The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

E-book on precaution of x-ray imaging of accident patient

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by fang_narak2010, 2022-04-23 04:58:38

E-book on precaution of x-ray imaging of accident patient

E-book on precaution of x-ray imaging of accident patient

E-book

on precaution of

x-ray imaging of

accident patient

contents

introduction

เ ค รื่ อ ง x - r a y แ ล ะ

อุ ป ก ร ณ์ ช่ ว ย ชี วิ ต

Radiographic

positioning

01

introduction

อุบัติเหตุเป็นเหตุการณ์ทาง
กายภาพที่เมื่อเกิดขึ้นแล้ว
ทำให้เกิดการบาดเจ็บหรือเสีย
ชีวิตของมนุษย์ เช่น
-อุบัติเหตุทางรถจักรยานยนต์
-อุบัติเหตุทางรถยนต์
-การบาดเจ็บจากการตกจาก
ที่สูง
จึงต้องมีการเอกซเรย์
เพื่อวินิจฉัย อาการบาดเจ็บ

เครื่อง x-ray และอุปกรณ์ช่วยชีวิต

General X-ray

เครื่องเอกซเรย์ทั่วไป (General X-ray) เป็นการใช้รังสีเอกซเรย์
พลังงานต่ำ ถ่ายภาพอวัยวะผู้ป่วย ซึ่งสามารถเอกซเรย์ได้ทุกส่วนของ
ร่างกาย เช่น เอกซเรย์ปอด เอกซเรย์กระดูกแขน ขา เอกซเรย์กระดูก
สันหลัง เอกซเรย์ศีรษะ เป็นต้น ซึ่งจะใช้ในการวินิจฉัยเบื้องต้น

Rescure equipment

Head & strap
ใช้ป้ องกันบริเวณศีรษะให้ผู้ป่วยขยับ


ได้น้ อยที่สุด

Long spinal board

ป้ องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนใน
ผู้ป่ วยบาดเจ็บกระดูกสันหลัง

Rescure equipment

Cervical Collar

เฝือกดามคอป้ องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนใน

ผู้ป่ วยบาดเจ็บกระดูกคอ

Pelvic binder

ใช้ป้ องกันภาวะแทรกซ้อนและลดการเสียเลือด
ในผู้ป่ วยกระดูกเชิงกรานหัก

Rescure equipment

Wood splint
ป้ องกันภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วย


กระดูกแตกหักผิดรูป

อุ ป ก ร ณ์ เ ค ลื่ อ น ย้ า ย ผู้ ป่ ว ย




สไลด์บอร์ด

เปลตัก

ข้อควรระวังเบื้องต้น
ในการถ่ายเอ็กซเรย์ผู้ป่วยอุบัติเหตุ






-ไม่เคลื่ อนย้ายผู้ป่วยมากเกินไป

-ไม่ถอดอุ ปกรณ์ช่วยชีวิตจนกว่าจะ

ไ ด้ รับ ก า ร ยิ น ย อ ม จ า ก แ พ ท ย์

- เ ช็ ค สั ญ ญ า ณ ชี พ แ ล ะ ค ว า ม ดั น ต ล อ ด

ก า ร ใ ห้ บ ริก า ร ท า ง ก า ร แ พ ท ย์

RAIOGRAPHIC POSITIONING

ข้อค วร ร ะ วังและเท ค นิค ก ารจัด ท่ า
สำหรับผู้ป่วยอุ บัติ เหตุ

RADIOLOGY

RAIOGRAPHIC POSITIONING

เ นื่ องจากผู้ป่ว ยอุ บัติ เ หตุจะ มีข้อ
จำกั ด ใ นการ เค ลื่ อน ไหวร่างก าย
แพท ย์จึงสั่งต ร ว จเป็ น
บางPOSITIONตามความเหมาะ
สม ข องอาการ บาด เจ็บ เพื่ อ ไ ม่ให้
เ กิ ด ค ว าม เสี่ยงใน การบ าด เจ็บ เพิ่ม
เ ติ ม

