The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chanthirajimah, 2021-07-02 10:24:38

สังคมประถม

สังคมประถม

95

เร่อื งท่ี 2 โครงสรางการบริหารราชการแผนดิน

การบรหิ ารราชการแผน ดนิ เปน อาํ นาจหนาทข่ี องรัฐบาล (นายกรฐั มนตรแี ละคณะรัฐมนตร)ี
แบง ออกเปน

การบริหารราชการสว นกลาง ไดแ ก การกาํ กบั ดแู ลสํานกั นายกรฐั มนตรี กระทรวง ทบวง
การบริหารราชการสวนภูมิภาค ไดแก จังหวัดและอําเภอ โดยจังหวัดและอําเภอรับคําส่ังจาก
สว นกลาง คอื กระทรวง ทบวง กรม ไปปฏิบตั ิ
การบริหารราชการสวนทองถิ่น ไดแก การปกครองสวนทองถ่ินของไทยตามพระราชบัญญัติระเบียบ
บริหารราชการแผนดิน พ.ศ. 2534 จาํ แนกเปนองคก ารบริหารสว นจงั หวัด เทศบาล องคก ารบรหิ ารสวนตาํ บล
กรุงเทพมหานคร เมอื งพทั ยา

แนวคดิ เร่อื งการปกครองสวนทอ งถิน่

เจตนารมณของรฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช 2540 ประการหนึ่ง คือ มุงหวังท่ีจะ
ปรับปรุงโครงสรางทางการเมืองการปกครองใหพัฒนาสังคมไทยไปสูสังคมประชาธิปไตยอยางแทจริง
สาระสําคัญของการปกครองสวนทองถิ่นบัญญัติไวในหมวด 9 ของรัฐธรรมนูญฉบับปจจุบัน ในมาตรา 282
โดยอางถึงมาตรา 1 เปนกรอบในการกําหนดอํานาจหนาท่ีวารัฐจะตองใหความเปนอิสระแกทองถิ่นตาม
หลกั แหลงการปกครองตนเองตามเจตนารมณของประชาชนในทองถ่ิน

การปกครองทองถิน่ จําแนกออก ดงั น้ี
1. องคการบริหารสวนจังหวัด จัดต้ังขึ้นโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการสวน-

จงั หวัด โดยกาํ หนดใหจดั ตง้ั ขนึ้ ทุกจังหวดั (ยกเวน กรุงเทพมหานคร) ปจจุบันประเทศไทยมีองคการบริหาร-
สว นจงั หวัด 76 แหง (76 จงั หวัด)

อํานาจหนาท่ีขององคการบริหารสวนจังหวัด องคการบริหารสวนจังหวัดมีหนาที่ดังนี้ คือ
รกั ษาความสงบเรียบรอ ยจัดการเร่ืองการศึกษา บํารุงศาสนา สงเสริมวัฒนธรรม ดูแลกิจการสาธารณูปโภค
ในจังหวัดใหไ ดรบั ความสะดวกดําเนินการปอ งกนั โรค บาํ บดั โรค โดยจัดตง้ั สถานพยาบาลของทอ งถ่นิ และบาํ รุง
ใหตอเนอ่ื ง จดั ดแู ลระบบคมนาคมทางนํา้ ทางบก จดั ระบบระบายนํ้าใหด ี

โครงสรางองคก ารบริหารสวนจังหวดั
ประชาชนในทอ งถิ่นเลือกตัง้ สมาชิกสภาองคการบริหารสวนจังหวัดทุก 4 ป ผูทไ่ี ดร บั การเลือกตั้งเปน
สมาชกิ สภาองคก ารบรหิ ารสว นจังหวัด หรือ (ส.จ.) ทาํ หนา ทใ่ี นสภาองคการบริหารสว นจังหวดั โดยลงมตเิ ลอื ก
ประธานสภาองคการบริหารสวนจังหวัดและนายกองคการบรหิ ารสว นจังหวัด

96

แผนผงั แสดงโครงสรา งองคก ารบรหิ ารสว นจังหวดั

โครงสร้างองคก์ ารบริหารส่วนจงั หวดั

ประชาชน นายกองคก์ ารบริหารส่วนจงั หวดั
สภาองคก์ ารบริหารส่วนจงั หวดั รองนายก อบจ.

ปลดั อบจ. (แต่งตงั )

ส่วนอาํ นวยการ ส่วนแผนงานและ ส่วนกิจการ อบจ. ส่วนการคลงั ส่วนช่าง
งบประมาณ

2. เทศบาล เปนองคกรท่ีจัดต้ังข้ึนโดยพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 เทศบาล
แบงออกเปน 3 ประเภท คอื เทศบาลตําบล เทศบาลเมือง และเทศบาลนคร โดยใชเกณฑจํานวนประชากร
และรายไดของทอ งถ่นิ เปน องคประกอบสาํ คญั ในการแบง ประเภทของเทศบาล

อาํ นาจหนา ทีข่ องเทศบาล คือ เทศบาลมีอํานาจหนาทโี่ ดยรวม ดังน้ี
ดูแลความสงบเรียบรอยของประชาชน ดูแลความสะอาดของถนน ท่ีสาธารณะ ระบบการ
จดั เก็บขยะ จัดใหมีสวนสาธารณะส่งิ แวดลอ มทส่ี ะอาด สวยงาม เปน ท่ีพักผอน ปอ งกนั ภัยจากอคั คีภยั และจัด
เครือ่ งมอื ระงบั ภัย จัดระบบการศึกษาในเขตเทศบาล ปอ งกันและระวังโรคตดิ ตอ

