี่ยว หรือชุดโครงการวิจัยที่มีความสัมพันธ์หรือสนับสนุนซึ่งกันและกันมี
ลักษณะบูรณาการ เป็นการวิจัยที่เป็นสหสาขาวิชาการ รวมทั้งโครงการประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์ และ
โครงการพัฒนารูปแบบงานบริการ (Model Development) โดยงานวิชาการทั้งหมดเหล่านี้มีเป้าหมายที่จะนำ
ผลงานไปใชป้ ระโยชน์อย่างชัดเจนตามแผนงานวิชาการท่ถี ูกกำหนดขน้ึ

ความหมายทแี่ ฝงอยใู่ นตวั ชีว้ ัด (องคป์ ระกอบที่ 1)

1. ทิศทางงานวิชาการเป็นส่วนสำคัญในการสนับสนุนการผลิตงานวิจัยทางการแพทย์ (Medical Research)
งานประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Technology Assessment) และงานพัฒนารูปแบบงาน
บริการ (Model Development) เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งทางวิชาการ และสร้างองค์ความรู้ที่มี
คุณภาพ สอดคล้องกบั ปญั หาสาธารณสขุ ดา้ นการแพทยท์ ่สี ำคัญของประเทศ

2. หน่วยงานในสังกัดกรมการแพทย์สามารถผลิตงานวิชาการเพื่อแก้ปัญหาสาธารณสุขด้านการแพทย์ที่มี
ความจำเป็นเรง่ ดว่ นหรือกรณีวิกฤตของประเทศไดต้ ามภารกิจทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย

3. สนับสนุนการรวมกลุ่มนักวิชาการและทรัพยากรในการดำเนินงานวิชาการ เช่น หน่วยปฏิบัติการวิจัย
เช่ียวชาญเฉพาะ เพ่อื สรา้ งทีมวิจัยและความเปน็ เลศิ ทางการวิจยั เฉพาะเรอื่ งหรือเฉพาะด้าน

10

คมู่ ือการประเมนิ ผลการปฏบิ ัตริ าชการตามคำรับรองการปฏิบตั ริ าชการของหนว่ ยงานในสงั กดั กรมการแพทย์
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

4. ส่งเสริมและสนับสนนุ ให้ศูนยค์ วามเป็นเลศิ เฉพาะทางสาขาต่าง ๆ สามารถสร้างผลงานวิจัยทางการแพทย์
(Medical Research) งานประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Technology Assessment) และ
งานพัฒนารูปแบบงานบริการ (Model Development) ที่สามารถนำไปประโยชน์เชิงนโยบายใน
ระดบั ประเทศไดอ้ ย่างเหมาะสม

5. สนับสนุนงานวิชาการที่เป็นการพัฒนาต่อยอดองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมที่ได้จากผลผลิต
งานวิจัย เพื่อขยายผลสู่การใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ หรือเชิงสาธารณะ หรือเชิงนโยบายและได้รับการ
ค้มุ ครองทรพั ย์สนิ ทางปญั ญา

สอดคลอ้ งกับ

1. วสิ ัยทัศน์และพันธกิจตามยทุ ธศาสตรพ์ ของกรมการแพทย์
2. เป้าประสงค์ที่ 1 ของกรมการแพทย์ : การแพทย์ของประเทศมีคุณภาพและมาตรฐานในระดับ

สากล (Medical Service Excellence)
3. ยุทธศาสตรท์ ี่ 1 สรา้ งความเขม้ แขง็ เครือขา่ ยบริการและวิชาการทางการแพทย์และสาธารณสุขของประเทศ
4. แผนยทุ ธศาสตรก์ ารวิจยั และประเมนิ เทคโนโลยที างการแพทย์ กรมการแพทย์ พ.ศ. 2560 – 2564

ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 ผลติ งานวิจัยและประเมนิ เทคโนโลยที างการแพทยแ์ บบม่งุ เปา้ หรอื บรู ณาการท่ี
สามารถนำไปใชป้ ระโยชน์เชิงนโยบายและ/หรอื พฒั นาตอ่ ยอดในเชงิ พาณิชย์ได้

คำอธบิ ายแนวทางการประเมิน

ระดบั เกณฑ์การให้คะแนน เอกสาร/หลกั ฐานการประเมินผล

คะแนน

1 คณะกรรมการบริหาร/คณะกรรมการวิจัยของ - คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการบริ หา ร/

หน่วยงานกำหนดนโยบาย ทิศทางการพัฒนา คณะกรรมการวจิ ยั ของหน่วยงาน

งานวิชาการของหนว่ ยงาน - รายงานการประชุม ที่เกี่ยวข้องกับการกำหนด

นโยบาย ทิศทางการพัฒนางานวิชาการของ

หนว่ ยงาน

2 จัดทำแผนยุทธศาสตร์/แผนงานวิชาการของ - แผนยุทธศาสตร์/แผนงานวิชาการของ

หน่วยงานในปีงบประมาณพ.ศ. 2564 เพื่อเป็น หนว่ ยงานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

แนวทางการดำเนินการวิจัย ประเมินเทคโนโลยี - โครงการงานวิชาการตามคำนิยามและอยู่ใน

ทางการแพทย์ และพัฒนารูปแบบการบริการ แผนยุทธฯหรือแผนงานวิชาการของหน่วยงาน ที่

เพื่อให้ได้ผลงานที่สามารถนำจัดทำข้อเสนอเชิง ดำเนนิ การในปงี บประมาณพ.ศ. 2564

นโยบายในการแก้ไขปัญหาสาธารณสุขด้าน

การแพทย์ตามภารกิจของหน่วยงานหรือศูนย์

ความเป็นเลิศเฉพาะทางทหี่ น่วยงานรบั ผดิ ชอบ

ดำเนนิ การตามแผนงานทกี่ ำหนดไว้ (ใน - แผนปฏบิ ัตกิ ารรายโครงการในแผนยุทธศาสตร/์

3 ความสำเรจ็ ระดับท่ี 2) โดยมีเปา้ หมายเปน็ แผนงานวิชาการของหน่วยงานในปีงบประมาณ

ผลผลติ งานวิชาการ พ.ศ. 2564

วเิ คราะห์ผลงานวิชาการท่เี ปน็ ไปตามแผนงาน - รายงานการวิเคราะห์การดำเนินงานผลงาน

4 และทศิ ทางงานวิจัย (Research Mapping) วิชาการมีความสอดคล้องกับบริบทของ

ของหน่วยงาน หนว่ ยงาน/ COE

5 วิเคราะห์ผลกระทบผลงานวิชาการของ - รายงานวิเคราะหผ์ ลกระทบผลงานวชิ าการของ

หน่วยงาน 3 ปีที่ผ่านมา เพื่อเป็นแนวทางการ หน่วยงานย้อนหลัง 3 ปี (2562 – 2564) และ

พัฒนางานวิชาการให้สอดคล้องกับแผนงาน ข้อเสนอแนวทางพัฒนางานวชิ าการให้สอดคล้อง

วิชาการและทิศทางงานวิจัยของหน่วยงานใน กับแผนงานวิชาการและทิศทางงานวิจัยของ

ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 หน่วยงานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

11

ค่มู ือการประเมนิ ผลการปฏิบตั ริ าชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของหน่วยงานในสังกดั กรมการแพทย์
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

องค์ประกอบที่ 2 ระบบการบริหารจดั การงานวิชาการของหนว่ ยงานในสงั กดั กรมการแพทย์ (นำ้ หนัก : ร้อยละ 25)

ระดับคะแนน เกณฑก์ ารให้คะแนน : องค์ประกอบท่ี 2

1 มรี ะบบการจัดการคุณภาพงานวชิ าการ

2 กลุ่มงาน/ฝ่ายที่ดูแลงานวิชาการ ดำเนินการส่งเสริม สนับสนุน งานวิชาการของบุคลากร
ในสงั กดั (ใหส้ ามารถดำเนนิ โครงการตามแผนจนเสรจ็ )

3 จัดทำเกณฑ์การประเมินภาระงาน โดยแบ่งสัดส่วนงานบริการ (service) งานวิจัย
(research) และงานวชิ าการอ่ืน ๆ (academic) ในระดับบุคลากรใหช้ ัดเจน

4 มีระบบการนิเทศ กำกับ ติดตามและประเมินผลงานวิชาการของหน่วยงาน เพื่อให้การ
ดำเนนิ การบรรลวุ ัตถปุ ระสงค์และเป็นไปตามเป้าหมาย รวมถึงการนำผลงานไปใชป้ ระโยชน์

5 มีรายงานผลการดำเนินงานของ กลุ่มงาน/ฝ่าย ที่ดูแลงานวิชาการ เพื่อรายงานการบริหาร
จัดการงานวชิ าการของหน่วยงานเปน็ รอบ ๆ และประจำปี

คำอธบิ าย:

งานวชิ าการ หมายถงึ งานวิจยั ทางการแพทย์ (Medical Research) งานประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์
(Medical Technology Assessment) งานพัฒนาแนวทางเวชปฏิบัติ (Clinical Practice Guideline Development)
และงานพฒั นารูปแบบงานบริการ (Model Development)

ระบบบริหารจัดการงานวิชาการ หมายถึง ระบบส่งเสริม สนับสนุน และติดตามงานวิจัยและประเมนิ
เทคโนโลยีทางการแพทย์แบบครบวงจร เพื่อให้การดำเนินการงานวิจัยและประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์
บรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้อย่างมีประสิทธิผลและประสิทธิภาพ โดยมีโครงสร้างหรือระบบรองรับการ
ดำเนินการอยา่ งชดั เจน

ระบบสนับสนุนงานวิชาการ หมายถึง การพัฒนาบุคลากรด้านงานวิจัย การจัดหาแหล่งทุน
การสนับสนุนการพัฒนาหน่วยปฏิบัติการวิจัย หรือ ศูนย์วิจัยทางคลินิก การให้คำปรึกษาให้ข้อเสนอแนะ
การสนับสนุนและผลักดันการนำผลงานด้านวิจัยไปประยุกต์ใช้ได้อย่างเป็นรูปธรรม และการส่งเสริมการเผยแพร่
ผลงานวิจัยส่สู าธารณะ การสนับสนนุ งานวิจยั สูอ่ ตุ สาหกรรมเชิงพาณชิ ย์ รวมทง้ั ระบบสรา้ งแรงจูงใจ

ระบบติดตามงานวิชาการ หมายถึง การกำกับ แนะนำ ช่วยเหลือ ติดตามความก้าวหน้าของการ
ดำเนนิ การวชิ าการโดยกลุ่มงานวจิ ัยและประเมนิ เทคโนโลยที างการแพทย์ หรอื ศนู ยว์ จิ ยั ของหน่วยงาน หรอื โดย
คณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในคนของหนว่ ยงาน หรอื กลมุ่ งาน/ฝา่ ยทีเ่ กย่ี วขอ้ ง เพอ่ื ให้การดำเนนิ การบรรลุ
เป้าหมายของหน่วยงานอย่างมีคุณภาพและประสิทธภิ าพ

ระบบการจัดการคุณภาพงานวิชาการ หมายถึง หน่วยงานมีคณะกรรมการจริยธรรมในคน หรือ
คณะกรรมการวิจัย และคณะกรรมการบริหารที่ทำหนา้ ท่ีพจิ ารณาข้อเสนองานวชิ าการของหน่วยงาน และหาก
หน่วยงานใดไม่มีคณะกรรมการจริยธรรมในคน ของหน่วยงาน แต่มีระบบหรือมาตรการในการจัดการคุณภาพ
งานวิชาการกอ่ นการดำเนนิ การ
ความหมายทแี่ ฝงอยู่ในตวั ชวี้ ัด (องค์ประกอบท่ี 2)

1. สามารถวิเคราะห์และติดตามงานวิชาการด้านคุณภาพ เป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด
ผลผลิตและงบประมาณเปน็ ระยะตามระบบทกี่ ำหนด

2. ผลงานวิชาการผ่านคณะกรรมการวิจัยและประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์ กรมการแพทย์ เพื่อ
เสนอของบประมาณผ่านการพิจารณาจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ซึ่งมีนัยว่า
หนว่ ยงานมีการผลิตงานวิชาการทมี่ ีคุณภาพและสอดคล้องกบั ปัญหาสาธารณสขุ ดา้ นการแพทย์

3. สนบั สนุนการสรา้ งนักวจิ ยั ร่นุ ใหม่เพ่มิ ข้ึนอยา่ งต่อเน่อื ง

12

คู่มือการประเมนิ ผลการปฏิบัตริ าชการตามคำรบั รองการปฏบิ ตั ริ าชการของหนว่ ยงานในสังกดั กรมการแพทย์
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

สอดคลอ้ งกบั
1. วิสัยทัศน์และพนั ธกิจของกรมการแพทย์
2. เป้าประสงค์ท่ี 1: การแพทยข์ องประเทศทเี่ ป็นเลศิ และสมคณุ คา่ (Value Based Medical Service)
3. ยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 สร้างความเข้มแข็งเครอื ข่ายบริการและวชิ าการทางการแพทย์และสาธารณสุขของประเทศ
4. แผนยทุ ธศาสตรก์ ารวิจยั และประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์ กรมการแพทย์ พ.ศ. 2560 – 2564
ยุทธศาสตรท์ ่ี 1 พฒั นาระบบบริหารจัดการงานวจิ ัยและประเมนิ เทคโนโลยที างการแพทย์
กรมการแพทย์

คำอธิบายแนวทางการประเมนิ

ระดบั คะแนน เกณฑก์ ารให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการประเมินผล

1 มรี ะบบการจัดการคุณภาพงานวิชาการ - มีคำส่ังแตง่ ต้งั คณะกรรมการวิจยั หรอื คณะ

กรรมการพิจารณาจริยธรรมการวจิ ัยในมนุษย์

- มแี ผนงานสนับสนนุ งานวิชาการของหน่วยงาน

2 กลุ่มงาน/ฝ่ายที่ดูแลงานว ิชาการ - มีกลุ่มงานสนบั สนุนงานวชิ าการ/กลุ่มงานวิจัย

ดำเนินการส่งเสริม สนับสนุน งานวิชาการ และประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์ของ

ของบุคลากรในสังกัด (ให้สามารถดำเนิน หน่วยงาน

โครงการตามแผนจนเสรจ็ )

3 จดั ทำเกณฑ์การประเมินภาระงาน โดยแบ่ง - มีเอกสารรายงานการแบ่งสัดส่วนงานบริการ

สัดส่วนงานบริการ (service) งานวิจัย (service) งานวิจัย(research) ที่ชัดเจน โดย

( research) แ ล ะ ง า น ว ิ ช า ก า ร อ ื ่ น ๆ บรรจุอยู่ในรายงานการประเมินผลการปฏิบัติ

(academic) ในระดับบคุ ลากรให้ชัดเจน ราชการรายบคุ คล

4 มีระบบการนิเทศ กำกับ ติดตามและ - มีการนิเทศ ติดตาม หรือจัดประชุมเพ่ือ

ประเมินผลงานวิชาการของหน่วยงาน ติดตามและประเมินผลการดำเนินการโครงการ

เพื่อให้การดำเนินการบรรลุวัตถุประสงค์ ของหน่วยงาน

และเป็นไปตามเป้าหมาย รวมถึงการนำ

ผลงานไปใชป้ ระโยชน์

5 มรี ายงานผลการดำเนนิ งานของ กลุ่มงาน/ - รายงานความกา้ วหน้าการดำเนนิ การโครงการ

ฝา่ ย ท่ีดูแลงานวิชาการ เพ่อื รายงานการ วิชาการทุก 3 เดือน/ประจำปี และมีการ

บริหารจดั การงานวชิ าการของหนว่ ยงาน นำเสนอคณะกรรมการบริหารรับทราบ

เปน็ รอบ ๆ และประจำปี

13

คู่มือการประเมนิ ผลการปฏบิ ัตริ าชการตามคำรับรองการปฏบิ ตั ริ าชการของหนว่ ยงานในสังกดั กรมการแพทย์
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

องค์ประกอบท่ี 3 การจัดการผลงานวิชาการเพ่อื นำไปใช้ใหเ้ กิดประโยชน์ (น้ำหนัก : ร้อยละ 25)

ระดับคะแนน เกณฑ์การใหค้ ะแนน : องค์ประกอบท่ี 3
1
2 ผลงานวิชาการของหน่วยงานนำไปใชป้ ระโยชนใ์ นหนว่ ยงานไดอ้ ยา่ งเป็นรูปธรรม

3 ผลงานวิชาการของหน่วยงานนำเสนอ ผู้บริหารให้เห็นแนวทางในการนำไปพัฒนาและ
ประยุกต์ใชใ้ นเชงิ วชิ าการ เชิงนโยบาย หรอื เชิงสาธารณะ หรอื เชิงพาณิชย์
4 ผลงานวิชาการของหน่วยงาน สามารถนำไปพัฒนาและประยุกต์ใช้ในเชิงวิชาการ
เชิงนโยบาย หรือเชงิ สาธารณะ หรอื เชิงพาณิชย์ (อย่างน้อย 1 โครงการ)
ผลงานวิชาการของหน่วยงาน สามารถนำไปพัฒนาและประยุกต์ใช้ในเชิงวิชาการ
เชิงนโยบาย หรือเชิงสาธารณะ หรือเชิงพาณิชย์ (อย่างน้อย 2 โครงการ) โดยต้องเป็น
โครงการประเมินเทคโนโลยที างการแพทย์ 1 โครงการ

5 ผลงานวิชาการของหน่วยงาน สามารถนำไปพัฒนาและประยุกต์ใช้ในเชิงวิชาการ
เชิงนโยบาย หรือเชิงสาธารณะ หรือเชิงพาณิชย์ (อย่างน้อย 3 โครงการ)โดยต้องเป็น
โครงการประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์ 1 โครงการและโครงการพัฒนารูปแบบการ
ให้บรกิ าร (Model development) 1 โครงการ

หมายเหตุ : ผลงานวิชาการอาจเป็นผลงานใหม่ หรือผลงานต่อเนอ่ื งทยี่ งั ดำเนนิ การอยู่ สามารถนำมาอา้ งองิ ได้
คำอธิบาย :

ผลงานวิชาการ หมายถึง ผลงานที่ได้จากการวิจัย ประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์ งานพัฒนา
แนวทางเวชปฏบิ ตั ิและการพัฒนารูปแบบการนำไปใชป้ ระโยชนเ์ ชิงวิชาการ เปน็ การนำผลงานการวจิ ยั นำไปใช้
ประโยชนเ์ พ่อื การเรยี นการสอน หรอื ส่ือการเรยี นรู้ตา่ ง ๆ

การนำไปใช้ประโยชน์เชิงนโยบาย หมายถึง ผลผลิตงานวิชาการที่ส่งผลกระทบต่อสาธารณะนำไปสู่
การพฒั นาเปน็ นโยบายในหลายระดับ ส่งผลให้ประชาชนไทยเฉพาะกล่มุ หรือภาพรวมมีสุขภาพที่ดีขึ้น