RADIOLOGY

CONTENT




☁️ U P P E R E X T R E M I T Y
☁️ L O W E R E X T R E M I T Y

& PELVIS

☁️ S K U L L
☁️ V E R T E B R A L C O L U M N
☁️ C H E S T , T H O R A X ,

ABDOMEN

UPPER
EXTREMITY

MAKEUP ARTIST

HAND

ผู้ป่วยอุบัติเหตุจะมีเจ็บบริเวณมือจะมี
3 position ที่แพทย์ส่งตรวจ คือ
-HAND PA
-HAND OBLIQUE
-HAND LATERAL

ข้อควรระวัง
-ไม่เปลี่ยนทิศทางมือของผู้ป่วยด้วย
ความรวดเร็ว
-ไม่ขยับมือผู้ป่วยมากจนเกินไป

VECTOR BOOKS PUBLISHING HOUSE

MAKEUP ARTIST

HAND PA

แ บ มื อ แ ล ะ ค ว่ำ ล ง บ น
อุ ป ก ร ณ์ รั บ ภ า พ
จั ด ข้ อ มื อ ใ ห้ ต ร ง ตั้ ง แ ต่
ป ล า ย นิ้ ว
ถึ ง ป ล า ย แ ข น ชิ ด อุ ป ก ณ์ รั บ

ภาพที่ได้

ข้อควรระวัง ไม่ขยับหรือเคลื่อนไหวมือผู้ป่วย
กระทันหัน

HAND

OBLIQUE

จี บ นิ้ ว จั ด ใ ห้ แ น ว ข อ ง
M E T A C A R P A L B O N E ทำ มุ ม
4 5 อ ง ศ า กั บ อุ ป ก ร ณ์ รั บ สั ญ ญ า ณ


ภ า พ ข้ อ มื อ ต ร ง

ข้อควรระวัง หากผู้ป่วยมีการบาดเจ็บ บริเวณ
นิ้วโป้ ง และนิ้วชี้ให้ขยับด้วยความระมัดระวัง

MAKEUP ARTIST HAND


LATERAL

ต ะ แ ค ง มื อ ใ ห้ ด้ า น นิ ว ก้ อ ย ชิ ด กั บ
อุ ป ก ร ณ์ รั บ สั ญ ญ า ณ ภ า พ นิ้ ว ทั้ ง
4 นิ้ ว ว า ง เ รี ย ง กั น ย ก เ ว้ น นิ ว โ ป้ ง
แ ย ก อ อ ก ม า อ ยู่ ใ น ร ะ ดั บ เ ดี ย ว กั น
กั บ นิ้ ว ชี้ แ ล ะ ข น า น กั บ แ น ว ร ะ น า บ

ข้อควรระวัง ไม่เปลี่ยนองศาของมือด้วยความ

รวดเร็ว เพื่อป้ องกันอาจการบาดเจ็บเพิ่ม

THUMB

ผู้ป่วยอุบัติเหตุจะมีเจ็บบริเวณนิ้วโป้งจะมี
2 position ที่แพทย์ส่งตรวจ คือ
-THUMB PA
-THUMB LATERAL

ข้อควรระวัง
-ไม่เปลี่ยนทิศทางนิ้วโป้งของผู้ป่วยด้วย
ความรวดเร็ว
-ไม่ขยับนิ้วโป้งผู้ป่วยมากจนเกินไป
-หากผู้ป่วยมาพร้อมที่ดามไม่ควรถอดก่อน
ได้รับ
อณุญาต จากแพทย์เจ้าของไข้
ใน กรณีที่พึ่งใส่เฝือกควรระมัดระวางเป็น
พิเศษเพื่อไม่ให้เฝือกแตก

