คมู่ อื การประเมนิ ผลการปฏิบัตริ าชการตามคำรบั รองการปฏบิ ตั ิราชการของหนว่ ยงานในสงั กัดกรมการแพทย์
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
ตัวชี้วัดที่ 2.3 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามเกณฑ์ประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ในการดำเนนิ งานของหนว่ ยงานภาครัฐ(Integrity and Transparency Assessment : ITA)
น้ำหนกั : ร้อยละ 5
คำอธบิ าย :
พจิ ารณาจากระดบั ความสำเรจ็ ในการดำเนนิ การตามเกณฑป์ ระเมนิ คุณธรรมและความโปร่งใสในการ
ดำเนนิ งานของหนว่ ยงานภาครฐั (Integrity and Transparency Assessment : ITA) กรมการแพทย์
คำนยิ าม :
1. การประเมนิ คุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนนิ งานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and
Transparency Assessment : ITA) คือ เครื่องมือการประเมินการดำเนินงานด้านคุณธรรมและความ
โปรง่ ใสในหน่วยงาน ซึง่ เปน็ การประเมนิ เชิงบวกและเปน็ มาตรการป้องกนั การทุจริตโดยการสร้างความตระหนัก
ใหห้ นว่ ยงานภาครฐั มกี ารดำเนินงานอย่างโปรง่ ใสและมคี ุณธรรม
2. ผมู้ ีส่วนได้ส่วนเสยี ภายใน (Internal) หมายถึง บคุ ลากรในหนว่ ยงานทุกประเภท ตำแหนง่ ระดับ
ท่ที ำงานใหก้ ับหน่วยงานมาเปน็ ระยะเวลา ไมน่ อ้ ยกวา่ 1 ปี
3. ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก (External) หมายถึง บุคคล นิติบุคคล บริษัทเอกชน หรือหน่วยงาน
ของรัฐอ่นื ที่มารบั บริการหรือมาตดิ ต่อตามภารกิจของหน่วยงานในปงี บประมาณ พ.ศ. 2563
4. แบบวัดการรับรู้ หมายถึง แบบที่ใช้ในการประเมินการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายในและ
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอกทางระบบออนไลน์ตามเกณฑ์การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการ
ดำเนินงานของหนว่ ยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment : ITA)
เกณฑ์การให้คะแนน: กำหนดเป็นระดบั ข้ันความสำเร็จ (Milestone) ตามระดบั คะแนน 5 ระดับ ดังน้ี
ระดบั คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน
หน่วยงานสง่ ชอื่ ผ้แู ทนหรอื ผู้ประสานงานท่ีรับผดิ ชอบกจิ กรรม และ สง่ รายช่ือกลมุ่ ตัวอย่างเพื่อ
1 ตอบแบบวัดการรับรู้ของผู้มสี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี ภายใน (Internal) และผมู้ สี ่วนไดส้ ่วนเสียภายนอก
(External) ตามจำนวนทก่ี ำหนด
2 หน่วยงานดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการส่งเสริมคุณธรรม ป้องกัน ปราบปรามการทุจริต ซ่ึง
มงุ่ เน้นการเปดิ เผยข้อมลู การจดั การเรอ่ื งร้องเรยี น
3 หน่วยงานดำเนินการให้กลุ่มตัวอย่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใน (Internal) และผู้มีส่วนได้ส่วน
เสียภายนอก (External)รว่ มตอบแบบวดั การรับรู้ในระบบออนไลน์ตามจำนวนท่ีกำหนด
4 หน่วยงานนำเสนอและแลกเปลี่ยนเรยี นรู้การดำเนนิ งานในเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้
หน่วยงานสรุปผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการส่งเสริมคุณธรรม ป้องกัน ปราบปราม
5 การทุจริต และการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนนิ งานของหน่วยงานภาครัฐ
(Integrity and Transparency Assessment : ITA) รวมทั้งระบุปัจจัยสนับสนุน ปัญหา
อุปสรรคของปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 และแนวทางพัฒนาในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
50
คมู่ ือการประเมินผลการปฏบิ ตั ริ าชการตามคำรับรองการปฏบิ ัตริ าชการของหน่วยงานในสังกดั กรมการแพทย์
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
คำอธิบายแนวทางการประเมิน
ขั้นตอน/ เกณฑก์ ารให้คะแนน หลกั ฐาน ระยะเวลา
ระดับ ดำเนนิ การ
1 หน่วยงานส่งชอื่ ผแู้ ทนหรอื ผ้ปู ระสานงานที่รับผิดชอบ แบบฟอร์มการส่งรายชือ่ ต.ค.-พ.ย. 63
ม.ค.-ก.พ. 64
กิจกรรม และ ส่งรายช่ือกลุ่มตวั อย่างเพื่อตอบแบบวัด แบบฟอร์มส่งรายชือ่ กลุม่
การรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใน (Internal) ตัวอย่าง
และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก (External) ตาม
จำนวนท่กี ำหนด
2 หน่วยงานดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการส่งเสริม แบบรายงานผลตามแผน 15 พ.ย. 63 –
คุณธรรม ป้องกัน ปราบปรามการทุจริต ซึ่งมุ่งเน้น ปฏิบัติการส่งเสริมคุณธรรม 10 ก.พ. 64
การเปิดเผยข้อมลู การจัดการเรือ่ งรอ้ งเรยี น ป้องกัน ปราบปรามการทุจริต
รอบ 6 เดอื น
3 หน่วยงานดำเนินการให้กลุ่มตัวอย่างผู้มีส่วนได้ส่วน จำนวนผตู้ อบแบบวดั การรบั รู้ เม.ย. – มิ.ย. 63
เสียภายใน (Internal) และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มากกวา่ หรือเท่ากับจำนวนที่ (หรือตาม
ภายนอก (External)ร่วมตอบแบบวัดการรับรู้ใน ป.ป.ช. กำหนด ระยะเวลา
ระบบออนไลนต์ ามจำนวนท่ีกำหนด ท่ี ป.ป.ช.
กำหนด)
4 หน่วยงานนำเสนอและแลกเปลี่ยนเรียนรู้การ ตรวจสอบได้จากการนำเสนอ พ.ค. –ก.ค. 63
ดำเนนิ งานในเวทแี ลกเปล่ยี นเรยี นรู้
5 หน่วยงานสรุปผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ แบบสรปุ ผลการดำเนนิ งาน 1 – 31 กค. 63
ส่งเสริมคุณธรรม ป้องกัน ปราบปรามการทุจรติ และ
การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการ
ดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and
Transparency Assessment : ITA) รวมทั้งระบุ
ปัจจัยสนับสนุน ปัญหา อุปสรรคของปีงบประมาณ
พ.ศ. 2564 และแนวทางพัฒนาในปีงบประมาณ
พ.ศ. 2565
แนวทางการประเมนิ ผล :
• รอบการประเมนิ คร้ังที่ 1/2564 ระดบั คะแนน 1
• รอบการประเมิน คร้ังที่ 2/2564 ระดบั คะแนน 2-5
ทั้งนี้ หน่วยงานต้องดำเนินงานตามขั้นตอนเรียงตามระดับ หากมิได้ดำเนินการตามขั้นตอน/ระดับใด
จะไดร้ ับคะแนนตามจำนวนขนั้ ตอน/ระดบั ที่ไดด้ ำเนนิ การเท่านัน้
ท่ีปรึกษาตัวชีว้ ดั : นายแพทยม์ านสั โพธาภรณ์ รองอธิบดีกรมการแพทย์
นายแพทย์นายปราการ ถมยางกรู ท่ีปรึกษากรมการแพทย์
หนว่ ยงานเจา้ ภาพในการติดตามและประเมนิ ผล : กลมุ่ คุ้มครองจริยธรรม กฎหมายและวินัย
ผูก้ ำกับตัวชี้วัด : ผอู้ ำนวยการกลุ่มคมุ้ ครองจริยธรรม กฎหมายและวนิ ยั เบอร์ติดตอ่ : 0 2590 6149
ผรู้ บั ผิดชอบตวั ช้ีวัด : นางสาววราภรณ์ วรบุตร เบอร์ติดต่อ : 0 2590 6149
51
คมู่ ือการประเมินผลการปฏบิ ัตริ าชการตามคำรับรองการปฏิบตั ริ าชการของหน่วยงานในสงั กัดกรมการแพทย์
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
มิตทิ ี่ 3 ดา้ นประสิทธภิ าพ
ตัวช้ีวดั กรณีท่ี 1 กรณีที่ 2
มีครบ มีไม่ครบ
มิตทิ ี่ 3 ดา้ นประสิทธภิ าพ ทุกตัวชีว้ ัด ทุกตัวชี้วัด
น้ำหนกั นำ้ หนกั
• การบรหิ าร 3.1 รอ้ ยละความสำเรจ็ ของการเบกิ จ่ายเงินงบประมาณ (รอ้ ยละ) (ร้อยละ)
งบประมาณและ รายจา่ ยภาพรวม
การบรหิ ารพสั ดุ 55
3.2 รอ้ ยละความสำเร็จของการเบิกจ่ายเงนิ งบประมาณ
• การจดั การพลังงาน รายจ่ายลงทนุ 2-
3.3 ระดบั ความสำเร็จของการดำเนนิ การตามมาตรการ 35
ประหยดั พลงั งานของหน่วยงาน
10 10
รวม
หมายเหตุ : กรณที ่ี 1 หนว่ ยงานท่ีวดั ประกอบด้วย
1 โรงพยาบาลนพรตั นราชธานี 18 โรงพยาบาลธัญญารกั ษ์เชยี งใหม่
2 โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (วัดไรข่ ิง) 19 โรงพยาบาลธญั ญารักษ์สงขลา
3 โรงพยาบาลราชวถิ ี 20 โรงพยาบาลประสาทเชยี งใหม่
4 โรงพยาบาลเลิดสิน 21 โรงพยาบาลธัญญารักษข์ อนแก่น
5 โรงพยาบาลสงฆ์ 22 โรงพยาบาลมหาวชิราลงกรณธัญบุรี
6 สถาบันสริ นิ ธรเพื่อการฟืน้ ฟสู มรรถภาพทางการแพทย์ฯ 23 โรงพยาบาลธญั ญารักษ์ปตั ตานี
7 สถาบนั ทันตกรรม 24 โรงพยาบาลมะเร็งชลบุรี
8 สถาบันพยาธิวิทยา 25 โรงพยาบาลธัญญารกั ษแ์ ม่ฮ่องสอน
9 สถาบนั โรคทรวงอก 26 โรงพยาบาลมะเร็งอดุ รธานี
10 สถาบันสขุ ภาพเด็กแห่งชาตมิ หาราชินี 27 โรงพยาบาลมะเร็งลพบรุ ี
11 สถาบันประสาทวิทยา 28 โรงพยาบาลธัญญารกั ษ์อดุ รธานี
12 สถาบันมะเร็งแห่งชาติ 29 โรงพยาบาลมะเร็งลำปาง
13 โรงพยาบาลมะเรง็ สุราษฎร์ธานี 30 โรงพยาบาลสมเดจ็ พระสงั ฆราชญาณสงั วรฯ ชลบรุ ี
14 สถาบันบำบดั รกั ษาและฟืน้ ฟูผู้ตดิ ยาเสพติดแหง่ ชาติฯ 31 โรงพยาบาลมะเร็งอบุ ลราชธานี
15 สถาบันโรคผิวหนัง 32 โรงพยาบาลโรคผิวหนงั เขตรอ้ นฯ จ.ตรัง
16 สถาบนั เวชศาสตรส์ มเดจ็ พระสังฆราชญาณสังวรฯ 33 โรงพยาบาลเวชารักษล์ ำปาง
17 ศูนยน์ วัตกรรมผู้สงู อายุ
หมายเหตุ : กรณีท่ี 2 กรณีหนว่ ยงานภายในอาคารกรมการแพทย์
1 กลุม่ พัฒนาระบบบรหิ าร 7 สำนกั ดิจทิ ลั การแพทย์
2 กลุม่ ตรวจสอบภายใน 8 กองวิชาการแพทย์
3 สำนกั งานเลขานุการกรม 9 สำนกั นเิ ทศระบบการแพทย์
4 กองบริหารทรัพยากรบุคคล 10 สำนกั กฎหมายการแพทย์
5 กองยุทธศาสตร์และแผนงาน 11 กองบริหารการคลงั
6 สถาบนั วจิ ัยและประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์
52
คู่มอื การประเมินผลการปฏบิ ตั ริ าชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของหนว่ ยงานในสังกัดกรมการแพทย์
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
ตัวช้วี ัดที่ 3.1 รอ้ ยละความสำเรจ็ ของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจา่ ยภาพรวม
นำ้ หนัก : รอ้ ยละ...... (ตามกรณดี ังกล่าวข้างตน้ )
คำอธบิ าย :
1. การพิจารณาผลสำเร็จด้านการบริหารงบประมาณประจำปีจะใช้อัตราการเบิกจ่าย
งบประมาณรายจ่ายภาพรวมของหน่วยงาน จากระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์
