The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เอกสารประกอบการสอน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pornpan.dmsu, 2020-05-14 04:19:50

ทักษะวิทยาศาสตร์ 1

เอกสารประกอบการสอน

เอกสารประกอบการสอนวชิ าทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 1 1

หอ้ งปฏิบัตกิ ารเคมี เปน็ สถานท่ีๆจะเกิดอบุ ัติเหตไุ ด้งา่ ยท่สี ุด เพราะเป็นสถานทีๆ่ มีสารไวไฟ มีเครื่อง
แกว้ ท่แี ตกหักง่าย และมีสารเคมีท่ีเปน็ พิษและทาลายสุขภาพของรา่ งกายได้ อย่างไรก็ตามถ้าเรามีความ
ระมดั ระวงั ศกึ ษาการทดลองลว่ งหน้า รจู้ กั การใชเ้ คร่อื งแก้วและสารเคมีอย่างถกู วิธี และปฏิบัติตามระเบยี บ
ขอ้ บงั คบั ในการใชห้ อ้ งทดลองแล้ว จะสามารถหลีกเลี่ยงอบุ ัตเิ หตใุ นห้องทดลองได้

อุปกรณ์ท่ใี ชใ้ นหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารทดลอง

บกี เกอร์ (Beaker)

ภาพที่ 1.1 บกี เกอร์

บกี เกอรม์ หี ลายขนาดและมีความจุต่างกนั โดยที่ขา้ งบีกเกอร์จะมตี วั เลขระบุความจุของบีกเกอร์ ทาให้
ผู้ใช้สามารถทราบปรมิ าตรของของเหลวท่ีบรรจุอย่ไู ด้อย่างครา่ วๆ และบกี เกอรม์ คี วามจุต้งั แต่ 5 มลิ ลิเมตร
จนถงึ หลายๆลติ ร อกี ท้ังเป็นแบบสูง แบบเตย้ี และแบบรปู ทรงกรวย (conical beaker) บกี เกอรจ์ ะมีปากงอ
เหมอื นปากนกซ่ึงเรยี กวา่ spout ทาให้การเทของเหลวออกไดโ้ ดยสะดวก spout ทาให้สะดวกในการวางไม้
แก้วซึ่งยนื่ ออกมาจากฝาทปี่ ดิ บกี เกอร์ และ spout ยงั เปน็ ทางออกของไอน้าหรือแก๊สเมื่อทาการระเหย
ของเหลวในบกี เกอร์ท่ีปิดด้วยกระจกนาฬิกา (watch grass) การเลอื กขนาดของบีกเกอรเ์ พ่อื ใส่ของเหลวน้ัน
ข้นึ อยู่กับปริมาณของเหลวท่ีจะใส่ โดยปกติให้ระดบั ของเหลวอยตู่ า่ กว่าปากบกี เกอรป์ ระมาณ 1 - 1 1/2 น้วิ
หมายเหตุ : ห้ามใชบ้ ีกเกอร์ทุกขนาดทดลองปฏกิ ิรยิ าระหว่างสารโดยเด็ดขาด
***เกร็ดน่ารู้

ปากบกี เกอร์ เปน็ ที่สาหรับเทน้าออกจากบีกเกอร์
ประโยชน์ของปากบีกเกอร์ คือ
- ทาให้การเทของเหลวออกได้โดยสะดวก
- ทาให้สะดวกในการวางแท่งแกว้ คนสารซึง่ ยื่นออกมาจากฝาท่ีปดิ บีกเกอร์
- เปน็ ทางออกของไอน้า หรือแก๊สเม่ือทาการระเหยของเหลวในบีกเกอรท์ ีป่ ดิ ด้วยกระจกนาฬิกา (watch glass

ระดับชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 1 พรพรรณ ยิง่ ยง |

เอกสารประกอบการสอนวิชาทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 1 2

ขวดปริมาตรทรงกรวย (Erlenmeyer Flask หรอื Conical Flask)

ขวดปรมิ าตรทรงกรวย (Erlenmeyer Flask หรอื
Conical Flask) ขวดปริมาตรชนดิ นม้ี ีลกั ษณะเปน็ ทรงกรวย
และมีความจุขนาดตา่ ง ๆ กนั แตท่ ่นี ิยมใช้กันมากมีความจุ
เป็น 250-500 มล. สามารถใช้ได้ในหลายกรณี เช่น ในการไต
เตรท

ภาพท่ี 1.2 ขวดปริมาตรทรงกรวย

กระบอกตวง (Graduated Cylinder)

กระบอกตวงมีขนาดต่างๆ กนั ต้ังแต่ 5 มิลลลิ ติ รจนถงึ

หลายๆ ลิตร ใชเ้ ป็นอปุ กรณ์สาหรับวดั ปริมาตรของของเหลวทม่ี ี

อณุ หภูมิไมส่ งู กว่าอุณหภูมิของหอ้ งปฏิบตั กิ าร กระบอกตวงไม่

สามารถใช้วดั ของเหลวท่มี ีอุณหภมู ิสงู ได้เนื่องจากอาจจะทาให้

กระบอกตวงแตกได้ กระบอกตวงจะบอกปรมิ าตรของของเหลว

อย่างครา่ ว ๆ ถ้าต้องการวดั ปรมิ าตรที่แนน่ อนตอ้ งใช้อปุ กรณ์วัด

ปรมิ าตรอืน่ ๆ เชน่ ปิเปตหรอื บิวเรท โดยปกตคิ วามผดิ พลาดของ

กระบอกตวงเมือ่ มีปรมิ าตรสงู สดุ จะมีประมาณ 1 เปอรเ์ ซน็ ต์

ภาพท่ี 1.3 กระบอกตวง กระบอกตวงขนาดเล็กใชว้ ัดปรมิ าตรได้ใกล้เคียงความจริงมากกวา่

กระบอกตวงขนาดใหญ่

ขนาดทีใ่ ช้

ความจทุ ใ่ี ชต้ ั้งแต่ 5 - 2000 ml

ขอ้ ควรระวงั

การอา่ นปริมาตรควรใหร้ ะดบั สายตาอยูใ่ นแนวเดยี วกนั กบั โค้งเวา้ ตา่ สดุ

วิธีอ่านปรมิ าตร

ทาไดโ้ ดยการยกกระบอกตวงให้ตงั้ ตรงและให้ท้องน้าอยู่ในระดบั สายตา และอา่ นค่าปริมาตร ณ จดุ

ตา่ สุดของทอ้ งน้า

หลอดฉีดยา (syringe)

หลอดฉีดยาเป็นอุปกรณ์วดั และตวงปรมิ าตรของของเหลว
อย่างง่าย ท่ีไม่ต้องการความละเอยี ดมากนักและนิยมใช้ในโรงเรียน
จะทาด้วยพลาสติก เพราะราคาถูกและหาซื้อไดง้ า่ ย หลอดฉดี ยามี
ขนาดตา่ งกันทีน่ ยิ มใช้ในโรงเรยี นสว่ นมากมขี นาดตัง้ แต่ 5–35 cm3
และงานท่ีต้องการความถูกต้องสงู จะใชห้ ลอดฉีดยาที่ทาดว้ ยแกว้

ภาพท่ี 1.4 หลอดฉีดยา (syringe)

ระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 1 พรพรรณ ยิ่งยง |

เอกสารประกอบการสอนวชิ าทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 1 3

ขวดปรบั ปรมิ าตร (volumetric flask)

ขวดปริมาตรชนดิ นม้ี ีลกั ษณะเป็นขวดคอยาวท่ีมีขดี
บอกปรมิ าตรบนคอขวดเพยี งขดี เดยี ว นิยมใชใ้ นการเตรียม
สารละลาย โดยทั่วไปจะนาสารนน้ั มาละลายในบีกเกอร์
กอ่ นท่ีจะเทลงในขวดปริมาตรโดยใช้กรวยกรอง แลว้ เทนา้
ล้างบีกเกอร์หลาย ๆ ครง้ั ดว้ ยตวั ทาละลายแลว้ เทลงในกรวย
กรอง เพอื่ ล้างสารท่ีติดอยู่ให้ลงในขวดใหจ้ นหมด อย่าให้
สารละลายใน volumetric flask มเี กนิ 2 ใน 3 ของปรมิ าตร
ท้ังหมด เทตวั ทาละลายลงในขวดโดยผ่านกรวยอีก เพ่อื เป็น
การลา้ งกรวย จนขวดมปี รมิ าตรถึงขดี บอกปริมาตร

ภาพที่ 1.5 volumetric flask

ปิเปตต์ (pipette)

ปิเปตต์ (pipette) ใช้สาหรับตวง หรอื วัดปรมิ าตรของ

สารละลายใหไ้ ด้ปริมาตรทแี่ น่นอน มีความถูกต้องสูง มี 2

ชนดิ ดว้ ยกัน คอื measuring pipette และ volumetric

pipette สงั เกตได้ง่ายๆ หากเปน็ แบบ volumetric pipette

จะมีแก้วปอ่ งบริเวณตรงกลางปเิ ปตต์ ซ่งึ ความถูกต้องจะมี

มากกว่า measuring pipette โดยมวี ิธีการใช้งานทง่ี ่าย

สาหรบั ผทู้ ่ีใช้เปน็ แล้ว แตย่ ากสาหรับผ้ทู ีย่ ังไม่เคยใช้ ต้องใช้

รว่ มกับลกู ยาง (rubber bulb) เพื่อดดู สารละลายเข้าไปในปิ

ภาพที่ 1.6 ปเิ ปต เปตต์ ใหม้ ากกว่าขดี บอกปรมิ าตร จากนนั้ นาลกู ยางออก แล้ว

ใชน้ ว้ิ ชี้ปดิ ทีป่ ลายปเิ ปตต์ หลงั จากน้ันค่อยๆ ปลอ่ ยสารละลาย

ออกมาจนถึงขีดบอกปริมาตร และค่อยถ่ายสารละลายในปิเปตต์ลงในภาชนะทตี่ ้องการ

1. ปิเปตตแ์ บบปรมิ าตร (volumetric pipette หรอื transfer pipette)

ภาพที่ 1.7 transfer pipette มีขีดบอกปรมิ าตรทแ่ี น่นอนเพียงขีดเดียว ดังน้ันจงึ วดั
ปรมิ าตรไดเ้ พียงค่าเดยี ว เช่น volumetric pipette ท่มี ีความ
จุ 10 ml ก็จะวัดปรมิ าตรของของเหลวได้เฉพาะ 10 ml
เท่าน้ัน มหี ลายขนาดต้งั แต่ 1 ml ถึง 100 ml ใช้วัดปรมิ าตร
ได้ใกล้เคียงความจริง แต่ก็ยังมคี วามผิดพลาดข้ึนอยู่กับความจุ
ของปเิ ปตต์และระดับคณุ ภาพ ปิเปตต์ที่มีความจุมากมีความ
ผิดพลาดมากกวา่ ปิเปตต์ทีม่ คี วามจุนอ้ ยปเิ ปตต์ระดับช้นั
คณุ ภาพ B มีความผิดพลาดมากกวา่ ระดับชนั้ คณุ ภาพ A ถึง 2
เทา่ ดังนนั้ ในการทดลองท่ีตอ้ งการความแม่นยาสูง จึงควร
เลอื กใช้ปิเปตตร์ ะดบั ช้นั คุณภาพ A

ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 1 พรพรรณ ยิ่งยง |

เอกสารประกอบการสอนวิชาทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 1 4

2. ปเิ ปตต์แบบใชต้ วง (graduated pipette หรอื measuring pipette)

มขี ีดบอกปริมาตรต่าง ๆ แสดงไว้ ทาใหส้ ามารถ

ใช้ไดอ้ ย่างกวา้ งขวาง คือสามารถใช้แทน volumetric

pipette ได้ แตใ่ ชว้ ดั ปริมาตรไดแ้ นน่ อนน้อยกวา่

volumetric pipette นั่นคอื มีความผิดพลาดมากกวา่

ความผดิ พลาดขน้ึ อยู่กับความจขุ องปิเปตต์และระดบั

คุณภาพ ปิเปตต์ที่มีความจุมากมีความผิดพลาดมากกว่าปิ

เปตตท์ ่ีมีความจุนอ้ ย ปิเปตต์ระดับช้ันคุณภาพ B มคี วาม

ผดิ พลาดมากกวา่ ระดับช้ันคุณภาพ A ถึง 2 เทา่ ดังนัน้ ใน

ภาพท่ี 1.8 ปเิ ปตต์แบบใช้ตวง การทดลองที่ต้องการความแม่นยาสงู จึงควรเลอื กใช้ปิเปตต์

ระดบั ช้นั คุณภาพ A ท่ีความจเุ ดยี วกนั เม่ือเปรยี บเทียบ

ความผดิ พลาดระหวา่ ง graduated pipette กับ volumetric pipette จะเหน็ ว่า graduated pipette มี

ความผดิ พลาดเปน็ 2 เท่าของ volumetric pipette ดังนน้ั ในการทดลองทต่ี ้องการความแมน่ ยาสูง จงึ ควร

เลือกใช้ volumetric pipette จะดีกว่า

อกั ษรบนปิเปตต์ (inscription on pipette)

ภาพท่ี 1.9 อักษรบนปเิ ปตต์ คาอธิบายอักษรทปี่ รากฏบนปิเปตต์ (inscriptions on
bulb pipette/volumetric pipette/transfer pipette)
1. แบรนด์ผู้ผลิต
2. แบรด์เครื่องหมายการค้าซ่ึงแสดงเกรดอุปกรณ์วดั
ปริมาตร ทมี่ ีคุณภาพสูงสดุ
3. ปรมิ าตรของปิเปตต์
4. ขนาดความไมแ่ น่นอน (maximum error limit)
5. สญั ลักษณแ์ สดงว่าผา่ นการรับรองมาตรฐาน
“Eichrdnung” ประเทศเยอรมนั
6. ผา่ นการรับรองมารตรฐาน DIN
7. อณุ หภูมิทีใ่ ชใ้ นการสอบเทียบมาตรฐาน
8. TD,Ex หมายถงึ อุปกรณ์ใชใ้ นการถา่ ยเทสารละลาย
9. 15s หมายถึง หลงั จากถ่ายเทสารละลายจนหมดแลว้
ตอ้ งรอใหค้ รบ 15 วินาทจี งึ จะเอาปิเปตต์ท่แี ตะอยู่ข้าง
ภาชนะออกได้
10. A หมายถงึ แกว้ เกรด A คุณภาพดที ่ีสดุ และ S
หมายถงึ สามารถถา่ ยเทสารละลายได้อยา่ งรวดเรว็
11. ประเทศผู้ผลติ

ระดบั ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 1 พรพรรณ ยิ่งยง |

เอกสารประกอบการสอนวิชาทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 1 5

ลกู ยางดูดปิเปตต์ (rubber bulb)

ลกู ยางดูดปิเปตต์ (rubber bulb) ใชร้ ่วมกับอุปกรณ์ปเิ ปตต์

สาหรบั ดดู สารละลายเข้ามาในปิเปตต์พบไดท้ ่ัวไปในห้องปฏบิ ตั กิ าร 2

ชนิดด้วยกนั ไดแ้ กล่ ูกยางดดู ปิเปตตช์ นิดธรรมดา และลกู ยางดูดปิ

เปตต์ชนิด 3 ทาง (three way rubber bulb)

วธิ ีการใชง้ านลูกยางดูดปิเปตต์ธรรมดา กท็ าไดง้ า่ ยไม่ซบั ซ้อน

คือบบี ลูกยางเพ่ือไลอ่ ากาศออกและปิดเขา้ ไปทป่ี ลายของปิเปตต์ไม่

ต้องแนน่ มาก หรอื ใหจ้ กุ ยางแนบสนทิ กพ็ อ แล้วจุ่มปิเปตต์ลงใน

ภาพท่ี 1.10 ลูกยางดดู ปิเปตต์ สารละลาย จากนัน้ ก็ค่อยๆ คลายมอื ท่ีบีบลูกยางออก สารละลายก็

จะถกู ดูดเข้ามาในปิเปตต์ โดยให้สารละลายถกู ดูดเข้ามาเกินขีดบอก

ปริมาตร และใช้นว้ิ ชปี้ ิดที่ปลายของปิเปตต์อยา่ งรวดเร็ว จากน้นั ใชก้ ระดาษทิชชูเชด็ ที่ปลายปเิ ปตต์ แลว้ ค่อยๆ

คลายน้วิ ชี้ที่ปิดปลายปิเปตตไ์ ว้ สารละลายจะไหลออกมาจนถึงระดับของขดี บอกปริมาตร จากนน้ั กถ็ า่ ย

สารละลายทั้งหมดใส่ในภาชนะทตี่ ้องการ ซ่งึ วิธีน้ตี อ้ งใช้เวลาในการฝึกดดู สารละลายพอสมควร

ส่วนลกู ยางดูดปิเปตตช์ นดิ 3 ทาง หรือมีวาลว์ ควบคุมการไหลเข้าออกของอากาศ 3 ตาแหนง่ ดว้ ยกนั ลกู ยาง

ชนดิ นที้ าขึ้นมาเพ่ือให้ดดู สารละลายได้ง่ายขน้ึ วิธใี ชก้ ต็ ้องทาความเข้าใจกับอักษรทบี่ อกชนิดของวาล์วปดิ -เปิด

เพื่อควบคมุ อากาศให้เข้าออกเสียก่อน โดยตวั อกั ษรภาษาอังกฤษตัวแรกคือตัว A ยอ่ มาจาก air แปลวา่ อากาศ

ส่วนอักษร S ยอ่ มาจาก suction แปลวา่ ดูด และอกั ษร E ย่อมาจาก evacuate แปลว่า ถา่ ยออก วิธกี ารใช้

งานทาได้โดย

1.นาลูกยาง 3 ทาง สวมเขา้ กับปิเปตตใ์ นตาแหน่งวาล์ว S

2. บีบไล่อากาศในลูกยางออก โดยกดท่วี าลว์ A และบบี ลกู ยางเพื่อไล่อากาศท่ีอยู่ภายในออก

3. จุม่ ปิเปตต์ลงในสารละลาย และกดวาล์ว S เพ่ือดูดสารละลายเข้ามาในปเิ ปตต์จนกระท่ังเกนิ ขีดบอก

ปรมิ าตร

4. เชด็ ท่ปี ลายปเิ ปตต์ดว้ ยกระดาษทิชชู และกดวาล์ว E เพ่อื ปลอ่ ยสารละลายส่วนท่เี กนิ ออกมาให้ได้ระดับขดี

บอกปรมิ าตร

5. ถ่ายสารละลายทง้ั หมดใส่ในภาชนะทต่ี ้องการ

บวิ เรต (Burette)

ภาพที่ 1.11 บวิ เรต

ระดับช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 1 พรพรรณ ย่ิงยง |

เอกสารประกอบการสอนวชิ าทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 1 6

บวิ เรตเปน็ อุปกรณว์ ัดปรมิ าตรที่มขี ดี บอกปริมาตรต่างๆ และมีก็อกสาหรบั เปิด-ปิด เพ่ือบังคับการไหล
ของของเหลว บวิ เรทเปน็ อปุ กรณ์ทใี่ ช้ในการวเิ คราะห์ มีขนาดต้ังแต่ 10 มล. จนถึง 100 มล. บวิ เรทสามารถวัด
ปริมาตรได้อย่างใกล้เคียงความจริงมากทส่ี ุด แตก่ ็ยังมคี วามผดิ พลาดอยูเ่ ล็กน้อย ซง่ึ ข้ึนอยู่กบั ขนาดของบวิ เรท
เชน่

- บวิ เรทขนาด 10 มล. มีความผดิ พลาด 0.4%
- บิวเรทขนาด 25 มล. มีความผดิ พลาด 0.24%
- บวิ เรทขนาด 50 มล. มีความผดิ พลาด 0.2%
- บิวเรทขนาด 100 มล. มีความผดิ พลาด 0.2
ขวดปริมาตร (Volumetric Flask)
ขวดปรมิ าตร เป็นเครื่องมือทใี่ ช้เตรียมสารละลายมาตรฐานหรอื สารละลายทีม่ ีความเข้มข้นนอ้ ยกว่า
สารละลายเดมิ ได้ ขวดปริมาตรมีหลายขนาดและมคี วามจตุ ่าง ๆ กนั เชน่ ขนาด 50 มล. 100 มล. 250 มล.
500 มล. 1,000 มล. และ 2,000 มล. เปน็ ต้น แบ่งตามรูปร่างและลกั ษณะการใช้ได้ดงั ต่อไปน้ี

1. ขวดปริมาตรฟลอเรนส์ (Florence Flask) หรอื เรียกวา่
Flat Bottomed Flask มลี กั ษณะคล้ายลูกบอลลูน มกั จะใช้สาหรับตม้
น้า เตรยี มแกส๊ และเปน็ wash bottle

ภาพที่ 1.12 ขวดปรมิ าตรฟลอเรนส์

2. ขวดปรมิ าตรก้นกลม (Round Bottom Flask) ขวดปริมาตรชนดิ นี้
มลี กั ษณะเหมอื นกับ Florence Flask แตต่ รงก้นขวดจะมลี ักษณะกลม
ทาใหไ้ มส่ ามารถต้ังได้

ภาพที่ 1.13 ขวดปรมิ าตรกน้ กลม

3. ขวดปริมาตรกลั่น (Distilling Flask) ขวดปริมาตร
ชนดิ นน้ี ิยมใช้ในการกลน่ั ของเหลว

ภาพที่ 1.14 ขวดปรมิ าตรกลั่น

ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 พรพรรณ ยิง่ ยง |

เอกสารประกอบการสอนวชิ าทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 1 7
กระดาษลิตมัส ( litmus paper )

ภาพที่ 1.15 กระดาษลิตมสั

กระดาษลิตมัส เปน็ กระดาษที่ใช้ทดสอบสมบตั ิความเปน็ กรด-เบสของของเหลว กระดาษลิตมสั มสี อง
สคี อื สีแดงหรือสีชมพู และสีนา้ เงนิ หรอื สีฟ้า วิธีใชค้ ือการสมั ผัสของเหลวลงบนกระดาษ ถ้าหากของเหลวมี
สภาพเปน็ กรด (pH < 4.5) กระดาษจะเปลี่ยนจากสีนา้ เงินเป็นสีแดง และในทางกลับกันถ้าของเหลวมสี ภาพ
เป็นเบส (pH > 8.3) กระดาษจะเปลีย่ นจากสแี ดงเปน็ สนี ้าเงิน ถา้ หากเป็นกลาง (4.5 ≤ pH ≤ 8.3) กระดาษ
ทง้ั สองจะไมเ่ ปลี่ยนสี

สามารถผลิตกระดาษลิตมัสได้เองโดยนากระดาษสีขาวลงไปแช่นา้ ค้นั ดอกอัญชนั จะได้กระดาษลติ มสั สี
น้าเงนิ หากนาไปแช่ในนา้ คัน้ ดอกเฟ่อื งฟ้าสชี มพจู ะได้กระดาษลิตมัสสีแดง เมอ่ื ตากแหง้ กส็ ามารถนาทดสอบ
ความเปน็ กรด-เบส