การนำไปใช้ประโยชนเ์ ชงิ สาธารณะ หมายถึง ผลงานวิชาการทสี่ ามารถนำไปพัฒนาระบบการวินิจฉัย
การดูแลรักษาโรคเฉพาะทาง หรือการฟื้นฟูสภาพเฉพาะโรคท่ีเหมาะสมในประเทศไทยโดยมีประสิทธิผลและมี
ประสิทธภิ าพ กอ่ ให้เกิดคุณภาพชีวติ ทดี่ ีขึ้นกบั ประชาชน

การนำไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ หมายถึง ผลงานวิชาการที่สามารถนำไปพัฒนาและเพิ่มมูลค่า
ด้านเศรษฐกิจ เช่น อาหารพิเศษเฉพาะโรคสารออกฤทธิ์สกดั จากสมุนไพรทีม่ ีสรรพคุณทางยาผ่านงานวิจัยทาง
คลินิก เวชสำอาง หรือเครื่องมือแพทย์อุปกรณ์การแพทย์ หรือชุดตรวจสอบการวินิจฉัยโรคเป็นต้นรวมถึง
นวัตกรรมงานวิจัยที่นำไปสู่การพัฒนาสิ่งประดิษฐ์ หรือผลิตภัณฑ์ซึ่งก่อให้เกิดรายได้ หรือนำไปสู่การเพ่ิม
ประสิทธภิ าพการให้บรกิ าร

ความหมายที่แฝงอย่ใู นตัวช้ีวดั (องคป์ ระกอบที่ 3)
ประเด็นคุณค่าของผลงานวิชาการทสี่ ามารถนำไปพฒั นานำไปใช้ประโยชน์ในหนว่ ยงานและ/หรือ

หนว่ ยงานอืน่ และ/หรือประยุกตใ์ ช้ในเชงิ นโยบาย หรอื เชงิ สาธารณะ หรือเชงิ พาณิชย์

14

ค่มู ือการประเมินผลการปฏิบตั ริ าชการตามคำรับรองการปฏบิ ตั ริ าชการของหน่วยงานในสงั กดั กรมการแพทย์
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

สอดคลอ้ งกับ
1. วิสยั ทศั นแ์ ละพันธกิจของกรมการแพทย์
2. เปา้ ประสงค์ท่ี 1: การแพทย์ของประเทศทีเ่ ป็นเลิศและสมคุณค่า (Value Based Medical Service)
3. ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 1 สร้างความเข้มแข็งเครอื ข่ายบรกิ ารและวชิ าการทางการแพทย์และสาธารณสขุ ของประเทศ
4. แผนยุทธศาสตรก์ ารวิจยั และประเมนิ เทคโนโลยที างการแพทย์ กรมการแพทย์ พ.ศ. 2560 – 2564
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 ผลติ งานวิจยั และประเมินเทคโนโลยที างการแพทยแ์ บบม่งุ เป้าหรอื บูรณาการ
ที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์เชงิ นโยบายและ/หรอื พัฒนาต่อยอดในเชงิ พาณชิ ย์ได้
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 4 ยกระดบั การพัฒนารปู แบบการบริการสาธารณสุขดา้ นการแพทย์ทจ่ี ำเป็นและ
เหมาะสม

คำอธบิ ายแนวทางการประเมนิ

ระดบั เกณฑก์ ารให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการประเมินผล
คะแนน

1 ผลงานวชิ าการของหนว่ ยงานนำไปใชป้ ระโยชน์ - มีรายงานการนำผลงานวิชาการของ

ในหน่วยงานได้อย่างเป็นรูปธรรม หน่วยงานไปใช้ประโยชนใ์ นระดบั หน่วยงาน

2 ผลงานวชิ าการของหน่วยงานนำเสนอ ผ้บู รหิ าร - บทสรปุ ผบู้ ริหารของโครงการวิจัยทีน่ ำเสนอ
ให้เห็นแนวทางในการนำไปพัฒนาและ
ข้อเสนอแนะ/แนวทางการนำไปประยกุ ต์ใช้ใน

ประยุกตใ์ ชใ้ นเชงิ วิชาการ เชงิ นโยบาย หรอื เชงิ เชิงวชิ าการ/ เชงิ นโยบาย / เชงิ สาธารณะ /
เชิงพาณชิ ย์
สาธารณะ หรอื เชงิ พาณชิ ย์

3 ผลงานวิชาการของหน่วยงาน สามารถนำไป - รายงานการนำผลงานวิชาการของหน่วยงาน
พัฒนาและประยกุ ต์ใช้ในเชงิ วชิ าการ เชิง
นำไปพฒั นาและประยุกต์ใช้ในเชงิ วชิ าการ/

นโยบาย หรอื เชิงสาธารณะ หรอื เชิงพาณชิ ย์ เชงิ นโยบาย/ เชิงสาธารณะ / เชงิ พาณชิ ย์
(อยา่ งนอ้ ย 1 โครงการ)
(อยา่ งน้อย 1 โครงการ)

4 ผลงานวชิ าการของหนว่ ยงาน สามารถนำไป - รายงานการนำผลงานวชิ าการของหนว่ ยงาน
พัฒนาและประยกุ ตใ์ ช้ในเชงิ วชิ าการ เชงิ
นำไปพฒั นาและประยกุ ตใ์ ชใ้ นเชงิ วิชาการ
นโยบาย หรอื เชิงสาธารณะ หรอื เชิงพาณิชย์ เชงิ นโยบาย /เชิงสาธารณะ /เชงิ พาณชิ ย์
(อย่างน้อย 2 โครงการ) โดยตอ้ งเป็นโครงการ (อยา่ งน้อย 2 โครงการ) โดยตอ้ งเปน็ โครงการ
ประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์ 1 โครงการ ประเมนิ เทคโนโลยที างการแพทย์ 1 โครงการ

5 ผลงานวิชาการของหน่วยงาน สามารถนำไป -รายงานการนำเสนอผลงานวชิ าการทไี่ ป
พัฒนาและประยกุ ต์ใช้ในเชิงวิชาการ เชิง
ประกาศใชป้ ระโยชน์ในเชงิ วิชาการ เชิง
นโยบาย หรือเชิงสาธารณะ หรอื เชงิ พาณิชย์ นโยบาย/เชงิ สาธารณะ /เชิงพาณิชย์ (อยา่ ง
(อย่างน้อย 3 โครงการ)โดยต้องเป็นโครงการ น้อย 3 โครงการ)โดยตอ้ งเปน็ โครงการ
ประเมนิ เทคโนโลยีทางการแพทย์ 1 โครงการ ประเมนิ เทคโนโลยที างการแพทย์ 1 โครงการ
และโครงการพฒั นารปู แบบการใหบ้ ริการ และโครงการพัฒนารปู แบบการใหบ้ ริการ
(Model development) 1 โครงการ
(Model development) 1 โครงการ

15

คูม่ ือการประเมินผลการปฏบิ ตั ริ าชการตามคำรบั รองการปฏบิ ตั ริ าชการของหนว่ ยงานในสังกดั กรมการแพทย์
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

องค์ประกอบที่ 4 ขอ้ เสนอโครงการวจิ ยั ที่เสนอของบประมาณผา่ นสำนกั งานคณะกรรมการส่งเสริม

วทิ ยาศาสตร์ วิจัยและนวตั กรรม (สกสว.) (นำ้ หนัก : รอ้ ยละ 10)

ระดบั คะแนน เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน : องคป์ ระกอบที่ 4

1 มีโครงการวิจัยของบประมาณสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวทิ ยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม

(สกสว.) อยา่ งนอ้ ย 1 โครงการ (ปี 2563 นับโครงการตอ่ เนือ่ งได้)

2 มีโครงการวิจัยของบประมาณสำนกั งานคณะกรรมการส่งเสรมิ วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม

(สกสว.) อยา่ งนอ้ ย 1 โครงการ (ปี 2564 นับโครงการตอ่ เน่อื งได)้

3 มีโครงการวิจัยของบประมาณสำนกั งานคณะกรรมการส่งเสรมิ วทิ ยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม

(สกสว.) อยา่ งนอ้ ย 1 โครงการ (ปี 2565 นับโครงการตอ่ เนื่องได้)

4 โครงการวจิ ัยที่ผ่านการพจิ ารณาจากสำนกั งานคณะกรรมการสง่ เสริมวิทยาศาสตรว์ จิ ยั และนวัตกรรม

(สกสว.) ปี 2564และ/หรือได้รับงบประมาณสนบั สนนุ จากกรมการแพทยห์ รือจากแหล่งทุนอ่ืน

5 โครงการวิจัยที่ผ่านการพิจารณาจากสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและ

นวตั กรรม (สกสว.)ปี 2564 และไดร้ ับงบประมาณสนับสนุน สามารถดำเนินงานได้ตามแผนงาน

และมกี ารรายงานผลการดำเนนิ การตามกำหนด

คำอธบิ ายแนวทางการประเมนิ

ระดบั คะแนน เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน เอกสาร/หลกั ฐานการประเมนิ ผล

1 มีโครงการวิจัยของบประมาณสำนักงาน - สำเนาหนังสือเสนอของบประมาณปี 2563

คณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและ ของโครงการวิจัยที่เสนอผ่านสำนักงาน

นวัตกรรม (สกสว.) อย่างน้อย 1 โครงการ (ปี คณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและ

2563 นับโครงการต่อเนื่องได้) นวตั กรรม (สกสว.) อยา่ งน้อย 1 โครงการ (นับ

โครงการตอ่ เน่ืองได้)

2 มีโครงการวิจัยของบประมาณสำนักงาน - สำเนาหนังสือเสนอของบประมาณปี 2564

คณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและ ของโครงการวิจัยที่เสนอผ่านสำนักงาน

นวัตกรรม (สกสว.) อย่างน้อย 1 โครงการ (ปี คณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและ

2564 นับโครงการต่อเนื่องได้) นวัตกรรม (สกสว.) อย่างน้อย 1 โครงการ (นับ

โครงการต่อเน่ืองได้)

3 มีโครงการวิจัยของบประมาณสำนักงาน - สำเนาหนังสือเสนอของบประมาณปี 2565

คณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและ ของโครงการวิจัยที่เสนอผ่านสำนักงาน

นวัตกรรม (สกสว.) อย่างน้อย 1 โครงการ (ปี คณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและ

2565 นบั โครงการต่อเน่ืองได้) นวตั กรรม (สกสว.) อย่างน้อย 1 โครงการ (นับ

โครงการต่อเน่ืองได้)

4 โครงการวิจัยท่ีผ่านการพิจารณาจากสำนักงาน - สำเนาหนังสือแจ้งโครงการวิจัยที่เสนอปี

คณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและ 2564 ได้รับการพิจารณาจากสำนักงาน

นวตั กรรม (สกสว.) ปี 2564 คณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและ

นวัตกรรม (สกสว.) เพ่ือจดั สรรงบประมาณ

5 โครงการวิจัยที่ผ่านการพิจารณาจากสำนักงาน - สำเนาหนังสือจัดสรรงบประมาณกรมการ

คณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและ แพทย์ปี 2564 สำหรับ โครงการวิจัยที่ผ่าน

นวัตกรรม (สกสว.) ปี 2564 และได้รับ การพิจารณาจากสำนักงานคณะกรรมการ

งบประมาณสนับสนุนจากกรมการแพทย์ หรือ ส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม

จากแหลง่ ทุนอ่ืน (สกสว.) หรอื ได้รับจากแหล่งทนุ อ่ืน

16

คมู่ ือการประเมินผลการปฏิบัตริ าชการตามคำรบั รองการปฏิบัติราชการของหนว่ ยงานในสงั กัดกรมการแพทย์
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

องคป์ ระกอบที่ 5 การเผยแพร่ผลงานวิชาการสสู่ าธารณะ (น้ำหนัก : ร้อยละ 15)

ระดบั คะแนน เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน : องคป์ ระกอบท่ี 5
1
2 ผลงานวชิ าการของหนว่ ยงานเผยแพรบ่ น เว็บไซต์ ของหน่วยงาน

3 ผลงานวชิ าการของหนว่ ยงาน เผยแพรบ่ น เว็บไซต์ ของหนว่ ยงาน และหนว่ ยงานอนื่
(ทง้ั ในหรือนอกกรมการแพทย์)
4 ผลงานวิชาการของหน่วยงาน นำเสนอในทีป่ ระชุมวชิ าการระดับประเทศ
อย่างนอ้ ย 1 โครงการ (ปีปจั จบุ ัน)
5 ผลงานวชิ าการของหน่วยงาน ตีพมิ พว์ ารสารทางการแพทย์ในประเทศ
อย่างนอ้ ย 1 โครงการ (ปปี ัจจบุ ัน)
ผลงานวิชาการของหนว่ ยงานนำเสนอทปี่ ระชมุ วิชาการต่างประเทศ และ/หรือ ตีพมิ พ์
ในวารสารทางการแพทย์ต่างประเทศ หรือ วารสารทางการแพทย์ไทยที่เป็นที่ยอมรับ
(TCI Gr1/มี Impact factor) อย่างนอ้ ย 1 โครงการ (3 ปีทผี่ ่านมา)

คำอธบิ าย:
วารสารทางการแพทย์ไทยที่เป็นที่ยอมรับหมายถึง วารสารที่มีผลกระทบ (Impact factor)หรือ

วารสารทีไ่ ด้รบั รองคณุ ภาพจากศนู ยด์ ัชนกี ารอา้ งองิ วารสารไทย (Thai-Journal Citation Index Center, TCI)
สอดคลอ้ งกับ

1. วสิ ยั ทศั น์และพันธกจิ ของกรมการแพทย์
2. เปา้ ประสงคท์ ี่ 1: การแพทยข์ องประเทศท่เี ปน็ เลศิ และสมคณุ คา่ (Value Based Medical Service)
3. ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 1 สร้างความเขม้ แข็งเครือขา่ ยบริการและวชิ าการทางการแพทย์และสาธารณสขุ ของประเทศ
4. แผนยุทธศาสตร์การวจิ ัยและประเมนิ เทคโนโลยีทางการแพทย์ กรมการแพทย์ พ.ศ. 2560 – 2564

ยุทธศาสตร์ท่ี 5 สง่ เสรมิ การเผยแพรผ่ ลงานวิชาการทางการแพทย์สกู่ ลมุ่ ผู้ใชใ้ นระดบั ตา่ ง ๆ
อย่างมีประสิทธิภาพ

คำอธิบายแนวทางการประเมิน

ระดับคะแนน เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนการเผยแพร่ผลงานวิจัย เอกสาร/หลกั ฐานการประเมินผล

1 ผลงานวชิ าการของหน่วยงานเผยแพรบ่ น - Print screen หน้าเว็บไซต์ของหนว่ ยงานที่
เว็บไซต์ ของหน่วยงาน เผยแพรผ่ ลงานวชิ าการของหนว่ ยงาน

2 ผลงานวิชาการของหน่วยงาน เผยแพร่บน - Print screen หน้าเว็บไซต์ของหน่วยงาน และ
เว็บไซต์ ของหน่วยงาน และหน่วยงานอื่น (ทั้งใน หน่วยงานอื่น (ทั้งในหรือนอกกรมการแพทย์) ท่ี

หรอื นอกกรมการแพทย์) เผยแพรผ่ ลงานวิชาการของหนว่ ยงาน

3 ผลงานวิชาการของหน่วยงาน นำเสนอในที่ - เอกสารการเผยแพร่ผลงานวิชาการของ
ประชุมวิชาการระดับประเทศ อย่างน้อย 1 หน่วยงาน นำเสนอในที่ประชุมวิชาการ

โครงการ (ปีปจั จุบนั ) ระดับประเทศ อย่างนอ้ ย 1 โครงการ (ปีปจั จุบนั )

4 ผลงานวิชาการของหน่วยงาน ตีพิมพ์วารสาร -เอกสารการเผยแพร่ผลงานวิชาการของ
ทางการแพทย์ในประเทศ อย่างน้อย 1 โครงการ หน่วยงาน ตีพิมพ์วารสารทางการแพทย์ใน

(ปีปัจจุบนั ) ประเทศ อยา่ งน้อย 1 โครงการ (ปปี จั จุบนั )

5 ผลงานวิชาการของหน่วยงานนำเสนอที่ประชุม -เอกสารการเผยแพร่ผลงานวิชาการของ
วชิ าการตา่ งประเทศ และ/หรอื ตีพิมพ์ หน่วยงานนำเสนอทป่ี ระชมุ วิชาการตา่ งประเทศ

ในวารสารทางการแพทยต์ า่ งประเทศ และ/หรือ ตีพิมพ์ในวารสารทางการแพทย์

หรือ วารสารทางการแพทย์ไทยที่เป็นที่ยอมรับ ต่างประเทศ หรือ วารสารทางการแพทย์ไทยที่

(TCI Gr1/มี Impact factor) อย่างนอ้ ย เป็นที่ยอมรับ (TCI Gr1/มี Impact factor)

1 โครงการ (3 ปีท่ีผ่านมา) อย่างนอ้ ย 1 โครงการ (3 ปีท่ผี ่านมา)

17

คมู่ อื การประเมินผลการปฏบิ ัตริ าชการตามคำรับรองการปฏิบตั ริ าชการของหน่วยงานในสังกดั กรมการแพทย์
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

การคำนวณ
องค์ประกอบท่ี 1 การกำหนดทิศทางงานวิชาการสู่ความสำเรจ็ (นำ้ หนัก : ร้อยละ 25)

หน่วยงาน ก มีคณะกรรมการบริหาร/คณะกรรมการวิจัยของหน่วยงาน มีแผนยุทธศาสตร์/แผนงาน
วชิ าการของหนว่ ยงาน ดำเนนิ การตามแผนท่ีกำหนดไว้ โดยมเี ป้าหมายเป็นผลผลติ งานวิชาการ

ดงั นน้ั องคป์ ระกอบที่ 1 ได้ระดับคะแนน เทา่ กับ 3
เทียบระดบั ความสำเร็จ = 3*0.25 = 0.75 คะแนน

องคป์ ระกอบที่ 2 ระบบการบริหารจัดการงานวิชาการของหน่วยงานในสังกัดกรมการแพทย์ (นำ้ หนัก : ร้อยละ 25)
หน่วยงาน ก มีระบบการจัดการคุณภาพงานวิชาการ มีกลุ่มงาน/ฝ่ายที่ดูแลงานวิชาการ จัดทำเกณฑ์

การประเมนิ ภาระงาน และมีระบบการนเิ ทศ กำกบั ติดตาม
ดังน้นั องคป์ ระกอบที่ 2 ได้ระดบั คะแนน เทา่ กับ 4
เทยี บระดบั ความสำเรจ็ = 4*0.25 = 1.00 คะแนน

องคป์ ระกอบท่ี 3 การจัดการผลงานวชิ าการเพื่อนำไปใชใ้ ห้เกดิ ประโยชน์ (น้ำหนกั : รอ้ ยละ 25)
หน่วยงาน ก มีผลงานวิชาการที่นำไปใช้ประโยชน์ และนำเสนอผู้บริหาร และผลงานวิชาการนำไป

พัฒนาและประยกุ ตใ์ ชใ้ นเชิงวชิ าการ เชิงนโยบาย หรอื เชงิ สาธารณะ หรือเชงิ พาณิชย์ อยา่ งนอ้ ย 1 โครงการ
ดงั นั้นองค์ประกอบท่ี 3 ได้ระดบั คะแนน เท่ากับ 3
เทียบระดับความสำเร็จ = 3*0.25 = 0.75 คะแนน

องค์ประกอบที่ 4 ขอ้ เสนอโครงการวจิ ัยทีเ่ สนอของบประมาณผ่านสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์
วจิ ัยและนวตั กรรม (สกสว.)(น้ำหนัก : ร้อยละ 10)

หนว่ ยงาน ก มีโครงการวจิ ัยของบประมาณ วช./สกสว. ของปี 2562 ปี 2563 และปี 2564 อย่างน้อย
ปลี ะ 1 โครงการ และโครงการวจิ ัยทีผ่ ่านการพจิ ารณาจาก วช./สกสว. ไดร้ ับงบประมาณสนับสนุน

ดงั นน้ั องค์ประกอบท่ี 4 ได้ระดบั คะแนน เท่ากับ 4
เทียบระดับความสำเร็จ = 4*0.10 = 0.40 คะแนน

องคป์ ระกอบที่ 5 การเผยแพรผ่ ลงานวชิ าการสสู่ าธารณะ (นำ้ หนกั : ร้อยละ 15)
หนว่ ยงาน ก มผี ลงานวิชาการเผยแพรบ่ นเว็บไซต์ของหนว่ ยงานและหน่วยงานอื่น มีผลงานนำเสนอใน

ที่ประชุมวิชาการระดับประเทศ อย่างน้อย 1 โครงการ และได้ตีพิมพ์วารสารทางการแพทย์ในประเทศ อย่าง
น้อย 1 โครงการ

ดังน้นั องคป์ ระกอบที่ 5 ไดร้ ะดับคะแนน เทา่ กับ 4
เทยี บระดบั ความสำเรจ็ = 4*0.15 = 0.60 คะแนน

18

คู่มอื การประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ริ าชการตามคำรบั รองการปฏิบัตริ าชการของหนว่ ยงานในสงั กัดกรมการแพทย์
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

สรปุ ผลรวมของคะแนนของหนว่ ยงาน ก.

