The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ปีที่ 20 ฉบับที่ 1 / 65

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Suphasan Bamnejphan, 2022-07-11 05:45:59

วารสารสารพินิจ

ปีที่ 20 ฉบับที่ 1 / 65

Department of Juvenile วำรสำร
Observation and Protection
สารพินจิ
ปที ่ี 20 ฉบบั ที่ 1 ประจำ� เดอื นเมษำยน - มถิ นุ ำยน ปงี บประมำณ 2565

28 มกราคม 2495 - 2565

www.djop.go.th



สนทนาเปิดเล่ม

“อนาคตของชาติทุกชาติย่อมขึ้นอยู่แก่เด็ก เพราะเด็กดีคือผู้ใหญ่ในเวลาข้างหน้า ถ้าบุคคลได้รับการอบรม

บ่มนิสัยให้เป็นพลเมืองดี อยู่ในศีลในธรรม เคารพต่อบทกฎหมายของบ้านเมืองเสียต้ังแต่ยังเยาว์ เมื่อเติบใหญ่ขึ้น
พลเมืองของประเทศ ก็จะมีแต่คนดี และประเทศจะเจริญก้าวหน้าต่อไปได้ ก็โดยต้องมีพลเมืองดีด่ังว่าน้ี ข้าพเจ้าจ่ึงมี
ความพอใจ ที่รัฐบาลของข้าพเจ้า อันมีกระทรวงยุติธรรมเป็นเจ้าหน้าที่โดยเฉพาะ ได้มีความสนใจในปัญหา
เกี่ยวกับการที่เด็กและเยาวชนกระท�ำความผิด และพยายามคิดหาทางที่จะอบรมบ่มนิสัยบุคคลเหล่านี้ให้กลับตน
เปน็ พลเมอื งด.ี ..”

สารพินิจ ฉบับแรกของปีงบประมาณ 2565 นี้ ขอน้อมน�ำพระราชด�ำรัสคัดตัดตอนของพระบาทสมเด็จ
พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เน่ืองในการเปิดศาลคดีเด็กและเยาวชนกลาง
และสถานพินิจและคุ้มครองเด็กกลาง ณ ศาลแขวงพระนครใต้ (เดิม) ต�ำบลตลาดน้อย อ�ำเภอสัมพันธวงศ์ จังหวัดพระนคร
เมื่อวันที่ 28 มกราคม 2495 เพ่อื น้อมร�ำลึกในพระมหากรุณาธคิ ณุ อนั หาทีส่ ุดมิได้ ท่ีทรงมตี ่อเดก็ และเยาวชนในกระบวนการ
ยุติธรรม ซึ่งหากนับจากวันน้ันจนถึงวันนี้ก็ครบ 70 ปี กระท่ังก่อเกิดเป็นกรมพินิจและคุ้มครองและเยาวชนในปัจจุบัน
และเมอื่ วนั ที่ 28 มกราคม 2565 ทผี่ า่ นมา กรมไดจ้ ดั กจิ กรรม “ครบรอบ 70 ปี สถานพนิ จิ และคมุ้ ครองเดก็ และเยาวชนไทย” ขนึ้
ณ อาคารกระทรวงยุตธิ รรมแหง่ ใหม่ ถนนแจ้งวฒั นะ เขตหลักสี่ กรงุ เทพฯ เพ่อื ระลึกถึงอดตี และก้าวสกู่ ารพฒั นากระบวนการ
ยุติธรรมเด็กและเยาวชนไทยในปัจจุบันและอนาคต โดยได้รับเกียรติจาก นายสมศักด์ิ เทพสุทิน รัฐมนตรีว่าการกระทรวง
ยุติธรรม รว่ มกิจกรรมและกล่าวแสดงความยนิ ดี

และแนน่ อนค่ะ ! สารพินิจ ฉบับน้ี ยังมคี อลัมนต์ ่างๆ ที่น่าสนใจอีกมากมายรอทกุ ทา่ นอยขู่ ้างในนี้ และทา่ นยังสามารถ
ติดตามอ่านสารพินิจของเราได้อีกในรูปแบบ E - book ผ่านทางเว็บไซต์กรม (www.djop.go.th), เพจเฟซบุ๊ก
(www.facebook.com/pr.djop.moj) และTwitter (twitter.com/pr_djop) ปล.อย่าลืมช่วยกันส่งต่อข้อมูล ข่าวสาร
และความร้ดู ีๆ ให้กับประชาชนได้ร่วมรบั รูแ้ ละเขา้ ใจถงึ ภารกิจอนั ยงิ่ ใหญ่นี้ เพ่อื ร่วมกนั ดูแลเดก็ เยาวชน และลูกหลานของเรา
ในอนาคตขา้ งหนา้ ต่อไปดว้ ยนะคะ^^

กองบรรณาธิการ

คณะผู้จดั ท�ำ สารบัญ

ท่ีปรกึ ษา DJOP Content

อธิบดีกรมพนิ จิ และคุ้มครองเดก็ และเยาวชน 5 สารจากผู้บรหิ าร
รองอธบิ ดีกรมพนิ ิจและคุ้มครองเดก็ และเยาวชน (1) 8 เรือ่ งเลา่ จากศิษย์เก่า ตอน จุดเปล่ยี น
รองอธิบดกี รมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน (2) 12 โอกาสในอดตี ทีไ่ ดร้ บั ....
รองอธบิ ดีกรมพนิ ิจและคมุ้ ครองเด็กและเยาวชน (3) สู่ความส�ำเรจ็ ในปจั จบุ ัน
16 มุ่งมน่ั สคู่ วามสำ� เร็จ
กองบรรณาธิการ 19 อสี ปอร์ตประเทศไทย:
โอกาสใหม่ของเด็กและเยาวชน
เลขานุการกรม 21 ผลไมต้ ้านโควิด
นางสาวจรุ พี ร โพธิฆมั พร 23 ขอ้ ควรรูเ้ ก่ยี วกับวินัย
นางสาวอันธิกา บญุ ชู ตอน แนวทางการลงโทษ กรณีลักทรพั ย์
นางอิสรานุช หนนุ ตะคุ 24 “คนพินจิ ฯ” เราทำ� ความดดี ว้ ยหัวใจ
วา่ ทีร่ อ้ ยตรหี ญงิ อัสศมิ า คังชะนัน 26 Social Impact Bond
27 รอบรั้วกรมพนิ ิจฯ
ฝ่ายภาพและศิลปกรรม 30 แวดวงกรรมการสงเคราะห์
32 DJOP Centre ศูนย์สร้างโอกาส
นายอมรชยั ศรีเสอื ลาน และบริการดา้ นอาชพี เด็กและเยาวชน
นางสาวศิรลิ ักษณ์ ชยั มงคล 33 ผลิตภัณฑ์สินค้าสวสั ดกิ าร
นางสาวชมาพร นอ้ ยเจริญ 34 ขอ้ มลู ข่าวสาร
35 ของฝากจากผอู้ า่ น
เจา้ ของ 37 ขอเชญิ ชวนส่งบทความ
38 แบบตอบรบั วารสาร
กรมพนิ ิจและคุ้มครองเดก็ และเยาวชน 39 1 การใหไ้ ด้สองเท่า

พิมพ์ท่ี :

บริษัท เนชนั่ ไฮย์ 1954 จ�ำกดั
88/2 หมู่ 1 ต.บางไผ่ อ.เมือง จ.นนทบรุ ี
โทร. 0-2447-6280 มือถือ 095-5431238
แฟก็ ซ.์ 0-2447-6281

วรรณกรรม บทความ หรอื ข้อคิด
ท่ีได้ปรากฏในวารสาร “สารพินิจ”
เป็ นผลงานของผู้เขยี นโดยเฉพาะ
กองบรรณาธกิ ารไมจ่ �ำ เป็ นต้องเหน็ ด้วย

ส วารสาร

ารพินจิ

ปที ่ี 20 ฉบบั ท่ี 1 ประจำ� เดือนเมษายน - มถิ นุ ายน ปีงบประมาณ 2565
Department of Juvenile
Observation and Protection

สารจาก

ผบู้ รหิ าร

หากเราชว่ ยกันแก้ไข เปลยี่ นแปลง
พฤติกรรม ความคิดของเด็กและ

เยาวชนเหลา่ นี้ไมไ่ ด้ เขาจะเปน็
ส่วนหน่ึงท่ีสรา้ งปญั หาสังคม
ในอนาคต และเราต้องรบั ผล
ของปญั หาน้ันด้วยเชน่ เดียวกัน

พ.ต.ท. วรรณพงษ์ คชรกั ษ์
อธบิ ดีกรมพนิ ิจและค้มุ ครองเด็กและเยาวชน

ผา่ นมาอกี หนง่ึ ปกี บั ภารกจิ การแกไ้ ขบำ� บดั ฟน้ื ฟู เพื่อเด็กและเยาวชนที่ก้าวพลาดน้ี เช่ือว่าท่านอธิบดีฯ
เด็กและเยาวชนที่เข้าสู่กระบวนการยุติธรรมโดย จะไม่ผ่อนปรนตามอย่างแน่นอน นอกจากน้ียังคง
ท่านอธิบดีฯ พ.ต.ท. วรรณพงษ์ คชรักษ์ ช่วงเวลา เขม้ ข้นขนึ้ อกี ด้วย
ที่ผ่านมาน้ัน ชาวพินิจหลาย ๆ ท่านคงจะได้สัมผัส
กับการท�ำงานในอีกหนึ่งรูปแบบท่ีเน้นทั้งในเร่ืองของ คอลัมน์ ‘สารจากผู้บริหาร’ ฉบับนจ้ี งึ ไมพ่ ลาด
การเข้าถึงและการน�ำเทคโนโลยีสมัยใหม่เข้ามาใช้ ท่ีจะน�ำนโยบายที่เข้มข้นน้ีมาฝากกับท่านผู้อ่าน ซึ่งมีทั้ง
กับการท�ำงานในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของ นโยบายท่ีสานต่อและท่ีเพ่ิมเติมจากนโยบายเดิมเพื่อให้
โรคโควิด-19 กระทั่งปัจจุบันได้ผ่อนปรนและประกาศ เข้าถึงในทุกมิติของการท�ำงาน ตบท้ายด้วยสารท่ีอยาก
เป็นโรคประจ�ำถิ่น แต่การเดินหน้าในการท�ำงาน บอกกับชาวพินิจทุกท่าน เพ่ือสร้างแรงบันดาลใจใน
การปฏิบัติหน้าที่เพ่ือเด็กและเยาวชน จะเป็นอย่างไร
นโยบายหรอื ทศิ ทางการดำ� เนนิ งาน บ้างนัน้ อยา่ ลมื พลกิ อ่านจนจบนะคะ !
ส�ำหรบั ปงี บประมาณ 2565 - 2566 คอื ?

กก�ำากรับทมา�ำตงราฐนานทกุ ระบบ ทกุ วชิ าชพี ท้ัง มาตรฐานส�ำนวนคมุ ประพฤติ วชิ าชพี นักจติ
นักสังคม การติดตามหลงั ปลอ่ ย

ใชเ้ ทคโนโลยชี ว่ ย ลดข้ันตอน ลดทรพั ยากร เสรมิ การใหบ้ รกิ าร
เพม่ิ ประสิทธภิ าพ ลดระยะเวลา
>20%ในการทำ� งานเพิ่มขน้ึ

ยกระดบั กรรมการสงเคราะห์ ผ่านกิจกรรมที่มเี ปา้ หมาย วตั ถปุ ระสงค์สอดคลอ้ งกับแนวทางกรม

สรา้ งมาตรฐานการคมุ้ ครองสิทธเิ ดก็ และเยาวชนในการดแู ลใหช้ ดั เจน

Outside Job เพ่ิมการทำ� งานรว่ มกบั หนว่ ยงานภายนอกมากข้นึ ใชท้ รพั ยากรในพ้นื ท่ี

ศนู ยฝ์ กึ เฉพาะทาง/ศนู ยฝ์ กึ เอกชน ตอบโจทยก์ ารแก้ไข ผ่านกระบวนการฝึกอาชพี ฝึกทักษะ ความชอบ
ความถนัด มคี วามชดั เจนในเชงิ ยุทธวธิ ี

5วารสารกรมพนิ ิจและค้มุ ครองเด็กและเยาวชน เพ่อื เผยแพรข่ า่ วสารในกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน

สวารสาร

ารพินจิ

ปที ี่ 20 ฉบบั ที่ 1 ประจำ� เดือนเมษายน - มถิ นุ ายน ปงี บประมาณ 2565

Department of Juvenile
Observation and Protection

ส�ำหรบั

ปี 2565 น้ี

ทา่ นมหี ลกั คดิ หรอื สิ่งทอี่ ยากเนน้ ย้ำ� เพ่ิมเตมิ คอื ?

ยบุ ลด ค่านิยมเด็กและเยาวชน โอกาส ความถนดั
เลกิ รวม ❯ เสรมิ สรา้ งใหม้ ี ความชอบ จติ อาสา

ด้านการบรหิ าร/ ความมุง่ ม่นั ต้ังใจ การแก้ไข บ�ำบัด ฟ้ ืนฟู
ลดการใชท้ รพั ยากร/ พยายาม ❯ มุง่ สรา้ งแรงจงู ใจใน

เพม่ิ ประสิทธภิ าพ เชงิ บวก ใหโ้ ฟกัส
การท�ำงาน กับสิ่งท่ีชอบ

❯ มุง่ เปลย่ี นพฤติกรรม

อดทน
มวี นิ ยั ซ่อื สัตย์

6 วารสารกรมพนิ ิจและค้มุ ครองเด็กและเยาวชน เพ่อื เผยแพรข่ า่ วสารในกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน

ส วารสาร

ารพินจิ

ปที ี่ 20 ฉบับที่ 1 ประจำ� เดือนเมษายน - มถิ นุ ายน ปีงบประมาณ 2565
Department of Juvenile
Observation and Protection

“สิ่งทท่ี า่ นอยากบอก ผมเชื่อว่าโอกาสที่ได้ช่วยเหลือมนุษย์ด้วยกันน้ี
ไม่ได้มีให้กับทุกคน แต่พวกเราเป็นกลุ่มคน/องค์กรท่ี
กบั ชาวพนิ จิ คอื ? ได้รับมอบหน้าท่ีส�ำคัญมากนี้ การแก้ไขเด็กและเยาวชน
ไม่ใช่เรื่องง่าย ๆ แต่หากเราท�ำได้ เป็นความภูมิใจ
อยากจะบอกว่าให้ลองนึกถึงงานของพวกเรา อันยิ่งใหญ่ในชีวิตเรา ซ่ึงน้อยคนจะมีโอกาสได้ท�ำ
วา่ มคี วามสำ� คญั กบั สงั คมมากแคไ่ หน ถา้ เราคดิ วา่ เดก็ และ หากเรามีมุมมองในการช่วยเหลือเด็กและเยาวชน
เยาวชนทเ่ี ราดแู ลอยนู่ จี้ ะเตบิ โตไปเปน็ ผใู้ หญม่ คี รอบครวั ในการใหโ้ อกาสเหมอื นกบั ทพ่ี วกเราเองกอ็ ยากทจี่ ะไดร้ บั
มลี ูกในอนาคต และมีชวี ติ อย่รู ว่ มกับเขาในสงั คม โอกาสท่ีดีเช่นเดียวกัน มุมมองน้ีจะสร้างแรงบันดาลใจ
และผลักดันพวกเขาไปในทางที่ดีและเป็นกำ� ลังใจเลก็ ๆ
“หากเราชว่ ยกันแก้ไข เปลยี่ นแปลง ในความรู้สึกของเรา และทีมของเราที่จะมุ่งมั่นท�ำงาน

พฤติกรรม ความคิดของเด็กและ ˝อยา่ งมคี ณุ ค่า
เยาวชนเหลา่ นี้ไมไ่ ด้ เขาจะเป็น กรมมองเจา้ หนา้ ทเ่ี ราทกุ คนเปน็ บคุ ลากร
ส่วนหน่ึงที่สรา้ งปญั หาสังคม ท่ีมีคุณค่ามีความเสียสละ และเป็นทีมเดียวกัน
ในอนาคต และเราต้องรบั ผล หากขาดความเปน็ อนั หนง่ึ อนั เดยี วกนั เปน็ องคก์ ร
ของปญั หาน้ันด้วยเชน่ เดียวกัน ที่มีเป้าหมายร่วมกัน กรมพินิจฯ คงไม่มีอายุ

ขอให้ทุกคนมองเป็นโอกาส เพ่ิมความตั้งใจ ˝ยืนนานมาถึง 70 ปี อย่างเช่นทุกวันนี้ ขอให้
และเปล่ียนเป็นความมุ่งมั่นในการท�ำงาน เราได้รับ
โอกาสอันส�ำคัญท่ีช่วยให้สังคมบ้านเมืองมีความสุข ภมู ใิ จในตัวตนของเรา
สงบ และเป็นโอกาสท่ีให้ความช่วยเหลือเด็กหน่ึงคน
ให้เปล่ียนแปลงเป็นคนที่มีคุณค่าต่อตัวเด็กเอง
ครอบครัว สงั คม ส่งผลถงึ ประเทศได้แคไ่ หน

สัมภาษณ์/เรียบเรียง : นางสาวจุรพี ร โพธิฆัมพร นกั ประชาสัมพันธช์ �ำนาญการ
ภาพประกอบ : นายอมรชัย ศรีเสือลาน นกั วชิ าการโสตทศั นศกึ ษา
กลุม่ ประชาสัมพันธ์และสอ่ื สารองคก์ ร สำ� นกั งานเลขานุการกรม

7วารสารกรมพนิ ิจและค้มุ ครองเด็กและเยาวชน เพ่อื เผยแพรข่ า่ วสารในกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน

สวารสาร “

ารพินจิ

ปีที่ 20 ฉบบั ท่ี 1 ประจำ� เดือนเมษายน - มถิ นุ ายน ปีงบประมาณ 2565

Department of Juvenile
Observation and Protection

เร่อื งเลา่ จากศษิ ยเ์ กา่

ตอน จดุ เปลยี่ น

ในช่วงชีวิตของคนเราทุกคน ต่างก็ต้องมีสถานการณ์หรือช่วงเวลา ท่ีจะน�ำพาเราไปพบเจอกับค�ำว่า “จุดเปล่ียน

ในชีวิต” ซึง่ แน่นอนว่า จดุ เปลยี่ นของแตล่ ะคน อาจแตกตา่ งกันไป ตามบรบิ ทการใชช้ ีวติ ประสบการณ์ หรือสิ่งแวดลอ้ มอืน่ ๆ
ที่มีส่วนในการกำ� หนดจดุ เปลยี่ นในชีวิตของคนเรา บ้างกเ็ ปลี่ยนจากดีเป็นรา้ ย หรอื บางคนกอ็ าจจะเปล่ยี นจากรา้ ยกลายเป็นดี
โดยสาระส�ำคัญของจุดเปลี่ยนท่ีเกิดขึ้นในชีวิตเราแต่ละคร้ังน้ัน คือ การท่ีเราได้เรียนรู้ว่าเราได้รับอะไรกลับมาจาก
การเปล่ียนแปลงในแต่ละคร้ังท่ีเกิดข้ึน เช่นเดียวกันกับชีวิตเยาวชนที่เคยถูกตราหน้าว่าเป็นเด็กไม่ดีสู่บัณฑิตที่ถูก
หล่อหลอมขึ้นมาจากคำ� ว่า “โอกาส” ของผมคนน้ี
“ศาลมีค�ำส่ังให้ส่งเยาวชนเข้ารับการฝึกอบรมในศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน จนกว่าจะมีอายุครบ 24 ปี
บรบิ ูรณ์ และสง่ ต่อให้จำ� คกุ ในเรอื นจ�ำกลางจังหวดั พะเยาอกี 5 ปี รวมเปน็ โทษ 12 ปี 6 เดือน” ในประโยคขา้ งต้น ผมเชอ่ื วา่
หลายคน คงรู้สึกดีใจและโล่งใจ หากท่านไม่ได้ตกอยู่ในสถานะจ�ำเลยคดีร้ายแรงที่นั่งอยู่หน้าบัลลังก์ พร้อมกับก�ำลังรับฟังค�ำ
พิพากษา แต่ความรู้สึกดีใจและโล่งใจน้ัน ไม่ได้เกิดข้ึนกับผมแต่อย่างใด ในทางกลับกัน ผมกลับมีแต่ความรู้สึกหมดหวัง
หดหู่และยากทีจ่ ะวาดภาพอนาคตในวนั ขา้ งหนา้ เพราะคนท่กี �ำลงั น่ังรบั ฟงั ค�ำพพิ ากษาในวันนนั้ คือผมในวยั 17 ปี 11 เดอื น
ท่ีตกเป็นจ�ำเลยในคดีร่วมกันมียาเสพติดให้โทษประเภทท่ี 1 เป็นยาบ้าจ�ำนวน 218,000 เม็ด และเฮโรอีน 58 กิโลกรัม
ครอบครองไวเ้ พอ่ื จ�ำหนา่ ยโดยผิดกฎหมาย