ยนู เิ วอร์ซัลอินดิเคเตอร์

ภาพที่ 1.16 ยูนิเวอรซ์ ลั อนิ ดเิ คเตอร์

ยนู เิ วอรซ์ ลั อินดเิ คเตอร์ เป็นอินดเิ คเตอร์ทม่ี ีการเปลีย่ นสเี กือบทุกคา่ pH จึงใชท้ ดสอบหาค่า pH ได้ดี
อินดเิ คเตอรช์ นิดนีม้ ีทั้งแบบท่ีเปน็ กระดาษและแบบสารละลาย ยูนิเวอร์ซลั อนิ ดเิ คเตอร์แบบสารละลายจะ
เปลย่ี นสีเม่อื ใชท้ ดสอบสารละลายทม่ี คี ่า pH อยใู่ นช่วงท่แี ตกต่างกนั ดังตวั อย่างต่อไปน้ี

ฟีนอล์ฟทาลนี เปน็ สารละลายใสไมม่ ีสีซึ่งจะเปลย่ี นเปน็ สชี มพู เมื่อใช้ทดสอบความเป็นกรด-เบสของ
สารละลายท่มี ีค่า pH อยรู่ ะหว่าง 8.3-10.0

เมทิลเรด เปน็ สารละลายสแี ดงซง่ึ จะเปลีย่ นเปน็ สีเหลอื ง เม่ือใช้ทดสอบความเป็นกรด-เบสของ
สารละลายที่มคี า่ pH อยูร่ ะหวา่ ง 4.2-6.2

บรอมไทมอลบลู เปน็ สารละลายสีเหลืองซ่งึ จะเปลี่ยนเป็นสีนา้ เงิน เมือ่ ใชท้ ดสอบความเป็นกรด-เบส

ระดับชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 1 พรพรรณ ยิง่ ยง |

เอกสารประกอบการสอนวิชาทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 1 8

ของสารละลายทีม่ ีคา่ pH อยู่ระหว่าง 6.0-7.6
ฟนี อลเรด เปน็ สารละลายสีเหลอื งซงึ่ จะเปลีย่ นเปน็ สีแดง เม่ือใช้ทดสอบความเปน็ กรด-เบสของ

สารละลายท่ีมคี ่า pH อยรู่ ะหว่าง 6.8-8.4

พเี อชมิเตอร์ (pH meter)

ภาพท่ี 1.17 พีเอชมิเตอร์ (pH meter)

พีเอชมิเตอร์ (pH meter) เป็นเครอ่ื งมือทางอเิ ล็กทรอนิก ใช้วัดค่าพเี อชหรอื คา่ ความเป็นกรด-ด่าง
ของสารละลาย โดยมีส่วนประกอบหลัก 2 สว่ น ไดแ้ ก่ probe หรือ อิเล็กโทรด และ เคร่ืองวัดศักย์ไฟฟา้
(meter) อเิ ลค็ โทรดท่ีพบได้ในหอ้ งปฏิบัติการสว่ นมากแลว้ จะเป็นชนดิ glass electrode ทเ่ี ช่อื มตอ่ กับ
เครอื่ งวดั ศักยไ์ ฟฟา้ แล้วเปลีย่ นการแสดงผลเปน็ ค่าพเี อช

การใชง้ าน จะตอ้ งปรบั เทยี บมาตรฐานกอ่ นการใชโ้ ดยการปรับเทียบกับสารละลายบัฟเฟอร์มาตรฐาน
(พเี อช 4 ,7 หรือ 10) อย่างน้อย 2 ค่า ทีม่ ีคา่ ครอบคลุมในช่วงที่เราตอ้ งการวัด วธิ กี ารวดั ทาไดโ้ ดยล้าง
อิเลก็ โทรดดว้ ยนา้ ปราศจากไอออน (deionized water) หรอื น้ากลั่น (distilled water) และซบั ดว้ ยกระดาษ
ทชิ ชู แล้วรีบจมุ่ อเิ ลก็ โทรดลงในสารละลายทีต่ ้องการวดั อย่างรวดเร็ว

การเกบ็ อเิ ลก็ โทรดห้ามเก็บแหง้ โดยท่วั ไปเกบ็ ในสารละลายกรดท่ีมีพีเอชประมาณ 3 และไม่เก็บหรือ
แช่ในนา้ กล่ัน เพราะว่าไอออนท่อี ยใู่ นอเิ ลก็ โทรดจะแพรอ่ อกมาทาให้ความเขม้ ข้นของไออออนภายใน
อเิ ล็กโทรดลดลง โดยปกตแิ ล้วควรทาความสะอาดอิเลก็ โทรดประมาณเดอื นละคร้งั โดยการแช่ดว้ ยกรดไฮโดร
คลอรกิ (HCl) ความเขม้ ข้น 0.1 โมลาร์ (M)

กระดาษกรอง (Filter paper)

ภาพที่ 1.18 วิธีการพบั กระดาษกรอง

ระดบั ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 พรพรรณ ย่ิงยง |

เอกสารประกอบการสอนวิชาทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 1 9

กระดาษกรอง คอื กระดาษที่มคี ุณสมบัติทคี่ ัดเลือกอนภุ าค หรือสิ่งเจือปนออกจากสารละลาย หรือ
อากาศโดยการวางแบบต้งั ฉากกับทิศทางการไหลของสารละลายทตี่ ้องการกรองกระดาษกรอง จะมีขนาดของ
ชอ่ งวา่ งแตกต่างกันไปหลายขนาดด้วยกัน การเลอื กใชข้ น้ึ อย่กู บั ลักษณะงานแตล่ ะชนิด คณุ สมบตั ทิ ่สี าคัญของ
กระดาษกรองประกอบด้วย ความคงทนเม่ือเปยี ก ขนาดของช่องว่าง ความสามารถในการกรองอนภุ าค อัตรา
การไหลของสารท่ตี ้องการกรอง ประสทิ ธิภาพและความจุ กลไกท่ีสาคญั ในการกรองด้วยกระดาษกรองจะมอี ยู่
2 ลกั ษณะ คือ ปริมาตร(volume) และผวิ (surface) โดยแบบปริมาตร อนภุ าคจะถูกดกั ไวช้ น้ั ในหรือในตวั ของ
กระดาษกรอง ส่วนแบบผิว อนภุ าคจะถูกดกั ไวท้ ี่ผิวของกระดาษกรอง

สาหรับกระดาษกรองที่ใชใ้ นห้องปฏิบัติการ กม็ ีมากมายหลายแบบ แบบจาเพาะกับงาน และแบบท่ีใช้
ทัว่ ไป วสั ดทุ นี่ ามาใช้ทากระดาษกรอง เช่น เส้นใยจากไม้ คาร์บอน หรอื เส้นใยแกว้ ควอทซ์ โดยใชก้ ระดาษ
กรองร่วมกบั อุปกรณ์ทใ่ี ชใ้ นการกรอง คือ กรวยกรอง หรอื กรวยบุชเนอร์

เซลโลเฟน (cellophane)

เซลโลเฟน หรอื กระดาษแกว้ (cellophane) เป็นวัสดทุ ่ีทาจากเซลลูโลส (cellulose) ในไม้หรือพชื
เสน้ ใยอน่ื ๆ โครงสรา้ งทางเคมเี ป็นกระดาษ แตร่ ูปร่างลักษณะจดั เป็นพลาสติก เปน็ วสั ดโุ ปร่งแสงและใส
ความชืน้ ผ่านได้มาก อากาศผ่านได้น้อยมีการพัฒนาเซลโลเฟน ทีป่ ้องกนั ความชน้ื (moisture proof) และ
ผนกึ ดว้ ยความร้อน (heat-sealing type) โดยการเคลอื บด้วยสารปอ้ งกนั ความชื้น ไดแ้ ก่ nitrocellulose,
polyvinylidine chloride, vinyl copolymer และ polyethylene

ภาพที่ 1.19 เซลโลเฟน หรือกระดาษแกว้

กรวยกรอง (Funnel)

ภาพท่ี 1.20 กรวยกรองและการกรองสาร

ระดับช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 1 พรพรรณ ยง่ิ ยง |

เอกสารประกอบการสอนวชิ าทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 1 10

กรวยกรองเป็นอุปกรณ์ที่ใชค้ ู่กับกระดาษกรอง ( Filter Paper) ในการแยกของแขง็ ออกจากของเหลว
และมักจะใช้สาหรบั สวมบวิ เรทเมอื่ จะเทสารละลายลงในบิวเรท กรวยกรองมีมุมเกือบๆ 60 องศา และมีทัง้
แบบกา้ นสน้ั และก้านยาว กรวยก้านยาวจะกรองได้เร็วกวา่ กรวยกา้ นสนั้ ขนาดของกรวยกรองจะใหญ่หรือวา่
เล็กขึ้นอยู่กับความยาวของเสน้ ผ่าศูนย์กลาง (วัดขอบนอก)
กรวยแยก (separatory funnel)

ภาพที่ 1.21 กรวยแยก

กรวยแยก ใชส้ าหรบั สกดั สารด้วยของเหลวออกจากของเหลว(liquid-liquid extractions) ซง่ึ
ส่วนประกอบของสารผสมจะถูกแยกดว้ ยตัวทาละลาย 2 ชนดิ ทีไ่ มผ่ สมกนั ( 2 เฟส ) โดยทัว่ ไปเฟสหนง่ึ จะเปน็
ตวั ทาละลายท่ีมีข้วั และอีกเฟสหนงึ่ จะเป็นตัวทาละลายอินทรยี ์ (ไม่มีขั้ว) เช่น อีเทอร์ (ether) ไดคลอโรมเี ทน
(CH2Cl2) คลอโรฟอร์ม (CHCl3) หรือ เอทิลอะซเิ ตต

กรวยบุชเนอร์ (buchner funnel)

ภาพที่ 1.22 กรวยบชุ เนอร์

กรวยบชุ เนอร์ เป็นอปุ กรณใ์ ช้สาหรบั กรองสารแบบลดความดัน สามารถกรองไดร้ วดเร็วมากกวา่ การกรองแบบ
ธรรมดา โดยใช้ร่วมกบั อุปกรณอ์ ่นื ทเ่ี ก่ียวข้อง คือ กระดาษกรอง (filter paper) ขวดลดความดัน (suction
flask) และเคร่ืองทาสญุ ญากาศ (vacuum pump หรือ aspirator)

ระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 1 พรพรรณ ยิ่งยง |

เอกสารประกอบการสอนวิชาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 1 11

Stand and ring

ภาพท่ี 1.23 Stand and ring
Stand เป็นอุปกรณส์ าหรบั ติดต้ัง Clamp โดยมี Clamp Holder เปน็ ตวั เชอื่ มและตดิ ตั้ง Buret
Clamp ส่วน Iron Ring ซง่ึ ตดิ กบั stand ใชส้ าหรบั วางหรือต้งั ขวดปริมาตรโดยมีตะแกรงลวดรองรบั

Clamp and Clamp holder

ภาพที่ 1.24 Clamp and Clamp holder

Clamp ทาดว้ ยเหลก็ และมไี ม้คอร์กหุ้มดา้ นในทแี่ ตะกับแก้ว มกั จะใชร้ ว่ มกับ Stand โดยมี Clamp
holder เปน็ ตวั เช่อื ม Clamp ใชส้ าหรบั จบั อุปกรณ์ต่างๆ เชน่ ขวดปรมิ าตร Clamp ท่ีใช้จับบวิ เรทเรยี กว่า
Buret Clamp

กระจกนาฬกิ า (Watch Grass)

ภาพท่ี 1.25 กระจกนาฬิกา

กระจกนาฬิกามีรูปทรงคลา้ ยกระจกนาฬิกาเรอื นกลม มีหลายขนาดขน้ึ อย่กู บั ความยาวของ
เสน้ ผ่าศนู ย์กลาง กระจกนาฬิกาใชส้ าหรับปิดบีกเกอร์หรืออปุ กรณ์อน่ื ๆ เพ่ือป้องกนั สารอืน่ ๆ หรือฝุ่นละออง
ตกลงในสารละลายท่ีบรรจุอยู่ในบกี เกอร์และใช้ป้องกันสารละลายกระเด็นออกจากบีกเกอร์เม่ือทาการตม้ หรือ
ระเหยสารละลาย

ระดบั ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 พรพรรณ ยิง่ ยง |

เอกสารประกอบการสอนวิชาทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 1 12
ชามระเหย (Evaporating Dish)

ภาพท่ี 1.26 ชามระเหย

ชามระเหยมีขนาดต่างๆ กบั ขึ้นอย่กู บั ความจุหรอื ความยาวของเสน้ ผ่าศูนย์กลาง ชามระเหยสว่ นมาก
เคลอื บทั้งดา้ นในและดา้ นนอก แต่บางทีเคลือบเฉพาะดา้ นในด้านเดยี วเพื่อทาใหร้ าคาถูกลง ชามระเหย
ส่วนมากใชส้ าหรับระเหยของเหลวจนแหง้ และเผา ณ อณุ หภูมิท่สี ูงกวา่ 100 องศาเซลเซียส
Test tube rack

ภาพที่ 1.27 ทตี่ ้ังหลอดทดลอง

Test Tube Rack ใช้สาหรับตั้งหลอดทดสอบ มที ง้ั ทาด้วยไม้และโลหะ
Test tube holder

ภาพท่ี 1.28 ทหี่ นีบหลอดทดลอง

Test Tube Holder ทาจากวัตถหุ ลายชนิดเชน่ ไมห้ รอื ลวดเหล็ก ใชส้ าหรับจับหลอดทดสอบ
เน่อื งจากเมือ่ ใช้หลอดทดสอบทบี่ รรจุของเหลวตม้ ไอระเหยทเี่ กิดจากการต้มของเหลวภายในหลอดจะทาใหม้ ือ
ทจ่ี ับร้อน ฉะนนั้ จงึ ควรใช้ Test Tube Holder ในการจับหลอดทดสอบ แต่อยา่ ใช้ Test Tube Holder จบั
บกี เกอรห์ รอื ขวดปริมาตรเพราะจะทาใหล้ นื่ ตกแตกได้ และอย่าใช้คีบหรือจบั เบ้าเคลือบและฝา เพราะเบ้า
เคลือบต้องใชจ้ ับด้วย Crucible Tong

ระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 พรพรรณ ยงิ่ ยง |

เอกสารประกอบการสอนวิชาทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 1 13

คีม (Tong)

ภาพที่ 1.29 คีม

คมี มีอยูห่ ลายชนิด คีมที่ใช้กบั ขวดปริมาตรเรยี กวา่ flask tong คีมท่ีใช้กบั บกี เกอร์เรยี กวา่ beaker
tong และคมี ที่ใชก้ ับเบ้าเคลือบเรยี กว่า crucible tong ซ่ึงทาดว้ ยนเิ กล้ิ หรอื โลหะเจือเหลก็ ท่ไี ม่เปน็ สนมิ แต่
อยา่ นา crucible tong ไปใชจ้ ับบีกเกอรห์ รือขวดปริมาตรเพราะจะทาใหล้ ่นื ตกแตกได้

Funnel support

ภาพท่ี 1.30 Funnel Support

Funnel Support ใชส้ าหรบั ต้ังกรวยกรองเมื่อทาการกรองสารละลาย

Triangle Triangle มที ง้ั ท่ีทาจากหลอดดินเหนยี วสวมคลมุ ลวดเหล็ก ที่
ภาพที่ 1.31 Triangle เรยี กว่า pipestem clay triangle และทีท่ าจากลวด nichrome หรอื
chromel สวมคลมุ ดว้ ย silliminite หรอื fused silica Triangle ที่ใช้
กนั มากและมรี าคาถูกก็คือ Triangle ที่ทาจากหลอดดินเหนียว แต่
Triangle ท่ีทาจากลวดจะมีความทนทานกวา่ และมรี าคาที่แพงกวา่
ส่วนมากTriangle ใชส้ าหรับตงั เบา้ เคลือบเม่ือเผาด้วยเปลวไฟจาก
ตะเกยี งบุนเซน็

ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 พรพรรณ ย่ิงยง |

เอกสารประกอบการสอนวิชาทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 1 14

ตะแกรงลวด (Wire gauze)

ภาพท่ี 3.32 ตะแกรงลวด
ตะแกรงลวดมีท้งั ที่ทาจากลวดเหลก็ และที่ทาด้วยลวด nichrome หรือ chromel ซึ่งไม่เกิดสนิมและ
ใชไ้ ดร้ ะยะเวลานานกว่า ตะแกรงลวดเป็นรปู สเี่ หล่ียมจัตรุ ัสและมใี ยหิน (asbestos) คลุมเปน็ วงกลมทตี่ า
กึง่ กลางตะแกรง ตะแกรงลวดใชส้ าหรบั ต้งั บีกเกอร์ ขวดปริมาตร และอ่ืนๆ ทนี่ ามาต้มสารละลายด้วยเปลวไฟ

เบา้ เคลอื บและฝา (Porcelain crucible and lid)

ภาพที่ 3.33 เบ้าเคลอื บและฝา

เบา้ เคลือบมอี ยู่ 2 ขนาด คอื แบบทรงเต้ยี และแบบทรงสูง และมีขนาดต่างๆ กันข้ึนอยู่กบั ความจุ เบ้า
มักจะเคลอื บท้ังขา้ งนอกและข้างใน ยกเวน้ ท่กี ้นดา้ นนอก โดยทั่วไปใช้ในการเผาสารตา่ งๆ ทีอ่ ุณหภูมิสูงและ
มกั จะใช้ในการเผาตะกอน เนอ่ื งจากเบ้าเคลอื บสามารถถูกเผาในอุณหภมู ิสูงได้ (ประมาณ 1,200 องศา
เซลเซยี ส) ถึงแม้เบ้าเคลือบจะถกู เผาในอุณหภมู ิทสี่ ูง แต่น้าหนักของเบา้ เคลือบก็ไมเ่ ปลีย่ นแปลง

สามขา (Tripod)

สามขาทาด้วยเหลก็ และความสูงของสามขาทใ่ี ช้ขนึ้ อยู่
กับความสูงของตะเกียงบุนเซ็น สามขาใช้สาหรับตัง้ บกี เกอร์หรอื ขวด
ปรมิ าตรเม่ือต้มสารละลายทบี่ รรจุอยู่โดยมีตะแกรงรองรบั หรอื ต้ังเบ้า
เคลือบเม่ือเผาด้วยเปลวไฟโดยวางบน Triangle

ภาพท่ี 3.34 สามขา

ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 พรพรรณ ยงิ่ ยง |

เอกสารประกอบการสอนวิชาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 1 15

แท่งแกว้ (stirring lod)

ภาพท่ี 1.35 แท่งแกว้ คนสาร

แทง่ แก้วใชส้ าหรับคนสารละลายให้ผสมกนั เปน็ เน้ือเดียวกนั อยา่ งสม่าเสมอ หรอื ใช้เมื่อจะเทสารละลายจาก
ภาชนะหน่ึงลงในภาชนะอีกชนดิ หนึง่ โดยจะเทสารละลายใหไ้ หลไปตามแท่งแก้ว แทง่ แก้วท่ีมียางสวมอย่ปู ลาย
ขา้ งหนงึ่ เรียกว่า Policeman จะใชส้ าหรบั ปดั ตะกอนทีเ่ กาะอยขู่ ้างๆ ภาชนะและถภู าชนะให้ปราศจากสาร
ตา่ งๆ ทเี่ กาะอยูข่ า้ งๆ ยางสวมนน้ั ตอ้ งแน่น
วิธีการใช้

วธิ ีที่ 1 การกวนสารละลายดว้ ยแทง่ แก้ว เปน็ การกวนของแข็งให้ละลายในเนอื้ เดียวกันกับสารละลาย
หรอื เปน็ การกวนใหส้ ารละลายผสมกนั โดยใช้แทง่ แกว้ การกวนสารละลายต้องกวนไปในทิศทางเดียว และระวงั
อย่าให้แทง่ แก้วกระทบกับขา้ งหลอดทดลองหรือก้นหลอดทดลอง เพราะจะทาใหห้ ลอดทดลองทะลุได้ หาก
เป็นการผสมสารละลายที่มีจานวนมากกค็ วรใชบ้ ีกเกอรแ์ ทนหลอดทดลองและใช้เทคนคิ การกวนสารละลาย
เช่นเดียวกัน

วิธที ่ี 2 การหมุนสารละลายด้วยขอ้ มือ เป็นเทคนิคการผสมสารละลายในหลอดทดลอง กระบอกตวง
หรอื ฟลาสใหม้ ีลักษณะเป็นเน้ือเดียวกนั ทุกส่วนวธิ ีหนึ่ง โดยใช้มอื จบั ทางสว่ นปลายของอปุ กรณ์ดงั กล่าวแล้ว
หมนุ ดว้ ยมือให้สารละลายขา้ งในไหลวนไปทิศทางเดียวกนั

แปรง (Brush)

ภาพที่ 1.36 แปรงทาความสะอาดอปุ กรณ์

แปรงใชส้ าหรบั ทาความสะอาดอปุ กรณ์ชนดิ ต่างๆ แปรงลา้ งเครื่องแก้วมหี ลายขนาดและมหี ลายชนดิ
ควรจะเลือกใช้ใหเ้ หมาะสมกับลักษณะของเคร่ืองแก้วนั้นๆ เช่น Test Tube Brush ใชส้ าหรบั ทาความสะอาด
หลอดทดสอบ Flask Brush ใชส้ าหรบั ทาความสะอาดขวดปริมาตร และ Buret Brush ทีม่ ีลักษณะเปน็ แปรง

ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 พรพรรณ ยิง่ ยง |

เอกสารประกอบการสอนวชิ าทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 1 16

กา้ นยาวใชส้ าหรับทาความสะอาดบวิ เรท การใช้แปรงล้างเครือ่ งแกว้ ต้องระมัดระวงั ใหม้ าก อยา่ ถูแรงเกนิ ไป
เน่อื งจากกา้ นแปรงเปน็ โลหะเมื่อไปกระทบกบั แกว้ อาจทาใหแ้ ตกและเกดิ อันตรายได้
หลอดทดลอง (Test Tube)

ภาพที่ 1.37 หลอดทดลอง

หลอดทดลอง (test tube) ใชส้ าหรับใส่สารละลาย หรือสารเคมีใดๆ ในปริมาณน้อยๆ เพือ่ ทดสอบ
ปฏิกิรยิ าเคมที ี่เกดิ ขึ้นในระบบเลก็ โดยใชร้ ่วมกบั ทว่ี างหลอดทดลอง (test tube rack) สามารถทดลอง
ปฏิกริ ยิ าได้พร้อมกันหลายชุด ในระบบเปดิ และปดิ หากทาในระบบปิดจะใช้จกุ ยางปิดดา้ นบน

หลอดทดสอบส่วนมากใชส้ าหรับทดลองปฏิกริ ิยาเคมรี ะหวา่ งสารต่างๆ ท่เี ปน็ สารละลาย ใช้ตม้
ของเหลวทม่ี ีปริมาตรน้อยๆ โดยมี test tube holder จบั กนั ร้อนมือ

หลอดทดสอบแบบทนไฟจะมีขนาดใหญ่ และหนากว่าหลอดธรรมดา ใช้สาหรบั เผาสารตา่ งๆ ด้วย
เปลวไฟโดยตรงในอณุ หภูมิที่สูง หลอดชนิดนไ้ี ม่ควรนาไปใชส้ าหรบั ทดลองปฏิกริ ยิ าเคมีระหว่างสารเหมือน
หลอดธรรมดา

วิธีการเกบ็ รักษา
1. ลา้ งทาความสะอาดดว้ ยแปรงลา้ งหลอดทดลอง
2. เก็บใส่ตะกรา้ ต้งั ไวใ้ นที่ปลอดภัย

หลอดหยด (dropper)

