The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

2565_รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kaekanya29, 2023-06-26 23:53:09

2565_รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

2565_รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report : SAR) - ระดับการศึกษาขัน้พื้นฐาน - โรงเรียนบ้านหนองโสน กลุ่มโรงเรียนคลองคีรี ต าบลเขาคีริส อ าเภอพรานกระต่าย จังหวัดก าแพงเพชร สังกัดส านักงานเขตพื้นทีก่ารศึกษาประถมศึกษาก าแพงเพชร เขต 1 ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ปีการศึกษา 2565


รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self–Assessment Report : SAR) ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนบ้านหนองโสน กลุ่มโรงเรียนคลองคีรี ตำบลเขาคีริส อำเภอพรานกระต่าย จังหวัดกำแพงเพชร สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากำแพงเพชร เขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ


ก คำนำ รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนบ้านหนองโสนฉบับนี้ จัดทำขึ้นตามกฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 ข้อ 3 ระบุให้สถานศึกษาจัดส่งรายงานผลการประเมินตนเองให้แก่หน่วยงานต้นสังกัดหรือ หน่วยงานที่กำกับดูแลสถานศึกษาเป็นประจำทุกปีเพื่อรายงานผลการดำเนินงานตามมาตรฐานการศึกษา ของสถานศึกษา และนำเสนอรายงานต่อคณะกรรมการสถานศึกษา หน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่ เกี่ยวข้องเปิดเผยต่อสาธารณชน รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาจะเป็นฐานข้อมูลในการ พัฒนาสถานศึกษา และรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก โดยสำนักงานรับรองมาตรฐานการศึกษาและ ประเมินคุณภาพการศึกษา(องค์การมหาชน) ต่อไป ขอขอบคุณคณะครู นักเรียน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้ปกครอง ชุมชน และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายที่มีส่วนร่วมในการจัดทำรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาปี การศึกษา 2565 ฉบับนี้ คณะผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารรายงานฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อการ นำไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนบ้านหนองโสน ในปีการศึกษา 2566 ต่อไป (นายพงษ์ธร สันติกุล) ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านหนองโสน 15 พฤษภาคม 2566


ข สารบัญ เรื่อง หน้า คำนำ ก สารบัญ ข บทสรุปผู้บริหารระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1 ส่วนที่ 2 ข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา..................................................................................... 6 - ข้อมูลทั่วไปของสถานศึกษา................................................................................................... 6 - ข้อมูลครูและบุคลากร............................................................................................................ 6 - ข้อมูลนักเรียน........................................................................................................................ 8 - ข้อมูลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา 2565..................... 8 - ข้อมูลผลการทดสอบระดับชาติ............................................................................................. 13 - ข้อมูลงบประมาณ.................................................................................................................. 17 - ผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา ตามนโยบายและจุดเน้น ประจำปีการศึกษา 2565.................................................................................................... 18 - ผลการประเมินคุณภาพภายนอกครั้งล่าสุด........................................................................... 21 ส่วนที่ 3 ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา........................................................................ 25 ผลการประเมินตนเองระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน................................................................... 25 - มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน....................................................................................... 25 - มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ.............................................................. 46 - มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ............................ 66 ส่วนที่ 4 สรุปผลการประเมิน และแนวทางการพัฒนา .......................................................... 75 - ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน................................................................................................... 75 ส่วนที่ 5 ภาคผนวก.................................................................................................................... 81 มาตรฐานและค่าเป้าหมายของสถานศึกษา............................................................................ 82 คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการจัดทำรายงานการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา................. 88 สรุปผลงานปีการศึกษา 2565 (รางวัลความสำเร็จ สถานศึกษา/ผู้บริหาร/ครู/นักเรียน)...... 92 หนังสือให้ความเห็นชอบรายงานการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา.............................. 105


1 ส่วนที่ 1 บทสรุปสำหรับผู้บริหาร ชื่อเรื่อง : รายงานประจำปีของสถานศึกษาปีการศึกษา 2565 ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียน : บ้านหนองโสน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากำแพงเพชร เขต 1 ข้อมูลพื้นฐาน : โรงเรียนบ้านหนองโสน มีจำนวนนักเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 118 คน ครูผู้สอนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 15 คน จัดการศึกษาในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 และระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 - 3 ผลการประเมินตนเองในภาพรวม 3 มาตรฐาน : ดีเลิศ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน 1. มีผลการประเมิน ระดับ ดีเลิศ สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และกำหนดโครงการกิจกรรมพัฒนา ผู้เรียนในหลากหลายวิธีการ เช่น โครงการยกระดับคุณภาพการศึกษา ซึ่งเป็นโครงการที่ส่งเสริมเพิ่ม ศักยภาพในตัวผู้เรียนให้มีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล และเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ทุก กลุ่มสาระ ทุกระดับชั้น ประกอบด้วย กิจกรรมยกระดับคุณภาพการศึกษาทางการเรียนทุกกลุ่มสาระ ทุก ระดับชั้น กิจกรรมการทดสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับชั้น ป.6 และม.3 กิจกรรมการ ประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน (NT) ระดับชั้น ป.3 และกิจกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้น พื้นฐาน (RT) ระดับชั้น ป.1 นอกจากนี้ยังมีโครงการส่งเสริมทักษะทางวิชาการส่งเสริมศักยภาพการเรียนรู้สู่ ศตวรรษที่ 21 เพื่อพัฒนาผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงระดับระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในกระบวนการ คิด วิเคราะห์ อ่าน เขียน ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษและ คุณธรรม กิจกรรมค่ายวิชาการ “ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ บ่มเพาะความใฝ่รู้ สู่จินตนาการและสร้างสรรค์” ภายใต้โครงการส่งเสริมศักยภาพผู้เรียน เลขคณิตในใจ มีการบูรณาการตัวชี้วัดการประเมินการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียนร่วมกับการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน แล้วนำผลการประเมินมาปรับปรุงแก้ไข ความสามารถในอ่าน คิดวิเคราะห์ การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณ ตามรูปแบบและวิธีการที่ กำหนดอย่างต่อเนื่อง 2. หลักฐานสนับสนุน ได้แก่ สถานศึกษาได้ตั้งคณะกรรมการประเมินภายในของสถานศึกษาขึ้นและรวบรวมข้อมูล ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านต่างๆ ตามแผนการเก็บรวบรวมข้อมูลจากนักเรียนทุกคน และคุณลักษณะอันพึง ประสงค์(จำนวน 128 คน) ของสถานศึกษาแล้วนำมาประเมินตามเกณฑ์ของสถานศึกษา พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 1. การประเมินด้านการอ่าน พบว่า นักเรียนมีผลการทดสอบการอ่านระดับดีขึ้นไป คิดเป็น ร้อยละ 91.52 (สูงกว่าค่าเป้าหมายร้อยละ 81) ของนักเรียนจำนวน 118 คน 2. การประเมินด้านการเขียน พบว่า ผู้เรียนมีผลการทดสอบการเขียนระดับดีขึ้นไป คิดเป็น ร้อยละ 80.51 (ต่ำกว่าค่าเป้าหมายร้อยละ 81) ของนักเรียนจำนวน 118 คน 3. การประเมินด้านการสื่อสาร พบว่า มีผลการทดสอบการสื่อสารระดับดีขึ้นไป คิดเป็น ร้อยละ 73.73 (ต่ำกว่าค่าเป้าหมายร้อยละ 81) ของนักเรียนจำนวน 118 คน


2 4. การประเมินความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ พบว่า ผู้เรียนมีผลการทดสอบ การอ่านระดับดีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 84.12 (สูงกว่าค่าเป้าหมายร้อยละ 81) ของนักเรียน จำนวน 118 คน 5. ผลการประเมินด้านการคิดคำนวณ พบว่าผู้เรียนมีผลการทดสอบการคิดคำนวณระดับดี ขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 88.77 (สูงกว่าค่าเป้าหมายร้อยละ 81) ของนักเรียน จำนวน 118 คน 6. ผลการประเมินด้านความสามารถในการสร้างนวัตกรรม พบว่าผู้เรียนมีความสามารถใน การสร้างนวัตกรรมระดับดีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 81.36 (ต่ำกว่าค่าเป้าหมายร้อยละ 81) ของนักเรียน จำนวน 128 คน 7. ผลการประเมินด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ของผู้เรียนโดยเฉลี่ยทุกคน ทุกระดับชั้นพบว่า ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้สถานศึกษาตั้งค่าเป้าหมายผู้เรียนร้อยละ 80 มีผลการเรียนเฉลี่ยตั้งแต่ 2 ขึ้นไป โดยทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้มีคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ที่สูงกว่าค่าเป้าหมาย แต่ผลสัมฤทธิ์ในแต่ ละปียังไม่มีพัฒนาในทางบวกติดต่อกันทั้ง 3 ปีย้อนหลัง 8. ส่วนผลการประเมินระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 พบว่ากลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์มีผล คแนนเฉลี่ยสูงกว่าระดับเขตพื้นที่ และระดับประเทศ โดยมีค่าคะแนนเฉลี่ย 4 รายวิชา ร้อยละ 40.40 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 พบว่าทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้มีผลการประเมินที่ต่ำกว่าเกณฑ์ โดยทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้มีผลคะแนนการทดสอบต่ำกว่าร้อยละเป้าหมายที่กำหนด 9. จากผลการประเมินด้านในข้อที่ 7 ที่ผ่านมา แสดงให้เห็นว่านักเรียนมีความรู้ ทักษะพื้นฐานตามหลักสูตร และจากการประเมินในสถิตินักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 3 ร้อยละ 45.45 ที่เรียน ต่อด้านอาชีพ และจากการประเมินเจตคติในการทำงานกลุ่มที่เน้นอาชีพ พบว่านักเรียนร้อยละ 100 มีผล การประเมินตั้งแต่ระดับดีขึ้นไป ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ผลการประเมินด้านคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีงามตามที่สถานศึกษากำหนดนั้น ผู้เรียนผ่านการ ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ทุกคุณลักษณะในระดับดีขึ้นไป ร้อยละ 100 ผู้เรียนร้อยละ 100 มีความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย โดยการประเมินจากการเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ที่สถานศึกษา จัดขึ้น ผู้เรียนร้อยละ 100 มีการยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย และผู้เรียน ร้อยละ 85.59 มีสุขภาวะทางร่างกาย จิตสังคม ผ่านเกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามัย 10. แผนพัฒนาเพื่อให้ได้มาตรฐานที่สูงขึ้น ได้แก่ 10.1 พัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรมอย่างเป็นระบบ มีการใช้ กระบวนการวิจัยในการดำเนินงาน และมีการสร้างเวทีให้ผู้เรียนเผยแพร่ในช่องทาง ต่างๆ อย่างต่อเนื่อง 10.2 ส่งเสริมนักเรียนในการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมโครงงาน โดยมีการดำเนินงานลงสู่ชุมชน ที่เป็นระบบทั้งสถานศึกษา 10.3 ผู้เรียนเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดต่างๆ มากขึ้น โดยมีการวางแผนการจัดการเรียนรู้ ในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ และมีการประเมินความสามารถในการคิดของผู้เรียน อย่างเป็นระบบ


3 10.4 ดำเนินการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนอย่างเป็นระบบตั้งแต่ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ 1. มีผลการประเมิน ระดับ ยอดเยี่ยม สถานศึกษามีการกำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์และพันธกิจอย่างชัดเจน สอดคล้องกับบริบท ของสถานศึกษา ความต้องการของชุมชน ท้องถิ่น วัตถุประสงค์ของแผนพัฒนาการศึกษาชาติ นโยบายของ รัฐบาลและสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา โดยได้มีประชุมผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเพื่อการดำเนินงาน จัดทำ แผนพัฒนาการศึกษา และแผนปฏิบัติการประจำปี ผ่านการเห็นชอบโดยคณะกรรมสถานศึกษา ทำให้ สถานศึกษามีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาที่ชัดเจนมีประสิทธิภาพ ส่งผลต่อคุณภาพตาม มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา โดยความร่วมมือของผุ้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย มีการนำข้อมูลมาใช้ในการ ปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง สถานศึกษามีการดำเนินงานพัฒนาวิชาการผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษา และทุกกลุ่มเป้าหมาย เชื่อมโยงกับชีวิตจริง พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพตรงตาม ความต้องการของครู และสถานศึกษา และจัดให้มีชุมชนการเรียนทางวิชาชีพ เพื่อพัฒนางาน จัด สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ และมีความปลอดภัย จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับสภาพ ของสถานศึกษา แต่สถานศึกษายังไม่มีกระบวนการวิจัยและพัฒนาระบบการบริหารที่ถูกต้องตามหลัก วิชาการ 2. หลักฐานสนับสนุน - ผลการประเมินคุณภาพภายในตามนโยบายและจุดเน้นเพื่อการขับเคลื่อนการจัด การศึกษาสู่การปฏิบัติของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากำแพงเพชร เขต 1 ของโรงเรียนบ้าน หนองโสน อยู่ในระบ ดีเด่น - ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา รางวัลความสำเร็จของสถานศึกษา ผู้บริหาร สถานศึกษา ครู และนักเรียน - สถานศึกษาการบริหารจัดการโดยมีการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา โดยยึดหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560 มีการบริหารเกี่ยวกับ งานวิชาการโดยจัดให้ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมวิชาการ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ตามความรู้ ความสามารถและ ความถนัด พร้อมทั้งเข้าร่วมแข่งขันกิจกรรมวิชาการระดับสถานศึกษา ระดับเครือข่ายการศึกษา ระดับเขต พื้นที่การศึกษา และระดับภาค สถานศึกษามีการพัฒนาหลักสูตรปีละ 1 ครั้ง มีกิจกรรมเสริมหลักสูตรที่ เน้นคุณภาพผู้เรียน จัดจ้างครูวิชาเอกที่ขาดแคลนครบทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ จัดทำรายวิชาเพิ่มเติม พัฒนา ห้องเรียนให้มีสื่อการเรียนการสอนที่ครบครัน ศูนย์ตามรอยพ่อ พอเพียง กิจกรรมลูกเสือเนตรนารี แนะแนว กิจกรรมการเรียนรู้วิถีท้องถิ่นโดยบูรณาการกับหลักสูตรหน่วยการเรียนรู้บูรณาการการศึกษาปลอดภัยและมี คุณภาพ สาระการเรียนรู้วิถีชีวิตในครอบครัว ชุมชนและท้องถิ่น - สถานศึกษาส่งเสริม สนับสนุนให้ครูทุกคนได้รับการพัฒนาศักยภาพตามโครงการ พัฒนาครูทั้งในระดับเขตพื้นที่การศึกษา และหน่วยงานอื่นๆ เพื่อให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ และจัดให้มี ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) มาใช้ในการพัฒนางาน และการเรียนรู้ของผู้เรียน ส่งเสริมให้ครูเป็น


4 วิทยากรภายในและภายนอกสถานศึกษา ให้ความรู้ด้านวิชาชีพ และนำนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมทางวิชาชีพ กับชุมชนอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง - สถานศึกษาจัดให้มีโครงการปรับปรุง พัฒนาอาคารสถานที่และสิ่งแวดล้อม มีการจัด สภาพแวดล้อมที่ร่มรื่น ปลอดภัย จัดให้มีอาคารเรียน อาคารประกอบอย่างพอเพียง จัดให้มีห้องสมุดการ เรียนรู้ที่ทันสมัย ห้องปฏิบัติการเพียงพอ จัดหาวัสดุอุปกรณ์ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ และแหล่งสืบค้นข้อมูลทาง อินเทอร์เน็ตที่นักเรียนสามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากแหล่งเรียนต่างๆ ได้ง่าย - สถานศึกษาจัดให้มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อใช้ในการบริหารจัดการและการ จัดการเรียนรู้ที่เหมาะสม โดยมีข้อมูลสารสนเทศมีความถูกต้อง ครบถ้วน ทันสมัย นำไปประยุกต์ใช้ได้ มีการ ดำเนินงานอย่างเป็นระบบ มีการจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการ จัดการเรียนรู้เช่น มีคอมพิวเตอร์สำหรับห้องปฏิบัติการ ติดตั้งระบบสัญญาณอินเทอร์เน็ตเพื่อกระจาย สัญญาณ WIFI ให้ครอบคลุมทั่วถึงทั้งบริเวณสถานศึกษา เพื่อให้ครูนักเรียน ผู้ปกครอง และประชาชน สามารถเข้าถึงระบบสารสนเทศของสถานศึกษาได้ง่ายขึ้น สะดวกต่อการติดต่อประสานงานและอำนวย ความสะดวกในด้านต่างๆ ได้มากขึ้น และนำเทคโนโลยีเข้ามามีส่วนร่วมบริหารจัดการสถานศึกษา 3. แผนพัฒนาเพื่อให้ได้มาตรฐานที่สูงขึ้น ได้แก่ 3.1พัฒนาวิธียกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนที่เหมาะสมกับบริบทของ สถานศึกษาผ่านกระบวนการวิจัย 3.2เพิ่มการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการประเมินคุณภาพภายในแล้วนำมาสู่การ ระดมความคิดเพื่อพัฒนาสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ 3.3จัดระบบอินเทอร์เน็ตเพื่อการบริหารจัดการในสถานศึกษา เช่น การางระบบการ ดูแลนักเรียน การให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้ปกครองเพื่อการสร้างการร่วมมือในการดูแล นักเรียน มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 1. มีผลการประเมิน ระดับ ดีเลิศ สถานศึกษาจัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิด และเชิงปฏิบัติการตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษา มีแผนการจัดการเรียนรู้ที่สามารถนำไปจัดกิจกรรมได้จริง และสามารถ นำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ครูมีนวัตกรรมในการจัดการเรียนรู้และครูบางส่วนมีการเผยแพร่ ครูใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้รวมทั้งภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เอื้อต่อการเรียนรู้ โดยสร้างโอกาสให้ ผู้เรียนได้แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ครูมีกรับวนการตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ ใช้ เครื่องมือ และวิธีการวัดและประเมินผลที่เหมาะสมกับเป้าหมายในการจัดการเรียนรู้ ให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ ผู้เรียนและนำผลมาพัฒนาผุ้เรียน ครูมีการบริหารจัดการชั้นเชิงเรียนเชิงบวก เด็กรักที่จะเรียนรู้ และเรียนรู้ ร่วมกันอย่างมีความสุข ครูจัดทำชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพมีการแลลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูล สะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ 2. หลักฐานสนับสนุน ได้แก่ - ครูทุกคนจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ที่เน้นกระบวนการเรียนรู้มากกว่า เนื้อหาวิชา โดยร่วมกันวิเคราะห์หลักสูตร จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด ของหลักสูตรสถานศึกษา โดยจัดกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย เช่น การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน


5 แบบโครงงาน การสอนแบบสะเต็มศึกษา เป็นต้น และครูร้อยละ 50 มีการจัดการวิจัยในชั้นเรียนเพื่อ พัฒนาการจัดการเรียนการสอน - ครูร้อยละ 100 สามารถผลิตและใช้สื่อการสอนที่สอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนรู้ใน กลุ่มสาระ การสอนโดยใช้สื่อการสอน ประกอบด้วย ใบงาน ใบความรู้ แบบฝึกทักษะ บัตรภาพ บัตรคำ วิดีโอ และเกมต่างๆ เป็นต้น นอกจากนี้ครูของสถานศึกษาทุกคนจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมให้ ผู้เรียนได้เรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษาครูทุกคนต้องมีการ มอบหมายงานให้ผู้เรียนจัดทำการศึกษาค้นคว้าจากศูนย์ข้อมูลสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ และส่งเสริมการใช้ เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้สถานศึกษา เช่น ห้องสมุด ป้ายนิเทศหน้าอาคาร หรือหน้าชั้นเรียน แผ่นป้าย ความรู้ ต้นไม้พูดได้รอบๆ บริเวณโรงเรียน เป็นต้น - ครูทุกคนมีการบริหารจัดการชั้นเรียนที่เป็นระบบ จัดทำเอกสารในชั้นเรียนอย่างถูกต้อง และครบถ้วน มีการวิเคราะห์ข้อมูลนักเรียนรายบุคคลและนำผลไปออกแบบการจัดการเรียนการสอนให้ สอดคล้องกับความสามารถความต้องการและสภาพบริบทของนักเรียน มีการดูแลช่วยเหลือผู้เรียนอย่างเป็น ระบบ โดยมีการติดต่อสื่อสารกับผู้ปกครองนักเรียนในหลายช่องทาง คือ ทางโทรศัพท์ ทาง Facebook การ จัดตั้งกลุ่ม Line และการประชุมผู้ปกครองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลที่เกี่ยวข้องนักเรียนอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้มีครูทุกคนต้องดำเนินการเยี่ยมบ้านนักเรียนในความรับผิดชอบภาคเรียนละ 1 ครั้ง หรือปี การศึกษาละ 2 ครั้ง แล้วจัดทำข้อมูลพื้นฐานของนักเรียนเป็นรายบุคคล - ครูทุกคนร่วมออกแบบการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนอย่างเป็นระบบ แบ่งสัดส่วนของประเมินผลก่อนกลางภาค กลางภาค และปลายภาค ครูร้อยละ 100 ใช้เครื่องมือวัดและ ประเมินผลที่เหมาะสมกับการประเมิน (A, P, K) และให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียน เพื่อให้นักเรียนจัดทำแฟ้ม สะสมผลงาน มีการแจ้งผลการประเมินให้ผู้ปกครองทราบ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายการเรียนรู้ - ครูทุกคนรวมกลุ่มชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันเกี่ยวกับ ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่รับผิดชอบ พัฒนาสื่อ/ นวัตกรรมและแนวทางการแก้ปัญหา จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ มีการนิเทศการสอน และสะท้อนผลการ นิเทศการสอน นอกจากนี้ครูทุกคนได้รับการพัฒนาความรู้ที่ตรงกับตวามต้องการของตนเองและสถานศึกษา และนำความรู้ที่ได้รับมาใช้ในการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนต่อไป 3. แผนพัฒนาเพื่อให้ได้มาตรฐานที่สูงขึ้น ได้แก่ 3.1 พัฒนารครูให้ทำวิจัยในชั้นเรียน เพื่อนผลของงานวิจัยนั้นไปพัฒนาการเรียนการสอนให้มี ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 3.2เชิญครูผู้สอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นๆ ผู้ปกครองนักเรียน หรือกรรมการสถานศึกษาให้ เข้ามามีส่วนร่วมในกลุ่มชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ของครูผู้สอนแต่ละกลุ่มสาระ การเรียนรู้ เพื่อให้ได้แนวคิดที่หลากหลายในการแก้ปัญหาการจัดการเรียนการสอน


6 ส่วนที่ 2 ข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา 1. ข้อมูลทั่วไปของสถานศึกษา ชื่อสถานศึกษา: โรงเรียนบ้านหนองโสน ชื่อผู้บริหารสถานศึกษา : นายพงษ์ธร สันติกุล โทร 095-307-8954 ที่อยู่สถานศึกษา : เลขที่ 99/4 หมู่ที่ 3 บ้านหนองโสน ตำบลเขาคีริส อำเภอพรานกระต่าย จังหวัดกำแพงเพชร รหัสไปรษณีย์ 62110 สังกัด : สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากำแพงเพชร เขต 1 โทรศัพท์: โทรสาร : - E-Mail : [email protected] เปิดสอน : ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึง ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 1.1 การบริหารจัดการ 1) วิสัยทัศน์ นักเรียนมีคุณธรรมนำความรู้ ก้าวสู่ทักษะงานอาชีพ และน้อมนำเศรษฐกิจพอเพียงไป ปรับใช้ในชีวิตประจำวัน 2) พันธกิจ 2.1 พัฒนาผู้เรียนระดับก่อนประถมศึกษา และระดับการศึกษาภาคบังคับให้มีคุณภาพ ตามศักยภาพและมาตรฐาน 2.2 พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีคุณภาพ 2.3 ส่งเสริมให้ผู้เรียนเป็นคนดี มีคุณธรรมจริยธรรม มีความรู้สู่ทักษะงานอาชีพ และมีวิถี ชีวิตตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2.4 พัฒนาสถานศึกษาตามนโยบายของหน่วยงานต้นสังกัด 2.5 พัฒนาระบบบริหารจัดการที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพตามหลักธรรมมาภิบาล 3) อัตลักษณ์ มีวินัย ใฝ่การออม 4) เอกลักษณ์ รักการออมแบบพอเพียง 1.2 ข้อมูลบุคลากรของสถานศึกษา 1) จำนวนบุคลากรของสถานศึกษา บุคลากร จำนวน ระดับปฐมวัย ระดับการศึกษาขั้น พื้นฐาน ผู้บริหาร 1 ข้าราชการครู 1 12 พนักงานราชการ - - ครูอัตราจ้าง - 3


7 บุคลากร จำนวน ระดับปฐมวัย ระดับการศึกษาขั้น พื้นฐาน เจ้าหน้าที่อื่นๆ 2 รวมทั้งหมด อัตราส่วน ครูต่อ เด็ก/ผู้เรียน 31 7.87 อัตราส่วนห้อง ต่อ เด็ก/ผู้เรียน 2 9 จำนวนครูครบชั้น ครบชั้น ไม่ครบชั้น ในระดับ ชั้นอนุบาลปีที่ 3 ครบชั้น ไม่ครบชั้น ในระดับ ชั้น..................... 2) วุฒิการศึกษาสูงสุดของบุคลากร บุคลากร ต่ำกว่า ปริญญาตรี ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก รวมทั้งหมด จำนวน 2 11 6 - 19 3) สาขาวิชาที่จบการศึกษาและภาระงานสอน สาขาวิชา จำนวน (คน) ภาระงานสอนเฉลี่ยของครู 1 คน ในแต่ละสาขาวิชา (ชม./สัปดาห์) 1. บริหารการศึกษา 1 6 2. ประถมศึกษา 2 18 3. ภาษาไทย 3 18 4. คณิตศาสตร์ 2 18 5. วิทยาศาสตร์ทั่วไป 1 17 6. ฟิสิกส์ 1 18 6. ภาษาอังกฤษ 2 18 7. พัฒนาสังคม 1 19 8. ปฐมวัย 1 15 9. ดนตรีศึกษา 1 18 10. วิทยาการคอมพิวเตอร์ 1 19 11. วิทยาศาสตร์การกีฬา 1 18 รวม 17 11.88


8 1.3 ข้อมูลนักเรียน จำนวนนักเรียน ปีการศึกษา 2565 รวม 118 คน ระดับชั้นเรียน จำนวนห้อง เพศ รวม เฉลี่ยต่อห้อง ชาย หญิง ป.1 1 9 4 13 13 ป.2 1 3 8 11 11 ป.3 1 6 7 13 13 ป.4 1 9 12 21 21 ป.5 1 6 7 13 13 ป.6 1 8 3 11 11 รวมระดับประถมศึกษา 6 41 41 82 13.67 ม.1 1 13 5 18 18 ม.2 1 5 2 7 7 ม.3 1 8 3 11 11 รวมระดับมัธยมศึกษา 3 26 11 36 12.00 รวมทั้งหมด 9 67 51 118 13.11 1.4 ร้อยละของผู้สำเร็จการศึกษา 1) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สำเร็จการศึกษา จำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 100 2) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สำเร็จการศึกษา จำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 100 1.5 จำนวนวันที่สถานศึกษาจัดการเรียนการสอนในปีการศึกษา 2565 ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1) ระดับประถมศึกษา จำนวน 200 วันเรียน 2) ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 200 วันเรียน 1.6 ข้อมูลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา 2565 1) ร้อยละของนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาพื้นฐานแต่ละรายวิชาในระดับ 3 ขึ้นไป ตั้งแต่ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึง ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2565 ระดับชั้น รายวิชา(พื้นฐาน) ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษาฯ ประวัติศาสตร์ ภาษาอังกฤษ สุขศึกษาฯ ศิลปะ การงานอาชีพฯ ป.1 76.92 76.92 84.62 61.54 84.62 84.62 100 100 84.62 ป.2 100 81.82 100 72.73 100 100 100 100 100


9 ระดับชั้น รายวิชา(พื้นฐาน) ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษาฯ ประวัติศาสตร์ ภาษาอังกฤษ สุขศึกษาฯ ศิลปะ การงานอาชีพฯ ป.3 100 100 100 92.31 84.62 100 100 100 100 ป.4 57.14 23.81 57.14 61.90 57.14 85.71 100 95.24 100 ป.5 30.77 84.62 46.15 76.92 53.85 23.08 100 100 38.46 ป.6 72.73 45.45 54.55 54.55 36.36 18.18 100 90.91 63.64 ม.1 83.33 72.22 55.56 22.22 0 55.56 38.89 27.78 72.22 ม.2 14.29 71.43 57.14 100 28.57 71.43 100 85.71 71.43 ม.3 72.73 81.82 63.64 63.64 81.82 18.18 36.36 54.55 100 เฉลี่ยร้อย ละ 67.55 70.90 68.76 67.31 58.55 61.68 84.16 83.80 81.15 2) ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (Local Assessment System : LAS) ปีการศึกษา 2565 ระดับชั้น/ ประเภทการ ประเมิน จำนวน นักเรียน ปกติที่ เข้าสอบ ผลการประเมินแยกตามระดับคุณภาพ ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง จำนวน (คน) คิดเป็น ร้อยละ จำนวน (คน) คิดเป็น ร้อยละ จำนวน (คน) คิดเป็น ร้อยละ จำนวน (คน) คิดเป็น ร้อยละ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 การอ่านออก 13 10 76.92 0 0.00 2 15.38 1 7.69 การเขียนได้ 13 9 69.23 2 15.38 1 7.69 1 7.69 การคิดเลขเป็น 13 9 69.23 2 15.38 2 15.38 0 0.00 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 การอ่านออก 11 10 90.91 1 9.09 0 0.00 0 0.00 การเขียนได้ 11 6 54.55 5 45.45 0 0.00 0 0.00 การคิดเลขเป็น 11 0 0.00 11 100.0 0 0.00 0 0.00 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 การอ่านออก 13 11 84.62 2 15.38 0 0.00 0 0.00 การเขียนได้ 13 5 38.46 8 61.54 0 0.00 0 0.00 การคิดเลขเป็น 13 12 92.31 1 7.69 0 0.00 0 0.00


10 ระดับชั้น/ ประเภทการ ประเมิน จำนวน นักเรียน ปกติที่ เข้าสอบ ผลการประเมินแยกตามระดับคุณภาพ ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง จำนวน (คน) คิดเป็น ร้อยละ จำนวน (คน) คิดเป็น ร้อยละ จำนวน (คน) คิดเป็น ร้อยละ จำนวน (คน) คิดเป็น ร้อยละ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 การอ่านคล่อง 21 12 57.14 5 23.81 0 0.00 4 19.05 การเขียนคล่อง 21 1 4.76 7 33.33 7 33.33 6 28.57 การคิดเลขคล่อง 21 0 0.00 7 33.33 8 38.10 6 28.57 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 การอ่านคล่อง 13 10 76.92 3 23.08 0 0.00 0 0.00 การเขียนคล่อง 13 2 15.38 5 38.46 2 15.38 4 30.77 การคิดเลขคล่อง 13 0 0.00 0 0.00 3 23.08 10 76.92 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 การอ่านคล่อง 11 7 63.64 3 27.27 0 0.00 1 9.09 การเขียนคล่อง 11 3 27.27 7 63.64 1 9.09 0 0.00 การคิดเลขคล่อง 11 5 45.45 5 45.45 0 0.00 1 9.09 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 การคิดเป็น 18 14 77.78 4 22.22 0 0.00 0 0.00 การทำเป็น 18 18 100.0 0 0.00 0 0.00 0 0.00 การแก้ปัญหาเป็น 18 9 50.00 9 50.00 0 0.00 0 0.00 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 การคิดเป็น 7 2 28.57 5 71.43 0 0.00 0 0.00 การทำเป็น 7 4 57.14 3 42.86 0 0.00 0 0.00 การแก้ปัญหาเป็น 7 3 42.86 4 57.14 0 0.00 0 0.00 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 การคิดเป็น 11 5 45.45 4 36.36 2 18.18 0 0.00 การทำเป็น 11 3 27.27 6 54.55 0 0.00 2 18.18 การแก้ปัญหาเป็น 11 0 0.00 4 36.36 3 27.27 4 36.36


11 3) ร้อยละของนักเรียนที่มีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ในระดับดีขึ้นไป ตั้งแต่ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2565 ระดับชั้น จำนวน นักเรียน ผลการประเมิน (คน) ระดับดี ขึ้นไป (คน) ร้อยละ ไม่ผ่าน ผ่าน ดี ดีเยี่ยม ป.1 13 0 3 3 7 10 76.92 ป.2 11 0 0 4 7 11 100.00 ป.3 13 0 0 11 2 13 100.00 ป.4 21 0 0 18 3 21 100.00 ป.5 13 0 0 3 10 13 100.00 ป.6 11 0 1 7 3 10 90.91 ม.1 18 0 3 9 6 18 100.00 ม.2 7 0 0 4 3 7 100.00 ม.3 11 0 0 9 2 11 100.00 รวม 118 0 7 68 43 114 96.43 4) ร้อยละของนักเรียนที่มีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับดีขึ้นไป ตั้งแต่ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2565 ระดับชั้น จำนวน นักเรียน ผลการประเมิน (คน) ระดับดี ขึ้นไป (คน) ร้อยละ ไม่ผ่าน ผ่าน ดี ดีเยี่ยม ป.1 13 0 0 2 11 13 100.00 ป.2 11 0 0 0 11 11 100.00 ป.3 13 0 0 5 8 13 100.00 ป.4 21 0 0 9 12 21 100.00 ป.5 13 0 0 0 13 13 100.00 ป.6 11 0 0 6 5 11 100.00 ม.1 18 0 0 11 7 18 100.00 ม.2 7 0 0 5 2 7 100.00 ม.3 11 0 0 6 5 11 100.00 รวม 118 0 0 44 74 118 100.00


12 5) ร้อยละของนักเรียนที่มีผลการประเมินสมรรถนะสำคัญตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ปีการศึกษา 2565 ของผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในระดับผ่านขึ้นไป สมรรถนะสำคัญ ผลการประเมิน ระดับผ่าน ขึ้นไป ร้อยละ ไม่ผ่าน ผ่าน ดี ดีเยี่ยม 1. ความสามารถ ในการสื่อสาร 1 1 6 3 10 90.91 2. ความสามารถ ในการคิด 1 1 8 1 10 90.91 3. ความสามารถ ในการแก้ปัญหา 1 5 2 3 10 90.91 4. ความสามารถในการใช้ ทักษะชีวิต 0 7 1 3 11 100.00 5. ความสามารถในการใช้ เทคโนโลยี 1 5 2 3 10 90.91 รวม 4 19 19 13 51 92.73 6) ร้อยละของนักเรียนที่มีผลการประเมินสมรรถนะสำคัญตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ปีการศึกษา 2565 ของผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในระดับผ่านขึ้นไป สมรรถนะสำคัญ ผลการประเมิน ระดับผ่าน ขึ้นไป ร้อยละ ไม่ผ่าน ผ่าน ดี ดีเยี่ยม 1. ความสามารถ ในการสื่อสาร 0 5 2 4 11 100.00 2. ความสามารถ ในการคิด 3 4 2 2 8 72.73 3. ความสามารถ ในการแก้ปัญหา 3 3 5 0 8 72.73 4. ความสามารถในการใช้ ทักษะชีวิต 2 3 2 4 9 81.82 5. ความสามารถในการใช้ เทคโนโลยี 0 3 3 5 11 100.00 รวม 8 18 14 15 47 85.46


13 1.7 ข้อมูลผลการทดสอบระดับชาติ 1) ข้อมูลผลการทดสอบความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (Reading Test : RT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 1.1) ข้อมูลผลการทดสอบความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (Reading Test : RT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2565 สมรรถนะ คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ระดับโรงเรียน ระดับเขตพื้นที่ ระดับ สพฐ. ระดับประเทศ การอ่านออกเสียง 94.40 79.76 77.24 77.38 การอ่านรู้เรื่อง 79.20 77.88 77.19 77.19 เฉลี่ย 2 สมรรถนะ 86.80 78.84 77.22 77.28 1.2) การเปรียบเทียบผลการทดสอบความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (Reading Test : RT) ปีการศึกษา 2564- 2565 และเปรียบเทียบกับเป้าหมายของโรงเรียน สมรรถนะ ปีการศึกษา 2564 ปีการศึกษา 2565 ผลต่าง ระหว่างปี การศึกษา เป้าหมายปี การศึกษา 2565 ผลต่างระหว่าง เป้าหมาย การอ่านออกเสียง 77.38 94.40 +17.02 79.70 +14.70 การอ่านรู้เรื่อง 80.61 79.20 -1.41 83.03 -3.83 เฉลี่ย 2 สมรรถนะ 79.00 86.80 +7.80 81.37 +5.43 1.3) ข้อมูลพัฒนาการผลการทดสอบความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (Reading Test : RT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2562 - 2565 สมรรถนะ ปีการศึกษา 2562 ปีการศึกษา 2563 ปีการศึกษา 2564 ปีการศึกษา 2565 ค่าเป้าหมาย ค่าเฉลี่ยร้อยละ ค่าเป้าหมาย ค่าเฉลี่ยร้อยละ ค่าเป้าหมาย ค่าเฉลี่ยร้อยละ ค่าเป้าหมาย ค่าเฉลี่ยร้อยละ การอ่านออกเสียง 72.93 71.52 73.67 82.30 84.77 77.38 79.70 94.40 การอ่านรู้เรื่อง 84.26 76.52 78.82 81.53 83.98 80.61 83.03 79.20 เฉลี่ย 2 สมรรถนะ 78.60 74.02 76.24 81.92 84.38 79.00 81.37 86.80