(GFMIS)
2. การให้คะแนนจะพิจารณาตามความสามารถในการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่าย
ภาพรวมของหน่วยงานเทียบกบั วงเงินงบประมาณรายจ่ายภาพรวมท่หี น่วยงานไดร้ บั ตง้ั แต่เดอื นตลุ าคม 2561
ถึงเดือนกันยายน 2562 หากมีการโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณระหว่างปี จะนำยอดงบประมาณหลังโอน
เปลย่ี นแปลงแล้วมาเป็นฐานในการคำนวณ
เหตุผล :
ด้วยกรมบัญชีกลางไดจ้ ัดให้มีการมอบรางวลั องค์กรท่ีมีความเปน็ เลศิ ในการบรหิ ารจัดการด้าน
การเงินการคลังขึ้น ซึ่งรางวัลดงั กล่าวมีเจตจำนงเพื่อส่งเสริมการปฏิบัติงานดา้ นการเงนิ การคลังในภาพรวมของ
ส่วนราชการให้มีประสิทธิภาพ โดยยกย่องเชิดชูส่วนราชการที่ปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ และมีความโปร่งใสใน
การปฏิบัติงาน รวมทั้งเป็นขวัญกำลังใจให้กับส่วนราชการที่มีการบริหารจัดการภายใน (ด้านการเงินการคลัง)
ให้ได้รับการยกย่อง เป็นที่ยอมรับ เพราะการบริหารจัดการด้านการเงินการคลังเป็นองค์ประกอบสำคัญที่
ส่งเสรมิ ให้สว่ นราชการสามารถปฏบิ ตั งิ านในภารกจิ หลักได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ
เพื่อเป็นการส่งเสริมให้ส่วนราชการบริหารจัดการด้านการเงินการคลังอย่างถูกต้องโปร่งใส
และเป็นทีเ่ ช่อื ถอื ศรทั ธาของประชาชน โดยประเมนิ ในภาพรวมของส่วนราชการใน 5 มิติ คอื มติ ิดา้ นการจัดซ้ือ
จัดจ้าง มิติด้านการเบิกจ่าย มิติด้านการบัญชี มิติด้านการตรวจสอบภายใน และมิติด้านความรับผิดทางละเมิด
ซึ่งเป็นการประเมินตามขั้นตอนการบริหารด้านการเงินการคลัง กล่าวคือ เริ่มต้นจากดำเนินการจัดซื้อจัดจ้าง
เมื่อจัดซื้อจัดจ้างสำเร็จแล้วก็จะเข้าสู่ขั้นตอนการเบิกจ่ายงบประมาณ การลงบัญชี และมีการตรวจทานโดย
หนว่ ยตรวจสอบภายในของส่วนราชการ เพ่ือใหม้ ั่นใจว่ากระบวนงาน ทีด่ ำเนินการเป็นไปอยา่ งถกู ต้อง ครบถ้วน
และท้ังนี้ หากมกี ารผิดพลาดหรอื เกิดการละเมดิ ขน้ึ ก็จะเข้าสขู่ ั้นตอนการละเมดิ ทางแพ่งซง่ึ เปน็ มติ ดิ า้ นสุดท้าย
ดังน้ัน กองบรหิ ารการคลงั ในฐานะผู้รับผิดชอบด้านการบรหิ ารการเงินการคลัง ในดา้ นมิติการ
จัดซื้อ จัดจ้าง มิติด้านการเบิกจ่าย มิติด้านการบัญชี จึงได้กำหนดเป็นตัวช้ีวัดคำรับรองการปฏิบัติราชการของ
หน่วยงานในสังกัดกรมการแพทย์ ทั้งนี้เพื่อส่งผลให้กรมการแพทย์ได้รับการคัดเลือกเป็นองค์กรที่มีความเป็น
เลิศในการบริหารจัดการด้านการเงินการคลัง ตลอดจนสร้างความโปร่งใส และเป็นที่เชื่อถื อศรัทธาของ
ประชาชน
สูตรการคำนวณ :
เงนิ งบประมาณรายจา่ ยภาพรวมท่ีหน่วยงานเบกิ จา่ ยตั้งแต่ต้นปจี นถึงส้นิ เดือน ก.ค. 2564 x 100
วงเงินงบประมาณรายจา่ ยภาพรวมทห่ี นว่ ยงานได้รับตั้งแต่ตน้ ปีจนถงึ ส้นิ เดอื น ก.ค. 2564
53
คูม่ อื การประเมินผลการปฏบิ ัตริ าชการตามคำรบั รองการปฏบิ ตั ริ าชการของหนว่ ยงานในสงั กัดกรมการแพทย์
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน :
ช่วงปรบั เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน +/- รอ้ ยละ 2 ต่อ 1 คะแนน โดยกำหนดเกณฑก์ ารให้คะแนน ดังน้ี
ตวั ชว้ี ดั เกณฑก์ ารให้คะแนน
ระดับ 1 ระดบั 2 ระดบั 3 ระดับ 4 ระดบั 5
การเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจา่ ยภาพรวม
ณ ส้นิ เดือน กรกฎาคม 2564 76 78 80 82 84
คำอธบิ ายแนวทางการประเมนิ
ระดับ เกณฑก์ ารให้คะแนน เอกสาร/หลกั ฐานการประเมินผล
คะแนน
เอกสารสรุปรายงานผลการเบิกจา่ ย ในระบบ GFMIS
1 76% เอกสารสรปุ รายงานผลการเบิกจ่าย ในระบบ GFMIS
เอกสารสรุปรายงานผลการเบิกจ่าย ในระบบ GFMIS
2 78% เอกสารสรปุ รายงานผลการเบิกจา่ ย ในระบบ GFMIS
เอกสารสรุปรายงานผลการเบิกจ่าย ในระบบ GFMIS
3 80%
4 82%
5 84%
หมายเหตุ :
1. กำหนดระดับคะแนน 5 เท่ากับ รอ้ ยละ 84 ซึง่ เป็นค่าเป้าหมายร้อยละของการเบิกจ่ายเงนิ
งบประมาณรายจ่ายลงทนุ ตามมติคณะรัฐมนตรเี ห็นชอบ
2. ขอ้ มลู การใชจ้ า่ ยงบประมาณ ให้รวมการก่อหน้แี ละการเบิกจ่าย (PO+เบิกจ่าย)
3. เอกสารที่ใช้ในการตรวจสอบตัวชี้วัด : รายงานผลการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายภาพรวม
หนว่ ยงานในสังกดั กรมการแพทย์ ในระบบ GFMIS
ที่ปรึกษาตัวชีว้ ัด : นายแพทยณ์ ัฐพงศ์ วงศ์ววิ ฒั น์ รองอธิบดี กรมการแพทย์ เบอรต์ ิดตอ่ : 0 2590 6102
หนว่ ยงานเจ้าภาพในการติดตามและประเมินผล : กองบริหารการคลัง เบอร์ติดตอ่ : 0 2590 6099
ผู้กำกบั ตวั ชีว้ ดั : ผอู้ ำนวยการกองบรหิ ารการคลงั
ผูร้ ับผดิ ชอบตวั ช้วี ัด : ฝ่ายงบประมาณ
54
คู่มือการประเมนิ ผลการปฏิบัตริ าชการตามคำรับรองการปฏิบตั ริ าชการของหนว่ ยงานในสังกัดกรมการแพทย์
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
ตัวช้ีวัดที่ 3.2 รอ้ ยละความสำเร็จของการเบิกจ่ายเงนิ งบประมาณรายจ่ายลงทุน
นำ้ หนกั : รอ้ ยละ .... (ตามกรณีดังกลา่ วขา้ งตน้ )
คำอธบิ าย :
• การพิจารณาผลสำเร็จของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน จะใช้อัตราการเบิก
จ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุนของหน่วยงาน เป็นตัวชี้วัดความสามารถในการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ
รายจ่ายลงทุนของหน่วยงาน ทั้งนี้ไม่รวมเงินงบประมาณที่ได้รับการจัดสรรเพิ่มเติมระหว่างปีงบประมาณ โดย
จะใช้ข้อมูลการเบกิ จ่ายดงั กลา่ วจากระบบบริหารการเงินการคลงั ภาครฐั แบบอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (GFMIS)
• การให้คะแนนจะพจิ ารณาตามความสามารถในการเบิกจา่ ยเงนิ งบประมาณรายจ่ายลงทุนของ
หน่วยงานเทียบกับวงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุนที่หน่วยงานได้รับ หากมีการโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณ
ระหว่างปี (รายจ่ายประจำไปรายจ่ายลงทุน หรือรายจ่ายลงทุนไปรายจ่ายประจำ) จะนำยอดงบประมาณหลัง
โอนเปล่ียนแปลงแลว้ มาเป็นฐานในการคำนวณ
• รายจ่ายลงทุน หมายถึง รายจ่ายที่รัฐบาลจ่ายเพื่อจัดหาทรัพย์สินประเภททุน ทั้งที่มีตัวตน
และทรัพย์สินที่ไม่มีตัวตน ตลอดจนรายจ่ายที่รัฐบาลอุดหนุนหรือโอนให้แก่บุคคล องค์กร หรือรัฐวิสาหกิจโดย
ผรู้ ับไมต่ อ้ งจ่ายคืนให้รฐั บาลและผู้รบั นำไปใชจ้ ัดหาทรัพยส์ ินประเภททนุ เปน็ ตน้ สามารถตรวจสอบได้จากรหัส
งบประมาณรายจา่ ย รหสั ลักษณะงานตำแหนง่ ที่ 5 แสดงถึงลักษณะเศรษฐกจิ ที่สำนกั งบประมาณกำหนดให้
สูตรการคำนวณ :
เงนิ งบประมาณรายจา่ ยลงทนุ ทห่ี น่วยงานเบิกจ่ายตง้ั แตต่ ้นปีจนถึงสนิ้ เดือน ก.ค.2564 x 100
วงเงินงบประมาณรายจา่ ยลงทุนทหี่ นว่ ยงานได้รบั ตั้งแตต่ น้ ปจี นถงึ สน้ิ เดือน ก.ค.2564
เกณฑ์การให้คะแนน :
ชว่ งปรบั เกณฑ์การใหค้ ะแนน +/- รอ้ ยละ 2 ต่อ 1 คะแนน โดยกำหนดเกณฑ์การให้คะแนน ดงั นี้
ตัวช้วี ดั เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
ระดับ 1 ระดบั 2 ระดับ 3 ระดบั 4 ระดับ 5
การเบกิ จา่ ยเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน
ณ สน้ิ เดอื น ก.ค.2564 64 68 72 76 80
หมายเหตุ :
1. กำหนดระดับคะแนน 5 เท่ากับ ร้อยละ 80 ซง่ึ เปน็ คา่ เป้าหมายรอ้ ยละของการเบิกจ่ายเงนิ
งบประมาณรายจ่ายลงทุนตามมตคิ ณะรฐั มนตรเี ห็นชอบ
2. ข้อมลู การใชจ้ ่ายงบประมาณ ใหร้ วมการก่อหนแ้ี ละการเบิกจา่ ย (PO+เบกิ จ่าย)
3. เอกสารที่ใช้ในการตรวจสอบตัวชี้วัด : รายงานผลการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่าย ลงทุน
หนว่ ยงานในสังกดั กรมการแพทย์ ในระบบ GFMIS
55
คูม่ อื การประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ริ าชการตามคำรับรองการปฏบิ ตั ริ าชการของหน่วยงานในสงั กัดกรมการแพทย์
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
คำอธบิ ายแนวทางการประเมนิ
ระดับ เกณฑก์ ารให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการประเมินผล
คะแนน
1 64% เอกสารสรปุ รายงานผลการเบิกจ่าย ในระบบ GFMIS
2 68% เอกสารสรปุ รายงานผลการเบิกจ่าย ในระบบ GFMIS
3 72% เอกสารสรปุ รายงานผลการเบิกจ่าย ในระบบ GFMIS
4 76% เอกสารสรุปรายงานผลการเบิกจา่ ย ในระบบ GFMIS
5 80% เอกสารสรปุ รายงานผลการเบิกจ่าย ในระบบ GFMIS
ทปี่ รึกษาตวั ช้ีวัด : นายแพทยณ์ ฐั พงศ์ วงศว์ ิวฒั น์ รองอธิบดี กรมการแพทย์ เบอรต์ ดิ ตอ่ : 0 2590 6102
หน่วยงานเจา้ ภาพในการตดิ ตามและประเมินผล : กองบรหิ ารการคลัง เบอรต์ ิดต่อ : 0 2590 6099
ผกู้ ำกบั ตวั ชีว้ ัด : ผอู้ ำนวยการกองบริหารการคลัง
ผู้รบั ผิดชอบตัวชวี้ ดั : ฝ่ายงบประมาณ
56
คมู่ ือการประเมินผลการปฏบิ ัตริ าชการตามคำรับรองการปฏบิ ตั ริ าชการของหนว่ ยงานในสังกัดกรมการแพทย์
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
ตวั ช้วี ัดท่ี 3.3 ระดับความสำเร็จของการดำเนนิ การตามมาตรการประหยดั พลงั งานของหน่วยงาน
น้ำหนกั : รอ้ ยละ .............. (ตามกรณดี ังกล่าวขา้ งตน้ )
คำอธบิ าย:
พลังงานเป็นปัจจัยที่สำคัญในการตอบสนองความต้องการของประชาชน ภาคธุรกิจและ
อุตสาหกรรม แต่ประเทศไทยมิได้มีแหล่งพลังงานเชิงพาณิชย์ภายในประเทศมากพอกับความต้องการ
ทำให้ต้องพึ่งพาพลังงานจากต่างประเทศเป็นส่วนใหญ่ ปัจจุบันมูลค่ากว่า 5 แสนล้านบาท แนวทางสำคัญ
ที่จะช่วยลดอัตราการเพิ่มความต้องการใช้พลังงานของประเทศ คือการส่งเสริมให้มีการใช้พลังงาน
อย่างมีประสิทธิภาพและประหยัดในทุกภาคส่วน คณะรัฐมนตรีในการประชุมเมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2555 ได้มี