“ เสียงสะท้อนจากความคิด

ของเยาวชนคนหน่ึง ท่ีก�ำลังตั้ง
ค�ำถามอย่างมากมาย วนเวยี นซ้ำ� ๆ
ในหวั วา่ ต่อจากนี้จะท�ำเชน่ ไร จะอยู่
อย่างไร ซ่ึงค�ำตอบที่ได้น้ันมีแต่
ความมืดมน ว่างเปล่าและท�ำได้
เพี ยงยอมรับโทษจากการกระท�ำ
ท่ีขาดความยงั้ คิดของตัวเอง

8 วารสารกรมพนิ ิจและค้มุ ครองเด็กและเยาวชน เพ่อื เผยแพรข่ า่ วสารในกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน

ส วารสาร

ารพินจิ

ปีท่ี 20 ฉบบั ท่ี 1 ประจำ� เดือนเมษายน - มถิ นุ ายน ปงี บประมาณ 2565
Department of Juvenile
Observation and Protection

หากยอ้ นกลบั ไปในชว่ งชวี ติ กอ่ นเขา้ สจู่ ดุ เปลยี่ น ผมเองกเ็ ปน็ เยาวชนคนหนงึ่ ทม่ี คี วามฝนั มเี ปา้ หมายในชวี ติ ทอ่ี ยากจะทำ�
และไปให้ถึงเหมือนกับคนอ่ืนท่ัวไป แต่แน่นอนครับว่า ไม่มีใครในโลกใบน้ีท่ีไม่เคยพบเจอกับอุปสรรค เพราะเส้นทางของชีวิต
แต่ละคนอาจไม่ได้สะดวกราบเรยี บเสมอไป และการไมไ่ ดเ้ รยี นตอ่ หลงั จากจบมธั ยมตน้ เพราะปญั หาทางการเงนิ ในครอบครวั
กค็ งจะนบั เปน็ อกี หนง่ึ อปุ สรรคทย่ี งิ่ ใหญใ่ นชวี ติ ผม แมต้ วั ผมเองจะอยากเรยี นตอ่ มากเทา่ ไหร่ แตส่ ง่ิ ทท่ี ำ� ไดด้ มี ากทส่ี ดุ หลงั จากนน้ั
ก็คือท�ำใจยอมรับและบังคับตัวเองไม่ให้เกิดอารมณ์น้อยใจเวลาท่ีเห็นเพ่ือนๆ ก�ำลังหาช่องทางเพื่อศึกษาต่อ ด้วยเหตุนี้
มันท�ำให้ผมตอ้ งกลายเป็นเด็กท่เี ขา้ สู่วยั ท�ำงานทัง้ ๆ ที่อายยุ งั นอ้ ย พอนานวันเขา้ การทำ� งานของผมที่มีจดุ หมายหลักคอื เงนิ
มันได้กลืนกินความรู้สึกอยากเรียนมากๆ ของผมไปทีละนิด จนความรู้สึกนั้นได้จางหายไปในท่ีสุด และเกิดเป็น
ชุดความคิดใหม่ขึ้นในหัวว่า “เราจะอยากเรียนต่อสูงๆ ไปท�ำไม ถ้าในปัจจุบันเรามีงานท�ำแล้ว เพราะสุดท้ายแล้ว
เราก็เรียนเพื่อน�ำวุฒิการศึกษาไปสมัครหางานอยู่ดี” ซึ่งความคิดน้ีเป็นความคิดสิ่งท่ีดีท่ีสุดในช่วงอายุ 17 ปี
แต่มันกลับกลายเป็นสิ่งที่ท�ำร้ายตัวผมเองที่สุด เม่ือวันหนึ่งความสุขในการใช้จ่ายเงินจากการท�ำงานมันมีมากจนเกินตัวไป
ผมเร่ิมเข้าสู่การหาวิถีทางในการได้มาซ่ึงเงินเพื่อสนองความต้องการที่มากข้ึน จนท�ำให้ผมก้าวขาเข้าสู่ความผดิ พลาดทยี่ ง่ิ ใหญ่
ท่ีสุดในชีวิต ความโลภ ความอยากได้อยากมีเปลี่ยนสถานะผมให้กลายเป็นเยาวชนท่ีอยู่บนข่าวโทรทัศน์และหนังสือพิมพ์
ในฐานะจ�ำเลยคดยี าเสพติดและเข้าสู่กระบวนการยุตธิ รรมในที่สดุ
แม้ตัวผมเอง จะรู้ข้อกฎหมายส�ำหรับเยาวชนเพียงแค่หน่ึงเดียว คือการกระท�ำความผิดขณะท่ีอายุยังไม่ถึง 18 ปี
จะไม่ถูกส่งตัวไปเรือนจ�ำ แต่ด้วยข้อหาและรูปคดีที่เกิดขึ้นกับตัวผม มันท�ำให้ผมพยายามท�ำใจว่าโทษและค�ำตัดสิน
ที่จะตามมา จะต้องหนักตามการกระท�ำที่ขาด
ความย้ังคิด จนกระทั่งผมถูกส่งฝึกในศูนย์ฝึก
และอบรมเด็กและเยาวชนเขต 7 และด้วย
ระยะเวลาที่ยาวนานของค�ำตัดสิน ความคิด
ที่เกิดข้ึนต้ังแต่ก้าวเข้าประตูศูนย์ฝึกฯ คือ
ความวา่ งเปลา่ มืดมน ในระยะเวลาที่ยาวนาน
ขนาดนี้ผมจะอยู่อย่างไรไม่มีค�ำตอบส�ำหรับ
ภาพอนาคตในวันข้างหน้า จนกระท่ังแสงสว่าง
ภายหลังความมืดมนของผมก็เกิดขึ้น เพราะ
เจ้าหน้าที่หลายๆ ท่านได้ให้ค�ำแนะน�ำค�ำปรึกษา
พร้อมกับแผนและแนวทางส�ำหรับเยาวชน
ที่มีโทษระยะยาวแบบผม หลังจากปรับตัวได้
หนึ่งในความคิดท่ี เ กิ ด ข้ึ น ใ ห ม ่ ใ น หั ว คื อ
การต้องเก็บเกี่ยวส่ิงท่ีดีให้ได้มากท่ีสุดและ
จะไม่ปล่อยให้เวลาผ่านไปอย่างไร้ประโยชน์
ผมเริ่มเรียนหลักสูตรการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) ทันทีหลังจากได้
รับค�ำแนะน�ำ คิดว่าน่ีคือโอกาสส�ำคัญที่จะลบล้างความรู้สึกน้อยใจท่ีไม่ได้เรียนต่อเมื่อตอนมัธยมต้นและลบล้างการตราหน้า
ของสังคมว่าผมเป็นเด็กไม่ดีในขณะเดียวกันสิ่งหนึ่งที่เป็นแรงผลักส�ำคัญและท�ำให้ผมทุ่มเททุกอย่างเพื่อให้ตัวเองได้ดี มาจาก
แมข่ องผม ทถี่ กู สงั คมดถู กู รว่ มดว้ ยกนั กบั ผม ทงั้ ๆ ทคี่ วามผดิ เกิดขึ้นจากตัวผมเพยี งคนเดียว ผมได้แตเ่ ก็บมาฝังไว้ในใจดว้ ยความ
เจ็บปวดและมันก็กลับกลายเป็นจุดเปล่ียนส�ำคัญที่ท�ำให้ผมคิดว่า หากวันหน่ึงเราได้น�ำความส�ำเร็จก้าวเดินออกไป
ในสงั คมสง่ิ ทผี่ มอยากจะสื่อมากทสี่ ดุ คืออยากใหส้ ังคมรบั รูว้ า่

9วารสารกรมพนิ ิจและค้มุ ครองเด็กและเยาวชน เพ่อื เผยแพรข่ า่ วสารในกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน

สวารสาร

ารพินจิ

ปีท่ี 20 ฉบบั ที่ 1 ประจำ� เดือนเมษายน - มถิ นุ ายน ปีงบประมาณ 2565

Department of Juvenile
Observation and Protection

ในวันน้ี ผมไม่ได้เป็นคนเดิมแบบท่ีทุกคนเคยดูถูกแล้วโดยตลอดเวลาท่ีใช้ชีวิตอยู่ในศูนย์ฝึกฯ นอกจากการเรียน
ที่ต้ังเป้าหมายว่าจะต้องจบม.ปลายให้ได้น้ัน ระหว่างทาง ผมก็ได้พัฒนาตัวเองและค้นหาศักยภาพของตัวเองอย่างต่อเน่ือง
ผา่ นกจิ กรรมตา่ งๆ ท่จี ัดข้ึน ทง้ั งานแข่งขันวชิ าการ วชิ าชีพ กีฬา หรือแม้กระทัง่ ดนตรี ถือเปน็ โอกาสทีด่ อี ีกอยา่ งหนึง่ ท่ีหากนึก
ย้อนไปในช่วงก่อนเข้ารับการฝึกอบรม ผมคงไม่มีโอกาสได้ค้นหาตัวเองแบบน้ีบ่อยๆ แต่พอเข้ามาฝึกอบรม ผมกลับเป็น
ผู้ครอบครองใบประกาศนียบัตรจากการแข่งขันด้านต่างๆ มากมายซ่ึงเป็นเร่ืองท่ีดี ในการที่ศูนย์ฝึกฯ มีความหลากหลาย
ในด้านต่างๆ ให้เยาวชนได้ค้นหาส่ิงท่ีชอบ ต่างจากภาพในความคิดก่อนเข้ามาฝึกอบรม ท่ีต้องยอมรับเลยว่า ผมมองเป็น
สถานท่ีๆ รวมตัวของเด็กไม่ดี ใช้ชีวิตรอวันปล่อยตัวไปวันๆ การเข้ามาและได้เก็บเกี่ยวด้วยตัวเองน้ัน ท�ำให้รู้ว่าที่น่ี
มีโอกาสมากมายท่ีจะมอบให้กับคนที่พร้อมจะกลับตัวเป็นคนดีของสังคม จนกระทง่ั ผมเรยี นจบกศน. ใชค่ รบั ผมบอกตวั เอง
และยำ้� กบั ตวั เองหลายครงั้ วา่ ผมจบมธั ยมปลายแลว้ มธั ยมปลายจากศนู ยฝ์ กึ ฯ สิ่งนี้เป็นส่ิงที่ส�ำคัญที่ผมอยากให้คนอ่ืนได้รับรู้
ว่าผมเรียนจบมัธยมปลายแล้วนะ มันดูเหมือนเป็นเรื่องที่น่าภูมิใจมากท่ีสุดและอยากให้ทุกคนได้รับรู้ แต่หลังจากนั้น
ผมพ่ึงเข้าใจ ว่ามันคือจุดเริ่มต้นของจุดเปลี่ยนท่ีย่ิงใหญ่ในชีวิตอีกคร้ัง แน่นอนครับว่า หลังจากชีวิตการจบมัธยมปลายของ
ใครหลายๆ คน สง่ิ ทใี่ ครตอ่ ใครกอ็ ยากจะไขวค่ วา้ และไดม้ า เพอื่ ความภาคภมู ใิ จของตวั เองและคนรอบขา้ ง สง่ิ นนั้ คอื การเรียนจบ
ปริญญา ใช่ครับมันเคยเป็นความฝันที่คนอย่างผมก็เคยอยากท่ีจะไขว่คว้ามาแต่ก็ถูกดึงใหห้ า่ งไกลออกจากตวั ผม จากขอ้ จำ� กดั
และอปุ สรรคตา่ งๆ ในชวี ติ แตแ่ ลว้ วนั หนง่ึ สงิ่ น้ี มนั กลบั ไมไ่ ดเ้ ปน็ เพยี งความฝนั อกี ตอ่ ไปเพราะหลังจากเรียนจบมัธยมปลายแล้ว
ทางศูนย์ฝึกฯ ก็ได้ให้โอกาสท่ีเป็นจุดเปล่ียนส�ำคัญ ที่จะท�ำให้ชีวิตของผมเปล่ียนไปการประสานเครือข่ายของศูนย์ฝึกฯ
เพ่ือหาผู้สนับสนุนทุนการศึกษาให้กับเยาวชนที่ก้าวพลาด ถือเป็นสิ่งที่เปี่ยมล้นด้วยค�ำว่าโอกาสและความพยายาม
ของเจ้าหน้าที่ ท่ีอยากจะผลักดันและช่วยเหลือให้สังคมได้รับรู้ว่า เยาวชนที่เคยก้าวพลาดคนหนึ่ง จะสามารถเปล่ียนแปลง
ตัวเองได้มากขนาดไหน เพราะมันไม่ง่ายเลยกับการที่เราจะพิจารณาให้โอกาสใครสักคนท่ีเคยถูกสังคมตราหน้าว่าเป็นคนเลว
แต่ผมเองก็ดีใจเพราะผมคือคนที่ได้รับโอกาสท่ีย่ิงใหญ่นั้น การได้รับทุนเรียนฟรีจนจบปริญญาตรีของผมคร้ังนี้ มาจาก
การที่หลายๆ ทา่ นมองเหน็ โอกาสในการกลบั ตวั
ของผม ผมดีใจและขอบคุณตัวเอง ที่พยายาม
เกบ็ เกี่ยวสงิ่ ดีๆ ตลอดการฝกึ อบรม
จนวันหน่ึงผลจากการกระท�ำมันได้ส่ง
ถึงตัวผมแล้ว โดยนอกจากการไดร้ ับทุนเรียนฟรี
แล้ว การเสนอต่อศาลเรื่องการเปลี่ยนแปลง
คำ� พพิ ากษาก็เป็นอีกโอกาสท่ียิ่งใหญ่ที่ผมได้รับ
โดยศาลพิจารณาจากการเข้าเรียนต่อในระดับ
ปริญญาตรี และเห็นว่ามีความต้ังใจพร้อมกับ
การเรียนที่ดีเยี่ยม ศาลจึงพิจารณาลดโทษ
ท�ำให้ผมได้ก้าวออกมาใช้ชีวิตในโลกภายนอก
ได้เร็วยิ่งขึ้น ซ่ึงสิ่งนี้เป็นจุดเปลี่ยนส�ำคัญ
ท่ีจะท�ำให้ผม น�ำส่ิงต่างๆ ท่ีได้รับมาต่อยอด
ในสังคมภายนอกได้อยา่ งภาคภมู ิใจ
เวลาผ่านไปจนถึงในปัจจุบันจาก
เยาวชนกา้ วพลาดในวนั นนั้ กม็ าถงึ จดุ เปลย่ี นที่
กลา้ พดู กลา้ แสดงออกใหส้ งั คมรบั รวู้ า่ ผมไมใ่ ช่
คนเลวแบบทท่ี กุ คนเคยดถู กู แลว้

10 วารสารกรมพนิ ิจและค้มุ ครองเด็กและเยาวชน เพ่อื เผยแพรข่ ่าวสารในกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน

ส วารสาร

ารพินจิ

ปที ่ี 20 ฉบบั ท่ี 1 ประจำ� เดือนเมษายน - มถิ นุ ายน ปงี บประมาณ 2565
Department of Juvenile
Observation and Protection

ผมส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีด้วยผลการเรียนเฉลี่ย 3.71 ในคณะวิทยาการจัดการ สาขาวิชานิเทศศาสตร์
สิ่งน้ี คือความภาคภูมิใจที่ผมอยากจะมอบให้กับผู้ให้ทุกๆ ท่านที่เคยให้โอกาส สนับสนุน และไม่รังเกียจ แบ่งแยก หรือ
ตราหนา้ วา่ เราเปน็ คนเลว โอกาสจากศนู ยฝ์ กึ ฯ ไดห้ ลอ่ หลอมให้ผมกลายเป็นเยาวชนที่พร้อมจะกลับสู่สังคมได้อย่างเป็นคนดี
มคี ุณภาพอกี ครั้ง และแนน่ อนว่าการไดม้ ายนื อยจู่ ดุ น้ี

ส�ำหรับใครหลายๆ คน มันคงเป็นเร่ืองท่ีดีมากจนสามารถเก็บไว้เป็นความทรงจ�ำหนึ่งในชีวิตได้ ผมเองก็เช่นกัน
การสำ� เรจ็ การศึกษาครั้งนี้ มนั ไม่ไดเ้ ป็นเพียงการสมคั รเขา้ เรยี น ฝา่ ฟัน และจบไปดว้ ยความส�ำเรจ็ เพยี งเทา่ นนั้ สำ� หรับผมเเลว้
สิ่งนี้ เป็นเครื่องพิสูจน์หลายสิ่งหลายอย่างมากในชีวิตผม อีกท้ังยังมีความคาดหวัง การเฝ้ารอคอยท่ีจะเห็นผมประสบ
ความสำ� เรจ็ ของใครอกี หลายๆ คน ซง่ึ แนน่ อนวา่ “ทุกคนทอ่ี ยู่ในจุดน้ัน ลว้ นถูกนำ� มาเปน็ พลงั และแรงผลักดนั ให้ผม รวมถงึ
โอกาสที่ถกู ส่งมาใหผ้ มคนนี้ ได้มีวนั นีส้ ักท”ี
จากเร่ืองราวประสบการณ์ที่ผ่านมาของผม โอกาสที่ได้รับจากศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชนเขต 7
ท�ำให้ในปัจจุบัน ผมสามารถท่ีจะพูดได้เลยครับว่า “การได้รับโอกาส คือจุดเปลี่ยนส�ำคัญในการใช้ชีวิตในปัจจุบัน
และอนาคตของผม” ส่ิงท่ีเกิดขึ้นมันท�ำให้เห็นชัดว่า การให้โอกาส สามารถพลิกชีวิตคนได้ เพียงแค่มีผู้ที่พร้อมจะให้ และมี
ผู้ท่ีพร้อมจะรับและเห็นความส�ำคัญของโอกาสนั้น การท�ำผิดพล้ังก้าวพลาด สามารถเกิดขึ้นได้กับทุกคน หลายคนอาจจะ
เกลียดส่ิงที่เกิดข้ึน แต่พอเวลามันเดินไปข้างหน้า ส่ิงนี้ มันจะคอยกลับมาย้�ำเตือนให้เราหยุดและคิดว่า เราเคยพลาดสิ่งใดไป
และวันน้ีความผิดพลาดนั้น มันให้อะไรกับเราบ้าง อยู่ท่ีตัวเรา ว่าจะมองเรื่องผิดพลาดท่ีผ่านมาน้ัน เป็นเพียงเรื่องเจ็บปวด
ที่อยากจะลืมให้ลง หรือในทางกลับกัน เราจะสามารถน�ำเอาข้อผิดพลาดเหล่านี้ มาเป็นแรงผลักที่ส่ังให้เราก้าวไปข้างหน้า
ต่อไป ไม่ใชม่ องมนั เป็นแค่เพยี งเร่อื งปวดร้าวในชวี ิตทปี่ ล่อยผ่านไป โดยไมไ่ ดอ้ ะไรเลย

เรอื่ งเลา่ จาก อดีตเยาวชนของศนู ยฝ์ กึ และอบรมเดก็ และเยาวชนเขต 7 เชยี งใหม่
ผไู้ ด้รบั รางวลั ชนะเลิศ จากการประกวด “เรือ่ งเล่า...ในอดตี ของศิษย์เก่า”
เนอ่ื งในโอกาสครบรอบ 70 ปี สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนไทย

11วารสารกรมพนิ ิจและค้มุ ครองเด็กและเยาวชน เพ่อื เผยแพรข่ ่าวสารในกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน

“ สวารสาร

ารพินจิ

ปที ่ี 20 ฉบับท่ี 1 ประจำ� เดือนเมษายน - มถิ นุ ายน ปีงบประมาณ 2565

Department of Juvenile
Observation and Protection

โอกาสในอดตี
ทไี่ ดร้ บั ....