ตวั ชี้วัดท่ี 1.1 ทิศทางงานวิชาการ (Research /TA / CPG / MD) เพอื่ การนำไปใช้ประโยชน์

(น้ำหนัก : ร้อยละ 20) คำนวณจาก

คะแนนองค์ประกอบที่ 1 + คะแนนองค์ประกอบท่ี 2 + คะแนนองค์ประกอบท่ี 3 + คะแนน
องค์ประกอบที่ 4 + คะแนนองค์ประกอบท่ี 5เป็นผลลัพธ์เท่าใด แล้วนำไปเทียบกับตารางผลรวมของคะแนน
ทุกองค์ประกอบเทียบกับระดับความสำเรจ็

กรณตี วั อย่าง
ผลรวมคะแนนท้ัง 5 องคป์ ระกอบ = 0.75 + 1.00 + 0.75 + 0.40 + 0.60

= 3.50คะแนน
นำผลรวมของคะแนนที่ได้เทียบตารางผลรวมของคะแนนทุกองค์ประกอบเทียบกับระดับความสำเร็จ
(ดงั ตาราง) เป็นระดับความสำเร็จ
สรุปตัวชี้วัดที่ 1.1 ทิศทางงานวิชาการ (Research /TA / CPG / MD) เพื่อการนำไปใช้ประโยชน์ของ
หน่วยงาน ก ผลรวมของคะแนนท้ัง 5 องคป์ ระกอบไดเ้ ท่ากับ 3.50 คะแนน เทียบความสำเรจ็ ไดร้ ะดับท่ี 4

ตารางผลรวมของคะแนนทุกองค์ประกอบเทียบกับระดบั ความสำเรจ็

ระดบั ความสำเร็จ ผลรวมของคะแนนทกุ องคป์ ระกอบ (คะแนน)
1 น้อยกว่าหรอื เท่ากบั 1.00
2 1.01 – 2.00
3 2.01 – 3.00
4 3.01 – 4.00
5 4.01 – 5.00

หมายเหตุ :

• การปัดทศนิยมตามหลักเกณฑ์ทางคณติ ศาสตร์

• อาจมีการปรับน้ำหนักของแต่ละองค์ประกอบในปีต่อไปเพื่อความเหมาะสมในการพัฒนาความก้าวหน้า
และผลกระทบงานวิจยั ของหนว่ ยงานในสังกัดกรมการแพทย์

ที่ปรกึ ษาตวั ชว้ี ัด : นายแพทย์มานสั โพธาภรณ์ รองอธบิ ดีกรมการแพทย์ เบอรต์ ดิ ต่อ: 0 2590 6013

นายแพทย์อรรถสิทธิ์ ศรสี ุบัติ ทป่ี รกึ ษากรมการแพทย์ เบอรต์ ิดตอ่ : 0 2590 6270

หนว่ ยงานเจ้าภาพในการติดตามและประเมนิ ผล : สถาบนั วิจัยและประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์

ผู้กำกับตวั ช้วี ัด : ผู้อำนวยการสถาบันวิจยั และประเมนิ เทคโนโลยีทางการแพทย์ เบอร์ตดิ ต่อ : 0 2590 6270

ผู้รบั ผิดชอบตัวชว้ี ดั : นางอรุณี ไทยะกุล เบอร์ติดต่อ : 0 2590 6349
นางสาววรนตุ ร อรุณรัตนโชติ เบอรต์ ดิ ต่อ : 0 2590 6384

19

คมู่ อื การประเมินผลการปฏิบัตริ าชการตามคำรับรองการปฏบิ ัตริ าชการของหนว่ ยงานในสงั กดั กรมการแพทย์
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ตัวชวี้ ัดท่ี 1.2 ระดับความสำเรจ็ ในการพฒั นาศูนย์ความเปน็ เลิศทางการแพทย์
นำ้ หนกั : ร้อยละ 20
คำอธิบาย :

การพัฒนาศูนย์ความเป็นเลิศทางการแพทย์ หมายถึง โรงพยาบาล สถาบันทางการแพทย์กรมการแพทย์
ที่ดำเนินการตามนโยบายการพัฒนาความเป็นเลิศของหน่วยงานสู่ความเป็นเลิศทางการแพทย์ (Center of
Excellence) ให้ครอบคลมุ 7 องคป์ ระกอบ คือ

1. การบรกิ ารระดับตตยิ ภมู ิและสงู กวา่ (Super Tertiary Care)
2. การรับสง่ ตอ่ (Referral)
3. การวิจยั และประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Research and Technology Assessment)
4. การพฒั นาบคุ ลากร (Training)
5. การเปน็ ศนู ย์อ้างอิงวชิ าการแพทย์ (Reference)
6. การเป็นองค์กรระดับชาติและนำเสนอข้อเสนอเชิงนโยบาย (National Body and Policy
Advocacy)
7. การมีเครอื ขา่ ยวิชาการ (Networking)
การพฒั นาความเป็นเลิศทางการแพทย์ เนน้ พฒั นาทัง้ 15 ดา้ นคอื

• ดา้ นอาชีวเวชศาสตรแ์ ละเวชศาสตรส์ ง่ิ แวดล้อม

• ด้านจกั ษุวทิ ยา

• ดา้ นโสต ศอ นาสกิ

• ดา้ นโรคเกย่ี วกับข้อและกระดูก

• ด้านการจดั บริการเพ่ือพระภกิ ษแุ ละสามเณร

• ด้านการฟื้นฟสู มรรถภาพทางการแพทย์

• ดา้ นทนั ตกรรม

• ดา้ นระบบประสาท

• ดา้ นพยาธิวทิ ยา

• ด้านโรคมะเร็ง

• ด้านการบำบัดรกั ษาและฟื้นฟสู มรรถภาพในกลุม่ ผตู้ ดิ ยาและสารเสพติด

• ด้านโรคทรวงอก

• ด้านโรคผิวหนัง

• ด้านเวชศาสตรผ์ สู้ งู อายุ

• ด้านโรคเด็ก
เพื่อผลักดันให้เป็นองค์กรทางการแพทย์ระดับชาติ(National Institutes) ต่อไปซึ่งการพัฒนาศูนย์
ความเป็นเลิศทางการแพทย์จะต้องดำเนินการพัฒนา และประเมินทุกองค์ประกอบอย่างต่อเนื่อง เพื่อเป็น
ข้อมูลสำหรับการพัฒนา และยกระดับศูนย์ความเป็นเลิศทางการแพทยใ์ ห้มีความสมบรู ณ์ทัดเทียมระดับสากล
ดงั นั้นระดบั ความสำเร็จในการพัฒนาศูนย์ความเป็นเลศิ ทางการแพทย์จะเปน็ ความทา้ ทายของหนว่ ยงานในการ
พัฒนาใหด้ ำเนินการได้ครบถว้ นสมบูรณค์ รอบคลมุ 7 องคป์ ระกอบภายใน 3 ปี
สำหรับหน่วยงานที่มีศูนย์ความเป็นเลิศทางการแพทย์นอกเหนือจากบทบาทหลักตามกฎกระทรวงฯ
ทง้ั 15 ดา้ นแลว้ หากต้องการพัฒนาความเปน็ เลิศทางการแพทย์ด้านอ่ืน ๆ สามารถทำข้อตกลงโดยกำหนดศูนย์
ความเป็นเลิศทางการแพทย์ที่ต้องการดำเนินการเพิ่มเติมได้ เพื่อประเมิน และวัดศักยภาพ และเป็นโอกาสใน
การพฒั นาความเปน็ เลิศทางการแพทย์ในด้านนั้น ๆ ตอ่ ไป

20

ค่มู ือการประเมินผลการปฏบิ ัตริ าชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของหน่วยงานในสงั กัดกรมการแพทย์
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ตารางผลรวมของคะแนนทกุ องคป์ ระกอบเทยี บกับระดบั ความสำเรจ็

ระดบั ความสำเร็จ ผลรวมของคะแนนทกุ องค์ประกอบ (คะแนน)
12 เดอื น

11

2 1.01 – 2.00

3 2.01 – 3.00

4 3.01 – 4.00

5 4.01 – 5.00

เกณฑ์การให้คะแนนตัวชี้วัดที่ 1.2 ระดับความสำเร็จในการพัฒนาศูนย์ความเป็นเลิศทางการแพทย์
การวดั ผลการดำเนนิ งานจากการพัฒนาศูนย์ความเปน็ เลศิ ทางการแพทย์ แบ่งตาม 7 องค์ประกอบ คือ

1. การบรกิ ารระดับตติยภูมแิ ละสูงกวา่ (Super Tertiary Care) นำ้ หนกั รอ้ ยละ 10

2. การรบั สง่ ตอ่ (Referral) น้ำหนักรอ้ ยละ 10
น้ำหนกั รอ้ ยละ 20
3. การวิจัยและประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์ นำ้ หนกั รอ้ ยละ 10
(Research and Technology Assessment)

4. การพฒั นาบคุ ลากร(Training)

5. การเป็นศนู ยอ์ ้างอิงวิชาการแพทย์(Reference) น้ำหนักร้อยละ 20
น้ำหนกั ร้อยละ 20
6. การเปน็ องค์กรระดับชาตแิ ละนำเสนอข้อเสนอเชิงนโยบาย นำ้ หนกั รอ้ ยละ 10
(National Body and Policy Advocacy)

7. การมีเครือขา่ ยวิชาการ(Networking)

21

ค่มู ือการประเมินผลการปฏิบตั ริ าชการตามคำรบั รองการปฏบิ ตั ริ าชการของหนว่ ยงานในสังกดั กรมการแพทย์
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

องค์ประกอบท่ี 1 การบริการระดับตติยภมู แิ ละสงู กวา่ (Super Tertiary Care)
การบริการระดับตติยภูมิและสูงกว่า (Super Tertiary Care) ต้องสามารถให้การรักษาโรคที่มีอาการ

ยงุ่ ยากซับซ้อนในระดับตติยภูมิหรอื สูงกวา่ เปน็ การรกั ษาตามมาตรฐานแนวทางที่ถูกต้อง นำเทคโนโลยีทางการ
แพทย์ที่ทันสมัยมาพิจารณาใช้ในการดูแลรักษาอย่างเหมาะสม เป็นผู้นำด้านเทคโนโลยีทางการแพทย์ที่สม
คุณค่า และพัฒนาขีดความสามารถของบุคลากรให้มีความชำนาญ เชี่ยวชาญอย่างต่อเนื่องในการใช้เทคโนโลยี
วัดผลการให้บริการทางการแพทย์ผ่านตัวชี้วัดคุณภาพทั้งเชิง Process, Outcome และ Patient Safety ของ
ศูนยค์ วามเป็นเลิศทางการแพทย์

เกณฑ์การใหค้ ะแนนองค์ประกอบท่ี 1 การบริการระดับตติยภูมิและสูงกว่า : น้ำหนกั ร้อยละ 10

ระดับคะแนน เกณฑก์ ารให้คะแนน

1 ผ่านเกณฑ์ตวั ช้ีวดั คณุ ภาพเชิง Process, Outcome และ Patient Safety ของ COE 3 ตวั ชี้วัด

2 ผา่ นเกณฑต์ ัวชีว้ ดั คุณภาพเชงิ Process, Outcome และ Patient Safety ของ COE 4 ตวั ช้ีวัด

3 ผา่ นเกณฑต์ ัวชี้วดั คุณภาพเชิง Process, Outcome และ Patient Safety ของ COE 5 ตัวชี้วดั

4 ผ่านเกณฑต์ ัวชว้ี ดั คณุ ภาพเชงิ Process, Outcome และ Patient Safety ของ COE 6 ตัวชวี้ ัด

5 ผ่านเกณฑ์ตวั ชว้ี ัดคุณภาพเชงิ Process, Outcome และ Patient Safety ของ COE 7 ตัวช้วี ัด
(โดยเพ่มิ ตัวช้ีวดั ด้าน Outcome)

หมายเหตุ :

1. คัดเลือกตวั ช้ีวดั คุณภาพเชิง Process, Outcome และ Patient Safety จำนวน 6 ตวั ช้ีวัด ประกอบด้วย

1.1 ตัวชีว้ ัดเชงิ Process จำนวน 2 ตวั ชีว้ ัด

1.2 ตัวช้ีวดั เชิง Outcomes จำนวน 2 ตัวช้ีวดั หรอื มากกวา่

1.3 ตวั ชี้วดั เชิง Patient Safety จำนวน 2 ตัวช้ีวดั

ตามแบบฟอร์ม (แบบฟอร์มตัวชี้วัดคุณภาพเพื่อการเปรียบเทียบผลการดำเนินงานกับค่ามาตรฐาน ปีงบประมาณ
2564 ดาวน์โหลดได้ที่ https://qrgo.page.link/cGTGa หรือ QR code ด้านล่าง) ส่งกองวิชาการแพทย์ท่ี
[email protected] ภายในวันที่ 31 มกราคม 2564 ซึ่งการประเมินรอบ 12 เดือน ต้องเป็นตัวชี้วัด
ตามแบบฟอรม์ น้ีเทา่ นั้น

2. เปรียบเทียบผลการดำเนนิ งานตามตัวชี้วัดกบั คา่ มาตรฐาน

3. ค่ามาตรฐานต้องมี Evidence-based support ที่เป็นที่ยอมรับในระดับประเทศหรือในระดับสากล
ตอ้ งระบุค่ามาตรฐาน และผลลัพธ์การดำเนินการใหช้ ัดเจนดว้ ย

4. สถาบนั ส่วนกลางและโรงพยาบาลในภมู ิภาคท่ีมีความเปน็ เลิศทางการแพทย์ด้านเดียวกัน ควรใชต้ วั ชว้ี ดั เดยี วกนั

5. โปรดระบุขอ้ มูลอ้างองิ ใหช้ ัดเจน

ดาวโหลดแบบฟอรม์ ตวั ชวี้ ดั คุณภาพ
22

คูม่ อื การประเมนิ ผลการปฏิบัตริ าชการตามคำรบั รองการปฏิบตั ิราชการของหนว่ ยงานในสังกดั กรมการแพทย์
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

องคป์ ระกอบที่ 2 การรบั ส่งตอ่ (Referral)
การรับส่งต่อ(Referral) สามารถรองรับการส่งต่อในโรคหรือภาวะที่โรงพยาบาลอื่น ๆ ไม่สามารถให้

การรักษาได้ โดยมีการวิเคราะหส์ าเหตุของการรับส่งต่อ มีการพัฒนาศักยภาพโรงพยาบาลให้สามารถรับส่งตอ่
(refer in) ผู้ป่วยที่ต้องการการดูแลรักษาเฉพาะทางที่มีความซับซ้อนมากยิ่งขึ้น สู่การส่งกลับ(refer back)
ผู้ป่วยที่มีอาการทุเลาลงให้กลบั ไปรักษาในโรงพยาบาลเดิมที่ส่งมา ควรมีการจัดการข้อมูลสารสนเทศเพื่อใช้ใน
การวางแผน การจดั การระบบสง่ ต่อกับโรงพยาบาลในเครือข่าย

เกณฑ์การใหค้ ะแนนองค์ประกอบที่ 2 การรับส่งต่อ : น้ำหนักรอ้ ยละ 10

ระดบั คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน

1 รับ Refer ผู้ป่วยยุ่งยากซับซ้อนที่ไม่สามารถใหก้ ารรักษา หรือวินิจฉัยในโรคทีเ่ ป็นภารกจิ หลัก
ไมเ่ กนิ ร้อยละ 65 ของจำนวนผ้ปู ่วยที่รับส่งตอ่ มา

2 รับ Refer ผู้ป่วยยุ่งยากซับซ้อนท่ีไม่สามารถใหก้ ารรกั ษา หรือวินิจฉัยในโรคทีเ่ ป็นภารกจิ หลกั
ตัง้ แต่ร้อยละ 65 แต่ไมเ่ กินร้อยละ 75 ของจำนวนผ้ปู ว่ ยท่รี ับส่งตอ่ มา

3 รับ Refer ผู้ป่วยยุ่งยากซับซ้อนท่ีไม่สามารถให้การรักษา หรือวินิจฉัยในโรคที่เป็นภารกจิ หลกั
ตง้ั แตร่ อ้ ยละ 75 แต่ไม่เกนิ รอ้ ยละ 85 ของจำนวนผ้ปู ่วยที่รบั สง่ ต่อมา