ภาพที่ 1.38 หลอดหยด

หลอดหยด (dropper) เปน็ อุปกรณ์พืน้ ฐานทว่ั ไป ใชส้ าหรับหยดสารละลาย หรือใชช้ ่วยเตรยี ม
สารละลายรว่ มกบั ขวดวัดปริมาตร โดยหยดเพื่อปรบั ปริมาตรให้ถงึ ขีดบอกปริมาตร ซ่ึงจะต้องใช้ร่วมกับจุกยาง
แบบไส้กรอก ขนาดเล็กบบี เพ่ือดูดสารละลายเขา้ มา และหยดสารละลายไดด้ ว้ ยการค่อยๆ คลายการบบี จกุ ยาง
ออก

ระดบั ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 พรพรรณ ย่งิ ยง |

เอกสารประกอบการสอนวิชาทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 1 17

วธิ ใี ช้
หลอดหยดใชส้ าหรับดดู ของเหลวตา่ งๆทใ่ี ช้ในการปฏิบตั ิการทดลองทางวิทยาศาสตร์ เช่น ดดู

สารละลายด่างทบั ทิม เกลือแกง กรดต่างๆเปน็ ต้น หลอดหยดเม่อื ดดู สารชนดิ หน่ึงแล้วหา้ มนาไปดดู สารตา่ ง
ชนิดกนั ถา้ ยังไม่ได้ทาความสะอาด
การเก็บรักษา

ใชเ้ สร็จเรียบรอ้ ยแล้ว ทาความสะอาดเชด็ ให้แห้ง เก็บไวใ้ นตู้อุปกรณ์
ขอ้ ควรระวงั

1. อยา่ ให้ปลายหลอดหยด กระทบหรือแตะกบั ปลายหลอดทดลอง
2. อย่าใหส้ ารสมั ผสั กบั กระเปาะยางเพราะจะทาให้สารละลายถกู ปนเป้ือนได้ และถ้าสารละลายมีฤทธิ์
เป็นกรดกจ็ ะกดั กรอ่ นกระเปาะยางด้วย ดังนน้ั เมื่อทาการทดลองเสร็จแลว้ ควรรีบดึงกระเปาะยางออกจาก
หลอดแกว้ ทันที

ชอ้ นตักสาร (spatula)

ภาพที่ 1.39 ชอ้ นตักสาร

ชอ้ นตกั สาร (spatula) ใช้ตกั สารเคมที ี่อย่ใู นรปู ของแขง็ เพ่อื นาไปช่ังนา้ หนักให้ไดป้ รมิ าณสารเคมตี าม
ตอ้ งการ ทาด้วยพลาสติก หรอื สแตนเลส (stainless steel) เมอ่ื ใช้ช้อนตักสารแล้วตอ้ งทาความสะอาด และ
ผงึ่ ให้แห้งก่อนที่จะใช้ชอ้ นตักสารชนดิ อนื่ ๆ มเิ ชน่ น้ันแล้วจะทาให้สารเคมใี นขวดเกิดการปนเป้อื นได้
วธิ ีใช้

ค่อยๆเปิดขวดสารแลว้ หงายจกุ วางไวใ้ ช้ช้อนตกั สาร แลว้ ใช้นว้ิ หรอื ก้านดินสอเคาะก้านชอ้ นเบาๆเพ่ือ
เทสารในช้อนออกตามปริมาณทต่ี อ้ งการ ถ้าเปน็ ช้อนท่ีมเี บอร์สาหรบั ตวงสารปริมาณต่างกัน ใหต้ กั สารกอ่ น
แลว้ จึงใชด้ า้ มช้อนอีกด้ามหน่ึงปาดผิวให้เรียบ โดยไมต่ ้องกดให้แนน่ จะไดส้ าร 1 ช้อนในปรมิ าณตามเบอร์นัน้ ๆ
การเกบ็ รักษา
1. เม่อื ใช้ชอ้ นตักสารเสรจ็ แล้วตอ้ งทาความสะอาดช้อนให้แหง้ ก่อนที่จะใชช้ อ้ นตักสารชนดิ อ่ืน
2. ห้ามใช้ช้อนตักสารขณะท่ียังรอ้ น

ระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 พรพรรณ ยง่ิ ยง |

เอกสารประกอบการสอนวิชาทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 1 18
โกรง่ บดและทบ่ี ด (Mortar and Pestle)

ภาพที่ 1.40 โกร่งบดสาร

โกรง่ บดยา (Mortar and Pestle) คอื เครื่องมือที่เภสัชกรใชบ้ ดยาและปรงุ ยาซ่งึ ประกอบดว้ ยตวั โกรง่
(mortar) และลูกบด (Pestle) โดยทว่ั ไปโกรง่ จะมลี ักษณะคล้ายกบั ชามค่อนข้างหนาปากกว้าง ภายในผวิ เรียบ
มัน สว่ นใหญโ่ กร่งบดยาจะทาด้วยกระเบื้องพอรซ์ เเลน (porcelain) ใชส้ าหรับใส่วัสดทุ จี่ ะบด ลูกบดมลี กั ษณะ
เปน็ แทง่ ใช้สาหรบั บดหรือทบุ วสั ดุทีต่ อ้ งการใหล้ ะเอยี ดและผสมเข้ากนั ส่วนมากจะทาด้วยไม้ โกร่งจึงเป็น
สญั ลกั ษณ์ของวชิ าชีพเภสัชกรรมอยู่ประจารา้ นขายยาในเวลาต่อมา

โถดูดความชืน้ (desiccator)

ภาพที่ 1.41 โถดูดความชื้น

โถดดู ความช้ืน (desiccator) เดซิกเคเตอร์ใช้สาหรบั ดูดความชืน้ ออกจากสารเคมตี า่ งๆให้เหลือเฉพาะ
สารเคมี ไม่มคี วามช้ืนหรือน้าอยใู่ นโมเลกลุ ของสาร โดยโถดดู ความชนื้ จะต้องใสส่ ารท่ีใชด้ ูดความชน้ื ลงไปดว้ ย
(ด้านลา่ งโถ) สารท่ีใช้ดดู ความชื้นโดยมากแล้วจะใชซ้ ิลิกาเจล (silica gel) หรอื สารจาพวกสารกรองโมเลกุล
(molecular sieve) ซงึ่ ถ้าสารซิลิกาเจลดูดความชนื้ ไว้จนเตม็ สังเกตได้จากสีของซิลิกาเจลจะเปลี่ยนจากสฟี า้
เป็นสชี มพู ในปจั จุบนั มกี ารพัฒนามาเปน็ ตดู้ ดู ความชื้นโดยใชไ้ ฟฟา้ (desiccator cabinet) จะต้องทาวาสลีนที่
ฝา ส่วนที่สมั ผสั กบั ตวั ของเดซิกเคเตอร์ เพื่อให้เปดิ ปิดไดง้ ่าย การเปิดทาไดโ้ ดยเลื่อนฝาออกอยา่ งช้าๆ หากดึง
ฝาข้ึนจะเปิดไม่ออก จากนั้นนาสารทต่ี อ้ งการดูดความช้ืนวางลงบนแผน่ กระเบื้องเคลอื บ และเลื่อนฝาปดิ
กลับคนื ทเ่ี ดิม หากไม่สามารถเลื่อนเพ่ือเปดิ เดซิกเคเตอร์ได้ อาจเน่อื งมาจากความดนั ภายใน และภายนอกมี

ระดับช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 1 พรพรรณ ย่ิงยง |

เอกสารประกอบการสอนวชิ าทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 1 19

ความแตกตา่ งกันมากจะต้อง เปิดจุกดา้ นบนเพ่ือทาใหค้ วามดันภายในและภายนอกเทา่ กันเสยี ก่อนจึงจะ
สามารถเปิดได้ ทัง้ นจ้ี ะตอ้ งทาดว้ ยความรวดเร็วเพ่อื ป้องกันความช้ืนจากภายนอกเขา้ ไปภายในเดซิกเคเตอร์

หลังจากใช้งานไประยะหนึ่งจนกระท่ังสารดดู ความชื้นอมิ่ ตัวดว้ ยน้าแลว้ สงั เกตได้จากการเปล่ียนสี
ของสารดดู ความช้นื จะต้องนาไปอบไลค่ วามชืน้ ออกท่ีอณุ หภูมิ 110 องศาเซลเซยี ส ทาได้โดยการเปดิ ฝาและ
นาสารเคมีตา่ งๆ ออกใหห้ มด จากนั้นนาแผ่นกระเบื้องเคลือบ และสารดดู ความชืน้ ออกมา นาไปอบจนกระทัง่
สขี องสารดูดความชื้นเปล่ยี นแปลงจากสชี มพเู ปน็ สีนา้ เงนิ จากนนั้ นามาเทใสเ่ ดซิกเคเตอร์โดยใชก้ ระดาษช่วย
ในการเท ดังภาพประกอบ และวางแผ่นกระเบ้ืองเคลอื บลงไปวางสารเคมีทต่ี ้องการดูดความช้นื และปิดฝาให้
เรียบรอ้ ย
ขอ้ ควรระวงั

เน่ืองจากเดซกิ เคเตอรท์ าด้วยวสั ดเุ ปน็ แก้ว และกระเบือ้ งเคลอื บ ทาใหแ้ ตกไดง้ ่าย นอกจากน้นั ยังมี
น้าหนกั มากอีกด้วย จงึ ตอ้ งทาดว้ ยความระมัดระวงั และซลิ ิกาเจลมลี กั ษณะเปน็ เม็ดกลมมีสชี มพูและสนี า้ เงิน
เดก็ ๆ อาจนึกวา่ เป็นของทรี่ ับประทานได้ แต่ไม่สามารถรบั ประทานได้เนอื่ งจากมีการเติมสารทท่ี าให้เกดิ สลี งไป
โดยเปน็ สารเคมีท่ีประกอบดว้ ยโลหะหนัก ซ่งึ เป็นอนั ตรายต่อร่างกาย

ขวดช่ัง (weighing bottle)

ขวดช่ังมลี กั ษณะเป็นขวดเล็กๆ ก้นแบนและขา้ งตรงทปี่ าก
และขอบของจุกเปน็ แก้วฝา้ ขวดชัง่ มหี ลายแบบทัง้ แบบทรงสงู แบบ
ทรงเตีย้ และแบบทรงกรวย และยงั มหี ลายขนาดข้ึนอย่กู ับปรมิ าตร
หรอื ความสงู กับเสน้ ผา่ ศนู ย์กลางของปาก ขวดชง่ั ใช้สาหรบั ใส่สารที่
จะนาไปชง่ั ดว้ ยเครื่องชง่ั แบบวเิ คราะห์

ภาพที่ 1.42 ขวดชัง่ สาร

เครื่องชง่ั แบบ Equal-arm balance

ภาพที่ 1.43 Equal-arm balance พรพรรณ ยงิ่ ยง |
ระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 1

เอกสารประกอบการสอนวชิ าทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 1 20

เป็นเครอื่ งชัง่ ท่มี ีแขน 2 ข้างยาวเทา่ กันเม่ือวัดระยะจากจดุ หมนุ ซ่ึงเปน็ สันมดี ขณะที่แขนของเครอ่ื งชงั่
อยู่ในสมดลุ เมอื่ ต้องการหาน้าหนักของสารหรอื วตั ถุ ใหว้ างสารนั้นบนจานดา้ นหนง่ึ ของเคร่ืองช่ัง ตอนนแ้ี ขน
ของเคร่อื งช่ังจะไมอ่ ยู่ในภาวะท่ีสมดลุ จึงต้องใส่ตมุ้ น้าหนักเพือ่ ปรบั ใหแ้ ขนเครื่องชงั่ อยู่ในสมดลุ

วธิ กี ารใชเ้ ครอ่ื งชงั่ แบบ Equal-arm balance
1.จดั ให้เครือ่ งชั่งอยใู่ นแนวระดบั กอ่ นโดยการปรบั สกรทู ่ีขาตงั้ แล้วหาสเกลศนู ยข์ องเคร่ืองชัง่ เมื่อไม่มี

วัตถอุ ยูบ่ นจาน ปลอ่ ยทร่ี องจาน แลว้ ปรบั ให้เข็มชที้ ่ีเลข 0 บนสเกลศูนย์
2. วางขวดบรรจสุ ารบนจานทางด้านซ้ายมือและวางต้มุ นา้ หนกั บนจานทางขวามือของเครื่องชัง่ โดยใช้

คีบคมี
3. ถ้าเขม็ ช้มี าทางซ้ายของสเกลศนู ยแ์ สดงวา่ ขวดชงั่ สารเบากว่าตุม้ นา้ หนกั ต้องยกปมุ่ ควบคมุ คานขนึ้

เพ่อื ตรึงแขนเครอ่ื งช่ังแล้วเตมิ ตุม้ นา้ หนักอกี
ถ้าเข็มช้มี าทางขวาของสเกลศูนย์แสดงวา่ ขวดชง่ั สารเบากว่าตุ้มนา้ หนัก ตอ้ งยกปุ่มควบคุมคานขึ้นเพอื่ ตรงึ แขน
เคร่ืองชงั่ แลว้ เอาตมุ้ นา้ หนักออก

4. ในกรณีทตี่ ุ้มนา้ หนักไม่สามารถทาให้แขนทง้ั 2 ข้างอยใู่ นระนาบได้ ให้เลอื่ นไรเดอร์ไปมาเพ่ือปรับ
ให้น้าหนกั ทง้ั สองขา้ งให้เทา่ กัน

5. บนั ทึกน้าหนกั ทั้งหมดทช่ี งั่ ได้
6. นาสารออกจากขวดใสส่ าร แล้วทาการชั่งนา้ หนกั ของขวดใส่สาร
7. นา้ หนักของสารสามารถหาไดโ้ ดยนานา้ หนกั ทชี่ ัง่ ได้ครั้งแรกลบนา้ หนกั ท่ชี ่งั ได้ครัง้ หลัง
8. หลังจากใช้เครื่องช่งั เสร็จแล้วให้ทาความสะอาดจาน แลว้ เอาตมุ้ นา้ หนักออกและเลอื่ นไรเดอรใ์ ห้อยู่
ทต่ี าแหนง่ ศูนย์

เครอ่ื งชงั่ แบบ Triple-beam balance

ภาพที่ 1.44 Triple-beam balance

เปน็ เคร่อื งชง่ั ชนดิ Mechanical balance อกี ชนิดหนึง่ ท่ีมีราคาถูกและใช้งา่ ย แต่มคี วามไวน้อย เครอ่ื งชง่ั ชนิด
นีม้ แี ขนข้างขวาอยู่ 3 แขนและในแตล่ ะแขนจะมีขีดบอกน้าหนักไวเ้ ช่น 0-1.0 กรมั 0-10 กรมั 0-100 กรมั
และยงั มตี ุ้มน้าหนักสาหรับเลื่อนไปมาได้อีกด้วย แขนท้งั 3 นี้ติดกบั เข็มชี้อันเดียวกัน

วธิ กี ารใชเ้ ครอื่ งชัง่ แบบ (Triple-beam balance)

1. ตั้งเครื่องชัง่ ให้อยใู่ นแนวระนาบ แล้วปรบั ให้แขนของเครื่องช่ังอยู่ในแนบระนาบโดยหมนุ สกรใู หเ้ ข็ม
ช้ตี รงขีด 0

ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 1 พรพรรณ ยง่ิ ยง |

เอกสารประกอบการสอนวชิ าทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 1 21

2. วางขวดบรรจสุ ารบนจานเครื่องชัง่ แล้วเล่อื นต้มุ นา้ หนกั บนแขนทั้งสามเพ่ือปรับให้เข็มช้ีตรงขีด 0
อ่านนา้ หนกั บนแขนเครอ่ื งช่งั จะเป็นนา้ หนกั ของขวดบรรจุสาร

3. ถ้าต้องการช่ังสารตามนา้ หนกั ทต่ี ้องการกบ็ วกน้าหนักของสารกบั น้าหนักของขวดบรรจสุ ารทไี่ ดใ้ น
ขอ้ 2 แลว้ เลือ่ นตุ้มน้าหนักบนแขนทง้ั 3 ให้ตรงกับนา้ หนักท่ีต้องการ

4. เตมิ สารท่ีต้องการชง่ั ลงในขวดบรรจุสารจนเขม็ ชตี้ รงขดี 0 พอดี จะไดน้ ้าหนักของสารตามต้องการ
5. นาขวดบรรจุสารออกจากจานของเครอ่ื งชง่ั แลว้ เลอื่ นตุ้มนา้ หนกั ทกุ อันให้อยทู่ ี่ 0 ทาความสะอาด
เครอ่ื งชงั่ หากมสี ารเคมหี กบนจานหรอื รอบๆ เครื่องชั่ง
หมายเหตุ การหาน้าหนักของสารอาจหานา้ หนักท้งั ขวดบรรจุสารและสารรวมกันก่อนก็ได้ แลว้ ชัง่ ขวด
บรรจุสารอยา่ งเดยี วทีหลัง ตอ่ จากน้นั ก็เอานา้ หนกั ทัง้ 2 คร้งั ลบกนั ผลที่ได้จะเปน็ นา้ หนักของสารทตี่ ้องการ

เคร่อื งช่ังดิจติ อล

ภาพท่ี 1.45 เครื่องชง่ั ดิจติ อล

การใช้งานเครื่องชั่งดิจติ อล
1.ก่อนใชง้ านเครอื่ งชงั่ ทุกครง้ั ตอ้ งดวู า่ ระดับลกู น้าของเคร่ืองช่ังอยู่ตรงกลางวงกลมหรือเปลา่ ถา้ ยังไม่อยู่ ควร
ปรบั ทันที
2. เปิดเครอ่ื งชั่งอนุ่ เคร่ืองประมาณ 20-30 นาทีก่อนใชง้ านทุกคร้งั
3. ควรหมนั่ ตรวจสอบเครอ่ื งชั่งบา้ ง สักเดอื นละครงั้ โดยใช้ตุม้ น้าหนกั มาตรฐานมาวางทดสอบบนเคร่ืองชง่ั
สังเกตดูว่าเคร่ืองช่งั อ่านน้าหนกั ได้ถกู ต้องหรือเปลา่ ถา้ ไม่ไดต้ าม spect ของเคร่ืองชัง่ กค็ วร calibrate
เคร่อื งชง่ั ใหม่
4. ในกรณที ม่ี สี ารเคมีหกใสบ่ นเครื่องช่งั ให้เอาผา้ ชุบนา้ หรอื แปรงขนออ่ น ทาความสะอาดทันท่ี
5. ในการวางภาชนะเพ่ือต้องการหักคา่ ภาชนะ ควรวางลงบนจานเครอ่ื งช่ังดว้ ยความระมัดระวัง ห้ามวางกระ
แทรกเดด็ ขาด เพราะอาจทาให้ระบบแม็กคานิกส์เสยี ได้
6. หลังจากใช้งานเครือ่ งช่งั แล้ว ตอ้ งการปดิ เครือ่ ง ถา้ ยังมนี ้าหนกั ค้างอยู่ ให้ กด ปุ่ม 0 เคลียร์หน้าจอใหห้ มด
แล้วจงึ ปิดเครอ่ื งชงั่
7. หลังจากปดิ เครือ่ งช่ังแล้ว ห้ามเอาส่ิงของวางไวบ้ นจานชั่ง

ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 1 พรพรรณ ย่ิงยง |

เอกสารประกอบการสอนวชิ าทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 1 22

เทอรม์ อมเิ ตอร์

ภาพที่ 1.46 เทอร์มอมเิ ตอร์

เทอรม์ อมเิ ตอร์ คือเครื่องมือสาหรับวัดระดบั ความร้อน เม่ือได้รับความร้อน และหดตัวเม่ือคายความ
ร้อน ของเหลวทีใ่ ชบ้ รรจุในกระเปาะแกว้ ของเทอร์มอมิเตอร์ คอื ปรอทหรือแอลกอฮอล์ทผ่ี สมกบั สีแดง เม่ือ
แอลกอฮอลห์ รือปรอทไดร้ บั ความรอ้ น จะขยายตวั ข้นึ ไปตามหลอดแกว้ เล็กๆ เหนือกระเปาะแก้ว และจะหดตวั
ลงไปอยูใ่ นกระเปาะตามเดิมถ้าอณุ หภมู ลิ ดลง

สาเหตทุ ่ีใชแ้ อลกอฮอล์หรือปรอทบรรจลุ งในเทอร์มอมิเตอร์เพราะของเหลวท้งั สองนีไ้ วต่อการเปลย่ี นแปลง
ของอุณหภมู ิ และไม่เกาะผิวของหลอดแก้ว แตถ่ า้ เป็นของเหลวชนิดอ่นื เชน่ น้าจะเกาะผิวหลอดแกว้ เม่ือ
ขยายตัวหรอื หดตัว จะตดิ ค้างอยู่ในหลอดแกว้ ไมย่ อมกลับมาที่กระเปาะ
เทอร์โมมิเตอรท์ ่ผี ลติ เพือ่ ใช้งาน จะมีด้วยกัน 3 แบบ คอื
1. Partial Immersion Thermometer เทอรโ์ มมิเตอร์ชนิดนี้ถูกออกแบบไว้เพื่อใหใ้ ช้วดั อุณหภูมขิ อง
ของเหลว ในการจุ่มเทอร์โมมเิ ตอรช์ นดิ นเ้ี พื่อวดั อุณหภมู ิ ต้องจุ่มเทอร์โมมเิ ตอร์ลงในของเหลวจนระดับผวิ ของ
ของเหลวถงึ ขดี Immersion Ring เทอร์โมมเิ ตอรช์ นดิ น้เี ป็นแบบทีม่ ี Accuracy น้อยทส่ี ุด เพราะอุณหภูมิของ
Stem ส่วนท่อี ยูบ่ นอากาศส่งผลกระทบต่อการวดั ดงั น้ันจึงต้องควบคุมอุณหภมู ิ ภายในห้อง หรือสถานท่ที ที่ า
การวดั ด้วย ( Accuracy บอกค่าความผดิ พลาดจากค่าจรงิ )
2. Total Immersion Thermometer เป็นเทอร์โมมิเตอร์ที่ออกแบบไว้ให้ใชว้ ัดอุณหภูมขิ องของเหลว โดย
ความลกึ ของตัวเทอรโ์ มมิเตอรท์ ีจ่ มุ่ ในของเหลวนนั้ จะต้องอยู่ทีห่ รอื ระดับของผิวของเหลวท่ีระดบั ของเหลวใน
Capillary ช้ีบอกค่าอุณหภูมิในขณะใชง้ านนัน้ ๆ ดังนนั้ จงึ ไม่จาเป็นท่จี ะต้องควบคมุ อุณหภูมหิ อ้ งหรอื สถานท่ี
ทท่ี าการวดั
3. Complete Immersion Thermometer เทอร์โมมเิ ตอรแ์ บบนี้ ในการใชง้ านต้องจุ่มตัวเทอร์โมมเิ ตอร์
ใหจ้ มหมดท้งั ตัว ซ่งึ ตัวทาอุณหภูมติ อ้ งเปน็ กระจก ในกรณีท่ีใชห้ มอ้ ต้ม และเทอรโ์ มมเิ ตอรแ์ บบนส้ี ามารถใชว้ ัด
อณุ หภูมิของอากาศได้ เพราะถือวา่ เทอรโ์ มมเิ ตอร์นจี้ ุม่ ทั้งตัวอยใู่ นอากาศ เชน่ เทอร์โมมเิ ตอรแ์ บบ Max-Min

หลกั ปฏบิ ัติในการใช้เทอร์มอมิเตอรว์ ดั อณุ หภมู ิ
1. ในกระเปาะเทอรม์ อมเิ ตอรจ์ มุ่ หรอื สัมผัสกับส่ิงทตี่ ้องการจะวดั อุณหภูมิเสมอ และ ระมดั ระวงั