มติให้หน่วยงานราชการดำเนินมาตรการลดใช้พลังงานลงให้ได้อย่างน้อย 10% เพื่อเป็นตัวอย่างให้กับ
ภาคเอกชน ภาคประชาชน ในการชว่ ยลดรายจ่ายของประเทศโดยลดการนำเขา้ นำ้ มันจากต่างประเทศ
เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน :
กำหนดเปน็ ระดับข้ันของความสำเรจ็ (Milestone) แบง่ เกณฑก์ ารให้คะแนนเปน็ 5 ระดับ พจิ ารณา
จากความกา้ วหน้าของขนั้ ตอนการดำเนนิ งานตามเปา้ หมายแต่ละระดับ ดังนี้
ระดับคะแนน ขั้นตอนที่ 1 ระดบั ขน้ั ของความสำเรจ็ (Milestone) ขนั้ ตอนที่ 5
✓ ข้นั ตอนท่ี 2 ขน้ั ตอนที่ 3 ขั้นตอนที่ 4 ✓
1 ✓
2 ✓ ✓
3 ✓ ✓✓
4 ✓ ✓✓✓
5 ✓✓✓
โดยที่ :
ระดับ เกณฑก์ ารให้คะแนน
คะแนน
1 มีการกำหนดผ้รู ับผิดชอบในการรายงานผลการใชพ้ ลังงาน ในเว็บ http://www.e-
report.energy.go.th อยา่ งชัดเจน
2 มีการปรับปรุงมาตรการประหยัดพลังงานปีงบประมาณ 2564 ในเว็บ http://www.e-
report.energy.go.th
3 มีการรายงานข้อมูลพื้นฐานสำหรับการประเมินปริมาณการใช้พลังงานมาตรฐาน และค่าดัชนีการ
ใช้พลังงานประจำปีงบประมาณ 2564 ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ สนพ. กำหนดได้แล้วเสร็จและ
ครบถว้ น 6 เดอื น ในเวบ็ http://www.e-report.energy.go.th (เดือน ก.ย. 2563 – ก.พ. 2564)
4 มีการรายงานข้อมูลปริมาณพลังงานที่ใช้จริงไฟฟ้า หน่วยkWh; กิโลวัตต์-ชั่วโมง และ ข้อมูล
ปริมาณพลังงานที่ใช้จริงน้ำมัน หน่วย ลิตร ประจำปีงบประมาณ 2563 ครบถ้วนตามรอบการ
ประเมินรอบที่ 1 ในเว็บ http://www.e-report.energy.go.th (เดือน ก.ย. 2563 – ก.พ. 2564)
แลว้ เสรจ็ ภายในเดือน มีนาคม 2564
5 มีการรายงานข้อมูลพื้นฐานสำหรับการประเมินปริมาณการใช้พลังงานมาตรฐาน และค่าดัชนีการ
ใช้พลังงานประจำปีงบประมาณ 2564 ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ สนพ. กำหนดได้แล้วเสร็จและ
ครบถ้วน 11 เดือน ในเวบ็ http://www.e-report.energy.go.th (เดอื น ก.ย. 2563 – ก.ค. 2564)
มีการรายงานข้อมูลปริมาณพลังงานที่ใช้จริงไฟฟ้า หน่วยkWh; กิโลวัตต์-ชั่วโมง และ ข้อมูล
ปริมาณพลังงานที่ใช้จริงน้ำมัน หน่วย ลิตร ประจำปีงบประมาณ 2564 ครบถ้วนตามรอบการ
ประเมินรอบที่ 2 ในเว็บ http://www.e-report.energy.go.th (เดือน มี.ค. 2564 – ก.ค. 2564)
แล้วเสร็จภายในเดอื น สิงหาคม(ก่อนเจา้ ภาพตรวจตวั ชว้ี ัด) 2564
57
ค่มู อื การประเมนิ ผลการปฏิบัตริ าชการตามคำรับรองการปฏบิ ัตริ าชการของหน่วยงานในสังกัดกรมการแพทย์
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
คำอธบิ ายแนวทางการประเมนิ
ระดับ เกณฑ์การใหค้ ะแนน เอกสารทใี่ ช้ในการตรวจสอบ
คะแนน
มีการกำหนดผู้รับผิดชอบในการรายงานผล - เอกสารการกำหนดผู้รับผิดชอบในการรายงานผล
1 ก า ร ใ ช ้ พลั งงาน ใ น เว ็ บ http://www.e- ก า ร ใ ช ้ พ ล ั ง ง า น ใ น เ ว ็ บ http: / / www. e-
report.energy.go.th อย่างชัดเจน report.energy.go.th (รปู แบบไฟล์ : PDF/Image )
มีการปรับปรุงมาตรการประหยัดพลังงาน - เอกสารการปรับปรุงมาตรการประหยัดพลังงาน
2 ปีงบประมาณ 2564 ในเว็บ http://www.e- ป ี ง บ ป ร ะ ม า ณ 2564 ใ น เ ว ็ บ http://www.e-
report.energy.go.th report.energy.go.thร(ู รูปแบบไฟล์ : PDF/Image )
3 มกี ารรายงานข้อมลู พืน้ ฐานสำหรบั การประเมิน - เอกสารการรายงานข้อมูลพื้นฐานสำหรับการ
ปริมาณการใช้พลังงานมาตรฐาน และค่าดัชนี ประเมินปริมาณการใช้พลังงานมาตรฐาน และค่าดัชนี
การใชพ้ ลงั งานประจำปีงบประมาณ 2564 ตาม การใช้พลังงานประจำปีงบประมาณ 2564 ในเว็บ
หลักเกณฑ์และวิธีการที่ สนพ. กำหนดได้แล้ว http://www.e-report.energy.go.th (รูปแบบไฟล์
เ ส ร ็ จ แ ล ะ ค ร บ ถ ้ ว น 6 เ ด ื อ น ใ น เ ว็ บ : PDF/Image )
http://www.e-report.energy.go.th (เดือน
ก.ย. 2563 – ก.พ. 2564)
4 มีการรายงานข้อมูลปริมาณพลังงานที่ใช้จริง - เอกสารการรายงานข้อมูลปริมาณพลังงานที่ใช้จริง
ไฟฟา้ หนว่ ยkWh; กโิ ลวตั ต์-ชัว่ โมง และ ข้อมูล และ ข้อมูลปริมาณพลังงานที่ใช้จริงน้ำมัน ประจำปี
ปริมาณพลังงานที่ใช้จริงน้ำมัน หน่วย ลิตร งบประมาณ 2564 ครบถว้ นตามรอบการประเมินรอบ
ประจำปีงบประมาณ 2563 ครบถ้วนตามรอบ ที่ 1 ในเว็บ http://www.e-report.energy.go.th (
การประเมินรอบที่ 1 ในเว็บ http://www.e- เดือน ก.ย. 2563 – ก.พ. 2564 ) (รูปแบบไฟล์ :
report.energy.go.th ( เดือน ก.ย. 2563 – PDF/Image )
ก.พ. 2564 ) แล้วเสร็จภายในเดือน มีนาคม
2564
5 มีการรายงานขอ้ มูลพื้นฐานสำหรับการประเมิน - เอกสารการรายงานข้อมูลพื้นฐานสำหรับการ
ปริมาณการใช้พลังงานมาตรฐาน และค่าดัชนี ประเมินปริมาณการใช้พลังงานมาตรฐาน และค่าดัชนี
การใชพ้ ลังงานประจำปีงบประมาณ 2564 ตาม การใช้พลังงานประจำปีงบประมาณ 2564 ในเว็บ
หลักเกณฑ์และวิธีการที่ สนพ. กำหนดได้แล้ว http://www.e-report.energy.go.th (รูปแบบไฟล์
เ ส ร ็ จ แ ล ะ ค ร บ ถ ้ ว น 11 เ ด ื อ น ใ น เว็ บ : PDF/Image )
http://www.e-report.energy.go.th (เดือน
ก.ย. 2563 – ก.ค. 2564)
หมายเหตุ : กรณหี นว่ ยงานในอาคารกรมการแพทย์ ให้ใช้ฐานข้อมูลของกองบรหิ ารการคลังในการประเมนิ ผล
ท่ปี รกึ ษาตวั ชี้วัด : นายแพทย์ณฐั พงศ์ วงศว์ ิวฒั น์ รองอธบิ ดกี รมการแพทย์ เบอรต์ ดิ ต่อ : 0 2590 6102
หน่วยงานเจา้ ภาพในการติดตามและประเมนิ ผล : กองบริหารการคลงั เบอรต์ ดิ ตอ่ : 0 2590 6121
ผกู้ ำกบั ตวั ชวี้ ดั : ผ้อู ำนวยการกองบริหารการคลัง
ผู้รบั ผดิ ชอบตัวช้วี ดั : กลุ่มงานพัฒนาระบบการเงินและพสั ดุ
58
คู่มือการประเมินผลการปฏิบตั ริ าชการตามคำรบั รองการปฏิบตั ิราชการของหนว่ ยงานในสังกัดกรมการแพทย์
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
มติ ทิ ี่ 4 ดา้ นพัฒนาองค์กร
ตวั ชี้วดั ที่ 4.1 ระดบั ความสำเรจ็ ของการบริหารยุทธศาสตร์ (ของหนว่ ยงาน)
น้ำหนกั : ร้อยละ 6
คำอธิบาย :
การบริหารยุทธศาสตร์ คือ การบริหารจัดการองค์กรที่ช่วยให้ตระหนักถึงความสามารถของ
องคก์ ร ทง้ั จุดเด่น จุดท่ตี อ้ งพัฒนา ที่เปน็ ผลมาจากสภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกองค์กร ความต้องการของ
ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เปลี่ยนแปลงไปจากสภาวะการเปลี่ยนแปลงทั้งทางเศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยี
โรคอุบัติใหม่อุบัติซ้ำ รูปแบบการดำเนินชีวิตวิถีใหม่ (New Normal) ที่ส่งผลทั้งทางตรงและทางอ้อมต่อระบบการ
ทำงานและผู้ปฏิบัติงาน ดังนั้นการออกแบบกระบวนการทำงานให้เอื้อต่อการทำงานให้มีความคล่องตัว มีความ
วอ่ งไวในการสนองตอบต่อสภาวะการเปลีย่ นแปลงได้อย่างมีทิศทางทชี่ ัดเจนและทันท่วงที
กรมการแพทย์ ดำเนินการสื่อสารและถ่ายทอดนโยบายและทิศทางการดำเนินงานของกรมการ
แพทย์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ภายใต้แผนปฏิบัติราชการกรมการแพทย์ พ.ศ.2563 – 2565
โดยมีจุดมุ่งหมายให้หน่วยงานในสังกัดกรมการแพทย์ทุกแห่งแปลงแผนสู่การปฏิบัติอย่างมีทิศทางและนำองค์กร
ให้บรรลุตามเป้าหมายของแผนพัฒนาองค์กรโกระบวนการบริหารยุทธศาสตร์ที่เป็นระบบ ตั้งแต่การวางแผน
การปฏิบัติตามแผน การตรวจสอบการปฏิบัติตามแผน และการปรับปรุงแก้ไขเพื่อให้เกิดความมั่นใจว่า
หน่วยงานสามารถประเมินความเสี่ยงและปรับเปลี่ยนวิธีการ และจัดสรรทรัพยากรเพื่อให้การบริหารงานเป็นไป
อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล รวมถึงสามารถประเมินผลการดำเนินงานเมื่อสิ้นปีงบประมาณ และวางแผน
การบรหิ ารงานอย่างเปน็ ระบบและมคี ุณภาพยิง่ ข้ึน
คำนิยาม : แผนปฏิบัติการของหน่วยงาน หมายถึง แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 จากเงิน
งบประมาณและเงินบำรงุ
เกณฑ์การให้คะแนน
ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน
1 ส่อื สารทศิ ทาง/นโยบายของกรมการแพทย์/หน่วยงาน เพ่ือนำไปใช้เป็นแนวทางการ
ปฏบิ ตั งิ านอย่างทั่วถงึ ครอบคลมุ ทกุ ระดับ
2 รายงานความก้าวหน้าของแผนปฏิบตั ิการ (ไตรมาสท่ี 2) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564
ในระบบ PBMS (งบประมาณ/เงนิ บำรุง
3 ปรบั ปรงุ กระบวนการทำงานทสี่ ำคัญต่อพันธกิจและเป้าหมายของหน่วยงานอย่างเปน็
ระบบ
วิเคราะหแ์ ละวางแผนการดำเนินงานและการใชจ้ า่ ยงบประมาณลว่ งหน้า ประจำปี
4 งบประมาณ
พ.ศ.2566 อย่างมีประสิทธิภาพ
รายงานความก้าวหนา้ ของแผนปฏบิ ัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ในระบบ PBMS
5 (งบประมาณ/เงินบำรุง) และสรุปปจั จยั ความสำเร็จและโอกาสการปรับปรงุ ระบบบริหาร
ยุทธศาสตรข์ องหน่วยงาน
59
ค่มู ือการประเมินผลการปฏบิ ัตริ าชการตามคำรบั รองการปฏบิ ตั ริ าชการของหน่วยงานในสงั กัดกรมการแพทย์
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
แนวทางการประเมินผล
- พจิ ารณาจากความถูกต้อง ครบถ้วน ทนั เวลา ของกระบวนการปฏบิ ัตงิ านในแต่ละระดับคะแนนตาม
เอกสาร/หลักฐาน ที่แสดงในโปรแกรม PBMS เว็บไซต์หน่วยงาน และเอกสารแนบในระบบรายงานคำรับรอง
การปฏิบัติราชการ (E-PA) ประกอบการประเมนิ ผล
- กรณีที่หน่วยงานไม่สามารถดำเนินการได้ตามแผนปฏิบัติการ ขอให้ชี้แจงเหตุผลความจำเป็น
ประกอบการประเมินผล
คำนิยาม :
แผนปฏิบัติการ หมายถึง แผนปฏิบัติการกรมการแพทย์ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 (Action plan)
ทีป่ รากฏในระบบ PBMS (https://pbms.dms.go.th/64)
แผนการดำเนนิ งานและการใชจ้ ่ายงบประมาณล่วงหน้า ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 หมายถึง