THUMB PA&AP

A P : ใ ห้ ผู้ ป่ ว ย ว า ง มื อ ค ว่ำ ล ง บ น อุ ป ก ร ณ์
รั บ สั ญ ญ า ณ ภ า พ เ ค ลื่ อ น มื อ แ ล ะ ข้ อ มื อ เ ข้ า
ท า ง ด้ า น ใ น จ น ด้ า น ห ลั ง ข อ ง นิ้ ว หั ว แ ม่ มื อ
อ ยู่ ชิ ด อุ ป ก ร ณ์ รั บ สั ญ ญ า ณ ภ า พ ล ง ที่ 1 S T
PROXIMALINTERPHALANGEAL
J O I N T เ ห็ น ก ร ะ ดู ก นิ้ ว หั ว แ ม่ มื อ เ ห็ น
เ นื้ อ เ ยื่ อ แ ล ะ ก ร ะ ดู ก ชั ด เ จ น

P A : ฝ่ า มื อ ตั้ ง ฉ า ก กั บ อุ ป ก ร ณ์ รั บ
สั ญ ญ า ณ ภ า พ โ ด ย ใ ห้ โ ด ย ใ ห้ ท า ง ด้ า น
นิ ว ก้ อ ย ชิ ด
นิ้ ว โ ป้ ง แ ย ก อ อ ก ม า จ า ก นิ้ ว อื่ น แ ล ะ ข น า น
กั บ แ น ว ร ะ น า บ

ภาพที่ได้

ข้อควรระวัง ไม่ขยับนิ้วผู้ป่วยรุนแรง
เพราะอาจจะมีอาการบาดเจ็บเพิ่มเติม

MAKEUP ARTIST THUMB

LATERAL

ต ะ แ ค ง มื อ ต ะ แ ค ง มื อ ใ ห้ ด้ า น นิ้ ว โ ป้ ง ชิ ด
กั บ อุ ป ก ร ณ์ รั บ สั ญ ญ า ณ ภ า พ ก ร ะ ด ก
ป ล า ย นิ้ ว อี ก 4 นิ้ ว ที่ เ ห ลื อ ขึ้ น จ น นิ้ ว โ ป้ ง
อ ยู่ ใ น ท่ า L A T E R A L

ภาพที่ได้

ข้อควรระวัง ไม่ขยับนิ้วกระทันหัน เพราะหาก
ผู้ป่วยมีการบาดเจ็บ แตก หรือหักอาจทำให้แตก

หักเพิ่ม

MAKEUP ARTIST

FINGER

ผู้ป่วยอุบัติเหตุจะมีเจ็บบริเวณนิ้วโป้งจะมี
2 position ที่แพทย์ส่งตรวจ คือ

-FINGER PA
-FINGER LATERAL

ข้อควรระวัง
-ไม่เปลี่ยนทิศทางนิ้วของผู้ป่วยด้วย
ความรวดเร็ว
-ไม่ขยับนิ้วผู้ป่วยมากจนเกินไป
-หากผู้ป่วยมาพร้อมที่ดาม ไม่ควรถอดก่อนได้รับ
อณุญาต จากแพทย์เจ้าของไข้

F I N G E R P AMAKEUP ARTIST

แ มื อ แ ล ะ ค ว่ำ มื อ ล ง จั ด นิ้ ว ที่ ต้ อ ง ก า ร ถ่ า ย
ภ า พ ใ ห้ อ ยู่ ก ล า ง อุ ป ก ร ณ์ รั บ สั ญ ญ า ณ ภ า พ

ภาพที่ได้

ข้อควรระวัง ไม่ขยับนิ้วกระทันหัน เพราะหาก
ผู้ป่วยมีการบาดเจ็บ แตก หรือหักอาจทำให้แตก

หักเพิ่ม

MAKEUP ARTIST FINGER


LATERAL

ต ะ แ ค ง มื อ ใ ห้ นิ้ ว ที่ จ ะ ถ่ า ย ภ า พ ชิ ด กั บ
อุ ป ก ร ณ์ รั บ สั ญ ญ า ณ ภ า พ นิ้ ว ชี้
ใ ห้ I N T E R N A L R O T A T I O N
ส่ ว น นิ้ ว ก ล า ง นิ้ ว น า ง แ ล ะ นิ ว ก้ อ ย ใ ห้
EXTERNAL ROTATION

ภาพที่ได้

ข้อควรระวัง ไม่ขยับนิ้วผู้ป่วยแรง หากผู้ป่วย
ไม่สามารถขยับนิ้วได้ ใช้อุปกรณ์วัตถุโปร่งรังสี