ไม่ให้กระเปาะแตะด้านข้างหรือก้น ภาชนะ
2. ใหก้ า้ นเทอร์มอมิเตอรต์ ้ังตรงในแนวดิ่ง เวน้ แต่จะกระทาไม่ไดจ้ ริงๆ
3. อา่ นคา่ อุณหภูมิเม่ือระดับของเหลวขึ้นไปจนหยดุ นิ่งแลว้
4. ขณะอ่านค่าอณุ หภูมิ ต้องให้สายตาอยู่ระดบั เดียวกับระดับของเหลวในเทอรม์ อมิเตอร์
5. อา่ นอณุ หภูมิขณะท่ีกระเปาะเทอร์มอมเิ ตอร์ยงั สัมผัสกบั ส่งิ ท่ีวัดอยู่ เมื่ออ่านเสร็จแล้วจึงเอา

ออกจากการสัมผัสได้

ระดับชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 1 พรพรรณ ย่ิงยง |

เอกสารประกอบการสอนวิชาทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 1 23

ข้อควรระวังในการใชเ้ ทอร์มอมิเตอร์
1. เนื่องจากกระเปาะของเทอร์มอมิเตอรบ์ างและแตกง่าย เวลาใช้จึงควรระมัดระวังไม่ใหก้ ระเปาะ

ไปกระทบกับของแข็งๆแรงๆ
2. ไมค่ วรใช้เทอรม์ อมิเตอร์ใชว้ ัดอุณหภูมทิ แี่ ตกตา่ งกนั มากๆในเวลาต่อเน่ืองกัน เชน่ วดั ของท่ีร้อน

จัดแลว้ เปลย่ี นมาเปน็ วัดของท่ีเยน็ จดั ทันที เพราะหลอดแกว้ จะขยายตัวและหดตัวอยา่ งทันทีทนั ใดทาให้
แตกหกั ได้

3. อยา่ ใช้เทอรม์ อมเิ ตอร์วดั อุณหภูมิทีส่ งู หรือต่ากวา่ สเกลสูงสดุ ต่าสดุ มากๆ
4. เมอื่ ใช้เสร็จแลว้ ควรล้างทาความสะอาด เชด็ ให้แห้ง แล้วเก็บรกั ษาไว้ในทปี่ ลอดภัย

ตะเกียงแอลกอฮอล์

ภาพที่ 1.47 ตะเกียงแอลกอฮอล์

ตัวภาชนะทบี่ รรจแุ อลกอฮอล์ทใ่ี ชเ้ ป็นเช้ือเพลิงทาด้วยอลูมิเนียมหรอื แกว้ ขนาดสงู ประมาณ 3 นิ้ว มี
ฝาครอบทาดว้ ยอลูมิเนียมหรือแกว้ เชน่ กนั เพอื่ ช่วยในการดบั ไฟและป้องกนั แอลกอฮอล์ระเหย มไี สต้ ะเกยี งทา
ดว้ ยเสน้ ด้ายดบิ แอลกอฮอล์ทใ่ี ชเ้ ป็นเช้ือเพลงิ คือ เมทิลแอลกอฮอล์ จะใหค้ วามรอ้ นสูงและไมม่ ีควัน เปลวไฟ
จากตะเกยี งใชส้ าหรบั ฆ่าเชื้อทต่ี ดิ มากบั เขม็ เขย่ี เช้อื ปากขวดหวั เชือ้ หรอื ปากขวดพีดเี อ หรอื อาหารวุ้น

การใชต้ ะเกยี งแอลกอฮอล์
- ก่อนใชต้ อ้ งสารวจดูสภาพของตะเกยี งว่ายงั สามารถใชก้ ารไดห้ รือไม่ เชน่ ส่วนยึดไส้ตะเกียงไมร่ า้ ว

หรอื แตก และปรมิ าณแอลกอฮอลใ์ นตะเกียงมีมากน้อยเพียงใด
- ควรปรบั ไส้ตะเกียงให้สงู พอเหมาะ เมอื่ จุดไฟแล้วจะไดเ้ ปลวไฟท่ีไม่สูงหรือต่าเกนิ ไป
- การเตมิ แอลกอฮอล์ ควรเตมิ ประมาณครึง่ หน่ึงของตะเกียง โดยใช้กรวยและเติมด้วยความ

ระมัดระวงั อยา่ ให้หก เพราะเมื่อจดุ ตะเกียงแลว้ อาจทาให้ไฟไหม้ลุกลามได้
- การจดุ ตะเกียง ตอ้ งใชก้ า้ นไมข้ ีด หา้ มนาตะเกียงไปต่อกนั โดยตรง หรือถือตะเกยี งทจ่ี ดุ แล้วเดินไปมา

เพราะอาจทาใหแ้ อลกอฮอลห์ กและติดไฟ ซึ่งเปน็ อนั ตรายมาก
- เมอ่ื ใชต้ ะเกียงแอลกอฮอลเ์ สรจ็ แลว้ ต้องดบั ตะเกียงทันที โดยใช้ฝาครอบปิด หา้ มใชป้ ากเปา่ ใหด้ ับ

การครอบต้องครอบใหส้ นิททุกครง้ั เพอื่ ป้องกนั มิใหแ้ อลกอฮอล์ระเหย
- ควรมกี ระป๋องทรายไว้ทิ้งก้านไมข้ ดี ท่ีจุดไฟแล้ว

ระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 1 พรพรรณ ยิ่งยง |

เอกสารประกอบการสอนวิชาทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 1 24
ตะเกยี งบุนเซน (Bunsen Burner)

ภาพท่ี 1.48 ตะเกยี งบนุ เซน

ตะเกียงบุนเซนเป็นตะเกียงก๊าซทใ่ี ชใ้ นหอ้ งปฏบิ ัตกิ ารท่วั ไปเม่ือต้องการอณุ หภมู ิท่สี งู พอประมาณ
ตะเกยี งบุนเซนสามารถปรับปริมาณของอากาศได้แต่ไม่มีท่ีปรับปริมาณของก๊าซเชอื้ เพลงิ ตะเกียงบนุ เซนมี
ส่วนประกอบดังตอ่ ไปนี้

1. ฐานของตะเกียง
2. ทอ่ ตวั ตะเกยี ง
3. ชอ่ งทางเขา้ ของกา๊ ซซึง่ เปน็ ท่อที่ยน่ื จากฐานของตะเกียง
4. ชอ่ งปรับปริมาณของอากาศท่ีโดนท่อตวั ตะเกียง
ข้อปฏบิ ัติในการใชต้ ะเกียงบนุ เซนมดี ังต่อไปนี้
1. สวมปลายสายยางขา้ งหนง่ึ กับท่อโลหะท่ีย่ืนออกมาจากฐานตะเกียง ส่วนปลายอกี ข้างหน่งึ ของสาย
ยางต่อกบั ท่อก๊าซเชื้อเพลงิ
2. ปดิ ชอ่ งทางเข้าของอากาศท่ฐี านของตะเกยี งให้สนิท
3. จดุ ไมข้ ดี ไฟหรือทีจ่ ุดไฟ (lighter) รอไวท้ ่ีหัวตะเกยี ง แล้วเปิดก๊าซเชอ้ื เพลิงเข้ามาในตะเกยี งจะได้
เปลวไฟใหญส่ ีเหลือง (luminous flame) หลังจากน้ันคอ่ ยๆ เปิดชอ่ งทางเข้าของอากาศที่ฐานของตะเกียงแล้ว
ปรับให้ได้เปลวไฟไมม่ ีสี (non-luminous flame) ซึง่ เป็นเปลวไฟที่ให้ความร้อนสงู ท่ีสุด
หมายเหตุ ถา้ เปลวไฟดับหรือมีเหตุการณ์อย่างอื่นเกิดข้นึ ตอ้ งปดิ ก๊อกกา๊ ซเชื้อเพลิงทนั ทีแล้วเรมิ่ จุดตะเกียง
ตามข้นั ตอน 1 , 2 และ 3 การใชต้ ะเกยี งบุนเซนไม่ว่ากรณใี ดๆ ตอ้ งใช้เปลวไฟท่ีไมม่ สี ีเสมอ ยกเวน้ การทดลอง
ที่ระบุใหใ้ ช้เปลวไฟสีเหลอื งเท่านนั้
4. หลงั จากใชต้ ะเกยี งบุนเซนเสร็จแลว้ ใหท้ าการดับตะเกยี งโดยการลดปรมิ าณของก๊าซท่ีเขา้ มาใน
ตะเกยี งให้น้อยลงและโดยการปรบั ก๊อกก๊าซจนกระท่ังเปลวไฟท่หี วั ตะเกยี งเลื่อนมาเกดิ ทีฐ่ านตะเกยี ง แลว้ ทา
การปิดก๊อกกา๊ ซทันที
ขอ้ ควรระวงั
1. การสวมสายยางกับท่อก๊าซของตะเกียงหรือทอ่ ก๊าซเช้ือเพลิงทโี่ ต๊ะปฏบิ ตั ิการต้องสวมให้แน่น หาก
สายยางหลดุ ขณะใช้ตะเกยี งไฟอาจจะลกุ ไหม้ได้
2. การจดุ ไม้ขีดไฟไปรอไว้ที่หวั ตะเกียงกอ่ นทจี่ ะเปิดก๊าซ อยา่ ใช้วธิ ีหยอ่ นไมข้ ดี ไฟจากระยะสงู เหนอื
ตะเกียง เพราะจะทาใหก้ า๊ ซที่ออกจากตะเกยี งติดไฟในระดับสงู ซ่ึงอาจก่อใหเ้ กดิ อันตรายได้

ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 1 พรพรรณ ย่งิ ยง |

เอกสารประกอบการสอนวชิ าทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 1 25
ตะเกยี งเทอรร์ ิล (Terril burner)

ภาพท่ี 1.49 ตะเกยี งเทอร์รลิ

ตะเกียงเทอร์ริลเป็นตะเกยี งท่ีไดด้ ัดแปลงแก้ไขมาจากตะเกียงบนุ เซน ทาใหส้ ามารถปรบั ปริมาณของ
อากาศและก๊าซไดท้ ่ีตวั ตะเกยี ง ปรมิ าณของกา๊ ซปรับไดโ้ ดยหมนุ ปมุ่ เกลียวท่ีฐานของตะเกียงข้ึนหรอื ลง ตะเกียง
ชนิดนส้ี ามารถใชเ้ ผาเบา้ ทองคาขาวท่ปี ิดผาได้อุณหภูมสิ ูงถึง 1,050 - 1,150 องศาเซลเซียส และเผาเบ้าเคลอื บ
ทป่ี ดิ ผาได้อณุ หภูมิสูง 600 - 700 องศาเซลเซียส

ตะเกยี งมีเกอร์

ภาพท่ี 1.50 ตะเกียงมเี กอร์

เปน็ ตะเกียงท่ีมีการปรับปรงุ แกไ้ ขให้ทางเข้าของอากาศกว้างพอที่ให้ปรมิ าณของอากาศผ่านเข้าใน
ตะเกียงพอสมควร เพื่อให้เกิดการเผาไหม้อยา่ งสมบูรณ์ ตะเกยี งน้ีมีลกั ษณะดงั นี้ ตอนโคนตัวตะเกยี งเล็ก แคบ
และโตกว้างในตอนใกลต้ ัวตะเกียง ซง่ึ ทาใหก้ ารผสมของอากาศและก๊าซเหมาะสมดขี น้ึ มีตะแกรงลวดนกิ เกลิ
ตดิ อยูท่ ี่หวั ของตะเกียงเพ่ือปอ้ งกันเปลวไฟสะท้อนกลับ อุณหภมู ิสงู สดุ ของเปลวไฟจะอยู่สูงกว่าหัวตะเกียง
ประมาณ 2 - 3 มิลลเิ มตร ตะเกยี งมเี กอรเ์ หมือนตะเกยี งเทอรร์ ิลตรงทส่ี ามารถปรับปริมาณของอากาศและ
ก๊าซได้ท่ีตวั ตะเกียง ตะเกียงมีเกอรส์ ามารถเผาเบ้าทองคาท่ีปดิ ฝาไดอ้ ุณหภมู สิ งู ถึง 1,000 - 1,200 องศา
เซลเซยี ส และเผาเบา้ เคลือบที่ปดิ ผาได้อณุ หภมู ิสูง 800 - 900 องศาเซลเซยี ส

ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 1 พรพรรณ ยิ่งยง |

เอกสารประกอบการสอนวชิ าทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 1 26

1. เทคนคิ การทาความสะอาดเครื่องแก้วทใี่ ชใ้ นการทดลอง
ตอ่ ไปนเี้ ป็นเทคนิคการทาความสะอาดเครื่องแกว้ บางชนิด และสารละลายท่ีใช้ทาความสะอาดเคร่ือง

แกว้ ตามลาดับ
การทาความสะอาดเคร่ืองแก้วที่ใช้วัดปรมิ าตร มเี ทคนิคดังนี้
1) ในกรณีทีเ่ คร่ืองแกว้ น้าทาความสะอาดได้ยาก เช่น ปิเปตตข์ นาดเลก็ ให้ลา้ งดว้ ยสารละลายสาร

ซักฟอกหรือสารละลายทาความสะอาดแลว้ ล้างด้วยนา้ กลน่ั ประมาณ 3 ครงั้ เพ่อื กาจดั สารละลายท่ตี ิดอยใู่ น
เครื่องแกว้ น้นั

2) ต้งั เคร่ืองแกว้ ทิง้ ไว้ให้แห้งที่อุณหภูมิห้อง อยา่ นาใสใ่ นเตาอบทีร่ ้อน
3) ลักษณะผวิ ของเคร่ืองแกว้ ท่เี ปยี กน้าจะดูเรยี บเม่ือเคร่ืองแก้วนน้ั สะอาด แต่ถา้ มลี ักษณะเป็นหยดน้า
แสดงว่ายังสกปรกต้องนาไปล้างใหม่ ซ่ึงอาจล้างด้วยสารละลายสารซักฟอกที่รอ้ นหรือสารละลายทาความ
สะอาด แลว้ ล้างด้วยน้ากลน่ั หลาย ๆ คร้ัง ตั้งท้ิงไว้ให้แห้ง
การทาความสะอาดปเิ ปตต์ปเิ ปตตส์ ามารถลา้ งด้วยสารละลายผงซักฟอกท่ีอุ่นหรือสารละลายทาความ
สะอาด โดยใสส่ ารละลายนใี้ นปิเปตต์ประมาณ 1/3 ของปิเปตตค์ ่อย ๆ เอยี งปิเปตตจ์ นเกือบจะอยู่ในแนวราบ
แลว้ หมนุ ปิเปตตไ์ ปมา เพื่อให้สารละลายเปยี กไปทวั่ พ้ืนผวิ ด้านในของปิเปตต์ปล่อยใหส้ ารละลายไหลออกทาง
ปลายปิเปตตล์ า้ งดว้ ยน้ากลนั่ หลาย ๆ ครง้ั จนแน่ใจวา่ สะอาด (อาจทาซ้าหากไมแ่ น่ใจวา่ สะอาดดแี ล้ว)
การทาความสะอาดบวิ เรตต์ ปกตทิ าความสะอาดดว้ ยสารซกั ฟอกโดยใชแ้ รงก้านยาว ถ้าลา้ งดว้ ยน้า
กล่ันแลว้ ยังไมส่ ะอาด (สงั เกตนา้ ท่เี กาะติดอย่ใู นบวิ เรตต)์ ก็นาไปล้างดว้ ยสารละลายทาความสะอาดอกี ครงั้
หนึง่ ตัง้ ท้ิงไว้ประมาณ 10-15 นาที ปล่อยใหส้ ารละลายไหลออกทางปลายบิวเรตต์ นาไปลา้ งนา้ และลา้ งดว้ ย
น้ากล่ัน ถา้ เห็นว่ายงั ไมส่ ะอาดก็ควรทาซ้า
ขอ้ ควรระวงั
1. ขนาดของลวดที่ใช้แทงเขา้ ไปทางปลายบิวเรตตเ์ พ่ือทาใหจ้ าระบีหลุดออกมานั้นตอ้ งมีขนาด
เหมาะสมและไมใ่ หญเ่ กนิ ไป เพราะจะทาใหป้ ลายบิวเรตตแ์ ตกได้
2. การให้ความรอ้ นทปี่ ลายบิวเรตต์ตอ้ งทาด้วยความระมัดระวงั มฉิ ะนน้ั ปลายบิวเรตต์อาจแตกได้
3. การถือปิเปตต์และบวิ เรตต์ตอ้ งระมัดระวังใหม้ าก เพราะเปน็ อปุ กรณ์เครื่องแก้วทมี่ ี กา้ นยาว และ
ยาวกวา่ ทเ่ี ราคิด ดงั น้ันจงึ มักจะพบว่าปลายบวิ เรตตแ์ ตกหรือหักเสมอ

ระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 พรพรรณ ยิ่งยง |

เอกสารประกอบการสอนวชิ าทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 1 27

สารละลายทีใ่ ชท้ าความสะอาดเคร่ืองแกว้
เมื่อเราไม่สามารถล้างเครื่องแกว้ ให้สะอาด ได้ด้วยสบู่ หรือสารซักฟอก กต็ อ้ งนามาลา้ งด้วย

สารละลายทาความสะอาด ซ่ึงมหี ลายชนดิ ดังต่อไปนี้
สารละลายทาความสะอาดไดโครเมต-กรดซัลฟวิ ริก สารละลายทาความสะอาดชนดิ นเี้ ตรียมไดจ้ าก

การละลาย Na2Cr2O7 2H2O (โซเดยี มไดโครเมต) 92 กรมั ในน้ากลั่น 458 มล. (อาจใชโ้ พแทสเซยี มไดโครเมต
ก็ไดแ้ กอ่ านาจการละลายนอ้ ยกวา่ โซเดียมไดโครเมต) ค่อย ๆ เติม H2SO4 เข้มข้น 800 มล. คนด้วยแท่งแกว้
จะเห็นว่ามีความร้อนเกดิ ข้นึ มากและสารละลายเปลยี่ นเปน็ สารครง่ึ แข็งครึ่งเหลวสแี ดง เมอื่ ลา้ งเครอ่ื งแก้วดว้ ย
สารซกั ฟอกแลว้ ให้เทสารละลายไดโครเมตนีล้ งไปเล็กน้อย ใหไ้ หลไปทวั่ พืน้ ผิวของเคร่อื งแก้ว แลว้ ลา้ งด้วยน้า
และนา้ กลนั่ จนแน่ใจวา่ สะอาด

สารละลายทาความสะอาดกรดไนทรกิ เจือจาง ใช้ทาความสะอาดฝา้ ซง่ึ อยู่ด้านในฟลาสหรอื ขวดหรือ
อปุ กรณ์ท่เี ป็นเคร่ืองแก้วต่าง ๆ โดยเทกรดไนทรกิ อยา่ งเจือจางลงไป ใหพ้ ืน้ ผวิ ของเครอื่ งแก้วเหล่านัน้ เปยี กชุ่ม
ด้วยกรดไนทริกแล้วล้างดว้ ยน้าและน้ากลน่ั หลาย ๆ ครัง้

2.3 สารละลายทาความสะอาดกรดกัดทอง กรดกัดทองเป็นสารละลายผสมระหว่างกรดเกลอื และ
กรดไนทริกเข้มขน้ ในอตั ราส่วน 3:1 โดยปรมิ าตร ตามลาดับ สารละลายทาความสะอาดชนิดนมี้ ีอานาจสงู มาก
แต่เปน็ อันตรายเพราะมีอานาจในการกดั กร่อนสูง การนามาใชจ้ ึงต้องระมัดระวงั เปน็ พิเศษ

2.4 สารละลายทาความสะอาดโพแทสเซยี มหรอื โซเดยี มไฮดรอกไซดใ์ นแอลกอฮอล์ สารละลายทา
ความสะอาดชนดิ นเ้ี ตรียมไดโ้ ดยละลาย NaOH 120 กรัม หรือ KOH 150 กรัมในน้า 120 มล. แลว้ เตมิ เอทา
นอล 95% เพ่ือทาให้มีปรมิ าตรเป็น 1 ลิตร
สารละลายทาความสะอาดชนดิ น้ีเป็นสารละลายทาความสะอาดที่ดีมาก เพราะไม่กัดกร่อนเครอื่ งแกว้ และ
เหมาะสาหรับกาจัดวัตถุท่ีมีลักษณะเหมือนถา่ น

2.5 สารละลายทาความสะอาดไตรโซเดยี มฟอสเฟต สารละลายชนิดนเ้ี ตรยี มโดยละลาย Na3PO4
57 กรมั และโซเดียมโอลเี อต 28.5 กรมั ในนา้ 470 มล. เหมาะสาหรบั กาจัดสารพวกคาร์บอน ถา้ ใหเ้ ครอื่ งแกว้
เปยี กสารละลายนแี้ ล้วใชแ้ ปรงถจู ะสะอาดไดง้ า่ ย

ขอ้ ควรระวัง การเตรยี มและการถือสารละลายทาความสะอาดต้องทาดว้ ยความระมดั ระวัง อยา่ ใหถ้ ูก
เสื้อผา้ หรือผิวหนัง

2. เทคนิคการเทของเหลวหรือสารละลายออกจากขวด
การเทของเหลวหรอื สารละลายออกจากขวดลงในอุปกรณ์ที่ใชท้ ดลองมีวิธที าดังนี้

1. การจบั ขวดสารละลายควรจับทางด้านท่ีมปี ้ายบอกความเขม้ ขน้ หรือบอกช่อื สารในขวด แลว้ เท
สารละลายออกจากขวดทางด้านตรงข้ามกบั ป้าย ท้ังน้เี พ่ือป้องกนั ไมใ่ ห้สารละลายไหลลงมาถูกป้าย

2. หมุนจกุ ขวดเบา ๆ เพือ่ ทาใหจ้ กุ ขวดหลวม
3. เปิดจกุ ขวดออก ถ้าจกุ ขวดนน้ั มสี ่วนบนแบนเรยี บกว็ างหงายข้ึน แตถ่ า้ จกุ ขวดมีลักษณะอนื่ เชน่
เป็นยอดแหลมหรือมลี กั ษณะปลายกลมจะวางไม่ได้ ตอ้ งถือไวใ้ หแ้ นน่ ลกั ษณะการถือจุกขวดนั้นมี 2 แบบคือ
ถา้ จกุ ขวดเป็นยอดแหลมหรือมสี ่วนทีย่ าวออกมาให้ถือโดยให้สว่ นที่เปน็ ยอดแหลมหรือสว่ นที่ยาวออกมานี้อยู่

ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 พรพรรณ ยิง่ ยง |

เอกสารประกอบการสอนวชิ าทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 1 28

ระหวา่ งน้วิ ชี้กบั นวิ้ กลาง หงายมอื ขึ้นใช้น้วิ ท้งั สองคบี ส่วนท่ีเปน็ ยอดแหลม แล้วใชฝ้ า่ มือจับขวดไว้ แต่ถา้ จุกขวด
มลี กั ษณะปลายกลม จะใชม้ ือซ้ายจบั จกุ และเก็บไวใ้ นองุ้ มอื ก็ได้

4. เม่อื เทของเหลวหรือสารละลายไดต้ ามต้องการแลว้ ก่อนท่ีจะเอาขวดสารออก ควรให้ปากขวดตรง
บริเวณที่สารละลายนั้นไหลออกมาแตะกบั อปุ กรณท์ ่รี องรับสารละลายกอ่ น เพื่อป้องกันมใิ หส้ ารละลายไหลลง
มาข้างขวดเพราะจะทาให้เปรอะเป้ือนได้