14 2) ข้อมูลผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (National Test : NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 2.1) ข้อมูลผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (National Test : NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปี การศึกษา 2565 ความสามารถ คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ระดับโรงเรียน ระดับเขตพื้นที่ ระดับ สพฐ. ระดับประเทศ ความสามารถด้านภาษาไทย 52.11 48.82 55.33 55.86 ความสามารถด้านคณิตศาสตร์ 47.38 43.25 48.81 49.12 เฉลี่ย 2 ด้าน 49.75 46.03 52.07 52.50 2.2) การเปรียบเทียบผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (National Test : NT) ปีการศึกษา 2564- 2565 และเปรียบเทียบกับเป้าหมายของโรงเรียน ความสามารถ ปีการศึกษา 2564 ปีการศึกษา 2565 ผลต่าง ระหว่างปี การศึกษา เป้าหมายปี การศึกษา 2565 ผลต่างระหว่าง เป้าหมาย ความสามารถด้าน ภาษาไทย 47.92 52.11 +4.19 49.36 +2.75 ความสามารถด้าน คณิตศาสตร์ 53.95 47.38 -6.57 55.57 -8.19 เฉลี่ย 2 ด้าน 50.94 49.75 -1.19 52.47 -2.72 2.1) ข้อมูลพัฒนาการผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (National Test : NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2562 - 2565 ความสามารถ ปีการศึกษา 2562 ปีการศึกษา 2563 ปีการศึกษา 2564 ปีการศึกษา 2565 ค่าเป้าหมาย ค่าเฉลี่ยร้อยละ ค่าเป้าหมาย ค่าเฉลี่ยร้อยละ ค่าเป้าหมาย ค่าเฉลี่ยร้อยละ ค่าเป้าหมาย ค่าเฉลี่ยร้อยละ ความสามารถด้าน ภาษาไทย 47.78 38.76 39.92 48.60 50.06 47.92 49.36 52.11 ความสามารถด้าน คณิตศาสตร์ 45.96 35.69 36.76 41.80 43.05 53.95 55.57 47.38 เฉลี่ย 2 ด้าน 46.87 37.23 38.85 45.20 46.56 50.94 52.47 49.75


15 3) ข้อมูลผลการทดสอบระดับชาติO-NET 3.1) ข้อมูลผลการทดสอบระดับชาติ O-NET ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2565 รายวิชา คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ระดับโรงเรียน ระดับเขตพื้นที่ ระดับ สพฐ. ระดับประเทศ ภาษาไทย 50.19 52.85 52.80 53.89 ภาษาอังกฤษ 34.03 33.79 33.57 37.62 คณิตศาสตร์ 37.11 28.18 26.52 28.06 วิทยาศาสตร์ 40.28 37.72 37.90 39.34 เฉลี่ย 4 วิชา 40.40 38.14 37.70 39.73 3.2) การเปรียบเทียบผลการทดสอบระดับชาติ O-NET ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2564- 2565 และเปรียบเทียบกับเป้าหมายของโรงเรียน ความสามารถ ปีการศึกษา 2564 ปีการศึกษา 2565 ผลต่าง ระหว่างปี การศึกษา เป้าหมายปี การศึกษา 2565 ผลต่างระหว่าง เป้าหมาย ภาษาไทย 40.13 50.19 +10.06 41.34 +8.85 ภาษาอังกฤษ 25.14 34.03 +8.89 25.89 +8.14 คณิตศาสตร์ 32.83 37.11 +4.28 33.82 +3.29 วิทยาศาสตร์ 30.68 40.28 +9.60 31.60 +8.68 เฉลี่ย 4 วิชา 32.20 40.40 +8.20 31.17 +9.23 3.3) ข้อมูลพัฒนาการผลการทดสอบระดับชาติ O-NET ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2562 - 2565 วิชา ปีการศึกษา 2562 ปีการศึกษา 2563 ปีการศึกษา 2564 ปีการศึกษา 2565 ค่าเป้าหมาย ค่าเฉลี่ยร้อยละ ค่าเป้าหมาย ค่าเฉลี่ยร้อยละ ค่าเป้าหมาย ค่าเฉลี่ยร้อยละ ค่าเป้าหมาย ค่าเฉลี่ยร้อยละ ภาษาไทย 45.97 37.20 38.32 46.20 47.59 40.13 41.34 50.19 ภาษาอังกฤษ 32.76 27.00 27.81 35.00 36.05 25.14 25.89 34.03 คณิตศาสตร์ 32.90 21.67 22.32 23.50 24.21 32.83 33.82 37.11 วิทยาศาสตร์ 31.96 32.70 33.68 35.57 36.64 30.68 31.60 40.28 เฉลี่ย 4 วิชา 35.90 29.64 30.53 35.07 36.12 32.20 31.17 40.40


16 3.4) ข้อมูลผลการทดสอบระดับชาติ O-NET ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2565 รายวิชา คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ระดับโรงเรียน ระดับเขตพื้นที่ ระดับ สพฐ. ระดับประเทศ ภาษาไทย 38.69 50.16 53.91 52.95 ภาษาอังกฤษ 24.15 26.65 31.75 32.05 คณิตศาสตร์ 17.70 21.43 24.66 24.39 วิทยาศาสตร์ 26.73 30.77 33.67 33.32 เฉลี่ย 4 วิชา 26.82 32.25 36.00 35.68 3.5) การเปรียบเทียบผลการทดสอบระดับชาติ O-NET ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2564 - 2565 และเปรียบเทียบกับเป้าหมายของโรงเรียน ความสามารถ ปีการศึกษา 2564 ปีการศึกษา 2565 ผลต่าง ระหว่างปี การศึกษา เป้าหมายปี การศึกษา 2565 ผลต่างระหว่าง เป้าหมาย ภาษาไทย 37.28 38.69 +1.41 38.40 +0.29 ภาษาอังกฤษ 25.00 24.15 -0.85 25.75 -1.60 คณิตศาสตร์ 21.38 17.70 -3.68 22.02 -4.32 วิทยาศาสตร์ 26.90 26.73 -0.17 27.71 -0.98 เฉลี่ย 4 วิชา 27.64 26.82 -0.82 28.47 -1.65 3.6) ข้อมูลพัฒนาการผลการทดสอบระดับชาติ O-NET ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2562 - 2565 วิชา ปีการศึกษา 2562 ปีการศึกษา 2563 ปีการศึกษา 2564 ปีการศึกษา 2565 ค่าเป้าหมาย ค่าเฉลี่ยร้อยละ ค่าเป้าหมาย ค่าเฉลี่ยร้อยละ ค่าเป้าหมาย ค่าเฉลี่ยร้อยละ ค่าเป้าหมาย ค่าเฉลี่ยร้อยละ ภาษาไทย 50.71 49.45 50.93 45.00 46.35 37.28 38.40 38.69 ภาษาอังกฤษ 27.25 28.73 29.59 25.50 26.27 25.00 25.75 24.15 คณิตศาสตร์ 25.99 21.45 22.09 23.60 24.31 21.38 22.02 17.70 วิทยาศาสตร์ 35.49 27.64 28.47 27.64 27.97 26.90 27.71 26.73 เฉลี่ย 4 วิชา 34.86 31.82 32.77 30.44 31.22 27.64 28.47 26.82


17 1.8 ข้อมูลอาคารสถานที่ 1) ข้อมูลสิ่งก่อสร้าง ประเภท จำนวน หมายเหตุ อาคารเรียน ป.1ช (สร้างปี พ.ศ. 2519) 1 อาคารเรียน ป017ก (สร้างปี พ.ศ. 2522) 1 อาคารเรียน สปช.102/26 (สร้างปี พ.ศ. 2536) 1 อาคารเรียน สปช.105/29 (สร้างปี พ.ศ. 2553) 1 อาคารอเนกประสงค์ สปช.203/26 (สร้างปี พ.ศ. 2525) 1 ส้วม สปช.601/26 3 ส้วม สปช.604/45 (สร้างปี พ.ศ. 2552) 1 ส้วม อาคาร สพฐ. (ส้วม 4 ที่นั่ง ปี พ.ศ. 2559) 1 บ้านพักครู 3 ห้อง (สร้างเอง ปี พ.ศ. 2562) 1 โรงอาหาร 1 ถังเก็บน้ำ ฝ.30 (พิเศษ) 2 ถังเก็บน้ำ ฝ.33 (พิเศษ) 2 2) ข้อมูลจำนวนห้องเรียน ประเภท จำนวน หมายเหตุ ห้องเรียนปฐมวัย 2 ห้องเรียนประถมศึกษา 6 ห้องเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น 3 ห้องปฏิบัติการ 2 ห้องคอมพิวเตอร์/ห้องวิทยาศาสตร์ ห้องพยาบาล 1 ห้องสมุด 1 ห้องลูกเสือ 1 ห้องโสตทัศนศึกษา (ห้องสีเหลือง) 1 ห้องวิชาการ (ห้องสีฟ้า) 1 ห้องประชุม (ใต้ตึกอาคารมัธยม) 1 ห้องดนตรี 1 ห้องธุรการ 1 1.9 ข้อมูลงบประมาณ 1) เงินงบประมาณ 759,343.00 บาท 2) เงินนอกงบประมาณ 1,100,155.76 บาท - เงินบริจาค 284,455.76 บาท - เงินที่ได้รับการอุดหนุนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 815,700 บาท


18 1.9 สรุปการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศ การศึกษาตามนโยบายและจุดเน้นเพื่อการขับเคลื่อนการจัดการศึกษาสู่การปฏิบัติ ปีการศึกษา 2565 ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 นโยบาย/จุดเน้น/ประเด็นพิจารณา น้ำหนัก คะแนน ระดับ คุณภาพ คำอธิบาย ระดับคุณภาพ นโยบายที่ 1 ส่งเสริมการสร้างความปลอดภัยในสถานศึกษา จุดเน้นที่ 1 ส่งเสริมการสร้างความปลอดภัยจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ประเด็นพิจารณา : โรงเรียนดำเนินการสร้างความปลอดภัย จากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 1 5 ดีเด่น จุดเน้นที่ 2 ส่งเสริมความปลอดภัยในสถานศึกษาจากภัยคุกคามทุกรูปแบบ ประเด็นพิจารณา : โรงเรียนดำเนินการสร้างความปลอดภัย ในสถานศึกษาจากภัยคุกคามทุกรูปแบบ 1 5 ดีเด่น นโยบายที่ 2 สร้างโอกาสและลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา จุดเน้นที่ 3 ส่งเสริมการพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนเพื่อลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา ประเด็นพิจารณา : โรงเรียนดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือ นักเรียนเพื่อลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา 2 5 ดีเด่น จุดเน้นที่ 4 ส่งเสริมและพัฒนาเด็กด้อยโอกาส/เด็กพิการเรียนรวม/เด็กที่มีความสามารถพิเศษ ประเด็นพิจารณา : โรงเรียนดำเนินการส่งเสริมและพัฒนา เด็กด้อยโอกาส/เด็กพิการเรียนรวม/เด็กที่มีความสามารถ พิเศษ 1 4 ดีมาก นโยบายที่ 3 ยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาและเสริมสร้างนักเรียนให้เป็นคนดีของครอบครัวและสังคม จุดเน้นที่ 5 ส่งเสริมการพัฒนาหลักสูตรบูรณาการ “การศึกษาปลอดภัยและมีคุณภาพ” และการจัดการ เรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ประเด็นการพิจารณาที่ 1 : โรงเรียนมีการพัฒนาหลักสูตร บูรณาการ “การศึกษาปลอดภัยและมีคุณภาพ” 1 5 ดีเด่น ประเด็นการพิจารณาที่ 2 : โรงเรียนมีการจัดประสบการณ์ที่ เน้นเด็กเป็นสำคัญและการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น สำคัญ /แนวทางทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ที่ สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดฯ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) 1 4 ดีมาก จุดเน้นที่ 6 พัฒนาคุณภาพและทักษะวิชาการของนักเรียน ประเด็นการพิจารณาที่ 1 : นักเรียนระดับปฐมวัย มี ทักษะสร้างงานศิลปะสร้างสรรค์ ปั้นดินน้ำมัน ภาพฉีก ตัด ปะ และจัดการเรียนรู้บูรณาการโครงการบ้าน นักวิทยาศาสตร์น้อย 1 4 ดีมาก


19 นโยบาย/จุดเน้น/ประเด็นพิจารณา น้ำหนัก คะแนน ระดับ คุณภาพ คำอธิบาย ระดับคุณภาพ ประเด็นการพิจารณาที่ 2 : นักเรียนระดับประถมศึกษาปีที่ 1-3 มีทักษะอ่านออก เขียนได้ คิดเลข เป็น สร้างสรรค์ผลงานการสร้างประโยคและเขียนเรื่องจากภาพ 2.1 นักเรียนระดับประถมศึกษาปีที่ 1-3 มีทักษะ อ่านออก เขียนได้และคิดเลขเป็น 1 4 ดีมาก 2.2 นักเรียนระดับประถมศึกษาปีที่ 1-3 มีการ สร้างสรรค์ผลงานการสร้างประโยคและเขียนเรื่อง จากภาพ 1 5 ดีเด่น ประเด็นการพิจารณาที่ 3 : นักเรียนระดับประถมศึกษาปีที่ 4-6 มีทักษะการอ่านคล่อง เขียนคล่อง คิดเลขคล่อง เขียนเรียงความด้วยลายมือที่สวยงามเป็นระเบียบเรียบร้อย และจัดทำหนังสือเล่มเล็ก 3.1 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 มีทักษะการ อ่านคล่อง เขียนคล่อง และคิดเลขคล่อง 1 5 ดีเด่น 3.2 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 มีการ สร้างสรรค์ผลงานการเขียนเรียงความ ด้วยลายมือ ที่สวยงามเป็นระเบียบเรียบร้อย และจัดทำหนังสือ เล่มเล็ก 1 5 ดีเด่น ประเด็นการพิจารณาที่ 4 : นักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 คิดเป็น ทำเป็น แก้ปัญหาเป็น สร้าง แรง บันดาลใจ และจัดทำโครงงาน เช่น STEM Education หรือโครงงานรายวิชาอื่น ๆ 4.1 นักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 คิดเป็น ทำเป็น แก้ปัญหาเป็น 1 4 ดีมาก 4.2 นักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 ได้รับการ ส่งเสริมด้านการสร้างแรงบันดาลใจ และจัดทำโครงงาน เช่น STEM Education หรือโครงงานรายวิชาอื่น ๆ 1 4 ดีมาก ประเด็นการพิจารณาที่ 5 : ส่งเสริมให้นักเรียนเข้ารับการ ทดสอบระดับชาติ RT/NT/O-NET 1 4 ดีมาก ประเด็นการพิจารณาที่ 6 : ส่งเสริมสนับสนุนการเรียนการ สอนและกิจกรรมเสริมทักษะการสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษ โดยใช้ Classroom Language และบทพูด Speaking about yourself 1 4 ดีมาก จุดเน้นที่ 7 เสริมสร้างนักเรียนให้เป็นคนดีของครอบครัวและสังคม ด้วยกิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด และกิจกรรมเรียนรู้บูรณาการที่หลากหลาย ประเด็นการพิจารณา : เสริมสร้างนักเรียนให้เป็นคนดี ของครอบครัวและสังคม ด้วยกิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ยุว กาชาด และกิจกรรมเรียนรู้บูรณาการที่หลากหลาย 2 5 ดีมาก


20 นโยบาย/จุดเน้น/ประเด็นพิจารณา น้ำหนัก คะแนน ระดับ คุณภาพ คำอธิบาย ระดับคุณภาพ นโยบายที่ 4 ส่งเสริมการบริหารจัดการสถานศึกษาที่มีประสิทธิภาพ จุดเน้นที่ 8 ส่งเสริมการดำเนินงานระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาที่เข้มแข็ง ประเด็นการพิจารณา : การดำเนินงานระบบประกัน คุณภาพภายในสถานศึกษาที่เข้มแข็ง 2 4 ดีมาก จุดเน้นที่ 9 ส่งเสริมการพัฒนานวัตกรรมการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ การใช้สื่อ เทคโนโลยี และแหล่งการเรียนรู้ที่หลากหลาย ประเด็นการพิจารณา : โรงเรียนมีการพัฒนานวัตกรรม การบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ การใช้สื่อ เทคโนโลยี และแหล่งการเรียนรู้ที่หลากหลาย 1 5 ดีเด่น จุดเน้นที่ 10 ส่งเสริมการพัฒนาผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษา และการบริหารจัดการตามหลัก ธรรมาภิบาล ประเด็นการพิจารณา : โรงเรียนมีการส่งเสริมการพัฒนา ผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษา และการบริหารจัดการ ตามหลักธรรมาภิบาล 1 4 ดีมาก สรุปผลการประเมิน 22 4.50 ดีเด่น