โครงสรา งของเทศบาล
เทศบาล แบงออกเปน 3 ระบบ คือ เทศบาลตําบล เทศบาลเมือง และเทศบาลนคร แตละองคกร
ประกอบดว ย สภาเทศบาล มาจากการเลือกตัง้ ของประชาชน (ทาํ หนา ที่ฝายนิติบัญญัต)ิ สภาเทศบาลจะเลือก
สมาชกิ เปน คณะเทศมนตรี (ทําหนาที่ฝายบริหารของเทศบาล) ประกอบดวยนายกเทศมนตรีและเทศมนตรี
จํานวนสมาชกิ สภาเทศบาล และคณะเทศมนตรี จะแตกตางกนั ตามประเภทของเทศบาล คอื

97

เทศบาลตาํ บล ประกอบดว ย สภาเทศบาล 12 คน คณะเทศมนตรี มี นายกเทศมนตรี 1 คน
เทศมนตรี 2 คน

เทศบาลเมอื ง ประกอบดวย สภาเทศบาล 18 คน คณะเทศมนตรี มีนายกเทศมนตรี 1 คน
เทศมนตรี 2 – 3 คน

เทศบาลนคร ประกอบดว ย สภาเทศบาล 24 คน คณะเทศมนตรี มนี ายกเทศมนตรี 1 คน
เทศมนตรีไมเกิน 4 คน

โครงสรางของระเบียบบรหิ ารราชการกรงุ เทพมหานคร

ประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร เลือกตั้งผูวาราชการกรุงเทพมหานคร บริหารกิจการใน
กรงุ เทพมหานคร มวี าระการดํารงตําแหนง 4 ป

ประชาชนเลือกต้ังสมาชิกกรุงเทพมหานคร (ฝายนิติบัญญัติ) กําหนดใหประชาชนในแตละเขต
ปกครอง เลือกสมาชิกสภาเขต (ส.ก.) ไดเขตละ 1 คน ปจ จุบันกรุงเทพมหานคร มี 50 เขตปกครอง

ประชาชนเลือกตง้ั สมาชิกสภาเขต (ส.ข.) เปน ฝายนติ ิบญั ญัติของเขต (จํานวน ส.ข. คาํ นวณตามเกณฑ
ราษฎร) แตละเขตมี ส.ข. อยา งนอยเขตละ 7 คน เขตใดมีราษฎรเกินหนึ่งแสนคน ใหมี ส.ข. ไดเพ่ิมอีก 1 คน
เศษของแสนถาเกินหา หม่ืนใหนบั เปนหนึง่ แสนคน

กรุงเทพมหานคร

ผูว้ ่าราชการกรุงเทพมหานคร สภากรุงเทพมหานคร
(ฝ่ ายบริหาร) วาระ ปี (ฝ่ ายนิติบญั ญตั )ิ วาระ ปี

รองผูว้ า่ ราชการกรุงเทพมหานคร ประชาชน
วาระ ปี เลือกตงั

ปลดั กรุงเทพมหานคร ผูว้ า่ ราชการกรุงเทพมหานคร
(มาจากการแตง่ ตงั ) (ฝ่ ายบริหาร) วาระ ปี

สนง.เขต ผูอ้ าํ นวยการเขต
(ปลดั กทม. แต่งตงั )

98

เมืองพัทยา
เมืองพัทยา เปนองคกรปกครองสวนทองถิ่นรูปแบบพิเศษ จัดต้ังข้ึนตามพระราชบัญญัติ
ระเบยี บบรหิ ารราชการเมืองพทั ยา พ.ศ. 2521
สาเหตทุ มี่ กี ารปรบั ปรงุ การปกครองทองถนิ่ เมืองพทั ยาจากรูปแบบเดิม คือ สุขาภิบาลนาเกลือ
จังหวัดชลบุรี เปนเมืองทองเที่ยวท่ีมีรายไดและเศรษฐกิจอยูในระดับดี จึงใชรูปแบบการจัดการเมือง
(City Manager System) ซึง่ เปนระบบนักบรหิ ารมืออาชพี เพ่ือความคลองตวั ในการบริหาร ตอมามีพระราชบัญญัติ
ระเบียบบรหิ ารราชการเมืองพัทยา พ.ศ. 2542 มาใชแ ทนพระราชบญั ญตั ฉิ บับเดมิ
อํานาจหนาที่ของเมืองพัทยา รักษาความสะอาดเรียบรอย วางผังเมือง และควบคุมการ
กอสรางจัดส่ิงแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติ จัดการจราจรควบคุมและสงเสริมการทองเท่ียวจัดใหมี
น้ําสะอาดใชควบคุมระเบียบตลาด ทาเทียบเรอื ทีจ่ อดรถ

กิจกรรมที่ 1

ใหผ ูเ รียนรวบรวมขอ มูล ชื่อของหัวหนา ฝา ยปกครอง สถานท่ที ํางานของบคุ คลเหลา นัน้ ในเขต
พนื้ ท่ีท่ีผเู รยี นอาศัยอยู ต้ังแตระดบั จงั หวดั อาํ เภอ ตําบล หมบู าน เพอ่ื จะไดรจู กั และสามารถตดิ ตอกบั
บคุ คลเหลานั้นไดถ ูกตอ งตามบทบาทหนาที่