5. ปิดจุกขวดทนั ที และอยา่ หลงลมื วางจกุ ขวดไว้บนโตะ๊ อย่างเดด็ ขาด

3. เทคนคิ การเตรียมและการผสมสารละลายในหลอดทดลอง

วตั ถุประสงค์ของการผสมสารละลายก็เพ่ือให้ตวั ละลายและตวั ทาละลายผสมกนั อย่างสม่าเสมอ
สาหรับเทคนิคการผสมสารลายนั้นอาจใชว้ ธิ ีเขยา่ หลอดทดลองตามท่ีกล่าวมาแล้วก็ได้ นอกจากน้ียังอาจใช้วิธี
อ่ืน ๆ ได้อกี หลายวิธีดังน้ี

วธิ ที ่ี 1 การกวนสารละลายดว้ ยแทง่ แกว้ เปน็ การกวน
ของแข็งให้ละลายในเน้ือเดียวกันกับสารละลายหรือเปน็ การกวนให้
สารละลายผสมกันโดยใชแ้ ทง่ แก้ว การกวนสารละลาย ต้องกวนไป
ในทศิ ทางเดียว และระวงั อยา่ ใหแ้ ทง่ แก้วกระทบกับขา้ งหลอด
ทดลองหรือกน้ หลอดทดลอง เพราะจะทาให้หลอดทดลองทะลุได้
หากเปน็ การผสมสารละลายท่ีมจี านวนมากก็ควรใชป้ ีกเกอร์แทน
หลอดทดลองและใชเ้ ทคนคิ การกวนสารละลายเชน่ เดยี วกัน

วิธีที่ 2 การหมนุ สารละลายด้วยขอ้ มือ เปน็ เทคนิคการผสม
สารละลายในหลอดทดลอง กระบอกตวงหรือฟลาสให้มีลักษณะเป็น
เนื้อเดยี วกันทุกส่วนวิธีหนงึ่ โดยใชม้ อื จับทางส่วนปลายของอุปกรณ์
ดงั กลา่ วแล้วหมุนดว้ ยข้อมือให้สารละลายข้างในไหลวนไปทิศทาง
เดียวกนั

4. เทคนิคการนาสารที่เปน็ ของแข็งออกจากขวด
การนาสารที่เป็นของแข็งออกจากขวดมีวธิ ที าไดห้ ลายวิธี จะขอแยกกลา่ วตามลาดับดังน้ี
วธิ ีที่ 1 วธิ นี ้ใี ช้กับขวดท่ีด้านในของจุกปดิ มีชอ่ งว่างสามารถใสส่ ารได้ มวี ิธีทาดังน้ี

1. เอียงขวดในตาแหนง่ ทเี่ หมาะสมแล้วหมุนขวดไปมาเพ่อื ให้สารเข้าไปในช่องว่าง ของ จุกขวด ถ้า
ของแขง็ ในขวดนัน้ ตดิ แนน่ อาจตอ้ งเขย่าขวดเบา ๆ เพ่อื ให้พ้นื ผิวของของแข็งน้นั แตกออกหรอื อาจจะเปิดฝา
ขวดออกก่อนแล้วใชช้ อ้ นทีส่ ะอาดขดู ให้พืน้ ผวิ ของสารแตกออกก่อนก็ได้

ระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 1 พรพรรณ ย่งิ ยง |

เอกสารประกอบการสอนวชิ าทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 1 29

2. ถอื ขวดในตาแหนง่ ทเ่ี หมาะสม ระวงั อย่า
ให้สารหก เมื่อเปิดจุกขวดออกซง่ึ ในจุกจะมสี ารอยู่
ด้วย

3. วางขวาดใส่สารลงบนโต๊ะ
เอียงจกุ ขวดเพ่ือเทสารออก อาจใช้
ดนิ สอหรอื นิว้ มือเคาะท่ี จุกขวด เพื่อให้
สารนนั้ หล่นลงมายงั ภาชนะรองรับ
หรือใชช้ ้อนตวงขนาดเล็กตกั ออกกไ็ ด้

4. ทาซ้าจนกว่าจะไดป้ ริมาณของสารตามต้องการ
5. เมื่อได้ปริมาณของสารตามทต่ี ้องการแล้ว หากมีสารเหลืออยูใ่ นจุกขวดใหเ้ ทสาร กลับ เขา้ ไว้ในขวด
ได้ เพราะสารทเี่ หลือนี้ไม่ได้สัมผัสกบั ส่ิงหนึง่ สิ่งใดเลยจงึ มีความบรสิ ทุ ธ์ิเหมือนเดมิ
6. ปิดจกุ ขวด
วิธที ี่ 2 วิธนี ใี้ ช้กับขวดด้านในไมม่ ีช่องว่างท่จี ะใสส่ ารได้ ในกรณนี ี้จาเป็นจะต้องใชช้ ้อนตวง ตกั สารออกมาจาก
ขวดมีวธิ กี ารดังนี้
1. หมุนจกุ ขวดเบา ๆ เพือ่ ให้หลวมแล้วเปิดออก ถา้ จกุ ขวดมีส่วนบนแบนเรียบให้วาง หงายบนพ้ืนโต๊ะ
ทีเ่ รียบและสะอาด แตถ่ า้ จุกขวดมลี กั ษณะอื่นห้ามวางจุกขวดลงบนโตะ๊ อยา่ งเดด็ ขาด จะต้องถือจุกขวดไว้
2. ใช้ช้อนตวงท่ีสะอาดตักสารออกจากขวด

3. ถือชอ้ นที่มีสารออกจากขวดเบา ๆ เพอื่ ไม่ให้สารหกนามาใส่
ภาชนะท่ีรองรับจนไดป้ ริมาณตามต้องการ

4. ปดิ จกุ ขวด

วธิ ีที่ 3 ในกรณีที่ไม่สามารถจะใช้วธิ ีท่ี 1 และวธิ ีที่ 2 เพื่อนาสารท่ี
เป็นของแขง็ ออกจากขวด ได้ก็อาจใช้วิธีที่ 3 ซ่ึงมีวธิ ที าเป็นขั้น ๆ
ดงั น้ี

1. ทาให้ขวดใส่สารสะเทือนเล็กน้อย โดยการเคาะเบา ๆ
กบั พื้นโตะ๊ เพื่อใหส้ ารในขวดเคลอ่ื นไหวและเกาะกันอยา่ งหลวม ๆ

ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 1 พรพรรณ ย่ิงยง |

เอกสารประกอบการสอนวชิ าทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 1 30

2. เปิดจุกขวดและวางจุกขวดหงายขนึ้ บนพ้นื ที่เรยี บและสะอาด
3. ยกขวดใส่สารข้ึนเหนือภาชนะที่จะใส่สารเอียงขวดสารแล้วหมุนขวดไปมา เพอ่ื ใหส้ ารตกลงมายัง
ภาชนะท่รี องรับจนได้ปริมาณตามต้องการ
4. ปดิ จุกขวด

5. เทคนคิ การล้างเครอ่ื งแกว้ ทใี่ ช้ในการทดลอง
เครือ่ งแก้ว ทใ่ี ชใ้ นการทดลองจาเป็นจะต้องลา้ งให้สะอาดเสมอ มฉิ ะน้ันจะทาให้ผลการทดลอง

ผิดพลาดหรอื คลาดเคล่อื นไปจากความเปน็ จรงิ ได้ หลักทัว่ ๆ ไปของการลา้ งเครื่องแก้วท่ีใชใ้ นการทดลองมีดังน้ี
1. ตอ้ งทาความสะอาดเครื่องแก้วนัน้ ทนั ทหี ลงั จากนาไปใช้งานแลว้ เพือ่ ให้เคร่อื งแก้ว แห้งกอ่ นทจ่ี ะ

นาไปใชง้ านในครงั้ ต่อไป หากเคร่ืองแกว้ สกปรกจาเป็นจะต้องลา้ งก่อนการทดลอง ทาใหเ้ สยี เวลา เพราะไม่
สามารถจะลา้ งได้อยา่ งทนั ทีทันใดได้

2. การทาความสะอาดเคร่ืองแก้ว ตอ้ งทาดว้ ยความระมัดระวงั โดยเฉพาะอย่างย่งิ เครือ่ ง แกว้ ทม่ี ี
ลักษณะเป็นกา้ นยาว เช่น ขวดวัดปรมิ าตร ปิเปตต์ บวิ เรตต์ ฯลฯ

3. ตามปกติการล้างเคร่ืองแก้วมกั จะใช้สบหู่ รือสารซักฟอกหรือสารละลายทาความ สะอาด ดังนน้ั จึง
ตอ้ งลา้ งสบู่ สารซกั ฟอกหรือสารละลายทาความสะอาดออกให้หมดเพราะหากมเี หลอื ตกค้างอยู่ อาจไปรบกวน
ปฏกิ ิริยาเคมีได้

4. การลา้ งเครอื่ งแก้วท่ีใช้ในหอ้ งปฏิบัติการทวั่ ๆ ไป ปกติจะลา้ งด้วยแปรงโดยใช้สบู่ สาร ซักฟอกหรือ
สารละลายทาความสะอาดดงั ได้กลา่ วแลว้ แลว้ แต่กรณี ตอ่ จากนน้ั ก็ล้างดว้ ยน้าสะอาด และในขนั้ สุดทา้ ยต้อง
ลา้ งดว้ ยนา้ กลนั่ อีก 1-2 ครัง้ ถ้าเครื่องแกว้ น้นั สะอาดจะสงั เกตเหน็ น้าที่พื้นผวิ เครอื่ งแกว้ เปยี กสมา่ เสมอเป็น
แบบเดยี วกนั แต่ถา้ เครื่องแก้วยงั ไมส่ ะอาด จะสงั เกตเห็นเป็นหยดนา้ มาเกาะข้างเครื่องแกว้ นนั้

5. การใช้แปลงล้างเคร่ืองแก้วต้องระมัดระวังใหม้ าก เพราะกา้ นแปรงเป็นโลหะอาจทาให้ เครอื่ งแกว้
น้นั แตกได้ แปรงลา้ งเคร่ืองแก้วมีหลายชนิด หลายขนาด จะต้องเลือกใช้ให้เหมาะสมกับลักษณะของเครอ่ื งแก้ว
นนั้ ๆ ด้วย

ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 1 พรพรรณ ยิ่งยง |

เอกสารประกอบการสอนวชิ าทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 1 31

ขอ้ ควรระวัง
การล้างเคร่ืองแก้วโดยใชแ้ ปรงถู อย่าถแู รงเกนิ ไป เนอ่ื งจากกา้ นแปรงเป็นโลหะเมือ่ ไปกระทบกับแกว้ อาจทาให้
แตกและเกิดอนั ตรายได้

6. เทคนิคการลบั คมแกว้ ท่ตี ัด
แท่งแกว้ หรอื หลอดแกว้ ท่ตี ดั ใหม่ รอยตดั จะคมมาก ดงั นน้ั ก่อนที่จะนาไปใช้งานจงึ ตอ้ งลบคมเสียก่อน

เพ่อื ป้องกนั บาดมือหรือทาให้อุปกรณ์อ่นื ๆ เป็นรอยขดี ข่วน การลบคมแก้วท่ตี ดั ใหม่ ๆ ทาไดด้ ังนี้
1. ถือแท่งแก้วดว้ ยมือซ้ายและถือตะแกรงลวดมือขวา

2. ถปู ลายแทง่ แกว้ หรือหลอดแกว้ ที่ตดั กับ
ตะแกรงลวดเบา ๆ โดยหมนุ แท่งแกว้ ไปดว้ ย
ในกรณที ี่ตดั หลอดแก้วยาวกว่าทีต่ อ้ งการเลก็ น้อย
จะตอ้ งครูดปลายแก้วออก โดยผสมวตั ถสุ าหรบั ใช้
ขัดกบั น้าให้มีลักษณะคลา้ ยแป้งเปยี ก วางบนแผน่
โลหะหรอื แผน่ แก้วนาหลอดแกว้ หรอื แทง่ แก้วมาถู
เพอื่ ให้แทง่ แก้วเหลอื เทา่ ความยาวที่ตอ้ งการแลว้ ทา
ความสะอาดแท่งแกว้ กอ่ นทีจ่ ะนาไปใช้

การลบคมแทง่ แกว้ หรอื หลอดแกว้ ทต่ี ัดใหม่ อาจ
ทาได้โดยเผาในเปลวไฟ คอื นาส่วนมคี มของแทง่ แกว้ หรือ
หลอดแกว้ ไปเผาในเปลวไฟตรงสว่ นที่ร้อนทีส่ ุด พรอ้ มทั้ง
หมนุ ไปมาอยา่ งช้า ๆ เม่อื เปลวไฟมีสีเหลืองเกดิ ขนึ้ แสดงวา่
แกว้ เริ่มหลอมตัวแล้วจึงเอาออกจากเปลวไฟ ควรวางไวบ้ น
ทยี่ ึดวงแหวนก่อน ไมค่ วรวางบนพน้ื โต๊ะปฏิบตั กิ าร เพราะ
จะทาให้พ้ืนโต๊ะเปน็ รอยไหม้ได้ ปล่อยท้งิ ไวใ้ ห้เย็นจึงนาไปใช้งาน

7. เทคนิคการใหค้ วามร้อนของเหลว หรือสารละลายท่ีไม่ติดไฟ

การให้ความร้อนของเหลวใด ๆ ผู้ทดลองจะต้องทราบว่าของเหลวนั้นตดิ ไฟงา่ ยหรือไมเ่ มื่อกลายเปน็ ไอ
ดงั นั้นการต้มหรือการให้ความรอ้ นแก่ของเหลว จึงควรระวงั ให้มากเพราะอาจมีอนั ตรายเกิดขนึ้ ได้งา่ ย เทคนิคท่ี
จะกลา่ วตอ่ ไปนเี้ ป็นการใหค้ วามร้อนของเหลวท่ีไม่ตดิ ไฟ

ระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 1 พรพรรณ ยงิ่ ยง |

เอกสารประกอบการสอนวิชาทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 1 32

1. เม่ือของเหลวอยู่ในหลอดทดลอง ควรปฏิบตั ิดังนี้
1.1 ปรมิ าตรของของเหลวไม่ควรเกินครง่ึ หน่ึงของหลอดทดลอง
1.2 ถอื หลอดทดลองด้วยท่ีจบั หลอดทดลอง อยา่ จับหลอดทดลองด้วยนิ้วมือโดยตรง (ถ้า ไมม่ ีทจ่ี ับ

หลอดทดลองอาจใชก้ ระดาษแผน่ เล็ก ๆ ยาว ๆ พันรอบปากหลอดทดลองหลาย ๆ รอบ แลว้ ใชน้ วิ้ หวั แมม่ อื กบั
นิ้วทีจ่ ับกระดาษก็ได้)

1.3 นาหลอดทดลองไปให้ความร้อน
โดยตรงจากเปลวไฟควรใช้เปลวไฟอ่อน ๆ และ
เอียง หลอดทดลองเล็กน้อย พยายามให้สว่ นท่ี
เป็นของเหลวในหลอดทดลองถกู เปลวไฟทีละ
นอ้ ย พร้อมแกว่งหลอดทดลองไปมา เมอ่ื
ของเหลวรอ้ นจะระเหยกลายเป็นไอ

ขอ้ ควรระวัง การต้มของเหลวในหลอดทดลองมีข้อทค่ี วรระมดั ระวงั ดังน้ี
1. ขณะให้ความร้อนหลอดทดลองจะต้องหนั ปากหลอดทดลองออกจากตัวเรา และชีไ้ ป ในทศิ ทางที่

ไมม่ ผี ู้อน่ื หรือส่งิ ของอยู่ใกล้ ๆ ทั้งน้เี พราะเมื่อของเหลวเดือดอาจจะพุ่งออกมานอกหลอดทดลองทาให้เกิด
อันตรายได้

2. อยา่ กม้ ดูของเหลวในหลอดทดลองขณะกาลงั ให้ความร้อนเปน็ อันขาด เพราะถ้าของ เหลวพุ่ง
ออกมาอาจเป็นอันตรายต่อใบหน้าและนัยตาได้

3. ขณะให้ความร้อนแก่ของเหลวในหลอดทดลอง ต้องแกวง่ หลอดทดลองไปดว้ ยเพือ่ ให้ ของเหลวใน
หลอดทดลองเคลอื่ นไหวและได้รับความรอ้ นเทา่ เทียมกันทุกส่วน และยงั ชว่ ยปอ้ งกนั ของเหลวพงุ่ ออกมาดว้ ย

2. เมื่อของเหลวอยใู่ นบีกเกอร์หรือฟลาส มีวิธที าดงั นี้
1. นาบีกเกอร์ตงั้ บนตะแกงลวด ซง่ึ วางอย่บู นสามขาหรอื ทยี่ ึดวงแหวน
2. ใหค้ วามรอ้ นโดยใช้ตะเกียงกา๊ ซ

ระดบั ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 1 พรพรรณ ยิ่งยง |

เอกสารประกอบการสอนวิชาทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 1 33

8. เทคนิคการอ่านปรมิ าตรของของเหลว

อุปกรณ์วัดปริมาตรของของเหลวทส่ี าคัญได้แก่ ขวดปริมาตร บิวเรตต์ ปิเปตต์ และกระบอกตวง เม่ือ
ใส่ของเหลวลงในอปุ กรณ์วัดปรมิ าตรเหล่าน้ี ระดบั ของเหลวตอนบนจะมีลกั ษณะโค้งเวา้ เกิดขนึ้ ส่วนโค้งเวา้ นี้
เกดิ จากแรงดงึ ดดู ผวิ ระหว่างผิวแกว้ กับของเหลว หลักในการอา่ นปริมาตรของของเหลวทถี่ ูกต้องในอุปกรณว์ ัด
ปรมิ าตรเหลา่ นี้กค็ ือ จะตอ้ งให้สายตาอยู่ในระดับเดียวกันกับจดุ ตา่ สุดของส่วนโคง้ เว้าน้ี การหาตาแหน่งเพ่ือ
อ่านปรมิ าตรของของเหลวหรอื ตาแหนง่ ของส่วนโค้งเว้าต่าสุดท่ีแนน่ อนน้นั อาจใช้กระดาษแข็งสดี าหรือสีขาว
แตต่ ้องมาขดี เส้นด้วยดนิ สอหรอื หมกึ ดานาไปทาบหลงั ขดี บอกปรมิ าตรให้ระดบั สายตาอยู่ในระดับเดยี วกนั กับ
ส่วนโคง้ เวา้ ต่าสดุ ของของเหลวแล้วเลอ่ื นแผน่ กระดาษขึ้นลงจนกระทั่งขอบบนของกระดาษดาหรือเสน้ ดาบน
กระดาษขาวอยู่ในแนวเดียวกับสว่ นตา่ สดุ ของโค้งเว้า ก็อา่ นปริมาตรตรงตาแหน่งนี้
ตาแหน่งของระดับสายตาในการอ่านปรมิ าตร มคี วามสาคัญต่อคา่ ท่ีไดจ้ ากการอา่ นปรมิ าตรมากกล่าวคือ

1. ถา้ ระดับสายตาอย่เู หนอื สว่ นโค้งเว้าต่าสดุ ของ
ของเหลว ปริมาตรท่ีอา่ นไดจ้ ะมากกว่าปริมาตรจรงิ

2. ถ้าระดบั สายตาอยู่ในระดบั เดยี วกนั กับส่วนโค้ง
เวา้ ต่าสดุ ของของเหลว ปรมิ าตรท่ีอ่านได้จะมีค่าถูกต้อง

3. ถ้าระดบั สายตาอย่ตู ่ากว่าส่วนโคง้ เวา้ ต่าสุดของ
ของเหลว ปริมาตรท่ีอา่ นได้จะนอ้ ยกว่าปริมาตรจรงิ

การอ่านปริมาตรของของเหลวนน้ั ถา้ ระดบั สายตา
ไม่อยู่ในระดับเดียวกนั กับสว่ นโคง้ เวา้ ต่าสุดของของเหลว
แล้ว การอา่ นปริมาตรจะมีความคลาดเคล่ือนเรยี กความ
คลาดเคลื่อน ทเี่ กดิ ขน้ึ นี้วา่ Parallax error

9. เทคนิคการใชบ้ ิวเรต

บวิ เรตตเ์ ป็นอปุ กรณว์ ัดปรมิ าตรทม่ี ีลกั ษณะคลา้ ยกับ Measuring pipet คือมขี ีดบอกปริมาตรตา่ ง ๆ
ไว้ บวิ เรตตม์ หี ลายขนาด ดังนน้ั เม่ือจะนาบิวเรตตไ์ ปใชจ้ ึงควรเลือกใหเ้ หมาะสมกบั ลักษณะของงานท่จี ะ
นาไปใชด้ ว้ ย ก่อนใช้บวิ เรตต์จะต้องล้างใหส้ ะอาด และต้องตรวจดูก๊อก สาหรบั ไขให้สารละลายไหลด้วยวา่ อยู่
ในสภาพทใี่ ช้งานไดด้ ีหรือไม่ การลา้ งบิวเรตต์ปกติใช้สารซกั ฟอก หรอื ถา้ จาเป็นอาจต้องใช้สารละลายทาความ
สะอาดในกรณีที่ลา้ งด้วยสารซักฟอกไม่ออกการลา้ งตอ้ งใช้แปรง กา้ นยาวถไู ปมาแล้วล้างด้วยนา้ ประปาหลาย
ๆ ครัง้ จนแน่ใจวา่ สารซักฟอกหรือสารละลายทาความสะอาดออกหมด ตอ่ จากน้ันจะต้องลา้ งดว้ ยนา้ กลัน่ เพียง
เลก็ น้อยอีก 1-2 ครงั้ ก่อนท่ีจะนาไปใช้งาน ลกั ษณะของบวิ เรตตท์ ส่ี ะอาดจะไม่มีหยดน้าเล็ก ๆ เกาะอยูต่ ามผวิ
แกว้ ดา้ นในของบวิ เรตต์ และผวิ นา้ จะไมแ่ ตกแยก

ระดับช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 1 พรพรรณ ย่ิงยง |

เอกสารประกอบการสอนวิชาทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 1 34

สาหรับกอ๊ กปิดเปิดของบิวเรตต์กต็ ้องทาความสะอาดเชน่ เดียวกนั
อาจล้างด้วยสารละลายทาความสะอาดหรือตัวทาละลายอินทรยี ์ เช่น เบน
ซนี หรอื แอซโี ตน ใช้สาลเี ช็ดก๊อกใหจ้ าระบี ที่ทาไว้เดมิ ออกไป แลว้ ทา
จาระบี ที่ก๊อกใหม่ การทาน้นั ใหท้ าเฉพาะตรงบรเิ วณ A และ B เทา่ น้นั
โดยบริเวณ A ทาตามขวาง ส่วนบรเิ วณ B ทาตามยาว การทาจาระบตี ้อง
ทาบาง ๆ หากทาหนามากเกินไปจะอุดรกู ๊อกของบวิ เรตตไ์ ด้