21 1.11 ผลการประเมินคุณภาพภายนอก : ผลการประเมิน SAR ภายใต้สถานการณ์ COVID-19 โรงเรียนบ้านหนองโสน ได้รับการประเมินภายนอก ภายใต้สถานการณ์ Covid-19 โดยการ ประเมินจากรายงานผลการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR) จาก สมศ. สรุปผลเมื่อ วันที่ 26 เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2565 ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียน จุดเน้น ผู้เรียนได้รับการพัฒนาตามศักยภาพและมาตรฐาน เป็นคนดี มีคุณธรรม น้อมนำเศรษฐกิจ พอเพียงไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้ ผลพิจารณา ตัวชี้วัด สรุปผลการประเมิน 1. มีการระบุเป้าหมายคุณภาพของผู้เรียน ปรับปรุง (๐-๓ ข้อ) พอใช้ (๔ ข้อ) ดี (๕ ข้อ) 2. มีการระบุวิธีพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนอย่างเป็น ระบบ ตามเป้าหมายการพัฒนาผู้เรียน 3. มีผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนตามเป้าหมายการพัฒนา ผู้เรียน 4. มีการนำผลประเมินคุณภาพของผู้เรียนมาพัฒนา ผู้เรียนด้านผลสัมฤทธิ์ให้สูงขึ้น 5. มีการนำเสนอผลการประเมินคุณภาพของผู้เรียนต่อ ผู้ ที่เกี่ยวข้อง ข้อแนะในการเขียน SAR ให้ได้ผลประเมินระดับสูงขึ้น สถานศึกษาควรมีการระบุในรายงานประเมินตนเอง (SAR) เพื่อความสมบูรณ์ยิ่งขึ้นเกี่ยวกับการ กำหนดจุดเน้นในการพัฒนาผู้เรียนให้มีความชัดเจนและควรระบุถึงกิจกรรม โครงการที่จะนำมาพัฒนา จุดเน้นให้มีความชัดเจน ควรระบุขั้นตอนวิธีการในการดำเนินโครงการต่างๆ ว่ามีการประเมินโครงการ กิจกรรม อย่างไรบ้าง เช่น มีการใช้เครื่องมืออะไรบ้าง ใครมีส่วนร่วมในการประเมินบ้าง ระบุถึงการส่งเสริม พัฒนาผู้เรียนตามจุดเน้น ผ่านการทำโครงงานหรือกิจกรรมต่างๆ ว่ามีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นหรือลดลงอย่างไร โดยควรสรุปว่ามีพัฒนาการอย่างต่อเนื่องอย่างน้อยย้อนหลัง 3 ปี โดยแสดงค่าเป้นร้อยละ และเมื่อนำผล การประเมินไปแก้ไขแล้วประสบผลสำเร็จหรือบรรลุเป้าหมายตามโครงการกิจกรรมมอย่างไรบ้าง ถ้าไม่บรรลุได้แก้ปัญหาอย่างไร และควรระบุถึงการนำผลประเมินจากต้นสังกัดและจากการประเมินของ สม ศ. ในรอบที่ผ่านมา โดยสถานศึกษาได้นำมาวางแผนและพัฒนาอย่างไรบ้าง ซึ่งควรระบุถึงความก้าวหน้าใน การพัฒนาตามข้อเสนอแนะ สถานศึกษาควรระบุการนำเสนอผลการดำเนินงานต่อผู้เกี่ยวข้อง หน่วยงาน ต่างๆ และสาธารณชนได้รับทราบ นอกจากการแจ้งในที่ประชุมแล้ว ควรระบุรายละเอียดไว้ใน SAR ว่าสถานศึกษาได้นำเสนอผลการดำเนินงานที่มีประสิทธิภาพ ผลงานของผู้เรียน หรือสื่อเทคโนโลยี นวัตกรรม ต่างๆ ของสถานศึกษาได้ลงไว้ในสื่อออนไลน์ต่างๆ เช่น กลุ่มไลน์ เฟซบุ๊ก หรือเว็บไซต์ของสถานศึกษา เป็นต้น


22 มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ จุดเน้น พัฒนาสถานศึกษาและวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้าน โดยความร่วมมือของ ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ผลพิจารณา ตัวชี้วัด สรุปผลการประเมิน 1. มีการวางแผนการดำเนินการในแต่ละปีการศึกษา ปรับปรุง (๐-๓ ข้อ) พอใช้ (๔ ข้อ) ดี (๕ ข้อ) 2. มีการนำแผนการดำเนินการไปใช้ดำเนินการ 3. มีการประเมินผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินการตามแผน 4. มีการนำผลประเมินการบริหารจัดการของ สถานศึกษาไปปรับปรุงแก้ไขในปีการศึกษาต่อไป 5. มีการนำเสนอผลการบริหารจัดการของสถานศึกษา ให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียได้รับทราบ ข้อแนะในการเขียน SAR ให้ได้ผลประเมินระดับสูงขึ้น สถานศึกษาควรมีการระบุข้อมูลใน SAR ครั้งต่อไปเพิ่มเติมในด้านเสนอข้อมูลด้านโครงสร้างการ บริหารงานสถานศึกษาให้ชัดเจน วิธีการการนำผลการประเมินคุณภาพผู้เรียนไปใช้ปรับปรุง พัฒนาผู้เรียน ให้สูงขึ้น เพิ่มเติมการกำหนดวิธีการ โครงการ/กิจกรรมต่างๆ ในด้านผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการให้สูงขึ้น การ พัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน ควรเพิ่มเติมกิจกรรมที่เติมเต็มมากขึ้นตามจุดเน้นที่สอดคล้อง กับคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่สถานศึกษากำหนด เน้นการแสดงออกที่เป็นรูปธรรมมากกว่านามธรรมให้ มากยิ่งขึ้น จัดให้มีโครงการหรือกิจกรรมรองรับทุกข้อคุณลักษณะที่พึงประสงค์ เน้นกิจกรรมการพัฒนา ผู้เรียนมีจิตสาธารณะ ความไม่เห็นแก่ตัว เป็นต้น ดำเนินการประเมินผลการดำเนินงาน/กิจกรรม มีการ จัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษารระยะสั้น ระยะยาว มีการดำเนินการตามโครงการ เช่น โครงการสร้าง ความสัมพันธ์ กับชุมชน หรือกิจกรรมการเข้าไปร่วมในชุมชน โดยระบุถึงวิธีการดำเนินงาน วิธีการประเมินผลและผลการดำเนินงานไว้ชัดเจน ควรมีการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาอย่างน้อย ภาคเรียนละ 1 ครั้ง ต่อยอดโครงการโดยบอกรายละเอียดว่าได้นำไปสู่ “ วิธีหรือแนวทางปฏิบัติที่เป้นเลิศ (Best Practices) ” จะยั่งยืนต่อไปได้อย่างไร และก้าวไปสู่ “นวัตกรรม” รวมทั้งมีช่องทางให้ผู้อ่ายหรือผู้ที่ สนใจสามารถเข้าถึงข้อมูลรายงานการประเมินตนเองและหลักฐานอื่นๆ ของสถานศึกษาหลากหลายช่องทาง มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ จุดเน้น ครูจัดกระบวนการเรียนการสอนผ่านกระบวนการคิด ปฏิบัติจริง โดยมีการบูรณาการหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในหน่วยการเรียนรู้ ผลพิจารณา ตัวชี้วัด สรุปผลการประเมิน 1. ครูมีการวางแผนการจัดการเรียนรู้ครบทุกรายวิชา ทุกชั้นปี ปรับปรุง (๐-๓ ข้อ) พอใช้ (๔ ข้อ) 2. ครูทุกคนมีการนำแผนการจัดการเรียนรู้ไปใช้ในการ ดี (๕ ข้อ) จัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ 3. มีการตรวจสอบและประเมินผลการจัดการเรียน การสอนอย่างเป็นระบบ


23 ผลพิจารณา ตัวชี้วัด สรุปผลการประเมิน 4. มีการนำผลการประเมินมาพัฒนาการจัดการเรียน การสอนของครูอย่างเป็นระบบ 5. มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลป้อนกลับเพื่อ พัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน 1) ข้อแนะในการเขียน SAR ให้ได้ผลประเมินระดับสูงขึ้น สถานศึกษาควรระบุข้อมูลในการรายงานประเมินตนเอง (SAR) เพื่อความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น เกี่ยวกับการกำหนดจุดเน้นในการพัฒนาครู และการจัดการกระบวนการเรียนการสอนตามจุดเน้นให้ชัดเจน มากขึ้น โดยควรระบุรายละเอียด ขั้นตอน วิธีการวางงแผนการจัดการบวนการเรียนการสอน มีวิธีการนำ แผนไปใช้อย่างไรบ้างควรระบุผลการประเมินการจัดกิจกรรม การจัดทำโครงการที่เกี่ยวข้อง ผลของการใช้ สื่อเทคโนโลยีและสื่อการสอนของครู ตัวอย่างเช่น ครูนำผลจากการประเมินแผนการจัดกระบวนการเรียนรู้ ของผู้เรียน ผลจากการวิจัยในชั้นเรียน ผลจากการใช้สื่อการเรียนการสอนที่ครูผลิตขึ้นมา และจากโครงการ กิจกรรมที่สามารถประเมินความก้าวหน้าของผู้เรียน โดยนำผลการประเมินมาปรับปรุงการจัดกระบวนการ เรียนรู้ด้วยวิธีการอย่างไรบ้าง มีการเปรียบเทียบกับเป้าหมายว่าต่ำกว่าหรือสูงกว่าเป้าหมายที่กำหนดไว้ ถ้า ต่ำกว่าจะมีวิธีการแก้ไขอย่างไรบ้าง ซึ่งควรระบุไว้ให้ชัดเจนมากขึ้นและควรรระบุไว้ใน SAR ว่าจากการได้รับ นิเทศการเรียนการสอน การอบรม-สัมมนา การแลกเปลี่ยนเรียนรู้แล้วได้นำมาพัฒนาผู้เรียนอย่างเป็น รูปธรรมอย่างไรบ้าง ควรระบุถึงผลการพัฒนาว่ามีผลการพัฒนาว่ามีผลเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นกับผู้เรียนอย่างไร โดยควรมีข้อมูลสรุปการมีพัฒนาอย่างต่อเนื่องอย่างน้อย 3 ปี รวมทั้งควรระบุการเผยแพร่ผลการพัฒนา จุดเน้น เช่น ผลงานการจัดการกระบวนการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพของครู สื่อ และเทคโนโลยีที่ครูใช้ ในการจัดการเรียนการสอน และอาจจัดทำแบบอย่างที่ดี (Best Practice) หรือนวัตกรรม (Innovation) โดยการเผยแพร่สู่สาธารณชนผ่านสื่อที่หลากหลาย รวมทั้งเผยแพร่ทางสื่ออินเทอร์เน็ตหรือเว็บไซต์ของ สถานศึกษา 2) ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมจากการประเมินภายนอก ภายใต้สถานการณ์ Covid-19 ในการจัดทำ SAR ครั้งต่อไป สถานศึกษาควรแสดงข้อมูลเพิ่มเติมที่เกี่ยวกับข้อมูลพื้นฐาน ที่สำคัญของสถานศึกษา คือ โครงสร้างการบริหาร ข้อมูลแหล่งเรียนรู้ภายในและภายนอก ควรแยกจำนวน ครูที่สอนระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาให้ชักเจนเพิ่มเติมข้อมูล “ข้อเสนอแนะ” ในการอธิบายแต่ มาตรฐาน ควรมีการระบุข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับแบบอย่างที่ดี (Best Practice) หรือนวัตกรรม (Innovation) (ถ้ามี) โดยะบุรายละเอียดถึงวิธีการดำเนินการ และการได้รับรางวัล การมีหน่วยงานมาศึกษาดูงาน เป็นต้น 3) การนำผลการประเมินคุณภาพภายนอกไปใช้ จากผลการประเมินตามมาตรฐานที่ 1 พบว่าคุณภาพของผู้เรียน มีคุณภาพอยู่ในระดับดีนั้น โรงเรียนได้พบว่าการกำหนดจุดเน้นในการพัฒนาผู้เรียนไม่ได้ระบุถึงกิจกรรม โครงการที่จะนำมาพัฒนา จุดเน้นให้มีความชัดเจน ทั้งขั้นตอนวิธีการในการดำเนินโครงการต่างๆ ว่ามีการประเมินโครงการ กิจกรรม อย่างไรบ้างทำให้ทราบว่าโรงเรียนควรมีกำหนดจุดเน้นในการพัฒนาผู้เรียนให้มีความชัดเจนและควรระบุถึง กิจกรรม โครงการที่จะนำมาพัฒนาจุดเน้นให้มีความชัดเจน ควรระบุขั้นตอนวิธีการในการดำเนินโครงการ ต่างๆ ว่ามีการประเมินโครงการ กิจกรรม อย่างไรบ้าง มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นหรือลดลงอย่างไร โดยควร สรุปว่ามีพัฒนาการอย่างต่อเนื่องอย่างน้อยย้อนหลัง 3 ปี โดยแสดงค่าเป้นร้อยละ และเมื่อนำผลการ


24 ประเมินไปแก้ไขแล้วประสบผลสำเร็จหรือบรรลุเป้าหมายตามโครงการกิจกรรมมอย่างไรบ้าง ถ้าไม่บรรลุได้ แก้ปัญหาอย่างไร จากผลการประเมินตามมาตรฐานที่ 2 พบว่ากระบวนการบริหารและการจัดการมีคุณภาพ อยู่ในระดับดีนั้น โรงเรียนได้พบว่าข้อมูลด้านโครงสร้างการบริหารงานสถานศึกษายังไม่ชัดเจน และการ พัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน ควรเน้ากิจกรรมที่ เน้นการแสดงออกที่เป็นรูปธรรมมากกว่า นามธรรม ขาดการต่อยอดโครงการที่นำไปสู่ “วิธีหรือแนวทางปฏิบัติที่เป้นเลิศ (Best Practices) ” และ ก้าวไปสู่ “นวัตกรรม” ทำให้ทราบว่าโรงเรียนควรนำเสนอข้อมูลด้านโครงสร้างการบริหารงานสถานศึกษาให้ ชัดเจน ควรเพิ่มเติมกิจกรรมที่เติมเต็มมากขึ้นตามจุดเน้นที่สอดคล้องกับคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ สถานศึกษากำหนด เน้นการแสดงออกที่เป็นรูปธรรมมากกว่านามธรรมให้มากยิ่งขึ้น จัดให้มีโครงการหรือ กิจกรรมรองรับทุกข้อคุณลักษณะที่พึงประสงค์ และควรต่อยอดโครงการโดยบอกรายละเอียดว่าได้นำไปสู่ “ วิธีหรือแนวทางปฏิบัติที่เป้นเลิศ (Best Practices) ” จะยั่งยืนต่อไปได้อย่างไร และก้าวไปสู่ “นวัตกรรม” รวมทั้งมีช่องทางให้ผู้อ่ายหรือผู้ที่สนใจสามารถเข้าถึงข้อมูลรายงานการประเมินตนเองและหลักฐานอื่นๆ ของสถานศึกษาหลากหลายช่องทาง จากผลการประเมินตามมาตรฐานที่ 3 พบว่ากระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียน เป็นสำคัญ อยู่ในระดับดีนั้น โรงเรียนได้พบว่าการกำหนดจุดเน้นในการพัฒนาครู และการจัดการ กระบวนการเรียนการสอนตามจุดเน้นขาดความชัดเจน ทำให้ทราบว่าโรงเรียนควรกำหนดจุดเน้นในการ พัฒนาครู และการจัดการกระบวนการเรียนการสอนตามจุดเน้นให้ชัดเจนมากขึ้นโดยควรมีข้อมูลสรุปการมี พัฒนาอย่างต่อเนื่องอย่างน้อย 3 ปี รวมทั้งควรระบุการเผยแพร่ผลการพัฒนาจุดเน้น เช่น ผลงานการ จัดการกระบวนการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพของครู สื่อ และเทคโนโลยีที่ครูใช้ในการจัดการเรียนการ สอน และอาจจัดทำแบบอย่างที่ดี (Best Practice) หรือนวัตกรรม (Innovation) โดยการเผยแพร่สู่ สาธารณชนผ่านสื่อที่หลากหลาย รวมทั้งเผยแพร่ทางสื่ออินเทอร์เน็ตหรือเว็บไซต์ของสถานศึกษา


25 ส่วนที่ 3 ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ผลการประเมินมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานการศึกษา ค่าเป้าหมาย (ตามประกาศ โรงเรียน) ผลการประเมิน ตนเองปี การศึกษา 2565 ความสอดคล้องของผล การประเมินกับค่า เป้าหมาย (ต่ำกว่าเป้าหมาย/เป็นไปตาม เป้าหมาย/สูงกว่าค่าเป้าหมาย) มาตรฐานที่ 1 : คุณภาพของผู้เรียน ดีเลิศ ดีเลิศ เป็นไปตามเป้าหมาย มาตรฐานที่ 2 : กระบวนการ บริหารและการจัดการ ดีเลิศ ยอดเยี่ยม สูงกว่าเป้าหมาย มาตรฐานที่ 3 : กระบวนการ จัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียน เป็นสำคัญ ดีเลิศ ดีเลิศ เป็นไปตามเป้าหมาย สรุปผลการประเมิน ภาพรวมของสถานศึกษา ดีเลิศ ดีเลิศ เป็นไปตามเป้าหมาย การประเมินตนเองตามมาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ของโรงเรียนบ้านหนองโสน เป็นการประเมินเชิงประจักษ์บนฐานข้อมูลสารสนเทศที่เกิดจากการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินคุณภาพ อย่างเป็นระบบ แบบเน้นการมีส่วนร่วม โดยจะได้นำเสนอผลการประเมินแต่ละมาตรฐานการศึกษาและ หลักฐานสนับสนุนผลการประเมินตนเองทั้งในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพด้วยข้อมูลสารสนเทศและ โครงการ กิจกรรมตามแผนปฏิบัติการที่สอดคล้องแต่ละมาตรฐานการศึกษาเพื่อแสดงถึง ระดับคุณภาพ กระบวนการทำงานและผลการดำเนินงานที่เกิดขึ้นจากการบริหารจัดการศึกษาของโรงเรียนบ้านหนองโสน ให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาอย่างเป็นระบบทั้งองค์รวม มีรายละเอียดดังนี้ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน ระดับคุณภาพ : ดีเลิศ 1. กระบวนการดำเนินงาน 1.1 ขั้นวางแผนการดำเนินงาน 1) ประชุมเพื่อทบทวนผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของ ผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นฐาน พุทธศักราช 2551 และมาตรฐานการเรียนรู้และ ตัวชี้วัดฯ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ปีการศึกษา 2565 และผลการดำเนินงานตามโครงการ/กิจกรรม เพื่อพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน ในรอบปีการศึกษาที่ผ่านมา 2) กำหนดโครงการ/กิจกรรม ค่าเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน รูปแบบการจัด กิจกรรมการเรียนการสอนที่บูรณาการการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกำหนดผู้รับผิดชอบ