ช่วย และคลุมแสงให้คลุมแทน

WRIST JOINT

ผู้ป่วยอุบัติเหตุเจ็บบริเวณข้อมือจะมี
2 position ที่แพทย์ส่งตรวจ คือ
-WRIST JOINT PA
-WRIST JOINT LATERAL
ข้อควรระวัง
-ไม่เปลี่ยนทิศทางข้อมือของผู้ป่วยด้วย
ความรวดเร็ว
-ไม่ขยับข้อมือผู้ป่วยมากจนเกินไป

RADIOLOGY

WRIST JOINT
PA

ว า ง มื อ ค ว่ำ ล ง จั ด ใ ห้ ข้ อ มื อ ต ร ง

กำ มื อ ห ล ว ม ๆ เ พื่ อ ใ ห้ ข้ อ มื อ แ น บ

ชิ ด กั บ อุ ป ก ร ณ์ รั บ สั ญ ญ า ณ ภ า พ

ม า ก ที่ สุ ด

ภาพที่ได้

ข้อควรระวัง ไม่ขยับข้อมือผู้ป่วยกระทันหัน
หากผู้ป่วยไม่สามารถ กำมือได้ ให้แบมือ
หรือแจ้งแพทย์เจ้าของไข้

W R I S T J O I N TMAKEUP ARTIST
LATERAL

ต ะ แ ค ง มื อ ใ ห้ ท า ง ด้ า น นิ ว ก้ อ ย ชิ ด กั บ

อุ ป ก ร ณ์ รั บ สั ญ ญ า ณ ภ า พ ม า ก ที่ สุ ด นิ ว

โ ป้ ง อ ยู่ ใ น ร ะ น า บ เ ดี ย ว กั บ นิ้ ว ชี้ ข้ อ มื อ

ตรง

ภาพที่ได้

ข้อควรระวัง ไม่ขยับข้อมือผู้ป่วยเร็ว หรือ

แรงจนเกินไป ให้สอบถามจุดที่ป่วยบาดเจ็บ

FOREARM

ผู้ป่วยอุบัติเหตุเจ็บบริเวณแขนจะมี
2 position ที่แพทย์ส่งตรวจ คือ
-FOREARM AP
-FOREARM LATERAL
ข้อควรระวัง
-ไม่เปลี่ยนทิศทางแขนของผู้ป่วยด้วย
ความรวดเร็ว
-ไม่ขยับแขนผู้ป่วยมากจนเกินไป
-ไม่ถอดอุปกณ์หรือที่ดามแขน ก่อนได้รับอนุญาต

