The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

E-book on precaution of x-ray imaging of accident patient

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by fang_narak2010, 2022-04-23 04:58:38

E-book on precaution of x-ray imaging of accident patient

E-book on precaution of x-ray imaging of accident patient

LEG

ผู้ป่วยอุบัติเหตุเจ็บบริเวณขาเท้าจะมี
2 position ที่แพทย์ส่งตรวจ คือ
-LEG AP
-LEG LATERAL

ข้อควรระวัง

-ไม่เปลี่ยนทิศทางของผู้ป่วยด้วย


ความรวดเร็ว

-ไม่ขยับผู้ป่วยมากจนเกินไป

LEG AP




เหยียดขา ตั้งปลายเท้าตรง จัดแนว
femoral condyles ขนานกับ
IR กระดกปลายเท้าขึ้น

ภาพที่ได้

ข้อควรระวังไม่เคลื่ อนย้ายขาผู้ป่ วยด้วยความเร็ว

ถามผู้ป่ วยทุกครั้งว่าทนไหวได้แค่ไหนจากนั้นจึง


ค่อยจัดpositoinให้ถูกตามที่แพทย์ต้องการ

LEG

LATERAL


งอเข่าเล็กน้อย เอียงขาไปด้านข้าง จัด

แนว Femoral condyles ตั้งฉาก
IR

ข้อควรระวังถ้าเป็ นผู้ป่ วยที่ไม่ได้บาดเจ็บมากสามารถขยับตัวได้

ก็ถ่ายในท่าปกติระวังแค่เรื่ องการเคลื่ อนไหวของผู้ป่ วยแต่ใน

กรณีเคสผู้ป่ วยที่ไม่สามารถขยับตัวได้ให้พยายามเคลื่ อนย้ายผู้

ป่วยให้น้ อยที่สุดและจะใช้เทคนิคการถ่ายท่า cross table เพื่อ

ลดการบาดเจ็บเพิ่มให้แก่ผู้ป่ วย

KNEE

ผู้ป่วยอุบัติเหตุเจ็บบริเวณหัวเข่าเจะมี
2 position ที่แพทย์ส่งตรวจ คือ
-KNEE AP
-KNEE LATERAL

ข้อควรระวัง

-ไม่เปลี่ยนทิศทางของผู้ป่วยด้วย

ความรวดเร็ว


-ไม่ขยับผู้ป่วยมากจนเกินไป

KNEE AP




นอนเหยียดขา จัดแนว femoral
condyles ขนานIR

ข้อควรระวังคือระวังเรื่ องการจัดpositionเป็ นหลักเรื่ อง

การrotation ของผู้ป่วยให้ค่อยๆบิดเท้าผู้ป่วยเข้าเพื่อให้


ได้ภาพที่ที่มีคุณภาพง่ายต่อการวินิจฉัย

KNEE LATERAL


นอนตะแคงงอเข่า30องศา ตั้งฉาก

จัดFemoral condyles
อุปกรณ์รับสัญญาณภาพ

ข้อควรระวังในท่านี้คือหากเป็ นผู้ป่ วยที่รู้สึกตัวสามารถให้ความร่วมมือ

ได้ให้พลิกตัวตะแคงคนไข้ด้วยความระมัดระวังแล้วจึงคนไข้ค่อยๆงอ

เข่าเองเท่าที่งอไหวจากนั้นค่อยๆจัดpositonทีหลังเพื่อให้ได้ภาพที่ดี

หากในกรณีคนไข้ไม่รู้สึกตัวให้ใช้ท่า cross table แล้วรองขาด้วยโฟม


โดยค่อยๆจัดposition ผู้ป่วยให้มากที่สุด

FEMUR

ผู้ป่วยอุบัติเหตุเจ็บบริเวณนิ้วโป้งเท้าจะมี
2 position ที่แพทย์ส่งตรวจ คือ
-FEMUR AP
-FEMUR LATERAL

ข้อควรระวัง
-ไม่เปลี่ยนทิศทางของผู้ป่วยด้วย

ค-ไวมา่ขมยรับวดผู้เป่ร็ววยมากจน
เกินไป

FEMUR AP




นอนหงายบนเตีงเอกซเรย์กางขาออก
ตามแนวIR เหยียดขา ตั้งปลายเท้าขึ้น
ให้ตรงจัดfemoralcondyles ขนาน
กับ IR

ข้อควรระวังค่อยๆขยับตัวผู้ป่ วยตอนสอดแผ่น

Detector กะและวัดระยะช่วงถ่ายก่อนเนื่องจากควร

เคลื่อนผู้ป่วยให้น้ อยที่สุดเพื่อลดการบาดเจ็บควรบอกผู้


ป่ วยก่อนทุกครั้งก่อนขยับตัวผู้ป่ วย

FEMUR LATERAL



นอนตะแคง พาดขาไปฝั้งตรงข้าม
ให้ผู้ป่วยงอเข่าจัดแจว
femoral condyle ตั้งฉากกับIR

ภาพที่ได้

ข้อควรระวังหากผู้ป่ วยขยับตัวได้ให้ขอความร่วมมือผู้ป่ วยนอน

ตะแคงตัวแล้วๆค่อยขยับผู้ป่ วยตามpositonที่จะถ่ายหากในกรณีผู้


ป่ วยไม่รู้สึกให้ค่อยยกตัวผู้ป่ วยสอดแผ่นโฟมเพื่ อเป็ นตัว

supporเพื่อถ่ายในท่า cross table

PELVIS

ผู้ป่วยอุบัติเหตุเจ็บบริเวณอุ้งเชิงกรานจะมี
2 position ที่แพทย์ส่งตรวจ คือ
-PELVIS AP
-PELVIS INLET&OUTLET