26 3) กำหนดปฏิทินการดำเนินกิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) โดยการรวมตัว รวมใจ รวมพลัง ร่วมมือกันของครูในโรงเรียน เพื่อพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียนให้มีผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียนเป็นไปตามที่กำหนด 1.2 ขั้นดำเนินการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน 1) มีขั้นดำเนินการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน ดังนี้ 1.1) มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณ 1.1.1) ครูผู้สอนจัดการเรียนการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู้ที่เตรียมไว้โดยเน้น ให้ครูทำหน้าที่ Coach ใช้การจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning ในรายวิชา ภาษาไทย, ภาษาอังกฤษ และคณิตศาสตร์ โดยในรายวิชาภาษาไทย การพัฒนาความสามารถด้านการอ่าน การเขียน การสื่อสาร ใช้รูปแบบการจัดการเรียนการสอนโดยบูรณาการจิตศึกษา และใช้รูปแบบการจัดการเรียนการ สอนหน่วยบูรณาการกับหลักสูตรหน่วยการเรียนรู้บูรณาการ การศึกษาปลอดภัย และมีคุณภาพ สาระการ เรียนรู้วิถีชีวิตในครอบครัว ชุมชนและท้องถิ่น ส่งผลให้ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่าน การเขียน การ สื่อสาร และการคิดคำนวณ 1.1.2) จัดทำโครงการโครงการพัฒนาการเรียนรู้มุ่งสู่คุณภาพผู้เรียน โดยมีกิจกรรม ประกอบด้วย กิจกรรมพัฒนาทักษะการอ่าน การเขียน และคิดคำนวณ เป็นกิจกรรมที่เน้นการฝึกการอ่าน และคิดคำนวณ ผ่านการทดสอบอ่านเขียน และคิดคำนวณ มีการทดสอบจัดกลุ่มผู้เรียน และทำแบบฝึกการ อ่าน การเขียน การคิดเลขเร็ว คิดเลขคล่อง มีการสอนซ่อมเสริม กิจกรรมการเรียนรู้ด้วยโครงงานและทักษะ ทางวิทยาศาสตร์ กิจกรรมพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร รวมถึงการเข้าร่วมแข่งขัน ศิลปหัตถกรรมนักเรียน หรือทักษะทางวิชาการ เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความสามารถครบทุกด้าน ทั้งด้าน ทักษะพิสัย พุทธพิสัย จิตพิสัย นำไปสู่การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สูงขึ้น นอกจากนี้เป็นการเปิด โอกาสให้นักเรียนได้แสดงศักยภาพของตนเอง กระตุ้นให้นักเรียนได้พัฒนาตนเอง พัฒนาทักษะ ความรู้ ความสามารถและได้รับประสบการณ์จริง 1.1.3) จัดทำโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทุกกลุ่มสาระ ทุกระดับชั้น ได้มีการจัดกิจกรรมการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในระดับต่างๆ อาทิ การทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 การทดสอบวัด ความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนระดับชาติ (NT) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 และการประเมิน ความสามารถด้านการอ่าน (RT) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 และการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้น พื้นฐาน (LAS) ระดับเขตพื้นที่ ทุกระดับชั้น เพื่อนำผลการประเมินดังกล่าวมาวิเคราะห์ สรุปผล เพื่อใช้เป็น แนวทางในการแก้ไข ปรับปรุง และพัฒนาให้ดียิ่งขึ้น 1.1.4 จัดทำโครงการห้องสมุด 3 ดี มีชีวิต โดยมีกิจกรรมส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน ลานความรู้คู่คุณธรรม เพื่อปลูกฝังส่งเสริมการอ่านการเรียนรู้ด้วยตนเอง มีนิสัยใฝ่รู้ ใฝ่เรียนและมีทักษะ การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ประกอบด้วยกิจกรรมจัดหา และซ่อมแซมหนังสือ กิจกรรมเสริมสร้าง บรรยากาศห้องสมุด กิจกรรมส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน และกิจกรรมลานความรู้คู่คุณธรรม/มุมหนังสือ พาเพลิน 1.2) มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยน ความคิดเห็น และแก้ปัญหา


27 1.2.1) ครูผู้สอนจัดการเรียนการสอนรูปแบบการจัดการเรียนการสอนหน่วยบูรณา การกับหลักสูตรหน่วยการเรียนรู้บูรณาการ การศึกษาปลอดภัยและมีคุณภาพ สาระการเรียนรู้วิถีชีวิตใน ครอบครัว ชุมชนและท้องถิ่น ซึ่งเป็นการเรียนรู้ที่ผู้เรียนมีส่วนร่วม (Active Learning) ตั้งแต่การคิด ริเริ่ม และลงมือทำ โดยเน้นให้ผู้เรียนมองปัญหาที่เกิดขึ้นรอบตัว ตั้งคำถามจากปัญหานั้นและค้นคว้าหาคำตอบ ด้วยตนเอง ผู้เรียนจะสามารถพัฒนาทักษะที่เป็นปัญญาภายนอก เช่น การอ่าน การเขียน การนำเสนอ การ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะในการคิดวิเคราะห์ และประกอบอาชีพ ความเข้าใจทางคณิตศาสตร์ และ การทำงานเป็นทีม เป็นต้น ผู้เรียนจะได้ตั้งคำถามและแก้ปัญหาในเรื่องที่ตัวเองสนใจหรือเรื่องที่เกี่ยวข้องกับ ชุมชนของตัวเอง เพื่อฝึกทักษะ กระบวนการคิดและแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบ นอกจากนี้ยังช่วยสร้าง ความมั่นใจให้เด็กๆ เพราะเด็กจะกล้าพูดและแสดงออกในสิ่งที่ตัวเองคิดจากข้อมูลที่ค้นคว้ามาด้วยตัวเอง และแลกเปลี่ยนกับเพื่อนๆ โดยไม่มีคุณครูดุว่าหรือตัดสินว่าสิ่งที่เด็กคิดนั้นถูกหรือผิด เพราะเมื่อเด็กมีโอกาส ค้นคว้าเพิ่มเติม เด็กจะรู้เองว่าตัวเองคิดถูกหรือผิด ด้วยเหตุผลอะไร ยกตัวอย่างเช่น หน่วยการเรียนรู้ ‘ไข่เค็ม’ สำหรับนักเรียนชั้น ป. 1 ได้แบ่งประเด็นออกเป็น ‘สิ่งที่รู้แล้ว’ เช่น ประโยชน์และความสำคัญของ ไข่เค็มสมุนไพรและ ‘สิ่งที่อยากรู้’ เช่น ไข่เค็มเกิดขึ้นได้อย่างไร ทำไมต้องทำไข่เค็ม ถ้าไม่มีไข่เราสามารถใช้ อะไรแทนไข่ได้บ้าง จากคำถามเหล่านี้ เด็กๆ ก็จะหาข้อมูล วาดแผนภาพ นำมาเสนอหน้าชั้นเรียนให้ครูและ เพื่อนๆ ฟัง และผลงานที่มีสีสันสดใสของเด็กๆ จะถูกนำมาโชว์อยู่ทุกที่ในโรงเรียน 1.1.2) ครูจัดกิจกรรม PLC เพื่อพัฒนาหรือแก้ปัญหาการจัดการเรียนการสอน สัปดาห์ละ 2 ครั้ง คือทุกวันอังคารและพฤหัสดีช่วงเวลา 15.30 – 17.00 น. (ช่วงเวลายืดหยุ่นตาม สถานการณ์) เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้การใช้นวัตกรรม เพื่อสร้างการเรียนรู้ร่วมกัน เช่น ถอดบทเรียน, แลกเปลี่ยนเรียนรู้, AAR, Share and Learn และ Lesson Study 1.1.3) จัดทำโครงการพัฒนาการเรียนรู้มุ่งสู่คุณภาพผู้เรียน โดยมีกิจกรรม ประกอบด้วยการอ่าน การเขียน การคิดคำนวณ และกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยโครงงานและทักษะทาง วิทยาศาสตร์ 1.1.4) จัดทำโครงการส่งเสริมศักยภาพผู้เรียน โดยมีกิจกรรม ประกอบด้วย กิจกรรมส่งเสริมพัฒนาผู้เรียนลูกเสือ-เนตรนารี กิจกรรมทัศนศึกษานอกสถานที่ กิจกรรมชุมนุม และกิจกรรมพัฒนาทักษะการใช้ ICT เพื่อการเรียนรู้และกิจกรรมค่ายวิชาการ 1.3) มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม 1.3.1) กิจกรรมระดับชั้นเรียนจะมีส่งเสริมให้นักเรียนสร้างนวัตกรรม ชิ้นงานตาม หลักสูตรโดยบูรณาการกับหลักสูตรหน่วยการเรียนรู้บูรณาการ การศึกษาปลอดภัยและมีคุณภาพสาระการ เรียนรู้วิถีชีวิตในครอบครัว ชุมชน ท้องถิ่น โดยกำหนดสาระการเรียนรู้สำหรับเป็นหัวข้อในการจัดการเรียนรู้ คือ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 เรื่องไข่เค็มสมุนไพร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง ประเภทผักกินใบกินต้น ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เรื่องการทำน้ำยาล้างจาน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เรื่องไม้กวาดทางมะพร้าว ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เรื่องการปลูกกล้วย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เรื่องสบู่สมุนไพร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง เห็ดโคน (ของดีพรานกระต่าย) และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จักสานไม้ไผ่ 1.3.2) จัดทำกิจกรรม “ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ บ่มเพาะความใฝ่รู้ สู่จินตนาการ และสร้างสรรค์” ภายใต้โครงการส่งเสริมศักยภาพผู้เรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษา


28 ปีที่ 3 เพื่อส่งเสริมทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ ถือเป็นทักษะที่สำคัญ เป็นการอ่านที่สามารถแยกแยะ เรื่องราวโดยการคิดใคร่ครวญอย่างละเอียด รอบรอบ โดยใช้ความรู้ ความคิดในการแก้ปัญหาและนำไปสู่ ข้อสรุปเพื่อตัดสินใจอย่างมีเหตุผล ถูกต้อง น่าเชื่อถือ และสามารถนำไปปรับประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ อย่างเหมาะสมและเกิดประโยชน์สูงสุด โดยระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 -3 แบ่งเป็นฐานการเรียนรู้ 6 ฐาน คือ ฐานที่ 1 บอกฉันที ฉันชื่ออะไร (หาพยัญชนะไทย และสระประสมเป็นคำ) ฐานที่ 2 คำพาเพลิน (ประสมคำ) ฐานที่ 3 เรียงร้อย ถ้อยคำ (แต่งประโยค) ฐานที่ 4 เป็นเรื่องเป็นราว (เรียงลำดับเหตุการณ์) ฐานที่ 5 ภาษาพาเพลิน (จับคู่คำคล้องจอง) และฐานที่ 6 Talk to you Level 1 (ภาษาอังกฤษ) ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1 -3 แบ่งเป็นฐานการเรียนรู้ 6 ฐาน คือ ฐานที่ 1 เมืองนี้มีความลับ (แผนที่ ประกาศ คำสั่ง) ฐานที่ 2 ไทม์ไลน์ เรื่องไหนใครมาก่อน ฐานที่ 3 DSI นักสืบลับภาษาไทย ฐานที่ 4 สายลับจับ ข้อเท็จจริง (ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น ภัยคุกคามไซเบอร์) ฐานที่ 5 ถอดรหัสราชาศัพท์กู้โลก และและฐานที่ 6 Talk to you Level 2 (ภาษาอังกฤษ) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 -3 แบ่งเป็นฐานการเรียนรู้ 6 ฐาน คือ ฐานที่ 1 เมืองนี้มีความลับ ตอนสักวาฉันเป็นใคร ใครรู้บ้าง ฐานที่ 2 นักรีวิวเพลง ฐานที่ 3 DSI นักสืบลับ ภาษาไทย ฐานที่ 4 ศึกไมยราบ ฐานที่ 5 สายลับจับเท็จ และและฐานที่ 6 Talk to you Level 3 (ภาษาอังกฤษ) 1.4) มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 1.4.1) การจัดกิจกรรมในชั้นเรียนได้มีการจัดการเรียนการสอนคอมคอมพิวเตอร์ ให้กับนักเรียนตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาลปีที่ 2 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในรายวิชาคอมพิวเตอร์เพิ่มเติมให้กับ นักเรียนเพื่อเป็นการส่งเสริมศักยภาพทางการเรียนรู้และทักษะคอมพิวเตอร์ ผ่านการกิจกรรมต่างๆ อาทิ การใช้โปรแกรมวาดภาพ, การสร้างชิ้นงานจากโปรแกรม Microsoft Office, การออกแบบชิ้นงาน ด้วย โปรแกรม Canva, การใช้อินเทอร์เน็ตอย่างปลอดภัย รวมไปถึงการติดต่อสื่อสารผ่านทางอีเมล หรือสื่อสังคม ออนไลน์ต่างๆ ส่งผลให้ผู้เรียนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารได้ นอกจากนี้ได้ เสริมกิจกรรม Mojobot ให้กับนักเรียนระดับชั้นอนุบาลปีที่ 2 ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เพื่อฝึกทักษะการ คิดและกระบวนการแก้ปัญหา 1.4.2) จัดทำโครงการส่งเสริมศักยภาพผู้เรียน โดยมีกิจกรรมประกอบด้วย กิจกรรมส่งเสริมพัฒนาทักษะการใช้ ICT เพื่อการเรียนรู้ กิจกรรมชุมนุมคอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นกิจกรรมเพื่อ เป็นการส่งเสริมศักยภาพการเรียนรู้คอมพิวเตอร์ (ICT) ซึ่งกิจกรรมนี้จะเป็นการพัฒนาทักษะการใช้ คอมพิวเตอร์ให้เพิ่มมากขึ้นเพื่อให้นักเรียนสามารถนำไปใช้จริงในชีวิตประจำวันได้ 1.5) มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา 1.5.1) นอกจากการจัดกิจกรรมในชั้นเรียน โรงเรียนได้จัดกิจกรรมในชั้นเรียน โรงเรียนได้จัดกิจกรรมยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน มีการจัดค่ายวิชาการส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ บ่มเพาะความใฝ่รู้ สู่จินตนาการและสร้างสรรค์” ภายใต้โครงการส่งเสริมศักยภาพผู้เรียน ส่งให้ผลการ ประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (RT) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 มีคะแนนเฉลี่ยร้อย ละรวม 2 ด้าน อยู่ในระดับดีมาก ซึ่งผลการประเมินการอ่านทั้ง 2 ด้านมีคะแนนเฉลี่ยร้อยละสูงกว่าระดับ เขตพื้นที่ และระดับประเทศ ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 มีคะแนนเฉลี่ยรวมทั้ง 2 ด้าน อยู่ในระดับดี ซึ่งผลการทดสอบวัดความสามารถทั้ง 2 ด้านมีคะแนนเฉลี่ย ร้อยละสูงกว่าระดับเขตพื้นที่ ผลการทดสอบระดับชาติ (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีผลการทดสอบ รายวิชาคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าระดับเขตพื้นที่ และระดับประเทศ รายวิชา


29 ภาษาอังกฤษ มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าระดับเขตพื้นที่ ส่วนผลการทดสอบระดับชาติ (O-NET) ส่วนผลการ ประเมินคุณภาพผู้เรียน (LAS) ของทุกระดับชั้นอยู่ระดับดี และดีมาก โดยภาพรวมของสถานศึกษาอยู่ใน ระดับดีมาก 1.5.2) จัดทำโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทุกกลุ่มสาระ ทุกระดับชั้น โดยมีกิจกรรมประกอบด้วย กิจกรรมยกระดับคุณภาพการศึกษาทางการเรียนทุกกลุ่มสาระ ทุกระดับชั้น เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมผลสัมฤทธิ์นักเรียนตามหลักสูตรและระดับชาติให้เป็นไปตามเป้าหมายที่สถานศึกษา กำหนดกำหนดไว้ ซึ่งจากการดำเนินโครงการนี้ทำให้ผลสัมฤทธิ์ของโรงเรียนสูงขึ้น และเป็นไปตามค่า เป้าหมายที่กำหนดไว้ ส่งผลให้ร้อยละของนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางเรียนแต่ละรายวิชา ในระดับ 2 ขึ้นไป ตั้งแต่ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2565 ภาพรวม ทุกรายวิชาเฉลี่ย 92.62 ซึ่งเป็นไปตามเป้าหมายของสถานศึกษาที่กำหนดไว้ คือ นักเรียนร้อยละ 80 ในระดับ 2 ขึ้นไป กิจกรรมทดสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับชั้น ป.6 โดยผลการทดสอบ ระดับชาติ (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีผลการทดสอบรายวิชาคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ มี คะแนนเฉลี่ยสูงกว่าระดับเขตพื้นที่ และระดับประเทศ รายวิชาภาษาอังกฤษ มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าระดับเขต พื้นที่ ส่วนผลการทดสอบระดับชาติ (O-NET) กิจกรรมการทดสอบทางการศึกษาตามมาตรฐานกลาง (LAS) มีผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (LAS) ของทุกระดับชั้นอยู่ระดับดี และดีมาก คิดเป็นร้อยละ 82.41 โดย ภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก 1.6) มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ต่องานอาชีพ 1.6.1) นอกจากการจัดกิจกรรมในชั้นเรียน โรงเรียนได้จัดกิจกรรมส่งเสริมอาชีพ ในโรงเรียน ได้แก่ เลี้ยงไก่ไข่, เพาะเห็ดนางฟ้า, การปลูกผักสวนครัว (ตะไคร้, ผักกาด, กวางตุ้ง, ใบกะเพรา) และกิจกรรมสหกรณ์ร้านค้า ส่งผลให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพสูงกว่า เป้าหมายที่สถานศึกษากำหนด 1.6.2) จัดทำโครงการสถานศึกษาน้อมนำศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน ประกอบด้วย ศูนย์ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและโรงเรียนธนาคาร เพื่อให้นักเรียนได้รู้จักการทำเกษตร พอเพียงเพื่อส่งเสริมเป็นอาชีพและใช้ทำกินในครัวเรือน พร้อมทั้งส่งเสริมให้นักเรียนรู้จักการออมเพื่อเก็บ เงินไว้ใช้ในอนาคต 2) มีขั้นดำเนินการพัฒนาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน ดังนี้ 2.1) การมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด 2.1.1) โรงเรียนบ้านหนองโสน ได้กำหนดอัตลักษณ์โรงเรียน ได้แก่ มีวินัย ใฝ่การ ออม โดยพัฒนาผู้เรียนโดยพัฒนาผู้เรียนผ่านโครงการสถานศึกษาน้อมนำศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนา ที่ยั่งยืน ในกิจกรรมโรงเรียนธนาคาร ซึ่งเป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักเรียนรู้จักบริหารจัดการการใช้เงิน มีทักษะและเป้าหมายที่ชัดเจนในการออม เห็นคุณค่าของการออม รู้จักคุณค่าของเงินและสิ่งของ มีวิธีคิดที่ จะพิจารณาในการใช้เงิน รู้จักการออม รู้จักกระบวนการออมเงิน สามารถนำกระบวนการต่างๆ ดังกล่าว ข้างต้นไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันอย่างเหมาะสมกับวัย รู้จักการใช้เงินให้เป็นประโยชน์มากที่สุด อันจะส่งผลให้การดำเนินชีวิตในอนาคตเป็นคนที่มีคุณภาพ โดยทุกเช้านักเรียนจะนำเงินไปฝากที่ครูประจำ ชั้น จากนั้นครูประจำชั้นจะสรุปและรวบรวมเงินของนักเรียนเข้าฝากธนาคารทุกสิ้นเดือน