เรือ่ งท่ี 3 ความสัมพันธร ะหวางอาํ นาจนิติบัญญัติ อาํ นาจบรหิ าร และอาํ นาจ
ตุลาการระบบการเมืองการปกครองของไทยในปจจุบนั

ประเทศไทยเปลยี่ นแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยเปนระบอบประชาธิปไตย
ตง้ั แตว ันที่ 24 มถิ ุนายน 2475 เปนตนมา นับเปนการส้ินสุดการปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยและ
เรมิ่ ตนการปกครองระบอบประชาธิปไตย ระบบรัฐสภา อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข มีรัฐธรรมนูญ
เปน กฎหมายสงู สดุ รูปแบบของรัฐเปนรฐั เดี่ยว มีอาํ นาจอธปิ ไตยหรืออํานาจสงู สุดในการปกครองรัฐ เปนของ
ประชาชน พระมหากษัตริยทรงใชอํานาจอธิปไตยแทนปวงชน โดยทรงใชอํานาจนิติบัญญัติผานทางรัฐสภา
ทรงใชอาํ นาจบริหารผา นทางคณะรัฐมนตรีและทรงใชอาํ นาจตลุ าการผานทางศาล

99

โครงสรา งการเมอื งการปกครองของไทย
แผนภมู ิแสดงโครงสรางการปกครองระบอบประชาธิปไตยระบบรัฐสภา

รัฐธรรมนูญ

พระมหากษตั ริย์
(ทรงใชอ้ าํ นาจอธิปไตยแทนปวงชน)

อาํ นาจอธิปไตย

นิติบญั ญตั ิ (รัฐสภา) บริหาร ตลุ าการ
(คณะรัฐมนตรี) (ศาล)

ส.ส. ส.ว. นายก คณะรัฐมนตรี ศาลทหาร
สมาชิกสภา วุฒสิ ภา รัฐมนตรี (ไมเ่ กิน คน) ศาลปกครอง
ผูแ้ ทนราษฎร ( คน) ศาลยตุ ิธรรม
ศาลรัฐธรรมนูญ

อํานาจอธิปไตย หมายถึง อํานาจสูงสุดในการปกครองประเทศโดยรัฐธรรมนูญกําหนดใหเปนอํานาจ
ของปวงชนชาวไทย ซึ่งสอดคลอ งกับหลกั การของระบอบประชาธิปไตยที่ถือวา ประชาชนเปนเจา ของประเทศ

ดังนั้น อํานาจอธิปไตย จึงเปนเครื่องช้ีถึงความเปนประชาธิปไตยและความเปนเอกราชของชาติ
เพราะประเทศท่มี ีเอกราชและเปน อสิ ระไมอ ยภู ายใตก ารปกครองของรัฐอื่นเทา นนั้ จึงจะใชอํานาจอธิปไตยได
โดยสมบูรณ

อาํ นาจอธิปไตย แบง ออกเปน 3 อํานาจ ไดแ ก อํานาจนติ บิ ัญญตั ิ (รัฐสภา) อาํ นาจบริหาร (คณะรัฐมนตร)ี
และอํานาจตุลาการ (ศาล) โดยรัฐธรรมนูญบัญญัติใหพระมหากษัตริยเปนผูทรงใชอํานาจอธิปไตยทั้งสาม
แทนปวงชนชาวไทย โดยผานทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรี และศาลตามลําดับ

ทั้งนี้ สถาบันทง้ั สามดงั กลาวตางมีอํานาจเปนอิสระตอกัน แตมีความสัมพันธซึ่งกันและกัน สามารถ
ตรวจสอบและถวงดุลการใชอํานาจของอกี ฝายหน่งึ ได อาํ นาจอธิปไตยทั้ง 3 มีดังน้ี

1. อํานาจนิติบัญญัติ คือ อํานาจในการตรากฎหมายใชบังคับแกพลเมืองของประเทศ
โดยรัฐสภาเปนผทู ําหนา ท่ีโดยตรง

100

พระมหากษัตริยจะทรงใชอ าํ นาจนติ ิบญั ญัตผิ านทางรัฐสภา โดยทรงลงพระปรมาภิไธย
ในรา งพระราชบัญญัติท่ีผานการพิจารณาจากรัฐสภาแลวเปนผลใหก ฎหมายฉบบั นน้ั มผี ลใชบงั คับโดยสมบูรณ

2. อาํ นาจบรหิ าร คือ อาํ นาจในการบงั คบั ใชกฎหมาย บริหารและจัดการปกครองบานเมือง
ใหเ ปน ระเบยี บเรียบรอย เพ่ือใหเกดิ ความเจริญกา วหนาและความผาสุกของประชาชน ผทู ําหนาที่ดานบริหาร
โดยตรง คอื รัฐบาลหรอื คณะรัฐมนตรี

พระมหากษัตริยจ ะทรงใชอ ํานาจบรหิ ารผา นทางคณะรัฐมนตรี เชน ทรงลงพระปรมาภิไธย
แตง ตัง้ ขาราชการระดบั สูงใหปฏบิ ัตหิ นา ที่ เชน ปลัดกระทรวงและอธบิ ดกี รมตา ง ๆ เปนตน