แผนคำของบประมาณรายจา่ ยประจำปี พ.ศ. 2566 ตามทกี่ องยทุ ธศาสตรแ์ ละแผนงานกำหนด
รายงานความก้าวหน้าของแผนปฏิบตั กิ าร หมายถึง สถานการณ์รายงานความก้าวหน้าของโครงการ/
กจิ กรรมตามแผนปฏบิ ัติการในระบบ PBMS
คำอธบิ ายแนวทางการประเมิน
ระดบั เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน คะแนน เอกสาร/หลักฐาน
คะแนน
ส่อื สารทิศทาง/นโยบายของกรมการแพทย์/หน่วยงาน เพื่อนำไปใชเ้ ป็นแนวทางการปฏบิ ัติงาน
1
อย่างท่วั ถึงครอบคลุมทุกระดับ
คะแนนส่วนท่ี 1 0.2 แนบภาพการส่อื สารทิศทาง/นโยบายฯ ใน
แสดงถึงให้เหน็ ถึงกระบวนการ/กิจกรรม ระบบ E-PA
การส่ือสารนโยบาย/ทศิ ทางการ
ดำเนินงานของกรมการแพทย์ ไปปฏบิ ัติ
ระดับหนว่ ยงาน – กล่มุ งาน – บุคคล
คะแนนสว่ นท่ี 2 0.8 กองยทุ ธศาสตร์และแผนงาน คิดคะแนนจาก
บคุ ลากร*ตอบแบบสำรวจการรบั รู้นโยบาย
ระบบสำรวจออนไลน์
และทิศทางกรมการแพทยแ์ บบ บุคลากรในหน่วยงานตอบแบบสำรวจฯ
อิเล็กทรอนกิ ส์ ไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 80
ระหว่างวนั ที่ 1 – 10 ก.พ.2564 0.6 บุคลากรในหน่วยงานตอบแบบสำรวจฯ
การคิดคะแนน ไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 60
จำนวนบคุ ลากรทีต่ อบแบบสำรวจฯ X 100 0.5 บุคลากรในหน่วยงานตอบแบบสำรวจฯ
จำนวนบคุ ลากรทง้ั หมด
หมายเหตุ *บคุ ลากร หมายถึง ขา้ ราชการ นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 60
พนกั งานราชการ พนกั งานกระทรวง
สาธารณสุข ลกู จ้างประจำ ลูกจา้ งช่ัวคราว
ทป่ี ฏิบตั งิ าน ณ วนั ที่ 1 ก.พ. 2564
รวมคะแนน (ส่วนที่ 1 + 2) 1.0
60
ค่มู อื การประเมนิ ผลการปฏิบตั ริ าชการตามคำรับรองการปฏิบตั ริ าชการของหนว่ ยงานในสงั กดั กรมการแพทย์
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
ระดับ เกณฑ์การให้คะแนน คะแนน เอกสาร/หลกั ฐาน
คะแนน
2 รายงานความกา้ วหน้าของแผนปฏบิ ตั ิการ (ไตรมาสท่ี 2) ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ในระบบ
PBMS
การคดิ คะแนน 1.0 บันทึกข้อมลู ในระบบ PBMS ไตรมาสท่ี 2
รายการข้อมูล 1 X 100 ถกู ต้อง ครบถว้ น เปน็ ปจั จบุ ัน ไม่น้อยกวา่ ร้อย
รายการขอ้ มลู 2 ละ 80
รายการข้อมูล 1 0.5 บันทึกขอ้ มูลในระบบ PBMS ไตรมาสที่ 2
จำนวนโครงการท่มี ีการรายงาน ถกู ต้อง ครบถว้ น เป็นปัจจบุ ัน นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ
ความก้าวหน้าในระบบ PBMS 80
รายการขอ้ มูล 2
จำนวนโครงการที่มีระยะเวลา
ดำเนินการตามแผนปฏบิ ตั ิการในระบบ
PBMS
ในไตรมาสที่ 1-2
รวมคะแนน 1.0
3 ปรับปรงุ กระบวนการทำงานที่สำคญั ต่อ แบบรายงานการปรบั ปรงุ กระบวนการทำงาน
พันธกจิ และเป้าหมายของหน่วยงาน 1.0 ท่ีสำคญั ต่อพันธกจิ และเปา้ หมายของ
รายละเอยี ดตามแบบฟอรม์ แนบท้าย หนว่ ยงานในระบบ E-PA
รวมคะแนน 1.0
4 วิเคราะห์และวางแผนการดำเนินงานและการใช้จา่ ยงบประมาณลว่ งหน้า ประจำปีงบประมาณ
พ.ศ. 2566 อย่างมีประสิทธิภาพ
รายละเอียดของแผนคำของบประมาณ 1.0 ภายในเวลาทก่ี ำหนด
รายจ่ายลว่ งหน้า ประจำปีงบประมาณ 0.5 สง่ ล่าช้ากว่าเวลาทก่ี ำหนด ไม่เกิน 2 วนั
พ.ศ.2566 มีความถูกต้อง ครบถว้ น
ตามแบบฟอรม์ ท่กี ำหนด และจดั สง่
ทนั เวลาที่กำหนดตามปฏิทนิ การจดั ทำ
คำของบประมาณ*
หมายเหตุ *จะมหี นังสือแจ้งให้ทราบ
ภายหลัง ระหว่างเดือน สิงหาคม 2564
รวมคะแนน 1.0
61
คมู่ ือการประเมินผลการปฏิบตั ริ าชการตามคำรบั รองการปฏบิ ัตริ าชการของหน่วยงานในสงั กดั กรมการแพทย์
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
ระดบั เกณฑก์ ารให้คะแนน คะแนน เอกสาร/หลักฐาน
คะแนน
5 รายงานความก้าวหน้าของแผนปฏิบัตกิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ในระบบ PBMS และ
สรปุ ปัจจัยความสำเร็จและโอกาสการปรับปรงุ ระบบบริหารยทุ ธศาสตรข์ องหนว่ ยงาน
1. บันทึกข้อมลู ในระบบ PBMS ไตร 1.0 1) บันทึกขอ้ มลู ในระบบ PBMS ประจำปี
มาสท่ี 4 ถูกต้อง ครบถว้ น เป็นปจั จุบนั งบประมาณ พ.ศ.2564 ครบถ้วน เป็น
การคดิ คะแนน ปจั จบุ นั
2) บทสรุปผบู้ ริหารฯ
รายการข้อมูล 1 X 100
รายการข้อมลู 2 0.5 1) บันทกึ ข้อมลู ในระบบ PBMS ประจำปี
งบประมาณ พ.ศ.2564 ไมค่ รบถ้วน ไมเ่ ป็น
รายการข้อมูล 1 ปจั จบุ นั
จำนวนโครงการที่มีการรายงาน 2) บทสรปุ ผบู้ รหิ ารฯ
ความก้าวหน้าในระบบ PBMS
รายการขอ้ มูล 2
จำนวนโครงการทมี่ ีระยะเวลา
ดำเนินการตามแผนปฏิบัตกิ ารในระบบ
PBMS
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564
2. บทสรุปผบู้ ริหาร ซึง่ ประกอบด้วย
ข้อมูล
สรปุ ปจั จยั ความสำเรจ็ และโอกาสการ
ปรบั ปรงุ ระบบบรหิ ารยุทธศาสตร์ของ
หน่วยงาน
รวมคะแนน 1.0
หมายเหตุ : การรายงานผลการดำเนินงานทตี่ อ้ งส่งเอกสาร หลกั ฐาน ในระบบ E-PA ให้สง่ ภายในกำหนดเวลา
การเปดิ ระบบ E-PA ดงั นี้
1. รอบ 6 เดือน (ระดบั คะแนนท่ี 3) ระหว่างวนั ท่ี 15 – 20 กุมภาพันธ์ 2563
2. รอบ 12 เดือน (ระดับคะแนนท่ี 5) ระหว่างวันที่ 16 – 21 สิงหาคม 2563
ทป่ี รกึ ษาตวั ช้ีวัด : นายแพทย์ณรงค์ อภิกุลวณชิ รองอธบิ ดีกรมการแพทย์ เบอรต์ ดิ ต่อ : 0 2590 6008
หนว่ ยงานเจ้าภาพในการตดิ ตามและประเมินผล : กองยทุ ธศาสตร์และแผนงาน
ผูก้ ำกบั ตวั ช้ีวดั : ผอู้ ำนวยการกองยทุ ธศาสตร์และแผนงาน เบอร์ติดตอ่ : 0 2590 6345
ผ้รู ับผิดชอบตวั ช้วี ดั : นางบญุ ญาดา พานทอง เบอรต์ ิดตอ่ : 0 2590 6340
นายสถิตย์ สมพงศ์ เบอร์ตดิ ต่อ : 0 2590 6339
นางกฤติกา อิงคสุวรรณกลุ เบอร์ตดิ ตอ่ : 0 2590 6351
62
คูม่ อื การประเมินผลการปฏบิ ัตริ าชการตามคำรบั รองการปฏบิ ตั ริ าชการของหน่วยงานในสังกดั กรมการแพทย์
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
แบบรายงานการปรับปรงุ กระบวนการทำงานท่สี ำคัญตอ่ พนั ธกิจและเปา้ หมายของหนว่ ยงาน
(เอกสารแนบระดับคะแนนที่ 3 ตัวชีว้ ัดที่ 4.1 ระดบั ความสำเรจ็ ของการบรหิ ารยทุ ธศาสตร์ (ของหน่วยงาน)
กลุ่มเป้าหมาย ความต้องการ/ ปจั จยั ความสำเร็จ การออกแบบ ผลผลิต/ผลลพั ธ์
(1) คาดหวัง (3) กระบวนการสำคัญ* (5)
(2)
1. ผู้รับบรกิ าร 1. (4)
• ผปู้ ว่ ยนอก 1. 2.
2. i.
i.
• ผู้ปว่ ยใน 1. 1.
2. 2.
i. i.
2. ผ้มู สี ว่ นไดส้ ว่ นเสีย (โปรดระบุใหช้ ัดเจน)
• ภายนอก 1. 1.
• ภายใน 2. 2.
3. อืน่ ๆ (ถ้ามี) i. i.
1. 1.
2. 2.
i. i.
1. 1.
2. 2.
i. i.
หมายเหตุ *นำขอ้ มลู จาก (1) (2) (3) มาจัดลำดับความสำคัญและออกแบบกระบวนการท่สี ำคัญต่อพันธกจิ และ
เป้าหมาย
ของหนว่ ยงาน
สอบถามรายละเอยี ดเพิ่มเติม กรุณาตดิ ต่อกลุ่มงานยุทธศาสตรแ์ ละแผนงาน โทร. 02 590 6340, 6348
QR Code/ Line ID : กลุ่มแผน กยผ.DMS
63
คมู่ อื การประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ริ าชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของหน่วยงานในสังกัดกรมการแพทย์
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
ตัวช้ีวัดท่ี 4.2 ระดบั ความสำเร็จของการพฒั นาระบบบริหารทรัพยากรบคุ คล (HR Scorecard)
น้ำหนัก : รอ้ ยละ 6
ตัวชี้วัดท่ี กรณที ่ี 1 กรณีที่ 2
มคี รบทุก มีไมค่ รบทกุ
ตัวชวี้ ัด ตัวชว้ี ัด
4.2.1 ระดับความสำเรจ็ ของการสร้างองคก์ รแห่งความสุข (Happy DMS) 23
4.2.2 บันทกึ ฐานขอ้ มลู ระบบสารสนเทศเพ่ือการบรหิ ารจดั การบคุ ลากร 2-
สาธารณสุข (HROPS)
4.2.3 ขอ้ มูลบุคลากรในโปรแกรมฯ DPIS ทุกราย ถูกต้อง ครบถ้วน และเปน็ ปัจจบุ นั 2 3
กรณีท่ี 1 : หน่วยงานทีม่ ีตำแหน่งพนักงานกระทรวงสาธารณสุข เงนิ บำรงุ ประกอบดว้ ย
1 โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี 17 โรงพยาบาลมะเร็งลพบุรี
2 โรงพยาบาลเมตตาประชารกั ษ์ (วดั ไร่ขงิ ) 18 โรงพยาบาลมะเร็งลำปาง
3 โรงพยาบาลราชวถิ ี 19 โรงพยาบาลมะเร็งอุบลราชธานี
4 โรงพยาบาลเลดิ สนิ 20 โรงพยาบาลมะเร็งอดุ รธานี
5 โรงพยาบาลสงฆ์ 21 โรงพยาบาลมะเร็งสุราษฎร์ธานี
6 สถาบนั สริ นิ ธรเพอื่ การฟื้นฟสู มรรถภาพฯ 22 โรงพยาบาลมหาวชริ าลงกรณธญั บรุ ี
7 สถาบนั ทันตกรรม 23 โรงพยาบาลธญั ญารกั ษเ์ ชียงใหม่
8 สถาบนั ประสาทวิทยา 24 โรงพยาบาลธัญญารักษส์ งขลา
9 สถาบนั พยาธวิ ทิ ยา 25 โรงพยาบาลธัญญารกั ษ์ขอนแกน่
10 สถาบันมะเร็งแหง่ ชาติ 26 โรงพยาบาลธญั ญารกั ษป์ ตั ตานี
11 สถาบันบำบดั รกั ษาและฟ้นื ฟผู ตู้ ิดยาเสพติดแหง่ ชาติฯ 27 โรงพยาบาลธัญญารกั ษ์แม่ฮ่องสอน
12 สถาบันโรคทรวงอก 28 โรงพยาบาลธญั ญารักษอ์ ดุ รธานี
13 สถาบันโรคผิวหนัง 29 โรงพยาบาลสมเด็จพระสงั ฆราชญาณสงั วรฯ
14 สถาบนั สขุ ภาพเด็กแห่งชาติมหาราชนิ ี 30 โรงพยาบาลโรคผวิ หนังเขตร้อนภาคใต้ จงั หวัดตรงั
15 โรงพยาบาลประสาทเชียงใหม่ 31 โรงพยาบาลเวชชารกั ษ์ ลำปาง
16 โรงพยาบาลมะเร็งชลบรุ ี 32 ศนู ย์นวัตกรรมสุขภาพผูส้ งู อายุ
กรณที ี่ 2 : หน่วยงานท่ไี มม่ ีตำแหนง่ พนกั งานกระทรวงสาธารณสุข ประกอบด้วย
1 สำนกั งานเลขานุการกรม 7 สำนักนเิ ทศระบบการแพทย์
2 กองบรหิ ารการคลัง 8 กลุ่มตรวจสอบภายใน
3 สถาบนั วจิ ยั และประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์ 9 กลุ่มพฒั นาระบบบรหิ าร
4 กองบรหิ ารทรพั ยากรบคุ คล 10 สำนักดิจิทลั การแพทย์
5 กองยุทธศาสตร์และแผนงาน 11 สำนกั กฎหมายการแพทย์
6 กองวชิ าการแพทย์ 12 สถาบันเวชศาสตรส์ มเด็จพระสังฆราชฯ ผสู้ ูงอายุ
64
คูม่ อื การประเมินผลการปฏิบัตริ าชการตามคำรบั รองการปฏบิ ตั ริ าชการของหน่วยงานในสังกัดกรมการแพทย์
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
4.2.1 ระดับความสำเร็จของการสร้างองคก์ รแหง่ ความสุข (Happy DMS)
นำ้ หนัก : รอ้ ยละ......(ตามกรณีดังกลา่ วขา้ งต้น)