RADIOLOGY

FOREARM AP

ห ง า ย แ ข น จั ด ใ ห้ แ น ว ข อ ง

HUMERAL EPICONDYLE

ข น า น กั บ อุ ป ก ร ณ์ รั บ สั ญ ญ า ณ

ถ า พ ก ร ะ ด ก ฝ่ า มื อ ขึ้ น เ ล็ ก น้ อ ย

เ พื่ อ ใ ห้ แ ข น แ น บ ชิ ด

ภาพที่ได้

ข้อควรระวัง ไม่ขยับแขนผู้ป่วยเร็ว หรือ

แรงจนเกินไป ให้ระวังเรื่องการเขยียดแขน


เผื่อมีอาการบาดเจ็บเพิ่ม

FOREARM
LATERAL

ต ะ แ ค ง มื อ ใ ห้ ด้ า น นิ้ ว ก้ อ ย ชิ ด อุ ป ก ร ณ์

รั บ สั ญ ญ า ณ ภ า พ ง อ ข้ อ ศ อ ก 9 0

อ ง ศ า จั ด ใ ห้ แ น ว ข อ ง R A D I A L -

U L N A R S T Y L O I D P R O C E S S ตั้ ง

ฉ า ก กั บ อุ ป ก ร ณ์ รั บ สั ญ ญ า ณ ภ า พ

H U M E R U S แ น บ กั บ อุ ป ก ร ณ์ รั บ

สั ญ ญ า ณ ภ า พ ด้ ว ย

ภาพที่ได้

ข้อควรระวัง ไม่ขยับแขนผู้ป่ วยเร็ว หรือ

แรงจนเกินไป ให้ระวังเรื่ิงการงอแขน

อาจมีอาการบาดเจ็บเพิ่ม

ELBOW JOINT

ผู้ป่วยอุบัติเหตุเจ็บบริเวณข้อศอกจะมี
2 position ที่แพทย์ส่งตรวจ คือ
-ELBOW JOINT AP
-ELBOW JOINT LATERAL
ข้อควรระวัง
-ไม่เปลี่ยนทิศทางแขนของผู้ป่วยด้วย
ความรวดเร็ว
-ไม่ขยับแขนผู้ป่วยมากจนเกินไป
-ระวังเรื่องการงอข้อศอก
ในกรณีที่ใส่เฝือกมาจะต้องใช้เทคนิคการถ่าย
เพื่อให้ได้ภาพที่มีประสิทธิภาพ

RADIOLOGY

E L B O W J O I N TMAKEUP ARTIST
AP

ห ง า ย แ ข น แ ล ะ เ ห ยี ย ด ใ ห้ ต ร ง จั ด

แนว ของ HUMERAL

E P I C O N D Y L E ข น า ด กั บ อึ

ป ก ร ณ์ รั บ สั ญ ญ า ณ ภ า พ

ภาพที่ได้

ข้อควรระวัง ไม่ขยับแขนผู้ป่วยเร็ว หรือ

แรงจนเกินไป ให้ระวังเรื่องการเขยียดแขน


เผื่อมีอาการบาดเจ็บเพิ่ม

ELBOW JOINT
LATERAL

ต ะ แ ค ง มื อ ใ ห้ ด้ า น นิ้ ว ก้ อ ย ชิ ด อุ ป ก ร ณ์

รั บ สั ญ ญ า ณ ภ า พ จั ด ใ ห้ แ น ว ข อ ง

RADIAL-ULNA STYLOID

P R O C E S S ตั้ ง ฉ า ก กั บ อุ ป ก ร ณ์ รั บ

สั ญ ญ า ณ ภ า พ ง อ ข้ อ ศ อ ก ม า ก ก ว่ า

9 0 อ ง ศ า เ บ็ ก น้ อ ย

ภาพที่ได้

ข้อควรระวัง ไม่ขยับแขนผู้ป่วยเร็ว หรือ

แรงจนเกินไป ให้ระวังเรื่ิงการงอแขน อาจมี


อาการบาดเจ็บเพิ่ม

HUMERUS

ผู้ป่วยอุบัติเหตุเจ็บบริเวณแขนจะมี
2 position ที่แพทย์ส่งตรวจ คือ
-HUMERUS AP
-HUMERUS LATERAL

ข้อควรระวัง
-ไม่เปลี่ยนทิศทางแขนของผู้ป่วยด้วย
ความรวดเร็ว
-ไม่ขยับแขนผู้ป่วยมากจนเกินไป
-ระวังเรื่องการงอข้อศอก

HUMERUS AP

ท่ า ยื น : ก า ง แ ข อ อ ก ต า ม แ น ว ท แ ย ง มุ ม ข อ I R
ท่ า น อ น : ห ง า ย แ ข น เ ห ยี ย ด แ ข น H U M E R A L

E P I C O N D Y L E ข น า น กั บ I R ห ง า ย ฝ่ า มื อ
> จั ด ใ ห้ แ น ว H U M E R A L E P I C O N D Y L E ตั้ ง ฉ า ก I R