4 รับ Refer ผู้ป่วยยุ่งยากซับซ้อนที่ไม่สามารถให้การรักษา หรือวินิจฉัยในโรคทีเ่ ป็นภารกจิ หลกั
ตงั้ แตร่ อ้ ยละ 85 แต่ไมเ่ กินรอ้ ยละ 95 ของจำนวนผ้ปู ว่ ยท่ีรบั สง่ ตอ่ มา

5 รบั Refer ผู้ปว่ ยยุ่งยากซับซ้อนท่ีไมส่ ามารถให้การรักษา หรือวนิ จิ ฉัยในโรคทเ่ี ป็นภารกจิ หลัก
ร้อยละ 95 ข้ึนไปของจำนวนผปู้ ่วยท่ีรบั สง่ ตอ่ มา

หมายเหตุ : โปรดระบขุ ้อมลู อา้ งอิงใหช้ ดั เจน
- สรุปผลจำนวนผู้ป่วยยุ่งยากซบั ซ้อนจากหน่วยงานอื่นที่ไมส่ ามารถให้การรักษา หรือวินิจฉัยในโรค

ท่ีเปน็ ภารกจิ หลัก เข้ามารับการรกั ษาหรือวนิ จิ ฉัย เทยี บกบั จำนวนผ้ปู ว่ ยที่รบั ส่งตอ่ มา

23

ค่มู ือการประเมนิ ผลการปฏิบตั ริ าชการตามคำรบั รองการปฏิบตั ริ าชการของหน่วยงานในสงั กัดกรมการแพทย์
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

องค์ประกอบที่ 3 การวิจยั และประเมนิ เทคโนโลยที างการแพทย์ (Research and Technology Assessment)
การวิจัยและประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์(Research and Technology Assessment) เป็นสิ่ง

สำคญั ท่ีทำให้ทราบสาเหตุ ปัญหาและแนวทางแก้ไขปัญหาอยา่ งถูกต้องเหมาะสม สามารถนำผลการวิจัยพัฒนา
มากำหนดรูปแบบในการจดั บรกิ ารดแู ลรักษาได้อย่างเหมาะสม สามารถกำหนดเป็นข้อเสนอแนะเชงิ นโยบายใน
การแก้ไขปัญหาสุขภาพ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการดูแลรักษา การลดค่าใช้จ่ายที่สำคัญ ตลอดจนการจัด
บูรณาการโครงการวิจัยชุดให้มีผลลัพธ์ในการแก้ไขปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด ดังนั้นงานวิจัยที่มี
เป้าหมายและแนวทางที่ชัดเจนสามารถตอบสนองต่อความต้องการสู่การแก้ปัญหาด้านการแพทย์ และเป็น
ประโยชน์ต่อการพฒั นาตอ่ ไป

เกณฑก์ ารให้คะแนนองคป์ ระกอบท่ี 3 การวจิ ัยและประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์ : นำ้ หนกั ร้อยละ 20

ระดบั คะแนน เกณฑก์ ารให้คะแนน

มีการวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาสุขภาพ (Burden of disease) / Service Mapping /

1 นโยบายดา้ นสขุ ภาพของประเทศ เพื่อนำมาจัดทำแผนงานวิจยั หรือประเมินเทคโนโลยที าง
การแพทย์ตามบริบทของศูนย์ความเป็นเลิศทางการแพทย์เฉพาะทาง เพื่อแก้ไขปัญหา

สาธารณสขุ ของประเทศ

2 จัดทำแผนงานวิจัย หรือประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์ที่สอดคล้องกับการวิเคราะห์
ในขอ้ 1

3 มกี ารจดั ทำโครงการตามแผนงานวิจัยหรอื ประเมินเทคโนโลยที างการแพทย์

4 ผลงานวจิ ยั หรือประเมินเทคโนโลยีทางการแพทยม์ ีการตีพิมพ์ในวารสารทางการแพทย์ไทย
ทเ่ี ปน็ ทยี่ อมรบั (TCI Gr1) หรือวารสารทางการแพทยต์ า่ งประเทศทีม่ ี Impact factor

5 ผลงานวิจัย หรือประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์สามารถนำไปจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบาย
หรือเปน็ ต้นแบบการพัฒนาระบบสุขภาพ ในเขตบริการสุขภาพ หรอื พ้นื ทีเ่ ปา้ หมาย

หมายเหตุ :

1. แผนงานวิจัย หรือประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์ หมายถงึ แผนงานวจิ ยั หรือประเมินเทคโนโลยี
ทางการแพทย์ที่ถูกกำหนดขึ้นจากการวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาสุขภาพ (Burden of disease) / Service
Mapping / นโยบายดา้ นสขุ ภาพของประเทศ ที่เกีย่ วข้องหรือเป็นเร่ืองที่อยู่ในศนู ย์ความเป็นเลศิ ทางการแพทย์
ทีห่ น่วยงานรับผดิ ชอบขา้ งต้นตามกฎกระทรวง นำมาวางแผนเพื่อดำเนนิ การทางวชิ าการ ในช่วงระยะเวลา 1 –
3 ปหี รอื มากกว่า

2. ผลงานวิจัย หรือประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์ หมายถึง งานวิจัยทางการแพทย์ (Medical
Research) งานประเมินเทคโนโลยที างการแพทย์ (Medical Technology Assessment) งานพัฒนาแนวทาง
เวชปฏิบัติ (Clinical Practice Guideline Development) และงานพัฒนารูปแบบงานบริการ (Model
Development) ใชผ้ ลงานย้อนหลังไม่เกิน 3 ปี

3. โปรดระบุข้อมลู อ้างองิ ใหช้ ัดเจน

24

คูม่ อื การประเมนิ ผลการปฏบิ ัตริ าชการตามคำรบั รองการปฏิบัติราชการของหน่วยงานในสงั กัดกรมการแพทย์
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

องค์ประกอบท่ี 4 การพัฒนาบุคลากร (Training)
การพัฒนาบุคลากร หมายถึง การเพิ่มพูนความรู้ ความสามารถ ทักษะ ทัศนคติ แรงจูงใจในการ

ปฏิบัติงาน เพื่อนำไปใช้ในการพัฒนาปรับปรุงการปฏิบัติงานให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากขึ้น เพื่อ
สร้างให้การปฏิบัตงิ านเปน็ มาตรฐาน รองรับการเปลี่ยนแปลงทเ่ี กิดขึ้นอย่างรวดเรว็ ในปัจจบุ นั

เกณฑ์การให้คะแนนองค์ประกอบท่ี 4 การพัฒนาบคุ ลากร : น้ำหนกั ร้อยละ 10

ระดบั คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน

1 หลกั สตู ร Training ผา่ นเกณฑ์มาตรฐาน

2 มีการประเมินผลหลักสตู ร Training ต่อเน่ืองทกุ ปี

3 มกี ารจัดหลักสตู ร Training ตอ่ เนือ่ งเป็นประจำอยา่ งนอ้ ย 3 ปตี ดิ ตอ่ กัน

4 มี International training program ที่เป็นความรว่ มมอื กบั ตา่ งประเทศ

5 มี International training program ทร่ี ับ International students หรอื ส่ง students ไป
ตา่ งประเทศ

หมายเหตุ :

1. หลักสูตร Training คือ หลักสูตรการฝึกอบรมทางการแพทย์ เช่น แพทย์ประจำบ้าน การพยาบาล

เฉพาะทาง สหวิชาชีพ ที่สถาบันฝึกอบรมของกรมการแพทย์ไดจ้ ดั ทำขึ้นเพื่อพัฒนาบุคลากรทางการแพทยใ์ หม้ ี

ความรู้ ความชำนาญ และมีทักษะเฉพาะทาง และหลกั สูตรนัน้ ต้องเกี่ยวข้องหรือเป็นหลักสูตรที่อยู่ในศูนย์ความ

เป็นเลศิ ทางการแพทย์ทหี่ น่วยงานรบั ผดิ ชอบข้างต้นตามกฎกระทรวง

2. เกณฑ์มาตรฐาน หมายถงึ ขอ้ กำหนด ขอ้ บังคับ เงื่อนไข ทเี่ ก่ยี วกบั หลักสตู รเพื่อรับรองคุณภาพการ

ฝึกอบรม โดยสภาวิชาชีพทางการแพทย์ ทางการพยาบาล สหวิชาชีพ เช่น แพทยสภา ราชวิทยาลัย สภาการ

พยาบาล สมาคมวิชาชีพ เป็นตน้

3. International training program คือ หลักสูตรการฝึกอบรมนานาชาติที่เป็นความร่วมมือกับ

ต่างประเทศ โดยในหลักสูตรมีการรับ student จากต่างประเทศ และหรือส่ง student ไปฝึกอบรมที่

ต่างประเทศ

4. โปรดระบุข้อมูลอ้างองิ ใหช้ ัดเจน

25

คมู่ อื การประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ริ าชการตามคำรบั รองการปฏิบัตริ าชการของหนว่ ยงานในสงั กดั กรมการแพทย์
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

องคป์ ระกอบท่ี 5 การเปน็ ศูนย์อา้ งองิ วชิ าการแพทย์ (Reference)
การเป็นศูนย์อ้างอิงวิชาการแพทย์ (Reference) เป็นแหล่งอ้างอิงข้อมูล ด้านสถานการณ์ ด้านวิชาการ

โดยการรวบรวมข้อมูลที่สำคัญที่เกี่ยวกับปัญหาที่พบ ความสูญเสียด้านชีวิตและทรัพย์สิน ทรัพยากร เครื่องมือ
บคุ ลากรทเ่ี ก่ียวข้อง เพื่อให้สามารถนำมาประมวลโดยใช้ข้อมูลเชิงประจักษ์ไปกำหนดเป็นนโยบาย และการบริหาร
จัดการที่เหมาะสม มีองค์ความรทู้ ี่สามารถนำไปปรับใชก้ ับหน่วยงานอื่น รวมถงึ บุคลากรเป็นที่ยอมรับอ้างอิง ได้รับ
เชญิ เปน็ คณะกรรมการในองค์กรวิชาชีพ มีผลงานวิชาการถูกนำไปใช้ประโยชน์

เกณฑก์ ารให้คะแนนองค์ประกอบที่ 5 การเป็นศนู ยอ์ ้างองิ วิชาการแพทย์ : น้ำหนักรอ้ ยละ 20

ระดบั คะแนน เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน

1 มกี ารอา้ งอิงขอ้ มูลของศูนย์ความเปน็ เลศิ ในระดบั หนว่ ยงาน

2 มีการอ้างอิงข้อมูลของศูนย์ความเปน็ เลศิ ในระดบั กรมการแพทย์

3 มีการอ้างองิ ขอ้ มูลของศูนย์ความเปน็ เลศิ ในระดบั กระทรวงสาธารณสขุ

4 มกี ารอา้ งองิ ขอ้ มลู ของศูนย์ความเป็นเลศิ ในระดบั ประเทศ

5 มีการอ้างอิงขอ้ มลู ของศูนย์ความเป็นเลิศในระดับตา่ งประเทศ

หมายเหตุ :
1. มกี ารสำรวจข้อมูลภาระโรค กล่มุ อาการทสี่ ำคัญ จะตอ้ งเปน็ โรคหรอื กล่มุ อาการที่เกีย่ วข้องกับศูนย์

ความเป็นเลศิ ทางการแพทย์ที่หน่วยงานรบั ผดิ ชอบข้างต้นตามกฎกระทรวง
2. สถาบันส่วนกลางและโรงพยาบาลในภูมิภาค สามารถร่วมดำเนินและใช้ข้อมูลเดยี วกนั และมี

รายงานการดำเนนิ การรว่ มกันอยา่ งชดั เจน
3. โปรดระบุข้อมลู อา้ งองิ ให้ชดั เจน

26

คูม่ ือการประเมินผลการปฏบิ ตั ริ าชการตามคำรับรองการปฏบิ ตั ริ าชการของหนว่ ยงานในสงั กดั กรมการแพทย์
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

องค์ประกอบท่ี 6 การเปน็ องคก์ รระดับชาติและนำเสนอข้อเสนอเชิงนโยบาย (National Body and Policy Advocacy)
การเป็นองค์กรระดับชาติและนำเสนอข้อเสนอเชิงนโยบาย(National Body and Policy Advocacy)

มีการพัฒนาความเป็นเลิศทางการแพทย์ให้เป็นสถาบันระดับชาติ สามารถพัฒนาให้เป็นแหล่งอ้างอิงและสามารถ
ผลักดันให้เกิดข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อนำไปใช้ในการแก้ปัญหาในระดับประเทศหรือระดับที่สูงขึ้นเพื่อก่อให้เกิด
ประโยชน์ในระดับสูงต่อประชาชนจำนวนมาก

เกณฑ์การให้คะแนนองค์ประกอบที่ 6 การเป็นองค์กรระดับชาติและนำเสนอข้อเสนอเชิงนโยบาย :
นำ้ หนักรอ้ ยละ 20

ระดบั คะแนน เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน

1 มีคณะกรรมการจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายระดับหน่วยงานที่ผ่านความเป็นชอบจาก
คณะกรรมการการแพทยร์ ะดบั ชาติ

2 มรี ายงานการวิเคราะห์ประเด็นเพอ่ื จดั ทำข้อเสนอเชงิ นโยบาย

3 จัดทำขอ้ เสนอเชิงนโยบายตาม CoE

4 สง่ ข้อเสนอเชิงนโยบายให้กรมเพ่ือทราบ และพจิ ารณา

5 ขอ้ เสนอเชงิ นโยบายได้รับการนำเสนอและนำไปปฏบิ ัติในหนว่ ยงานนอกกรมการแพทย์

หมายเหตุ :

1. หัวข้อในการจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายต้องเกี่ยวข้องหรือเป็นเรื่องที่อยู่ในศูนย์ความเป็นเลิศทาง
การแพทย์ท่ีหน่วยงานรับผิดชอบข้างตน้ ตามกฎกระทรวง

2. ขอ้ เสนอเชิงนโยบายต้องผ่านกระบวนการในการวเิ คราะหข์ ้อมูล หรือศกึ ษาความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติ
หรอื คาดคะเนโอกาสในการปฏบิ ัติ หรอื ประเมนิ เทคโนโลยที างการแพทย์

3. โปรดระบขุ ้อมลู อ้างอิงให้ชัดเจน

27

คมู่ อื การประเมนิ ผลการปฏิบตั ริ าชการตามคำรบั รองการปฏิบตั ริ าชการของหน่วยงานในสังกัดกรมการแพทย์
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

องค์ประกอบท่ี 7 การมเี ครือข่ายวิชาการ (Networking)
การมีเครือข่ายวิชาการ(Network) การพัฒนาความเป็นเลิศทางการแพทย์จะเกิดประสิทธิภาพและ

ประโยชน์สูงสุดนั้นจำเป็นอย่างยิง่ ต้องสร้างเครือข่ายทางวิชาการเพื่อการยกระดับการพัฒนาวชิ าการแพทย์ใน
ทุกระดับทั้งในและต่างประเทศ เพื่อความครอบคลุมในการขยายการพัฒนาและสามารถเทียบเคียง
(Benchmark) เพือ่ การยกระดับการพัฒนาได้เป็นลำดับ

เกณฑ์การให้คะแนนองคป์ ระกอบท่ี 7 การมเี ครือข่ายวิชาการ : น้ำหนักร้อยละ 10

ระดบั คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน

1 มีเครอื ขา่ ยและผลการดำเนนิ งานอย่างประจกั ษท์ างดา้ นวชิ าการแพทย์และสาธารณสขุ
(วิจยั และการพัฒนาบุคลากร) รว่ มกบั องคก์ รภายในกรมการแพทย์

2 มีเครือขา่ ยและผลการดำเนนิ งานอย่างประจกั ษท์ างด้านวชิ าการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ
(วจิ ัย และการพฒั นาบคุ ลากร) ร่วมกบั องค์กรภายในกระทรวงสาธารณสขุ

3 มีเครอื ข่ายและผลการดำเนนิ งานอย่างประจกั ษท์ างด้านวชิ าการแพทย์และสาธารณสขุ
(วจิ ัย และการพัฒนาบุคลากร) ร่วมกบั องค์กรภายในประเทศ นอกกระทรวงสาธารณสุข

4 มเี ครอื ข่ายและผลการดำเนนิ งานอย่างประจกั ษท์ างด้านวิชาการแพทย์และสาธารณสุข
(วิจัย และการพฒั นาบุคลากร) ร่วมกับองค์กรระหว่างประเทศ

5 มกี ารเทยี บเคียง (Benchmarking) ผลการดำเนนิ งาน หรือ ตวั ชี้วัดทส่ี ำคญั กับองค์กรอ่ืนที่
มกี ารดำเนินงานดา้ นเดยี วกนั และผลการดำเนนิ การอยู่ในระดบั เดียวกันหรือสงู กว่า

หมายเหตุ : โปรดระบขุ อ้ มูลอา้ งองิ ให้ชัดเจน
เอกสารอ้างอิง TCI ท่ี https://tci-thailand.org/list%20journal.php
แนวทางการประเมนิ ผล :

• ระยะเวลา/ความถี่รายงานความกา้ วหนา้ การดำเนินการ ทุก 6 เดือนส่งกองวชิ าการแพทย์

• ทกุ หน่วยบรกิ ารทางการแพทย์ สงั กดั กรมการแพทย์

• หลกั ฐานแบบประเมนิ ตนเองการพฒั นาศูนย์ความเปน็ เลิศทางการแพทย์
ปี 2562-2563 (ดาวนโ์ หลดได้ที่ https://qrgo.page.link/FLWse หรอื QR code)

• หลกั ฐานข้อมลู อา้ งองิ อยา่ งชดั เจนทุกองค์ประกอบ

ท่ีปรกึ ษาตวั ช้ีวัด : นายแพทย์ณัฐพงศ์ วงศ์ววิ ัฒน์ รองอธิบดกี รมการแพทย์ เบอร์ติดตอ่ : 0 2590 6007

แพทยห์ ญงิ ปฐมพร ศิรประภาศริ ิ ทป่ี รกึ ษากรมการแพทย์ เบอรต์ ิดตอ่ : 0 2590 6224

หน่วยงานเจา้ ภาพในการตดิ ตามและประเมนิ ผล : กองวิชาการแพทย์

ผู้กำกับตวั ชี้วดั : ผูอ้ ำนวยการกองวิชาการแพทย์ เบอร์ติดต่อ : 0 2590 6283

ผู้รบั ผิดชอบตวั ชี้วัด : นางจฬุ ารักษ์ สงิ หกลางพล เบอรต์ ดิ ต่อ : 0 2590 6286

นางนฤกร ธรรมเกษม เบอรต์ ิดต่อ : 02 590 6286

นางสาวปรยี านุช เรืองงาม เบอรต์ ิดต่อ : 0 2590 6286

28

คมู่ อื การประเมินผลการปฏบิ ัตริ าชการตามคำรบั รองการปฏบิ ตั ิราชการของหน่วยงานในสังกัดกรมการแพทย์
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ตวั ชี้วัดท่ี 1.3 ระดับความสำเรจ็ ในการจัดการนวัตกรรมทางการแพทย์