3. อาํ นาจตุลาการ คอื อํานาจในการพิจารณาพิพากษาคดีใหเปนไปตามกฎหมาย โดยศาล
เปนผูใชอํานาจหรือปฏิบัติหนาที่นี้โดยตรง พระมหากษัตริยจะทรงใชอํานาจตุลาการผานทางศาล เชน
ทรงลงพระปรมาภไิ ธยแตง ตงั้ ประธานศาลฎกี าและผพู พิ ากษาใหปฏบิ ตั หิ นาที่ เปนตน

เร่ืองท่ี 4 การมสี วนรวมทางการเมอื งการปกครองในระดบั ทอ งถิน่ ระดบั ประเทศ

ในสังคมประชาธิปไตย ถือวาอํานาจอธิปไตย ซึ่งเปนอํานาจสูงสุดในการปกครองรัฐ เปนของ
ประชาชน ประชาชนจงึ มบี ทบาทในการมีสวนรวมกําหนดแนวทางการปกครองรัฐ เพ่ือประโยชนแกปวงชน
สนองความตองการของปวงชน ฉะนั้น การมสี ว นรว มทางการเมืองการปกครอง จงึ เปนหัวใจของการปกครอง
ระบอบประชาธิปไตย

รูปแบบการมีสว นรว มทางการเมือง

การมสี วนรว มทางการเมอื งการปกครอง หมายถงึ การทีป่ ระชาชนในฐานะเปนเจา ของประเทศมีสวน
ในการกําหนดนโยบายหรือกําหนดการตัดสินใจของรัฐบาลในการดําเนินงานของรัฐ เพื่อประโยชนแก
ประชาชน

การมีสวนรวมทางการเมืองการปกครองของไทยมีหลายรูปแบบ เชน การแสดงความคิดเห็นของ
ประชาชนผานส่อื ตา ง ๆ เชน หนังสือพิมพ วิทยุการจัดอภิปรายทางการเมือง เพื่อหาขอมูลหรือขอสรุปการ
ลงคะแนนเสียงเลือกต้ังตัวแทนระดับทองถ่ิน ระดับจังหวัด และระดับประเทศ การสมัครเปนสมาชิกพรรค
การเมอื ง การสมคั รรบั เลอื กตงั้ เปน สมาชกิ สภาทองถนิ่ หรือสมาชิกสภาผูแทนราษฎรการชุมนุมโดยสงบและ
ปราศจากอาวุธเพ่ือเรียกรองผลประโยชนใหกับกลุมพรรคการเมือง หมายถึง กลุมบุคคลท่ีมีอุดมการณทาง
การเมืองหรือมีเจตนารมณในการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคมและการเมืองแนวเดียวกันมารวมตัวกัน เพ่ือนํา
แนวคดิ ทางการเมอื ง เศรษฐกิจ สงั คมเปน หลกั ในการบริหารประเทศ โดยสมัครรับเลือกต้งั สมาชิกสภาผูแทน-
ราษฎร โดยมุงหวังจะเปนรฐั บาลหรอื เปน ฝา ยคานเพอื่ เขา ไปทําหนาทคี่ วบคุมการทํางานของรฐั บาล

การเลือกต้งั เปน สทิ ธิและหนา ที่ของประชาชนชาวไทย การเลือกตั้งเปนการมีสวนรวมทางการเมืองท่ี
สําคัญรูปแบบหน่ึงประโยชนของการเลือกต้ัง การเลือกต้ังเปนวิธีการเปล่ียนอํานาจ ทําใหมีการหมุนเวียน
ผลัดเปลยี่ นอาํ นาจตามวิธีการหรือกระบวนการทกี่ ําหนดไวใ นรัฐธรรมนูญโดยประชาชน

101

บทบาทหนา ที่ ความรับผิดชอบของตนเองในฐานะพลเมืองดีของทองถน่ิ และประเทศชาติ

การดาํ เนนิ ชวี ิตตามวิถีทางประชาธิปไตย เชน การเคารพความคิดเห็นของกันและกัน ยอมรับความ
คิดเหน็ ของสมาชกิ สวนใหญและแสดงความคิดเหน็ ท่ีสรา งสรรค เพ่ือหาทางเลือกท่ีดีที่สุดท่ีจะพัฒนาสังคมให
เจรญิ กา วหนาและอํานวยความผาสกุ ใหแกสมาชิกสว นใหญ รวมท้งั สมาชิกจะดํารงชีวติ อยรู วมกนั อยา งสนั ตสิ ุข
ถงึ แมจ ะมคี วามขดั แยงกันกส็ ามารถหาขอยตุ ิไดด ว ยการใชเหตุผลตัดสนิ ใจกับปญหาน้ันโดยไมม ีการใชก าํ ลงั เขา
แกไขปญหา ดังนั้น ตัวเราจึงตองรับรูบทบาทและหนาที่ของตนเองในฐานะพลเมืองที่ดี การเปนสมาชิกใน
ชมุ ชน จงึ มีบทบาทและหนา ที่ ดงั น้ี