คำอธิบาย :
การสร้างองค์กรแห่งความสุข (Happy DMS) หมายถึง หน่วยงานในสังกัดกรมการแพทย์
มีการประเมินความสุขบุคลากร (Happinometer) และสุขภาวะองค์กร (HPI) นำผลการประเมินเป็น Input
ในการกำหนดแผนงานโครงการใน แผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคล กรมการแพทย์ (HR Scorecard)
มิติที่ 5 คุณภาพชีวิต และความสมดุลระหว่างชีวิตกับการทำงานมีเป้าประสงค์ คือ สร้างองค์กรแห่งความสุข
ประกอบด้วย 9 ดา้ น คอื สุขภาพกายดี ผ่อนคลายดี นำ้ ใจดี จิตวญิ ญาณดี ครอบครวั ดี สังคมดี ใฝร่ ดู้ ี สขุ ภาพเงินดี
และการงานดี
ขั้นที่ 1 ทกุ หนว่ ยงานมีคำสงั่ แต่งตั้งคณะกรรมการการสร้างองค์กรแห่งความสขุ (Happy DMS)
ขั้นที่ 2 นำผลจากการวิเคราะห์และแปรผลการประเมินความสุขบุคลากร (Happinometer) รอบที่ผ่านมา
เป็นข้อมูลให้หน่วยงาน กำหนดแผนงาน/ โครงการรองรับในมิติที่ 5 ของแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคล
กรมการแพทย์ (HR Scorecard) อย่างน้อย 3 ด้านคือ Happy Body, Happy Relax และ Happy Money
ภายในเดอื นธันวาคม 2563
ขั้นที่ 3 สื่อสารแผนงาน/ โครงการ การสร้างองค์กรแห่งความสุข (Happy DMS) ให้เจ้าหน้าที่ภายใน
หนว่ ยงานทราบ และเขา้ ร่วมกิจกรรม
ขั้นที่ 4 ติดตามความคืบหน้าการดำเนินการตามแผนงาน/ โครงการ และรายงานสรุปและประเมินผล
ความคืบหน้าการดำเนินการ โดยหน่วยงานรายงาน ผ่านระบบ e-PA ตามระยะเวลาท่ีกำหนด
ขั้นที่ 5 หน่วยงานนำเสนอผลงานโดดเด่น 1 เรื่อง (เลือกจาก 3 ด้านตามข้อ2) เพื่อจัดทำเป็นหน่วยงาน
ต้นแบบ (Role Model) และรายงานผา่ นระบบ e-PA ตามระยะเวลาทก่ี ำหนด
บุคลากร หมายถึง ข้าราชการ ลูกจ้างประจำ พนักงานราชการ และพนักงานกระทรวงสาธารณสุข
ทป่ี ฏิบัติงานในหน่วยงาน
เกณฑ์การใหค้ ะแนน :
ระดบั คะแนน เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
1 ทุกหนว่ ยงานมีคำสัง่ แตง่ ต้ังคณะกรรมการการสรา้ งองค์กรแหง่ ความสขุ (Happy DMS)
นำผลจากการวเิ คราะหแ์ ละแปรผลการประเมนิ ความสขุ บุคลากร (Happinometer) รอบที่
2 ผา่ นมา เปน็ ข้อมูลใหห้ น่วยงาน กำหนดแผนงาน/ โครงการรองรับในมิติที่ 5 ของแผนกลยุทธ์
การบรหิ ารทรพั ยากรบคุ คล กรมการแพทย์ (HR Scorecard)อย่างนอ้ ย 3 ด้านคือ Happy
Body, Happy Relax และ Happy Money ภายในเดือนธันวาคม 2563
3 สือ่ สารแผนงาน/ โครงการ การสรา้ งองค์กรแหง่ ความสขุ (Happy DMS) ใหเ้ จา้ หน้าท่ภี ายใน
หนว่ ยงานทราบ และเข้าร่วมกิจกรรม
4 ตดิ ตามความคืบหนา้ การดำเนินการตามแผนงาน/ โครงการ และรายงานสรปุ และประเมินผล
ความคบื หน้าการดำเนนิ การ ผา่ นระบบ e-PA ตามระยะเวลาทีก่ ำหนด
5 หน่วยงานนำเสนอผลงานโดดเดน่ 1 เรือ่ ง (เลอื กจาก 3 ด้านตามข้อ 2) เพื่อจดั ทำเป็น
หนว่ ยงานตน้ แบบ (Role Model) รายงานผา่ นระบบ e-PA ตามระยะเวลาทีก่ ำหนด
หมายเหตุ : ระยะเวลาท่ีกำหนดตามข้อ 4 และ5 จะแจ้งใหท้ ราบภายหลงั
65
คมู่ อื การประเมินผลการปฏบิ ัตริ าชการตามคำรับรองการปฏิบตั ริ าชการของหนว่ ยงานในสงั กัดกรมการแพทย์
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
แนวทางการประเมินผล
• ชี้แจงหน่วยงานให้ทราบถึงแนวทางการดำเนินการตามตัวชี้วัดที่ 4.2.1 การสร้างองค์กรแห่งความสุข
(Happy DMS) ผา่ นการประชมุ เครือข่ายผูป้ ฏิบตั งิ านดา้ นทรัพยากรบคุ คล
• ให้ทุกหน่วยงานดำเนนิ การตามแผน และรายงานผลการดำเนนิ การตามระยะเวลาที่กำหนด
• ให้ทุกหน่วยงานรายงานผลการดำเนินการตามแบบฟอร์มรายงานแผนงาน/โครงการการสร้างองค์กร
แห่งความสุข (Happy DMS) ในระดับความสำเรจ็ ที่ 3, 4 และ 5
• ให้ทุกหน่วยงานรายงานผลการดำเนินการตามตัวชี้วัดที่ 4.2.1 การสร้างองค์กรแห่งความสุข (Happy
DMS) รอบ 6 เดือน และรอบ 12 เดือน ผ่านระบบ e-PA พร้อมแนบเอกสารหลักฐานประกอบการ
ดำเนนิ การตามตัวชีว้ ดั และส่งเอกสารแก้ไขเพม่ิ เติมได้ ภายในระยะเวลาทกี่ ำหนด
คำอธิบายแนวทางการประเมนิ
ระดับ เกณฑ์การใหค้ ะแนน เอกสาร/หลกั ฐานการประเมินผล
คะแนน
1 ทกุ หน่วยงานมีคำส่ังแต่งตั้งคณะกรรมการการสรา้ ง คำสง่ั แต่งตัง้ คณะกรรมการการสร้าง
องค์กรแหง่ ความสุข (Happy DMS) องค์กรแหง่ ความสขุ (Happy DMS)
2 นำผลจากการวิเคราะหแ์ ละแปรผลการประเมนิ แผนงาน/ โครงการรองรับ ในมติ ิที่ 5
ความสุขบคุ ลากร (Happinometer) รอบทผี่ ่านมา ของแผนกลยุทธ์การบรหิ ารทรพั ยากร
เปน็ ข้อมูลให้หนว่ ยงาน กำหนดแผนงาน/ โครงการ บคุ คล กรมการแพทย์ (HR Scorecard)
รองรับในมิติที่ 5 ของแผนกลยุทธก์ ารบริหาร อยา่ งน้อย 3 ด้าน คือ Happy Body,
ทรัพยากรบุคคล กรมการแพทย์ (HR Scorecard) Happy Relax และ Happy Money
อย่างน้อย 3 ด้าน คือ Happy Body, Happy Relax
และ Happy Money ภายในเดือนธันวาคม 2563
3 สอ่ื สารแผนงาน/ โครงการ การสร้างองค์กรแห่ง แบบฟอรม์ รายงานแผนงาน/โครงการ
ความสขุ (Happy DMS) ใหเ้ จ้าหนา้ ทภี่ ายใน การสรา้ งองคก์ รแห่งความสุข (Happy
หน่วยงานทราบ และเข้ารว่ มกจิ กรรม DMS) ระดบั ความสำเร็จขนั้ ท่ี 3
4 ติดตามความคืบหนา้ การดำเนินการตามแผนงาน/ แบบฟอรม์ รายงานแผนงาน/โครงการ
โครงการ และรายงานสรปุ และประเมนิ ผล ความ การสร้างองค์กรแห่งความสุข (Happy
คบื หนา้ การดำเนนิ การ ผา่ นระบบ e-PA ตาม DMS) ระดับความสำเร็จขนั้ ที่ 4
ระยะเวลาท่ีกำหนด
5 หนว่ ยงานนำเสนอผลงานโดดเด่น 1 เรือ่ ง (เลอื กจาก 1. แบบฟอร์มรายงานแผนงาน/โครงการ
3 ด้านตามข้อ 2) เพื่อจัดทำเปน็ หน่วยงานตน้ แบบ การสรา้ งองคก์ รแห่งความสขุ (Happy
(Role Model) รายงานผ่านระบบ e-PA ตาม DMS) ระดบั ความสำเรจ็ ข้นั ท่ี 5
ระยะเวลาท่ีกำหนด 2. แผนงาน/โครงการโดดเด่นทไ่ี ดร้ บั
ความเหน็ ชอบและดำเนนิ การแล้วเสร็จ
ที่ปรึกษาตวั ชีว้ ัด : นายณรงค์ อภิกุลวณิช รองอธิบดีกรมการแพทย์ เบอรต์ ิดตอ่ : 0 2590 6008
หน่วยงานเจ้าภาพในการติดตามและประเมนิ ผล : กองบรหิ ารทรพั ยากรบคุ คล
ผู้กำกบั ตวั ช้ีวดั : กลมุ่ งานพัฒนาทรัพยากรบุคคลและสวัสดิการ เบอรต์ ิดต่อ : 0 2590 6155
ผู้รับผดิ ชอบตวั ชว้ี ัด : นางจุฬาลกั ษณ์ สอนดิษฐ์ เบอรต์ ิดต่อ : 0 2590 6155
66
คูม่ อื การประเมนิ ผลการปฏบิ ัตริ าชการตามคำรบั รองการปฏิบัติราชการของหน่วยงานในสังกัดกรมการแพทย์
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
4.2.2 บันทกึ ฐานข้อมูลระบบสารสนเทศเพอ่ื การบรหิ ารจัดการบคุ ลากรสาธารณสขุ (HROPS)
นำ้ หนกั : ร้อยละ......(ตามกรณีดังกล่าวข้างต้น)
คำอธิบาย :
ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการบุคลากรสาธารณสุข(HROPS) หมายถึง การดำเนินการ
บันทึกข้อมูลความเคลื่อนไหวของพนักงานกระทรวงสาธารณสุขทุกราย ในปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ในระบบ
สารสนเทศ เพื่อการบริหารจัดการบุคลากรสาธารณสุข(HROPS) ภายใน 3 วันทำการ นับตั้งแต่วันที่ออกคำส่ัง
โดยข้อมูลมีความถูกต้อง ครบถ้วน และเป็นปัจจุบันโดยกองบริหารทรัพยากรบุคคลจะทำการตรวจสอบ
ข้อมูลความเคล่ือนไหว ทกุ 2 เดอื น
ความเคลอ่ื นไหว หมายถึง การจา้ ง การลาออก การย้าย การเล่อื นค่าจา้ งประจำปี ของพนักงาน
กระทรวงสาธารณสุขภายในหนว่ ยงาน
เกณฑก์ ารให้คะแนน :
ระดบั คะแนน เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
บันทึกข้อมลู ความเคล่ือนไหวของพนกั งานกระทรวงสาธารณสุข ทกุ ราย ในปีงบประมาณ
1 พ.ศ.2564 ในระบบสารสนเทศเพื่อการบรหิ ารจัดการบุคลากรสาธารณสุข (HROPS)
ภายใน 7 วนั ทำการ นับตัง้ แตว่ นั ทอ่ี อกคำสัง่ โดยมีความถูกตอ้ ง ครบถว้ น และเปน็ ปจั จุบัน
บันทกึ ข้อมูลความเคลอ่ื นไหวของพนกั งานกระทรวงสาธารณสุข ทกุ ราย ในปีงบประมาณ
2 พ.ศ.2564 ในระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจดั การบุคลากรสาธารณสุข (HROPS)
ภายใน 6 วันทำการ นบั ตง้ั แตว่ นั ท่อี อกคำส่ัง โดยมีความถูกต้อง ครบถว้ น และเป็นปจั จุบัน
บนั ทึกข้อมลู ความเคลื่อนไหวของพนักงานกระทรวงสาธารณสขุ ทกุ ราย ในปีงบประมาณ
3 พ.ศ.2564 ในระบบสารสนเทศเพ่ือการบรหิ ารจัดการบคุ ลากรสาธารณสขุ (HROPS)
ภายใน 5 วันทำการ นับต้ังแตว่ ันทอ่ี อกคำสง่ั โดยมีความถูกต้อง ครบถ้วน และเปน็ ปจั จุบัน
บนั ทึกข้อมูลความเคลื่อนไหวของพนักงานกระทรวงสาธารณสขุ ทุกราย ในปีงบประมาณ
4 พ.ศ.2564 ในระบบสารสนเทศเพ่ือการบริหารจัดการบุคลากรสาธารณสขุ (HROPS)
ภายใน 4 วันทำการ นับต้ังแต่วนั ทีอ่ อกคำสง่ั โดยมีความถูกตอ้ ง ครบถว้ น และเปน็ ปัจจุบนั
บนั ทึกข้อมูลความเคลือ่ นไหวของพนักงานกระทรวงสาธารณสขุ ทุกราย ในปีงบประมาณ
5 พ.ศ.2564 ในระบบสารสนเทศเพื่อการบรหิ ารจัดการบคุ ลากรสาธารณสุข (HROPS)
ภายใน 3 วนั ทำการ นบั ตั้งแต่วนั ทอ่ี อกคำสงั่ โดยมีความถูกต้อง ครบถว้ น และเป็นปจั จุบนั
แนวทางการประเมินผล :
ให้หน่วยงานบันทึกข้อมูลความเคลื่อนไหวของพนักงานกระทรวงสาธารณสุขทุกราย
ในปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ในระบบสารสนเทศเพอ่ื การบริหารจัดการบุคลากรสาธารณสขุ (HROPS) ภายใน 3
วันทำการ นับตั้งแต่วนั ทีอ่ อกคำสั่ง โดยข้อมูลมีความถูกต้อง ครบถ้วน เป็นปัจจุบัน ทั้งนี้กองบริหารทรัพยากร
บุคคลจะทำการตรวจสอบข้อมูลความเคลื่อนไหว ทุก 2 เดือน จึงให้หน่วยงานส่งสำเนาคำสั่งฯ ผ่านระบบ
Google form ตามแนวทางการประเมินผลดังน้ี
รอบการประเมนิ ที่ 1 รอบการประเมินที่ 2
ครั้งท่ี 1 ภายในเดือนตลุ าคม 2563 ครงั้ ที่ 4 ภายในเดือนเมษายน 2564
ครั้งที่ 2 ภายในเดือนธันวาคม 2563 ครงั้ ท่ี 5 ภายในเดือนมิถุนายน 2564