เมื่อจะใสส่ ารละลายในบิวเรตต์ จะต้องลา้ งบวิ ด้วยสารละลายนัน้ ก่อนโดยใช้สารละลาย ประมาณ 5-
10 มล. ใส่ลงไปหมนุ บวิ เรตต์ เพ่อื ให้สารละลายเปยี กผิวดา้ นในของบวิ เรตต์ อยา่ งทวั่ ถึง เปดิ ก๊อกใหส้ ารละลาย
ไหลผ่านออกทางปลายบวิ เรตต์ แล้วเทสารละลายน้ที ้งิ ไป อาจทาซา้ อีก 1-2 ครง้ั หรือมากกว่าน้กี ็ได้ เพอ่ื ให้
แนใ่ จว่าบวิ เรตต์สะอาดจรงิ ๆ ตอ่ จากน้นั จึงค่อย ๆ เทสารละลายลงในบวิ เรตตใ์ ห้อยู่เหนือระดบั ขดี ศนู ย์เพียง
เล็กน้อย (กอ่ นเทสารละลายลงในบวิ เรตตต์ ้องปิดก๊อกกอ่ นเสมอ) แลว้ ปรบั ปรมิ าตร โดยใหส้ ่วนเว้าตา่ สุดของ
สารละลายอยตู่ รงขดี บอกปริมาตรพอดี การเทสารละลายลงในบิวเรตตน์ เ้ี ทคนิคที่ถูกตอ้ งก็คือ จะต้องเท
สารละลายผ่านกรวยกรอง เพื่อไม่ใหส้ ารละลายหก อกี ประการหนึ่งถา้ เทสารละลายใสบ่ ีกเกอร์ก่อนแลว้ จงึ เท
ลงในบวิ เรตต์ ถา้ บกี เกอร์ไม่สะอาดจะทาใหส้ ารละลายนัน้ สกปรกหรอื ความเข้มขน้ อาจเปลี่ยนแปลงได้ วิธกี าร
ทาเช่นนี้ถือวา่ เปน็ การปฏิบตั ิทผ่ี ิด ไมค่ วรทาอยา่ งยิ่ง

กลา่ วโดยสรปุ เทคนคิ การใชบ้ ิวเรตต์ทีถ่ ูกต้องควรปฏิบัติดงั น้ี
1. ก่อนนาบิวเรตตไ์ ปใช้ตอ้ งล้างบวิ เรตตใ์ หส้ ะอาดดว้ ยสารซกั ฟอกหรือสารละลาย ทาความสะอาด

ลา้ งใหส้ ะอาดด้วยนา้ ประปาแลว้ ล้างดว้ ยน้ากลั่นอกี 2-3 ครั้ง
2. ลา้ งบิวเรตต์ดว้ ยสารละลายทจี่ ะใชเ้ พยี งเล็กน้อยอีก 2-3 คร้งั แลว้ ปล่อยให้สารละลาย นไ้ี หลออก

ทางปลายบวิ เรตต์
3. กอ่ นทจ่ี ะเทสารละลายลงในบวิ เรตตต์ ้องปดิ บวิ เรตต์ก่อนเสมอ และเทสารละลายลงในบิวเรตต์โดย

ผา่ นทางกรวยกรอง ใหม้ ีปริมาตรเหนือขดี ศูนยเ์ ล็กน้อย เอากรวยออกแล้วเปิดก๊อกใหส้ ารละลายไหลออกทาง
ปลายบวิ เรตต์ เพ่ือปรบั ให้ปริมาตรของสารละลายอยู่ท่ีขดี ศูนยพ์ อดี (ท่ีบริเวณปลายบิวเรตตจ์ ะต้องไมม่ ี
ฟองอากาศเหลืออยู่ หากมฟี องอากาศจะตอ้ งเปดิ ก๊อกใหส้ ารละลายไล่อากาศออกไปจนหมด)

4. ถ้าปลายบิวเรตตม์ ีหยดนา้ ของสารละลายติดอยู่ ตอ้ งเอาออก
โดยให้ปลายบิวเรตตแ์ ตะกับบีกเกอร์หยดนา้ ก็จะไหลออกไป
5. การจบั ปลายบิวเรตต์ทถ่ี ูกตอ้ ง(ดังภาพ) หากใช้บวิ เรตต์เพ่ือการ
ไทเทรต หรอื การถ่ายเทสารในบวิ เรตต์ลงส่ภู าชนะทรี่ องรับ
จะตอ้ งให้ปลายบิวเรตตอ์ ยู่ในภาชนะนั้น ทงั้ น้ีเพ่ือไมใ่ หส้ ารละลาย
หก
6. เมอ่ื ปล่อยสารละลายออกจากบวิ เรตตจ์ นสารละลายลดลงถงึ
ขดี บอกปรมิ าตรสุดท้ายของบิวเรตตน์ ้ัน ๆ ต้องรบี ปดิ บวิ เรตต์
ทันที หากปลอ่ ยให้สารละลายเลยขดี บอกปริมาตรสดุ ท้ายลงมา
จะไม่ทราบปรมิ าตรทแี่ นน่ อนของสารละลายที่ผา่ นบิวเรตต์ลงมา ในกรณีทต่ี ้องใชส้ ารละลายที่มีจานวนมาก
และใชบ้ วิ เรตตใ์ นการถ่ายเท เมื่อปล่อยสารละลายจนถงึ ขีดบอกปรมิ าตรสดุ ทา้ ยแลว้ ต้องปิดบวิ เรตต์ก่อน แล้ว
จงึ เตมิ สารละลายลงในบิวเรตต์ ปรบั ให้มีระดับอยทู่ ี่ขดี ศูนย์ใหม่ ต่อจากนน้ั กป็ ล่อยสารละลายลงมาจนกว่าจะ
ไดป้ รมิ าตรตามต้องการ

ระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 พรพรรณ ย่งิ ยง |

เอกสารประกอบการสอนวชิ าทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 1 35

10. เทคนคิ การใชป้ เิ ปต
1. ก่อนใช้ปิเปตต้องมีการทาความสะอาดโดยดูดน้ากลั่นเข้าไปจนเกือบเตม็ แลว้ ปลอ่ ยใหไ้ หลออกมา

จนหมด สังเกตดวู ่าถ้าไม่มีหยดนา้ เกาะตดิ อย่ภู ายในแสดงว่าปิเปตสะอาดดีแล้ว
2. เม่อื จะนาปิเปตที่เปยี กไปใชว้ ดั ปริมาตร ตอ้ งล้างปิเปตด้วยสารละลายท่ีจะวดั 2-3 ครั้ง โดยใช้

สารละลายครั้งละเล็กน้อยและใหส้ ารละลายถูกผวิ แกว้ โดยทั่วถงึ แลว้ เช็ดปลายปิเปตด้วยกระดาษ tissue ท่ี
สะอาด

3. จุม่ ปลายปิเปตลงในสารละลายท่ีจะวัดปริมาตร โดยทีป่ ลายปิเปตอยตู่ า่ กว่าระดบั สารละลาย
ตลอดเวลาที่ทาการดดู เพราะเมอื่ ใดที่ระดบั ของสารละลายในภาชนะลดลงตา่ กวา่ ปลายปิเปตในระหว่างที่ทา
การดูด สารละลายในปิเปตจะพ่งุ เข้าสู่ปากทนั ที

4. ใชป้ ากดดู หรอื เคร่ืองดูดหรอื กระเปาะยางดูดสารละลายเขา้ ไปในปิเปตอย่างชา้ ๆ จนกระทงั่
สารละลายขนึ้ มาอยเู่ หนือขดี บอกปริมาตร และใช้นิ้วชป้ี ดิ ปลายปิเปตใหแ้ นน่ โดยทนั ที จบั ก้านปิเปตดว้ ย
นว้ิ หัวแม่มือและนว้ิ กลาง (ไม่ควรใช้ปากดดู ถา้ สารละลายนั้นเป็นสารทม่ี ีพิษ หรอื เปน็ กรดแก่ ด่างแก่ ต้องใช้
เคร่ืองดูดหรือกระเปาะยางต่อตอนบนของปิเปต)

5. จับปิเปตใหต้ ั้งตรงแลว้ ค่อยๆผ่อนนิ้วชี้เพื่อให้สารละลายท่เี กินขีดบอกปริมาตรไหลออกไปจนกระทั่ง
ส่วนเวา้ ตา่ สดุ ของสารละลายแตะกับขีดบอกปริมาตรพอดี ปิดแนน่ ดว้ ยน้วิ ช้ีและ แตะปลายปิเปตกับข้าง
ภาชนะท่ีใสส่ ารละลาย เพือ่ ใหห้ ยดน้าซึ่งอาจจะติดอยู่ท่ีปลายปิเปตหมดไป จบั ปิเปตใหต้ รงประมาณ 30 วนิ าท่ี
เพ่ือใหส้ ารละลายทตี่ ิดอยู่ขา้ งๆ ปิเปตไหลออกหมด

6. ปลอ่ ยสารละลายทอ่ี ยู่ในปิเปต ลงในภาชนะทเี่ ตรียมไวโ้ ดยยกนิว้ ช้ีขึ้น ให้สารละลายไหลลง
ตามปกติตามแรงโนม้ ถว่ งของโลกจนหมด แลว้ แตะปลายปเิ ปตกับขา้ งภาชนะเพื่อใหส้ ารลายหยดสุดท้ายไหล
ลงสูภ่ าชนะ อย่าเป่าหรือทาอื่นใดทีจ่ ะทาใหส้ ารละลายทเี่ หลอื อยู่ท่ปี ลายปิเปตไหลออกมา เพราะปริมาตรของ
สารละลายทเ่ี หลอื นี้ไมใ่ ชป้ รมิ าตรของสารละลายท่ีจะวดั

ปิเปตท่ีทาเป็นพิเศษเพ่ืองานที่ตอ้ งการความแนน่ อนมากๆ ที่กระเปาะของปิเปตจะบอกเวลาท่ี
สารละลายไหลออกหมด ซ่ึงเรียกว่า Time of outflow และเมอ่ื สารละลายไหลออกหมดแล้ว ต้องท้งิ ไว้
ระยะเวลาหน่งึ ซง่ึ เรยี กระยะเวลานี้ว่า Time of drainage

ระดับชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 พรพรรณ ยิ่งยง |

เอกสารประกอบการสอนวชิ าทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 1 36

หมายเหตุ
1. การปรบั ปริมาตรของสารละลายใหอ้ ย่ตู รงขีดปริมาตรพอดนี ัน้ จะต้องไม่มฟี องอากาศเกดิ ขึ้น ณ

บรเิ วณปลายของปิเปตหรือทเี่ รยี กว่าการเกิด parallax
2. หา้ มเป่าขณะทาการปล่อยสารละลายออกจากปิเปตอย่าเดด็ ดาด เพราะการเปา่ จะทาใหผ้ นังดา้ น

ในของปิเปตสกปรก และยงั ทาใหส้ ารละลายที่ติดอยู่กับผนังดา้ นในของปิเปตแต่ละครงั้ แตกต่างกันดว้ ย ทาให้
การวดั ปรมิ าตรของสารละลายทีว่ ัดมีคา่ ไม่เทา่ กันเม่ือได้มีการทดลองซา้ แต่ถ้าเป็น Measuring pipette ท่ี
ผู้ผลิตทารอยแก้วฝ้าที่ปลายบนหรือมหี นงั สือแจ้งไว้ จะสามารถเป่าสารละลายออกจากปลายปิเปตนน้ั ได้

3. หลังจากนาปิเปตไปใช้แลว้ จะตอ้ งทาความสะอาดแล้วล้างด้วยนา้ กล่ันหลายๆ ครั้ง
4. ถ้าหากกระเปาะยางหรอื อุปกรณด์ ดู อ่นื ๆ ไม่มี อาจจะใช้สายยางหรือสายพลาสติกต่อกบั กา้ นของปิ
เปตกไ็ ด้

11. เทคนิคการใชเ้ คร่อื งชง่ั
การท่จี ะเลือกใช้เครอื่ งชัง่ ชนดิ ใดในการทดลองให้เหมาะสมนน้ั ข้ึนอยกู่ บั ว่าการทดลองน้ันต้องการ

ความถกู ตอ้ งมากน้อยแคไ่ หน การใช้เครื่องชัง่ ตอ้ งมกี ารระวังและรักษาให้ดี เพอ่ื ป้องกนั การชารดุ เสียหายของ
เครอื่ งช่งั ซง่ึ ทาให้น้าหนักคลาดเคลือ่ นจนไมส่ ามารถนามาใชง้ านได้ ดังน้นั ทุกคร้ังท่ีใชเ้ คร่ืองชั่งผ้ใู ช้ควรปฏิบัติ
ดงั นี้

1. เคร่อื งช่งั ต้องตั้งอยทู่ ่บี นที่แน่นหนาม่ันคง อยา่ ให้มีการสะเทือน ไมค่ วรตงั้ รอมหน้าต่างหรอื ใกล้
ความร้อน อย่าให้แสงแดส่องถูกเคร่ืองช่ังโดยตรง และฐานของเครอ่ื งชัง่ ต้องอยู่ในแนวระนาบ

2. ก่อนชงั่ ตรงปรับใหเ้ ขม็ ของเครือ่ งชง่ั อยทู่ ่ขี ีด 0 พอดีและขณะชง่ั ต้องนง่ั ตรงก่ึงกลางของเครือ่ งชงั่
เสมอ เพื่อไมใ่ หก้ ารอ่านนา้ หนักผดิ พลาด

3. หา้ มวางสารเคมที จ่ี ะชั่งบนจานเครื่องช่งั โดยตรง เพราะสารเคมอี าจทาใหจ้ านชารุดเสยี หายได้ ตอ้ ง
ใส่สารเคมบี นกระจกนาฬกิ าหรอื ขวดชั่งสารเสมอ อยา่ ใชก้ ระดาษรองสารเคมใี นการชงั่ สารเคมีอยา่ งเดด็ ขาด

4. การชง่ั สารท่กี ดั โลหะต้องใสส่ ารในขวดชง่ั สารที่มีฝาปดิ มิดชิด
5. ห้ามนาวัตถุหรอื สารเคมีที่ยังรอ้ นอยู่ไปช่ัง วัตถุท่นี ามาชัง่ ต้องมีอณุ หภูมิเทา่ กับอุณหภูมิของห้อง
6. ห้ามใช้มอื หยิบต้มุ น้าหนกั หรอื วัตถุทีจ่ ะชัง่ เพราะนา้ หนักอาจเปลี่ยนแปลงเนอ่ื งจากเหงือ่ ท่ีตดิ อยทู่ ี่
นิ้วมือ ต้องใชป้ ากคบี หยบิ ตุ้มนา้ หนกั หรือใชก้ ระดาษพับเป็นแผน่ เลก็ ๆ คาดรอบขวดช่งั หรือตุ้มนา้ หนักเสมอ

7. เมอ่ื ชงั่ นา้ หนักของสารเสร็จเรียบร้อยแล้ว ตอ้ งเก็บต้มุ น้าหนกั และแผน่ นา้ หนักหรอื เล่ือนตมุ้ น้าหนัก
มาอยูท่ ี่ขดี 0 รวมทง้ั เกบ็ วตั ถุท่ีนามาชัง่ ออกจากเคร่อื งช่ังให้หมด ถ้าหากมสี ารเคมหี กอยู่บนจานหรอื พ้ืนเครอ่ื ง
ช่งั ต้องทาความสะอาดโดยทันที

8. อย่าช่งั สารท่ีมีน้าหนักมากกว่าความสามารถของเครื่องชั่ง โดยปกตเิ ครื่องช่งั ในหอ้ งทดลองจะชั่งได้
ตงั้ แต่ 100 ถึง 200 กรัม ซึง่ ผู้ผลิตจะระบอุ ัตราไว้

9. ตอ้ งรกั ษาเครื่องช่งั ให้สะอาดอย่เู สมอหลงั จากใชท้ ุกครง้ั ควรคลุมเครื่องชง่ั เพ่ือป้องกันฝุ่นละออง

ระดับชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 พรพรรณ ย่ิงยง |

เอกสารประกอบการสอนวิชาทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 1 37

12. เทคนิคการกลั่นอยา่ งง่าย
การกลน่ั เป็นกระบวนการเปล่ียนของเหลวใหเ้ ป็นไอโดยใชค้ วามร้อนแลว้ ทาให้ไอควบแน่นกลบั เป็น

ของเหลวอีก การกลัน่ ใชใ้ นการทาใหข้ องเหลวบริสุทธ์ิ หรอื ใชแ้ ยกของเหลวชนิดหน่งึ ออกจากของเหลวอ่นื ๆ
ได้ ซึง่ ของเหลวเหลา่ นน้ั จะต้องมคี ณุ สมบตั ทิ างกายภาพทเ่ี รียกว่า การระเหย แตกต่างกัน

โดยทัว่ ไปแลว้ สารทรี่ ะเหยง่ายจะมีความดันไอสงู ท่ีอุณหภูมิห้อง สว่ นสารที่ไมร่ ะเหยจะมีความดันไอตา่
นน่ั คอื สารที่ระเหยได้ง่ายจะมีความดนั ไอสูงกวา่ แต่จดุ เดือดตา่ กวา่ สารที่ไม่ระเหย

เราทราบแลว้ ว่าของแข็งและของเหลวทัง้ หลายมีแนวโนม้ ที่จะระเหยกลายเปน็ ไอได้ทกุ ๆ อณุ หภมู ทิ ี่
เปลย่ี นแปลง ซ่ึงการระเหยกลายเปน็ ไอจะมากหรอื น้อยข้นึ อยู่กบั อุณหภูมแิ ละความดันภายนอก เชน่ เมอื่ บรรจุ
ของเหลวชนดิ หนง่ึ ในภาชนะปิด ของเหลวนัน้ จะกลายเปน็ ไอจนกระท่ังมคี วามดนั ไอคงท่ีซง่ึ เปน็ ความดนั ไอของ
ของเหลวท่ีอุณหภมู นิ ั้น ถ้าตอ้ งการใหข้ องเหลวระเหยได้ตลอดเวลาหรอื เกิดดขี ึน้ จาเป็นจะตอ้ งใหไ้ อเหนอื
ของเหลวนัน้ ออกไป ซึ่งเป็นการลดความดันไอเหนอื ของเหลวน้ันนั่นเอง การกลั่นก็ใช้หลกั การน้ี คอื ปล่อยให้ไอ
ของสารที่ระเหยออกมา ออกไปแลว้ ควบแน่นเป็นของเหลว ทาให้การกลัน่ ดาเนินตอ่ ไปได้ตลอดเวลา

เครอ่ื งมือที่ใชส้ าหรับการกล่ันอย่างง่าย ประกอบดว้ ย ฟลาสกล่ัน (ควรมปี ริมาตรเปน็ 2 เท่าของ
ของเหลวทจี่ ะกลน่ั ) เทอร์โมมิเตอร์ เครื่องควบแน่น และภาชนะรองรับสารท่ีกล่ันได้ การกลนั่ อย่างง่ายมี
เทคนิคการทาเป็นข้นั ๆ ดงั นี้

1. เทของเหลวท่จี ะกลัน่ ลงในฟลาสกลัน่ โดยใชก้ รวยกรอง
2. เติมชนิ้ กนั เดือดพล่งุ (ใช้ boiling stone หรอื boiling chips กไ็ ด้) เพอื่ ใหก้ ารเดือดเป็นไปอยา่ ง
สมา่ เสมอและไมร่ ุนแรง
3. เสยี บเทอร์โมมิเตอร์
4. เปิดนา้ ใหผ้ ่านเขา้ ไปในคอนเดนเซอรเ์ พือ่ ให้คอนเดนเซอร์เย็นโดยใหน้ า้ เขา้ ทางทีต่ ่าแล้วไหลออก
ทางทส่ี ูง
5. ให้ความร้อนแก่พลาสกล่นั จนกระทั่งของเหลวเริม่ เดอื ด ใหค้ วามรอ้ นไปเร่ือย ๆ จน กระทง่ั อัตรา
การกลน่ั คงที่ คอื ไดส้ ารที่กลัน่ ประมาณ 2-3 หยด ต่อวนิ าที ให้สารทก่ี ล่นั ได้นี้ไหลลงในภาชนะรองรบั
6. การกลั่นต้องดาเนนิ ต่อไปจนกระท่ังเหลือสารอยู่ในฟลาสกลน่ั เพียงเลก็ น้อยอยา่ กลน่ั ให้แหง้

ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 1 พรพรรณ ยง่ิ ยง |

เอกสารประกอบการสอนวชิ าทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 1 38

การกลั่นสามารถนามาใช้ทดสอบความบริสุทธิ์ของของเหลวได้ ซงึ่ ของเหลวทีบ่ ริสทุ ธิจ์ ะมีลักษณะดงั นี้
1. สว่ นประกอบของสารที่กลั่นได้ จะมลี ักษณะเหมือนกับสว่ นประกอบของของเหลว
2. ส่วนประกอบจะไม่มีการเปลี่ยนแปลง
3. อุณหภมู ขิ องจุดเดือดในขณะกลั่นจะคงทตี่ ลอดเวลา
4. การกลน่ั จะทาใหเ้ ราทราบจดุ เดอื ดของของเหลวบริสทุ ธ์ิได้
การกลน่ั นอกจากจะนามาใช้ตรวจสอบความบรสิ ุทธข์ิ องของเหลวแลว้ ยังสามารถใช้กลน่ั สารละลาย

ได้อีกด้วย การกล่ันสารละลายเป็นกระบวนการแยกของแข็งท่ีไม่ระเหยออกจากตัวทาละลายหรือของเหลวท่ี
ระเหยงา่ ย โดยของแข็งทีไ่ มร่ ะเหยหรอื ตวั ละลายจะอยู่ในฟลาสกลัน่ สว่ นของเหลวทรี่ ะเหยง่ายจะถูกกล่ัน
ออกมา เม่อื การกลัน่ ดาเนินไปจนกระทั่งอุณหภูมิของการกล่นั คงทแ่ี สดงว่าสารทเ่ี หลือนั้นเป็นสารบรสิ ทุ ธ์ิ

อน่งึ ในขณะกล่นั จะสังเกตเหน็ วา่ อณุ หภูมขิ องสารละลายจะเพิม่ ขน้ึ เร่ือย ๆ เพราะสารละลายเข้มข้น
ขึน้ เน่ืองจากตัวทาละลายระเหยออกไปและได้ของแข็งทบ่ี ริสทุ ธ์ใิ นที่สุด

ขอ้ ควรระวัง เม่ือต้องการระเหยสารละลายเพอื่ แยกตัวทาละลายและตวั ละลายออกจากกนั โดยใช้
ความร้อนจากไฟฟ้าหรือตะเกียง ไมค่ วรระเหยสารละลายให้แหง้ สนิท เพราะของแข็งที่ได้นนั้ อาจจะสลายตวั ได้

13. เทคนคิ การไทเทรต
การไทเทรตเป็นการวเิ คราะห์หาความเข้มขน้ ของสารละลายท่ียงั ไม่ทราบความเข้มข้นจากสารละลาย

ทท่ี ราบความเข้มข้นแลว้ หรอื ทีเ่ รียกกนั วา่ สารละลายมาตรฐาน อุปกรณท์ ่ีใช้ในการไทเทรตกค็ ือบวิ เรตต์
ตามปกตจิ ะบรรจุสารละลายทีต่ อ้ งการหาความเข้มข้นลงในบิวเรตต์ สว่ นสารละลายมาตรฐานบรรจอุ ยู่ใน
ฟลาส ต่อไปนจ้ี ะขอกล่าวถงึ เทคนิคการไทเทรตเปน็ ข้อดังน้ี
1. ลา้ งบวิ เรตตใ์ หส้ ะอาดแลว้ ตงั้ บวิ เรตต์ใหม้ ีลักษณะดังภาพ

ระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 1 พรพรรณ ยงิ่ ยง |

เอกสารประกอบการสอนวชิ าทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 1 39