มีความรักและภูมิใจในชุมชนทองถิ่นของตนเองดวยการชวยรักษาและพัฒนาชุมชนและ
ทอ งถิ่นของตนใหม ีสภาพแวดลอ มทีส่ วยงาม สะอาด นาอยูอาศัย และไรมลพิษตาง ๆ เคารพและปฏิบัติตาม
ขนบธรรมเนยี มประเพณี วัฒนธรรม และระเบียบ ขอ บงั คบั กฎหมายของชุมชน ประเทศชาติจะทําใหสมาชิก
ของชุมชนอยูรว มกนั อยา งสงบสุขรกั ษาสาธารณสมบัติของชุมชนไวใหคงอยูและใชทรัพยากรของชุมชนอยาง
ประหยัด เพอื่ ประโยชนร วมกนั ซึง่ จะทําใหสมาชิกของชมุ ชนไดร ับประโยชนจ ากสาธารณสมบตั นิ นั้ ๆ อยางเต็มท่ี
และยาวนานเสยี สละประโยชนส ว นตนเพอื่ ประโยชนส ว นรวม เชน เสียภาษหี รือคาธรรมเนียมทุกชนิดที่ชุมชน
หรือประเทศชาติกําหนด เพื่อชุมชน ประเทศชาติจะไดนําเงินเหลานั้นไปใชบํารุงรักษาและพัฒนาชุมชนให
เจริญกาวหนาตอไปสนับสนุนนโยบายของทางราชการท่ีตองการรักษาและพัฒนาชุมชนใหเจริญกาวหนา
รวมทง้ั รวมมอื กับทางราชการปองกันมิใหใครมาทําลายสภาพแวดลอมทด่ี ีของชุมชนบทบาทและหนาที่ตาง ๆ
ของเราทีป่ ฏบิ ัตติ อชมุ ชนและประเทศชาติ จะกอ ใหเกิดประโยชนต อ ตนเองดวย อาทิ ถาเราเคารพสทิ ธิของกัน
และกันและเคารพกฎหมาย สมาชิกในชุมชนนั้นก็จะอยูรวมกันอยางสันติ เราเองก็ยอมจะไดรับประโยชน
อยา งมาก

คุณธรรมของการเปนพลเมืองดีในสังคมประชาธิปไตยในระดับกลุมสังคม ทองถิ่นและ
ประเทศชาติ

1. การเหน็ แกประโยชนสวนรวม เพราะสังคมประชาธิปไตยจะดํารงอยูได และสามารถพัฒนาใหมี
ความเจรญิ กาวหนา ไดอ ยางมาก ถาสมาชิกในสงั คมเห็นแกป ระโยชนสว นรวมและยอมเสียสละ ประโยชนสวนตน
เพอื่ ประโยชนสว นรวมเสมอ

2. การรับฟงความคิดเห็นของกันและกัน และเคารพในมติของเสียงสวนมาก สมาชิกในสังคม
ประชาธิปไตยมักจะมีความคิดเห็นในปญหาตาง ๆ ของสังคม และแนวทางแกไขปญหาน้ันแตกตางกัน
จึงจําเปนตองใชเสียงขางมาก หาขอยุติเกี่ยวกับแนวทางในการแกไขปญหาน้ัน ๆ แตทั้งน้ีเสียงสวนมากก็
จะตองเคารพความคดิ เห็นของเสยี งสวนนอ ย และจะตองไมถอื วาเสียงสวนนอยเปนฝายผิด จึงจะทําใหสังคม
ประชาธปิ ไตยโดยดาํ รงอยไู ดอ ยางสันติ

3. การมีระเบยี บวนิ ยั และรบั ผิดชอบหนาท่ี ถา สมาชกิ ในสงั คมประชาธปิ ไตยโดยยึดมั่นในระเบียบวินัย
ควบคุมตนเองได ไมละเมิดสิทธิของผูอ่ืนและต้ังใจปฏิบัติหนาท่ีของตนใหดีท่ีสุดเทาท่ีจะดีได สังคม
ประชาธิปไตยนัน้ ก็จะมแี ตความสงบสุขและเจริญกา วหนา

102

4. ความซื่อสัตยสุจริต ถาสมาชิกในสังคมประชาธิปไตยทุกคนยึดมั่นในความซ่ือสัตยสุจริต เชน
ไมล กั ทรัพย ไมเ บยี ดเบียนทรัพยส นิ ของผูอน่ื มาเปนของตน หรือถาขาราชการกป็ ฏิบัติหนาท่ีดวยความซ่ือสัตย
สุจริต ไมเ หน็ แกอ ามสิ สนิ จาง ไมท าํ การคอรรปั ชัน่ สงั คมนั้นจะมสี ันติสขุ และเจริญกาวหนา ขึ้นเรือ่ ย ๆ

กจิ กรรมท่ี 2

ใหผ ูเรียนบอกบทบาทและหนา ทีข่ องชนชาวไทยตามทรี่ ัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 กาํ หนดไว 3 ขอ คือ

1. ...................................................................................................................

2. ...................................................................................................................

3. ...................................................................................................................

ใหผูเรียนบอกคุณธรรมของการเปน พลเมืองที่ดีในสงั คมประชาธปิ ไตยมา 3 ขอ คอื

1. ...................................................................................................................

2. ...................................................................................................................

3. ...................................................................................................................