สคู่ วามส�ำเรจ็ ในปจั จบุ นั

“ความรสู้ ึกฮึมเหมิ เม่อื เขา้ สู่สถานพนิ ิจฯ ในตอนน้ัน
บวกกับความอยากเด่นอยากดังในกลมุ่ เพ่อื น
จงึ กลา้ ที่จะกระท�ำผิดมากข้ึน ท�ำผิดใหร้ า้ ยแรงข้นึ

จนก่อใหเ้ กิดอาชญากรรมที่รนุ แรงในครง้ั ที่ 2
และการเข้าไปในครง้ั ที่ 2 นี้ ท�ำใหก้ ลายเป็น
จดุ เปลยี่ นครง้ั ใหญ่ในชวี ติ

ความตอนหน่ึงจากบทสัมภาษณ์ของอดีตเยาวชนที่เคยก้าวผิดคิดพลาด

สวัสดีครับ ผม...นายเสฏฐวุฒิ ถ้าผู้อ่าน อ่านมาถึงตรงน้ี คงคิดว่า เร่ืองนี้อาจจะ
เป็นจุดเปลี่ยนที่ส�ำคัญในชีวิต แต่ผมขอบอกว่า ทุกท่านคิด
ภาณุวัฒนากร หรือทนายวิชญ์ ท่ีเพ่ือนๆ ใน ผิดครับ เพราะระหว่างท่ีผมก�ำลังรอฟังค�ำตัดสินจากศาล
วงการทนายความเรียกกัน ผมเคยเป็นเยาวชน ในสถานพินิจฯ ผมได้ก่อเหตุทะเลาะวิวาทกับเพ่ือนที่อยู่
คนหนึ่งท่ีเคยกระท�ำความผิดและได้รับโทษทางกฎหมาย ด้วยกัน จากเหตุการณ์ในคร้ังนั้นผมถูกส่งตัวไปยังเรือนจ�ำ
เม่ือตอนอายุ 14 ปี และนั่นเป็นครั้งแรกที่ผมได้รู้จัก เยาวชนท่ีมีอายุเพียง 16 ต้องเข้าไปอยู่ในเรือนจ�ำร่วมกับ
สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน สถานที่ที่เป็นท่ี ผใู้ หญเ่ ปน็ ระยะเวลากวา่ 2 เดอื น จนวนั หนงึ่ ผมไดร้ บั โอกาส
ควบคุมเด็กและเยาวชนท่ีกระท�ำความผิด แต่การเข้า ที่ได้กลับมาสู่สถานพินิจฯ ผมรู้สึกดีใจมาก เพราะไม่ว่า
สถานพนิ จิ ฯ ในครงั้ นนั้ ผมกลบั รสู้ กึ ฮกึ เหมิ เพราะเราเปน็ เดก็ ท่ีผ่านมาผมจะท�ำผิดร้ายแรงขนาดไหน แต่ผมยังได้รับ
แต่เราเข้ามาอยู่ในนี้ได้ ส่ิงนี้ท�ำให้ผมเด่นและดังในกลุ่ม โอกาสเสมอ และการได้รับโอกาสในครั้งนั้นกลายเป็น
เพื่อนๆ และความย่ามใจในครั้งนั้นท�ำให้ผมก่อเหตุอีกคร้ัง โอกาสทีส่ ร้างความเปล่ยี นแปลงของผมไปตลอดชวี ิต
ในวัย 16 ปี และก้าวเข้าสู่สถานพินิจฯ เป็นครั้งที่ 2
ซึ่งการเขา้ สสู่ ถานพนิ จิ ฯ ในคร้ังที่ 2 นเ่ี อง ความร้สู ึกของผม
ช่างแตกต่างไปจากครั้งแรก ผมรู้สึกสิ้นหวัง ไม่มีอนาคต
เพราะรสู้ กึ วา่ ตนเองตอ้ งถกู จำ� กดั สทิ ธเิ สรภี าพ ขาดอสิ รภาพ
ผมอยากหนีไปจากที่นี่ แต่ผมต้องอยู่ในสถานพินิจฯ
เป็นเวลา 9 เดือน ก่อนศาลตัดสินและส่งตัวผมไปฝึกและ
อบรมยังศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชนเป็นระยะเวลา
ขั้นตำ่� 3 ปี ขน้ั สูง 4 ปี

12 วารสารกรมพนิ ิจและค้มุ ครองเด็กและเยาวชน เพ่อื เผยแพรข่ ่าวสารในกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน

ส วารสาร

ารพินจิ

ปที ี่ 20 ฉบับที่ 1 ประจำ� เดือนเมษายน - มถิ นุ ายน ปีงบประมาณ 2565
Department of Juvenile
Observation and Protection

ในมุมมองของผม สถานพินิจและคุ้มครองเด็ก ความเช่ียวชาญน้ันไปประกอบอาชีพหลังจากได้รับ
และเยาวชน และศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน การปล่อยตัว โดยจะมีครูคอยให้ค�ำแนะน�ำ และช่วย
เปรียบเสมือนโรงเรียนที่ให้โอกาส เป็นสถานท่ีสร้าง ก�ำหนดแนวทางในการด�ำเนินชีวิต สิ่งเหล่าน้ีท�ำให้ผม
มิตรภาพ และเป็นความหวังส�ำหรับเด็กและเยาวชน มีความหวงั ในการเปลยี่ นแปลงตนเอง
ที่กระท�ำผิดอย่างผม ไม่ใช่สถานท่ีท่ีมีแต่การลงโทษ หรือ
สถานท่ีสำ� หรบั การดัดสนั ดาน เพราะสถานที่แหง่ นี้ท�ำใหผ้ ม
มีโอกาสได้เรียนหนังสือ ซ่ึงเด็กและเยาวชนที่อยู่ในสถานท่ี
ควบคุมจะได้เรียนในระบบการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอธั ยาศยั หรอื กศน.

ผมเหน็ วา่ “การศกึ ษาเปน็ สิ่งจำ� เปน็ ทสี่ ุด
ส�ำหรบั เดก็ และเยาวชน เพราะการศกึ ษาจะทำ� ให้
หลดุ พ้นไปจากวงั วนของอาชญากรรม เน่อื งจาก
การศึกษาชว่ ยสรา้ งจติ ส�ำนึกในการเปน็ มนษุ ย์
มจี ติ วญิ ญาณของผู้มอี ารยะธรรมทางปัญญา
และความงดงามทางจติ ใจ”

ซึ่งนอกจากโอกาสทางการศึกษาแล้ว เด็กและ
เยาวชนยังได้รับโอกาสในการฝึกวิชาชีพ เพื่อน�ำทักษะและ

13วารสารกรมพนิ ิจและค้มุ ครองเด็กและเยาวชน เพ่อื เผยแพรข่ ่าวสารในกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน

สวารสาร

ารพินจิ

ปที ่ี 20 ฉบบั ท่ี 1 ประจำ� เดือนเมษายน - มถิ นุ ายน ปีงบประมาณ 2565

Department of Juvenile
Observation and Protection

เด็กและเยาวชนในสถานที่ควบคุมจะเรียกผู้อ�ำนวยการว่า พ่อ หรือแม่ และเรียกเจ้าหน้าที่ทุกคนว่าครู ที่เด็กและ
เยาวชนเรียกแบบน้ัน เพราะส่วนหนึ่งพวกเราไม่ได้รู้สึกว่าพวกเขาคือ ผู้คุม แต่พวกเขาเป็นครู เป็นพ่อ เป็นพ่ี ที่พร้อม
จะเปิดโอกาสให้กับเด็กและเยาวชนท่ีเข้ามาอยู่ยังท่ีแห่งน้ี ผมเองก็มีครูคนหน่ึงท่ีผมรู้สึกรักและเคารพท่านเหมือนท่านเป็น
พอ่ ของผม คอื ครชู ยั วฒั น์ มณุ แี นม ซง่ึ ปจั จบุ นั ทา่ นเปน็ ผตู้ รวจราชการกรม กรมพนิ จิ ฯ ซง่ึ ครชู ยั วฒั นม์ กั จะยำ้� เตอื นผมอยเู่ สมอวา่
การเรยี นเปน็ สงิ่ สำ� คญั และโอกาสทจี่ ะใหเ้ รากลบั ตวั กม็ ใี หอ้ ยเู่ สมอ ทนี่ ส่ี ามารถสรา้ งคนใหเ้ ปน็ คนได้ ซง่ึ ไมใ่ ชแ่ คผ่ ม เปน็ หนว่ ยงาน
ทีจ่ ดุ ประกายให้เดก็ และเยาวชนเกิดความเปล่ียนแปลงทางความคิด และไม่กระท�ำผิดซำ�้
เม่ือผมมีเป้าหมายในการเปล่ียนแปลง ก็เกิดแนวทางท่ีชัดเจนยิ่งข้ึน ผมเร่ิมจากการเรียนหนังสือ ฝึกวิชาชีพ และ
เข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ซึ่งขณะท่ีผมอยู่ในสถานที่ควบคุม ผมได้เรียนหนังสือในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย และสมัครเรียน
สัมฤทธิบัตรเพื่อเก็บรายวิชาในช้ันปริญญาตรีของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ได้ฝึกวิชาชีพไฟฟ้าและวิชาชีพก่อสร้าง
จนได้รับคัดเลือกเป็นหัวหน้าช่าง เรียนจบนักธรรมช้ันตรี ซึ่งโอกาสในเร่ืองของการเรียนผมมองว่าผมได้รับค่อนข้างเยอะ
เมื่อเทียบกับในอดีต เพราะด้วยความท่ีเกเร ไม่มีระเบียบ แต่ด้วยในสถานที่ควบคุมมีครูท่ีคอยแนะน�ำแนวทางและ
ร่วมวางแผนชีวิต ท�ำให้ผมได้ท�ำอะไรหลายๆ และท�ำออกมาได้ดี รวมถึงอีกหนึ่งหน้าที่ ที่ผมได้รับคือ การเป็นผู้ช่วยงานใน
ห้องสมุด และการมาช่วยงานในครั้งน้ันท�ำให้ผมได้รู้จักหนังสือเล่มหนึ่ง หนังสือเล่มน้ันชื่อว่า “กว่าจะได้นั่งบัลลังค์ศาล”
เขียนโดยท่านผู้พิพากษาณัฐปกรณ์ พิชญปัญญาธรรม ซ่ึงหนังสือเล่มน้ีเป็นการบอกเล่าเรื่องราวของผู้เขียนที่สู้ชีวิตจากเริ่ม
จนกลายมาเปน็ ผพู้ พิ ากษาในปจั จบุ นั การไดอ้ า่ นหนงั สอื เลม่ นที้ ำ� ใหผ้ มยอ้ นกลบั มามองตวั เองวา่ เราไมไ่ ดม้ ชี วี ติ ทลี่ ำ� บากเทา่ กบั เขา
ผมมีโอกาสได้เรียนหนังสือ มีบ้านให้อยู่แต่ผมกลับสร้างความอับอายขายหน้าให้พ่อกับแม่ แม่ของผมเป็นครูแต่ลูกเป็นโจร
แล้วทา่ นจะสอนคนอื่นอยา่ งไรคิดได้แบบนแี้ ล้ว ผมจงึ อยากจะกชู้ ่อื เสียงให้กับพอ่ แม่ และลบรอยด่างพร้อยทเี่ ราเคยก่อไว้

ทุกอย่างท่ีผมเล่ามาข้างต้น เป็นผลท่ีมาจาก
การแกไ้ ข บำ� บดั ฟน้ื ฟู ทท่ี ำ� ใหผ้ มเหน็ ถงึ ความกตญั ญทู มี่ ี
ต่อพ่อแม่ การรู้ส�ำนึกเม่ือกระท�ำความผิด รู้ว่าเมื่อท�ำผิด
สง่ ผลกระทบตอ่ ใครไดบ้ า้ ง และตวั เราเองกไ็ มส่ ามารถยอ้ น
กลบั ไปแกไ้ ขสงิ่ ทที่ ำ� ผดิ พลาดได้ แตเ่ ราตอ้ งทำ� วนั นเ้ี พอ่ื ให้
วันข้างหน้าประสบความส�ำเร็จ การประสบความส�ำเร็จ
และรู้สึกผิดอาจไม่สามารถลบล้างความผิดที่กระท�ำได้
แต่ท�ำให้เรารู้สึกดีข้ึน พ่อแม่ย้ิมได้ ครอบครัวยิ้มได้
กท็ ำ� ใหผ้ มกา้ วตอ่ ไปได้

14 วารสารกรมพนิ ิจและค้มุ ครองเด็กและเยาวชน เพ่อื เผยแพรข่ า่ วสารในกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน

และด้วยความมุ่งม่ันตั้งใจของผม หลังจากได้รับ ส วารสาร
การปล่อยตัว ผมได้เข้ารับการศึกษาในระดับอุดมศึกษาใน
คณะนิติศาสตร์จากมหาวิทยาลัยรามค�ำแหง โดยใช้เวลา ารพินจิ
ในการศึกษาเพียง 2 ปีคร่ึง จบด้วยเกียรตินิยมอันดับ 2
จบเนติบัณฑิตจากส�ำนักฝึกอบรมเนติบัณฑิตยสภา ซึ่งใช้ ปีท่ี 20 ฉบบั ที่ 1 ประจำ� เดือนเมษายน - มถิ นุ ายน ปงี บประมาณ 2565
เวลาในการศึกษา 1 ปี และจบการศึกษาจากส�ำนกั ฝกึ อบรม Department of Juvenile
ทนายความ สภาทนายความ เมื่อปี พ.ศ.2554 และได้รับ Observation and Protection
อนุญาตเป็นทนายความในปี 2554 จนมาถึงปัจจุบัน ก็นับ การได้รับโอกาสจาก
เป็นเวลากว่า 10 ปีแล้วท่ีผมได้ประกอบอาชีพทนายความ กรมพินิจและคุ้มครองเด็ก
นอกจากนี้ผมยังเป็นหัวหน้าส�ำนักงานกฎหมายและ และเยาวชนในวนั นนั้ ทำ� ให้
เจ้าของบริษัทส�ำนักงานกฎหมาย อินโน ลอว์ จ�ำกัด และ ผมไดเ้ รยี นทำ� ใหผ้ มมงี านทำ�
เป็นประธานมูลนิธิ ธุลีไท ซ่ึงการก่อต้ังมูลนิธิดังกล่าว มีบ้าน มีรถ มีครอบครัว
เป็นความตั้งใจที่ผมอยากจะตอบแทนกรมพินิจฯ และ มีความหวัง ผมรู้สึกภูมิใจ
สังคมท่ีเคยให้โอกาสผม และประทับใจมาก ผมขอ
ขอบพระคุณเจ้าหน้าท่ีใน
สถานที่ควบคุมท่ีให้โอกาส

อบรมส่ังสอน และเปล่ียนผมเป็นคนใหม่ เพราะถ้าไม่มี
สิ่งเหล่าน้ี ก็คงไม่เป็นผมในวันน้ีเช่นกัน นอกจากนี้สังคมก็
เปน็ อกี หนงึ่ พน้ื ทที่ ใี่ หโ้ อกาสกบั ผม ผมเชอ่ื วา่ สงั คมเรม่ิ เปดิ รบั
เด็กและเยาวชนที่เคยกระท�ำผิดแล้ว และเด็กเองก็พร้อม
คว้าโอกาสน้ัน ซึ่งการได้รับโอกาสจากสังคมจะท�ำให้มี
เด็กอีกมากมายท่ีประสบความส�ำเร็จ และสามารถสร้าง
ประโยชน์กลับคืนสู่สังคม ผมอยากให้สังคมเปิดโอกาสให้
เขาเยอะๆ พวกเขาจะเป็นคนดีของสังคมได้แน่นอนครับ

สดุ ท้ายแล้ว แมผ้ มจะไม่สามารถ
ย้อนกลับไปแก้ไขความผิดพลาดใน
อดตี ได้ทั้งหมด แต่เพราะ “โอกาส
ในอดีตท่ไี ด้รับ....ทำ� ให้ผมประสบ

ความสำ� เรจ็ ในปจั จบุ นั ” ทำ� ใหผ้ ม
มุ่งม่ันต้ังใจท่ีจะตอบแทนทุกคน
และสังคมโดยการสร้างโอกาสทดี่ ใี หเ้ ดก็ และเยาวชนทอ่ี าจจะ
เคยผิดพลาดเหมือนผม ผมต้องขอขอบคุณเจ้าหน้าที่ของ
กรมพนิ ิจฯ ทุกทา่ นทด่ี แู ลอดตี เดก็ ทเี่ คยผดิ พลาดคนนี้ ผมเปน็
ตัวอย่างหนึ่งในผลผลิตของกรมพินิจฯ ท่ีอยากให้ทุกท่าน
มีกำ� ลังใจและเชื่อมั่นในสิ่งที่ท�ำ เพราะเมอื่ เดก็ คนหนง่ึ ทำ� ผดิ
และไดร้ บั โอกาส ไดร้ บั การอบรมสง่ั สอน กจ็ ะสามารถกลบั คนื
สู่สังคม กลับตนเป็นคนดีและสร้างประโยชน์ให้กับสังคม
ตอ่ ไปได้ สมดง่ั ปณิธานในการท�ำงานของทกุ ทา่ นทบี่ อกวา่

“พินิจด้วยรกั พิทักษ์ด้วยใจ”

บุคคลต้นเรือ่ ง : ทนายเสฏฐวุฒิ ภาณุวัฒนากร
สัมภาษณ์/ เรยี บเรียง : นางสาวอนั ธกิ า บุญชู นักประชาสมั พนั ธป์ ฏบิ ัติการ

ภาพกลปุ่มรปะกรอะชบาส: มันพายันอธม์แรลชะัยสอื่ ศสราีเสรอือลงคาก์นรนสกั ำ� วนิชกั างกาานรเโลสขตาทนศั กุ นาศรกึกษรมา

15วารสารกรมพนิ ิจและค้มุ ครองเด็กและเยาวชน เพ่อื เผยแพรข่ า่ วสารในกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน

สวารสาร

ารพินจิ

ปที ี่ 20 ฉบบั ที่ 1 ประจำ� เดือนเมษายน - มถิ นุ ายน ปีงบประมาณ 2565

Department of Juvenile
Observation and Protection

มงุ่ มนั่ สคู่ วามส�ำเรจ็

เคยมีบุคคลท่านหน่ึงได้บอกกับบรรณาธิการ นอกจากน้ที ้ังสองทา่ นยงั ได้รับรางวลั “ขา้ ราชการ
พลเรือนดีเด่น” ประจ�ำปี 2564 จาก นายสมศักด์ิ
ว่า...ในการเลือกคนท่ีจะมาท�ำงานด้วย ต้องเลือกคนที่มี เทพสุทิน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม ในงาน
ทงั้ “ความด”ี และ “ความเก่ง” ควบคู่กนั เพราะการเปน็ “วันสถาปนากระทรวงยุติธรรม ครบรอบ 131 ปี”
คนดี แต่ถ้าไม่เก่งท้ังงานไม่เก่งทั้งคน ก็คงจะเป็นคนดีไม่มี เม่ือวันท่ี 25 มีนาคม 2565 ที่ผ่านมาอีกด้วย ไม่รอช้า
ที่อยู่ หรือการเป็นคนเก่ง แต่ไม่ใช่คนดีก็คงจะไม่สามารถ เราขอน�ำคุณผู้อ่านทุกท่าน ไปรู้จักกับบุคคลส�ำคัญ
เป็นคนท่ีถูกรักได้ สุดท้าย ส่ิงท่ีส�ำคัญ คือ เราไม่ได้เป็นแค่ ทง้ั 2 ทา่ นน้ี ผา่ นคำ� ‘นยิ าม 3 คำ� ’ ทบี่ ง่ บอกความเปน็ ตวั ตน
ผู้เลือก ยังต้องเป็นผู้ถูกเลือกด้วย เพราะฉะนั้นตัวเราเอง ให้กับพวกเราได้รู้จัก และได้เข้าใจถึงหลักการหรือแนวคิด
ก็ต้องท�ำตัวให้คู่ควร คือ ต้อง “เป็นทั้งคนดีและคนเก่ง” ในการดำ� เนินชวี ติ ของพวกเขากันมากขน้ึ จะเป็นอย่างไรนัน้
ไปพรอ้ มกนั และทา้ ยทส่ี ดุ งานนน้ั ๆ กจ็ ะประสบความสำ� เรจ็ ไปติดตามอา่ นกันเลยคา่ ....
ได้โดยไมย่ าก

ส�ำหรบั “สารพนิ ิจ” ฉบบั ท่ี 1 ประจ�ำปี 2565 นี้
ขอเร่ิมต้นทักทายคุณผู้อ่านด้วยข้อคิดดี ๆ เพ่ือที่จะน�ำทุก
ท่านเข้าสู่บทสัมภาษณ์ของบุคคล 2 ท่าน ซึ่งถือว่าเป็น
ท้ังคนเก่งและคนดีของกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและ
เยาวชนของเรา ทไ่ี ดป้ ระสบความสำ� เรจ็ ในงานหรอื สายอาชพี
ท่ีเขาน้ันด�ำรงอยู่ โดยได้ปฏิบัติหน้าท่ีด้วยความมุ่งม่ันต้ังใจ
เสยี สละ และอทุ ศิ ตนทำ� งานเพอื่ เดก็ และเยาวชน ดงั ชอื่ คอลมั น์
‘มุ่งมนั่ ส่คู วามสำ� เร็จ’

16 วารสารกรมพนิ ิจและค้มุ ครองเด็กและเยาวชน เพ่อื เผยแพรข่ า่ วสารในกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน

นายยทุ ธศกั ดิ์ ส วารสาร
รงุ่ เรอื งนรา
ารพินจิ
ผอู้ ำ� นวยการกองพฒั นา
ระบบงานยุติธรรมเด็กและ ปีที่ 20 ฉบบั ที่ 1 ประจำ� เดือนเมษายน - มถิ นุ ายน ปงี บประมาณ 2565
เยาวชน กองพัฒนาระบบ Department of Juvenile
งานยตุ ธิ รรมเดก็ และเยาวชน Observation and Protection
ได้นิยาม 3 ค�ำ ที่บ่งบอกถึง
ความเป็นตวั ตนไว้ ดังน้ี สิ่งท่ีอยากบอกชาวพินจิ เพ่ือสรา้ ง
แรงบนั ดาลใจในการทำ� งาน คอื ค�ำว่า “ทำ� ให้
สิ่งที่บ่งบอกความเป็นตัวเอง คือ ดที ี่สดุ ” : งานของกรมพินจิ ฯ เปน็ งานท่ยี าก ซบั ซอ้ น และ
ค�ำว่า “เป็นกันเอง” : ผมขอใช้ค�ำนี้เพราะผมมองว่า ไมม่ ีผลสำ� เร็จทแี่ นน่ อน บอ่ ยคร้ังท่ผี มเห็นชาวพนิ จิ หลายคน
ความเปน็ คนทม่ี นี สิ ยั เปน็ กนั เอง ชว่ ยใหเ้ ราสามารถเปน็ มติ ร ที่ท�ำงานกับเด็กและเยาวชนอย่างสุดความสามารถ
ได้กับทุกคน เวลาพูดคุยหรือท�ำงานร่วมกันก็ท�ำให้เราและ เพื่อที่จะท�ำให้เขากลับไปใช้ชีวิตในสังคมได้ บางคนอาจท�ำ
เขารสู้ กึ ไมเ่ กรง็ สนกุ สนานกบั งานหรอื เรอ่ื งทเ่ี ราพดู คยุ กนั ได้ แล้วประสบความส�ำเร็จ หรือไม่ประสบความส�ำเร็จอย่างท่ี
โดยเฉพาะกับเพื่อนร่วมงาน หรือผู้ที่อาวุโสน้อยกว่า คาดหวังไว้ จนรสู้ ึกทอ้ แท้หรือเสยี ใจ ผมอยากบอกชาวพินจิ
หรือผู้ใต้บังคับบัญชา ความเป็นกันเองช่วยให้เรากับเขา เพ่ือเป็นการสร้างแรงบันดาลใจในการท�ำงานด้วยค�ำว่า
ท�ำงานร่วมกันด้วยความเป็นธรรมชาติ การพูดคุย “ทำ� ใหด้ ที สี่ ุด” เมอื่ เราทำ� ส่งิ ทท่ี ำ� อยู่ให้ดที ่สี ดุ แม้วา่ ส่งิ ท่ีได้
สื่อสารในงานท่ีท�ำร่วมกันก็จะง่าย และเข้าใจกัน และ รับกลับมาอาจจะไม่ส�ำเร็จ หรือไม่เป็นไปอย่างท่ีคาดหวังไว้
ที่ส�ำคัญที่สดุ ความเปน็ กนั เองสำ� หรับผมแล้ว ยงั หมายความ แต่เราจะภูมิใจได้ว่าส่ิงที่เราได้ท�ำในเวลาน้ัน เราได้ท�ำ
ถึงการให้เกียรติเขาในฐานะคนท่ีมีเลือดเน้ือ และจิตใจ อย่างดีที่สุด สมบูรณ์ท่ีสุดแล้วเพ่ือเด็กและเยาวชน และ
ไม่ตา่ งจากเรา องค์กรของเรา

สิ่ งที่ บ่งบอกถึงการท� ำงานใน นายประชดิ
กรมพินิจฯ คือ ค�ำว่า “ครอบครัว” : การท�ำงาน ตรงจติ
ในกรมพินิจฯ มีลักษณะเด่นที่บ่งบอกได้ถึงวัฒนธรรม
แบบครอบครัวซ่ึงเป็นการท�ำงานแบบครอบครัวท่ีผู้บริหาร พนักงานพินิจ ส 2
และผู้บังคับบัญชาแต่ละระดับคอยให้ค�ำปรึกษา สนับสนุน ศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและ
หรือช่วยเหลือเหมือนสมาชิกในครอบครัว มีสัมพันธภาพ เยาวชนเขต 9 ไดน้ ิยาม 3 คำ�
ท่ีเป็นกันเอง ท�ำให้การส่ือสารของคนทุกคน ทุกระดับ ที่บ่งบอกถึงความเป็นตัวตน
ของกรมพินิจฯ สามารถท่ีจะสื่อสาร และแสดงออกทาง ไว้ ดงั น้ี
ความคิดเห็นได้ ท�ำให้ทุกคนในองค์กรมีสิทธิที่จะมี สิ่งท่ีบ่งบอกความเป็นตัวเอง คือ
ส่วนร่วมรู้เห็น และตัดสินใจและช่วยกันท�ำงาน ซึ่งก็ส่งผล ค�ำว่า “เรียนรู้” : เพราะการด�ำเนินชีวิตในการท�ำงาน
ต่อการท�ำงานลักษณะทีมท่ีกรมพินิจฯ มีความหลากหลาย ในอดีตที่ผ่านมา ท�ำให้เราได้พบเจอกับส่ิงต่างๆ มากมาย
ทางวิชาชีพในการท�ำงานกบั เดก็ และเยาวชน ท�ำให้เราได้เรียนรู้กับส่ิงเหล่านั้น ในบางครั้งสิ่งที่เราพบเจอ
มันไม่ได้สมหวังดั่งท่ีคิดไว้เสมอไป บางคร้ังท�ำให้เราดีใจ
สุขใจ มีความสุข สนุกสนาน เสียใจ เศร้า ปะปนกนั ไปขนึ้ อยู่
กับเหตุการณ์ที่เกิดข้ึน และเราก็ได้เรียนรู้อยู่กับเหตุการณ์
นั้นๆ ได้ อย่างไม่ต้องเกรงกลัวต่ออุปสรรค แต่เราก็ไม่ได้
ประมาทกับการใช้ชีวิตเม่ือต้องเผชิญกับปัญหา และคิด
อยู่เสมอว่าถ้าเราท�ำสิ่งท่ีดีและถูกต้องแล้ว เราก็จะผ่าน
ปัญหาอุปสรรคไปได้และมีความสุขเสมอเม่ืองานเกิด
ความสัมฤทธ์ิผล

17วารสารกรมพนิ ิจและค้มุ ครองเด็กและเยาวชน เพ่อื เผยแพรข่ ่าวสารในกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน

สวารสาร สิ่งท่ีอยากบอกชาวพินจิ เพ่ือสรา้ ง
แรงบนั ดาลใจในการทำ� งาน คอื คำ� วา่ “ส”ู้ :
ารพินจิ การท�ำงานกับเยาวชนท่ีก้าวพลาด ภายในสถานควบคุม
ซง่ึ ปลายทางของการทำ� งานกเ็ พอ่ื ทจ่ี ะเปน็ การเปดิ โอกาสให้
ปที ่ี 20 ฉบับที่ 1 ประจำ� เดือนเมษายน - มถิ นุ ายน ปงี บประมาณ 2565 เขาเหล่าน้ันได้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตนเอง และกลับไปอยู่
ในชุมชนสังคมได้อย่างปกติสุข สามารถเลี้ยงดูตนเองและ
Department of Juvenile ครอบครวั ไดก้ ถ็ อื วา่ สำ� เรจ็ แลว้ แตก่ วา่ จะถงึ จดุ หมายปลายทาง
Observation and Protection ตามที่เราคาดหวังกต็ ้องเจออุปสรรคมากมาย เพราะเราไม่มี
สูตรส�ำเร็จใดท่ีรับรองได้ว่า หลักสูตรท่ีเขียนขึ้นมาแล้วจะ
ส่ิ งท่ี บ่งบอกถึ งการท� ำงานใน น�ำไปใช้ในการปรับเปลี่ยนแก้ไขพฤติกรรมเด็กและเยาวชน
กรมพินจิ ฯ คือ ค�ำว่า “โอกาส” : การท�ำงานภายใน ท่ีกระท�ำความผิดได้ทุกคน ดังนั้นเราในฐานะคนของกรม
ส ถ า น ค ว บ คุ ม ท่ี มี วั ย รุ ่ น เ ข ้ า ม า รั บ ก า ร ฝ ึ ก แ ล ะ อ บ ร ม พินิจฯ ก็ขอให้ภูมิใจ พอใจกับบทบาทหน้าท่ีของตนเองว่า
ซ่ึงมีอายุระหว่าง 14 - 24 ปี ถือเป็นวัยท่ีมีอิสระเป็นตัว จะท�ำบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของตนเองอย่างเต็ม
ของตัวเอง เป็นวัยหัวเลี้ยวหัวต่อที่กล้าเผชิญปัญหา ความสามารถก็เพียงพอแล้ว ดังน้ัน “เราก็จะสู้และต้ังใจ
ขาดความยับยั้งช่ังใจ อารมณ์แปรปรวน ก้าวร้าว ท�ำงานอย่างเตม็ ที่ และพัฒนาการท�ำงานนตี้ ่อไป” ครบั
เปล่ียนแปลงง่าย การควบคุมอารมณ์ยังไม่ดีนัก วัยนี้
เป็นช่วงวัยที่สามารถเติมเต็มประสบการณ์และการเรียนรู้ เป็นอย่างไรกันบ้างคะ ส�ำหรับนิยามความเป็น
ด้วยตัวเองได้ตลอดเวลา เขาเหล่าน้ันสามารถปรับเปล่ียน ตัวตนของท้ัง 2 ท่าน ท่ีเรียกได้ว่าเหมาะสมกับรางวัล
พฤติกรรมได้ โดยการหยิบย่ืน “โอกาส” ให้กับเขา เม่ือได้ ขา้ ราชการพลเรอื นดีเดน่ อยา่ งแท้จรงิ เช่ือว่าบทสมั ภาษณ์นี้
เห็นเยาวชนกลับไปใช้ชีวิตกับครอบครัวและสังคม หรือ จะเป็นแรงบันดาลใจให้กับทุกท่านในการท�ำงานเพื่อเด็ก
ประสบความส�ำเร็จในชีวิต มันเป็นเหมือนพลังใจ ที่กลับมา และเยาวชนได้เป็นอย่างดี และส�ำหรับสารพินิจฉบับหน้า
ท�ำให้เรามีความมุ่งมั่นที่จะท�ำงานแก้ไขปัญหาให้กับ เราจะน�ำเร่ืองราวดี ๆ เร่ืองใดมาเล่าสู่กันฟังอีก อย่าลืม
เยาวชนต่อไป ติดตามกนั ตอ่ นะคะ ^^

สมั ภาษณ์/เรยี บเรียง : จรุ พี ร โพธฆิ ัมพร นกั ประชาสมั พันธ์ช�ำนาญการ
กภลาุ่มพปประรชะกาสอัมบพ:นั อธม์แรลชะยั ส่ือศสราเี สรืออลงคาก์นรนสักำ� วนิชกั างกาานรเโลสขตาทนศั ุกนาศรกึกษรมา

18 วารสารกรมพนิ ิจและค้มุ ครองเด็กและเยาวชน เพ่อื เผยแพรข่ ่าวสารในกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน

ส วารสาร

ารพินจิ

ปที ่ี 20 ฉบับท่ี 1 ประจำ� เดือนเมษายน - มถิ นุ ายน ปีงบประมาณ 2565
Department of Juvenile
Observation and Protection

อีสปอรต์
ประเทศไทย:

โอกาสใหมข่ องเด็ก
และเยาวชน

นกนเรลักายี ่มุยวบชินพเารนฒั กยี ทนางฤร:าทอระบธบิ์รมบมาแงเาลนนะยี กฝมากึ รวศิชกึ าษชาพี แปลฏะิบฝตักึ กิวาิชราชพี

กีฬาอีสปอรต์ คืออะไร ประเทศไทย คือ ทีม “109 Compgamer Xunwu”
eSports (Electronic sports) คอื การแขง่ ขนั กฬี า นับเป็นประวัติศาสตร์หน้าใหม่ของวงการอีสปอร์ตไทย
รูปแบบหนึ่งที่ใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เช่น คอมพิวเตอร์ ในการเข้าร่วมการแขง่ ขันระดับนานาชาตเิ ปน็ ครั้งแรก
โทรศพั ท์ เมาส์ หรือหฟู งั ในการแขง่ ขนั แทนที่จะใชอ้ ุปกรณ์ มูลค่าอีสปอรต์ โลก
ด้านกีฬาอย่าง ลูกบอล ไม้เทนนิส หรือไม้กอล์ฟ โดยกีฬา และอสี ปอรต์ ไทย
อีสปอร์ตสามารถแข่งขันได้ทั้งรูปแบบเด่ียวและแบบทีม วงการอีสปอร์ตโลกเติบโตข้ึนอย่างมากในช่วง
ประเภทของเกมท่ีใช้จัดการแข่งขันนั้นหลากหลาย แต่รูป หลายปที ผี่ า่ นมา ดงั จะเหน็ ไดจ้ ากเงนิ รางวลั ทเ่ี พม่ิ สงู ขน้ึ มาก
แบบที่คนไทยคุ้นเคยอยู่ในรูปแบบของเกมยิงปืน เช่น โดยข้อมูลล่าสุดจาก Statista ระบุว่าปี พ.ศ. 2564
Counter Strike เกมท�ำลายป้อมปราการ เช่น Dota 2 eSports จะมรี ายไดท้ ัว่ โลกรวมกันสงู ถึง 1 พนั ลา้ นดอลลาร์
หรือ เกมเอาชีวิตรอดแนว Battle Royale เช่น Fortnite สหรัฐหรือกว่า 3 หม่ืนล้านบาท ส่วนในแง่ของผู้ชมก็พบว่า
PUBG หรือ PES 2020 โดยถา้ ผ้เู ลน่ ชนะการแข่งขนั กม็ สี ิทธ์ิ มมี ากกวา่ 470 ล้านคน และภายในอีก 3 ปขี า้ งหน้าคาดว่า
ได้รับเงินรางวัล ซึ่งมูลค่าก็แตกต่างกันไปตามประเภทของ รายได้จะเพิ่มขึ้นในระดับ 1.6 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือ
เกมและขนาดของการแขง่ ขัน ราว 5 หมนื่ ล้านบาท และมผี ชู้ มอยู่ท่ี 577 ล้านคน
การแขง่ ขนั อสี ปอรต์ ในเมอื งไทยเรม่ิ เปน็ ทแ่ี พรห่ ลาย
ในปี พ.ศ. 2543 ซ่ึงเกมที่ได้รับความนิยมและใช้แข่งขัน
คอื เกมยงิ ปนื Counter - Strike ตอ่ มาในปี พ.ศ. 2544 ไดม้ ี
การจัดแข่งขันชิงแชมป์ประเทศไทยข้ึน โดยมีช่ือรายการว่า
CS All Thailand รายการนี้ถือเป็นรายการใหญ่ระดับ
ประเทศรายการแรก และเป็นจุดก�ำเนดิ ของการแข่งขนั เกม
Counter - Strike อีกหลายรายการ หน่ึงในน้ันคือ
การแข่งขันรอบคัดเลือกตัวแทนประเทศไทยไปแข่งขัน
รายการ World Cyber Games โดยทีมท่ีได้เป็นตัวแทน

19วารสารกรมพนิ ิจและค้มุ ครองเด็กและเยาวชน เพ่อื เผยแพรข่ ่าวสารในกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน

สวารสาร ระบบ เปิดโอกาสทางอาชีพในวงการอีสปอร์ตมากมายอาทิ
นกั กฬี า ผ้จู ดั การแขง่ ขนั ผ้ตู ัดสิน ช่างเทคนคิ นกั การตลาด
ารพินจิ เป็นต้น อีกท้ังสถาบันการศึกษาหลายแห่งของประเทศไทย
ได้เริ่มหันมาสนใจในหลักสูตรพัฒนาทักษะกีฬาอีสปอร์ต
ปที ่ี 20 ฉบับที่ 1 ประจำ� เดือนเมษายน - มถิ นุ ายน ปีงบประมาณ 2565 ให้กับผู้เรียนมากขึ้น เช่น วิทยาลัยการคอมพิวเตอร์
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เปิดหลักสูตร “คนกล้า
Department of Juvenile ท้าอีสปอรต์ (E-Sport Challenge)” ให้ประชาชนทั่วไปได้
Observation and Protection ลงทะเบียนเรียนโดยไม่มีค่าใช้จ่าย หรือโรงเรียนสิรินธร
จังหวัดสุรินทร์ ได้ด�ำเนินการหารือเพื่อสร้าง ห้องเรียน
“ บ า ง ค น ม อ ง ว่ า เร า ส่ ง เส ริ ม อีสปอร์ต น�ำมาสู่การด�ำเนินการออกแบบ ตกแต่ง
นั กเรียนเดิ นในทางท่ี ผิ ด แต่ และจัดหาอปุ กรณ์ ภายใตง้ บประมาณกวา่ 1.5 ลา้ นบาท
อยากให้ลองเปิดใจมองว่าเขา อีสปอร์ตเริ่มต้นจากเป็นเกมธรรมดาในเวลาว่าง
มีความสามารถพิ เศษ ก� ำลั ง พัฒนาสู่การเล่นเกมแบบมืออาชีพ ต้องอาศัยทักษะ
ส นั บ ส นุ น ใ ห้ เข า เ ดิ น ไ ป บ น ท า ง เฉพาะทางมากกว่าผู้เล่นท่ัวไป มีผู้จัดการทีม มีครูฝึกสอน
ที่ถูก เพราะการเล่นอีสปอร์ต จดั การแขง่ ขนั เดนิ ทางไปแขง่ ในระดบั ประเทศ ระดบั ภมู ภิ าค
เป็นทักษะที่พัฒนาและแบ่งปันได้ จนถึงระดับโลก มีสปอนเซอร์เข้ามาสนับสนุนงบประมาณ
เหมอื นกีฬาอ่นื ” มีเงินรางวัล ค่าตัวนักกีฬา รวมไปถึงผลประโยชน์อ่ืนๆ
ท่ีได้รับอย่างมหาศาล จะเห็นได้ว่า ในวงการ อีสปอร์ต
สรวิศณ์ นพพงศ์สิรเิ ดช ประเทศไทยน้ันยงั มพี ้ืนทส่ี �ำหรับอาชีพ โอกาส และอนาคต
ผู้อ�ำนวยการโรงเรยี นสิรนิ ธร ส�ำหรับเด็กและเยาวชนไทยให้เติบโตอีกเป็นจ�ำนวนมาก
นับเป็นโอกาสท่ีน่าจับตามองหากพวกเขาได้รับโอกาสใน
ผศ.ดร.ณัฐพล นิมมานพัชรินทร์ ผู้อ�ำนวยการ การฝึกฝนทักษะหรือประกอบอาชีพท่ีเก่ียวข้องกับวงการน้ี
ส�ำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล (Depa) ได้ให้ข้อมูลใน ซึ่งเป็นกระแสหลักส�ำหรับอุตสาหกรรมบันเทิงแห่งโลก
งานเสวนา META Thailand 2022: eSports & Digital Life อนาคต นอกจากน้ี การพัฒนาอย่างก้าวกระโดดของ
ไว้ว่าอุตสาหกรรมดิจิทัลในเมืองไทยเติบโตมีมูลค่าทาง อุปกรณ์เทคโนโลยีจะเป็นคันเร่งให้อุตสาหกรรมเกมไทย
การตลาด 7 แสนล้านบาท แบ่งเป็นอุตสาหกรรมดิจิทัล เติบโตอย่างไม่หยุดยั้ง ซ่ึงตลอดเวลาที่ผ่านมา มีทั้งภาครัฐ
อุตสาหกรรมเทเลคอม และอื่นๆ โดยมีอัตราการเติบโตใน และภาคเอกชนต่างยื่นมือเข้ามาสนับสนุนและพัฒนา
อตุ สาหกรรมดจิ ทิ ลั รอ้ ยละ 14 - 15 ถอื เปน็ อตั ราการเตบิ โต วงการอีสปอร์ตประเทศไทยให้เติบโตสู่สากล และปฏิเสธ
แบบก้าวกระโดด โดยอุตสาหกรรมเกมไทยมีมูลค่าสูงถึง ไม่ได้ว่าเด็กและเยาวชนในกระบวนการยุติธรรมปีละกว่า
3.4 หมนื่ ลา้ นบาท คดิ เปน็ การเตบิ โตมากถงึ รอ้ ยละ 15 - 16 หน่ึงหมื่นคนนั้น จะต้องเป็นก�ำลังส�ำคัญในการขับเคลื่อน
มีอัตราผู้เล่นเกมเพ่ิมขึ้นร้อยละ 14 สร้างผู้พัฒนาเกมเป็น วงการเกมไทยสู่สายตานานาชาติไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง
ต้นน้�ำของอุตสาหกรรมเกมจำ� นวนมาก ไม่ว่าจะเป็นผู้เล่น ผู้แข่งขัน หรือผู้จัด พวกเขาจะได้เป็น
และเมื่อเทียบกับตลาดโลก ปัจจุบัน ส่วนหนึ่งของวงการอีสปอร์ตประเทศไทยในอนาคตอย่าง
ประเทศไทยมคี นเลน่ เกม 27 ล้านคน แน่นอน
คดิ เปน็ รอ้ ยละ 30 ของจำ� นวประชากร
ทงั้ หมด สง่ ผลใหอ้ ตุ สาหกรรมอสี ปอรต์ แหลง่ ข้อมลู : อีสปอร์ตไทย จากอดีตสปู่ ัจจบุ นั , ประวตั ิ E-sport การแข่งขันเกม
โดยรวมของประเทศไทยเตบิ โตขน้ึ สรา้ งรายได้, ‘อีสปอรต์ ไทย’ สสู่ ากล สร้างอาชีพ-ไม่ใชเ่ ดก็ ติดเกม, eSports หนทาง
อยา่ งรวดเรว็ ในชว่ ง 2 ปที ผี่ า่ นมา
อีสปอรต์ : อาชพี โอกาส อนาคต ส่กู ารเปน็ เศรษฐขี องเด็กติดเกม, โอกาสของ E-Sport ของไทย
รัฐบาลไทยได้สนับสนุนให้กีฬาอีสปอร์ตเป็นกีฬา เมอ่ื จีนส่งั Crackdown ธรุ กิจเกม, เดก็ ไทยเลน่ เกมออนไลน์สูงสุดเกิน 8 ช่วั โมง/วัน
อาชพี อยา่ งเปน็ ทางการในวนั ที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2560 น�ำหนงึ่ คือ ROV, มองอนาคต อสี ปอรต์ ไทย, ยกสนาม e-Sports มาไว้ในโรงเรียน
ซึ่งท่ีประชุมคณะกรรมการการกีฬาแห่งประเทศไทยได้
เหน็ ชอบใหอ้ สี ปอรต์ เปน็ ชนดิ กฬี า ทส่ี ามารถจดทะเบยี นจดั ตงั้ หนนุ สายเกมเมอร์พฒั นาส่อู าชีพ
เปน็ สมาคมกฬี าในประเทศไทยได้ และไดร้ บั การลงนามอนมุ ตั ิ ภาพอา้ งองิ : <a href=’https://www.freepik.com/photos/
อยา่ งเปน็ ทางการจากรฐั มนตรวี า่ การกระทรวงการทอ่ งเทยี่ ว
และกีฬาในวันที่ 17 ตุลาคม พร้อมทั้งเปล่ียนชื่อเป็น pc-gamer’>Pc gamer photo created by Lifestylememory -
“สมาคมกีฬาอีสปอร์ตแห่งประเทศไทย” ซึ่งได้เปิดตัว www.freepik.com</a>
อย่างเป็นทางการเมื่อวันท่ี 21 ธันวาคมในปีเดียวกัน
เพื่อส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาสมาคมกีฬาอาชีพ สโมสร
อาชีพ นักกีฬาอาชีพ และบุคลากรกีฬาอาชีพท่ีเก่ียวข้อง
ตามกฎหมาย รวมไปถึงการจัดเก็บภาษีเข้ารัฐอย่างเป็น

20 วารสารกรมพนิ ิจและค้มุ ครองเด็กและเยาวชน เพ่อื เผยแพรข่ า่ วสารในกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน

ผัก–ผลไม้ ส วารสาร

ตา้ นโควดิ มอี ะไรบา้ ง ารพินจิ

ชนิดไหนมีสรรพคุณอย่างไร ปีท่ี 20 ฉบับท่ี 1 ประจำ� เดือนเมษายน - มถิ นุ ายน ปีงบประมาณ 2565
อา่ นเลยที่นี่มีค�ำตอบ ... ! Department of Juvenile
Observation and Protection

ผักผลไมส้ ีแดง สารต้านอนุมูลอสิ ระสูง ผักผลไม้สีขาว สรรพคณุ หลากหลาย

ฝร่ังแดง เป็นผลไม้ที่มีสารไลโคปีนท�ำหน้าที่ต้าน กระเทียม ขึ้นชื่อเร่ืองสารอัลลิซินซึ่งเป็นสารท่ีช่วย
อนุมูลอิสระ สามารถชะลอความเส่ือมประสิทธิภาพของ ฆา่ เชอ้ื แบคท่ีเรียได้ ผกั และผลไมส้ ีขาวจะมอี ลั ลซิ ินมากทสี่ ุด
รา่ งกาย และลดภาวะความผดิ ปกตขิ องเซลล์ ในทางการแพทย์ นอกจากน้ีกระเทียมยังช่วยลดปริมาณไขมัน ต่อต้านมะเร็ง
ฝรัง่ แดงเปน็ ผลไมท้ ่ใี ชผ้ สมกับยาต้นตำ� รบั สมนุ ไพรมากมาย และต้านการเจริญเติบโตของจุลชีพต่างๆ และยังสามารถ
แตงโม เป็นผลไม้ที่อุดมไปด้วยแร่ธาตุท่ีสามารถ ป้องกันโรคปอดอักเสบและเพ่ิมเซลล์ภูมิคุ้มกันของร่างกาย
ป้องกันการสะสมของไขมัน ช่วยลดอาการไข้ รวมถึงรักษา ไดอ้ ีกดว้ ย
แผลในปากและเป็นหนึ่งในผลไม้ท่ีมีสารไลโคปีนซึ่งช่วย เห็ด ชนิดต่างๆ โดยอธิบดีกรมแพทยแ์ ผนไทยและ
สร้างภูมิคุ้มกันแก่ร่างกายสูง สรรพคุณท่ีน่าสนใจคือการ การแพทย์ทางเลือกแนะน�ำให้ทานเพ่ือป้องกันโควิด-19
บรรเทาอาการปวดกล้ามเนื้อ เพิ่มประสิทธิภาพการมอง เนอ่ื งจากเหด็ นน้ั มฤี ทธส์ิ รา้ งภมู ติ า้ นทาน คอยดแู ลและปอ้ งกนั
เหน็ รวมไปถงึ การชว่ ยบำ� รงุ สมอง รา่ งกายไมใ่ หต้ ดิ เชอื้ เพราะเหด็ มสี ารทก่ี ระตนุ้ ใหเ้ มด็ เลอื ดขาว
มะเขือเทศ เป็นผักท่ีข้ึนชื่อเรื่องสารต้านอนุมูล ก�ำจัดเชื้อโรคต่างๆ ข้อพิเศษคือ เห็ดสามารถตอบโจทย์
อิสระ นอกจากจะชะลอความแก่และท�ำให้ผิวพรรณ การปอ้ งกนั โควดิ -19 ของคนทไ่ี มอ่ ยากบรโิ ภคผกั ผลไมฤ้ ทธริ์ อ้ น
เปล่งปลั่งแล้วยังมีสรรพคุณในการลดความเหนื่อยล้า เชน่ ขงิ ขา่ หอมหวั ใหญท่ ที่ านยากและมกี ลน่ิ แรง
ออ่ นเพลยี ทง้ั ยงั เสรมิ สรา้ งภมู ติ า้ นทานใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพสงู มังคุด โดยมากผักผลไม้สีขาวมักมีสารแซนโทน
เม่ือบริโภคในปริมาณมากจะท�ำให้ไม่เป็นหวัด และหาย ซงึ่ คอื หนงึ่ ในสารตน้ อนมุ ลู อสิ ระ จะพบมากในมงั คดุ โดยทำ� หนา้ ท่ี
จากอาการปว่ ยง่ายขึน้ ยับยั้งสารอนุมูลอิสระท่ีท�ำให้ร่างกายเสื่อมสภาพจากการ
นอกจากนี้ผักผลไม้สีแดงยังมีแอนโทไซยานิน ใชร้ า่ งกายอยา่ งหนกั และสามารถเชอื่ มโยงกบั การเสรมิ สรา้ ง
ท้ังยังมีประสิทธิภาพการต้านอนุมูลอิสระสูงกว่าวิตามินซี ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย กระตุ้นการท�ำงานของ
และวิตามนิ อถี งึ 2 เทา่ รวมถงึ สามารถยบั ยง้ั การเกดิ โรคใน เม็ดเลือดขาวให้มีประสิทธิภาพเพ่ือก�ำจัดเชื้อโรคได้ด้วย
ระบบทางเดนิ อาหาร ลดอตั ราเส่ียงการเป็นโรคหัวใจ ไขมนั นอกจากนยี้ งั มผี กั ผลไมส้ ขี าวทใี่ หป้ ระโยชนม์ ากกวา่
อดุ ตนั ในเสน้ เลอื ด และยงั สามารถชว่ ยตา้ นไวรสั ไดด้ อี กี ดว้ ย ทก่ี ลา่ วมาขา้ งตน้ ดว้ ย เชน่ ถวั่ เหลอื ง ขงิ ขา่ หวั ไซเทา้ งาขาว
โดยยังมีผักผลไม้สีแดงอ่ืนๆ ที่น่าสนใจและมีให้เลือกทาน หอมหวั ใหญ่ ดอกกะหลำ่� มฤี ทธ์ชิ ่วยลดอาการอกั เสบ รักษา
อกี มาก เชน่ กระเจยี๊ บแดง มะละกอ หวั บตี รตู สตรอวเ์ บอรร์ ี ระดับน�้ำตาลในเลือดและลดอัตราเส่ียงการเกิดมะเร็ง
พริกหวานแดง หอมแดง กะหลำ�่ แดง เปน็ ตน้ บางชนิดอีกด้วย

ผักผลไมส้ ีเขียว สารคลอโรฟลิ ล์ต้านเช้อื ไวรสั โควดิ -19

มะขามปอ้ ม มะขามป้อมเปน็ ผลไมว้ ติ ามินซสี ูง ซึ่งวติ ามนิ ซเี มือ่ บรโิ ภคในปริมาณมากๆ จะชว่ ยยบั ยงั้ อาการหวัดและ
ทำ� ใหห้ ายจากอาการป่วยได้เร็วข้นึ โดยการบริโภคผกั ผลไม้วติ ามนิ สูงจะชว่ ยยบั ย้ังการติดเชื้อโควดิ -19 ได้
บรอ็ คโคลี่ มสี ารทช่ี ว่ ยกระตนุ้ เอมไซนท์ ใ่ี ชล้ า้ งพษิ ในรา่ งกายใหท้ ำ� งานอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ อกี ทงั้ ชว่ ยปอ้ งกนั ไมใ่ หเ้ กดิ
โรคปอดร้ายแรง รวมถึงชว่ ยปอ้ งกันโรคหอบหืด ภูมแิ พต้ า่ งๆ ดว้ ย
ผลไม้สีเขียว เป็นผักผลไม้ท่ีหาทานได้ง่ายท่ีสุด โดยหาซ้ือได้ตามท้องตลาดทั่วไปทั้งยังมีราคา จึงเป็นกลุ่มผักท่ีเหมาะ
แก่การนำ� มาประกอบอาหารมากทสี่ ดุ ด้วยคุณประโยชนม์ ากมายที่ช่วยต้านเช้ือโควิด-19 ได้ อดุ มไปดว้ ยคลอโรฟิลล์และเบต้า
แคโรทีนมีส่วนช่วยในการเสริมสร้างภูมิต้านทานของร่างกาย ตัวอย่างของผักผลไม้สีเขียว เช่น ผักคะน้า ผักโขม กวางตุ้ง
กะหล�่ำปลี ชะอม แอปเปิ้ลเขียว แตงกวา อีกท้ังยังมีแร่ธาตุ แคลเซียม ซึ่งพบมากใน ใบยอ ใบชะพลู ผักแพว ยอดแค
ยอดกระถิน ผักกระเฉด ยอดสะเดา เป็นต้น นอกจากนี้ผักผลไม้สีเขียวยังมีกากใยอาหารสูงจึงช่วยเพ่ิมประสิทธิภาพ
การทำ� งานของระบบขับถ่ายนนั่ เอง

21วารสารกรมพนิ ิจและค้มุ ครองเด็กและเยาวชน เพ่อื เผยแพรข่ า่ วสารในกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน

สวารสาร ผักผลไม้สีมว่ ง ประโยชน์ป้องกัน
โควดิ -19 เต็มเป่ ยี ม
ารพินจิ
แก้วมังกร มีสารไลโคปีนสูงซึ่งเป็นสารต้านอนุมูล
ปที ่ี 20 ฉบบั ที่ 1 ประจำ� เดือนเมษายน - มถิ นุ ายน ปีงบประมาณ 2565 อิสระอีกตัว โดยมีความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระสูง
กว่าวิตามินอีถึง 100 เท่า จึงเป็นผลไม้ตัวเลือกส�ำหรับ
Department of Juvenile คนไม่ชอบผลไม้รสเปร้ียว โดยแก้วมังกรสีแดงสามารถช่วย
Observation and Protection ยับยั้งการแพร่เชื้อของโควิด-19 ในร่างกายได้และยังอุดม
ด้วยไฟเบอรช์ ว่ ยแก้ท้องผกู ไดด้ อี ีกด้วย
ผักผลไม้สีเหลือง-ส้ม เบต้าแคโรทีนสูง ผลไมต้ ระกลู เบอรร์ ่ี เปน็ ผลไมร้ สเปรยี้ ว อดุ มไปดว้ ย
ฟกั ทอง เปน็ ผกั ผลไมท้ มี่ เี บตา้ แคโรทนี สงู มสี ว่ นชว่ ย วิตามินหลากหลายชนิดมากพอๆ กับส้ม และผลไม้ตระกูล
เสรมิ ระบบภมู คิ มุ้ กนั ชว่ ยใหร้ า่ งกายตอ่ ตา้ นสงิ่ แปลกปลอมไดด้ ี เบอร์รียังช่วยลดความเส่ียงการติดเชื้อไวรัสและแบคทีเรีย
ทั้งเช้ือโรค ไวรัส แบคทีเรียต่างๆ รวมถึงการป้องกัน รวมถึงช่วยป้องกันไข้หวัด ซ่ึงเบอร์รี่บางชนิดมีสารต้าน
โควิด-19 ดว้ ยเช่นกัน อนมุ ูลอิสระสูงย่งิ กว่ามะเขอื เทศเสียด้วย
ส้ม ผลไมว้ ิตามินสูง อดุ มไปดว้ ยวิตามนิ หลายชนดิ กะหล�่ำปลีม่วง เป็นกะหล�่ำปลีท่ีมีวิตามินซีสูง
ท้ังวติ ามนิ ซี ชว่ ยปอ้ งกนั อาการป่วยไขห้ วัด รวมถึงวติ ามนิ ดี ซงึ่ สงู กวา่ กะหลำ่� ปลีสเี ขยี วถงึ 2 เท่า มสี ารตา้ นอนุมูลอสิ ระ
ที่ช่วยป้องกันการติดเชื้อต่างๆ และวิตามินเอช่วยในเรื่อง ซง่ึ ชว่ ยเสรมิ การทำ� งานของเมด็ เลอื ดขาวใหส้ ามารถตรวจจบั
ของการติดเชื้อทางเดินหายใจ ซ่ึงสม้ สามารถช่วยใหส้ ขุ ภาพ สง่ิ แปลกปลอมและปอ้ งกันรา่ งกายจากโควดิ -19 ได้ เพราะ
ของเราตอ่ ต้านสง่ิ เหลา่ น้ีได้ ผักผลไม้สีม่วง เป็นผักผลไม้อีกชนิดที่มีแอนโทไซยานินสูง
แคนตาลูป เป็นผลไม้ท่ีมีวิตามินเอมากที่สุด ช่วยให้ร่างกายสร้างสารต้านอนุมูลอิสระได้อย่าง
ในบรรดาผลไม้ จงึ ชว่ ยเรอ่ื งการตอ่ ตา้ นอาการอกั เสบ ปอ้ งกนั มีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ยังช่วยลดอาการอักเสบและ
การตดิ เชอ้ื ในระบบทางเดนิ อาหารและระบบทางเดนิ หายใจ ต้านเชื้อไวรัสได้ แม้ผักผลไม้สีม่วงจะไม่เป็นที่นิยมมากนัก
ผักผลไม้สีเหลืองที่สามารถป้องกันโควิด-19 ยังมี แต่เป็นผักผลไม้ที่มีคุณประโยชน์สูงมากโดยเฉพาะผลไม้
อีกหลายชนิด เช่น แครอท หน่อไม้ฝร่ัง ข้าวโพดอ่อน ตระกูลเบอร์ร ่ี
มะม่วงสุก มะละกอสุก แตงไทย ซึ่งมีสรรพคุณช่วย นอกจากนี้ยังมี แรดีช ข้าวโพดสีม่วง มะเขือม่วง
เสริมสร้างสุขภาพร่างกายให้แข็งแรงไม่แพ้ผักผลไม้ชนิดอื่น องุ่น เกรปฟรุต ซ่ึงก็เป็นผลไม้ท่ีมีวิตามินสูง มีส่วนช่วย
มรี สชาตหิ วาน ทานงา่ ยจงึ เหมาะสำ� หรบั คนทไ่ี มช่ อบทานผกั ปอ้ งกนั อาการหวดั และทำ� ใหร้ า่ งกายตดิ เชอ้ื ไดย้ ากขนึ้ ซง่ึ ชว่ ย
แต่ต้องการสร้างภูมคิ มุ้ กนั ใหร้ ่างกายเพื่อปอ้ งกันโควิด-19 ท�ำให้ร่างกายป้องกนั ตัวเองจากการติดเชอ้ื โควิด-19 ได้