นำ้ หนกั : รอ้ ยละ 10

คำอธิบาย :

การจัดการนวัตกรรมทางการแพทย์ หมายถึง การคิดค้นและเปลี่ยนแปลงกระบวนการดำเนินการ
การบริหารจัดการบุคลากร งบประมาณ ทรัพยากรตลอดจนกลยุทธ์และเครื่องมืออย่างเป็นระบบที่สามารถ
ดำเนินการเพื่อยกระดับความรู้ความสามารถด้านนวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์ การบริการทางการแพทย์ให้เกิด
ประสิทธภิ าพและประสิทธิผลสงู สดุ

การประดิษฐ์ (Invention) หมายถึง ความคิดสร้างสรรค์เกี่ยวกับลักษณะองค์ประกอบ โครงสร้าง
หรือกลไกของผลิตภัณฑ์ รวมทั้งกรรมวิธี กระบวนการในการผลิต การรักษา หรือปรับปรุงคุณภาพของ
ผลิตภัณฑ์ให้ดีขึ้น หรือทำให้เกิดผลิตภัณฑ์/บริการขึ้นใหม่ที่แตกต่างไปจากเดิม เช่น อุปกรณ์เครื่องมือทาง
การแพทย์ ยารกั ษาโรค วธิ กี ารในการเกบ็ รกั ษาชน้ิ เน้อื สง่ ตรวจ เปน็ ต้น

นวัตกรรมทางการแพทย์ หมายถึง ผลิตภัณฑ์ สิ่งประดิษฐ์ บริการ กรรมวิธีที่เกี่ยวกับการยกระดับ
การรักษา การวินิจฉัย การเรียนรู้ การป้องกันที่มีคุณภาพและปลอดภัยทางการแพทย์ ทั้งที่เป็นสิ่งใ หม่หรือ
พัฒนาให้ดีขึ้นกว่าเดิมอย่างมีนัยสำคัญและสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในทางการแพทย์ ทั้งในเชิงพาณิชย์และ
สาธารณะได้ โดยจำแนกประเภทนวตั กรรมไว้ 3 ประเภท ดงั น้ี

1. นวตั กรรมทตี่ อบสนองนโยบาย (Policy related Innovation) หมายถึง นวตั กรรมทางการแพทย์ที่
สอดรับนโยบายระดับประเทศตามแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี นโยบายกระทรวงสาธารณสุข และนโยบาย
กรมการแพทย์ตามบทบาทภารกิจของหนว่ ยงาน

2. นวัตกรรมบริการ (Innovation for service) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงบริการด้านการแพทย์
แบบเดมิ หรือเพ่มิ ประสิทธภิ าพ/ ความปลอดภัย ให้กบั ระบบสุขภาพ หรอื การบรกิ ารด้านการแพทยแ์ บบใหม่ที่
เกี่ยวข้องกับการดูแลรักษาผู้ป่วยและผู้รับบริการให้ได้รับบริการที่สะดวกรวดเร็ว ลดความแออัด ลดความ
เหล่ือมล้ำ สร้างความเสมอภาคและความเท่าเทียมในการเข้าถึงบริการ (Equity)

3. นวัตกรรมแห่งอนาคต (Innovation of the future) หมายถึง นวัตกรรมทางการแพทย์ที่ลด
อุปสรรคและข้อจำกัดในการดูแลรักษา ก่อให้เกิดความคล่องตัว รวดเร็ว และแม่นยำอย่างครบวงจร สามารถ
สรา้ งมูลค่าทางเศรษฐกิจได้ โดยใชเ้ ทคโนโลยีที่ลำ้ สมยั

เกณฑ์การใหค้ ะแนน : ผลรวมของคะแนนทกุ องค์ประกอบเทียบกับระดบั ความสำเรจ็

ระดับความสำเรจ็ ผลรวมของคะแนนทุกองคป์ ระกอบ (คะแนน)

1 6 เดือน 12 เดอื น
2
3 11
4
5 1.01 - 1.50 1.01 – 2.00

1.51 – 2.00 2.01 – 3.00

2.01 – 2.50 3.01 – 4.00

2.51 – 3.00 ขึน้ ไป 4.01 – 5.00

29

คู่มอื การประเมนิ ผลการปฏบิ ัตริ าชการตามคำรบั รองการปฏบิ ตั ริ าชการของหน่วยงานในสงั กดั กรมการแพทย์
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

แนวทางการประเมนิ : แบ่งระดบั การใหค้ ะแนนโดยพิจารณาจาก 3 องคป์ ระกอบ คอื

องค์ประกอบ 1 : การประดิษฐ์คดิ คน้ (Invention) (นำ้ หนัก : รอ้ ยละ 30)

องค์ประกอบ 2 : พัฒนาการ (Development) (น้ำหนัก : ร้อยละ 50)

องคป์ ระกอบ 3 : การนำไปปฏิบัตใิ นสถานการณท์ ว่ั ไป (นำ้ หนกั : ร้อยละ 20)

หมายเหตุ : หน่วยงานเลอื กนวัตกรรมเพียง 1 ช้นิ มาประเมนิ ในทุกองค์ประกอบ โดยสามารถนำนวัตกรรมทาง
การแพทย์ที่ดำเนนิ การมาแลว้ ตั้งแตป่ ี 2562 (ผลงานย้อนหลงั ไม่เกนิ 3 ปี)

องค์ประกอบท่ี 1 การประดิษฐค์ ิดค้น (Invention): นำ้ หนกั รอ้ ยละ 30

ระดับ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน : องคป์ ระกอบที่ 1 เอกสาร/หลักฐานการประเมินผล
คะแนน
- รายชือ่ คณะกรรมการดำเนินงาน
1 หน่วยงานมโี ครงสรา้ ง และการดำเนนิ งานในการจดั การ นวัตกรรม
นวตั กรรม - หน่วยงานท่ีรบั ผิดชอบงานนวตั กรรม

2 หน่วยงานมแี ผนงาน/โครงการพฒั นานวัตกรรมประจำปี แผน/โครงการประจำปงี บประมาณ

งบประมาณ 2564 2564

3 หน่วยงานมีการวิเคราะหร์ ะบบงานนวัตกรรม และมี - ผลการวิเคราะห์ระบบงานนวตั กรรม
ฐานขอ้ มลู - แสดงฐานขอ้ มลู

4 มชี ้ินงานนวตั กรรมอย่างน้อย 1 ช้นิ ทเี่ กิดจากบุคลากรของ - รายละเอยี ดนวัตกรรม

หน่วยงาน - ผ้รู ับผดิ ชอบนวัตกรรมนัน้

5 หนว่ ยงานมีช้ินงานนวตั กรรมทีเ่ กิดจากแผนงาน/โครงการ รายละเอียดนวตั กรรม
ประจำปี หรอื ที่มกี ารพฒั นาอยา่ งตอ่ เน่ือง

หมายเหตุ : ตอ้ งดำเนินการครบทุกกระบวนการตามลำดบั

ความหมายท่แี ฝงอยใู่ นตัวชว้ี ดั ตามองคป์ ระกอบที่ 1 คือ

1. โครงสร้างและการดำเนินงานของหน่วยงาน หมายถึง การมีโครงสร้าง คณะกรรมการนวัตกรรม
ของหน่วยงานให้การสนับสนุนการสร้างนวัตกรรม การสร้างบรรยากาศ เพื่อเป็นการกระตุ้น
ส่งเสริมให้บุคลากรมีโอกาสเสนอความคิดสร้างสรรค์ทางการแพทย์ อาจเป็นในรูปแบบการมี
คลินิกนวตั กรรมรบั ฟงั ปญั หา จดั หาเวทีนำเสนอนวัตกรรม จดั กลมุ่ เพิม่ เตมิ ความรู้ หาแนวทางการ
ช่วยเหลือ การสร้างแรงจูงใจ การมอบรางวัล ยกย่องชมเชยบุคลากรที่มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
นวตั กรรมเพ่อื เปน็ กำลงั ใจในการพฒั นาตอ่ ไป

2. กระบวนการคิดค้นและประดิษฐ์ผลงานตั้งแต่การริเริ่มสร้างสรรค์นวัตกรรมทางการแพทย์
ที่เกิดขึ้นจากหลายรูปแบบ ทั้งจากการ DIY การพัฒนากระบวนการทำงาน(CQI) การวิจัย
การประเมนิ เทคโนโลยี การตอ่ ยอดความรู้ หรอื การพัฒนาจากส่งิ เดิมท่ีมีอยู่

3. แผนงาน/โครงการประจำปี หมายถึง แผนงาน/โครงการที่มีการของบประมาณหรือมีการเตรียมการไว้
สำหรบั ดำเนนิ การพฒั นานวัตกรรม หรอื แผนพัฒนาหนว่ ยงานในดา้ นนวัตกรรมโดยเฉพาะ

4. ฐานข้อมูล หมายถึง ฐานข้อมูลนวัตกรรมของหน่วยงานที่เป็นปัจจุบัน สามารถติดตามการ
ดำเนินงานและการพฒั นานวตั กรรมได้

30

คมู่ อื การประเมินผลการปฏบิ ตั ริ าชการตามคำรบั รองการปฏิบัตริ าชการของหนว่ ยงานในสงั กัดกรมการแพทย์
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

องคป์ ระกอบท่ี 2 พฒั นาการ (Development) : น้ำหนกั ร้อยละ 50

ระดบั เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน : องค์ประกอบท่ี 2 เอกสาร/หลกั ฐานการประเมินผล
คะแนน

1 หน่วยงานมแี นวคิดการสร้างนวตั กรรม concept paper/proposal

2 หนว่ ยงานมกี ารวเิ คราะหช์ อ่ งวา่ ง (Gap Analysis) / ผลการวิเคราะหช์ อ่ งวา่ ง (Gap
ปญั หาทีต่ ้องการสรา้ งนวัตกรอย่างเปน็ ระบบ Analysis) /ปญั หา

3 หนว่ ยงานมีการพัฒนายกระดับศักยภาพของนวัตกร แผนการพัฒนา/ผลลัพธแ์ ละผลผลิตท่ี
ประจำปงี บประมาณ 2564 ไดใ้ นปงี บประมาณ 2564

4 หนว่ ยงานมตี น้ แบบนวตั กรรม (Prototype) รายละเอียดตน้ แบบนวัตกรรมทนี่ ำมา
ประเมิน ผลการทดลอง/วจิ ัย

มกี ารเผยแพร่นวตั กรรมภายในและ/หรอื ภายนอก หลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ ในการเผยแพร่

5 หนว่ ยงาน หรืออยู่ในกระบวนการจดคุ้มครองทรัพย์สิน หรือการนำไปใช้เพ่ือแก้ไขปัญหา/เลข
ทางปญั ญา และ/หรอื นำไปใช้เพอ่ื แก้ไขปญั หาทง้ั ภายใน คำขอการจดคมุ้ ครองทรัพย์สินทาง

และภายนอกหนว่ ยงาน ปญั ญา

ความหมายทแ่ี ฝงอยู่ในตวั ช้ีวดั ตามองค์ประกอบท่ี 2 คือ

1. แนวคิดการสร้างนวตั กรรม หมายถึง การที่หนว่ ยงานจดั ทำโครงการ กำหนดวัตถุประสงค์ วธิ ีการ/
กระบวนการพัฒนานวัตกรรมที่เกิดขึ้นใหม่หรือนำของเดิมมาพัฒนาต่อยอดให้ดีขึ้นกว่าเดิม
งบประมาณที่ใช้ และผลลัพธ์ทไ่ี ด้จากการจดั ทำนวตั กรรมชิน้ นัน้

2. ต้นแบบนวัตกรรม (Prototype) หมายถึง การนำนวัตกรรมที่ผ่านกระบวนการประดิษฐ์ คิดค้น
พัฒนาจนได้เป็นชิ้นงานนวัตกรรมนำมาทดลองใช้ ปรับปรุงและ/หรือวิจัยชิ้นงาน โดยผ่าน
คณะกรรมการนวัตกรรมของหน่วยงาน และ/หรือได้รับการอนุญาตจากคณะกรรมการจริยธรรม
การใช้ในคน (EC)(สำหรบั นวัตกรรมทน่ี ำมาใช้ในคน) อย่างเปน็ ทางการ กอ่ นนำมาทดลอง/วิจัยใน
แผนกของหนว่ ยงานตน้ สังกดั และนำผลการทดลอง/การวจิ ยั มาพฒั นาปรบั ปรุงให้ดีข้นึ จนเกิดเป็น
ต้นแบบนวตั กรรมที่สามารถนำไปพัฒนาต่อยอดได้

3. กระบวนการจดคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา หมายถึง การเขียนหนงั สือคำร้องขอจดอนุสิทธิบัตร
สิทธิบตั ร และ/หรอื ลขิ สทิ ธิ์ โดยส่งผ่านกรมการแพทย์ให้ดำเนินการแทน และ/หรอื ไดร้ บั เลขคำขอ
จดอนสุ ทิ ธิบัตร สิทธบิ ัตร และหรือลิขสิทธิ์จากกรมทรพั ย์ทางปญั ญา

31

คมู่ อื การประเมนิ ผลการปฏบิ ัตริ าชการตามคำรบั รองการปฏิบัติราชการของหน่วยงานในสังกัดกรมการแพทย์
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

องคป์ ระกอบที่ 3 การนำไปปฏบิ ตั ใิ นสถานการณ์ท่วั ไป : น้ำหนกั รอ้ ยละ 20

ระดับ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน : องค์ประกอบที่ 3 เอกสาร/หลักฐานการประเมินผล
คะแนน
หลกั ฐานเชิงประจักษ์การนำ
1 หน่วยงานมกี ารคิดค้นนวตั กรรมและสามารถนำไปใชไ้ ด้ นวตั กรรมไปใชใ้ นหนว่ ยงาน
จริงภายในหน่วยงาน หลักฐานเชิงประจกั ษ์ ในการ
ถา่ ยทอด แสดงถงึ การนำไปใช้ใน
2 หนว่ ยงานมีการถา่ ยทอดนวตั กรรมไปใช้ในหน่วยงานอื่น หนว่ ยงานอืน่

หนว่ ยงานนำผลงานนวตั กรรมทางการแพทย์ไปเผยแพร่ หลักฐานเชงิ ประจักษ์ การเผยแพรใ่ น
3 ในการประชมุ วิชาการ ท้งั ภายในและ/หรือภายนอก การประชุมวิชาการ

หน่วยงาน หรือสาธารณะ

4 หน่วยงานมีการจบั คเู่ จรจาไปสู่การพฒั นาต่อยอด สัญญาความร่วมมือ และ/หรือ
นวัตกรรม ข้อตกลงการพฒั นาต่อยอดนวัตกรรม

5 นวตั กรรมของหน่วยงานมีการพฒั นาตอ่ ยอดสามารถ ขอ้ ตกลง และ/หรือสญั ญาการ
นำไปใช้เชิงสาธารณะ และ/หรอื เชงิ พาณิชย์ อนญุ าตนำไปใชป้ ระโยชน์เชงิ
สาธารณะ และ/หรือเชิงพาณิชย์

ความหมายทแี่ ฝงอยใู่ นตัวช้ีวดั ตามองค์ประกอบท่ี 3 คอื

1. การจบั คูเ่ จรจาไปสู่การพัฒนาต่อยอด หมายถึง กระบวนการตัง้ แต่ 2 หนว่ ยงาน ทำการเจรจาเพื่อ
การพัฒนานวัตกรรมให้ได้มาตรฐานหรือแลกเปลี่ยนผลประโยชน์ระหว่างกัน เป็นที่ยอมรับ มี
ความเหมาะสม และสามารถยืดหยุ่นได้ซึ่งอาจเป็นวัตถุสิ่งของหรือบริการทางการแพทย์ โดยทุก
ฝ่ายทเ่ี กยี่ วข้องพยายามหาขอ้ ยตุ ติ ้องคำนึงถงึ จรรยาบรรณในวิชาชีพ

2. การนำไปใช้เชิงสาธารณะ หมายถึง นวัตกรรมที่สามารถเป็นต้นแบบนำไปพัฒนาระบบการดูแล
รกั ษา วินจิ ฉัยทางการแพทย์ หรอื ฟ้ืนฟผู ู้ป่วยในโรงพยาบาล สถานพยาบาลอ่นื ใน/ต่างประเทศได้
อยา่ งแพร่หลาย

3. การนำไปใช้เชิงพาณิชย์ หมายถึง นวัตกรรมที่สามารถนำไปเพิ่มมูลค่าด้านเศรษฐกิจ ก่อให้เกิด
รายไดต้ ่อหนว่ ยงาน

ปรึกษาตัวช้ีวัด : นายแพทย์วรี วุฒิ อมิ่ สำราญ รองอธบิ ดีกรมการแพทย์ เบอร์ติดต่อ : 0 2590 6126
นายแพทยอ์ รรถสทิ ธิ์ ศรสี บุ ตั ิ ท่ีปรึกษากรมการแพทย์ เบอรต์ ดิ ต่อ : 0 2590 6224

หน่วยงานเจา้ ภาพในการติดตามและประเมินผล :

กองวชิ าการแพทย์ และ สถาบันวจิ ัยและประเมนิ เทคโนโลยีทางการแพทย์ (กลุ่มงานวิจยั ทางการแพทย์)

ผู้กำกับตัวชี้วัด : ผู้อำนวยการกองวิชาการแพทย์ เบอรต์ ิดต่อ : 0 2590 6283

ผู้อำนวยสถาบนั วจิ ัยและประเมินเทคโนโลยที างการแพทย์ เบอรต์ ิดต่อ : 0 2590 6270

ผ้รู ับผดิ ชอบตวั ชว้ี ัด :

นางอำไพพร ยังวฒั นา กองวชิ าการแพทย์ เบอร์ตดิ ต่อ : 0 2590 6273

นางสาววรนุตร อรุณรัตนโชติ สถาบันวจิ ัยและประเมนิ เทคโนโลยฯี เบอรต์ ิดต่อ : 0 2590 6285

นางสาวเพชรภี รณ์ ศรบี ุศกร กองวชิ าการแพทย์ เบอร์ติดต่อ : 0 2590 6274

นางสาวจารกุ ุล เจริญศรี สถาบนั วจิ ัยและประเมนิ เทคโนโลยีฯ เบอรต์ ิดตอ่ : 0 2590 6248

32

คู่มอื การประเมินผลการปฏิบัตริ าชการตามคำรบั รองการปฏิบตั ิราชการของหนว่ ยงานในสังกดั กรมการแพทย์
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ตวั ช้ีวดั ที่ 1.4 : ระดับความสำเรจ็ ของความร่วมมือด้านวิชาการและบรกิ ารกบั เขตสุขภาพ

นำ้ หนัก : รอ้ ยละ10

คำอธบิ าย:

กรมการแพทย์ ในฐานะเป็นองค์กรทางวิชาการ มีบทบาทภารกิจในการสร้างและถ่ายทอดองค์ความรู้
และเทคโนโลยีทางการแพทย์ เสริมสร้างความร่วมมือทางวิชาการและบริการในทุกภาคส่วน มีบทบาท
สนับสนุนให้หน่วยงานในกระทรวงสาธารณสุขขับเคลื่อนงานสาธารณสุข โดยเฉพาะการจัดบริการสาธารณสขุ
ให้แก่ประชาชนทัว่ ประเทศ ขับเคลื่อนงานบริการตามแผนพัฒนาระบบบรกิ ารสุขภาพ (Service Plan) ภายใต้
หลักการ “เครือข่ายบริการที่ไร้รอยต่อ” ในรูปแบบของการพัฒนาระบบบริการที่เชื่อมโยงตั้งแต่ระบบบริการ
ระดบั ปฐมภมู ิ ทตุ ิยภมู ิ ตติยภูมิ จนถงึ ศนู ยเ์ ชยี่ วชาญระดับสูงและการพัฒนาระบบส่งต่อภายในเครือข่ายเพื่อให้
เกดิ การดแู ลประชาชนได้เบ็ดเสร็จภายในเครือข่าย สรา้ งการเข้าถึงบริการของประชาชนได้อย่างทั่วถึงและเป็น
ธรรม ลดความเหลื่อมล้ำกรอบในการดำเนินการที่สำคัญ คือการพัฒนาศักยภาพของสถานบริการในแต่ละ
ระดับให้เป็นไปตามขีดความสามารถที่กำหนดการพัฒนาระบบบริการเพื่อรองรับและแก้ไขปัญหาสุขภาพท่ี
สำคัญของประเทศ ในการดำเนินการที่ผ่านมาถือว่าประสบผลสำเร็จและเกิดผลการดำเนินงานที่มคี ุณภาพส่ง
มอบใหก้ บั ประชาชน และยงั คงต้องมกี ารพฒั นาอย่างต่อเนื่องเพ่ือให้มีประสทิ ธภิ าพและเกิดประสทิ ธิผลย่งิ ข้ึน

สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) เป็นโรคติดเช้ืออุบัติใหมท่ ี่
มีการแพร่ระบาดเป็นวงกว้างและกลายเป็นปัญหาสาธารณสุขทั่วโลกในระยะเวลาอันรวดเร็ว สำหรับประเทศ
ไทยมีการนำนโยบายด้านการดูแลสุขภาพและมาตรการที่เข้มงวดมาใช้อย่างมีประสิทธิภาพจนส่งผลให้มีผู้ติด
เชื้อสะสมและเสยี ชวี ิตจากโรคตดิ เชื้อ COVID-19 ค่อนข้างต่ำเม่ือเทียบกับอกี หลายประเทศ อยา่ งไรก็ตามการ
แพร่ระบาดที่รุนแรงของเชื้อ COVID-19 อาจมีโอกาสเกิดขึ้นอีกเป็นละรอกที่ 2 จึงมีความจำเป็นต้องเตรียม
ความพรอ้ มด้านการดูแลสุขภาพและวางแผนอยา่ งรัดกุมให้แก่สถานพยาบาลทุกระดับ

ในปีงบประมาณ 2563 มีสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ซึ่งเป็นโรคติดเชื้ออุบัตใิ หมท่ ี่มีการแพร่ระบาดเป็นวงกวา้ งและกลายเป็นปญั หาสาธารณสุขทัว่ โลกในระยะเวลา
อันรวดเรว็ สำหรบั ประเทศไทยพบวา่ มีการนำนโยบายด้านการดูแลสุขภาพและมาตรการที่เขม้ งวดมาใช้อย่างมี
ประสทิ ธิภาพ จนสง่ ผลใหม้ ผี ตู้ ดิ เชอื้ ผ้ตู ิดเช้ือสะสมและเสยี ชวี ิตจากโรคตดิ เชอ้ื COVID-19 คอ่ นขา้ งต่ำเมื่อเทียบ
กับอีกหลายประเทศ อย่างไรก็ตามการแพร่ระบาดที่รุนแรงของเชื้อ COVID-19 อาจมีโอกาสเกิดขึ้นอีก จึงมี
ความจำเป็นต้องเตรียมความพร้อมด้านการดูแลสุขภาพและวางแผนอย่างรัดกุมให้แก่สถานพยาบาลทุกระดบั
การบริหารจัดการความต่อเนื่องของธุรกิจ (Business Continuity Management: BCM) จึงเป็นกระบวนการ
ที่สะท้อนให้เห็นถึงภัยและผลกระทบของภัยต่อการดำเนินงานขององค์กรและแนวทางในการแก้ไขหรือ
สนับสนุนให้องค์กรได้รับผลกระทบน้อยที่สุดจากสถานการณ์วิกฤตและกลับคืนสู่สถานการณ์ปกติได้โดยเร็วมี
มาตรฐานสากล

กรมการแพทย์ มีนโยบายสนับสนุนการจัดแผนดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่องสำหรับการบริหารความ
พร้อมต่อสภาวะวิกฤติจากโรคติดเชื้ออุบัติใหม่ในสถานพยาบาล (Business Continuity Plan for EID in
healthcare facilities) หรือ แผน BCP ให้กบั โรงพยาบาลซึง่ เป็นตวั แทนของเขตสุขภาพและโรงพยาบาลสังกัด
กรมการแพทย์เพื่อให้มีแผนรองรับสภาวะวิกฤติจากโรคติดเชื้ออุบัติใหม่:COVID-19 สามารถธำรงภารกิจหลัก
ขณะเกิดสถานการณ์วิกฤตและภัยสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อมุ่งหวังให้ผู้ป่วยและเจ้าหน้าที่ความ
ปลอดภัย (2P Safety) ความแออัดของผปู้ ว่ ยลดลง และประชาชนสามารถเข้าถึงบริการทางการแพทย์ได้อย่าง
ทว่ั ถึงและเทา่ เทียม

33

คู่มือการประเมนิ ผลการปฏบิ ัตริ าชการตามคำรับรองการปฏบิ ัตริ าชการของหนว่ ยงานในสังกดั กรมการแพทย์
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

คำนยิ าม :
เขตสุขภาพ หมายถึง สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด สำนักงานเขตสุขภาพ โรงพยาบาลศูนย์

โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล และสำนักงานสาธารณสุขอำเภอของ
เขตสุขภาพที่รับผิดชอบการพัฒนาระบบบริการสุขภาพด้านการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันและรักษาโรค รวมถึง
การฟื้นฟูสุขภาพให้มีประสิทธิภาพ คุณภาพ พัฒนาการทำงานมุ่งไปสู่การมีสุขภาพแข็งแรงของคนไทย โดยได้
แบ่งออกเป็น 13 เขตสุขภาพครอบคลุมหน่วยงานในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขซ่ึงตั้งอยู่ในพื้นที่
เขตสขุ ภาพนัน้

โรงพยาบาลสังกัดกรมการแพทย์ หมายถงึ โรงพยาบาลสังกัดกรมการแพทย์ทั้งในส่วนกลางและใน
ส่วนภูมิภาคที่มีการจัดบริการทางการแพทย์แก่ผู้ป่วยและผู้มารับบริการ ประกอบด้วยโรงพยาบาลระดับตติย
ภมู แิ ละสงู กว่า และโรงพยาบาลหรอื สถาบนั ทีร่ ักษาโรคเฉพาะทางดา้ นตา่ ง ๆ จำนวน 28 แหง่

ความรว่ มมอื ด้านวชิ าการและบรกิ าร หมายถึง กิจกรรมด้านวิชาการและบริการ ท่ีหน่วยงานกรมการ
แพทย์สนบั สนนุ ให้แกห่ นว่ ยงานสงั กดั สำนักงานปลดั กระทรวงสาธารณสุขในพน้ื ทเ่ี ขตสขุ ภาพ ดา้ นการถ่ายทอด
องค์ความรู้ การสนับสนุนด้านวิชาการนวัตกรรมทางการแพทย์ การวิเคราะห์ปัญหาและจัดกิจกรรมเพื่อแก้ไข
ปญั หาในเขตสขุ ภาพ เป็นตน้

การบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจ (Business Continuity Management :BCM) หมายถึง
กระบวนบริหารแบบองค์รวม ซึ่งระบุภัยคุกคามและผลกระทบของโรคติดต่ออุบัติใหม่ต่อการให้บริการของ
สถานพยาบาล เพอ่ื วางแนวทางในการสร้างขีดความสามารถใหอ้ งคก์ รมีความยืดหยนุ่ ปรบั ตัวต่อเหตุการณ์ได้

แผนดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง (Business Continuity Plans : BCP) หมายถึงเอกสารขั้นตอน
การดำเนินงานที่ให้แนวทางแก่สถานพยาบาลในการตอบสนอง การฟื้นฟูและการกลับมาดำเนินการ เพื่อให้
สามารถคงภารกิจของสถานพยาบาลต่อประชาชนไดใ้ นระดับท่ีกำหนดไวห้ ลงั เกิดวกิ ฤติ

ข้อมูลทรพั ยากรของโรงพยาบาล หมายถงึ จำนวนบุคลากรทุกสาขา จำนวนเตียงผูป้ ่วยวิกฤต จำนวน
เตยี ง จำนวนห้องผ่าตดั แผนท่ี และแปลนโรงพยาบาลอุปกรณ์การแพทย์ ยาและเวชภณั ฑ์ ท่จี ำเป็นต้องใช้ยาม
วิกฤต

34

คมู่ ือการประเมนิ ผลการปฏบิ ัตริ าชการตามคำรับรองการปฏิบตั ริ าชการของหนว่ ยงานในสงั กดั กรมการแพทย์
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

เกณฑ์การใหค้ ะแนน :

ระดบั คะแนน เกณฑก์ ารให้คะแนน

โรงพยาบาลตวั แทนเขตสุขภาพและโรงพยาบาลสังกัดกรมการแพทย์มกี ารจดั ต้ัง

1 คณะทำงาน/คณะกรรมการจัดทำแผนดำเนนิ ธรุ กิจอย่างต่อเน่ือง (BCP) เพ่ือพัฒนาการ
เตรยี มความพรอ้ ม

ในการรบั มือกับการระบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 ของสถานพยาบาล

มขี อ้ มูลสถานการณ์ ปัญหาและอปุ สรรคทีเ่ กิดขึ้นระหว่างการให้บริการทางการแพทย์ของ
สถานพยาบาลในสถานการณ์การแพร่ระบาด COVID-19 เพ่ือประกอบการทำแผน เช่น
2 ข้อมลู ทรัพยากรของโรงพยาบาล, แผนเผชิญเหตุและแผนดำเนินธุรกิจอยา่ งต่อเน่ือง(BCP),
สรุปปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินการของโรงพยาบาลในช่วงทม่ี กี ารแพรร่ ะบาดของโรค
ตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 ในระยะทีผ่ ่านมา

โรงพยาบาลตัวแทนเขตสขุ ภาพและโรงพยาบาลสงั กดั กรมการแพทย์มีแผนดำเนนิ ธรุ กจิ
3 อยา่ งต่อเนื่องสำหรับการบรหิ ารความพร้อมต่อสภาวะวกิ ฤติจากโรคตดิ เชื้ออุบัตใิ หม่ใน

สถานพยาบาล (BCP for EID in healthcare facilities)

โรงพยาบาลซึง่ เป็นตวั แทนของเขตสขุ ภาพและโรงพยาบาลสงั กัดกรมการแพทย์มีการบริหาร

4 จัดการ (BCM) เพ่ือการดำเนินธุรกิจอยา่ งต่อเนอ่ื งหากเกดิ การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชือ้
ไวรสั

โคโรนา 2019 ขน้ึ อีกเป็นละรอกท่ี 2

มกี ารตดิ ตามประเมินผลการนำแผนดำเนนิ ธุรกิจอย่างตอ่ เนื่องสำหรบั การบรหิ ารความ

5 พรอ้ มตอ่ สภาวะวกิ ฤตจิ ากโรคตดิ เชอื้ อุบตั ิใหมใ่ นสถานพยาบาล (BCP for EID in
healthcare facilities) ของโรงพยาบาลซงึ่ เป็นตวั แทนของเขตสขุ ภาพและโรงพยาบาล

สังกดั กรมการแพทย์

แนวทางการประเมนิ ผล
• รอบ 6 เดอื น ดำเนินการถึงระดับที่ 3
• รอบ 12 เดือน ดำเนินการถงึ ระดบั ที่ 5

35

คู่มือการประเมินผลการปฏิบัตริ าชการตามคำรบั รองการปฏิบตั ิราชการของหนว่ ยงานในสงั กดั กรมการแพทย์
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

คำอธบิ ายแนวทางการประเมนิ :

ระดบั เกณฑ์การใหค้ ะแนน เอกสาร/หลกั ฐานการ
คะแนน ประเมนิ ผล

โรงพยาบาลซง่ึ เปน็ ตัวแทนของเขตสุขภาพและโรงพยาบาล

1 สงั กดั กรมการแพทย์มีการจดั ตัง้ คณะทำงาน/คณะกรรมการ คำสัง่ แตง่ ตัง้ คณะทำงาน/คณะ
จัดทำแผนดำเนินธรุ กิจอย่างต่อเนือ่ ง (BCP)เพ่ือพัฒนาการ กรรมการฯ
เตรียมความพร้อมในการรบั มือกับการระบาดของโรคติดเชื้อ

ไวรสั โคโรนา 2019 ของสถานพยาบาล

มขี ้อมลู สถานการณ์ ปญั หาและอปุ สรรคที่เกดิ ขึน้ ระหวา่ ง
การใหบ้ รกิ ารทางการแพทย์ของสถานพยาบาล ใน
สถานการณ์การแพร่ระบาด COVID-19 เพอ่ื ประกอบการทำ

2 แผน เช่น ขอ้ มลู ทรพั ยากรของโรงพยาบาล, แผนเผชญิ เหตุ ขอ้ มลู สถานการณ์ ปัญหาและ
และแผนดำเนนิ ธรุ กจิ อยา่ งต่อเน่ือง (BCP), สรุปปัญหาและ อปุ สรรคของสถานพยาบาล

อปุ สรรคในการดำเนนิ การของโรงพยาบาลในชว่ งที่มีการ

แพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ในระยะทีผ่ า่ น

มา

โรงพยาบาลซึ่งเปน็ ตัวแทนของเขตสุขภาพและโรงพยาบาล

3 สังกดั กรมการแพทย์มีแผนดำเนินธรุ กิจอย่างต่อเนือ่ งสำหรับ แผนดำเนินธรุ กิจอยา่ งต่อเน่ือง
การบริหารความพรอ้ มตอ่ สภาวะวกิ ฤติจากโรคตดิ เชื้ออุบตั ิ (BCP)
ใหม่สำหรับสถานพยาบาล (BCP for EID in healthcare

facilities)

โรงพยาบาลซึ่งเปน็ ตวั แทนของเขตสุขภาพและโรงพยาบาล

4 สงั กดั กรมการแพทย์มีการบริหารจัดการ (BCM) เพื่อการ แนวทางการบรหิ ารจดั การ
ดำเนินธุรกจิ อยา่ งต่อเนื่องหากเกดิ การแพร่ระบาดของโรค (BCM)

ตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 ระลอกที่ 2

มีการตดิ ตามประเมินผลการนำแผนดำเนินธุรกิจอย่าง
5 ต่อเนอ่ื งของโรงพยาบาลซึ่งเป็นตวั แทนของเขตสุขภาพและ รายงานตดิ ตามประเมนิ ผล

โรงพยาบาลสังกัดกรมการแพทย์

36

ค่มู อื การประเมินผลการปฏบิ ตั ริ าชการตามคำรบั รองการปฏิบัตริ าชการของหน่วยงานในสงั กดั กรมการแพทย์
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

รายละเอียดการดำเนินงาน

โรงพยาบาลซึ่งเปน็ ตัวแทนของเขตสุขภาพ

เขตสขุ ภาพ หน่วยงาน
เขตสุขภาพที่ 1
เขตสขุ ภาพท่ี 2 โรงพยาบาลนครพิงค์
เขตสขุ ภาพท่ี 3
เขตสุขภาพที่ 4 โรงพยาบาลอุตรดติ ถ์
เขตสขุ ภาพที่ 5
เขตสุขภาพท่ี 6 โรงพยาบาลสวรรค์ประชารกั ษ์
เขตสุขภาพที่ 7
เขตสขุ ภาพที่ 8 โรงพยาบาลสระบรุ ี
เขตสขุ ภาพท่ี 9
เขตสุขภาพที่ 10 โรงพยาบาลเจา้ พระยายมราช
เขตสขุ ภาพท่ี 11
เขตสขุ ภาพที่ 12 โรงพยาบาลพทุ ธโสธร

โรงพยาบาลขอนแก่น

โรงพยาบาลอดุ รธานี

โรงพยาบาลนครราชสมี า

โรงพยาบาลสรรพสทิ ธปิ ระสงค์

โรงพยาบาลสรุ าษฎร์ธานี

โรงพยาบาลยะลา

โรงพยาบาลซ่ึงเป็นตัวแทนโรงพยาบาลสังกดั กรมการแพทย์ เขตสุขภาพที่ 1-13

ลำดบั หน่วยงาน
โรงพยาบาลทเ่ี ป็นตน้ แบบของการจัดทำแผนดำเนินธรุ กจิ อยา่ งตอ่ เนื่อง (BCP)
: โรงพยาบาลราชวิถ,ี โรงพยาบาลเลดิ สินและโรงพยาบาลนพรตั นราชธานี

1 โรงพยาบาลประสาทเชียงใหม่
2 โรงพยาบาลธัญญารกั ษ์เชียงใหม่
3 โรงพยาบาลธญั ญารักษแ์ ม่ฮอ่ งสอน
4 โรงพยาบาลมะเร็งลำปาง
5 โรงพยาบาลเวชชารักษ์ ลำปาง
6 โรงพยาบาลมะเร็งลพบุรี
7 โรงพยาบาลมหาวชริ าลงกรณธัญบรุ ี
8 สถาบันบำบัดรักษายาเสพติดแหง่ ชาตบิ รมราชชนนี
9 สถาบนั ทนั ตกรรม
10 สถาบันโรคทรวงอก
11 สถาบันสิรนิ ธรเพ่ือการฟื้นฟสู มรรถภาพทางการแพทย์แหง่ ชาติ

37

คู่มือการประเมินผลการปฏบิ ัตริ าชการตามคำรบั รองการปฏิบตั ิราชการของหนว่ ยงานในสงั กัดกรมการแพทย์
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