กิจกรรมท่ี 3

ใหผเู รยี นยกตวั อยา งกิจกรรมทตี่ นเขา ไปมสี ว นรวมในชุมชนแลว นาํ มาแลกเปล่ียนเรยี นรูในกลมุ ผูเรยี น

และรวมกันวเิ คราะหว า กิจกรรมทผี่ ูเรยี นเขา ไปมีสว นรวมในชุมชน เนนกจิ กรรมทเ่ี กีย่ วกบั การเมืองการปกครอง

หรือไม เพราะเหตุใด

กจิ กรรมท่ี 4

จงเลอื กคาํ ตอบทถ่ี ูกตองทสี่ ดุ เพยี งคําตอบเดยี ว

1. ขอ ใดเปน หนวยงานยอ ยท่สี ดุ ตามระเบยี บการบรหิ ารราชการสว นกลาง

ก. ทบวง ข. กอง

ค. กรม ง. ฝา ย

2. ใครเปนผูมีหนาท่บี ริหารกจิ การเมืองพทั ยา

ก. ปลดั เมืองพัทยา ข. สภาเมอื งพัทยา

ค. นายกเมืองพทั ยา ง. ปลดั กระทรวงมหาดไทย

3. ประเทศไทยมีการปกครองระบอบใด

ก. สงั คมนิยม ข. เผดจ็ การ

ค. ประชาธิปไตย ง. สาธารณรฐั

4. อาํ นาจอธปิ ไตยเปนของปวงชนชาวไทย หมายถงึ ขอใด

ก. ชนช้ันสงู มอี าํ นาจในการปกครอง

ข. ประชาชนทมี่ กี ารศึกษาชว ยกนั ปกครอง

ค. ประชาชนทกุ คนมสี ว นรวมในการปกครอง

ง. อํานาจในการปกครองอยทู ี่บคุ คลท่มี คี วามรู

5. การใชอ าํ นาจในการปกครองประเทศไทยอยภู ายใตกรอบท่กี าํ หนดไวข องส่ิงใด

ก. กฎหมาย ข. รฐั ธรรมนูญ

ค. ความตอ งการของรฐั ง. ความตอ งการของประชาชน

103

บรรณานุกรม

กระทรวงวฒั นธรรม. สถาบนั พระมหากษตั รยิ ก บั การศาสนา ศลิ ปะ วัฒนธรรม, ความเปนมาและบคุ คล
สําคญั ในสมัยธนบรุ .ี www.jeqwws.wordpress.com. : เขาถึงวันที่ 3 กรกฎาคม 2557.

กองทพั เรอื http://navy.mi.th
การศกึ ษานอกโรงเรียน. กรม. ชุดวชิ าการศกึ ษานอกโรงเรยี น หมวดวิชาพฒั นาสังคมและชุมชน

ระดบั ประถมศึกษา หลกั สูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2544.
กุลธิดา รตั นโกศล. พัฒนาสงั คมและชุมชน ระดับประถมศกึ ษา สํานกั พิมพลองไลฟ เอ็ด จาํ กดั 2550.
คณะอาจารย กศน. คมู ือการเรียนรู สาระการเรียนรูหมวดวชิ าพฒั นาสงั คมและชมุ ชน

บริษัท ไผม เี ดียเซ็นเตอร จาํ กดั 2548.
คูมอื การเรยี นรรู ะดบั ประถมศกึ ษา สาระการเรยี นรู หมวดวิชาการพัฒนาสังคมและชมุ ชุน. บรษิ ัทไผม เี ดยี
จรนิ ทร เทศวานชิ . หลกั เศรษฐศาสตรเบ้อื งตน กรุงเทพมหานคร โอเดยี นสโตร. 2531
ชศู กั ด์ิ จรูญสวัสด์.ิ เศรษฐศาสตรเ พ่อื ชวี ิต, กรงุ เทพมหานคร. โอเดยี นสโตร. 2545
ทวี ทวีวาร และคณะ หมวดวชิ าสงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม หนังสือเรียนชุดการศกึ ษา

นอกโรงเรยี น (กศน.) ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย หลกั สตู รการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน
พทุ ธศกั ราช 2544.
ทวี ทองสวา งและคณะ 2525 ภูมิศาสตรก ายภาพ กรุงเทพมหานคร. โอเดียนสโตร
ทวีศกั ดิ์ ญาณประทปี และคนอนื่ ๆ , พจนานุกรมฉบบั เฉลมิ พระเกียรติ พ.ศ. 2530 (กรงุ เทพ ฯ : สํานกั พมิ พ
วฒั นาพานชิ จํากัด, 2534), 502
ทาวเทพสตรี และทาวศรสี ุนทร. [email protected]. : เขาถึงวันที่ 3 กรกฎาคม 2557.
นิชา แกว พานิช สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ชว งช้นั ท่ี 2 สํานกั พิมพเ ดอะบคุ ส จาํ กดั 2547.
ประวัติของหมูบ า นบางระจัน. www.clipmass.com/story/6263. : เขา ถงึ วนั ท่ี 3 กรกฎาคม 2557
______________.www.tiewpakklang.com. : เขา ถงึ วนั ที่ 27 สงิ หาคม 2557.
______________.http://www.oknation.net/blog/print.php?id-581446.
“พระมหากษัตรยิ ผ ูทรงไดรับการเทิดทูลยกยองวา เปน “มหาราช”. (Online).
https://site.google.com/site/
7 mharachnisyam/home/phra-mha-ksatriy-phuthrng-di-rab-kar-theid-thul-ykyxng-
wa=pen-mharach. : เขาถึงวันท่ี 2 กรกฎาคม 2557.
พีรทิพย สนั ธเมศวร และ กฤตนิ า จนั ทรห วร. http://www.thaigoodview.com/node/48834
มหาราชไทย บริษัท 2020 เวลิ ด มีเดีย จาํ กดั
มานิต กิตติจูงกิตและคณะ. สาระการเรยี นรู พฒั นาสังคมและชุมชน ตามหลกั สตู รการศึกษานอกโรงเรียน
ระดับประถมศกึ ษา 2547.
รจุ เิ รข ขลั หารชุนและคณะ. หนงั สอื เรียนชุดการศกึ ษานอกโรงเรยี น (กศน.) หมวดวิชาพัฒนาสงั คมและ

104

ชมุ ชน ระดับมัธยมศึกษาตอนตน หลักสตู รการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2544
สํานักพมิ พป ระสานมติ ร จาํ กัด

วถิ ีพเี ดยี สารนกุ รมเสรี. พอขนุ รามคาํ แหงมหาราช. พอขนุ รามคาํ แหงมหาราช.
https://th.wikipedia.org/wiki/ : เขาถึงวันท่ี 2 กรกฎาคม 2557.