2. เตมิ สารละลายทีต่ ้องการจะหาความเข้มขน้ ลงในบิวเรตต์ (ใช้กรวยกรอง) ใหม้ ีปริมาตรเหนือขีด
ศูนยเ์ ลก็ นอ้ ย

3. ปล่อยสารละลายออกทางปลายบวิ เรตต์อย่างชา้ ๆ ลงในบีกเกอร์เพื่อไล่ฟองอากาศท่ี อยทู่ างปลาย
บิวเรตต์ออกไปใหห้ มด แลว้ ปรับระดับสารละลายในบิวเรตต์ให้อยตู่ รงขดี ศูนย์พอดี

4. ใชป้ ิเปตตด์ ดู สารละลายมาตรฐานตามปริมาตรท่ีตอ้ งการใสล่ งในฟลาส แล้วหยดอินดิเคเตอร์ 2-3
หยดเพ่ือใชเ้ ปน็ ตัวบอกจุดยุติ

5. หยดสารละลายในบวิ เรตต์ลงในฟลาสอย่างชา้ ๆ พร้อมทงั้ แกวง่ ฟลาสด้วยมอื ขวาให้วนไปใน
ทศิ ทางเดียวกนั จนกระทงั่ ถึงจุดยุติ

หมายเหตุ
1. การจบั บิวเรตต์เพื่อปล่อยสารละลายออกจากบิวเรตต์ ควรจัดใหถ้ กู วธิ คี อื จับบวิ เรตตด์ ้วยมือซ้าย
จบั ฟลาสด้วยมือขวาขณะไทเทรตปลายบิวเรตตจ์ ะต้องจุม่ อยใู่ นปากฟลาส

2. ขณะไทเทรตควรใชก้ ระดาษสขี าววางไว้ใต้ฟลาส เพื่อให้สังเกตการเปลย่ี นแปลง สีได้อย่างชดั เจน
3. ในระหว่างการไทเทรตควรมกี ารล้างผนงั ดา้ นในของฟลาสเพือ่ ใหเ้ น้ือสารทีต่ ิดอยขู่ ้าง ๆ ไหลลงไป
ทาปฏกิ ิรยิ ากันอยา่ งสมบูรณ์

4. เมือ่ การไทเทรตใกล้ถงึ จุดยุตคิ วรหยดสารละลายลงในบิวเรตตท์ ีละหยดหรือทลี ะหนงึ่ หยด เพ่อื
ปอ้ งกันการเติมสารละลายลงไปมากเกินพอ การหยดสารละลายทีละครึ่งหยดทาไดโ้ ดยเปดิ กอ๊ กเพยี งเล็กน้อย
เม่ือสารละลายเริ่มไหลมาอยู่ทปี่ ลายบวิ เรตต์กป็ ดิ กอ๊ กทันที แลว้ เลือ่ นฟลาสมาแตะที่ปลายบวิ เรตตใ์ ชน้ ้าฉดี ลา้ ง
ลงไปในฟลาส

ระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 พรพรรณ ย่งิ ยง |

เอกสารประกอบการสอนวิชาทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 1 40

5. เม่อื อินดิเคเตอร์เปลย่ี นสี ควรตงั้ สารละลายทง้ิ ไวป้ ระมาณ 30 วนิ าที หากสีไม่เปลีย่ นแปลงแสดงวา่
ถงึ จดุ ยตุ แิ ล้ว

6. อา่ นปริมาตรของสารละลายทีใ่ ชใ้ นการไทเทรตโดยดตู รงสว่ นโค้งเวา้ ตา่ สดุ ว่าตรงกับขดี บอก
ปริมาตรใด
ข้อแนะนา

ตามปกติการไทเทรตจะต้องทาซา้ 2-3 ครง้ั ดงั นัน้ เพ่ือความสะดวกและรวดเรว็ ในการทดลอง การ
ไทเทรตครัง้ แรกอาจไขสารละลายจากบิวเรตต์ลงไปอย่างรวดเรว็ เพือ่ หาจุดยตุ ิอยา่ งครา่ ว ๆ หรือหาปรมิ าตร
ของสารละลายโดยประมาณก่อน ในการไทเทรตคร้งั ท่ี 2 หรือ 3 ตอนแรกอาจไขสารละลายจากบวิ เรตตเ์ รว็ ได้
แต่พอใกล้จะถึงจุดยุตกิ ห็ ยดสารละลายลงไปทีละหยดเพือ่ ให้ปริมาตรทใี่ ชใ้ นการไทเทรตมีความเท่ียงตรงและไม่
มากเกินพอ

14. เทคนคิ การสกดั
เราทราบแลว้ วา่ ตัวละลายต่าง ๆ สามารถละลายได้ในตัวทาละลายแตกต่างกนั คณุ สมบัติอันนีจ้ ะ

นามาใช้เปน็ หลกั ในการแยกตัวละลายออกจากสารละลายไดเ้ รยี กวิธีการเช่นนีว้ า่ การสกดั ตอ่ ไปน้จี ะขอ
กลา่ วถึงการสกัดตวั ละลายโดยใช้ตัวทาละลายท่ีไมผ่ สมเปน็ เนอ้ื เดียวกัน

เนื่องจากตวั ละลายอาจจะละลายในตวั ทาละลายตา่ ง ๆ ที่ไม่ผสมเป็นเนื้อเดยี วกันได้ เม่ือให้
สารละลายน้นั มตี ัวทาละลายทไ่ี ม่ผสมเปน็ เน้ือเดยี วกันอยู่ 2 ชนิด หลงั จากเขยา่ แล้วตัวละลายจะมีอยู่ในตัวทา
ละลายทัง้ 2 ชนิดนนั้ ในปรมิ าณมากน้อยแตกต่างกัน อตั ราสว่ นของความเขม้ ข้นของตัวละลายทล่ี ะลายในตวั
ทาละลายในหนว่ ยโมลต่อลติ รนเี้ รียกว่า Distribution coefficient ซ่ึงอัตราส่วนนขี้ ้นึ อยู่กับปริมาณของตัวทา
ละลายทั้ง 2 ชนดิ และความเข้มข้นท้ังหมดของตวั ละลาย

ดงั นัน้ การสกัดจงึ เป็นการเคลือ่ นย้ายตวั ละลายจากตวั ทาละลายชนดิ หน่ึงไปยังทาละลายอกี ชนดิ หนง่ึ
โดยใช้อปุ กรณท์ ่ีเรยี กวา่ กรวยแยก มวี ิธีการทาดังนี้

1. ทาความสะอาดกรวยแยกท่ใี ช้ใหส้ ะอาด สาหรบั ท่กี อ๊ กปิดเปดิ ให้ทาเชน่ เดยี วกบั บิวเรตต์
2. เทสารละลายท่จี ะสกัดลงในกรวยแยก ไม่ควรใส่สารละลายมากเกินไปเพราะจะต้อง เติมตัวทา
ละลายเพื่อสกัดตวั ละลายในสารละลายน้ันอีก หากมีมากควรแบง่ ทาเป็น 2 หรอื 3 คร้งั ก็ได้
3. เตมิ ตวั ทาละลายทใ่ี ช้ในการสกัด แล้วปิดจุกให้แน่น
4. เขย่ากรวยแยกเบา ๆ ในแนวนอน แลว้ เปดิ กอ๊ กเป็นครง้ั คราวหลงั จากหยุดเขย่าเพื่อลดแรงดนั
ภายในกรวยแยก
5. นากรวยแยกไปต้ังในแนวดิ่งบนทย่ี ดึ วงแหวน เพื่อให้สารละลายแยกเป็น 2 ช้ัน เอาจุกทป่ี ิดออก

ระดับช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 1 พรพรรณ ย่ิงยง |

เอกสารประกอบการสอนวิชาทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 1 41

6. เปดิ ก๊อกใหส้ ารละลายท่ีอยู่ชัน้ ลา่ งไหลลงใน
ภาชนะรองรบั อย่างช้า ๆ

7. ทาซ้า โดยเริม่ ต้งั แต่ขัน้ ที่ 3 และใชต้ วั ทาละลาย
ในการสกดั ใหม่

8. นาสารละลายท่ีสกดั ออกมารวมกนั จะเปน็ สารท่ี
สกดั ได้ทั้งหมด

ข้อควรระวัง
1. เนื่องจากกรวยแยกง่ายและมีราคาแพง ในขณะแยกสารถา้ ตั้งอยู่บนทยี่ ดึ วงแหวน ซ่ึง ทาด้วยเหล็ก

โดยไม่มสี ิง่ ใดกัน้ เมอื่ ปล่อยให้สารละลายชัน้ ล่างไหลออกมาจะเกดิ ฟองอากาศปุดข้ึนจากสารละลาย อาจทาให้
กรวยแยกกระเทือนและกระทบกับท่ียดึ วงแหวนรนุ แรงจนอาจแตกได้ เพ่ือปอ้ งกันปญั หานร้ี ะหว่างทย่ี ดึ วง
แหวนกบั กรวยแยกจงึ ควรกัน้ ดว้ ยยาง

2. ก๊อกกรวยแยกจะต้องปดิ ให้อยูใ่ นตาแหน่งเดมิ ก่อนท่จี ะตั้งกรวยแยก ให้อยใู่ น ตาแหนง่ ปกติ และ
ควรระมัดระวงั ในการวางกรวยแยกบนที่ยึดวงแหวนดว้ ย

3. เม่ือเขยา่ กรวยแยกเพอ่ื ให้ตัวทาละลายทงั้ สองผสมกัน ความดนั ภายในกรวยแยกจะเพ่ิมขนึ้
เน่ืองมาจากความดนั ไอของตัวทาละลายที่ไม่เป็นเน้ือเดยี วกนั นั่นเอง เชน่ ถ้าใช้ NaHCO3 เตมิ ลงไปใน
สารละลายท่ีเป็นกรด ความดันจะสูงข้นึ มากเน่ืองจากเกิดก๊าซ CO2 จาเป็นจะตอ้ งลดความดนั โดยขณะเขย่า
กรวยแยก มอื ท้งั สองจะต้องจับกรวยแยกใหม้ ลี ักษณะดังภาพ คอื มอื หนง่ึ จับทก่ี ๊อกปิดเปิด อีกมือหน่งึ จบั ท่จี ุก
ปิดเปิดของกรวยแยกค่อย ๆ เปดิ ก๊อกเพื่อให้ความดันภายในออกไป (อาจทาเช่นน้หี ลาย ๆ คร้งั จนกระท่งั ไมม่ ี
ความดันภายในกรวยแยก)

4. เมื่อแยกชนั้ ของของเหลวชั้นลา่ งในกรวยแยกออกมาแลว้ ตรงรอยตอ่ ระหวา่ งชนั้ ทงั้ สองไม่สามารถ
จะแยกออกจากกันได้อย่างเด็ดขาด สว่ นนีจ้ งึ มขี องเหลวทง้ั 2 ชนดิ ปนกนั อยูต่ ้องนามาแยกออกจากกนั โดยการ
กรองเม่อื การสกดั ได้สิ้นสุดลงแลว้

ระดบั ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 1 พรพรรณ ยิ่งยง |

เอกสารประกอบการสอนวิชาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 1 42

15. เทคนคิ เปเปอรโ์ ครมาโทกราฟี
เปเปอร์โครมาโทกราฟี เปน็ วิธีการแยกสารทผ่ี สมกนั โดยอาศัยหลักการแพร่พื้นผวิ ของตวั ทาละลาย 2

ชนิดทไ่ี มเ่ ท่ากนั อนั เป็นผลสบื เนอ่ื งมาจากคุณสมบัติเก่ยี วกับความสามารถของตัวทาละลาย เปเปอร์โคร
มาโทกราฟเี ปน็ ท่ีนิยมใช้กนั อยา่ งแพร่หลายโดยใช้กระดาษกรองเปน็ ตัวดดู ซบั มีเทคนิคการทาเปน็ ข้ัน ๆ
ดังตอ่ ไปน้ี

1. ตัดกระดาษกรองเปน็ รปู ส่เี หลยี่ มผนื ผา้ ใหม้ ีขนาดที่ตอ้ งการ
2. ที่ด้านใดด้านหนงึ่ ของกระดาษกรอง ลากเสน้ ดว้ ยดินสอดาใหห้ ่างจากขอบประมาณ 1 นวิ้
3. หยดสารละลายทต่ี ้องการจะแยกด้วยปเิ ปอตต์รเู ล็ก ลงบนกระดาษกรองตามแนวเสน้ ท่ีลากไวใ้ หม้ ี
ระยะห่างพอสมควรแลว้ ตั้งท้ิงไวใ้ หแ้ ห้ง

4. ม้วนกระดาษให้เปน็ รปู ทรงกระบอกแล้วเย็บปลายท้ังสองขา้ งให้ตดิ กัน แต่อาจใชแ้ ถบกระดาษเล็ก
ๆ แทนก็ได้

5. เตรียมตวั ทาละลายผสมให้เหมาะกบั สารท่ตี ้องการจะแยก
6. ใส่ตวั ทาละลายในภาชนะที่จะใช้ทาเปเปอร์โครมาโทกราฟี (อาจเปน็ บีกเกอร์ แก้วก้นกลมหรอื
ฟลาสกไ็ ด้ แต่ควรมีขนาดเหมาะสมกบั กระดาษที่ใช)้ ให้สูงจากก้นภาชนะไมค่ วรเกิน 3/4 นิว้
7. นามว้ นกระดาษกรองที่ทาเตรยี มไว้ในข้อ 4 มาใสใ่ นภาชนะทีเ่ ตรียมไว้ในข้อ 6 (ตอ้ งให้จดุ บน
กระดาษกรองอยู่เหนอื ตวั ทาละลายเล็กนอ้ ย และอยา่ ใหก้ ระดาษกรองสัมผัสกบั ขา้ งภาชนะ) ปิดภาชนะเพ่ือ
ปอ้ งกนั มิให้ตวั ทาละลายระเหย

ระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 1 พรพรรณ ยงิ่ ยง |

เอกสารประกอบการสอนวิชาทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 1 43

8. ตั้งทิง้ ไว้ใหต้ ัวทาละลายสูงข้ึนประมาณ 3/4 ของกระดาษกรอง นาออกมาทาเครือ่ งหมายทต่ี ัวทา
ละลายเคล่ือนที่มาถึง แล้วปล่อยใหแ้ ห้งดว้ ยอากาศ

9. วดั ระยะทางทตี่ วั ทาละลายเคลอ่ื นท่โี ดยเรม็ วดั จากแนวที่จดุ สารไปจนถึงจดุ ท่ตี ัวทาละลายเคลือ่ นท่ี
ไปถงึ และวดั ระยะทางท่ีตวั ละลายเคลื่อนที่ไปเช่นเดยี วกันการวัดระยะทางนีใ้ ชห้ น่วยเปน็ เซนติเมตร

หมายเหตุ หากตัวละลายไมม่ ีสีจะไม่ทราบวา่ ตัวละลายขน้ึ ไปอยู่ ณ ตาแหน่งใดจาเป็นจะต้องพน่ ดว้ ย
สารเคมเี พื่อทาให้เกดิ สีจะได้เห็นว่าตวั ละลายอยู่ทีใ่ ด
10. หาค่า Rf ซง่ึ หาไดจ้ ากอัตราส่วนระหว่างระยะทางทีต่ ัวละลายเคลอ่ื นทีก่ ับระยะทางท่ตี ัวทาละลายเคลื่อนที่
ดงั นี้

Rf เปน็ คา่ เฉพาะของตัวละลายแต่ละชนิดสาหรบั ตวั ทาละลายน้นั ๆ ดังน้นั สารทีเ่ รายงั ไม่ทราบว่าเป็น
อะไรและผสมกันอยหู่ ลายชนิด สามารถจะวิเคราะหห์ าไดโ้ ดยการหาคา่ Rf ของสารนนั้ ๆ ก่อนแลว้ นาค่า Rf
เปรยี บเทียบกับคา่ Rf ทท่ี ราบแล้ว

16. เทคนคิ การระเหยของเหลวหรือสารละลาย
การระเหยของเหลวหรือสารละลายก็เพอ่ื ทาใหต้ วั ทาละลายระเหยออกไปในทส่ี ดุ ตวั ละลายก็จะตก

ผลึก จึงอาจกลา่ วได้วา่ การระเหยเปน็ การลดปริมาตรของของเหลวให้น้อยลงโดยการไล่สารที่ระเหยไดง้ า่ ยกวา่
ออกไปจากสารละลาย เทคนิคการระเหยของเหลวหรอื สารละลาย มีหลายวธิ ีจะขอกลา่ วตามลาดับดงั นี้

วิธที ี่ 1 ทาดังน้ี
1. เทของเหลวหรอื สารละลายลงบนกระจกนาฬิกาแลว้ บางบนปากปกี เกอรท์ ่บี รรจนุ า้ อยู่
2. ต้มนา้ ใหเ้ ดอื ด ความรอ้ นจากไอน้าจะถ่ายเทไปทาใหต้ วั ทาละลายระเหยออกไปจากตัวละลาย

ระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 1 พรพรรณ ยิ่งยง |

เอกสารประกอบการสอนวชิ าทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 1 44

วธิ ีท่ี 2 ทาดังนี้
ใช้ชามระเหยแทนกระจกนาฬิกาซงึ่ มีเทคนิควธิ กี ารเช่นเดยี วกนั สาหรบั ชามระเหยท่ีใชน้ ีม้ ีหลายขนาด
และทาจากวสั ดุแตกตา่ งกนั ผทู้ ดลองจะตอ้ งเลอื กใช้ใหเ้ หมาะสมกับปริมาตรของสารละลายด้วย
การระเหยของเหลวโดยใชช้ ามระเหยนนี้ อกจากจะระเหยบนเครื่ององั นา้ แลว้ อาจให้ความร้อนโดยตรงทช่ี าม
ระเหยก็ได้ โดยนาชามระเหยตง้ั บนตะแกรงลวดและใชค้ วามร้อนจากตะเกียงบนุ เสน
ข้อควรระวัง
1. ถ้าของเหลวท่ีนามาระเหยนน้ั เปน็ สารตดิ ไฟง่าย เชน่ คารบ์ อนไดซลั ไฟด์ อีเทอร์ แอซีโตน ฯลฯ จะ
ระเหยโดยใช้ความร้อนจากเปลวไฟโดยตรงไม่ได้ เพราะอาจเกิดอบุ ตั ิเหตุไฟไหม้ เพื่อหลีกเล่ียงปัญหาน้ี การ
ระเหยของเหลวทีม่ ลี กั ษณะดังกลา่ วควรระเหยดว้ ยเตาไฟฟ้า หรอื ถา้ เปน็ ของเหลวท่รี ะเหยไดใ้ นอุณหภมู ิ
ธรรมดา เชน่ คารบ์ อนไดซัลไฟด์ ก็นาไปตั้งท้ิงไวใ้ นตู้ควันโดยไม่ต้องใช้ความร้อน
2. ถา้ ไอของของเหลวหรอื สารละลายท่ีระเหยนน้ั เป็นกา๊ ซพิษต้องทาในตู้ควัน

ระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 พรพรรณ ยิ่งยง |

เอกสารประกอบการสอนวิชาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 1 45

ขอ้ ควรปฏบิ ัตใิ นห้องปฏิบตั กิ าร
การเรียนวิชาเคมนี อกจากจะเรยี นภาคทฤษฎีแล้วจะต้องเรียนภาคปฏบิ ัติควบคกู่ ันไป ท้งั น้เี พือ่ ใหเ้ กดิ

ความเข้าใจในเนอื้ หาเพิม่ มากข้ึน การเรียนภาคปฏบิ ัตินอกจากจะชว่ ยเสรมิ ภาคทฤษฎดี ังกลา่ วแลว้ ยงั ช่วยฝึก
นสิ ยั การทางานอกี ดว้ ย เชน่ ฝกึ ใหร้ ู้จักการทางานดว้ ยความรอบคอบ รูจ้ ักคิด ร้จู ักตัดสนิ ปัญหาด้วยตนเอง รู้จัก
คณุ คา่ ในสง่ิ ท่ตี ้องการจะรแู้ ละร้จู ักทางานดว้ ยความปลอดภัย เปน็ ตน้ ดว้ ยเหตนุ ้ี การเรียนภาคปฏิบตั ิย่อม
ก่อให้เกิดประโยชน์ตอ่ ผเู้ รยี นมากมาย เพราะเปดิ โอกาสให้ทกุ คนได้ฝกึ ฝนตัวเองและแสดงความสามารถพเิ ศษ
ของตนออกมา

โดยทัว่ ไปแล้วการเรียนภาคปฏบิ ตั ิมกั ทาในห้องปฏิบตั ิการทดลองเสมอ เพ่ือให้การทดลอง ไดผ้ ลดีหรือ
มคี วามผิดพลาดนอ้ ยทีส่ ดุ และเกิดความปลอดภัยตอ่ ผู้ทดลองเอง จงึ ขอเสนอแนะข้อควรปฏิบตั ิท่ัว ๆ ไปใน
ห้องปฏิบัติการดังต่อไปน้ี

1. ตอ้ งระลึกอย่เู สมอว่า หอ้ งปฏิบตั กิ ารทดลองเปน็ สถานท่ีทางาน ตอ้ งทาการทดลอง ด้วยความตงั้ ใจ
อยา่ งจริงจงั

2. ตอ้ งรักษาระเบยี บบนโต๊ะปฏิบตั ิการ เพราะการทดลองจะผดิ พลาดไดง้ ่ายถา้ บนโตะ๊ ปฏบิ ัติการไม่มี
ระเบียบ เช่น อาจหยบิ หลอดทดลองผดิ หรือในกรณีท่ที าสารหกจะต้องรีบทาความสะอาดทันที เคร่ืองแกว้
หรอื อปุ กรณท์ ี่ใชใ้ นการทดลองแล้วต้องล้างให้สะอาดแลว้ เก็บเขา้ ตู้ เมื่อไม่ต้องการใช้ทดลองอีก นอกจากน้ีการ
รักษาระเบียบบนโต๊ะปฏิบัติการยงั สามารถชว่ ยลดอบุ ัตเิ หตุและยงั เปน็ การช่วยประหยดั เวลาในการค้นหา
สงิ่ ของทต่ี ้องการอกี ด้วย

3. ตอ้ งอ่านคมู่ ือปฏบิ ตั กิ ารทดลองก่อนทจ่ี ะปฏบิ ัตกิ ารทดลองน้ัน ๆ และพยายามทา ความเข้าใจถึง
ขัน้ ตอนการทดลองใหแ้ จ่มแจ้ง หากมีความสงสัยในตอนใด ๆ จะต้องถามอาจารย์ ผูค้ วบคุมเสียก่อน ก่อนทีจ่ ะ
ลงมือปฏบิ ัติการทดลอง การอ่านค่มู ือปฏบิ ตั กิ ารทดลองมาก่อนทจี่ ะปฏิบตั กิ ารทดลองนั้น นบั วา่ มีประโยชน์
มาก เพราะจะชว่ ยประหยัดเวลาในการทดลองและผู้ทดลองจะทาการทดลองดว้ ยความเข้าใจ

4. ตอ้ งไม่ทาการทดลองใด ๆ ทนี่ อกเหนือไปจากการทดลองทม่ี ีไวใ้ นคมู่ ือปฏบิ ัติการ หรอื ทไ่ี ดร้ บั
มอบหมายจากอาจารย์ผ้คู วบคุมเท่านน้ั แต่ถา้ ต้องการทาการทดลองใด ๆ ท่ีนอกเหนอื ไปจากหนงั สือคมู่ ือหรอื
ทอี่ าจารยม์ อบหมาย จะต้องได้รบั อนญุ าตจากอาจารยผ์ ู้ควบคุมเสยี ก่อน