คร้ังที่ 3 ภายในเดือนกุมภาพันธ์ 2564 ครง้ั ที่ 6 ภายในเดือนสงิ หาคม 2564
67
คู่มอื การประเมนิ ผลการปฏิบัตริ าชการตามคำรบั รองการปฏบิ ตั ริ าชการของหน่วยงานในสังกัดกรมการแพทย์
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
คำอธิบายแนวทางการประเมิน :
ระดบั เกณฑ์การใหค้ ะแนน เอกสาร/หลักฐานการ
คะแนน ประเมนิ ผล
1 บันทึกข้อมูลความเคลื่อนไหวของพนักงานกระทรวงสาธารณสุข 1. สำเนาคำส่ังฯ ทสี่ ่งผ่าน
ทุกราย ในปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ในระบบสารสนเทศเพื่อการ ระบบ Google form
บริหารจัดการบุคลากรสาธารณสุข (HROPS) ภายใน 7 วันทำการ 2. วันท่ีลงข้อมลู ในระบบ
นบั ตั้งแตว่ นั ท่ีออกคำสัง่ โดยมีความถกู ตอ้ ง ครบถ้วน และเปน็ ปัจจุบนั HROPS
2 บันทึกข้อมูลความเคลื่อนไหวของพนักงานกระทรวงสาธารณสุข
ทุกราย ในปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ในระบบสารสนเทศเพื่อการ
บริหารจัดการบุคลากรสาธารณสุข (HROPS) ภายใน 6 วันทำการ
นบั ตง้ั แต่วนั ท่อี อกคำสง่ั โดยมีความถกู ตอ้ ง ครบถ้วน และเปน็ ปัจจุบนั
3 บันทึกข้อมูลความเคลื่อนไหวของพนักงานกระทรวงสาธารณสุข
ทุกราย ในปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ในระบบสารสนเทศเพื่อการ
บริหารจัดการบุคลากรสาธารณสุข (HROPS) ภายใน 5 วันทำการ
นบั ตัง้ แตว่ ันที่ออกคำสงั่ โดยมีความถกู ต้อง ครบถ้วน และเป็นปจั จุบัน
4 บันทึกข้อมูลความเคลื่อนไหวของพนักงานกระทรวงสาธารณสุข
ทุกราย ในปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ในระบบสารสนเทศเพื่อการ
บริหารจัดการบุคลากรสาธารณสุข (HROPS) ภายใน 4 วันทำการ
นับตง้ั แตว่ นั ทอ่ี อกคำสงั่ โดยมีความถกู ต้อง ครบถว้ น และเปน็ ปจั จบุ นั
5 บันทึกข้อมูลความเคลื่อนไหวของพนักงานกระทรวงสาธารณสุข
ทุกราย ในปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ในระบบสารสนเทศเพื่อการ
บริหารจัดการบุคลากรสาธารณสุข (HROPS) ภายใน 3 วันทำการ
นบั ตง้ั แต่วันที่ออกคำส่ัง โดยมีความถกู ตอ้ ง ครบถ้วน และเปน็ ปจั จุบนั
หมายเหตุ :
ระดบั คะแนน หมายถงึ ระดับคะแนน 1 (X1) หรือ 2(X2) หรอื 3(X3) หรือ 4(X4) หรอื 5(X5)
จำนวนข้อมูลท่ีบนั ทึกความเคลือ่ นไหวในระบบ HROPS ภายในระยะเวลาแตล่ ะระดับ (Y1-Y5)
หมายถึง ขอ้ มูลท่หี น่วยงานบันทกึ ในระบบ HROPS ถกู ต้องครบถ้วน
วิธีการคดิ คะแนน ((X1)x(Y1)) + ((X2)x(Y2)) + ((X3)x(Y3)) + ((X4)x(Y4)) + ((X5)x(Y5))
จำนวนข้อมลู ทีห่ นว่ ยงานบันทึกในระบบ HROPS ท้ังหมด
ตวั อย่าง (1x3) + (2x0) + (3x4) + (4x0) + (5x3) = 3 + 0 + 12 +0 +15 = 30 = 3 คะแนน
10 10 10
ทีป่ รกึ ษาตัวชีว้ ัด : นายแพทยณ์ รงค์ อภิกุลวณชิ รองอธบิ ดกี รมการแพทย์
หน่วยงานเจ้าภาพในการติดตามและประเมินผล : กองบรหิ ารทรพั ยากรบคุ คล
ผกู้ ำกับตัวชว้ี ัด : กล่มุ งานเทคโนโลยีสารสนเทศการบริหารทรัพยากรบุคคล เบอรต์ ิดตอ่ : 02 590 6202
ผ้รู ับผิดชอบตวั ชวี้ ัด : นางสาววรรณวิสา แสงนพรตั น์ เบอร์ติดต่อ : 0 2590 6186
68
คูม่ อื การประเมนิ ผลการปฏิบตั ริ าชการตามคำรบั รองการปฏิบตั ริ าชการของหนว่ ยงานในสงั กดั กรมการแพทย์
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
4.2.3 จำนวนข้อมลู บคุ ลากรในโปรแกรมฯ DPIS ถกู ตอ้ ง ครบถว้ น และเป็นปจั จบุ นั
น้ำหนัก : รอ้ ยละ......(ตามกรณีดังกลา่ วข้างต้น)
คำอธิบาย :
กรมการแพทย์ ใช้โปรแกรมระบบสารสนเทศทรัพยากรบุคคลระดับกรม (DPIS): Department
Personnel Information System เปน็ เครอ่ื งมือช่วยในการบริหารจัดการข้อมูลข้าราชการ เพ่ือสนับสนุนการ
ปฏิบัติงานในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการบริหารทรัพยากรบุคคล ทั้งนี้ จะดำเนินการเชื่อมโยงข้อมูลบุคคล
ให้หน่วยงานใช้เป็นฐานข้อมูลเดียวกันและเพื่อความถูกต้องครบถ้วนของข้อมูลจึงกำหนดให้หน่วยงาน
ตรวจสอบข้อมลู บุคลากรในระบบสารสนเทศทรัพยากรบุคคลระดับกรม (DPIS) ทกุ ราย หากพบขอ้ มูลบุคลากร
ไม่ถูกต้องตามข้อเท็จจริง ให้แจ้งมายังกองบริหารทรัพยากรบุคคล เพื่อดำเนินการแก้ไขและปรับปรุงข้อมูลให้
ถูกต้อง ครบถ้วน และเป็นปัจจุบันข้อมูลบุคลากรที่หน่วยงานต้องตรวจสอบและแนบเอกสารหลักฐานท่ี
เก่ียวขอ้ งสง่ ใหก้ องบรหิ ารทรัพยากรบุคคล ประกอบดว้ ย
1) ข้อมูลทั่วไป (ชื่อ – สกุล/วัน เดือน ปี เกิด/เลขบัตรประจำตัวประชาชน/สถานภาพ/ครอบครัว/วนั
บรรจเุ ข้ารับราชการ/พ้นทดลอง/ประวัติการเลอ่ื นระดับ/เลื่อนเงนิ เดือน/ฯลฯ)
2)วุฒกิ ารศกึ ษา/วุฒบิ ัตร/ใบประกอบวิชาชีพ (กรณีที่ได้รบั วุฒิการศึกษา/วุฒบิ ัตรเพ่ิมเติม หรือต่ออายุ
ใบอนญุ าตประกอบวิชาชพี )
3) ประวัติการศึกษา/อบรมหลักสูตรต่าง ๆ (แนบเอกสารหลักฐานการผ่านหลักสูตรศึกษา/อบรม
ดงั กล่าวดว้ ย)
ทั้งน้ี หากมกี ารแก้ไข เพิ่มเติม สง่ เอกสารหลักฐานให้กองบริหารทรัพยากรบคุ คล เพือ่ ดำเนนิ การปรบั ปรุงขอ้ มูลต่อไป
เกณฑ์การใหค้ ะแนน :
ระดับคะแนน เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
ตรวจสอบและสง่ เอกสารหลักฐานของบุคลากรท่ีไดร้ ับวุฒิการศึกษา/วุฒิบัตร/ใบประกอบวชิ าชพี /
1 การต่ออายุใบอนุญาตประกอบวิชาชพี สายงานพยาบาล ให้กองบริหารทรัพยากรบุคคลเพ่ือปรบั ปรุง
ข้อมูลในระบบสารสนเทศทรัพยากรบุคคลระดับกรม (DPIS) ทกุ ราย ภายใน 7 วนั ทำการ
ตรวจสอบและสง่ เอกสารหลักฐานของบุคลากรท่ีได้รบั วฒุ ิการศึกษา/วฒุ บิ ัตร/ใบประกอบวชิ าชีพ/
2 การต่ออายุใบอนุญาตประกอบวิชาชพี สายงานพยาบาล ให้กองบริหารทรัพยากรบุคคลเพ่ือปรับปรุง
ข้อมลู ในระบบสารสนเทศทรัพยากรบุคคลระดับกรม (DPIS) ทกุ ราย ภายใน 6 วนั ทำการ
ตรวจสอบและสง่ เอกสารหลักฐานของบุคลากรท่ีได้รับวุฒิการศึกษา/วฒุ บิ ัตร/ใบประกอบวชิ าชีพ/
3 การต่ออายุใบอนุญาตประกอบวชิ าชพี สายงานพยาบาล ให้กองบริหารทรัพยากรบุคคลเพื่อปรับปรุง
ข้อมูลในระบบสารสนเทศทรัพยากรบุคคลระดับกรม (DPIS) ทกุ ราย ภายใน 5 วันทำการ
ตรวจสอบและส่งเอกสารหลักฐานของบุคลากรที่ไดร้ บั วุฒิการศึกษา/วฒุ บิ ัตร/ใบประกอบวิชาชีพ/
4 การต่ออายุใบอนุญาตประกอบวชิ าชพี สายงานพยาบาล ให้กองบริหารทรัพยากรบุคคลเพ่ือปรบั ปรุง
ข้อมูลในระบบสารสนเทศทรัพยากรบุคคลระดับกรม (DPIS) ทุกราย ภายใน 4 วนั ทำการ
ตรวจสอบและส่งเอกสารหลักฐานของบุคลากรที่ไดร้ ับวฒุ ิการศกึ ษา/วุฒิบัตร/ใบประกอบวิชาชีพ/
5 การต่ออายุใบอนุญาตประกอบวิชาชีพสายงานพยาบาล ให้กองบริหารทรัพยากรบุคคลเพ่ือปรับปรุง
ข้อมลู ในระบบสารสนเทศทรัพยากรบุคคลระดับกรม (DPIS) ทกุ ราย ภายใน 3 วันทำการ
69
ค่มู ือการประเมินผลการปฏบิ ัตริ าชการตามคำรบั รองการปฏบิ ัติราชการของหน่วยงานในสังกดั กรมการแพทย์
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
แนวทางการประเมนิ ผล
ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 กำหนดให้หน่วยงานตรวจสอบข้อมูลข้าราชการในระบบสารสนเทศ
ทรัพยากรบุคคลระดับกรม (DPIS) ในส่วนของข้อมูลวฒุ ิการศึกษา/วุฒบิ ัตรเพิ่มเติม หรือต่ออายุใบอนุญาตประกอบ
วิชาชีพ/การศึกษา/การอบรม ให้ถูกต้อง ครบถ้วน และเป็นปัจจุบัน ทุกราย โดยดำเนินการสำรวจข้อมูล
ตามแนวทางการประเมินผลดังน้ี
1. กรณีมวี ุฒิการศึกษา/วฒุ บิ ัตรเพิ่มเตมิ ให้แจง้ เร่ืองมายงั กองบรหิ ารทรัพยากรบุคคลภายใน 7 วนั
หลงั จากได้รับวุฒกิ ารศึกษา/วุฒิบัตรเพิ่มเตมิ
2. กรณีการต่ออายใุ บอนุญาตประกอบวิชาชพี /การศึกษา/การอบรม ใหแ้ จ้งเรอื่ งมายงั กองบริหาร
ทรัพยากรบุคคลภายใน 7 วัน หลังจากดำเนินการต่ออายุใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ/การศึกษา/การอบรม
เรยี บรอ้ ยแลว้
คำอธบิ ายแนวทางการประเมิน
ระดบั เกณฑ์การให้คะแนน เอกสาร/หลกั ฐานการ
คะแนน ประเมนิ ผล
1 ตรวจสอบและส่งเอกสารหลักฐานของบุคลากรท่ีได้รบั วุฒิการศึกษา/ - สำเนาใบระเบียนผลการเรียน
วฒุ บิ ัตร/ใบประกอบวชิ าชพี /การต่ออายุใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ (ทรานสครปิ )
สายงานพยาบาล ให้กองบริหารทรัพยากรบุคคลเพื่อปรับปรุง - สำเนาใบรับรองวุฒ/ิ สำเนา
ข้อมูลในระบบสารสนเทศทรัพยากรบุคคลระดับกรม (DPIS) ใบปริญญาบัตร
- สำเนาวฒุ บิ ตั รแสดงความรู้
2 ทกุ ราย ภายใน 7 วนั ทำการ (0 - 1.99 คะแนน) ความชำนาญในการประกอบ
วชิ าชพี
ตรวจสอบและส่งเอกสารหลักฐานของบุคลากรที่ได้รับวุฒิการศึกษา/
วฒุ ิบตั ร/ใบประกอบวิชาชีพ/การต่ออายุใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ - สำเนาใบอนญุ าตประกอบ
สายงานพยาบาล ให้กองบริหารทรัพยากรบุคคลเพื่อปรับปรุง วิชาชพี /สำเนาใบประกอบโรค
ข้อมูลในระบบสารสนเทศทรัพยากรบุคคลระดับกรม (DPIS) ศลิ ปะ/สำเนาใบอนญุ าต
ทกุ ราย ภายใน 6 วนั ทำการ (2.0-2.99 คะแนน)
ประกอบวิชาชพี สายงาน
3 ตรวจสอบและส่งเอกสารหลักฐานของบุคลากรที่ได้รับวุฒิการศึกษา/ พยาบาลทต่ี ่ออายุ
วฒุ บิ ัตร/ใบประกอบวชิ าชพี /การตอ่ อายุใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
สายงานพยาบาล ให้กองบริหารทรัพยากรบุคคลเพื่อปรับปรุง
ข้อมูลในระบบสารสนเทศทรัพยากรบุคคลระดับกรม (DPIS)
ทกุ ราย ภายใน 5 วันทำการ (3.0-3.99 คะแนน)
4 ตรวจสอบและส่งเอกสารหลักฐานของบุคลากรท่ีได้รบั วุฒิการศึกษา/
วุฒบิ ัตร/ใบประกอบวิชาชีพ/การต่ออายุใบอนญุ าตประกอบวิชาชีพ
สายงานพยาบาล ให้กองบริหารทรัพยากรบุคคลเพื่อปรับปรุง
ข้อมูลในระบบสารสนเทศทรัพยากรบุคคลระดับกรม (DPIS)
ทกุ ราย ภายใน 4 วนั ทำการ (4.0-4.99 คะแนน)
5 ตรวจสอบและส่งเอกสารหลักฐานของบุคลากรท่ีได้รับวุฒิการศึกษา/