แม้ว่าโควิด-19 ยังเป็นเชื้อไวรัสท่ีไม่สามารถหายา เแรหยี บลง่เรขยี อ้ งม:ูลวก่า:ลทhมุ่ ่รีtปt้อpรยsะต:ช/ร/าีหwสญมัwิงพwอนั .ัสtธศhแ์ มิaลnาะsสคeือ่งัtชสtaะาkรนiอjนั.cงoคนmก์ ักรว/ิเgสคeำ� รnนาeักะrหงaาน์lน-โnเยลeบขwาาsยน/แ5ุกล2าะ1รแก7ผ5รนม1
รักษาได้แน่นอน และไม่มีผักผลไม้ หรืออาหารประเภทใด
ที่มีข้อบ่งช้ีชัดเจนว่าเม่ือบริโภคแล้วจะไม่ติดเชื้อโควิด-19
แต่เราสามารถป้องกันโควิด-19 โดยการบริโภคส่ิงท่ีสร้าง
ภูมิต้านทานแก่ร่างกาย เช่น การรับประทานอาหารท่ีมี
ประโยชน์ หากเป็นไปได้ก็ควรบริโภคผักผลไม้ให้ครบทั้ง
5 สี เพราะมีคุณประโยชน์ท่ีหลากหลาย และบางชนิด
ยังสามารถลดอาการอักเสบ ป้องกันโรคเกี่ยวกับปอดและ
ต้านการติดเช้ือในระบบทางเดินหายใจ หากทานผักผลไม้
ได้ครบทั้ง 5 สีน้ัน ก็จะท�ำให้ร่างกายแข็งแรงสามารถต่อสู้
กับเชื้อโรค ป้องกันโควิด-19 ได้ดียิ่งข้ึน เนื่องจากไวรัส
โควิด-19 ยังเป็นไวรัสท่ีต้องรักษาตามอาการ มีหลาย
สายพันธุ์ แม้จะมีวัคซีนท่ีช่วยป้องกันแล้วก็ตาม แต่ยังไม่มี
อะไรการันตีแน่ชัดว่าวัคซีนจะมีประสิทธิภาพป้องกันได้
100% ดังนั้นการสร้างภูมิต้านทานป้องกันโควิด-19 ให้แก่
รา่ งกายจึงสำ� คญั มากทเี ดยี ว

22 วารสารกรมพนิ ิจและค้มุ ครองเด็กและเยาวชน เพ่อื เผยแพรข่ ่าวสารในกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน

ส วารสาร

ารพินจิ

ปีท่ี 20 ฉบบั ที่ 1 ประจำ� เดือนเมษายน - มถิ นุ ายน ปีงบประมาณ 2565
Department of Juvenile
Observation and Protection

ขอ้ ควรรเู้ กย่ี วกบั วนิ ยั

ตอน แนวทางการลงโทษ กรณลี กั ทรพั ย์

โดย กองบรหิ ารทรพั ยากรบุคคล กลมุ่ วนิ ัย

คแ่าอคาน่ หคี้ างรจสะปัพดอานหะน์ ้ี

มเี สงบนิ าไปยแเทลย่ี ว้ วเรแาลว้ เงินหาย!!

ผอ.คะ...เงินของหนูทีไ่ ว้ในลอ็ คเกอร์หายไปค่ะ?! ผมเหเป็นิดวก่าคลุณ้องขวโงมจยรเปงินดิ แไปละ เปขน็ ผออมโาไทรมษมต่ ณคัง้ รใ์ชบัจว่ั !วูบ
เเงจมนิา้เาหรหดานผูกาจยมา้ละทไจอ้ ไปที่ะดงไแวีเ่ร้ ดกงูก้จ้อี่ยจันง้ ยรววา่ปข่างอ้ิดไงร

ขอบพระคุณคะ่ ผอ. วนิ แยั รตา้กค่ ยาณุใแรหเกรเ้ปยรงน็ะาวทดจชงัำ� นนนขทอน้ั แง.โคทมตณุคษ้อ้ ณุงขเเอจปปะงนน็็ คไมกแณุ ไา่บดครบต้อกื องร้ั ใะปยจทา่ลงำ�ดผอดิ อก!

จากตัวอย่าง พฤติการณ์ดังกล่าวเป็นการกระท�ำผิดวินัยอย่างร้ายแรง สามารถอา่ น
ฐานเป็นลูกจ้างประจ�ำกระท�ำการอันได้ชื่อว่าเป็นผู้ประพฤติชั่วร้ายแรง กรณีศึกษาอ่นื ๆ
ตามข้อ 46 วรรคสอง ของระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยลูกจ้างประจ�ำของ เพม่ิ เติมได้ทาง
ส่วนราชการ พ.ศ. 2537 และเป็นการละเมิดมาตรการรักษาความปลอดภัย
ของทรัพย์สินอันเป็นส่ิงของต้องห้ามท่ีไม่อนุญาตให้น�ำเข้าไปในสถานที่ควบคุม QR Code
ซ่ึงเป็นส่วนหน่ึงของการป้องกันส่ิงของต้องห้ามน�ำเข้าไปในสถานที่ควบคุมตาม
ระเบยี บกรมพนิ จิ และคมุ้ ครองเดก็ และเยาวชน พ.ศ.2556

ดงั นน้ั โทษ คอื ปลดออก

23วารสารกรมพนิ ิจและค้มุ ครองเด็กและเยาวชน เพ่อื เผยแพรข่ ่าวสารในกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน

สวารสาร

ารพินจิ

ปีท่ี 20 ฉบับท่ี 1 ประจำ� เดือนเมษายน - มถิ นุ ายน ปีงบประมาณ 2565

Department of Juvenile
Observation and Protection

“คเดรว้านทยำพ�หควั วนิใจามจิ ดฯี ”
โดย กลมุ่ ชว่ ยอำ�นวยการ
และเลขานกุ ารผบู้ รหิ าร

กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนได้ด�ำเนินงานจิตอาสาภายใต้แนวคิด “คนพินิจฯ เราท�ำความดีด้วยหัวใจ”

โดยมีนายโกมล พรมเพ็ง รองอธิบดีกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน เป็นประธานคณะท�ำงานฯ ซ่ึงการด�ำเนินงาน
จิตอาสาน้ัน กรมพินิจฯ ได้ด�ำเนินการมาอย่างต่อเนื่องเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานโครงการจิตอาสาของกระทรวงยุติธรรม
ให้ส�ำเร็จลุล่วงตามเป้าหมายที่ก�ำหนด รวมท้ังเป็นการสนับสนุนการด�ำเนินการตามภารกิจจิตอาสาพระราชทานให้เป็นไปด้วย
ความเรยี บรอ้ ย

ศูนยฝ์ ึกและอบรมเด็กและเยาวชนชายบา้ นอเุ บกขา
วันที่ 8 มกราคม 2565 เจ้าหน้าที่พร้อมเยาวชนศูนย์ฝึกและอบรมชายบ้านอุเบกขา
ร่วมกันท�ำความสะอาด และก�ำจัดวัชพืชน�้ำในบ่อ เพื่อท�ำความสะอาด ส่งผลให้บริเวณบ่อน้�ำ
มีความร่มร่ืน น่ามอง ณ ศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชนชายบ้านอุเบกขา ต�ำบลคลองโยง
อำ� เภอพทุ ธมณฑล จงั หวัดนครปฐม

สถานพินจิ และคมุ้ ครองเดก็ และเยาวชนจงั หวดั พังงา
วันที่ 17 มกราคม 2565 เจ้าหน้าที่พร้อมเด็กและเยาวชน ร่วมกัน
เก็บขยะบริเวณหลังส�ำนักงานสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน
จังหวัดพังงา เพ่ือพัฒนาพ้ืนท่ีโดยรอบให้สะอาด สวยงาม ณ สถานพินิจและ
คมุ้ ครองเดก็ และเยาวชนจงั หวดั พงั งา ตำ� บลถำ�้ นำ�้ ผดุ อ�ำเภอเมือง จงั หวดั พงั งา

24 วารสารกรมพนิ ิจและค้มุ ครองเด็กและเยาวชน เพ่อื เผยแพรข่ ่าวสารในกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน

ส วารสาร

ารพินจิ

ปีที่ 20 ฉบบั ท่ี 1 ประจำ� เดือนเมษายน - มถิ นุ ายน ปีงบประมาณ 2565
Department of Juvenile
Observation and Protection

ศูนยฝ์ ึกและอบรมเด็กและเยาวชนจงั หวดั สมุทรปราการ
วันท่ี 12 กุมภาพันธ์ 2565 เด็กและเยาวชนจ�ำนวน 13 คน ร่วมท�ำกิจกรรม
จิตอาสา โดยการท�ำความสะอาดเรือนนอน และพัฒนาพ้ืนที่รอบเรือนหอ 3
และเป็นจิตอาสาตัดผมให้เพ่ือนเยาวชน ก่อให้เกิดความสามัคคี ณ ศูนย์ฝึกและอบรม
เด็กและเยาวชนจังหวดั สมทุ รปราการ ตำ� บางปลา อำ� เภอบางพลี จังหวดั สมุทรปราการ

สถานพินจิ และคมุ้ ครองเดก็ และเยาวชนจงั หวดั ประจวบครี ขี นั ธ์
วันที่ 15 มีนาคม 2565 เจา้ หน้าทส่ี ถานพนิ ิจฯ และกรรมการสงเคราะหฯ์
ร่วมกับสำ� นกั งานคุมประพฤตจิ งั หวัดประจวบคีรีขนั ธ์ รว่ มกจิ กรรมการบรจิ าคโลหิต
เนื่องในโอกาสครบรอบ 30 ปี กรมคุมประพฤติ ณ โรงพยาบาลประจวบคีรีขันธ์
ตำ� บลประจวบคีรขี ันธ์ อ�ำเภอเมอื ง จงั หวัดประจวบคีรีขันธ์

สถานพินิจและค้มุ ครองเด็กและเยาวชนจงั หวดั รอ้ ยเอด็
ระหว่างวันที่ 14 - 25 มีนาคม 2565 เจ้าหน้าที่พร้อมเด็กและเยาวชน ร่วมกัน
ปรับภูมิทัศน์ ท�ำความสะอาด ทาสีและวาดภาพผนังบริเวณด้านหน้าสถานควบคุมและ
หน้าสถานพินิจฯ จังหวัดร้อยเอ็ด ณ สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนจังหวัด
ร้อยเอด็ ตำ� บลดงลาน อำ� เภอเมอื ง จงั หวดั รอ้ ยเอ็ด

25วารสารกรมพนิ ิจและค้มุ ครองเด็กและเยาวชน เพ่อื เผยแพรข่ ่าวสารในกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน

สวารสาร

ารพินจิ

ปีท่ี 20 ฉบบั ท่ี 1 ประจำ� เดือนเมษายน - มถิ นุ ายน ปงี บประมาณ 2565

Department of Juvenile
Observation and Protection

Social

Impact Bond

พนั ธบตั รลดการกระท�ำผดิ ซ้ำ� ...ไดด้ ว้ ยหรอื ?

ก่อนอ่ืน เรามารู้จักพันธบัตรกันก่อนว่าคืออะไร ด้านทอ่ี ยู่อาศยั ครอบครวั สุขภาพ การจา้ งงาน และการฝกึ
พันธบัตร (Bond) คือ ตราสารหน้ีประเภทหน่ึงท่ีออกโดย อบรม อีกท้ัง One Service ยังท�ำงานร่วมกับบริการด้าน
รฐั บาล ออกจำ� หนา่ ยเพอ่ื ระดมทนุ ในประเทศจากประชาชน การบ�ำบัดยาเสพติดและแอลกอฮอล์ในท้องถ่ินอีกด้วย
และสถาบันการเงิน โดยผู้ซ้ือพันธบัตรจะมีสถานะเป็น ซ่ึงผลจากการทดลองน�ำร่องในกลุ่มนักโทษกลุ่มแรก
เจ้าหนี้ และผูอ้ อกตราสารมีสถานะเป็นลูกหน้ี จำ� นวน 1,000 คน สามารถลดการกระทำ� ผดิ ซ�้ำไดถ้ ึง 8.4%

แลว้ พนั ธบตั รจะชว่ ยลดการกระทำ� ผดิ ซำ้� ไดอ้ ยา่ งไร... ในประเทศไทยเอง ได้มีการออก Social Bond
พันธบัตรเพ่ือสังคม (Social Impact Bond) มีการเริ่มต้น หรือพนั ธบตั รเพ่อื สงั คมครงั้ แรกในปี พ.ศ.2563 โดยมีวงเงนิ
ครง้ั แรกของโลกไดอ้ ยา่ งนา่ ตน่ื ตาตน่ื ใจทเ่ี มอื ง Peterborough 6,800 ล้านบาท และในปี พ.ศ. 2564 มมี ูลคา่ คงคา้ ง 9,800
ประเทศอังกฤษ ในปี พ.ศ. 2553 ซง่ึ รฐั บาลจะจ่ายเงินให้กับ ล้านบาท อย่างไรก็ตาม Social Bond ของไทยน้ัน
ผู้ลงทุนในพันธบัตรเม่ือเกิดผลลัพธ์ทางสังคมตามท่ีตกลง มีการระดมทุนไปเพ่ือพัฒนาสังคมและคุณภาพชีวิตคนใน
กันไว้ โดยโครงการแรกใช้กับประเด็นด้านยุติธรรมทาง สังคม เช่น การใหบ้ รกิ ารสาธารณสขุ การส่งเสริมการศึกษา
อาญา เพ่อื ลดการกระท�ำผดิ ซ�ำ้ ในกลุม่ นักโทษท่ีมีโทษจำ� คุก การจัดหาอาชพี และการสรา้ งทอี่ ยอู่ าศัยให้ผทู้ ม่ี ีรายได้นอ้ ย
ระยะสนั้ (ผู้ถกู จำ� คกุ นอ้ ยกว่า 12 เดือน) ทีอ่ อกจากเรือนจำ� โดยยังไม่มีพันธบัตรเพื่อสังคมที่มุ่งแก้ไขการกระท�ำผิดซ้�ำ
Peterborough ซึง่ รัฐบาลท�ำสัญญากบั ตัวกลาง คือองค์กร ของผูท้ ่ีได้รับโทษทางกฎหมายในประเทศไทย
“Social Finance” เพ่อื ใหร้ ะดมทนุ และคดั เลอื กหน่วยงาน
โดยที่ระดมทุนได้ 5 ล้านปอนด์ (กว่า 2 ร้อยล้านบาท) กลมุ่ วิเทโดศยสัมนพางนั สธาแ์ วลธะริ ปดราะมสที านิพคยว์ นามักวร่วิเทมศมสือัมรพะหนั วธ่าป์ งฏปิบรัตะเกิ ทาศร
จากองค์กรไม่แสวงหาผลก�ำไร 17 แห่ง ซึ่ง Social สำ� นกั งานเลขานุการกรม
Finance ได้จัดต้ังศูนย์ท่ีเรียกว่า One Service ที่รวมถึง
องค์กรส่งมอบการบริการต่างๆ เช่น St Giles Trust,
Ormiston Families, Sova, MIND, TTG Training,
YMCA และ John Laing Training ท่ีให้การสนับสนุน

26 วารสารกรมพนิ ิจและค้มุ ครองเด็กและเยาวชน เพ่อื เผยแพรข่ ่าวสารในกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน

ส วารสาร

ารพินจิ

ปีท่ี 20 ฉบบั ที่ 1 ประจำ� เดือนเมษายน - มถิ นุ ายน ปงี บประมาณ 2565
Department of Juvenile
Observation and Protection

ครบรอบ 70 ปี สถานพินจิ และ
คมุ้ ครองเดก็ และเยาวชนไทย

วันที่ 28 มกราคม 2565 กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน กระทรวงยุติธรรม จัดกิจกรรม “ครบรอบ 70 ปี
สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนไทย” โดยมีนายสมศักดิ์ เทพสุทิน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม พร้อมด้วย
ผู้บริหารระดับสูงของกระทรวงยุติธรรม ร่วมแสดงความยินดี โอกาสนี้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมได้กล่าว
แสดงความยนิ ดใี นวันครบรอบ ท้ังนี้ พ.ต.ท. วรรณพงษ์ คชรักษ์ อธบิ ดีกรมพนิ ิจฯ พร้อมดว้ ยรองอธบิ ดฯี ท้ัง 3 ท่าน หัวหนา้
สว่ นราชการ ข้าราชการ เจ้าหนา้ ทใ่ี นสว่ นกลาง เจ้าหน้าที่ส่วนภมู ิภาค และเด็กและเยาวชนรว่ มต้อนรับ

ส�ำหรับกิจกรรมดังกล่าวจัดข้ึนเพื่อให้บุคลากรในสังกัด เด็กและเยาวชน ทราบถึงประวัติความเป็นมาของสถานพินิจ
และคุ้มครองเด็กและเยาวชนไทย ก่อนจะกลายเป็นกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน ก่อให้เกิดความภาคภูมิใจ และมี
ความเป็นอันหน่งึ อันเดียวกนั รวมถึงววิ ัฒนาการของการแก้ไขบ�ำบัดฟ้นื ฟูเดก็ ของเด็กและเยาวชนท่ีเข้าสู่กระบวนการยุตธิ รรม
จากอดีตจนปจั จุบัน ผ่านระบบการประชมุ ทางไกล (Video Conference) โปรแกรม WebEx