________________. สมเด็จพระนเรศวรมหาราช. https://th.wikipedia.org/wiki/ : เขา ถงึ วนั ที่ 2
กรกฎาคม 2557.

________________. พระยาพชิ ยั ดาบหัก. https://th.wikipedia.org/wiki/ : เขา ถงึ วันที่ 3
กรกฎาคม 2557.

________________. การรบที่บางระจัน. https://th.wikipedia.org/wiki/ : เขาถึงวันท่ี 3
กรกฎาคม 2557.

ศิรพิ ร ดาบเพชร คมคาย มากบวั และประจกั ษ แปะ สกลุ . ประวตั ิศาสตรไ ทย ม. 4- ม. 6. พิมพครง้ั ที่ 1.
กรุงเทพฯ : อกั ษรเจริญทัศน.

สารสนเทศจังหวดั ท่ตี งั้ สาขาวิทยบรกิ ารเฉลิมพระเกียรติ มหาวทิ ยาลยั รามคาํ แหง. จงั หวดั สโุ ขทยั .
http://www.info.ru.ac.th/province/Sukhotai/pkr1.htm. : เขาถงึ วันที่ 2 กรกฎาคม 2557.

สื่อการเรยี นรกู ารศึกษานอกโรงเรียน (กศน.) หมวดวิชาพัฒนาสงั คมและชมุ ชน สมบรู ณแบบระดับ
ประถมศกึ ษา สํานักพมิ พว ฒั นาพานชิ

อัญชลี สสุ ายัณฑ. ทา วเทพสตรี และทา วศรสี นุ ทร. www.reurnthai.com. : เขาถงึ เม่ือวันท่ี 3 กรกฎาคม
2557.

http://www.13nr.org/posts/407289
http://www.trueplookpanya.com/new/cms_detail/knowledge/2844-00/
http://www.chaoprayanews.com/2009
http://king/kapook.com/job_duties_natural_resource.php
http://www.panyathai.or.th/
htpp://web.ku.ac.th/king72/2542-09/page02.html
http://kanchanapisek.or.th/activities/index/th/html#edu
http://www.m.culture.go.th/ilovethaiculture/index/php22013-07-01-03-11-16/2 . : เขาถึงวนั ที่

2 กรกฎาคม 2557.
http://www.cstp.or.th/cstp2/index.php/2011
http://computer.pcru.ac.th/enoodledata/23/lesson_doc/lesson3.doc

105

คณะผูจัดทาํ

ท่ปี รกึ ษา บุญเรือง เลขาธกิ าร กศน.
อ่มิ สวุ รรณ รองเลขาธกิ าร กศน.
1. นายประเสรฐิ จําป รองเลขาธกิ าร กศน.
2. ดร.ชยั ยศ แกวไทรฮะ ที่ปรกึ ษาดา นการพฒั นาหลกั สูตร กศน.
3. นายวัชรินทร ตณั ฑวุฑโฒ ผูอํานวยการกลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
4. ดร.ทองอยู
5. นางรกั ขณา

ผเู ขียนและเรยี บเรยี ง

1. นางสาวสดุ ใจ บตุ รอากาศ สถาบัน กศน. ภาคเหนือ
2. นางสาวพิมพาพร อนิ ทจกั ร สถาบัน กศน. ภาคเหนอื
3. นางดษุ ณี เหล่ียมพันธุ สถาบัน กศน. ภาคเหนอื
4. นางดวงทพิ ย แกว ประเสรฐิ สถาบนั กศน. ภาคเหนือ
5. นายนพิ นธ ณ จันตา สถาบนั กศน. ภาคเหนอื
6. นางอบุ ลรตั น มีโชค สถาบัน กศน. ภาคเหนอื
7. นางกรรณิการ ยศตอื้ สถาบนั กศน. ภาคเหนอื
8. นางณชิ ากร เมตาภรณ สถาบัน กศน. ภาคเหนือ

ผบู รรณาธกิ ารและพัฒนาปรบั ปรุง

1. นางพรทพิ ย เข็มทอง กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
2. นางสาวพมิ พาพร อินทจกั ร สถาบัน กศน. ภาคเหนือ
3. นางสาวสรุ ัตนา บรู ณะวทิ ย สถาบัน กศน. ภาคตะวันออก
4. นางสาวสปุ รีดา แหลมหลกั สถาบัน กศน. ภาคตะวนั ออก
5. นางสาวสาลนิ ี สมทบเจรญิ กลุ สถาบัน กศน. ภาคตะวันออก
6. นายอดุ มศักด์ิ วรรณทวี สาํ นกั งาน กศน. อ.โขงเจียม
7. นายเรอื งเวช แสงรัตนา สาํ นกั งาน กศน. ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื
8. นางพัฒนส ดุ า สอนซือ่ ขาราชการบาํ นาญ
9. นางธญั ญาวดี เหลาพาณิชย ขาราชการบํานาญ
10. นางพรทพิ ย เข็มทอง กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
11. นางสาววรรณพร ปท มานนท กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
12. นายเรืองเดช แสงวัฒนา สถาบัน กศน. ภาคตะวนั นออกเฉียงเหนือ
13. นางมยรุ ี สวุ รรณเจริญ สถาบัน กศน. ภาคใต