โรงพยาบาลซ่ึงเป็นตวั แทนโรงพยาบาลสังกดั กรมการแพทย์ เขตสุขภาพที่ 1-13

ลำดับ หนว่ ยงาน
12 โรงพยาบาลเมตตาประชารกั ษ์ (วดั ไรข่ งิ )
13 โรงพยาบาลมะเร็งชลบรุ ี
14 โรงพยาบาลสมเดจ็ พระสังฆราชญาณสงั วรเพื่อผู้สงู อายุ จงั หวัดชลบรุ ี
15 โรงพยาบาลธญั ญารักษข์ อนแกน่
16 โรงพยาบาลมะเร็งอดุ รธานี
17 โรงพยาบาลธญั ญารกั ษอ์ ดุ รธานี
18 โรงพยาบาลมะเร็งอุบลราชธานี
19 โรงพยาบาลมะเร็งสรุ าษฎรธ์ านี
20 โรงพยาบาลธัญญารักษ์สงขลา
21 โรงพยาบาลธญั ญารักษป์ ตั ตานี
22 โรงพยาบาลโรคผวิ หนังเขตร้อนภาคใต้ จงั หวดั ตรงั
23 สถาบันสุขภาพเด็กแหง่ ชาติมหาราชนิ ี
24 โรงพยาบาลสงฆ์
25 สถาบนั ประสาทวิทยา
26 สถาบันพยาธิวิทยา
27 สถาบนั มะเร็งแหง่ ชาติ
28 สถาบนั โรคผิวหนงั
29 สถาบันเวชศาสตรส์ มเดจ็ พระสงั ฆราชญาณสังวรเพื่อผ้สู ูงอายุ
30 ศูนย์นวตั กรรมสุขภาพผูส้ งู อายุ

ทปี่ รกึ ษาตัวช้ีวดั : นายแพทยณ์ ัฐพงศ์ วงศว์ วิ ฒั น์ รองอธบิ ดีกรมการแพทย์

นายแพทยส์ มภพ แสงกติ ติไพบูลย์ กองวิชาการแพทย์ ผทู้ รงคุณวุฒิ

หน่วยงานเจ้าภาพในการตดิ ตามและประเมนิ ผล : สำนกั นิเทศระบบการแพทย์

ผู้กำกบั ตัวชวี้ ดั : ผอู้ ำนวยการสำนกั นิเทศระบบการแพทย์ เบอร์ตดิ ต่อ : 0 2590 6330

ผู้รับผิดชอบตวั ช้วี ัด : นางสาวรัตตยิ ากร ถอื วัน เบอรต์ ิดตอ่ : 0 2590 6359

นางสาววิไลลักษณ์ สนธิรักษ์ เบอร์ติดตอ่ : 0 2590 6359

นางสาวณฐั ณชิ า บญุ รอด เบอรต์ ดิ ตอ่ : 0 2590 6359

38

คูม่ อื การประเมินผลการปฏบิ ัตริ าชการตามคำรับรองการปฏิบตั ิราชการของหนว่ ยงานในสังกัดกรมการแพทย์
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

สำหรบั หน่วยงานสนับสนนุ

มติ ิที่ 1 ประสิทธิผล (รอ้ ยละ 60) ใหก้ ำหนดตวั ชวี้ ดั จาก
1.1 ระดบั ความสำเร็จในการปรบั ปรุงองค์การตามเกณฑ์การเปน็ ระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0)
1.2 ตัวชว้ี ัดตามภารกจิ หลักของหน่วยงาน หรอื ตามแผนยุทธศาสตร์กรมการแพทยท์ ่ีหน่วยงานรับผดิ ชอบ
1.3 ระดับความสำเรจ็ ในการพัฒนาปรบั ปรงุ กระบวนการในการปฏิบตั งิ านวิถใี หม่ (Working Process Redesign)

39

คูม่ อื การประเมนิ ผลการปฏบิ ัตริ าชการตามคำรบั รองการปฏบิ ตั ริ าชการของหนว่ ยงานในสังกดั กรมการแพทย์
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

มติ ทิ ี่ 1 : สำหรับหนว่ ยงานสนบั สนนุ

ตวั ชว้ี ดั ท่ี 1.1 ระดับความสำเรจ็ ในการพัฒนาศักยภาพองคก์ ารสู่การเปน็ ระบบราชการ 4.0
(สำหรบั หนว่ ยงานสนบั สนุน)

น้ำหนัก : รอ้ ยละ 30

คำอธิบาย :

ระบบราชการ 4.0
ด้วยวิสัยทัศน์ของประเทศไทย "ประเทศไทยมีความมัน่ คง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศที่พัฒนา

แล้ว ด้วยการพัฒนาตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง" โดยมีฐานคิดหลักคือเปลี่ยนจากการผลิตสินค้าโภคภัณฑ์
ไปสู่สินค้าเชิงนวัตกรรม เปลี่ยนจากการขับเคลื่อนประเทศด้วยภาคอุตสาหกรรมไปสู่การขับเคลื่อนด้วย
เทคโนโลยีความคิดสร้างสรรคแ์ ละนวัตกรรมและเปลี่ยนจากการเน้นภาคการผลิตสนิ ค้าไปสู่การเนน้ ภาคบริการ
มากขึน้

เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ดังกล่าวรัฐบาลจึงมีนโยบายที่จะใช้โมเดลขับเคลื่อนเศรษฐกิจด้วย
นวัตกรรม เพื่อพัฒนาประเทศไทยไปสู่การเป็นประเทศไทย 4.0 ดังนั้นระบบราชการจึงต้องมีการเปลี่ยนแปลง
เพ่ือสอดรบั กับบริบททเ่ี ปลยี่ นไป โดยภาครฐั หรอื ระบบราชการ
จะต้องทำงานโดยยึดหลักธรรมาภิบาล เพื่อประโยชน์สุขของ
ป ร ะ ช า ช น เ ป ็ น ห ล ั ก ( Better Governance. Happier
Citizens) โดยนำเทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามาพลิกโฉมหน่วยงาน
ภาครฐั สรู่ ะบบราชการ 4.0 (Government 4.0 หรอื Gov.4.0)
อันเป็นฟันเฟืองและเสาหลักที่สำคัญในการขับเคลื่อนนโยบาย
ของรัฐบาล ให้สามารถปฏิบตั ิงานได้อย่างสอดคล้องกับทิศทาง
ในการบริหารงานของประเทศให้ก้าวสู่การเป็นประเทศ
ทีพ่ ฒั นาแล้วซึง่ จะส่งผลใหก้ ลไกการพฒั นาระบบราชการมีการ
ปรับตัวต่อความท้าทายใหม่ๆ อีกทั้งเป็นการเพิ่มศักยภาพ
ในการแข่งขันกับนานาประเทศ และยังเป็นการยกระดับ
สมรรถนะของหน่วยงานภาครัฐให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน
โดยไดก้ ำหนดเป้าหมายในการพฒั นาระบบราชการไว้ ดงั นี้

1. เปิดกวา้ งและเชื่อมโยง (Open & Connected
Government) ต้องมีความเปดิ เผยโปร่งใส ในการทำงาน มกี ารแบง่ ปันข้อมูลซึ่งกนั และกัน เปดิ กว้างให้กลไก
หรอื ภาคสว่ นอ่ืน ๆ เชน่ ภาคเอกชน ภาคประชาสงั คม ได้เข้ามามีส่วนรว่ ม และโอนถา่ ยภารกิจที่ภาครัฐไม่ควร
ดำเนินการเองออกไปให้แก่ภาคส่วนอื่น ๆ เป็นผู้รับผิดชอบดำเนินการแทน มีการทำงานในแนวระนาบใน
ลักษณะของเครือข่าย เชื่อมโยงการทำงานภายในภาครัฐดว้ ยกันเองใหม้ ีเอกภาพและสอดรับประสานกัน ไม่ว่า
จะเปน็ ราชการบริหารสว่ นกลาง สว่ นภมู ิภาคและสว่ นท้องถน่ิ

2. ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง (Citizen-Centric Government) ต้องทำงานในเชิงรุก
และมองไปข้างหน้า มุ่งเน้นแก้ไขปัญหา และตอบสนองความต้องการของประชาชน (Proactive Public
Services) รวมทั้งใช้ประโยชน์จากข้อมูลของทางราชการ (Big Government Data) และระบบดิจิทัลในการ
จัดบริการสาธารณะท่ีตรงกบั ความต้องการของประชาชน (Personalized หรือ Tailored Services) พร้อมท้ัง
อำนวยความสะดวกโดยมีการเชือ่ มโยงกันเองของทางราชการ เพ่ือใหบ้ ริการต่าง ๆ สามารถเสรจ็ ส้นิ ในจดุ เดียว

40

คูม่ ือการประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ริ าชการตามคำรับรองการปฏบิ ตั ิราชการของหน่วยงานในสังกดั กรมการแพทย์
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

3. ขีดสมรรถนะสูงและทันสมัย (Smart & High Performance Government) ต้อง
ทำงานอยา่ งเตรยี มการณ์ไว้ลว่ งหน้า มีการวเิ คราะห์ความเสี่ยง สรา้ งนวัตกรรมหรอื ความคดิ รเิ ร่ิม และประยุกต์
องค์ความรู้ในแบบสหสาขาวิชาเข้ามาใช้ในการตอบโต้กับโลกแห่งการเปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลัน เพื่อสร้าง
คุณค่า มีความยืดหยุ่น และความสามารถในการตอบสนองกับสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างทันเวลา และปรับตวั
เข้าสสู่ ภาพความเป็นสำนกั งานสมัยใหม่ รวมทงั้ ทำให้ขา้ ราชการมีความผูกพันต่อการปฏิบัตริ าชการ และปฏิบัติ
หนา้ ท่ีไดอ้ ยา่ งเหมาะสมกับบทบาทของตน

จากแนวคิดของระบบราชการ 4.0 ดังกล่าว สำนักงาน ก.พ.ร. ได้นำมาพัฒนาเครื่องมือ
เพื่อส่งเสริมใหส้ ว่ นราชการนำไปใชใ้ นการวางแผนพัฒนาองค์การเพื่อตอบโจทย์การพัฒนาสู่ระบบราชการ 4.0
โดยเชื่อมโยงกับเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMOA) ดังภาพที่ 2 ซึ่งได้ส่งเสริมให้ส่วนราชการ
นำมาใช้ในการวิเคราะห์และปรับปรุงองค์การตั้งแต่ปี พ.ศ. 2549 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
(PMOA) มขี อ้ กำหนดที่พัฒนาบนแนวคิดของการบริหารจดั การเชิงบรู ณาการทม่ี ุ่งสคู่ วามเป็นเลิศสามารถนำมา
วเิ คราะห์เช่อื มโยงกบั คุณลักษณะทัง้ 3 มิติของระบบราชการ 4.0 ไดด้ งั นี้

เกณฑ์การใหค้ ะแนน :

กำหนดเป็นระดับข้ันของความสำเรจ็ (milestone) แบ่งเกณฑ์การใหค้ ะแนนเปน็ 5 ระดับพจิ ารณาจาก

ความกา้ วหนา้ ของขน้ั ตอนการดำเนินงานตามเป้าหมายแต่ละระดบั ดงั น้ี

ระดับคะแนน ขนั้ ตอนท่ี 1 ระดบั ขั้นของความสำเร็จ (Milestone) ขนั้ ตอนท่ี 5
ขั้นตอนที่ 2 ขนั้ ตอนท่ี 3 ขั้นตอนที่ 4

1✓

2 ✓✓

3 ✓✓✓

4 ✓✓✓✓

5 ✓✓✓✓✓

41

โดยท่ี : คมู่ อื การประเมนิ ผลการปฏิบตั ริ าชการตามคำรบั รองการปฏิบัติราชการของหน่วยงานในสงั กัดกรมการแพทย์
ระดับคะแนน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
1
2 เกณฑ์การให้คะแนน
3 สง่ บคุ ลากรเขา้ รว่ มรับฟงั การชีแ้ จงแนวทางการพฒั นากรมการแพทย์สรู่ ะบบราชการ 4.0
หน่วยงานสนบั สนนุ รว่ มกนั ประเมนิ ตนเองตามเกณฑ์ PMQA 4.0
4 หนว่ ยงานสนบั สนุนรว่ มกันจดั ทำแผนพฒั นาศกั ยภาพองคก์ ารตามเกณฑ์ PMQA 4.0
หน่วยงานสนับสนนุ ดำเนินการตามแผนพฒั นาศกั ยภาพองคก์ ารตามเกณฑ์ PMQA 4.0
5 ได้ร้อยละ 50
หน่วยงานสนับสนุนดำเนนิ การตามแผนพฒั นาศกั ยภาพองคก์ ารตามเกณฑ์ PMQA 4.0
ไดค้ รบถ้วนร้อยละ 100 และร่วมกันสรปุ วิเคราะห์ และจดั ทำรายงานผลการพัฒนา
กรมการแพทยส์ ู่ระบบราชการ 4.0 เสนอผบู้ ริหาร

แนวทางการประเมินผล :
• แผนพฒั นาศักยภาพองค์การตามเกณฑ์ PMQA 4.0
• รายงานตามแผนพฒั นาศักยภาพองคก์ ารตามเกณฑ์ PMQA 4.0 ระดับหน่วยงาน
• รายงานผลการพัฒนาศักยภาพองคก์ ารตามเกณฑ์ PMQA 4.0 ระดับกรม

ทีป่ รึกษาตัวชี้วัด : นายแพทย์วรี วฒุ ิ อ่มิ สำราญ รองอธบิ ดีกรมการแพทย์

หน่วยงานเจ้าภาพในการติดตามและประเมินผล : กลมุ่ พัฒนาระบบบริหาร

ผู้กำกับตัวชี้วัด : ผู้อำนวยการกลมุ่ พัฒนาระบบบริหาร เบอร์ติดต่อ : 02 590 6132

ผ้รู ับผดิ ชอบตัวช้วี ดั : นายเจษฎา แสงชโู ต เบอร์ตดิ ต่อ : 02 590 6139

นางสาวฉตั รดาว ลเี ชวงวงศ์ เบอรต์ ดิ ต่อ : 02 590 6137

42

คมู่ ือการประเมินผลการปฏิบตั ริ าชการตามคำรับรองการปฏบิ ัติราชการของหนว่ ยงานในสงั กัดกรมการแพทย์
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

มิตทิ ี่ 1 : สำหรบั หนว่ ยงานสนับสนุน

ตัวช้วี ดั ที่ 1.3 ระดบั ความสำเรจ็ ในการออกแบบกระบวนการปฏิบตั งิ านวถิ ีใหม่
(Working Process Redesigned)

นำ้ หนัก : รอ้ ยละ 10
คำอธิบาย :

กรมการแพทย์มุ่งมั่นพัฒนาการดำเนินงานสู่ความเป็นเลิศ และการทำงานในรูปแบบราชการ 4.0
ด้วยนวัตกรรมและการจัดการคุณภาพ โดยให้ความสำคัญต่อการปรับปรุงบริการ กระบวนการทำงานท่ี
ตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอย่างต่อเนื่อง และจากสถานการณ์โรคติดเช้ือ
ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ทำให้กรมต้องปรับกระบวนการทำงานทส่ี ามารถรับมือกับสถานการณด์ ังกล่าว
ได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันท่วงที โดยกรมได้ออกแบบกระบวนการบริการทางการแพทย์วิถีใหม่ (New
Normal Medical Service) โดยมีวตั ถปุ ระสงค์หลักในการลดการแพรก่ ระจายเชอ้ื ในโรงพยาบาล ภายใตก้ รอบ
การดำเนินการ 3 ด้านคือ (๑) ความปลอดภัยของผู้ป่วยและบุคลากรทางการแพทย์ (๒) ลดความแออัด
ในสถานพยาบาล (๓) ความเสมอภาคในการเข้าถึงบริการทางการแพทย์ และเพื่อให้การบริการทางการแพทย์
วิถีใหม่สามารถดำเนินการได้อย่างเหมาะสมและรวดเร็วทันเวลาและทันต่อเหตุการณ์ กรมจึงมีนโยบายให้
ปรับปรงุ กระบวนการปฏบิ ัติงานวถิ ีใหม่ของหน่วยงานสนบั สนนุ ซง่ึ เปน็ กลไกสำคัญในการส่งเสริมสนับสนุนการ
ทำงานของกระบวนการหลักคือหน่วยบริการทางการแพทย์ของกรมให้สำเร็จตามเปา้ หมายทีต่ ั้งไวไ้ ปพร้อมกนั
ด้วย โดยมีกรอบในการดำเนินการ 4 ด้าน ดังนี้ (1) Integration (2) One stop (3) Distancing (4)
Teamwork โดยหน่วยงานสนับสนุนส่วนกลางจำนวน 11 หน่วยงาน ได้เข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการการ
พัฒนากระบวนการปฏิบัติงานวิถีใหม่ หน่วยงานสนับสนุน กรมการแพทย์ ในเดือนกรกฎาคม 2563 เพื่อรับ
ความรแู้ ละเทคนิคการวเิ คราะห์และปรับปรุง/ ออกแบบกระบวนการทำงานใหม่ พรอ้ มทัง้ รบั นโยบายจากท่าน
อธบิ ดใี นการปรับปรุงกระบวนการทำงานของแต่ละหน่วยงานทสี่ ามารถตอบสนองหน่วยงานบริการของกรมได้
อย่างเป็นรูปธรรม และสามารถนำไปปฏบิ ตั ไิ ดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพต่อไป

เกณฑก์ ารให้คะแนน :

ระดับคะแนน เกณฑก์ ารให้คะแนน
1
2 วิเคราะห์กระบวนการหลกั ของหน่วยงานตามหลกั วชิ าการ เชน่ Mind map, Business
Model หรือวิธีการอนื่ ๆ ทห่ี น่วยงานเลอื กใช้
3 กำหนดและปรับปรุง/ ออกแบบกระบวนการปฏบิ ตั ิงานวถิ ีใหม่ (Working Process
Redesigned)

ทดลองใช้และปรับปรงุ กระบวนการทกี่ ำหนดในระดับคะแนนท่ี 2 ให้สมบรู ณ์ภายในไตร
มาสท่ี 1 (วันท่ี 31 ธนั วาคม 2563) และสอื่ สารให้หนว่ ยงานในสงั กดั กรมการแพทย์
รับทราบและนำไปปฏิบตั ิ

4 สำรวจความพงึ พอใจของผูร้ บั บริการและผูม้ ีส่วนไดส้ ว่ นเสียในกระบวนการทส่ี ื่อสาร

5 ความพึงพอใจของผู้รับบรกิ ารในแตล่ ะกระบวนการท่ีปรับปรุงไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 80

43

คมู่ อื การประเมนิ ผลการปฏิบัตริ าชการตามคำรบั รองการปฏิบตั ริ าชการของหน่วยงานในสงั กดั กรมการแพทย์
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

แนวทางการประเมนิ ผล :
• ผลการวิเคราะห์กระบวนการ
• ชือ่ และ Flow Chart กระบวนการปฏิบัตงิ านวถิ ใี หม่ (Working Process Redesigned)
• ผลการดำเนนิ งานการปรบั ปรุง/ ออกแบบกระบวนการ เม่อื สิ้นไตรมาสที่ 1 (วันที่ 31 ธันวาคม 2563)
• ผลสำรวจความพงึ พอใจของผู้รบั บรกิ ารและผูม้ ีส่วนได้สว่ นเสยี