โอกาสน้ี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม ได้กล่าวแสดงความยินดีใจความส�ำคัญตอนหนึ่งว่า “ผมเช่ือว่าทุกท่าน
ได้แสดงศักยภาพอย่างเต็มความสามารถเพื่อเด็กและเยาวชน และครอบครัวของเด็กและเยาวชน เพราะลูกหลานของท่าน
ก็เหมือนลูกหลานของเรา นอกจากน้ีการให้โอกาสจากเครือข่ายในเรื่องการศึกษา และอาชีพ ตลอดจนการยอมรับจากคนใน
สังคม เป็นแรงผลักดันท่ีส�ำคัญยิ่งที่จะกระตุ้นให้เด็กและเยาวชนเกิดการเปล่ียนแปลง ผมขอขอบคุณในความทุ่มเทของ
ทุกท่าน และขอให้ทุกท่านมีก�ำลังกายและก�ำลังใจท่ีดี มีสติปัญญาที่เข้มแข็ง และเป็นก�ำลังส�ำคัญของกรมพินิจและคุ้มครอง
เดก็ และเยาวชน กระทรวงยุตธิ รรม เพ่ือสร้างประโยชน์สงู สดุ ใหก้ ับเดก็ เยาวชน และประชาชน สืบต่อไป”

27วารสารกรมพนิ ิจและค้มุ ครองเด็กและเยาวชน เพ่อื เผยแพรข่ ่าวสารในกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน

สวารสาร

ารพินจิ

ปที ี่ 20 ฉบบั ที่ 1 ประจำ� เดือนเมษายน - มถิ นุ ายน ปีงบประมาณ 2565

Department of Juvenile
Observation and Protection

โครงการ “Chef care dream Academy สานฝนั ป้ นั เชฟ” รนุ่ ที่ 2

วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2565 พ.ต.ท.วรรณพงษ์ คชรักษ์ อธิบดีกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน เข้าร่วมพิธีเปิด
โครงการ “Chef care dream Academy สานฝันปั้นเชฟ” รุ่นท่ี 2 ณ สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์และร้านอาหาร
ของเชฟ ถ.แจง้ วฒั นะ อ.ปากเกรด็ จ.นนทบรุ ี ซง่ึ โครงการดงั กลา่ วจดั ขนึ้ โดยมลู นธิ เิ ชฟแครส์ เพอื่ พฒั นา สนบั สนนุ และเสรมิ สรา้ ง
ศักยภาพเยาวชนผู้ด้อยโอกาสสู่การเป็นเชฟระดับโลก รวมทั้งสร้างแรงบันดาลใจ สนับสนุนการศึกษา การฝึกอบรม
และการฝึกงานกับเชฟช้ันน�ำระดับประเทศ โดยมีคุณมาริษา เจียรวนนท์ ผู้ก่อตั้งมูลนิธิเชฟแคร์ส เป็นผู้กล่าวถึงท่ีมา

ของโครงการ ส�ำหรับโครงการ
ดังกล่าวมีเยาวชนในความดูแล
ของกรมพินิจฯ จ�ำนวนท้ังส้ิน
7 คน จากศฝ.หญิงบ้านปรานี,
ศฝ.ชายบา้ นกรณุ า, ศฝ.ชายบา้ น
อุเบกขา และศฝ.เขต 1 เข้าร่วม
โครงการ เปน็ ระยะเวลา 9 เดอื น
ระหว่างวันที่ 1 มิถุนายน -
9 ธันวาคม 2565 รวมเวลา
6 เดอื น

งานวนั สถาปนากระทรวงยตุ ธิ รรม ครบรอบ 131 ปี

วันที่ 25 มนี าคม 2565 กระทรวงยุติธรรม จดั งาน “วันสถาปนากระทรวงยุติธรรม ครบรอบ 131 ป:ี การช่วยเหลอื
ประชาชนในกระบวนการยุติธรรม ยุคดิจิทัล” โดยมีนายสมศักด์ิ เทพสุทิน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม เป็นประธาน
ในพิธี โอกาสนี้ผู้บริหารระดับสูงของกระทรวงยุติธรรม บุคลากรของกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน น�ำโดย
พ.ต.ท.วรรณพงษ์ คชรักษ์ อธิบดีกรมพินิจฯ รองอธิบดีกรมพินิจฯ และเจ้าหน้าที่ภายในสังกัดของกรมพินิจฯ เข้าร่วมงาน
ดังกล่าวด้วย ซ่ึงในปี 2565 กรมพินิจฯ ได้จัดบูธนิทรรศการเพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์การด�ำเนินงาน และบูธบริจาคทรัพย์
เขา้ กิจกรรม “หน่ึงการใหไ้ ด้สองเทา่ ” ท้งั น้ีมขี า้ ราชการของกรมพินิจฯ จำ� นวน 2 ท่าน เขา้ รับรางวัลขา้ ราชการพลเรอื นดเี ดน่
ประจ�ำปี 2564 และมบี ุคคลจากกรมพนิ ิจฯ ผอู้ ทุ ศิ ตนในการทำ� งานและทำ� คณุ ประโยชน์ให้แก่กระทรวงยตุ ิธรรมฯ เปน็ บุคคล
ผ้มู สี ิทธปิ ระดับเขม็ เครอื่ งหมายยตุ ิธรรมธ�ำรง ประจ�ำปี 2565 ทั้งขา้ ราชการ และบุคคลทว่ั ไป จ�ำนวน 10 ราย และไดร้ ับรางวลั
ผลงานวิจัยดีเด่นของกระทรวงยุติธรรมประจ�ำปี 2562 จ�ำนวน 2 ผลงาน และประจ�ำปี 2563 จ�ำนวน 1 ผลงาน ซึ่งงาน
วันสถาปนาฯ ในครั้งนจ้ี ดั ขน้ึ ณ อาคารกระทรวงยุตธิ รรม ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองหอ้ ง เขตหลักส่ี กรงุ เทพมหานคร

28 วารสารกรมพนิ ิจและค้มุ ครองเด็กและเยาวชน เพ่อื เผยแพรข่ า่ วสารในกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน

ส วารสาร

ารพินจิ

ปที ่ี 20 ฉบับที่ 1 ประจำ� เดือนเมษายน - มถิ นุ ายน ปีงบประมาณ 2565
Department of Juvenile
Observation and Protection

โครงการบรรพชาสามเณรเพ่ือเฉลิมพระเกียรติ
เน่ืองในวนั คล้ายวนั พระราชสมภพสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจา้

กรมสมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี
วันที่ 22 เมษายน 2565 กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน โดยศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชนเขต 4
และสถานพินิจฯ ในเขต ร่วมกับวัดโนนสว่าง จังหวัดอุดรธานี จัด “โครงการบรรพชาสามเณรเพ่ือเฉลิมพระเกียรติเนื่องใน
วันคล้ายวันพระราชสมภพสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี” โดยได้
รับเกียรติจาก นางสาวณัฐธ์ภัสส์ ยงใจยุทธ ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจ�ำกระทรวงยุติธรรม เป็นประธานเปิดโครงการ
พร้อมด้วย พ.ต.ท.วรรณพงษ์ คชรักษ์ อธิบดีกรมพินิจฯ ตลอดจน พันจ่าอากาศตรี รพีพงศ์ ประธานธุรารักษ์ ผอ.ศฝ.เขต 4
หวั หนา้ สว่ นราชการ รว่ มมอบผา้ ไตรแกเ่ ยาวชนทเี่ ขา้ รบั การบรรพชา จำ� นวนทง้ั สนิ้ 21 คน ซงึ่ โครงการดงั กลา่ วจดั ขน้ึ เพอื่ สง่ เสรมิ
ให้เดก็ และเยาวชนไดแ้ สดงความจงรักภักดีตอ่ สถาบันพระมหากษตั รยิ ์ สามารถน�ำหลกั ธรรมค�ำสอนทางพระพทุ ธศาสนาไปใช้
เป็นแนวทางในการด�ำเนินชีวิต
มีจิตส�ำนึกท่ีดี มีคุณธรรมและ
จริยธรรมที่ดีต่อตนเองและ
บุคคลอ่ืน และปฏิบัติธรรมได้
อยา่ งถกู ตอ้ ง เกดิ ความภาคภมู ใิ จ
ในตนเอง ตลอดจนไม่หวน
ก ลั บ ไ ป ก ร ะ ท� ำ ผิ ด ซ�้ ำ ต ่ อ ไ ป
ณ วัดโนนสว่าง ต.หมากหญ้า
อ.หนองววั ซอ จ.อุดรธานี

พิธีมอบใบประกาศนียบัตรแก่เยาวชน ในโครงการ
“ส่งเสรมิ และพัฒนาทักษะเด็กและเยาวชน เพ่ือเตรยี มความพรอ้ ม
ในการประกอบอาชพี หลักสูตร: กิจการรา้ นกาแฟเบ้ืองต้น รนุ่ ที่ 2
วันท่ี 2 พฤษภาคม 2565 กระทรวงยตุ ธิ รรม โดยกรมพนิ ิจและคุ้มครองเดก็ และเยาวชน จดั พธิ มี อบใบประกาศนยี บตั ร
แกเ่ ยาวชน ในโครงการ “สง่ เสรมิ และพฒั นาทกั ษะเดก็ และเยาวชน เพอื่ เตรยี มความพรอ้ มในการประกอบอาชีพ หลักสูตร:
กจิ การร้านกาแฟเบื้องต้น รนุ่ ที่ 2/2565” โดยได้รบั เกียรติจาก พ.ต.ท.วรรณพงษ์ คชรักษ์ อธบิ ดีกรมพนิ ิจและค้มุ ครองเดก็
และเยาวชน มอบใบประกาศนียบัตรฯ ร่วมกับ นางสาวกวิฐาร์พรณ์ จาตุรนต์ภากร รองผู้จัดการท่ัวไปส่วนงานพัฒนาทักษะ
และมาตรฐานสนิ คา้ ซึง่ โครงการดงั กลา่ วได้รับการส่งเสริม และสนับสนนุ จากบริษทั ซีพี ออลล์ จำ� กดั (มหาชน) โดยหนว่ ยงาน
คัดสรรและเบลลิน่ี พรีเม่ียม คาเฟ่ เพ่ือเปิดโอกาสให้เด็กและเยาวชนได้ฝึกประสบการณ์จริงในสถานประกอบการ
จากผู้ประกอบอาชีพ นำ� ไปสู่ทกั ษะ และความช�ำนาญ ก่อให้เกิดอาชพี ทสี่ ร้างความม่ันคงใหก้ ับตนเอง สง่ ผลใหเ้ ยาวชนไมห่ วน
มากระทำ� ผิดซ�้ำ ณ หอ้ งประชุม 7 - 01 ช้นั 7 กรมพินิจและคุ้มครองเดก็ และเยาวชน อาคารกระทรวงยตุ ธิ รรม ถนนแจง้ วัฒนะ
เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร

29วารสารกรมพนิ ิจและค้มุ ครองเด็กและเยาวชน เพ่อื เผยแพรข่ า่ วสารในกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน

สวารสาร โดย....นางอสิ รานชุ หนนุ ตะคุ
นกั ประชาสมั พนั ธ์
ารพินจิ
กลมุ่ ประชาสมั พนั ธแ์ ละส่อื สารองคก์ ร
ปที ่ี 20 ฉบบั ท่ี 1 ประจำ� เดือนเมษายน - มถิ นุ ายน ปีงบประมาณ 2565

Department of Juvenile
Observation and Protection

แกวรดรมวงก.า..รสงเคราะห์

สวัสดีค่ะท่านผู้อ่านวารสาร “สารพินิจ” ปีท่ี 20 ฉบับท่ี 1 ประจำ� เดือนเมษายน - มิถุนายน 2565 กรมพินิจและ
คุ้มครองเด็กและเยาวชน ขอเร่ิมต้นคอลัมน์ด้วยการแสดงความยินดีกับท่านกรรมการสงเคราะห์ทุกท่าน ที่ผ่านการคดั เลอื ก
กรรมการสงเคราะห์ดีเด่น ประจ�ำปี 2563 ตามประกาศกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน เร่ือง ผลการคัดเลือก
กรรมการสงเคราะหด์ เี ดน่ ประจำ� ปี 2563 ลงวนั ท่ี 21 กนั ยายน พ.ศ.2564 ประกอบดว้ ย กรรมการสงเคราะหด์ เี ดน่ ระดบั กรม
จำ� นวน 30 ราย กรรมการสงเคราะหด์ เี ดน่ ระดบั ดมี าก จำ� นวน 74 ราย และ กรรมการสงเคราะหด์ เี ดน่ ระดบั ดี จำ� นวน 115 ราย

กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน ได้จัด “ขอขอบคณุ กรรมการสงเคราะหเ์ ดก็ และเยาวชน
ให้มีโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการเพ่ือก�ำหนดทิศทาง ที่ทุ่มเทเสียสละ ช่วยเด็กและเยาวชนเป็นคนดีกลับสู่
การด�ำเนินงานของกรรมการสงเคราะห์เด็กและเยาวชน สังคม เป็นก�ำลังส�ำคัญขับเคลื่อนภารกิจกระทรวง
ส�ำหรับสถานพินิจ ประจ�ำปี 2565 และพิธีเชิดชูเกียรติ ยุตธิ รรม เราจะจบั มอื ร่วมเดินกนั ต่อไป”
พร้อมมอบโล่ประกาศเกียรติคุณแก่กรรมการสงเคราะห์
ดีเด่น ประจ�ำปี 2563 เมื่อวันท่ี 4-5 เมษายน 2565
ณ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ คอนเวนชัน ถนนวิภาวดีรังสิต
แขวงตลาดบางเขน เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร โดยมี
นายสมศักด์ิ เทพสุทิน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
ให้เกยี รตเิ ปน็ ประธานในพิธี พรอ้ มมอบโลป่ ระกาเกียรตคิ ุณ
แก่กรรมการสงเคราะห์ดีเด่น ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวง
ยุติธรรม ได้กล่าวแสดงความยินดี ชื่นชม และขอบคุณ
กรรมการสงเคราะหท์ กุ ทา่ นวา่

30 วารสารกรมพนิ ิจและค้มุ ครองเด็กและเยาวชน เพ่อื เผยแพรข่ า่ วสารในกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน

ส วารสาร

ารพินจิ

ปีท่ี 20 ฉบับที่ 1 ประจำ� เดือนเมษายน - มถิ นุ ายน ปงี บประมาณ 2565
Department of Juvenile
Observation and Protection

ท้ังน้ีกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนขอขอบพระคุณท่านกรรมการสงเคราะห์ผู้ใจดีทุกท่านท่ีเล็งเห็น
ความส�ำคัญและให้การสนับสนุนการดำ� เนินงานของกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน อีกทั้งยังพร้อมให้โอกาสเด็กและ
เยาวชนได้กลับตนเป็นคนดี หากไม่มีท่านกรรมการสงเคราะห์ทุกท่าน กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน
คงไมส่ ามารถดำ� เนนิ ภารกิจให้สำ� เร็จลุล่วงได.้ .. ขอกราบขอบพระคณุ มา ณ โอกาสนี้

ท้ายนี้ท่านกรรมการสงเคราะห์สามารถรับชมภาพถ่ายเพ่ิมเติมได้ โดยการสแกน QR Code โครงการประชุม
เชิงปฏิบัติการเพ่ือก�ำหนดทิศทางการด�ำเนินงานของกรรมการสงเคราะห์เด็กและเยาวชนส�ำหรับสถานพินิจ ประจ�ำปี 2565
และพิธเี ชดิ ชเู กยี รตพิ ร้อมมอบโล่ประกาศเกยี รติคุณแก่กรรมการสงเคราะหด์ เี ดน่ ประจ�ำปี 2563 ตามดา้ นลา่ งนี้

QR Code

โครงการประชมุ เชงิ ปฏิบตั ิการเพ่อื ก�ำหนดทิศทาง
การด�ำเนินงานของกรรมการสงเคราะหเ์ ด็กและเยาวชน

ส�ำหรบั สถานพนิ ิจ ประจ�ำปี 2565
และพธิ เี ชดิ ชเู กียรติพรอ้ มมอบโลป่ ระกาศเกียรติคณุ

แก่กรรมการสงเคราะหด์ ีเด่น ประจ�ำปี 2563

31วารสารกรมพนิ ิจและค้มุ ครองเด็กและเยาวชน เพ่อื เผยแพรข่ ่าวสารในกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน

สวารสาร ศดู้นานยอ์สารช้าีพงโเอดก็กาแสลแะลเยะาบวรชิกนาร

ารพินจิ

ปที ่ี 20 ฉบับท่ี 1 ประจำ� เดือนเมษายน - มถิ นุ ายน ปงี บประมาณ 2565

Department of Juvenile
Observation and Protection

DJOP Centre

ศนู ยส์ รา้ งโอกาสและบรกิ ารดา้ นอาชพี เดก็ และเยาวชน (DJOP Centre)
เป็นศูนย์กลางในการจ�ำหน่ายสินค้าและผลิตภัณฑ์ ที่ผลิตโดยฝีมือเด็กและ
เยาวชนท่ีอยู่ในความดูแลของกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน และเป็น
ศูนย์กลางการให้บริการจัดหางานให้กับเด็กและเยาวชน เพื่อเป็นการแก้ไข
ฟื้นฟู และบ�ำบัดเด็กและเยาชน เพ่ือให้มีทักษะวิชาชีพ ส่งเสริมให้เด็กและ
เยาวชนมงี านท�ำ มรี ายได้ และไม่กลับไปกระทำ� ความผดิ ซำ้� อีก

ผลิตภัณฑ์ : ท่ีรดั ผม/พวงกุญแจจากผ้า/
กระเป๋าผ้าใส่เหรยี ญ

ท่ีมา/แรงบันดาลใจ: เพ่ือเป็นการใช้เวลาว่างให้เป็น
ประโยชน์ในยุคโควิด และผลิตภัณฑ์เป็นการใช้ประโยชน์จาก
เศษผ้าเศษไหมที่ไม่ได้ใช้แล้ว น�ำมาผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ให้เกิด
ประโยชนใ์ ชส้ อยต่อไป
เอกลักษณ์/ลักษณะเด่น/จุดเด่นของผลิตภัณฑ์/วัสดุท่ีใช้
ในการผลติ : ผลิตภัณฑ์พวงกุญแจ กระเป๋าผ้าใส่เหรียญ ท่ีรัดผม
มสี สี นั สดใสสวยงาม เปน็ นำ� เศษผา้ มาใชป้ ระโยชน์ และน�ำเศษไหม
มาถักโครเชท์เป็นท่ีรัดผมได้

ประโยชน์/คณุ ค่าของผลิตภัณฑ์ ราคา 10 บาท

- พวงกุญแจจากผ้า สามารถใช้คล้องติดกับส่ิงของ
ชิ้นเล็กๆ เพ่ือให้หาได้ง่ายขึ้น
- กระเป๋าผ้าใสเ่ หรยี ญ สามารถนำ� เป็นของช�ำรว่ ย
- ทร่ี ดั ผม สามารถเกบ็ ผมใหเ้ รยี บรอ้ ย และสวยงาม

สอบถามและสั่งซ้อื ได้ที่ :
ศูนย์สรา้ งโอกาสและบรกิ ารด้านอาชพี เด็กและเยาวชน
(DJOP Centre) โทร. 0 2141 3572
สถานพนิ ิจและค้มุ ครองเด็กและเยาวชนจงั หวดั สุพรรณบุรี

โทร. 06 2663 5365 (คณุ นันทวนั )

ทุกท่านสามารถรว่ มเปน็ ส่วนหน่ึงในการสนับสนุนชว่ ยเหลือเด็กและเยาวชน

ผู้เคยก้าวพลาด ได้มโี อกาสสรา้ งผลงาน สรา้ งอาชพี สรา้ งรายได้ ราคา 50 บาท
ใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ กิดประโยชน์ และไม่กลับไปกระท�ำผิดซ้ำ� อกี