106

14. นางสาวสรุ ัตนา บรู ณะวทิ ย สถาบัน กศน. ภาคตะวันออก
15. นางสาววาสนา โกสียวฒั นา สถาบนั การศกึ ษาทางไกล
16. นางธญั ญาวดี เหลา พาณชิ ย ขา ราชการบํานาญ
17. นางพรทพิ ย เขม็ ทอง กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น

ผพู ัฒนาและปรับปรงุ ครัง้ ที่ 2 ศึกษานเิ ทศกเชี่ยวชาญ
ขาราชการบาํ นาญ
1. นางสาวสุดใจ บตุ รอากาศ ครชู าํ นาญการพิเศษ
2. นางพรทิพย เข็มทอง กลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน
3. นางบษุ บา มาลินกี ุล กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น
4. นางพรทพิ ย พรรณนิตานนท
5. นางสาวกรวรรณ กวีวงษพิพัฒน กลุม พฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น
กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
คณะทํางาน มั่นมะโน กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน
ศรีรตั นศลิ ป กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
1. นายสรุ พงษ ปท มานนท กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
2. นายศุภโชค กลุ ประดิษฐ
3. นางสาววรรณพร เหลืองจิตวฒั นา กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
4. นางสาวศริญญา กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
5. นางสาวเพชรินทร กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น
ผพู มิ พต น ฉบับ คะเนสม กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
เหลืองจติ วฒั นา
1. นางปย วดี กววี งษพ พิ ฒั น กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
2. นางสาวเพชรินทร ธรรมธิษา
3. นางสาวกรวรรณ บา นชี
4. นางสาวชาลนี ี
5. นางสาวอรศิ รา

ผูออกแบบปก ศรีรัตนศิลป

นายศุภโชค

107

คณะผูจัดทาํ
เน้ือหาเพิ่มเติม เร่ืองประวัติและผลงานของบรรพบุรุษไทยท่ีมีสวนปกปอ ง

และสรางความเจรญิ ใหแ กชาติบานเมือง

ที่ปรกึ ษา สกลุ ประดษิ ฐ เลขาธกิ าร กศน.
1. นายการณุ ทับสพุ รรณ รองเลขาธิการ กศน.
2. นายชาญวทิ ย จําจด รองเลขาธิการ กศน.
3. นายสรุ พงษ ภาคพรต ขาราชการบาํ นาญ
4. นางระววิ รรณ งามเขตต ผอู ํานวยการกลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
5. นางศุทธินี

คณะผเู ขียน/เรยี บเรยี งและบรรณาธิการ

1. นางกมลชนก คําพุฒ กศน.อําเภอเมอื ง จงั หวัดราชบรุ ี
กศน.อําเภอเมอื ง จงั หวัดราชบรุ ี
2. นางพจนี เกตุรามฤทธิ์ กศน.อําเภอโพธาราม จังหวดั ราชบรุ ี

3. นายสนั ติ อิศรพันธุ

คณะทํางาน มั่นมะโน กลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน
1. นายสุรพงษ ศรีรตั นศิลป กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น
2. นายศุภโชค เพ็ชรสวาง กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
3. นางสาวสลุ าง อาํ ไพศรี กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียน
4. นางสาวเบญ็ จวรรณ สงั ขพิชยั กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
5. นางสาวชมพนู ท อินทระสันต กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น
6. นางจุฑากมล วงคเ รือน กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น
7. นางสาวทิพวรรณ

108

คณะผปู รับปรุงขอ มลู เกยี่ วกบั สถาบันพระมหากษัตรยิ  ป พ.ศ. 2560

ทป่ี รึกษา จาํ จด เลขาธกิ าร กศน.
หอมดี ผูตรวจราชการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
1. นายสุรพงษ ปฏิบตั หิ นาทร่ี องเลขาธิการ กศน.
2. นายประเสริฐ สุขสุเดช ผอู ํานวยการกลุมพฒั นาการศึกษานอกระบบ
และการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
3. นางตรนี ชุ
กศน.เขตมนี บรุ ี กรงุ เทพมหานคร
ผปู รบั ปรุงขอ มลู
กลุม พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
นางสาวจนิ ตนา อยสู นิ ธุ กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั
กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
คณะทาํ งาน กลมุ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย
กลุม พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั
1. นายสรุ พงษ ม่ันมะโน กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั
กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
2. นายศุภโชค ศรรี ตั นศลิ ป กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั

3. นางสาวเบญ็ จวรรณ อาํ ไพศรี

4. นางเยาวรตั น ปนมณีวงศ

5. นางสาวสลุ าง เพช็ รสวาง

6. นางสาวทิพวรรณ วงคเ รือน

7. นางสาวนภาพร อมรเดชาวัฒน

8. นางสาวชมพนู ท สงั ขพิชัย


Click to View FlipBook Version