ข้อควรระวัง

-ไม่เปลี่ยนทิศทางของผู้ป่วยด้วย

ความรวดเร็ว


-ไม่ขยับผู้ป่วยมากจนเกินไป

PELVIS AP

ผู้ป่วยนอนหงายบนเตียงจัดASISให้อยู่ระดับเดียวกัน

Internal rotate มาทางMedial 15 องศา

ขอบบนเหนือ il
iac crest 1นิ้ว

ข้อควรระวังคือควรเคลื่ อนย้ายผู้ป่ วยให้ระมัดระวังที่สุดขณะที่จะ

สอดแผ่นDetector ควรกะระยะช่วงที่ถ่ายให้ดีเพื่อที่จะไม่ต้อง

ขยับผู้ป่วยหลายรอบ เป็นการช่วยลดการบาดเจ็บเพิ่มของผู้ป่วย

PELVIS INLET
&OUT LET

ผู้ป่วยนอนหงายบนเตียงเอียง40องศา ไปทางเท้า




นอนหงายบนเตียงจัด ASIS ให้อยู่ระดับเดียวกัน

ชายเอียงแสง 20-30 องศา
ผูเหญิงเอียงแสง 30-45 องศา

ข้อควรระวังข้อควรระวังคือควรเคลื่ อนย้ายผู้ป่ วยให้

ระมัดระวังที่สุดขณะที่จะสอดแผ่นDetector ควรกะระยะช่วง

ที่ถ่ายให้ดีเพื่อที่จะไม่ต้องขยับผู้ป่วยหลายรอบ เป็นการช่วย


ลดการบาดเจ็บเพิ่มของผู้ป่ วย

SKULL

SKULL

ผู้ป่วยอุบัติเหตุเจ็บบริเวณนิ้วโป้งเท้าจะมี
2 position ที่แพทย์ส่งตรวจ คือ
-SKULL AP
-SKULL LATERAL

ข้อควรระวัง
-ไม่เปลี่ยนทิศทางของผู้ป่วยด้วย
ความรวดเร็ว
-ไม่ขยับผู้ป่วยมากจนเกินไป

SKULL AP

นอนหงายบนเตียง จัดซ้ายขวาให้สมาตรก้มหน้า

ลงเล็กน้อย จนเส้น orbitomeatal line
ตั้งฉากกับ IR

ข้อควรระวังคือควรระมัดระวังทุกครั้งที่ขยับผู้ป่วย ใน

กรณีที่เป็นcase ผู้ป่วยที่ใส่ tube ต้องระวังมากและควร


จำกัดเวลาถ่ายให้เร็วที่สุด

SKULL
LATERAL

ผู้ป่วยนอนตะแคง จัดให้แนว Midsagittal plain
ขนานไปกับIR ก้มหน้าลงเล็กน้อย

ข้อควรระวังในกรณีที่ผู้ป่ วยรู้สึกตัวให้ถามผู้ป่ วยว่ามีอาการ

บาดเจ็บข้างไหนเพื่อจะได้วางตำแหน่ง Detectorถูกฝั่งและ


ถ่ายในท่า cross table

VERTEBRAL
COLUMN

C-SPINE



ผู้ป่วยอุบัติเหตุเจ็บบริเวณคอจะมี
3 position ที่แพทย์ส่งตรวจ คือ
-C-SPINE AP
-C-SPINE LATERAL CROSS TABLE

ข้อควรระวัง
-ไม่เปลี่ยนทิศทางของผู้ป่วยด้วย
ความรวดเร็ว
-ไม่ขยับผู้ป่วยมากจนเกินไป

C-SPINE AP



นอนหงาย เงยคางขึ้นให้

แนวของขอบล่างupper

occlusal กับ Mastoid


ตั้งฉากกับIR

ข้อควรระวังตอนขยับตัวผู้ป่วยเพื่อสอดแผ่น Detector ให้ระมัดระวังมาก

ที่สุดวัดระยะที่จะถ่ายก่อนสอดแผ่นทุกครั้งตอนจับผู้ป่วยเงยหน้ าให้ค่อย


ขยับให้ช้าและเบามือที่สุดเพื่อลดการบาดเจ็บเพิ่ม

C-SPINE LATERAL
CROSS TABLE



นอนหงาย กดใหล่ลงเล็กน้องยิง

แสงเข้าทางด้านข้าง

ภาพที่ได้

ข้อควรระวังเรื่องที่ support ที่ใช้กับ Detectorว่าจะเสี่ยงต่อ

การหล่นใส่ผู้ป่ วยซึ่งเป็ นสาเหตุเพิ่มการบาดเจ็บให้ผู้ป่ วย

T-LSPINE



ผู้ป่วยอุบัติเหตุเจ็บบริเวณหลังจะมี
2 position ที่แพทย์ส่งตรวจ คือ
-T-L SPINE AP
-T-L SPINE LATERAL