32 วารสารกรมพนิ ิจและค้มุ ครองเด็กและเยาวชน เพ่อื เผยแพรข่ า่ วสารในกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน

ส วารสาร

ารพินจิ

ปีท่ี 20 ฉบบั ที่ 1 ประจำ� เดือนเมษายน - มถิ นุ ายน ปีงบประมาณ 2565
Department of Juvenile
Observation and Protection

33วารสารกรมพนิ ิจและค้มุ ครองเด็กและเยาวชน เพ่อื เผยแพรข่ า่ วสารในกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน

สวารสาร

ารพินจิ

ปที ี่ 20 ฉบบั ที่ 1 ประจำ� เดือนเมษายน - มถิ นุ ายน ปีงบประมาณ 2565

Department of Juvenile
Observation and Protection

ความรเู้ ก่ียวกับ

พระราชบัญญัติ
ขอ้ มูลขา่ วสาร
ของราชการ

โดย....ศนู ยข์ อ้ มลู ขา่ วสารของราชการ
กรมพนิ จิ และคมุ้ ครองเดก็ และเยาวชน

ขอ้ มลู ประกนั สงั คม
การขอขอ้ มลู เกยี่ วกบั ผปู้ ระกนั ตนในระบบประกนั สงั คมเปน็ ขอ้ มลู ทมี่ กี ารขออยบู่ อ่ ย ๆ ซงึ่ มคี ำ� วนิ จิ ฉยั เผยแพรจ่ ำ� นวนมาก

วนั นม้ี าทบทวนวา่ สมควรเปดิ เผยหรอื ไม่
นาย ก เปน็ ทนายความ ไดร้ บั มอบอำ� นาจจากนาย ข เจา้ หนตี้ ามคำ� พพิ ากษา ใหต้ ดิ ตามทรพั ยส์ นิ ของ นาง ค ลกู หน้ี

ตามคำ� พพิ ากษา นาย ก จงึ มหี นงั สอื ถงึ สำ� นกั งานประกนั สงั คมจงั หวดั A ขอขอ้ มลู ขา่ วสารเกยี่ วกบั ขอ้ มลู สถานทที่ ำ� งานในการเปน็
ผปู้ ระกนั ตนในระบบประกนั สงั คมของนาง ค สำ� นกั งานประกนั สงั คมจงั หวดั A แจง้ ปฏเิ สธการเปดิ เผย โดยใหเ้ หตผุ ลวา่ เนอ่ื งจาก
เปน็ ขอ้ มลู สว่ นบคุ คลและเปน็ ขอ้ มลู ขา่ วสารทมี่ กี ฎหมายคมุ้ ครองมใิ หเ้ ปดิ เผยตามมาตรา 100 แหง่ พระราชบญั ญตั ปิ ระกนั สงั คม
พ.ศ. 2533 ประกอบมาตรา 15 (6) แห่งพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 นาย ก จึงอุทธรณ์ต่อ
คณะกรรมการวนิ จิ ฉยั การเปดิ เผยขอ้ มลู ขา่ วสาร

คณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร สาขาสังคม การบริหารราชการแผ่นดินและการบังคับใช้กฎหมาย
วนิ จิ ฉยั สรปุ วา่ ขอ้ มลู ขา่ วสารตามอทุ ธรณ์ คอื ขอ้ มลู ขา่ วสารเกยี่ วกบั ผปู้ ระกนั ตนในระบบประกนั สงั คมของนาง ค ลกู หนต้ี าม
ค�ำพิพากษา เป็นข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลตามมาตรา 4 แห่งพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540
ซง่ึ หนว่ ยงานของรฐั จะเปดิ เผยโดยปราศจากความยนิ ยอมเปน็ หนงั สอื จากเจา้ ของขอ้ มลู มไิ ด้ การเปดิ เผยขอ้ มลู ดงั กลา่ วจะเปน็
การรกุ ลำ�้ สทิ ธสิ ว่ นบคุ คลโดยไมส่ มควร ตามมาตรา 15 (5) แหง่ พระราชบญั ญตั เิ ดยี วกนั นอกจากนี้ ผอู้ ทุ ธรณย์ งั มชี อ่ งทางอนื่
ท่ีจะเข้าถึงข้อมูลข่าวสารตามอุทธรณ์ได้โดยใช้สิทธิทางศาล ดังนั้น การปฏิเสธการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของส�ำนักงาน
ประกนั สงั คมจงั หวดั A จงึ ชอบแลว้ วนิ จิ ฉยั ใหย้ กอทุ ธรณ์

มีข้อสังเกตเพิ่มเติมครับ การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารเก่ียวกับ
ผู้ประกันตนในระบบประกันสังคมจะท�ำให้ความน่าเชื่อถือในระบบ
ประกนั สงั คมระหวา่ งนายจา้ งและลกู จา้ งเสยี หาย สง่ ผลใหก้ ารปฏบิ ตั ิ
ตามพระราชบญั ญตั ปิ ระกนั สงั คม พ.ศ. 2533 เสยี หายดว้ ย จงึ ไมค่ วร
เปดิ เผย

34 วารสารกรมพนิ ิจและค้มุ ครองเด็กและเยาวชน เพ่อื เผยแพรข่ ่าวสารในกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน

ส วารสาร

ารพินจิ

ปีท่ี 20 ฉบับที่ 1 ประจำ� เดือนเมษายน - มถิ นุ ายน ปีงบประมาณ 2565
Department of Juvenile
Observation and Protection

ของฝาก
จากผู้อา่ น...

ตามทก่ี รมพนิ จิ และคมุ้ ครองเดก็ และเยาวชน ไดจ้ ดั ทำ� วารสาร “สารพนิ จิ ” เพอ่ื เผยแพรข่ อ้ มลู ขา่ วสาร ความรู้
และสรา้ งความเขา้ ใจเกย่ี วกบั กระบวนการยตุ ธิ รรมเดก็ และเยาวชนในโอกาสนี้ มที า่ นผอู้ า่ นใหค้ วามกรณุ าแสดงความคดิ เหน็
และขอ้ เสนอแนะเกย่ี วกบั วารสาร “สารพนิ จิ ” เขา้ มาหลายทา่ น อาทิ

มคตน าว่อ่ากากอขมา่าน้ึรรน”ดู้“ทา้จำ�แนัดงลกาทะนา�เำรนใรนใ้ือูปชหห้เไลลอาา่มสทยาแี ๆบรและบดเะ้าปใภหน็นามษปข่สารออวะใงัยโหกยง้เพฤชาษนม่ิม์ สทาารงะสท“งั เ่ีเคปปมน็็น”ปวราะรโสยาชรนทต์ ่ีมอ่ ีเสนถื้อาบหนาั
บษุ ศา ประพนั ธ์
หอ้ งสมดุ จโฑุรงาเรรตยัี นนจโ์ .ชโนฉคคมชรยสั รนัสาาเชทมสยีคั มี ะคาี
สถานพกนิรจิรฯมกจางั รหสวงดั เนคนราทะบหรุฯ์ ี
แทอไลม ปวั่ยะสี ไใปู่ใปาชนลร้ใกคาะนยทรรก“อนะด่ี เาบบมำี�้ปร”วคาด็นนกลแู มกวุ ลสาตาเารดรง้ัมยแก็สาตตุแราต่ลธิถระน้รนทเนรยำ� ่ีใมำค้�าหววก้าแคชลมลนวาะรทงาเทู้นดง้ัม่ีไกำ็้�ทดรีู่้้
สถานกพรนิรจมิ ฯกาจกรงั ญสัหงญวเดัคาลรภพาทู่ะบหอรุฯ์งี

เดก็ แล“ะใเหยส้าวาชรนะคดวมี าามกร”เู้ กย่ี วกบั ขทออุกอชทนื่น่าชไล“นมเนผปอ์ มขู้ ็นกีอสี ทกเว่สสาานถงนรเาหกอปนนยี่วรพงึ่ก่วาะนิรคข”ชจิอ้รวาฯมงรสมใกเจนังมปางั คกรพิดหลาสวชันรงดั่อเธวจเองคชดั์ทดุทรกทรี่าดาาำ�ะธงมี หาาฯ์นี

สถาโนรพกจนรนิ รว์จิ มริฯยิกจะางั รหกสลวงดมั่ิเคสพรรพิ าะฒัะแหกนฯ์ว้ ์

35วารสารกรมพนิ ิจและค้มุ ครองเด็กและเยาวชน เพ่อื เผยแพรข่ า่ วสารในกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน

สวารสาร

ารพินจิ

ปที ่ี 20 ฉบับที่ 1 ประจำ� เดือนเมษายน - มถิ นุ ายน ปงี บประมาณ 2565

Department of Juvenile
Observation and Protection

“ตไดก่อ้สกับาาเรดระก็นแำ� แลไลปะะเปเยปราน็ ะวยแชนุกนวต”ท์ ใาชง้ “รปู แอบ่าบนวเขา้ารใสจางร่ายสว”ยงาม

สกปถรัญารญนมพากบินาญุริจสฯฤงทจเธคงั ห์ิรเาวอะดัย่ี หพม์ฯษิพณลู ุโลก สถานพินกวริจชฯรริ มจญกงั าาหณรวสดั์ งอแเคตุจรงรกาดะลิตหาถ์ฯง์

มแขี ล้อะคสวา“ามดมามีนรา่าถกสนนเำ� นใไจปอื้ หปหลฏาาสิบยาตัเรริไะอ่ืดดง้”ี แข“ลอเปะเปผ็น็นู้เวกากย่ี รำ� วสลขางั ้อรใจงททใด่ีหกุ มี้ผทปีู้จ่ารัดนะทโ�ำ”ยชน์
สถานพสกินงร่าจิ รฯรมตัจกงันาหปรวสรดั งญิ ศเญครราสี นาะะเนกหทษฯ์ ์ สกปถรราระนเมวพกศนิารอจิ สทุฯงยจเาคงั นรหราวะกัดั หษก์ฯาาญจนบุรี

แบเบ“ดเปปก็ ขรน็ อะ5วเเพมาดรมิ่ิน้าสเพนราฤอื่รSตงทDิก่ดี Qรี ”รม “เปน็ วาในหเรบัปส้แ็นวสา่าเรดวสทงทมค่ดี แีบวแีหรูาล่งมณะคยคว์แิดังบาเเมปบหริด็นู้”โอกาส
สถานพกรินดริจรมฯ.คกจงางัชรหิตสวงชดั เินคนรสนาญิ ทะจบหนฯ์ุร์ี
จักรี ผกสถากยารนรรตัพมนินก์จิ าเฯพรสญ็จงงันเหิเคววรศดั านตะส์หาขุกฯ์

กองบรรณาธิการขอขอบพระคุณ มา ณ โอกาสน้ี และจะน�ำความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของท่านผู้อ่าน
มาปรับปรงุ และพัฒนาการผลติ วารสารใหด้ ยี ิง่ ข้ึนต่อไป

**หมายเหจตา*ุก*ทา่ กนอผงอู้ าบ่ นรผรา่ณนากธากิ ราสรแรกวนบรQวRมขCอ้ oมdลู eแสแดบงบคตวอาบมรคบดัิ วเาหรน็ สแาลระขอ“้ เสสานรอพแนิ นจิ ะ”

36 วารสารกรมพนิ ิจและค้มุ ครองเด็กและเยาวชน เพ่อื เผยแพรข่ า่ วสารในกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน

ส วารสาร

ารพินจิ

ปีท่ี 20 ฉบับที่ 1 ประจำ� เดือนเมษายน - มถิ นุ ายน ปงี บประมาณ 2565
Department of Juvenile
Observation and Protection

ขอเชญิ ชวนส่งบทความ/สารคดี

น�ำลงในวารสาร “สารพินิจ”

กองบรรณาธกิ าร “สารพนิ จิ ” กลุ่มประชาสัมพันธแ์ ละส่อื สารองคก์ ร ส�ำนกั งานเลขานุการกรม ขอเชิญชวนบุคลากร
ของหน่วยงานในสังกัดกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน หรือท่านผู้อ่านท่ีสนใจเผยแพร่บทความ/ สารคดี ท่ีมีเนื้อหา
เกี่ยวข้องกับกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน การศึกษา หรือการค้นคว้าวิจัย การศึกษาดูงานต่างๆ ท่ีเกี่ยวกับภารกิจ
ของกรมพินิจฯ หรือเรื่องราวอ่ืนๆ ที่น่าสนใจ เพ่ือเป็นการแบ่งปันประสบการณ์และความรู้แก่บุคลากรกรมพินิจฯ
องคก์ รทเี่ กย่ี วขอ้ ง และประชาชนทวั่ ไป รวมทงั้ เพอ่ื ให้ “สารพนิ จิ ” มเี นอื้ หาสาระและขอ้ มลู ทนี่ า่ สนใจเกย่ี วกบั เดก็ และเยาวชน
(วัยรุ่น) อย่างครอบคลุมในทุกๆ ด้าน โดยสามารถส่งบทความ/ สารคดี มาทาง E-mail: [email protected] หรือ
ส่งเป็นเอกสาร พร้อม CD และภาพประกอบไปยังกลุ่มประชาสัมพันธ์และสื่อสารองค์กร ส�ำนักงานเลขานุการกรม กรมพินิจ
และคุ้มครองเด็กและเยาวชน อาคารกระทรวงยตุ ธิ รรม ชน้ั 6 เลขที่ 404 หมู่ 3 ถนนแจง้ วัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่
กรุงเทพฯ 10210

เน่ืองจากหน่วยงานท่ีส่งภาพกิจกรรมผ่านทาง Website บางภาพไม่คมชัด กองบรรณาธิการไม่สามารถน�ำมาลงได้
จึงขอให้ต้ังค่าของภาพให้คมชัด ห้ามพิมพ์ข้อความลงบนภาพ และพิมพ์ค�ำบรรยายของกิจกรรมหรือโครงการให้ครบถ้วน
พร้อมทั้งวัน เวลา และสถานท่ีจัดกิจกรรมให้ชัดเจน ถ้าส่งมาเป็นเอกสารขอให้จัดส่งมาเป็นกระดาษอัดรูปและค�ำบรรยาย
(พรอ้ ม CD) เพอ่ื ความสะดวกการจัดสง่ ตน้ ฉบบั ไปยงั โรงพมิ พ์

กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน กระทรวงยุติธรรม ได้เปิดรับฟังความคิดเห็นของผู้รับบริการและประชาชน
ทั่วไปให้เข้ามามสี ่วนร่วมในการพฒั นาระบบราชการของกรมพินิจฯ และการปฏบิ ตั ิงานของเจา้ หน้าที่ อาทิ ไม่ได้รับบรกิ ารที่ดี
เจ้าหน้าท่ีพูดจาไม่สุภาพ พบเห็นข้าราชการ หรือเจ้าหน้าที่กรมพินิจฯ ทุจริต มีความประพฤติไม่เหมาะสมระหว่างปฏิบัติ
หน้าท่ี หรือต้องการแนะน�ำบริการด้านต่างๆ ให้ดีและมีความสะดวกมากข้ึน โปรดแจ้งหรือส่งความคิดเห็นของท่านไปได้ที่
กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน กระทรวงยุติธรรม ช้ัน 6 เลขที่ 404 หมู่ 3 ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง
เขตหลกั สี่ กรุงเทพฯ 10210 โทร. 0 2141-6471 0 2141-6472 หรอื ตู้รับฟงั ความคิดเหน็ ของหน่วยงานในสังกัดท่วั ประเทศ
(สถานพินจิ และคมุ้ ครองเดก็ และเยาวชนจงั หวดั และ ศนู ยฝ์ กึ และอบรมเดก็ และเยาวชน) หรือ http://www.djop.go.th

พินิจด้วยรกั
พิทักษ์ด้วยใจ

37วารสารกรมพนิ ิจและค้มุ ครองเด็กและเยาวชน เพ่อื เผยแพรข่ า่ วสารในกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน

สวารสาร

ารพินจิ

ปีที่ 20 ฉบบั ท่ี 1 ประจำ� เดือนเมษายน - มถิ นุ ายน ปีงบประมาณ 2565

Department of Juvenile
Observation and Protection

ขอความรว่ มมอื ตอบ
แบบตอบรบั

กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน ได้จัดท�ำวารสาร “สารพินิจ” ปีท่ี 20 เพ่ือเผยแพร่ข้อมูล ข่าวสาร ความรู้
และสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน จึงขอมอบวารสาร “สารพินิจ” เพื่อให้ท่าน/หน่วยงาน
ของท่านได้น�ำไปใช้ประโยชน์ต่อไป หากได้รับวารสารเป็นท่ีเรียบร้อยแล้ว กรุณาตอบแบบตอบรับวารสาร “สารพินิจ”
โดยสแกนผ่าน QR Code หรือตอบแบบตอบรับ ส่งไปยัง กลุ่มประชาสัมพันธ์และส่ือสารองค์กร ส�ำนักงานเลขานุการกรม
กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน อาคารกระทรวงยุติธรรม ชั้น 6 เลขท่ี 404 หมู่ 3 ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง
เขตหลักส่ี กรุงเทพฯ 10210 และเน่ืองด้วยในปี พ.ศ.2566 กรมพนิ ิจและคมุ้ ครองเดก็ และเยาวชน จะปรบั เปลย่ี นการเผยแพร่
วารสาร “สารพินจิ ” ในรูปแบบ E-book จึงขอสำ� รวจความคิดเหน็ ของท่าน ผู้อ่าน มา ณ โอกาสน้ี

ชือ่ -สกลุ .......................................................................................................................................................................................
หน่วยงาน....................................................................................................................................................................................
(หากท่านเป็นกรรมการสงเคราะห์ของสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน หรือ ศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน
โปรดระบวุ า่ ทใี่ ด)
ทอ่ี ยู่ ............................................................................................................................................................................................
โทรศพั ท์ .....................................................................................................................................................................................
หากมีการเปล่ียนแปลงทอี่ ยูโ่ ปรดระบุ
....................................................................................................................................................................................................
ความคดิ เหน็ /ข้อเสนอแนะเกย่ี วกบั วารสาร “สารพนิ จิ ”
....................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................

ท่านตอ้ งการรบั วารสาร “สารพินิจ” ในรปู แบบใด QR Code
แบบรปู เล่ม
แบบตอบรบั วารสาร
หนงั สอื อิเลก็ ทรอนิกส์ (E-book)
“สารพินิจ”

38 วารสารกรมพนิ ิจและค้มุ ครองเด็กและเยาวชน เพ่อื เผยแพรข่ ่าวสารในกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน

ส วารสาร

ารพินจิ

ปีท่ี 20 ฉบบั ที่ 1 ประจำ� เดือนเมษายน - มถิ นุ ายน ปีงบประมาณ 2565
Department of Juvenile
Observation and Protection

39วารสารกรมพนิ ิจและค้มุ ครองเด็กและเยาวชน เพ่อื เผยแพรข่ า่ วสารในกระบวนการยุติธรรมเด็กและเยาวชน

วสิ ัยทัศน์

เปน็ องคก์ รทจ่ี ะทำ� ใหเ้ กดิ ควำมเปลย่ี นแปลงทด่ี แี กเ่ ดก็ และเยำวชน
ดำ้ นพฤตนิ สิ ยั กำรศกึ ษำและอำชพี ภำยใตก้ ระบวนกำรยุตธิ รรม

DJOP

พินจิ ดว้ ยรกั พิทกั ษ์ดว้ ยใจ

จดั ทำ� โดย กลมุ่ ประชำสมั พนั ธแ์ ละส่อื สำรองคก์ ร กรมพนิ จิ และคมุ้ ครองเดก็ และเยำวชน กระทรวงยตุ ธิ รรม
ตดิ ตำมขำ่ วสำรไดท้ ่ี www.djop.go.th และ www.facebook.com/pr.djop.moj
โทรศพั ท์ 02-141-6474


Click to View FlipBook Version