30 2.1.2) ครูจัดกิจกรรม PLC เพื่อพัฒนาหรือแก้ปัญหาจิตศึกษากับการพัฒนา ปัญญาภายในโรงเรียน เป็นกิจกรรมการพัฒนาปัญญาภายในหรือความฉลาดด้านใน รวมถึงความฉลาด ทางด้านจิตวิญญาณ (Spiritual Quotient : SQ) ความฉลาดทางด้านอารมณ์ (Emotional Quotient : EQ) ได้แก่การรับรู้อารมณ์และความรู้สึกของตนเอง (รู้ตัว) และผู้อื่น การเห็นคุณค่าในตัวเอง คนอื่น และ สิ่งต่างๆ เพื่อการดำเนินชีวิตอย่างมีเป้าหมายและมีความหมาย การมีสมาธิทำให้เกิดสติ การมีสติทำให้เกิด ปัญญา และรู้เท่าทันอารมณ์ของ ครูผู้สอนทุกคนในโรงเรียนดำเนินกิจกรรมจิตศึกษาทุกวันเรียน วันละ 3 เวลา คือ ช่วงเช้า (ครูผู้สอนออกแบบแผนจิตศึกษา) ก่อนเริ่มเรียน ช่วงเวลา 08.00 – 08.30 น. ช่วง กลางวันกิจกรรม Body scan ก่อนเรียนวิชาภาคบ่าย เวลา 12.20 – 12.30 น. และก่อนกลับบ้าน กิจกรรม AAR เวลา 15.30 – 16.00 น. โดยแผนจิตศึกษาในภาคเช้าประกอบด้วย 3 ขั้นตอน คือ 1. ขั้น เตรียม 2. ขั้นกิจกรรม (ชง-เชื่อม-ใช้) และขั้นจบ 2.1.3) จัดทำโครงการคุณธรรม จริยธรรมนำการศึกษาสู่โรงเรียนวิถีพุทธ โดยมี กิจกรรมประกอบด้วย กิจกรรมหน้าเสาธง (ปลูกจิตสำนึก ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ สร้างคุณลักษณะ อันพึงประสงค์และค่านิยมหลักคนไทย 12 ประการ) กิจกรรมพระสอนศีลธรรม กิจกรรมทำบุญตักบาตรใน วันพระ ซึ่งเป็นกิจกรรมที่ให้นักเรียนได้เรียนรู้โดยฝึกปฏิบัติจริง โดยอาศัยความร่วมมือจากหลายๆ ฝ่าย ทั้ง บ้าน วัด โรงเรียน และหน่วยงานอื่น เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความสุขในการเรียน มีความรับผิดชอบ มีความประพฤติที่ดีงามตามหลักค่านิยม 12 ประการ และโครงการกิจกรรมวันสำคัญ โดยมีกิจกรรม ประกอบด้วย กิจกรรมวันวิสาขบูชา วันเฉลิมพระชนมพรรษาราชินี ร.10 วันไหว้ครู วันอาสาฬหบูชา และวันเข้าพรรษา วันภาษาไทยวันเฉลิมพระชนมพรรษา ร.10 วันแม่แห่งชาติ วันพ่อแห่งชาติ วันเด็กแห่งชาติ และวันมาฆบูชา 2.2) ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย 2.2.1) จัดทำโครงการกิจกรรมวันสำคัญ โดยมีกิจกรรมประกอบด้วย กิจกรรม วันวิสาขบูชา วันเฉลิมพระชนมพรรษาราชินี ร.10 วันไหว้ครู วันสุนทรภู่/วันต่อต้านยาเสพติด วันอาสาฬหบูชาและวันเข้าพรรษา วันภาษาไทยวันเฉลิมพระชนมพรรษา ร.10 วันแม่แห่งชาติ วันลอยกระทง วันพ่อแห่งชาติ วันเด็กแห่งชาติ และวันมาฆบูชา และกิจกรรมต่างกายผ้าไทยทุกวันศุกร์ นอกจากนี้ร่วมสืบสานวัฒนธรรมขนบธรรมเนียมประเพณีท้องถิ่นตนเอง อาหารถิ่นและการพูดภาษาถิ่น ส่งผลให้ผู้เรียนมีความภาคภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย 2.2.2) จัดทำโครงการส่งเสริมสุนทรียภาพของนักเรียน โดยมีกิจกรรม ประกอบด้วย กิจกรรมดนตรี ศิลปะ และการละเล่นพื้นบ้าน เพื่อเป็นการเสริมสร้างความสามารถพิเศษของ และพัฒนาศักยภาพของผู้เรียน ให้นักเรียนรู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์และได้รับความสนุกสนาน 2.3) การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย 2.3.1) จัดทำโครงการส่งเสริมระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนและแนะแนวอาชีพ เป็นกระบวนการดำเนินงานที่มีแบบแผนขั้นตอนชัดเจนในการส่งเสริม พัฒนาป้องกันแก้ไขปัญหาให้ นักเรียนได้รับการพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพบนพื้นฐานความแตกต่างระหว่างบุคคล โดยยึดหลักการมีส่วน ร่วมรับผิดชอบ ร่วมคิด ร่วมปฏิบัติร่วมแก้ไขปัญหาจากผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของ นักเรียนให้มีทักษะการดำรงชีวิตอยู่ในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวแร็วได้อย่างมีความสุข โดยมี กิจกรรมประกอบด้วยกิจกรรมเยี่ยมบ้านนักเรียน กิจกรรมทุนการศึกษา กิจกรรมแนะแนวการศึกษาต่อและ อาชีพ กิจกรรมประชุมผู้ปกครองและเครือข่ายผู้ปกครอง


31 2.3.2) จัดทำโครงการพัฒนาการเรียนรู้มุ่งสู่คุณภาพผู้เรียน ซึ่งการศึกษามีบทบาท สำคัญอันเป็นรากฐานการพัฒนาสังคมและมนุษย์ในยุคโลกาภิวัฒน์ จำเป็นที่จะต้องมีการพัฒนาคุณภาพการ จัดการศึกษา ทั้งที่เป็นกระบวนส่งเสริมความร่วมมือทางปัญญาผ่านเครือข่ายโครงการความร่วมมือต่างๆ ซึ่งก่อให้เกิดความเข้าใจอันดีระหว่างองค์กรทุกภาคส่วน ในการพัฒนาจิตสำนึกยอมรับในความแตกต่าง ระหว่างบุคคลโดยบูรณาการกระบวนการแข่งขันทางวิชาการทุกระดับ ควบคู่กกับการพัฒนาประสิทธิภาพก การเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ อันเป็นการส่งเสริมวัฒนธรรมการเรียนรู้ของผู้เรียนให้ได้รับการ พัฒนาความสามารถอย่างเต็มศักยภาพผ่านกระบวนการแข่งขันทางวิชาการ โดยมีกิจกรรม ประกอบด้วย กิจกรรมโรงเรียนแห่งความสุข : Happiness school (จิตศึกษา, BBL, PBL, STEM) กิจกรรม Active Learning (การอ่าน การเขียน/ การคิดเคราะห์/ การละเล่นไทย/ ลานความรู้) และกิจกรรมปัจฉิมนิเทศ 2.3.3) จัดทำโครงการส่งเสริมประชาธิปไตย เป็นกิจกรรมที่มีความจำเป็นอย่างยิ่ง เป็นกิจกรรมที่ให้เด็กมีคุณสมบัติที่ดี และมีประชาธิปไตยในจิตใจเป็นผู้มีระเบียบวินัยในตนเอง ยอมรับและ ปฏิบัติตามกฎระเบียบที่วางใจในสังคมด้วยความสมัครใจต้องการปลูกฝังการทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมี ความสุข ตลอดจนรู้จักนำความรู้ คุณธรรมมาใช้ในชีวิตประจำวัน ให้สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างมั่นคงบน ความแตกต่างระหว่างบุคคล 2.4) สุขภาวะทางร่างกาย และจิตสังคม 2.3.1) จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพนักเรียน เป็นสิ่งที่จะต้องดำเนินการควบคู่ กันไป การพัฒนาเด็กและเยาวชนจึงอยู่ที่กระบวนการจัดการศึกษาและสร้างสุขภาพ ภายใต้ความร่วมมือ จากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง นับตั้งแต่ระดับครอบครัว โรงเรียน ชุมชนและองค์กรในท้องถิ่น ซึ่งจะต้องมีการ ประสานความร่วมมือ ประสานประโยชน์ที่เอื้อต่อการพัฒนาเด็กให้มีสุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดี สามารถ ดำรงชีวิตอยู่ในสังคมอย่างมีความสุขและปลอดภัย และสนุกสนานกับการออกกำลังกายด้วยกีฬาประเภท ต่างๆ ที่ส่งเสริมด้านสุขภาพ ตลอดจนนักเรียนสามารถนำความรู้และประสบการณ์ที่ได้ไปใช้ใน ชีวิตประจำวันได้ โดยมีกิจกรรมประกอบด้วยกิจกรรมส่งเสริมอนามัยโรงเรียน กิจกรรมอาหารกลางวัน กิจกรรมอาหารเสริมนม (ชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูง) และกิจกรรมกีฬา - กรีฑา 2.3.2) จัดทำโครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดภัยเสพติดและอบายมุข การพัฒนา เยาวชนให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ เป็นคนสมบูรณ์ทั้งร่างกายและจิตใจ มีคุณธรรม จริยธรรม และ วัฒนธรรมในการดำรงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข ห่างไกลยาเสพติด สื่อ ลามกอนาจาร เกมออนไลน์ และการทะเลาะวิวาท ซึ่งเป็นพฤติกรรมเบี่ยงเบนที่สังคมไม่ยอมรับ ถือเป็นกลยุทธ์สำคัญตาม นโยบายของกระทรวงศึกษาธิการที่กำหนดให้สถานศึกษาทุกแห่งดำเนินงานโครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข ซึ่งเป็นกิจกรรมที่สามารถพัฒนานักเรียนให้เป็นคนเก่ง คนดี มีความสุขได้ โดย มีกิจกรรม ประกอบด้วย กิจกรรมรณรงค์วันบุหรี่โลก และกิจกรรมรณรงค์วันต่อต้านยาเสพติดโลก 1.3 การนิเทศ ติดตาม ตรวจสอบและการประเมินผล 1.3.1 จัดทำโครงการพัฒนางานวิชาการ โดยมุ่งเน้นที่พัฒนานักเรียนให้เป็นคนดีมีคุณธรรม จริยธรรม มีจิตสำนึกในความเป็นไทย อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม มีศักยภาพในการเรียนรู้และดำรงตนอยู่ในสังคม ได้อย่างมีความสุข ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ความสามารถทางวิชาการ มีคุณลักษณะที่ พึงประสงค์ มีทักษะที่จำเป็นสำหรับดำรงชีวิต ตอบสนองต่อความถนัดและความสนใจของผู้เรียน มีระบบ นิเทศติดตามและประเมินผลอย่างต่อเนื่อง โดยเน้นการมีส่วนร่วม ประกอบด้วยกิจกรรมนิเทศอย่างเป็นมิตร


32 เป็นกิจกรรมเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนของครูให้เกิดประสิทธิภาพ เป็นการสร้างความมั่นใจในกิจกรรม การเรียนการสอน และปรับปรุงผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนให้สูงขึ้น 1.3.2 จัดทำโครงการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา โดยมุ่งเน้นการดำเนินการตาม ระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาอย่างต่อเนื่อง มีการตรวจสอบและประเมินคุณภาพนำผลการ ประเมินมาปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพตามกระบวนการประกันคุณภาพ และจัดทำข้อมูลข้อมูลสนเทศที่ เป็นเครื่องมือสำคัญในการประกันคุณภาพให้เป็นระบบ พร้อมจัดทำรายงานประเมินตนเองเผยแพร่แก่ หน่วยงานต้นสังกัดและผู้เกี่ยวข้อง ประกอบด้วยกิจกรรมกิจกรรมจัดทำและดำเนินการตามแผนพัฒนาการ จัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา กิจกรรมจัดทำ ข้อมูลสารสนเทศและใช้สารสนเทศในการบริหารจัดการเพื่อพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา กิจกรรมจัดเตรียม รับประเมินจาก กตปน. และสมศ. และกิจกรรมจัดทำรายงานประจำปีที่เป็นรายงานประเมินคุณภาพภายใน (SAR) 1.4 การพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง 1.4.1 จัดทำโครงการพัฒนางานวิชาการ ประกอบด้วยกิจกรรมจัดทำมาตรฐาน กิจกรรม ปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษาและหลักสูตรบูรณาการท้องถิ่น กิจกรรมพัฒนาแผนและกระบวนการจัดการ เรียนรู้ กิจกรรมปรับปรุงการวัดประเมินผล และกิจกรรมนิเทศอย่างเป็นมิตร 1.4.2 จัดทำโครงการบริหารงานวิชาการ โดยมุ่งเน้นการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาศักยภาพ และ พัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียน ประกอบด้วยกิจกรรมพัฒนารูปแบบการบริหารงานวิชาการแบบมี ส่วนร่วม และกิจกรรมส่งเสริมสนับสนุนเอกสารงานวิชาการ 1.4.3 จัดทำโครงการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา โดยมุ่งเน้นการดำเนินการตาม ระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาอย่างต่อเนื่อง มีการตรวจสอบและประเมินคุณภาพนำผลการ ประเมินมาปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพตามกระบวนการประกันคุณภาพ และจัดทำข้อมูลข้อมูลสนเทศที่ เป็นเครื่องมือสำคัญในการประกันคุณภาพให้เป็นระบบ พร้อมจัดทำรายงานประเมินตนเองเผยแพร่แก่ หน่วยงานต้นสังกัดและผู้เกี่ยวข้อง ประกอบด้วยกิจกรรมกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา กิจกรรมกิจกรรมจัดทำและดำเนินการตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งพัฒนาคุณภาพ ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา กิจกรรมจัดทำข้อมูลสารสนเทศและใช้สารสนเทศในการบริหาร จัดการเพื่อพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา กิจกรรมจัดเตรียมรับประเมินจาก กตปน. และสมศ. และกิจกรรม จัดทำรายงานประจำปีที่เป็นรายงานประเมินคุณภาพภายใน (SAR) 2. ผลการดำเนินงาน 2.1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน 1) มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณ 1.1) ตารางแสดงผลการประเมินการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณ ระดับสถานศึกษา ประเด็นพิจารณา ค่าเป้าหมาย ผลการประเมิน การอ่าน ข้อ 1 สามารถใช้ กระบวนการอ่าน ร้อยละ 81 ของนักเรียนที่ มีผลการประเมิน ความสามารถในการอ่าน ร้อยละ 91.52 ของ นักเรียนที่มีผลการประเมิน ความสามารถในการอ่าน


33 ประเด็นพิจารณา ค่าเป้าหมาย ผลการประเมิน สร้างความรู้และ ความคิดได้ เพื่อสร้างความรู้และ ความคิดเพื่อนำไปใช้ ตัดสินใจ ในระดับดี ( 2 ) ขึ้นไป เพื่อสร้างความรู้และ ความคิดเพื่อนำไปใช้ ตัดสินใจ ในระดับดีขึ้นไป ข้อ 2 สามารถอ่าน จับใจความสำคัญได้ ร้อยละ 81 ของนักเรียนที่ มีผลการประเมินการอ่าน จับใจความสำคัญ ในระดับ ดี ขึ้นไป ร้อยละ 87.23 ของ นักเรียนที่มีผลการประเมิน การอ่านจับใจความสำคัญ ในระดับดีขึ้นไป การเขียน สามารถเขียนแสดง ความคิดเห็นได้ ร้อยละ 81 ของนักเรียนที่ มีผลการประเมิน ความสามารถด้านการเขียน แสดงความคิดเห็นระดับดี ( 2 ) ขึ้นไป ร้อยละ 80.51 ของ นักเรียนที่มีผลการประเมิน ความสามารถด้านการ เขียนแสดงความคิดเห็น ระดับดีขึ้นไป การสื่อสาร ความสามารถในการ สื่อสาร ร้อยละ 81 ของนักเรียนที่ มีผลการประเมิน สมรรถนะ สำคัญ ด้านความสามารถ ในการสื่อสารของผู้เรียนใน ระดับดี ( 2 )ขึ้นไป ร้อยละ 73.73 ของ นักเรียนที่มีผลการประเมิน สมรรถนะสำคัญ ด้าน ความสามารถในการ สื่อสารของผู้เรียนในระดับ ดีขึ้นไป การคิดคำนวณ กลุ่มสาระฯ คณิตศาสตร์ ร้อยละ 80 ของนักเรียนที่ มีผลการเรียนรายวิชา คณิตศาสตร์ 2.0 ขึ้นไป ร้อยละ 88.77 ของ นักเรียนที่มีผลการเรียน รายวิชาคณิตศาสตร์ 2.0 ขึ้นไป 1.2) ตารางแสดงจำนวนนักเรียนที่มีระดับผลการเรียนในระดับต่าง ๆ รายวิชา จำนวนนักเรียนที่มีระดับผลการเรียนต่าง ๆ 0 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 ภาษาไทย 0 5 10 12 9 26 20 36 ภาษาอังกฤษ 0 2 12 17 14 16 23 34 คณิตศาสตร์ 0 2 11 16 10 30 23 24 หมายเหตุ : นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ติด ร รายวิชาคณิตศาสตร์ 2 คน


34 1.3) ตารางแสดงค่าร้อยละของผลการเรียนเทียบกับค่าเป้าหมาย รายวิชา จำนวนนักเรียน ร้อยละ ต่ำกว่าค่าเป้าหมาย สูงกว่าค่าเป้าหมาย ต่ำกว่าค่าเป้าหมาย สูงกว่าค่าเป้าหมาย ภาษาไทย 15 103 12.71 87.29 ภาษาอังกฤษ 14 104 12.07 88.14 คณิตศาสตร์ 13 103 11.21 88.79 เฉลี่ย 88.07 1.4) ตารางแสดงผลการทดสอบการอ่านออก เขียนได้ คิดเลขเป็น ชั้นประถมศึกษา ปีที่ 3 ระดับดีขึ้นไป ระดับเขตพื้นที่การศึกษา ชั้น จำนวน นักเรียน (ปกติ) จำนวนนักเรียนที่มีผลการประมิน ระดับดีขึ้นไป คิดเป็น การอ่าน ร้อยละ ออก ร้อยละ การเขียน ได้ ร้อยละ คิดเลข เป็น ร้อยละ ป.3 13 13 100.00 13 100.00 13 100.00 100.00 1.5 ผลการดำเนินกิจกรรม/โครงการ เพื่อพัฒนาการความสามารถในการอ่าน การ เขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณ มีการดำเนินการจำนวน 2 โครงการ โดยมีผลการดำเนินโครงการ ดังนี้ โครงการ ขั้นตอนกิจกรรม ผลการดำเนินโครงการ โครงการพัฒนาการเรียนรู้ มุ่งสู่คุณภาพผู้เรียนเป็น โครงการที่เกี่ยวกับ 1) การส่งเสริมหรือบูรณา การความสามารถในการ อ่าน การเขียน และการ สื่อสาร คือ โครงการ พัฒนาการเรียนรู้มุ่งสู่ คุณภาพผู้เรียน 2) ที่ส่งเสริมหรือบูรณา การความสามารถในการ คิดคำนวณ 1. ประชุมวางแผนจัดทำ โครงการ/บันทึกเสนอต่อ ผู้บริหารโรงเรียน 2. แต่งตั้งคณะกรรมการ ดำเนินงาน 3. ประชุมคณะกรรมการเพื่อ แต่งตั้งคณะกรรมการ ดำเนินงาน 4. ดำเนินงานตามโครงการ 4.1 กิจกรรมพัฒนาทักษะ การอ่า การเขียน และคิด คำนวณ 4.2 กิจกรรมการเรียนรู้ด้วย โครงงานและทักษะทาง วิทยาศาสตร์ 4.3 กิจกรรมแข่งขัน เชิงปริมาณ 1. ร้อยละ 82.41 ผู้เรียนเกิดทักษะ การอ่าน การเขียน และคิดคำนวณ 2. ร้อยละ 100 ของผู้เรียน เรียนรู้ ด้วยโครงงาน และทักษะทาง วิทยาศาสตร์ 3. ร้อยละ 85.71 ของผู้เรียนเกิด ทักษะในการแข่งขันศิลปหัตถกรรม นักเรียน เชิงคุณภาพ 1. ผู้เรียนเกิดทักษะการอ่าน การเขียน และคิดคำนวณ 2. ผู้เรียนเกิดทักษะการเรียนรู้ด้วย โครงงานและทักษะทาง วิทยาศาสตร์