ข้อควรระวัง
-ไม่เปลี่ยนทิศทางของผู้ป่วยด้วย
ความรวดเร็ว
-ไม่ขยับผู้ป่วยมากจนเกินไป

T-LSPINE AP



นอนหงาย ผู้ป่วยงอเข่าขึ้น

หากทำได้ จัดขอบล่างของ IR


ใต้ iliac crest 1นิ้ว



ภาพที่ได้

ข้อควรระวังเรื่องการขยับตัวขณะสอดแผ่น Detector วัด

ระยะก่อนสอดแผ่นทุกครั้งเพื่ อลดการเคลื่ อนย้ายผู้ป่ วย

T-LSPINE
LATERAL




นอนหงาย ผู้ป่วยงอเข่า

ขึ้นหากทำได้ จัดขอบล่าง

ของ IR ใต้ iliac crest


1นิ้ว

ภาพที่ได้
ข้อควรระวัง ให้ระวังเรื่องการพลิกตัวผู้ป่วยหากผู้ป่วย

ไม่สามารถพลิกตัวได้ให้ถ่าย cross table

L-S SPINE



ผู้ป่วยอุบัติเหตุเจ็บบริเวณหลังจะมี
2 position ที่แพทย์ส่งตรวจ คือ
-L-S SPINE AP
-L-S SPINE LATERAL

ข้อควรระวัง
-ไม่เปลี่ยนทิศทางของผู้ป่วยด้วย
ความรวดเร็ว
-ไม่ขยับผู้ป่วยมากจนเกินไป

L-S SPINE AP



ผู้ป่วยนอนหงายบนเตียง
และงอเข่าขึ้นเล็กน้อย

ภาพที่ได้

ข้อควรระวัง ระวังเรื่องการขยับตัวขณะสอดแผ่น

Detector วัดระยะก่อนสอดแผ่นทุกครั้งเพื่อลดการ


เคลื่ อนย้ายผู้ป่ วย

L-S SPINE
LATERAL




ผู้ป่วยนอนตะแคงงอเข่าขึ้น

ภาพที่ได้

ข้อควรระวัง ระวังเรื่องการพลิกตัวผู้ป่วย หากไม่สามารถ

ทำได้

ให้ถ่ายท่าcross table แทน

CHEST
&THROAX
ABDOMEN

CHEST

ผู้ป่วยอุบัติเหตุเจ็บบริเวณทรวงอกจะมี
position ที่แพทย์ส่งตรวจ คือ
- CHEST AP SUPINE

ข้อควรระวัง
-ไม่เปลี่ยนทิศทางของผู้ป่วยด้วย
ความเร็ว
เคลื่ อนย้ายผู้ป่วยให้น้อยที่สุด

CHEST AP
SUPINE

นอนหงายบนเตียง โน้มใหล่ไป

ข้างหน้า เพื่อไม่ให้scapula


บังปอด

ภาพที่ได้

ข้อควรระวังเคลื่อนย้ายผู้ป่วยอย่างระมัดระวัง ก่อนสอดแผ่น

Detector ควรกะระยะตำแหน่งที่จะถ่ายเพื่อลดการเคลื่อนย้าย


ผู้ป่วยให้น้ อยที่สุด

ABDOMEN

ผู้ป่วยอุบัติเหตุเจ็บบริเวณช่องท้องจะมี
2 position ที่แพทย์ส่งตรวจ คือ
-ABDOMEN AP SUPIN
- ABDOMEN LATRAL CROSS TABLE

ข้อควรระวัง
-ไม่เปลี่ยนทิศทางของผู้ป่วยด้วย
ความรวดเร็ว
-ไม่ขยับผู้ป่วยมากจนเกินไป

ABDOMEN AP
SUPINE

ผู้ป่วยนอนหงายบนเตียง มือ

สองข้างวางบน

หน้าอกใหล่ทั้งสองอยู่ระดับ

เดียวกัน จัดกึ่งกลางของir ต่ำ


กว่าiliac crest 1นิ้ว
ภาพที่ได้

ข้อควรระวัง ระวังเรื่องการขยับตัวของผู้ป่ วย
อาจทำให้มีการบาดเจ็บบริเวณช่องท้องเพิ่มเติม

ABDOMEN
LATERAL
CROSS TABLE


ผูป่วนอนหงายบนเตียง ยกมือขึ้น

เหนือศีระษะ

ยิงแสงเข้ามางข้างลำตัว

ภาพที่ได้

ข้อควรระวัง เคลื่อนย้ายผู้ป่วยอย่างระมัดระวัง ก่อนสอดแผ่น
Detector ควรกะระยะตำแหน่งที่จะถ่ายเพื่อลดการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย


ให้น้ อยที่สุด

Thank you


Click to View FlipBook Version