วฒุ บิ ัตร/ใบประกอบวชิ าชีพ/การต่ออายุใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
สายงานพยาบาล ให้กองบริหารทรัพยากรบุคคลเพื่อปรับปรุง
ข้อมูลในระบบสารสนเทศทรัพยากรบุคคลระดับกรม (DPIS)
ทุกราย ภายใน 3 วันทำการ (5 คะแนน )
70
คู่มอื การประเมินผลการปฏบิ ัตริ าชการตามคำรบั รองการปฏบิ ัตริ าชการของหน่วยงานในสงั กัดกรมการแพทย์
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
หมายเหตุ :
ระดบั คะแนน หมายถงึ ระดับคะแนน 1 (X1) หรอื 2(X2) หรือ 3(X3) หรือ 4(X4) หรือ 5(X5)
จำนวนขอ้ มูลท่ีปรับปรุงสำเร็จภายในระยะเวลาแต่ละระดับ (Y1-Y5)
หมายถึง ขอ้ มูลที่ส่งหลกั ฐานมาแก้ไขภานในระยะเวลาแตล่ ะระดับ
วธิ กี ารคดิ คะแนน ((X1)x(Y1)) + ((X2)x(Y2)) + ((X3)x(Y3)) + ((X4)x(Y4)) + ((X5)x(Y5))
จำนวนขอ้ มลู ที่ส่งหลกั ฐานมาแก้ไขท้ังหมด
ตวั อยา่ ง (1x3) + (2x0) + (3x4) + (4x0) + (5x3) = 3 + 0 + 12 +0 +15 = 30 = 3 คะแนน
10 10 10
ท่ีปรกึ ษาตวั ชี้วัด : นายณรงค์ อภิกุลวณชิ รองอธิบดกี รมการแพทย์ เบอรต์ ดิ ตอ่ : 0 2590 6008
หนว่ ยงานเจา้ ภาพในการตดิ ตามและประเมนิ ผล : กองบรหิ ารทรพั ยากรบคุ คล
ผกู้ ำกับตัวชี้วัด : กลุ่มงานบรรจแุ ต่งต้ังและทะเบียนประวตั ิ เบอร์ตดิ ต่อ : 0 2590 6154
ผูร้ ับผดิ ชอบตัวชี้วดั : นางสาวพชั รนิ ทร์ วัฒนศลิ กลุ เบอร์ตดิ ต่อ : 0 2590 6154
71
คูม่ อื การประเมินผลการปฏิบัตริ าชการตามคำรับรองการปฏบิ ัติราชการของหนว่ ยงานในสงั กัดกรมการแพทย์
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
ตวั ชี้วัดที่ 4.3 Digital Reform (Digital Transformation)
น้ำหนกั : รอ้ ยละ 8
แบ่งเปน็ 2 กรณี : รอ้ ยละของโรงพยาบาลท่เี ป็น Smart Hospital น้ำหนัก
รอ้ ยละของหน่วยงาน DMS digital reform (รอ้ ยละ)
กรณที ี่ 1 : หน่วยงานบริการ
กรณีที่ 2 : หน่วยงานสนับสนนุ 8
8
หมายเหตุ : กรณที ี่ 1 หน่วยงานบรกิ าร ประกอบด้วย
1 โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี 17 โรงพยาบาลมะเร็งลพบุรี
2 โรงพยาบาลเมตตาประชารกั ษ์ (วดั ไรข่ ิง) 18 โรงพยาบาลมะเร็งลำปาง
3 โรงพยาบาลราชวถิ ี 19 โรงพยาบาลมะเร็งอบุ ลราชธานี
4 โรงพยาบาลเลดิ สนิ 20 โรงพยาบาลมะเร็งอุดรธานี
5 โรงพยาบาลสงฆ์ 21 โรงพยาบาลมะเร็งสุราษฎร์ธานี
6 สถาบนั สิรินธรเพื่อการฟืน้ ฟสู มรรถภาพฯ 22 โรงพยาบาลมหาวชริ าลงกรณธญั บุรี
7 สถาบันทนั ตกรรม 23 โรงพยาบาลธญั ญารักษ์เชยี งใหม่
8 สถาบันประสาทวิทยา 24 โรงพยาบาลธญั ญารักษ์สงขลา
9 สถาบนั พยาธวิ ิทยา 25 โรงพยาบาลธญั ญารกั ษ์ขอนแก่น
10 สถาบนั มะเร็งแหง่ ชาติ 26 โรงพยาบาลธัญญารกั ษ์ปัตตานี
11 สถาบนั บำบดั รักษาและฟื้นฟผู ู้ตดิ ยาเสพตดิ แหง่ ชาติฯ 27 โรงพยาบาลธัญญารักษ์แม่ฮ่องสอน
12 สถาบนั โรคทรวงอก 28 โรงพยาบาลธัญญารกั ษอ์ ดุ รธานี
13 สถาบันโรคผวิ หนัง 29 โรงพยาบาลสมเดจ็ พระสงั ฆราชญาณสังวรฯ
14 สถาบนั สขุ ภาพเด็กแห่งชาติมหาราชนิ ี 30 โรงพยาบาลโรคผิวหนังเขตรอ้ นภาคใต้ จงั หวดั ตรงั
15 โรงพยาบาลประสาทเชยี งใหม่ 31 โรงพยาบาลเวชชารกั ษ์ ลำปาง
16 โรงพยาบาลมะเร็งชลบุรี 32 ศูนยน์ วัตกรรมสขุ ภาพผูส้ งู อายุ
หมายเหตุ : กรณที ี่ 2 หนว่ ยงานสนบั สนนุ ประกอบด้วย
1 สำนักงานเลขานุการกรม 7 สำนกั นเิ ทศระบบการแพทย์
2 กองบรหิ ารการคลงั 8 กลุม่ ตรวจสอบภายใน
3 สถาบนั วจิ ยั และประเมนิ เทคโนโลยที างการแพทย์ 9 กลมุ่ พัฒนาระบบบริหาร
4 กองบริหารทรัพยากรบุคคล 10 สำนักดิจิทลั การแพทย์
5 กองยุทธศาสตร์และแผนงาน 11 สำนกั กฎหมายการแพทย์
6 กองวิชาการแพทย์ 12 สถาบันเวชศาสตร์สมเด็จพระสังฆราชฯ ผู้สงู อายุ
72
คมู่ ือการประเมินผลการปฏิบตั ริ าชการตามคำรบั รองการปฏบิ ตั ริ าชการของหน่วยงานในสังกดั กรมการแพทย์
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
ตัวชี้วัดท่ี 4.3 Digital Reform (Digital Transformation)
น้ำหนัก : รอ้ ยละ 8
กรณีที่ 1 : หน่วยงานบรกิ าร รอ้ ยละของโรงพยาบาลทีเ่ ปน็ Smart Hospital
คำอธิบาย
กรมการแพทย์จะมุ่งใชเ้ ทคโนโลยีดิจิทลั ในการพัฒนาและปรบั ปรุงประสิทธิภาพการบริหารจัดการและ
การบริการของหน่วยงานสังกัดกรมการแพทย์ ให้เกิดการบริการภาครัฐ ข้อมูล องค์ความรู้ ทั้งระดับประเทศ
ระดับกระทรวง ระดับกรม และระดับหน่วยงาน มีการบูรณาการงานด้านเทคโนโลยีดิจิทัลของหน่วยงาน ท้ัง
การบริการ บริหาร และวิชาการด้านการแพทย์ รวมถึงยกระดับการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของกรมการแพทย์
ช่วยให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการด้านดิจทิ ัลได้สะดวกและรวดเร็ว ลดระยะเวลารอคอย และการเดินทาง
ของผู้รับบริการ และมีเครื่องมือในการดูแลสุขภาพตนเอง (Smart Hospital) อันนำไปสู่การมีข้อมูลสำหรับ
ประเมนิ สถานการณแ์ ละปญั หาขอ้ มูลสขุ ภาพของประชาชนในภาพรวมของประเทศ
คำนยิ าม :
Smart Hospital หมายถึง โรงพยาบาลภาครัฐ สังกัดกระทรวงสาธารณสุข ที่มีการประยุกต์ใช้
เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อสนับสนุนการจัดบริการภายในโรงพยาบาล ลดขั้นตอนการปฏิบัติ และเพื่อความสะดวก
รวดเร็วในการรับบริการที่มีคุณภาพดี มีความปลอดภัย และทันสมัยอย่างเปน็ มิตรต่อส่ิงแวดลอ้ ม แนวทางการ
ดำเนินงานดังน้ี
1) Smart IT Infrastructure
โรงพยาบาลมีการดำเนนิ งานการประเมินความเสี่ยงด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ มีวิเคราะห์ จัดระดับความ
เสี่ยงด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และโครงสร้างพื้นฐานของหน่วยงาน บริหารจัดการความเสี่ยง ติดตามประเมิน ควบคุม
ความเสยี่ งตอ่ เนอ่ื ง
2) Smart Tools
โรงพยาบาลมีการนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้เพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการ และการปฏิบัติงานของ
เจ้าหนา้ ที่ ใหม้ คี วามถูกต้องแม่นยำ สะดวกรวดเร็ว ลดความเส่ยี งความผิดพลาดต่างๆ ลดระยะเวลา เพิ่มความ
ปลอดภัย และเพิ่มความพึงพอใจของผู้รับบริการ อาทิ เครื่องมือและอุปกรณ์ทางการแพทย์อัตโนมัติ ระบบ
บรหิ ารจัดการควิ รปู แบบดิจิทลั รูปแบบออนไลน์
3) Smart Services
โรงพยาบาลมีการบริหารจัดการกระบวนงานที่มีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับการพัฒนาองค์กรตาม
แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย และ พระราชบัญญัติการบริหารงานและการให้บริการภาครัฐผ่าน
ระบบดิจิทัล พ.ศ. 2562 เช่น การยกเลิกการเรียกรับสำเนาบัตรประชาชนและเอกสารอื่นที่ออกโดยราชการ
จากผู้รับบริการ การลดระยะเวลารอคอยรับบริการ การมีบริการนัดหมายแบบเหลื่อมเวลา และมีการจัดเก็บ
ข้อมูลเวชระเบียนผู้ป่วยด้วยรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (EMR : Electronic Medical Records) โดยยึดแนวทาง
EMRAM ของ HIMSS
EMRAM คือ เครื่องมอื ในการวัดระดบั ความพร้อม EMR (8 Stages) เพ่ือการพัฒนาสู่สถานพยาบาลดิจิทัลเต็ม
รูปแบบ (ซง่ึ ในทีนีก้ ำหนดใหว้ ัดท่ี Stage 4) โดย
Stage 0: All three ancillaries not installed
• ไม่มีระบหลัก 3 ระบบคือ ระบบห้องแล็บ, ระบบหอ้ งยา, และระบบทางรังสีวิทยา
Stage 1: All three ancillaries installed – Lab, Rad, Pharmacy
• มรี ะบบสนับสนนุ บริการทางการแพทย์ 3 อยา่ ง ได้แก่ ระบบหอ้ งแลบ็ ระบบห้องยา และระบบทางรังสีวทิ ยา
73
คมู่ อื การประเมินผลการปฏิบัตริ าชการตามคำรบั รองการปฏิบัติราชการของหน่วยงานในสังกดั กรมการแพทย์
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
Stage 2: CDR, Controlled medical vocabulary, CDS, HIE capable
• มี CDR ระบบฐานข้อมูลตาม Stage 1 ซึ่งสามารถส่งข้อมูลมาบันทึกในฐานขอ้ มูลนีไ้ ด้ แพทย์สามารถเข้ามาดูขอ้ มูล
เหล่าน้ี รวมถึงสามารถบันทึกขอ้ มลู ท่เี กดิ จากการเขียนลงกระดาษแล้วสแกนได้
Stage 3: Clinical documentation, CDSS (error checking)
• มรี ะบบบนั ทึกให้ยากับคนไข้ มหี นว่ ยผู้ป่วยในอย่างน้อย 1 หน่วย นำระบบ Nursing/Clinical Documentation มา
ใช้ (เช่น Vital sign, Flow Sheets, Nursing Notes) โดยเชื่อมต่อเข้ากับ CDR
• มีระบบ PACS ใหแ้ พทยท์ ี่อยู่นอกหน่วยรังสวี ิทยาสามารถเข้าไปดูด้วยได้ผา่ นระบบเครือขา่ ยภายในองค์กร สามารถ
ทำ CDS Level 1 สำหรบั Error Checking
Stage 4: CPOE; Clinical decision support (clinical protocols)
• แพทย์สามารถใช้ระบบ CPOE สั่งการรักษา สั่งยาในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ สามารถทำ CDS Level 2 คือมีการใช้
Evidence-based medicine protocols เข้ามาเป็นสว่ นหน่ึงของระบบ
Stage 5: Full R-PACS
• ระบบ PACS ที่เก็บข้อมูลได้จากอุปกรณ์ตรวจหลายชนิด support ไฟล์ DICOM และแพทย์จากหน่วยอื่นก็
สามารถเขา้ ดูไดผ้ า่ นระบบเครอื ขา่ ย
Stage 6: Physician documentation (templates), Full CDSS, Closed loop medication administration
• แพทยบ์ นั ทึกขอ้ มลู เขา้ ระบบในผู้ปว่ ยในใหไ้ ด้อย่างน้อย 1 หนว่ ย เช่น บนั ทกึ progress notes, consult notes,
discharge summaries หรอื problem list & diagnosis list
• level 3 CDS variance and compliance alerts
• Closed loop medication administration แพทย์ส่งั ยา, เภสัชตรวจสอบความถูกต้องและออก barcode ให้
แพค็ เกจยา, พยาบาลจะให้ยาคนไขโ้ ดยแสกน barcode , ฯลฯ อาจใช้เทคโนโลยีอนื่ ๆ ได้ เช่น RFID
• เปา้ หมายก็คอื “five rights” ของการใหย้ า คอื right patient, right time, right drug, right dose, และ right route.