ภาพที่ได้

ข้อควรระวัง ไม่ขยับแขนผู้ป่วยเร็ว หรือ

แรงจนเกินไป ให้ระวังเรื่องการเขยียดแขน


เผื่อมีอาการบาดเจ็บเพิ่ม

HUMERUS
LATERAL

ท่ า ยื น : ก า ง แ ข น ฝ่ า มื อ
แตะสะโพก
ท่ า น อ น : เ ห ยี ย ด แ ข น แ ล้ ว

I N T E R N A L R O T A T I O N จ น ห ลั ง

มื อ แ ต ะ ส ะ โ พ ก
> จั ด ใ ห้ แ น ว H U M E R A L

E P I C O N D Y L E ตั้ ง ฉ า ก I R

ภาพที่ได้

ข้อควรระวัง ไม่ขยับแขนผู้ป่วยเร็ว หรือ

แรงจนเกินไป ให้ระวังเรื่ิงการงอแขน อาจมี


อาการบาดเจ็บเพิ่ม

SHOULDER
JOINT

ผู้ป่วยอุบัติเหตุเจ็บบริเวณหัวใหล่จะมี
2 position ที่แพทย์ส่งตรวจ คือ
-SHOULDER JOINT AP
-SHOULDER JOINT REVERSE
LATERAL TRANSCAPULAR
ข้อควรระวัง
-ไม่เปลี่ยนทิศทางแขนของผู้ป่วยด้วย
ความรวดเร็ว
-ไม่ขยับแขนผู้ป่วยมากจนเกินไป
-ระวังเรื่องการพลิกตัวผู้ป่วย การทิ้งน้ำหนักไปด้าน
ที่เจ็บอาจมีการแตกหักเพิ่มของกระดูก

RADIOLOGY

SHOULDER JOINT

AP

ผู้ ป่ ว ย หั น ห ลั ง ชิ ด อุ ป ก ร ณ์

รั บ สั ญ ญ า ณ ภ า พ หั น ห น้ า

ต ร ง ข้ า ม กั บ ใ ก ล่ ที่ จ ะ ถ่ า ย
แ ข น ว า ง ข้ า ง ลำ ตั ว

ภาพที่ได้

ข้อควรระวัง ไม่ขยับผู้ป่วยเร็ว หรือแรงจน
เกินไป position ของผู้ป่วยต้องอยู่ใน

ท่าRotation ที่ถูกเพื่อให้ได้ภาพที่ดีและง่าย
ต่อการ วินิจฉัย

SHOULDER JOINT
REVERSE LATERAL

TRANSCAPULAR

เ อี ย ง ข้ า ง ที่ ไ ม่ เ จ็ บ ชิ ด I R

จุ ด กึ่ ง ก ล า ง แ ส ง ที่ S H O U L D E R J O I N T ต ร ง ตำ แ ห น่ ง

CORACOID PROCESS

ภาพที่ได้

ข้อควรระวัง ระวังเรื่องการยกตัวผู้ป่วย อาจทำให้

มีอาการบาดเจ็บเพิ่มเติมได้

C L A V I C L EMAKEUP ARTIST

ผู้ป่วยอุบัติเหตุเจ็บบริเวณหัวใหล่จะมี
1 position ที่แพทย์ส่งตรวจ คือ
-ClAVICLE AP
ข้อควรระวัง
-ไม่เปลี่ยนทิศทางของผู้ป่วยด้วย
ความรวดเร็ว
-ไม่ขยับผู้ป่วยมากจนเกินไป

RADIOLOGY

MAKEUP ARTIST

CLAVICLE AP

- หั น ห ลั ง ชิ ด อุ ป ก ร ณ์ รั บ สั ญ ญ า ณ ภ า พ จั ด หั ว ไ ห ล่

ทั้ ง ส อ ง ข้ า ง อ ยู่ ใ น ร ะ ดั บ เ ดี ย ว กั น

ภาพที่ได้

ข้อควรระวัง ไม่ขยับแขนผู้ป่วย หรือแรงจนเกินไป อาจ

ทำให้เกิดการบาดเจ็บเพิ่มเติม

LOWER
EXTREMITY
&PELVIS

FOOT

ผู้ป่วยอุบัติเหตุเจ็บบริเวณเท้าจะมี
3 position ที่แพทย์ส่งตรวจ คือ
-FOOT AP
-FOOT LATERAL
-FOOT OBLIQUE