35 โครงการ ขั้นตอนกิจกรรม ผลการดำเนินโครงการ ศิลปหัตถกรรมนักเรียน 5. สรุปรายงานผลการดำเนิน กิจกรรม 3. ผู้เรียนเกิดทักษะในการแข่งขัน ศิลปหัตถกรรมนักเรียน 2) มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความ คิดเห็น และแก้ปัญหา มีผลการดำเนินงานดังนี้มีผลการดำเนินงานดังนี้ นักเรียนโรงเรียนบ้านหนองโสน จำนวน 118 คน ผู้เรียนทุกคนได้รับการพัฒนาการเรียนรู้ตามโครงการส่งเสริมศักยภาพผู้เรียน ส่งผลให้นักเรียนมี ความสามารถในการคิดวิเคราะห์และคิดอย่างมีวิจารณญาณ ความสามารถในการอภิปราย แลกเปลี่ยน ความคิดเห็น และส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นไปตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ คือผู้เรียนมี ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหา ระดับดีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 100 (สูงกว่าค่าเป้าหมายร้อยละ 81) ของจำนวนนักเรียนทั้งหมด และ โครงการพัฒนาการเรียนรู้มุ่งสู่คุณภาพผู้เรียนส่งผลให้ผู้เรียนเกิดทักษะการอ่าน การเขียน และคิดคำนวณ เป็นไปตามค่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ คือผู้เรียนมีผลการทดสอบความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณ ระดับดีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 82.41 (สูงกว่าค่าเป้าหมายร้อยละ 81) ของจำนวน นักเรียนทั้งหมด ผลการดำเนินกิจกรรม/โครงการ เพื่อพัฒนาการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหา มีการดำเนินการจำนวน 2 โครงการ โดยมีผลการดำเนิน โครงการ ดังนี้ โครงการ ขั้นตอนกิจกรรม ผลการดำเนินโครงการ โครงการส่งเสริมศักยภาพ ผู้เรียน เป็นโครงการที่ 1) ส่งเสริมบูรณาการ ความสามารถในการ คิดวิเคราะห์และคิด อย่างมีวิจารณญาณ 2) ที่ส่งเสริมบูรณาการ ความสามารถในการ อภิปราย แลกเปลี่ยน ความคิดเห็น 3) ส่งเสริมความสามารถ ในการแก้ปัญหา 1. ประชุมวางแผนการ ดำเนินการ 2. แต่งตั้งคณะกรรมการ ดำเนินการ 3. ดำเนินการตามกิจกรรม ดังนี้ 4.1 กิจกรรมค่ายวิชาการ/ ชุมนุม 4.2 กิจกรรมส่งเสริมพัฒนา ผู้เรียนลูกเสือ - เนตรนารี 4.3 กิจกรรมทัศนศึกษา นอกสถานที่ 4. ประเมินการดำเนินงาน 5. สรุปผลการดำเนินงาน รายงานผลการดำเนินงาน เชิงปริมาณ 1. ร้อยละ 100 ของผู้เรียนมีศักยภาพ การเรียนรู้การเข้าค่ายวิชาการ 2. ร้อยละ 100 ของผู้เรียนมีศักยภาพ การเรียนรู้กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี 3. ร้อยละ 100 ผู้เรียนมีศักยภาพ ทางการเรียนรู้ทางคอมพิวเตอร์ (ICT) 4. ร้อยละ 100 ผู้เรียนมีศักยภาพทาง กาเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอก ห้องเรียน (ทัศนศึกษา) เชิงคุณภาพ นักเรียนมีศักยภาพการเรียนรู้การเข้า ค่ายวิชาการ กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี และการเรียนรู้คอมพิวเตอร์ การเรียนรู้


36 โครงการ ขั้นตอนกิจกรรม ผลการดำเนินโครงการ ทั้งภายในและภายนอกห้องเรียน อยู่ใน ระดับดี โครงการพัฒนาการเรียนรู้ มุ่งสู่คุณภาพผู้เรียน เป็น โครงการที่ 1) ส่งเสริมบูรณาการ ความสามารถในการ คิดวิเคราะห์และคิด อย่างมีวิจารณญาณ 2) ที่ส่งเสริมบูรณาการ ความสามารถในการ อภิปราย แลกเปลี่ยน ความคิดเห็น 3) ส่งเสริมความสามารถ ในการแก้ปัญหา 1. ประชุมวางแผนจัดทำ โครงการ/บันทึกเสนอต่อ ผู้บริหารโรงเรียน 2. แต่งตั้งคณะกรรมการ ดำเนินงาน 3. ประชุมคณะกรรมการเพื่อ แต่งตั้งคณะกรรมการ ดำเนินงาน 4. ดำเนินงานตามโครงการ 4.1 กิจกรรมพัฒนาทักษะ การอ่า การเขียน และคิด คำนวณ 4.2 กิจกรรมการเรียนรู้ด้วย โครงงานและทักษะทาง วิทยาศาสตร์ 4.3 กิจกรรมแข่งขัน ศิลปหัตถกรรมนักเรียน 5. สรุปรายงานผลการดำเนิน กิจกรรม เชิงปริมาณ 1. ร้อยละ 82.41 ผู้เรียนเกิดทักษะ การอ่าน การเขียน และคิดคำนวณ 2. ร้อยละ 100 ของผู้เรียน เรียนรู้ ด้วยโครงงาน และทักษะทาง วิทยาศาสตร์ 3. ร้อยละ 85.71 ของผู้เรียนเกิด ทักษะในการแข่งขันศิลปหัตถกรรม นักเรียน เชิงคุณภาพ 1. ผู้เรียนเกิดทักษะการอ่าน การเขียน และคิดคำนวณ 2. ผู้เรียนเกิดทักษะการเรียนรู้ด้วย โครงงานและทักษะทาง วิทยาศาสตร์ผู้เรียนเกิดทักษะใน การแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน 3) มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม มีผลการดำเนินงานดังนี้ มีผลการดำเนินงานดังนี้ ผลการประเมินด้านความสามารถในการ สร้างนวัตกรรม พบว่าผู้เรียนมีความสามารถในการสร้างนวัตกรรมระดับดีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 81.36 (สูงกว่าค่าเป้าหมายร้อยละ 81) ของจำนวนนักเรียนทั้งหมด ผลการดำเนินกิจกรรม/โครงการ เพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนมีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม มีการดำเนินการจำนวน 1 โครงการ โดยมีผลการดำเนินโครงการ ดังนี้ โครงการ ขั้นตอนกิจกรรม ผลการดำเนินโครงการ โครงการส่งเสริมศักยภาพ ผู้เรียน เป็นโครงการที่ เกี่ยวกับความสามารถใน การสร้างนวัตกรรม 1. ประชุมวางแผนการ ดำเนินการ 2. แต่งตั้งคณะกรรมการ ดำเนินการ 3. ดำเนินการตามกิจกรรม ดังนี้ เชิงปริมาณ 1. ร้อยละ 100 ของผู้เรียนมี ศักยภาพการเรียนรู้การเข้าค่าย วิชาการ 2. ร้อยละ 100 ของผู้เรียนมีศักยภาพ การเรียนรู้กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี


37 โครงการ ขั้นตอนกิจกรรม ผลการดำเนินโครงการ 4.1 กิจกรรมค่ายวิชาการ/ ชุมนุม 4.2 กิจกรรมส่งเสริมพัฒนา ผู้เรียนลูกเสือ - เนตรนารี 4.3 กิจกรรมทัศนศึกษา นอกสถานที่ 4. ประเมินการดำเนินงาน 5. สรุปผลการดำเนินงาน รายงานผลการดำเนินงาน 3. ร้อยละ 100 ผู้เรียนมีศักยภาพ ทางการเรียนรู้ทางคอมพิวเตอร์ (ICT) 4. ร้อยละ 100 ผู้เรียนมีศักยภาพทาง กาเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอก ห้องเรียน (ทัศนศึกษา) เชิงคุณภาพ นักเรียนมีศักยภาพการเรียนรู้การเข้า ค่ายวิชาการ กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี และการเรียนรู้คอมพิวเตอร์ การเรียนรู้ ทั้งภายในและภายนอกห้องเรียน อยู่ใน ระดับดี 4) มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มีผลการดำเนินงานดังนี้ มีผลการดำเนินงานดังนี้ การประเมินความสามารถในการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ พบว่า ผู้เรียนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระดับดี ขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 84.12 (สูงกว่าค่าเป้าหมายร้อยละ 81) ของจำนวนนักเรียนททั้งหมด ผลการดำเนินกิจกรรม/โครงการ เพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร มีการดำเนินการจำนวน 1 โครงการ โดยมีผลการดำเนินโครงการ ดังนี้ โครงการ ขั้นตอนกิจกรรม ผลการดำเนินโครงการ โครงการส่งเสริมศักยภาพ ผู้เรียน เป็นโครงการที่ ส่งเสริมหรือบูรณาการ ความสามารถในการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร 1. ประชุมวางแผนการ ดำเนินการ 2. แต่งตั้งคณะกรรมการ ดำเนินการ 3. ดำเนินการตามกิจกรรม ดังนี้ 3.1 กิจกรรมค่ายวิชาการ/ ชุมนุม 3.2 กิจกรรมส่งเสริมพัฒนา ผู้เรียนลูกเสือ - เนตรนารี 3.3 กิจกรรมทัศนศึกษา นอกสถานที่ 3.4 กิจกรรมพัฒนาทักษะ การใช้ ICT เพื่อการเรียนรู้ 4. ประเมินการดำเนินงาน เชิงปริมาณ 1. ร้อยละ 100 ของผู้เรียนมีศักยภาพ การเรียนรู้การเข้าค่ายวิชาการ 2. ร้อยละ 100 ของผู้เรียนมี ศักยภาพการเรียนรู้กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี 3. ร้อยละ 100 ผู้เรียนมีศักยภาพ ทางการเรียนรู้ทางคอมพิวเตอร์ (ICT) 4. ร้อยละ 98 ผู้เรียนมมีศักยภาพทาง กาเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอก ห้องเรียน (ทัศนศึกษา)


38 โครงการ ขั้นตอนกิจกรรม ผลการดำเนินโครงการ 5. สรุปผลการดำเนินงาน รายงานผลการดำเนินงาน เชิงคุณภาพ นักเรียนมีศักยภาพการเรียนรู้การเข้า ค่ายวิชาการ กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี และการเรียนรู้คอมพิวเตอร์ การเรียนรู้ ทั้งภายในและภายนอกห้องเรียน อยู่ใน ระดับดี 5) มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา มีผลการดำเนินงานดังนี้ ผลการประเมินด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ของผู้เรียนโดยเฉลี่ย ทุกคน ทุกระดับชั้นพบว่าทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้สถานศึกษาตั้งค่าเป้าหมายผู้เรียนร้อยละ 80 มีผลการ เรียนเฉลี่ยตั้งแต่ 2 ขึ้นไป โดยทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้หากพิจารณาในภาพรวม มีคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนรู้คิดเป็นร้อยละ 92.62 (สูงกว่าค่าเป้าหมายร้อยละ 80) แต่ผลสัมฤทธิ์เมื่อพิจารณาเป็นกลุ่ม สาระการเรียนรู้ของแต่ระดับชั้นพบว่า มีคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ต่ำกว่าค่าเป้าหมาย คือรายวิชาภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1, 5 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 รายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 รายวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 รายวิชา ประวัติศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 รายวิชาศิลปะ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 รายวิชาการงานอาชีพ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 และรายวิชาภาษาอังกฤษ ชั้นประมถมศึกษาปีที่ 5,6 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ผลการดำเนินกิจกรรม/โครงการ เพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตาม หลักสูตรสถานศึกษา มีการดำเนินการจำนวน 1 โครงการ โดยมีผลการดำเนินโครงการ ดังนี้ โครงการ ขั้นตอนกิจกรรม ผลการดำเนินโครงการ โครงการพัฒนาวิชาการ เป็นโครงการที่ส่งเสริมการ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ตาม หลักสูตรถานศึกษา 1. กำหนดโครงการ/กิจกรรม 2. ประชุมคณะกรรมการ สถานศึกษา 3. แต่งตั้งคณะทำงาน 4. ดำเนินการตามกิจกรรม ดังนี้ 4.1 กิจกรรมจัดทำ มาตรฐานการศึกษาขั้น พื้นฐาน 4.2 กิจกรรมปรับปรุง หลักสูตรสถานศึกษา 4.3 กิจกรรมพัฒนาแผน และกระบวนการการจัดการ เรียนรู้ 4.4 กิจกรรมปรับปรุงการ วัดประเมินผล เชิงปริมาณ 1. ร้อยละ 100 ของสถานศึกษาจัดทำ มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2. ร้อยละ 100 ของการปรับปรุง หลักสูตรสถานศึกษา 3. ร้อยละ 100 ของบุคลากรมีการ พัฒนาแผนและกระบวนการการจัดการ เรียนรู้ 4. ร้อยละ 100 ของการปรับปรุงการ วัดประเมินผล 5. ร้อยละ 100 ของบุคลากรรับการ นิเทศอย่างเป็นมิตร


39 โครงการ ขั้นตอนกิจกรรม ผลการดำเนินโครงการ 4.5 กิจกรรมนิเทศอย่างเป็น มิตร 5. ประเมินการดำเนินงาน 6. สรุปผลการดำเนินงาน รายงานผลการดำเนินงาน เชิงคุณภาพ 1. สถานศึกษาจัดทำมาตรฐาน การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2. มีหลักสูตรสถานศึกษาที่มีคุณภาพ 3. บุคลากรมีแผนและกระบวนการการ จัดการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ 4. สถานศึกษามีการวัดประเมินผลที่ เป็นระบบ 5. บุคลากรรับการนิเทศอย่างเป็นมิตร 6. บุคลากรมีงานวิจัย/ Best practice สู่ศตวรรษที่ 21 โครงการยกระดับคุณภาพ การศึกษา เป็นโครงการที่ เกี่ยวกับการยกระดับ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 1. แต่งตั้งคณะอนุกรรมการ เพื่อวางแผนการยกระดับ ระคุณภาพการศึกษา 2. ดำเนินงานตามโครงการ 2.1 กิจกรรมยกระดับคุณภาพ การศึกษาทางการเรียน ทุกกลุ่มสาระ ทุก ระดับชั้นเป็นที่น่าพอใจ 2.2 กิจกรรมการทดสอบทาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับชั้น ม.3 2.3 กิจกรรมการทดสอบทาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับชั้น ป.6 2.4 กิจกรรมการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้น พื้นฐาน (NT) ระดับ ชั้น ป.3 2.5 กิจกรรมการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้น พื้นฐาน (RT) ระดับชั้น ป.1 เชิงปริมาณ 1. ผู้เรียนร้อยละ 92.62 มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนทุกกลุ่มสาระ ทุกระดับชั้น เป็นที่น่าพอใจ 2. ผู้เรียนร้อยละ 45.45 มีผลการ ทดสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (O-NET)ระดับชั้น ม.3 เป็นที่น่าพอใจ 3. ผู้เรียนร้อยละ 54.55 มีผลการ ทดสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (O-NET)ระดับชั้น ป.6 เป็นที่น่าพอใจ 4. ผู้เรียนร้อยละ 100 มีผลการ ประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน (NT) ระดับชั้น ป.3 เป็นที่น่าพอใจ 5. ผู้เรียนร้อยละ 100 มีผลการ ประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน (RT) ป.1 เป็นที่ น่าพอใจ 6. ผู้เรียนร้อยละ 82.41 มีผลการ ทดสอบทางการศึกษาตามมาตรฐาน กลาง ทุกระดับชั้น เป็นที่น่าพอใจ


40 โครงการ ขั้นตอนกิจกรรม ผลการดำเนินโครงการ 2.6 กิจกรรมการทดสอบทาง การศึกษาตามมาตรฐาน กลาง (LAS) ทุกระดับชั้น 3. ประเมินผลจากผลสัมฤทธิ์ เชิงคุณภาพทุกระดับชั้น 7. สรุปรายงานผลการ ดำเนินงาน โครงการพัฒนาการเรียนรู้ มุ่งสู่คุณภาพผู้เรียน เป็น โครงการที่ส่งเสริม ความสามารถและทักษะ ทางวิชาการของนักเรียน 1. ประชุมวางแผนจัดทำ โครงการ/บันทึกเสนอต่อ ผู้บริหารโรงเรียน 2. แต่งตั้งคณะกรรมการ ดำเนินงาน 3. ประชุมคณะกรรมการเพื่อ แต่งตั้งคณะกรรมการ ดำเนินงาน 4. ดำเนินงานตามโครงการ 4.1 กิจกรรมพัฒนาทักษะ การอ่า การเขียน และคิด คำนวณ 4. 4.2 กิจกรรมการเรียนรู้ ด้วยโครงงานและทักษะ ทางวิทยาศาสตร์ 4.3 กิจกรรมแข่งขัน ศิลปหัตถกรรมนักเรียน 5. สรุปรายงานผลการ ดำเนินกิจกรรม เชิงปริมาณ 1. ร้อยละ 82.41 ผู้เรียนเกิดทักษะ การอ่าน การเขียน และคิดคำนวณ 2. ร้อยละ 100 ของผู้เรียน เรียนรู้ ด้วยโครงงาน และทักษะทาง วิทยาศาสตร์ 3. ร้อยละ 85.71 ของผู้เรียนเกิด ทักษะในการแข่งขันศิลปหัตถกรรม นักเรียน เชิงคุณภาพ 1. ผู้เรียนเกิดทักษะการอ่าน การเขียน และคิดคำนวณ 2. ผู้เรียนเกิดทักษะการเรียนรู้ด้วย โครงงานและทักษะทาง วิทยาศาสตร์ 3. ผู้เรียนเกิดทักษะในการแข่งขัน ศิลปหัตถกรรมนักเรียน 6) มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ มีผลการดำเนินงานดังนี้ จากการประเมินในสถิตินักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 3 ร้อยละ45.45 ที่เรียนต่อด้านอาชีพ และจากการประเมินเจตคติในการทำงานกลุ่มที่เน้นอาชีพ พบว่านักเรียนร้อยละ 100 มีผลการประเมินตั้งแต่ระดับดีขึ้นไป (สูงกว่าค่าเป้าหมายร้อยละ 81)