Stage 7: Complete EMR, Data analytics to improve care
• ไม่ใช้กระดาษ
• มกี ารทำ Data warehousing
• มีความพร้อมในการแชร์ clinical information ขา้ มสถานพยาบาลในรปู ของ standardized electronic
transactions
• มกี ารสรปุ ข้อมลู ผปู้ ่วยตลอด patient journey ผา่ นหน่วยตา่ ง ๆ เชน่ จาก Out-patient มา Emergency
Department แล้วไปต่อ In-patient ก่อนจะย้ายหนว่ ยมีการสรปุ ขอ้ มูลก่อน
• ในระบบ closed loop medication management มกี ารรวมการใหเ้ ลอื ดและการใหน้ ม
4) Smart Administration
โรงพยาบาล/หน่วยงานมีการบรหิ ารจัดระบบงานให้มคี วามเชอ่ื มโยงกนั ได้อยา่ งอัตโนมัติ โดยนำระบบ
สารบรรณ พสั ดุ ERP (Enterprise Resource Planning) มาใช้ โดยเฉพาะระบบหลักของโรงพยาบาล (Core
Business Process) เพ่อื ให้มีระบบสารสนเทศที่ตอบสนองตอ่ การบริหารจดั การไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ ปอ้ งกันความ
เสย่ี งดา้ นการเงนิ การบญั ชี การจดั ซื้อจดั จ้าง ป้องกนั ปัญหาการขาดแคลนและความไมส่ มดลุ ดา้ นทรัพยากร
บคุ คล ทรัพยากรในระบบบริการ มกี ารบรหิ ารจัดการ Unit Cost ให้อยูใ่ นเกณฑ์ที่เหมาะสม และเพ่ือเพิ่ม
คณุ ภาพระบบบริการ จัดการระยะเวลารอคอยได้อยา่ งเหมาะสม
5) Smart Outcome
โรงพยาบาลมีประสิทธิภาพในการจัดการ มี Unit Cost ในเกณฑ์ที่เหมาะสมสามารถเปรียบเทียบ
(Benchmarking) กับหน่วยงานอื่นได้ มีการจัดการและป้องกันความเสี่ยง (Proactive Risk Management) ที่ดีใน
ทกุ มติ ิ เพื่อให้การบริการมีคุณภาพดีในทุกมิติ และมกี ารอนุรักษ์ส่ิงแวดลอ้ ม และอนุรักษ์พลังงาน อยา่ งยัง่ ยนื
74
คู่มือการประเมนิ ผลการปฏิบัตริ าชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของหน่วยงานในสงั กดั กรมการแพทย์
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
เกณฑ์การประเมนิ ผล :
ประเดน็ รายละเอยี ด คะแนน หลักฐาน
1 Smart IT Infrastructure
หน่วยบริการดำเนินการตามแนวทางการรักษาความมั่นคง 1 แบบประเมินตามแนวทาง
การรักษาความม่ังคง
ปลอดภัยกรมการแพทย์ (แบ่งตามขนาดของหน่วยบริการเป็น
ปลอดภยั
3 ระดบั คือ S, M, L)
2 Smart Tools
2.1 หน่วยบริการมีการใช้งานระบบงานสารบรรณแบบ 0.5 2.1 ตรวจสอบจากระบบ
สารบรรณอิเล็กทรอนิกส์
อิเล็กทรอนิกส์ (on Cloud) และสามารถเชื่อมโยงข้อมูลกับ
ของกรมการแพทย์
ระบบสารบรรณอิเลก็ ทรอนิกส์ของกรมการแพทยไ์ ด้
2.2 หน่วยบริการส่งข้อมูล 43 แฟ้มมายัง DMS Big Data แบบ 0.5 2.2 ตรวจสอบจากระบบ
สง่ ขอ้ มูล 43 แฟ้ม
Real Time
3 Smart Tools2
3.1 Queue: มีช่องทางออนไลน์ หรือช่องทางแจ้งเตือนคิว 0.5 3.1-3.2 หน่วยบรกิ าร
แนบ File ภาพ
รบั บรกิ าร อย่างน้อย 1 จดุ เชน่ คิวพบแพทย์
3.2 Devices: มีการเชื่อมข้อมูลของเครื่องมือแพทย์ (Vital 0.5
Sign) อยา่ งนอ้ ย 1 อุปกรณ์ท่ีมศี กั ยภาพในการเชื่อมต่อ เข้าสู่
HIS ของโรงพยาบาลนัน้ ๆ อตั โนมตั ิ
4 Smart Services1 0.5 4.1 แบบประเมนิ EMRAM
4.1 EMRAM ผา่ นระดับ 4
4.2 มีการใช้ใบสั่งยาในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (OPD ทุกห้อง 0.5 4.2 หน่วยบริการแนบ
ตรวจ) File ภาพใบสั่งยาใน
รปู แบบอิเล็กทรอนิกส์
5 Smart Services2
5.1 มีขอ้ มูลระยะเวลารอคอยรบั บริการตัง้ แต่ผู้ปว่ ยเข้ามารับ 0.5 5.1-5.2 หนว่ ยบริการแนบ
File ภาพ
บริการจนสิ้นสุดการให้บรกิ าร สง่ ใหส้ ว่ นกลางกรมการแพทย์
อย่างนอ้ ย 1 จุด บริการ OPD
5.2 มีบริการนัดหมายแบบเหลื่อมเวลา หรือมีการจัดกลุ่ม 0.5
ผรู้ ับบริการ ไดร้ ับบรกิ ารตรงเวลาหรือแตกต่างเล็กน้อยอย่าง
เหมาะสม
หมายเหตุ 1 สถาบันพยาธิวทิ ยา ใช้ประเดน็ ท่ี 1 และ 2.1 ของกรณที ี่ 1
หมายเหตุ 2 : ตัวชี้วัด ปี 2563 ทตี่ ดั ออกแตย่ งั คงตอ้ งรายงานตัวชวี้ ัดของกระทรวงสาธารณสุข
(1) Queue : มีหนา้ จอแสดงลำดับคิวรอรบั บรกิ ารในจดุ ท่ีเหมาะสมเพ่ือลดความแออัดบรเิ วณจุด
บริการและหนา้ ห้องตรวจ
(2) ยกเลกิ การเรยี กรับสำเนาบตั รประชาชนและเอกสารอนื่ ที่ออกโดยราชการ จากผรู้ ับบริการ
(3) มกี ารจดั เก็บข้อมลู เวชระเบียนผูป้ ว่ ยด้วยรปู แบบอเิ ล็กทรอนกิ ส์ (EMR : Electronic Medical Records)
75
คมู่ ือการประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ริ าชการตามคำรบั รองการปฏบิ ตั ริ าชการของหนว่ ยงานในสงั กัดกรมการแพทย์
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน : พจิ ารณาจากประเด็นทส่ี ามารถดำเนนิ การไดด้ ังน้ี
ประเดน็ ประเดน็ 1 คะแนนตามประเดน็ ประเดน็ 5
คะแนน 1 ประเด็น 2 ประเดน็ 3 ประเด็น 4 1
111
ทปี่ รกึ ษาตวั ชี้วดั : นายแพทยว์ รี ะวฒุ ิ อมิ่ สำราญ รองอธบิ ดกี รมการแพทย์
แพทยห์ ญงิ ปฐมพร ศิรประภาศิริ ที่ปรึกษากรมการแพทย์
หน่วยงานเจา้ ภาพในการตดิ ตามและประเมินผล : สำนกั ดิจทิ ัลการแพทย์ เบอร์ติดต่อ : 02590 6315
ผ้กู ำกับตัวช้ีวดั : ผู้อำนวยการสำนักดจิ ทิ ัลการแพทย์ เบอร์ตดิ ต่อ : 02590 6309
ผู้รบั ผิดชอบตัวชว้ี ัด : นางทบั ทิม ทองวจิ ติ ร เบอรต์ ดิ ต่อ : 02590 6392
นายชัยวฒั น์ คารวะพิทยากลุ
76
คมู่ ือการประเมินผลการปฏบิ ัตริ าชการตามคำรบั รองการปฏบิ ัติราชการของหนว่ ยงานในสงั กัดกรมการแพทย์
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
ตัวช้วี ดั ที่ 4.3 Digital Reform (Digital Transformation)
นำ้ หนกั : รอ้ ยละ 8
กรณที ี่ 2 : หน่วยงานสนับสนนุ ร้อยละของหนว่ ยงาน DMS digital reform
คำอธิบาย
กรมการแพทยจ์ ะมุ่งใชเ้ ทคโนโลยีดิจิทลั ในการพฒั นาและปรบั ปรุงประสิทธภิ าพการบริหารจัดการและ
การบริการของหน่วยงานสังกัดกรมการแพทย์ ให้เกิดการบริการภาครัฐ ข้อมูล องค์ความรู้ ทั้งระดับประเทศ
ระดับกระทรวง ระดับกรม และระดับหน่วยงาน มีการบูรณาการงานด้านเทคโนโลยีดิจิทัลของหน่วยงาน ท้ัง
การบริการ บริหาร และวิชาการด้านการแพทย์ รวมถึงยกระดับการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของกรมการแพทย์
(DMS digital reform ) อันนำไปสู่การมีข้อมูลสำหรับประเมินสถานการณ์และปัญหาข้อมูลสุขภาพของ
ประชาชนในภาพรวมของประเทศ
คำนิยาม
DMS digital reform หมายถึง หน่วยงานสังกัดกรมการแพทย์ ที่มีการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั
เพื่อสนับสนุนการจัดบริการภายในหน่วยงาน ลดขั้นตอนการปฏิบัติ และเพื่อความสะดวกรวดเร็วในการรับ
บรกิ ารท่มี ีคณุ ภาพดี มีความปลอดภยั และทนั สมัยอย่างเปน็ มติ รต่อส่ิงแวดลอ้ ม
1) Smart IT Infrastructure
หน่วยงานมีการดำเนินงานการประเมินความเสี่ยงด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ มีวิเคราะห์ จัดระดับ
ความเสี่ยงด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และโครงสร้างพื้นฐานของหน่วยงาน บริหารจัดการความเสี่ยง ติดตาม
ประเมนิ ควบคมุ ความเส่ียงตอ่ เน่อื ง
2) Smart Administration
โรงพยาบาล/หน่วยงานมีการบริหารจดั ระบบงานใหม้ ีความเช่ือมโยงกันได้อยา่ งอตั โนมัติ โดยนำระบบ
สารบรรณ พัสดุ ERP (Enterprise Resource Planning) มาใช้ โดยเฉพาะระบบหลักของโรงพยาบาล (Core
Business Process) เพื่อให้มีระบบสารสนเทศที่ตอบสนองต่อการบริหารจัดการได้อย่างรวดเร็ว ป้องกันความ
เสี่ยงด้านการเงินการบัญชี การจัดซื้อจัดจ้าง ป้องกันปัญหาการขาดแคลนและความไม่สมดุลด้านทรัพยากร
บุคคล ทรัพยากรในระบบบริการ มีการบริหารจัดการ Unit Cost ให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม และเพ่ือเพิ่ม
คุณภาพระบบบรกิ าร จัดการระยะเวลารอคอยไดอ้ ย่างเหมาะสม
3) Smart Tools
โรงพยาบาลมีการนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้เพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการ และการปฏิบัติงานของ
เจ้าหนา้ ที่ ให้มคี วามถกู ตอ้ งแมน่ ยำ สะดวกรวดเรว็ ลดความเสีย่ งความผดิ พลาดตา่ ง ๆ ลดระยะเวลา เพิม่ ความ
ปลอดภัย และเพิ่มความพึงพอใจของผู้รับบริการ อาทิ เครื่องมือและอุปกรณ์ทางการแพทย์อัตโนมัติ ระบบ
บรหิ ารจัดการคิว รปู แบบดิจิทลั รปู แบบออนไลน์
4) Smart Outcome
โรงพยาบาลมีประสิทธิภาพในการจัดการ มี Unit Cost ในเกณฑ์ที่เหมาะสมสามารถเปรียบเทียบ
(Benchmarking) กับหน่วยงานอื่นได้ มีการจัดการและป้องกันความเสี่ยง (Proactive Risk Management)
ที่ดีในทุกมิติ เพื่อให้การบริการมีคุณภาพดีในทุกมิติ และมีการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และอนุรักษ์พลังงาน อย่าง
ยั่งยืน
77
คู่มอื การประเมนิ ผลการปฏิบตั ริ าชการตามคำรบั รองการปฏิบัติราชการของหนว่ ยงานในสังกดั กรมการแพทย์
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
เกณฑก์ ารประเมินผล :
ประเด็น รายละเอยี ด คะแนน หลกั ฐาน
1 Smart IT Infrastructure แบบประเมนิ ตาม
หน่วยงานดำเนินการตามแนวทางการรักษาความมั่นคง 1 แนวทาง
ปลอดภัยกรมการแพทย์
2 Smart Tools แบบประเมนิ ตาม
หน่วยงานดำเนินการตามแนวทางการใช้บริการ VDO 1 แนวทาง
Conference กรมการแพทย์
3 Smart Administration 1 ตรวจสอบจากการใช้
มีการนำข้อมูลและระบบงานของหน่วยงานเป็น Cloud 1 Cloud ของกรมการ
กรมการแพทย์
แพทย์
4 Smart Administration 2 4.1 - 4.2 ตรวจสอบ
4.1 มีการจัดทำ Website ของหน่วยงานสอดคล้องกับ 1 จาก หนา้ Website
template ที่กรมกำหนด
4.2 หน่วยงานมีการนำเสนอข้อมูลบน Web Portal ของ ตรวจสอบจากระบบ
กรมการแพทย์ 1 MIS ของกรมการแพทย์
5 Smart Outcome
หน่วยงานมีการจัดการระบบสารสนเทศและจัดช่องทางให้
สามารถเชื่อมโยงข้อมูลขึ้นสู่ระบบ MIS ของกรมการแพทย์
อยา่ งน้อย 1 เรือ่ ง
หมายเหตุ สถาบนั พยาธิวทิ ยา ใชป้ ระเดน็ ที่ 3, 4.2 และ 5 ของกรณีท่ี 2
เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน : พิจารณาจากประเดน็ ทส่ี ามารถดำเนนิ การได้ดังน้ี
ประเด็น ประเดน็ 1 คะแนนตามประเด็น ประเดน็ 4 ประเด็น 5
ประเดน็ 2 ประเดน็ 3 1 1
คะแนน 1 1 1
ที่ปรกึ ษาตัวช้วี ัด : นายแพทย์วีระวุฒิ อ่ิมสำราญ รองอธบิ ดกี รมการแพทย์
แพทยห์ ญิงปฐมพร ศิรประภาศิริ ทีป่ รึกษากรมการแพทย์
หนว่ ยงานเจา้ ภาพในการตดิ ตามและประเมินผล : สำนักดิจทิ ลั การแพทย์ เบอร์ตดิ ต่อ : 02590 6315
ผู้กำกบั ตวั ช้ีวดั : ผู้อำนวยการสำนกั ดจิ ิทลั การแพทย์ เบอร์ติดต่อ : 02590 6309
ผรู้ บั ผิดชอบตัวชี้วดั : นางทับทมิ ทองวิจิตร เบอร์ตดิ ต่อ : 02590 6392
นายชยั วัฒน์ คารวะพิทยากุล
78