ข้อควรระวัง
-ไม่เปลี่ยนทิศทางของผู้ป่วยด้วย
ความรวดเร็ว


-ไม่ขยับผู้ป่วยมากจนเกินไป

FOOT AP




งอเข่าขึ้น เหยียบฝ่าเท้าลงบนอุปกรณ์
รับภาพ

ข้อควรระวัง คือในกรณีที่ผู้ป่วยใส่เฝือกอาจจะยากต่อการถ่ายเนื่องจากผู้

ป่วยงอเข่าหรือลุกนั่งไม่ได้จึงต้องระมัดระวังและต้องมีเทคนิคในการถ่ายโดย

การเอียง tube เพื่อให้ผู้ป่วยถ่ายในท่านอนราบได้และเพื่อให้ได้ภาพที่ง่ายต่อ


การวินิจฉัยแพทย์ด้วย

FOOT LATERAL




ให้ผู้ป่วยนอนตะแคงขาไปด้านในทาง
ด้านนิ้วโป้งจัดฝ่าเท้าตั้งฉากกับ
อุปกรณ์รับสัญญาณภาพ

ข้อควรระวังในการถ่ายคือหากผู้ป่ วยไม่สามรถตะแคงเท้า

ได้ให้ใช้เทคนิคการถ่าย cross table โดยใช้แผนฟิล์ม วาง


ชิดกับเท้า เพื่อลดการบาดเจ็บให้กับผู้ป่วย

FOOT OBLIQUE


งอเข่าขึ้นหากผู้ป่วยไม่สามารถทำได้ให้

เอียงtubeช่วยเอียงฝ่าเท้าทำ
มุม30องศสกับอุปกรณ์รับสัญาณ
ภาพ

ข้อควรระวังในการถ่ายคือหากผู้ป่วยไม่สามารถบิดเท้าได้ให้

ใช้อุปกรณ์เสริมเช่นโฟม เพื่อเป็นตัวช่วยในการช่วยผู้ป่วย


ให้ได้ท่าตามที่แพทย์สั่ง

ANKLE

ผู้ป่วยอุบัติเหตุเจ็บบริเวณข้อเท้าจะมี
3 position ที่แพทย์ส่งตรวจ คือ
-ANKLE AP
-ANKLE LATERAL
-ANKLE MORTISE

ข้อควรระวัง

-ไม่เปลี่ยนทิศทางของผู้ป่วยด้วย

ความรวดเร็ว


-ไม่ขยับผู้ป่วยมากจนเกินไป

ANKLE AP




ตั้งปลายเท้าขึ้นให้ตรง จัดsagittal
plane ตั้งฉาก iR กระดกปลายเท้า
ขึ้น

ภาพที่ได้
ข้อควรระวังในการถ่ายคือต้องระวังในการ


จัดpositionและการข้อเท้าผู้ป่ วย

ANKLE

LATERAL




งอเข่านอนตะแคงไปทางด้านนิ้วก้อย
กระดกปลายเท้าขึ้นเล็กน้อย

ภาพที่ได้

ข้อควรระวังในกรณีcaseผู้ป่ วยอุบัติเหตุทั่วไปก็จัดท่าให้ผู้ป่ วย
ตะเเคงตัวเพื่อช่วยในการบิดข้อเท้าไม่ให้เกิดการ

บาดเจ็บเพิ่มซึ่งข้อนี้ต้องขอความร่วมมือ

จากผู้ป่วยด้วยที่มาเปลนอนจะใช้เทคการถ่ายโดยอยู่ในท่า cross table

ANKLE MORTISE



เหยียดขา ตั้งปลายเท้าขึ้น internal

rotate มาทางนิ้วโป้ง 15-20องศา
ไม่บิดข้อเท้า

ภาพที่ได้

ข้อควรระวังคือเรื่ องของpositionที่ถ่ายถ้าผู้ป่ วยไม่สามรถเอียง

เท้าได้เองให้ค่อยๆจับเท้าผู้ป่วยให้เอียงเท่าที่ผู้ป่วยไหว ใช้เทป

กาวตรึงกับเท้าอีกข้างเพื่ อเป็ นตัวfixและให้ได้ท่าตามหมอสั่ง


Click to View FlipBook Version