41 ผลการดำเนินกิจกรรม/โครงการ เพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ ดีต่องานอาชีพ มีการดำเนินการจำนวน 1 โครงการ โดยมีผลการดำเนินโครงการ ดังนี้ โครงการ ขั้นตอนกิจกรรม ผลการดำเนินโครงการ โครงการส่งเสริมระบบดูแล ช่วยเหลือนักเรียนและแนะ แนวอาชีพ เป็นโครงการที่ เกี่ยวกับ 1) การพัฒนานักเรียนให้มี ทักษะในการทำงาน 2) การส่งเสริมนักเรียนให้ มีทักษะในการทำงาน 3) การแนะแนว เพื่อการ ประกอบอาชีพ 1. ประชุมวางแผนการ ดำเนินการจัดทำโครงการ/ บันทึกเสนอต่อผู้บริหาร โรงเรียน 2. แต่งตั้งคณะกรรมการ ดำเนินงาน 3. จัดทำแบบบันทึกและ เอกสารที่เกี่ยวข้อง 4. ดำเนินกิจกรรมตามโครงการ 4.1 กิจกรรมเยี่ยมบ้าน นักเรียน 4.2 กิจกรรมทุนการศึกษา 4.3 กิจกรรมแนะแนว การศึกษาต่อและอาชีพ 4.4 กิจกรรมประชุม ผู้ปกครองและเครือข่าย ผู้ปกครอง 4.5 กิจกรรมประกัน อุบัติเหตุ 5. นิเทศ กำกับ ติดตามผลการ ดำเนินงาน ประเมินผล/ สรุปและจัดทำ รายงานผล เชิงปริมาณ 1. สถานศึกษามีการจัดระบบดูแล ช่วยเหลือผู้เรียนที่มีประสิทธิภาพ และครอบคลุมถึงผู้เรียนทุกคน ใน ระดับดี 2. ครูร้อยละ 100 เยี่ยมบ้าน นักเรียนทุกคนและนำข้อมูลระบบ ดูแลช่วยเหลือผู้เรียนไปใช้ในการ วางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา เชิงคุณภาพ การดำเนินงานตามระบบดูแล ช่วยเหลือนักเรียนเป็นไปอย่างเป็น ระบบ ครบถ้วนสมบูรณ์ และนักเรียน ทุกคนได้รับการช่วยเหลือตามความ แตกต่างอย่างทั่วถึง 2.1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน 1) การมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด มีผลการดำเนินงานดังนี้ มีผลการดำเนินงานดังนี้ ผลการประเมินด้านคุณลักษณะ และค่านิยมที่ดีงามตามที่สถานศึกษากำหนดนั้น ผู้เรียนผ่านการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ทุกคุณลักษณะในระดับดีขึ้นไป ร้อยละ 100 (สูงกว่าค่าเป้าหมายร้อยละ 85)


42 ผลการดำเนินกิจกรรม/โครงการ เพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่ สถานศึกษากำหนด มีการดำเนินการจำนวน 2 โครงการ โดยมีผลการดำเนินโครงการ ดังนี้ โครงการ ขั้นตอนกิจกรรม ผลการดำเนินโครงการ โครงการส่งเสริมศักยภาพ ผู้เรียน เป็นโครงการที่ เกี่ยวกับ 1. ส่งเสริมคุณธรรม คุณลักษณะและค่านิยมที่ดี 2. กิจกรรมลูกเสือ เนตร นารี ยุวกาชาด ผู้บำเพ็ญ ประโยชน์ จิตอาสา 1. ประชุมวางแผนการ ดำเนินการ 2. แต่งตั้งคณะกรรมการ ดำเนินการ 3. ดำเนินการตามกิจกรรม ดังนี้ - กิจกรรมส่งเสริมพัฒนา ผู้เรียนลูกเสือ - เนตร นารี 4. ประเมินการดำเนินงาน 5. สรุปผลการดำเนินงาน รายงานผลการดำเนินงาน เชิงปริมาณ 1. ร้อยละ 100 ของผู้เรียนมี ศักยภาพการเรียนรู้กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี เชิงคุณภาพ นักเรียนมีศักยภาพการเรียนรู้ กิจกรรม ลูกเสือ เนตรนารี และสามารถนำไป ประยุกต์ใช้ได้ในชีวิตประจำวัน อยู่ใน ระดับดี โครงการคุณธรรม จริยธรรมนำการศึกษาสู่ โรงเรียนวิถีพุทธ เป็น โครงการที่ส่งเสริมคุณธรรม คุณลักษณะและค่านิยมที่ดี 1. ประชุมวางแผนจัดทำ โครงการ/บันทึกเสนอต่อ ผู้บริหารโรงเรียน 2. แต่งตั้งคณะกรรมการ ดำเนินงาน 3. จัดทำแบบบันทึกและ เอกสารที่เกี่ยวข้อง 4. ดำเนินกิจกรรมตาม โครงการ 4.1 กิจกรรมหน้าเสาธง (ปลูกจิตสำนึก ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ สร้าง คุณลักษณะอันพึง ประสงค์และค่านิยม หลักคนไทย 12 ประการ) 4.2 กิจกรรมมัคนายกน้อย ทำบุญตักบาตรใน วันพระ 4.3 พระสอนศีลธรรม 5. นิเทศ กำกับ ติดตามผลการ ดำเนินงาน เชิงปริมาณ 1. โรงเรียนบ้านหนองโสนจัดการเรียน การสอนให้นักเรียนมีระเบียบวินัย ในตนเองมีความรับผิดชอบต่อ หน้าที่ตามเกณฑ์มาตรฐาน 2. โรงเรียนบ้านหนองโสนจัดการเรียน การสอนให้นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ ตามเกณฑ์มาตรฐาน ด้านคุณภาพ 1. นักเรียนได้นำความรู้จาการปฏิบัติ จริง พัฒนาทักษะการเรียนรู้และ สร้างจิตสำนึกในความเป็นไทย ครูและนักเรียนโรงเรียนบ้านหนองโสน ได้ร่วมกิจกรรมบ้าน วัด โรงเรียน และ หน่วยงานอื่น มีความร่วมมือที่ดีต่อกัน ในการพัฒนาการศึกษา


43 2) ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย มีผลการดำเนินงานดังนี้ ผู้เรียนร้อยละ 100 (สูงกว่าค่าเป้าหมายร้อยละ 85) มีความ ภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย โดยการประเมินจากการเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ที่สถานศึกษาจัดขึ้น ผลการดำเนินกิจกรรม/โครงการ เพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนมีความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็น ไทย มีการดำเนินการจำนวน 1 โครงการ โดยมีผลการดำเนินโครงการ ดังนี้ โครงการ ขั้นตอนกิจกรรม ผลการดำเนินโครงการ โครงการกิจกรรมวันสำคัญ เป็นโครงการเกี่ยวกับ 1. การอนุรักษ์ ศิลปวัฒนธรรมและ ประเพณีไทย 2. ส่งเสริมการนำภูมิ ปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการ จัดการเรียนการสอน 3. กิจกรรมวันสำคัญต่าง ๆ 1. เตรียมการประชุม 2. ดำเนินการตามกิจกรรมต่างๆ ตามวันและเวลา เชิงปริมาณ 1. นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมวันสำคัญ ร้อยละ 100 2. ครู บุคลากรและนักเรียน ร้อยละ 100 มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ ศิลปวัฒนธรรมไทย ประเพณีไทย ท้องถิ่น เชิงคุณภาพ 1. นักเรียนตระหนักถึงคุณค่าและ ความสำคัญของวันสำคัญนั้นๆ ให้แก่นักเรียน 2. นักเรียนได้มีส่วนร่วมในการสืบทอด ขนบธรรมเนียม ประเพณี และ วัฒนธรรมอันดีงามและพัฒนา คุณธรรมและจริยธรรมอันพึง ประสงค์ 3) การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย มีผลการดำเนินงานดังนี้ มีผลการดำเนินงานดังนี้ ผู้เรียนร้อยละ 100 (สูงกว่าค่าเป้าหมาย ร้อยละ 85) มีการยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย ผลการดำเนินกิจกรรม/โครงการ เพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนการยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความ แตกต่างและหลากหลาย มีการดำเนินการจำนวน 2 โครงการ โดยมีผลการดำเนินโครงการ ดังนี้ โครงการ ขั้นตอนกิจกรรม ผลการดำเนินโครงการ โครงการส่งเสริม ประชาธิปไตยในโรงเรียน เป็นโครงการที่เกี่ยวกับ ส่งเสริมการอยู่ร่วมกันบน ความแตกต่าง การส่งเสริม 1. ประชุมวางแผนจัดทำ โครงการ/บันทึกเสนอต่อ ผู้บริหารโรงเรียน 2. แต่งตั้งคณะกรรมการ ดำเนินงาน เชิงปริมาณ 1. นักเรียนร้อยละ 97.66 ที่ใช้สิทธิ เลือกตั้ง ตั้งแต่ชั้นอนุบาลปีที่ 2 ถึง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 2. สภานักเรียนโรงเรียนบ้านหนองโสน จำนวน 11 คน


44 โครงการ ขั้นตอนกิจกรรม ผลการดำเนินโครงการ ประชาธิปไตยใน สถานศึกษา 3. จัดทำแบบบันทึกและ เอกสารที่เกี่ยวข้อง 4. ดำเนินกิจกรรมตามโครงการ 4.1 กิจกรรมสภานนักเรียน 4.2 กิจกรรมเขตพื้นที่ 4.3 กิจกรรมจิตอาสา 5. นิเทศ กำกับ ติดตามผลการ ดำเนินงาน ประเมินผล/สรุปรายผลการ ดำเนินงาน เชิงคุณภาพ 1. นักเรียนเข้าใจการปกครองระบอบ ประชาธิปไตย 2. ผู้เรียนตั้งแต่ชั้นอนุบาลปีที่ 2 ถึง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีส่วนร่วม ในการดูแลปกครองและร่วม กิจกรรมต่างๆ ของสภานักเรียน โครงการส่งเสริมระบบดูแล ช่วยเหลือนักเรียนและแนะ แนวอาชีพ เป็นโครงการที่ เกี่ยวกับ 1) การพัฒนานักเรียนให้มี ทักษะในการทำงาน 2) การส่งเสริมนักเรียนให้ มีทักษะในการทำงาน 3) การแนะแนว เพื่อการ ประกอบอาชีพ 1. ประชุมวางแผนการ ดำเนินการจัดทำโครงการ/ บันทึกเสนอต่อผู้บริหาร โรงเรียน 2. แต่งตั้งคณะกรรมการ ดำเนินงาน 3. จัดทำแบบบันทึกและ เอกสารที่เกี่ยวข้อง 4. ดำเนินกิจกรรมตามโครงการ 4.1 กิจกรรมเยี่ยมบ้าน นักเรียน 4.2 กิจกรรมทุนการศึกษา 4.3 กิจกรรมแนะแนว การศึกษาต่อและอาชีพ 4.4 กิจกรรมประชุม ผู้ปกครองและเครือข่าย ผู้ปกครอง 4.5 กิจกรรมประกัน อุบัติเหตุ 5. นิเทศ กำกับ ติดตามผลการ ดำเนินงาน 6. ประเมินผล/ สรุปและจัดทำ รายงานผล เชิงปริมาณ 1. สถานศึกษามีการจัดระบบดูแล ช่วยเหลือผู้เรียนที่มีประสิทธิภาพ และครอบคลุมถึงผู้เรียนทุกคน ในระดับดี 2. ครูร้อยละ 100 เยี่ยมบ้าน นักเรียนทุกคนและนำข้อมูลระบบ ดูแลช่วยเหลือผู้เรียนไปใช้ในการ วางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา เชิงคุณภาพ การดำเนินงานตามระบบดูแล ช่วยเหลือนักเรียนเป็นไปอย่างเป็น ระบบ ครบถ้วนสมบูรณ์ และนักเรียน ทุกคนได้รับการช่วยเหลือตามความ แตกต่างอย่างทั่วถึง


45 4) สุขภาวะทางร่างกาย และจิตสังคม มีผลการดำเนินงานดังนี้ นักเรียนโรงเรียนบ้านหนองโสน จำนวน 100 คน มีสุขภาวะ ทางร่างกาย จิตสังคม ผ่านเกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามัย คิดเป็นร้อยละ 85.59 (สูงกว่าค่าเป้าหมาย ร้อยละ 85) ผลการดำเนินกิจกรรม/โครงการ เพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนมีสุขภาวะทางร่างกาย และจิตสังคม มีการดำเนินการจำนวน 1 โครงการ โดยมีผลการดำเนินโครงการ ดังนี้ โครงการ ขั้นตอนกิจกรรม ผลการดำเนินโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพ นักเรียน ที่เกี่ยวกับ 1. การส่งเสริมสุขภาวะ ทางร่างกาย 2. การส่งเสริมด้านจิต สังคม 1. ประชุมวางแผนการ ดำเนินการจัดทำโครงการ/ บันทึกเสนอต่อผู้บริหาร โรงเรียน 2. แต่งตั้งคณะกรรมการ ดำเนินงาน 3. จัดทำแบบบันทึกและ เอกสารที่เกี่ยวข้อง 4. ดำเนินกิจกรรมตามโครงการ 4.1 กิจกรรมส่งเสริมอนามัย โรงเรียน 4.2 กิจกรรมห้องพยาบาล 4.3 กิจกรรมอาหารกลางวัน 4.4 กิจกรรมอาหารเสริมนม 4.5 กิจกรรมกีฬา-กรีฑา 5. นิเทศ กำกับ ติดตามผลการ ดำเนินงาน 6. ประเมินผล/ สรุปและจัดทำ รายงานผล เชิงปริมาณ 1. นักเรียนทุกคนได้รับการตรวจ สุขภาพประจำปีทุกคน 2. นักเรียนชั้นอนุบาลที่ 2 - ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 ทุกคน ได้รับ การบริการอาหารเสริมนม 3. นักเรียนทุกคน ได้รับการบริการ อาหารกลางวัน 4. นักเรียนทุกคนมีนิสัยรักการออก กำลังกาย เชิงคุณภาพ นักเรียนมีความรู้และปฏิบัติตนตามหลัก สุขบัญญัติแห่งชาติ 10 ประการเพื่อ ดูแลสุขภาพของตนเอง 3. ระบุร่องรอย หลักฐาน ที่เกี่ยวข้อง 3.1) สรุปรายงานผลการดำเนินงานโครงการ (ที่เกี่ยวข้องทุกโครงการ) 3.2) ภาพกิจกรรม QR Code ร่องรอย หลักฐานที่เกี่ยวข้อง


46 4. แผนงานหรือแนวทางการพัฒนาคุณภาพให้สูงขึ้น 4.1 พัฒนาให้นักเรียนมีทักษะในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณเป็นไปตาม เกณฑ์ที่โรงเรียนกำหนดในแต่ระดับชั้น 4.2 พัฒนาให้นักเรียนมีความสามารถในการคิดจำแนก แยกแยะ ใคร่ครวญไตร่ตรอง พิจารณา อย่างรอบคอบโดยใช้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ มีการอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหา อย่างมีเหตุผล 4.3 พัฒนาให้นักเรียนมีความสามารถในการรวบรวมความรู้ได้ทั้งด้วยตนเองและการทำงานเป็นทีม เชื่อมโยงองค์ความรู้ และประสบการณ์มาใช้ในการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ ๔.4 พัฒนาให้นักเรียน มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อพัฒนา ตนเอง และสังคมในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทำงาน อย่างสร้างสรรค์ และมีคุณธรรม 4.๕ พัฒนาให้นักเรียนมีความก้าวหน้าในการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษาจากพื้นฐานเดิมใน ด้านความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ กระบวนการต่าง ๆ 4.๖ พัฒนาให้นักเรียนมีความก้าวหน้าในผลการทดสอบระดับชาติ มีความรู้ ทักษะพื้นฐานในการ จัดการเจตคติที่ดีพร้อมที่จะศึกษาต่อในระดับชั้นที่สูงขึ้น มีพฤติกรรมเป็นผู้ที่มีคุณธรรม จริยธรรม เคารพใน กฎกติกา 4.๗ พัฒนาให้นักเรียนมีค่านิยมและจิตสำนึกตามที่สถานศึกษามีความภูมิใจในท้องถิ่น เห็นคุณค่า ของความเป็นไทย มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีไทยรวมทั้งภูมิปัญญาไทย 4.๘ พัฒนาให้นักเรียน มีการรักษาสุขภาพกาย สุขภาพจิต อารมณ์ และสังคม แสดงออกอย่าง เหมาะสมแต่ละช่วงวัย มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ระดับคุณภาพ : ยอดเยี่ยม สถานศึกษาดำเนินการกำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์และพันธกิจไว้อย่างชัดเจน สอดคล้องกับบริบท ของสถานศึกษา ความต้องการของชุมชน ท้องถิ่น วัตถุประสงค์ของแผนการศึกษาแห่งชาตินโยบายของ รัฐบาลและของสำนักงานการจัดทำรายงานผลการประเบินตนเองของสถานศึกษาเขตพื้นที่การศึกษา โดยได้ ประชมผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเพื่อการดำเนินงานจัดทำแผนพัฒนาการศึกษา และแผนปฏิบัติการประจำปีผ่าน การเห็นชอบโดยคณะกรรมการสถานศึกษา ทำให้สถานศึกษามีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานที่ ชัดเจน มีประสิทธิภาพ ส่งผลต่อคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา โดยความร่วมมือของ ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย มีการนำข้อมูลมาใช้ในการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง สถานศึกษามีการดำเนินงานพัฒนา วิชาการผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษา และทุกกลุ่มเป้าหมาย เชื่อนโยงกับชีวิตจริง พัฒนาครูและ บุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพตรงตามความต้องการของครูสถานศึกษา และจัดให้มีชุมชนการ เรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อพัฒนางาน จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจักการเรียนรู้อย่างมี คุณภาพ และมีความปลอดภัยจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการ เรียนรู้ที่เหมาะสมกับสภาพของสถานศึกษา แต่สถานศึกษายังไม่มีกระบวนการวิจัยและพัฒนาระบบการ บริหารที่ถูกต้องตามหลักวิชาการ 1. กระบวนการดำเนินงาน 1.1 ขั้นวางแผนการดำเนินงาน


Click to View FlipBook Version