ทีป่ รึกษาตวั ชี้วดั : นายแพทยว์ ีรวฒุ ิ อ่มิ สำราญ รองอธิบดกี รมการแพทย์

หน่วยงานเจ้าภาพในการติดตามและประเมินผล : กลมุ่ พัฒนาระบบบรหิ าร

ผู้กำกับตัวชี้วัด : ผู้อำนวยการกลมุ่ พฒั นาระบบบริหาร เบอร์ติดต่อ : 02 590 6132

ผ้รู ับผดิ ชอบตัวชวี้ ดั : นางวรนุช นาคนิยม เบอร์ติดต่อ : 02 590 6133

นางสาวปารนนั ท์ นาคนยิ ม เบอร์ติดต่อ : 02 590 6137

44

คู่มือการประเมินผลการปฏิบัตริ าชการตามคำรบั รองการปฏบิ ตั ริ าชการของหน่วยงานในสังกดั กรมการแพทย์
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

มติ ิท่ี 2 ดา้ นคณุ ภาพ

ตัวชีว้ ดั ที่ 2.1 ระดบั ความสำเรจ็ ของการจัดทำคมู่ ือการให้บรกิ ารประชาชน
น้ำหนกั : ร้อยละ 3
คำอธิบาย :

• ตามยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (2560-2579) ยุทธศาสตร์ที่ 6 ยุทธศาสตร์ด้านการปรับสมดุลและ
พัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครฐั ประเด็นที่ 6.2 การยกระดบั งานบริการประชาชนและการอำนวยความสะดวก
ของภาครัฐสู่ความเป็นเลิศ เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการทั้งประชาชนและนักธุรกิจเอกชน โดยมีการ
เชื่อมโยงผ่านระบบดิจิทัลอย่างเต็มรูปแบบตั้งแต่ต้นจนจบกระบวนการ เชื่อมโยงทุกส่วนราชการในการให้บริการ
ประชาชน เช่น การพัฒนาระบบกลางของภาครัฐในการให้บริการธุรกิจตลอดวงจรการประกอบธุรกิจ (Single
Portal for Business) ด้วยการใช้ระบบดิจิทัลบูรณาการข้อมูล/เอกสารระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจะทำให้
สามารถติดต่อราชการได้แบบเบ็ดเสร็จได้ตลอดวงจร โปร่งใสตรวจสอบได้ และผู้รับบริการได้รับความสะดวก
สามารถเขา้ ถึงงานบริการภาครัฐได้ง่าย ทั่วถึง และหลากหลายรูปแบบตามความเหมาะสม

คำนยิ าม :

• ข้อตกลงระดับการให้บริการ (Service Level Agreement : SLA) เป็นเอกสารที่บันทึกข้อตกลง

ระหว่างผู้ให้บริการ และผู้รับบริการเป็นลายลักษณ์อักษรอย่างชัดเจน โดยทั้ง 2 ฝ่ายต้องร่วมกันกำหนด

ขอบเขตของการให้บริการ ระดับการให้บริการ (Level of Service) ขั้นต่ำที่ทั้งสองฝ่ายยอมรับได้ซึ่งข้อตกลง

ระดับการให้บริการเปรียบเสมือนพันธะสัญญาถึงระดับคุณภาพของบริการและความโปร่งใสที่ผู้ให้บริการมี

ให้แก่ผู้รับบริการ ดังนั้น องค์ประกอบของข้อตกลงจะประกอบด้วย ขอบเขตการให้บริการ ข้อกำหนดการ

ใหบ้ ริการ ระดบั การใหบ้ ริการ ขน้ั ตอนการใหบ้ ริการ และการรับเรื่องราวรอ้ งเรยี น

• คู่มือการให้บริการเป็นการต่อยอดจาก “ข้อตกลงระดับการให้บริการ (Service Level Agreement :

SLA)” ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 เพื่อเป็นการยกระดับคุณภาพการให้บริการของหน่วยงานในสังกัด

กรมการแพทย์

เกณฑ์การใหค้ ะแนน :

กำหนดเป็นระดับความสำเร็จของการจัดทำคู่มือการให้บริการประชาชน ที่ต้องมีการดำเนินการจัดทำ

แผนปรับปรุงกระบวนงานที่นำไปสู่ข้อตกลงระดับการให้บริการที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้รับบริการ มีการ

ดำเนินการตามแผนปรับปรุง/พัฒนางานบริการ และมีคู่มือการให้บริการประชาชนตามแผนการปรับปรุงฯ โดย

ระดับความสำเร็จกำหนดเป็น Milestone

ระดบั คะแนน ข้นั ตอนที่ 1 ระดบั ข้นั ของความสำเรจ็ (Milestone) ข้ันตอนท่ี 5

ขนั้ ตอนท่ี 2 ขัน้ ตอนที่ 3 ข้นั ตอนที่ 4

1✓

2 ✓✓

3 ✓✓✓

4 ✓✓✓✓

5 ✓✓✓✓✓

45

ค่มู อื การประเมนิ ผลการปฏิบัตริ าชการตามคำรบั รองการปฏบิ ัติราชการของหน่วยงานในสงั กัดกรมการแพทย์
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

โดยที่ :

ระดบั คะแนน เกณฑ์การใหค้ ะแนน

1 สง่ บคุ ลากรเข้ารว่ มการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาคุณภาพการใหบ้ ริการประชาชน

2 จดั ทำแผนปรับปรงุ /พัฒนางานบรกิ าร (กระบวนงานบริการ) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
(รปู แบบ Gantt Chart) จำนวน 3 กระบวนงาน

3 ปรับปรงุ /พฒั นากระบวนงานบรกิ าร ตามแบบฟอรม์ A-E จำนวน 3 กระบวนงาน
ตามแผน ฯ ในข้นั ตอนท่ี 2

4 จัดทำค่มู ือการใหบ้ รกิ ารประชาชนในรปู แบบคู่มืออิเล็กทรอนิกส์ และ เผยแพรบ่ นเว็บไซต์ หรือ
Social Media ของหน่วยงาน จำนวน 3 กระบวนงาน ตามแผน ฯ ในข้นั ตอนที่ 2

5 สง่ ผลงานคมู่ ือการใหบ้ ริการประชาชนเข้ารว่ มการประกวดคดั เลอื กหนว่ ยงานพัฒนาคณุ ภาพ
การให้บริการประชาชนดเี ด่น กรมการแพทย์

แบ่งเกณฑก์ ารประเมินเป็น 2 รอบ ได้แก่ รอบ 6 เดือน และ รอบ 12 เดือน ดงั นี้

• การประเมินรอบ 6 เดือน (ระหวา่ งวันที่ 1 ตลุ าคม 2563 – 28 กุมภาพันธ์ 2564)
• การประเมินรอบ 12 เดอื น (ระหวา่ งวันที่ 1 มนี าคม 2564 – 31 กรกฎาคม 2564)

ระดับคะแนน รายละเอียดการดำเนินงาน เอกสาร/หลกั ฐานการประเมินผล

1 สง่ บคุ ลากรเขา้ รว่ มการประชมุ เชงิ ปฏิบตั กิ าร - หนงั สือ/หลักฐานแจ้งการส่งบคุ ลากรเขา้ รว่ ม
เพอ่ื พฒั นาคุณภาพการใหบ้ ริการประชาชน ประชมุ เชิงปฏิบตั กิ ารฯ ภายในระยะเวลาที่
กำหนด

- บุคลากรของหนว่ ยงานลงชือ่ เข้าร่วมประชมุ

2 จดั ทำแผนปรบั ปรงุ /พฒั นางานบริการ - แผนการจดั ทำคูม่ อื บรกิ ารประชาชน

(กระบวนงานบริการ) ประจำปีงบประมาณ (ตามแบบฟอร์มที่ 1 แผนการจดั ทำคู่มือการ
พ.ศ. 2564 (รูปแบบ Gantt Chart) จำนวน 3 ให้บรกิ ารประชาชน)
กระบวนงาน

3 ปรับปรงุ /พฒั นากระบวนงานบริการ ตาม - เอกสารการปรับปรงุ /พฒั นากระบวนงาน
แบบฟอรม์ A-E จำนวน 3 กระบวนงาน บรกิ าร (A-E) จำนวน 3 กระบวนงาน (ตาม

ตามแผน ฯ ในขน้ั ตอนที่ 2 แบบฟอรม์ ท่ี 2 การปรบั ปรุง/พัฒนา

กระบวนงานบรกิ าร (A-E))

4 จัดทำค่มู ือการให้บรกิ ารประชาชนในรูปแบบ - Link website/QR code/Social media ท่ี

คู่มอื อิเล็กทรอนิกส์ และ เผยแพร่บนเว็บไซต์ เผยแพร่คู่มือบริการประชาชน จำนวน 3

หรอื Social Media ของหน่วยงาน จำนวน 3 กระบวนงาน ซึ่งเป็นกระบวนงานเดียวกบั ท่ี
กระบวนงาน ตามแผน ฯ ในข้ันตอนท่ี 2 หนว่ ยงานปรบั ปรุง/พัฒนาฯ ตามแผนใน

ขัน้ ตอนที่ 2 (ตามแบบฟอร์มท่ี 3 คูม่ ือการ

ให้บรกิ ารประชาชน)

5 ส่งผลงานคูม่ ือการใหบ้ ริการประชาชนเข้าร่วม - หนงั สือนำสง่ คูม่ ือบริการประชาชนเขา้ รว่ ม

การประกวดคัดเลือกหน่วยงานพัฒนา ประกวดคดั เลือก
คุณภาพการให้บรกิ ารประชาชนดเี ด่น - ค่มู ือบริการประชาชนท่ีมรี ปู แบบเนอ้ื หา
กรมการแพทย์ ตามท่กี ำหนด

46

คู่มือการประเมนิ ผลการปฏิบตั ริ าชการตามคำรับรองการปฏบิ ตั ริ าชการของหน่วยงานในสงั กดั กรมการแพทย์
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

แนวทางการประเมนิ ผล
• แบบฟอร์มที่ 1 แผนการจัดทำคูม่ อื การให้บริการประชาชน (รูปแบบ Gantt Chart)
• แบบฟอรม์ ที่ 2 การปรบั ปรงุ /พฒั นากระบวนงานบรกิ าร (A-E)
• แบบฟอรม์ ที่ 3 ค่มู ือการให้บริการประชาชน
• แนวทางกำหนดรูปแบบเน้อื หาของคู่มอื การให้บรกิ ารประชาชน

หมายเหตุ : หน่วยงานสามารถดาวนโ์ หลดแบบฟอร์มแนวทางการประเมนิ ผลได้จาก QR CODE ลา่ ง

แบบฟอรม์ ทเ่ี ก่ยี วข้อง

ปรึกษาตัวชว้ี ดั : นายแพทย์วีรวฒุ ิ อ่ิมสำราญ รองอธิบดีกรมการแพทย์

หนว่ ยงานเจ้าภาพในการติดตามและประเมินผล : กลมุ่ พฒั นาระบบบริหาร

ผู้กำกับตัวช้ีวัด : ผู้อำนวยการกลุม่ พัฒนาระบบบรหิ าร เบอรต์ ิดตอ่ : 0 2590 6132

ผรู้ ับผิดชอบตวั ชวี้ ัด : นางสาวธารีพร ตตยิ บุญสูง เบอร์ติดตอ่ : 0 2590 6138

ว่าท่ี ร.ต.ทตั พลฒ์ บัวขาว เบอร์ติดต่อ : 0 2590 6136

47

คูม่ อื การประเมนิ ผลการปฏิบตั ริ าชการตามคำรับรองการปฏิบัตริ าชการของหนว่ ยงานในสังกัดกรมการแพทย์
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ตวั ชว้ี ัดท่ี 2.2 ระดบั ความสำเรจ็ ในการเตรียมความพร้อมการขอสมคั รรางวัลเลิศรัฐ สาขาบรกิ ารภาครฐั

น้ำหนัก : รอ้ ยละ 2
คำอธบิ าย :

ตามที่สำนักงาน ก.พ.ร. กำหนดให้มีการมอบรางวัลเลิศรัฐ สาขาบริการภาครัฐ ให้กับ
หน่วยงานของรัฐที่มีผลการพัฒนาคุณภาพการให้บริการ เพื่อประชาชนได้รับบริการที่สะดวก รวดเร็ว โปร่งใส
เป็นธรรม และเป็นที่พึงพอใจ ดังนั้นหน่วยงานที่ได้รับรางวัลเลิศรัฐ สาขาบริการภาครัฐ แส ดงให้เห็นว่าเป็น
หน่วยงานทม่ี ีผลการทำงานในการยกระดับคุณภาพการให้บริการที่ประสบผลสำเรจ็ สามารถสรา้ งขวัญกำลังใจ
รวมทั้งกระตุ้นให้หน่วยงานมีความมุ่งมั่นและตั้งใจในการทำหน้าที่ให้ดียิ่งขึ้น รวมทั้งสามารถเป็นต้นแบบที่ดี
ให้แกห่ น่วยงานอน่ื ๆ ใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาระบบการให้บริการและระบบการบรหิ ารของหน่วยงานให้ดี
ยิง่ ข้ึนตอ่ ไป

รางวลั เลศิ รฐั สาขาบริการภาครัฐ ประกอบดว้ ย 4 ประเภทรางวลั ได้แก่
1.) ประเภทนวัตกรรมการบรกิ าร หมายถึง การพัฒนาการให้บริการ ดว้ ยการสร้างนวัตกรรม
จากการนำแนวคิด องค์ความรู้ ทักษะประสบการณ์ และเทคโนโลยี มาประยุกต์ พัฒนาหรือสร้างรูปแบบ
การใหบ้ ริการ กระบวนการ/ระบบบริการรูปแบบใหม่ ๆ ภายใตก้ ารสง่ เสริมของผู้นำองคก์ ร และการมีส่วนร่วม
ของเจา้ หน้าที่ ซ่งึ จะส่งผลใหเ้ กิดประสทิ ธภิ าพและประสิทธผิ ลในการบรกิ ารทด่ี ีข้นึ กวา่ เดมิ อยา่ งก้าวกระโดด
2.) ประเภทพัฒนาการบริการ หมายถึง การพัฒนาการให้บริการแล้วส่งผลให้การบริการดี
ขึน้ จากเดิมอยา่ งมนี ัยสำคญั หรือเห็นเปน็ ท่ีประจกั ษ์ รวมถึงการทำงานในเชิงบรหิ ารจดั การเพ่อื ใหเ้ กิดประโยชน์
หรอื มีผลกระทบสงู ตอ่ ประชาชนในวงกว้าง หรือแก้ไขปัญหาความเดอื ดรอ้ นของประชาชน/กลุ่มเป้าหมายได้
3.) ประเภทขยายผลมาตรฐานการบริการ หมายถึง การนำระบบ แนวทางการปฏิบัติงาน
มาตรฐานการปฏิบตั ิงานในผลงานท่ีไดร้ ับรางวัลบริการภาครัฐ ระดบั ดีเด่น ไปขยายผลในทกุ หน่วยบริการสาขา
หรือพื้นที่ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริการ และควบคุมรูปแบบ คุณภาพ และมาตรฐานของงานบริการให้คง
อย่ใู นระดบั เดยี วกนั หรอื ดกี ว่าในทกุ หนว่ ยบริการสาขาหรอื พ้นื ที่
4.) ประเภทบูรณาการข้อมูลเพื่อการบริการ หมายถึง การเพิ่มประสิทธิภาพหรือการ
เปลี่ยนแปลงการให้บริการที่เป็นผลมาจากความสามารถในการทำงานร่วมกัน (Interoperability) ระหว่าง
หน่วยงานของรัฐ และทำให้เกิดการให้บริการในรูปแบบดิจิทัล ภายใต้สิทธิการใช้งานที่เหมาะสมและมีการ
รกั ษาความปลอดภัยของข้อมูล ทงั้ นี้ ถ้าเปน็ การเช่อื มโยงขอ้ มลู สว่ นบคุ คลการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากข้อมูล
ดงั กลา่ ว ตอ้ งไดร้ ับความยินยอม (consent) หรือ การร้องขอ (request) จากเจ้าของขอ้ มลู นัน้ ก่อน
เพื่อให้มั่นใจได้ว่าหน่วยงานในสังกัดกรมการแพทย์มีการพัฒนา ปรับปรุงและยกระดับ
คุณภาพการให้บริการที่ตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการอย่างแท้จริง กรมการแพทย์จึงได้สนับสนุนให้
หน่วยงานในสังกัดส่งผลงานเข้าสมัครรางวัลเลิศรัฐ สาขาบริการภาครัฐ โดยกำหนดเป็นตัวชี้วัด ระดับ
ความสำเรจ็ ในการเตรยี มความพรอ้ มการขอสมัครรางวัลเลศิ รฐั สาขาบรกิ ารภาครัฐ

48

คู่มือการประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ริ าชการตามคำรับรองการปฏิบตั ิราชการของหน่วยงานในสงั กัดกรมการแพทย์
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน :

ระดบั คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน

1 สง่ บุคลากรเข้าประชมุ เชิงปฏิบัติการเตรียมความพร้อมการสมัครรางวัลบรกิ ารภาครฐั

2-

3 หน่วยงานจดั ทำแบบฟอร์มบทสรปุ สาระสำคญั ของผลงานท่ีเสนอขอรบั รางวลั

4-

5 หน่วยงานส่งผลงานสมคั รรางวัลเลศิ รัฐ สาขาบรกิ ารภาครฐั ผา่ นระบบของสำนักงาน
ก.พ.ร.

แนวทางการประเมนิ ผล :
• หนว่ ยงานจดั ทำแบบฟอร์มบทสรปุ สาระสำคญั ของผลงานท่เี สนอขอรบั รางวัล
• การสง่ ผลงานสมัครรางวัลเลศิ รัฐ สาขาบรกิ ารภาครฐั ผา่ นระบบของสำนกั งาน ก.พ.ร.

ปรกึ ษาตวั ช้วี ดั : นายแพทย์วีรวฒุ ิ อิ่มสำราญ รองอธิบดกี รมการแพทย์

หนว่ ยงานเจา้ ภาพในการติดตามและประเมินผล : กลุม่ พฒั นาระบบบริหาร

ผกู้ ำกับตวั ชี้วดั : ผู้อำนวยการกลมุ่ พัฒนาระบบบริหาร เบอร์ตดิ ต่อ : 02 590 6132

ผู้รบั ผิดชอบตัวชวี้ ดั : นายเจษฎา แสงชูโต เบอรต์ ดิ ต่อ : 02 590 6139

นางสาวฉัตรดาว ลเี ชวงวงศ์ เบอรต์ ิดต่อ : 02 590 6137

49


Click to View FlipBook Version