5. อปุ กรณ์ตา่ ง ๆ ทนี่ ามาใชใ้ นการทดลองต้องสะอาด ความสกปรกเป็นปจั จัยสาคญั ประการหนึง่ ที่
ทาใหผ้ ลการทดลองผดิ พลาด หรอื คลาดเคลื่อนไปจากความเปน็ จริง

ระดบั ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 พรพรรณ ยิ่งยง |

เอกสารประกอบการสอนวิชาทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 1 46

6. อุปกรณ์หรือเครื่องมืออ่ืน ๆ เชน่ สามขา ท่ยี ดึ สายยาง ฯลฯ ท่ีนามาใช้ในการทดลอง นั้น ๆ จะต้อง
นาไปเกบ็ ไว้ทเี่ ดมิ หลงั จากเสร็จสิน้ การทดลองแลว้

7. ควรทาการทดลองในห้องปฏบิ ตั ิการตามเวลาท่ีกาหนดให้เทา่ นนั้ ไม่ควรทางานใน หอ้ งปฏิบตั กิ าร
เพยี งคนเดียว เพราะเมื่อเกิดอุบัติเหตุขึน้ จะไมม่ ีใครทราบ และไม่อาจชว่ ยได้ทนั ท่วงที

8. เม่อื ตอ้ งการใช้สารละลายท่ีเตรียมไว้ ตอ้ งรนิ ออกจากขวดใส่ลงในบกี เกอร์กอ่ น โดยริน ออกมา
ประมาณเทา่ กับจานวนที่ต้องการจะใช้ อย่ารินออกมามากเกินไปเพราะจะทาให้สน้ิ เปลอื งสารโดยเปลา่
ประโยชน์ ถ้าสารละลายท่ีรนิ ออกมาแล้วน้ีเหลือใหเ้ ทสว่ นที่เหลอื น้ีลงในอา่ ง อยา่ เทกลบั ลงในขวดเดิมอีก ท้ังน้ี
เพ่ือป้องกันการปะปนกนั

9. ถา้ กรดหรือด่างหรือสารเคมที ี่เปน็ อนั ตรายถูกผวิ หนังหรือเสื้อผา้ ต้องรบี ล้างออกดว้ ย นา้ ทนั ทเี พราะ
มีสารเคมหี ลายชนิดซึมผา่ นเข้าไปในผิวหนงั ได้อย่างรวดเรว็ และเกิดเป็นพิษขนึ้ มาได้ ซ่งึ แต่ละคนจะมี
ความร้สู กึ หรือเกดิ พิษแตกต่างกัน

10. อยา่ ทดลองชิมสารเคมีหรือสารละลาย เพราะสารเคมีส่วนมากเป็นพิษอาจเกดิ อันตรายไดน้ อก
เสยี จากจะไดร้ บั คาสัง่ จากอาจารยผ์ ู้ควบคมุ ใหช้ มิ ได้

11. อย่าใช้มือหยิบสารเคมีใด ๆ เป็นอันขาด และพยายามไมใ่ ห้สว่ นอนื่ ๆ ของร่างกายถกู สารเคมี
เหลา่ น้ีด้วย นอกเสยี จากจะได้รับคาสง่ั จากอาจารยผ์ ู้ควบคุมให้ปฏบิ ตั ิ

12. อยา่ เทนา้ ลงบนกรดเข้มข้นใด ๆ แตค่ ่อย ๆ เทกรดเข้มขน้ ลงในนา้ อย่างชา้ ๆ พร้อมกบั กวน
ตลอดเวลา

13. เม่อื ต้องการจะดมกลนิ่ สารเคมี อย่านาสารเคมีมาดมโดยตรง ควรใช้มอื พดั กลนิ่ สาร เคมนี น้ั เข้า
จมูกเพยี งเล็กน้อย (อยา่ สูดแรง ๆ) โดยถอื หลอดท่ีใส่สารเคมไี ว้หา่ ง ๆ

14. ออกไซด์ ของธาตุบางชนิดเป็นก๊าซพษิ เช่น ออกไซดข์ องกามะถัน ไนโตรเจนและ ก๊าซฮาโลเจน
ก๊าซไฮโดรเจนซลั ไฟด์ กเ็ ป็นก๊าซพษิ เช่นเดยี วกนั การทดลองใด ๆ ท่เี กี่ยวข้องกับก๊าซเหลา่ นคี้ วรทาในต้คู วัน

15. อยา่ ทงิ้ ของแขง็ ต่าง ๆ ท่ีไมต่ อ้ งการ เชน่ ไม้ขีดไฟหรือกระดาษกรองท่ีใชแ้ ล้ว ฯลฯ ลงในอา่ งนา้
เปน็ อันขาด ควรทิ้งในขยะที่จัดไวใ้ ห้

16. อยา่ นาแก้วอ่อน เชน่ กระบอกตวง กรวยแยก ไปใหค้ วามรอ้ น เพราะจะทาใหล้ ะลาย ใชก้ าร
ไมไ่ ด้

17. อยา่ นาบกี เกอรท์ ใ่ี ช้ในห้องปฏบิ ตั กิ ารมาใช้ตักน้าดืม่ ถงึ แมว้ า่ จะดสู ะอาดก็ตาม เพราะอาจมี
สารเคมตี กคา้ งอยู่

18. หลงั การทดลองแต่ละคร้ังต้องล้างมือให้สะอาด โดยเฉพาะอย่างยงิ่ ก่อนกินอาหาร เพราะในขณะ
ทาการทดลองอาจมสี ารเคมที ่ีเป็นอนั ตรายติดอย่กู ็ได้

19. ห้ามสูบบหุ รีใ่ นหอ้ งปฏบิ ตั ิการ เพราะการสูบบุหร่ีอาจทาใหส้ ารทต่ี ดิ ไฟง่ายติดไฟได้ หรืออาจทาให้
อนุภาคของสารเคมีท่ีระเหยกลายเป็นไอถกู เผาผลาญในขณะสูบบุหรี่ แลว้ ถกู ดดู เขา้ ไปในปอด

20. อยา่ กินอาหารในห้องปฏบิ ัตกิ าร เพราะอาจมสี ารเคมปี ะปนกบั อาหารที่รับประทาน เข้าไป เชน่
อาจอยู่ในภาชนะท่ีใส่อาหาร ภาชนะทใ่ี ส่น้าสาหรบั ดม่ื หรอื ที่มอื ของท่าน ซ่งึ สารเคมบี างชนิดอาจมีพิษหรอื เป็น

ระดับชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 1 พรพรรณ ยิ่งยง |

เอกสารประกอบการสอนวชิ าทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 1 47

อนั ตรายต่อสขุ ภาพได้
21. เมื่อเส้อื ผ้าท่สี วมอยตู่ ดิ ไฟ อย่าวง่ิ ต้องพยายามดับไฟก่อนโดยนอนกล้งิ ลงบนพ้นื แล้วบอกให้

เพือ่ น ๆ ช่วยโดยใช้ผ้าหนา ๆ คลุมรอบตวั หรือใชผ้ ้าเช็ดตวั ทเ่ี ปยี กคลุมบนเปลวไฟใหด้ บั ก็ได้
22. เมอ่ื เกิดไฟไหมใ้ นหอ้ งปฏิบัตกิ าร จะต้องรีบดับตะเกียงในห้องปฏบิ ัติการใหห้ มด และ นาสารทีต่ ิด

ไฟงา่ ยออกไปให้ห่างจากไฟมากท่สี ดุ ซง่ึ ผู้ปฏบิ ัตกิ ารทดลองทกุ คนควรจะต้องรแู้ หลง่ ท่เี ก็บเครือ่ งดบั เพลงิ และ
รู้จักวธิ ีใช้ ทง้ั นเี้ พอ่ื สะดวกในการนามาใช้ได้ทันท่วงที

23. หากผู้ทดลองเกดิ อุบัติเหตใุ นขณะทาการทดลอง ต้องรายงานอุบัตเิ หตุท่เี กิดขึ้นทุกครง้ั ตอ่
อาจารย์ผู้ควบคุม ไม่วา่ จะเกิดมากหรอื น้อยเพยี งใดก็ตาม

24. ก่อนนาเอาสารละลายในขวดไปใช้ จะต้องดชู ่อื สารบนฉลากติดขวดสารละลายอย่าง นอ้ ยสองคร้ัง
เพ่ือให้แน่ใจว่าใช้สารทต่ี ้องการไม่ผดิ

25. เมอื่ จะใชส้ ารเคมีท่ีเปน็ อันตรายหรอื สารท่วี ่องไวต่อปฏิกริ ิยาหรือสารที่มกี ลิ่นเหม็น เช่น เบนโซอิล
คลอไรด์ ฟอสฟอรัสไตรคลอไรด์ โบรมีน ฯลฯ จะตอ้ งทาในตู้ควัน

26. ภาชนะแกว้ ทรี่ อ้ นจะดูคล้ายกบั ภาชนะแก้วที่เย็น ดงั นัน้ ควรให้เวลานานพอสมควรใน การให้
ภาชนะแกว้ ทีร่ อ้ นเยน็ ลง

27. นา้ ท่ีใชใ้ นการทาปฏิกริ ิยาเคมจี ะต้องใชน้ า้ กลั่นทกุ คร้ัง แตอ่ ยา่ ใช้ฟมุ่ เฟอื ยเกินความ จาเปน็ เชน่
ใช้ล้างอปุ กรณ์ เปน็ ต้น เพราะกว่าจะกลั่นไดต้ อ้ งใช้เวลาและคา่ ใช้จา่ ยมาก

28. เมื่อใชเ้ คร่ืองควบแน่น อย่าไขน้าเขา้ เคร่ืองควบแน่นแรงนัก เพราะจะทาให้สูญเสยี น้า ไปโดย
เปล่าประโยชน์ ควรไขน้าเขา้ เครื่องควบแน่นเบา ๆ ก็ได้

29. ขณะต้มสารละลายหรือให้สารทาปฏกิ ริ ิยากนั ในหลอดทดลอง จะตอ้ งหันปากหลอดทดลองออก
ห่างจากตัวเองและหา่ งจากคนอนื่ ๆ ดว้ ย

30. การทดลองใดๆ ที่ทาใหเ้ กิดสญุ ญากาศภาชนะท่ีใชจ้ ะต้องหนาพอทจ่ี ะทนต่อความดันภายนอกได้
31. ขวดบรรจุสารละลายหรอื อุปกรณ์อ่นื ใดท่มี ตี ัวทาละลายอนิ ทรยี ์บรรจอุ ยู่ อย่าใชจ้ กุ ยางปิดปาก
ขวดเปน็ อนั ขาด เพราะตัวทาละลายอินทรีย์กัดยางไดท้ าให้สารละลายสกปรก และจะเอาจุกยางออกจากขวด
ได้ยาก เพราะจุกสว่ นข้างล่างบวม
32. อย่าท้งิ โลหะโซเดียมทเี่ หลือจากการทดลองลงในอ่างน้า เพราะจะเกิดปฏิกิรยิ ากบั น้า อย่างรนุ แรง
จะตอ้ งทาลายด้วยแอลกอฮอลเ์ สียกอ่ น แล้วจงึ เททงิ้ ลงในอ่างน้า
33. เม่ือการทดลองใดใช้สารทีเ่ ปน็ อันตราย หรือเปน็ การทดลองที่อาจระเบิดได้ ผู้ทดลอง ควรสวม
แว่นตานริ ภยั เพอ่ื ป้องกนั อนั ตรายท่ีอาจจะเกิดข้ึน
34. เมอ่ื เสร็จสนิ้ การทดลอง ตอ้ งทาความสะอาดพน้ื โตะ๊ ปฏิบัติการ ตรวจของในตู้และใส่ กญุ แจให้
เรยี บร้อย แลว้ ล้างมอื ให้สะอาดกอ่ นออกจากห้องปฏบิ ัติการ
35. พึงระลึกอยเู่ สมอว่า ตอ้ งทาการทดลองด้วยความระมดั ระวงั ท่ีสุด ความประมาท เลินลอ่ อาจทาให้
เกดิ อนั ตรายตอ่ ตวั เองได้

ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 1 พรพรรณ ย่ิงยง |

เอกสารประกอบการสอนวิชาทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 1 48

ข้อปฏิบตั ิทั่วไป
1. ศึกษาแผนผงั ของห้องปฏิบัติการ เพื่อใหร้ ูต้ าแหน่งท่ตี งั้ ของอุปกรณ์และสงิ่ ของตา่ งๆ ที่เกีย่ วขอ้ งกับ

ความปลอดภยั ได้แก่ สัญญาณเตอื นภยั เครื่องดับเพลิง ผ้าหม่ คลมุ เพลิง ทราย ฝักบวั ฉกุ เฉนิ อา่ งลา้ งตาฉกุ เฉนิ
และชุดปฐมพยาบาล รวมทง้ั ต้องรวู้ ตั ถุประสงค์และทาความเขา้ ใจวิธีการใช้อปุ กรณ์เหล่าน้ี

2. ตอ้ งรูเ้ สน้ ทางทส่ี ั้นทส่ี ดุ ที่สามารถออกสู่ภายนอกอาคารจากหอ้ งปฏิบตั กิ ารได้อย่างรวดเร็ว และ
ควรศกึ ษาหาทาง-ออกจากห้องปฏบิ ตั ิการอย่างน้อย 2 ทาง เพือ่ เตรยี มไวใ้ นกรณเี กดิ เหตุฉุกเฉนิ ถา้ จาเป็นต้อง
อพยพผคู้ นออกจากอาคารให้ปิด และถอดปลั๊กเครื่องใช้ไฟฟา้ ท่ีกาลังใชอ้ ยู่ เดินลงทางบันได หา้ มใช้ลฟิ ต์
ควบคมุ สติระหว่างการอพยพ ควรเดนิ เร็วแต่ห้ามว่งิ

3. หา้ มสวมรองเท้าแตะหรือรองเทา้ เปิดดา้ นหนา้ และเปดิ ส้น ควรสวมรองเท้าสน้ เตีย้ ท่ีหุ้มเทา้ โดยรอบ
เพ่ือป้องกนั สารเคมีที่บงั เอิญหกรดไม่ให้ถูกเท้าโดยทนั ที

4. แตง่ กายใหเ้ หมาะสม อยา่ สวมเส้อื ทร่ี ัดรปู หรือหลวมจนเกินไป ไม่ควรสวมเครื่องประดับหรอื ผกู เนค
ไท ให้รวบและผกู ผมยาวไว้หลงั ศรี ษะ เพื่อป้องกนั การเกยี่ วหรอื เหน่ียวร้งั ส่ิงของตา่ งๆ ขณะทาการทดลอง ซ่ึง
จะทาให้เกิดอุบัตเิ หตไุ ด้ อีกทั้งควรสวมกางเกงขายาว แต่ถ้าเปน็ กางเกงขาสัน้ หรือกระโปรง จะต้องมคี วามยาว
คลมุ เขา่

5. ใหน้ าเอาเฉพาะส่งิ ของจาเป็นเข้ามาในห้องปฏบิ ัติการ ไดแ้ ก่ หนงั สือ สมดุ จดบนั ทึกหรอื สมดุ เขียน
รายงาน และ เคร่ืองเขียน เป็นตน้ กระเปา๋ และส่ิงของอื่นๆ ควรเกบ็ ไว้ในลอ็ กเกอร์หรอื บรเิ วณทจ่ี ดั ไว้ให้สาหรับ
วางของหน้าห้องปฏิบตั ิการ

6. เมอ่ื เข้ามาในห้องปฏิบัตกิ ารตอ้ งสารวม อยา่ จับอปุ กรณ์ เคร่อื งมอื และสารเคมใี ดๆ จนกระทั่งให้
เร่ิมทาการทดลอง ได้

7. อยา่ หยอกล้อหรอื วงิ่ เลน่ ในหอ้ งปฏิบัตกิ าร เพราะอาจเก่ียวหรือแกว่งถูกภาชนะบรรจุสารเคมีตก
แตก หรืออาจวิง่ ชนผู้อ่นื ทกี่ าลงั ถอื ภาชนะบรรจุสารเคมี ทาให้หกรดตนเองหรอื ผู้อืน่ หรอื ทาให้เกดิ อบุ ัติเหตุ
อ่นื ๆได้

8. อย่ารับประทานอาหารและของคบเคีย้ วตา่ งๆ หรือดื่มเครอื่ งดืม่ ในห้องปฏบิ ตั ิการ และหา้ มใช้
อุปกรณ์หรอื เคร่ืองแก้วใดใสอ่ าหารและเครอ่ื งด่ืม เพราะอาจมีสารเคมปี นเปื้อนอยู่ ซง่ึ ทาให้สารเคมเี ข้าสู่
รา่ งกายได้

9. อยา่ สูดดม และสมั ผัสสารเคมีโดยตรง ถา้ บังเอิญสดู ดมเข้าไปใหร้ บี ออกจากห้องปฏบิ ัตกิ าร เพ่ือ
หายใจเอาอากาศ บริสทุ ธิ์เข้าสรู่ า่ งกายโดยเร็ว

10. หา้ มทาการทดลองนอกเหนอื จากที่กาหนดไว้ และให้ทาตามขัน้ ตอนทรี่ ะบไุ วใ้ นแต่ละการ
ทดลองเทา่ นนั้ เพอื่ ป้องกันการเกดิ อนั ตรายหรืออุบตั ิเหตจุ ากปฏกิ ริ ิยารุนแรงที่คาดไม่ถงึ

11. ห้ามทาการทดลองโดยลาพงั ในห้องปฏบิ ตั กิ าร เพราะหากเกิดอุบตั ิเหตุอาจจะอยู่ในสภาพที่
ช่วยเหลอื ตนเองไม่ได้ ถา้ มคี วามจาเป็นตอ้ งทาการทดลองนอกเวลาท่ีกาหนดให้ขออนุญาตอาจารยผ์ คู้ วบคุม
ปฏิบัติการหรือหวั หน้าห้องปฏิบัติการ เพื่อ พิจารณาวา่ สมควรทาหรอื ไม่ หากทาได้ จะไดร้ บั คาแนะนาว่าตอ้ ง
ทาด้วยวธิ ีอย่างไรจึงจะปลอดภยั มากท่สี ดุ

ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 1 พรพรรณ ยงิ่ ยง |

เอกสารประกอบการสอนวชิ าทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 1 49

12. หา้ มจดุ ตะเกยี ง เทยี นไขหรอื ไม้ขีดไฟในห้องปฏิบัตกิ าร
13. เม่อื พบเห็นอบุ ตั ิเหตุหรอื เหตกุ ารณท์ ่ีอาจก่อให้เกดิ อุบัติเหตุได้ แมว้ ่าจะเปน็ อบุ ตั เิ หตุขนาดเล็ก
ต้องรายงานให้ ผคู้ วบคมุ ปฏิบัตกิ าร หรอื หวั หนา้ ห้องปฏบิ ัติการทราบทันที เพ่ือรีบแกไ้ ขอยา่ งรวดเรว็
14. ควรล้างมือทุกครั้งหลงั จากทาการทดลองแตล่ ะขนั้ ตอนเสรจ็ และต้องลา้ งดว้ ยสบ่ใู หส้ ะอาดก่อน
ออกจากห้องปฏิบตั ิการ เพื่อปอ้ งกันการปนเปื้อนของสารเคมี ถึงแมว้ ่าจะสวมถุงมอื ขณะทาการทดลอง
ตลอดเวลา เมอ่ื ถอดถงุ มือออกแลว้ ควรล้างมอื ใหส้ ะอาดทุกคร้ัง
15. ถา้ ไม่เรียนรู้ขอ้ บังคบั และแนวปฏิบตั คิ วามปลอดภัยในหอ้ งปฏิบัตกิ าร จะทาให้เกดิ อุบัติเหตุและ
การบาดเจบ็ ท้ัง ตอ่ ตนเองและเพื่อนร่วมทางานได้งา่ ย ผู้ท่ีละเมดิ คร้งั แรกจะไดร้ ับการตักเตอื น ครั้งทส่ี อง
จะต้องออกจากห้องปฏิบัตกิ ารใน วนั นน้ั ครั้งที่สามจะถกู ถอนออกจากรายวชิ าปฏิบตั ิการ

ข้อปฏบิ ตั ิก่อนเรมิ่ ทาการทดลอง
1. อา่ นและศึกษาการทดลองกอ่ นเข้าหอ้ งปฏบิ ัติการ เพอ่ื ทราบวัตถปุ ระสงค์ และเหตุผลของการทา

การทดลองทกุ ขนั้ ตอนก่อนเริ่มทา เพราะจะทาให้รวู้ ่าต้องปฏิบัตอิ ยา่ งไร ควรทาส่ิงใดก่อนและหลงั ควรเพ่มิ
ความระมัดระวงั ในขนั้ ตอนใด เป็นพิเศษ ซึง่ เป็นการลดโอกาสการเกดิ อนั ตรายระหว่างการทาการทดลอง
นอกจากน้ี ยังช่วยใหท้ าการทดลองเสร็จในเวลา รวดเร็ว

2. ศึกษาสมบัติกายภาพและอันตรายของสารเคมีทุกชนดิ ทใ่ี ชใ้ นการทดลอง ซ่งึ สามารถค้นหาข้อมลู
เหลา่ นี้ไดจ้ าก หลายแหลง่ ได้แก่ หนังสอื คมู่ ือต่างๆ เชน่ เมิร์กอินเดกซ์ (Merck Index) และคูม่ ือของเคมแี ละ
ฟสิ ิกส์ (Handbook of Chemistry and Physics) แตจ่ ะได้ขอ้ มูลส้นั ๆ สาหรบั ข้อมูลอย่างละเอียดสามารถหา
ได้จากเอกสารขอ้ มลู ความปลอดภยั ของสาร (Material Safety Data Sheet) หรอื เรียกย่อว่า เอม็ เอสดเี อส
(MSDS) ซง่ึ จดั ทาโดยบริษัทผู้ผลติ สารเคมีและองค์กรตา่ งๆ หลายองค์กร และสามารถค้นหาได้อยา่ งรวดเรว็
จากอนิ เทอรเ์ น็ต แต่เป็นภาษาองั กฤษ ปจั จุบันมีเอ็มเอสดเี อสทจี่ ัดทาเปน็ ภาษาไทยซ่ึงค้นหา และดาวน์โหลด
ได้ทเ่ี วบ็ ไซต์ www.chemtrack.org

ขอ้ ปฏิบตั ริ ะหว่างทาการทดลอง
1. ต้องสวมแวน่ ตานริ ภยั ตลอดเวลาทอี่ ยู่ในห้องปฏิบัตกิ าร เพอ่ื ป้องกนั สารเคมหี รือเศษแก้วแตกหรอื

สิ่งอืน่ ใด กระเด็นเข้าตา ไม่ควรใส่คอนแทกเลนส์ขณะทางานอยใู่ นหอ้ งปฏิบตั ิการ เพราะเมอื่ ไอหรือสารเคมีเขา้
ตาจะถูกดูดเข้าไปใตเ้ ลนส์ หากถอดคอนแทกเลนส์ออกและทาความสะอาดตาไม่ทันเวลา จะทาใหต้ าเสยี หาย
ได้ ถ้าสารเคมีเขา้ ตาใหล้ ้างตาท่ีอา่ งลา้ งตา ฉกุ เฉนิ ทันที เปน็ เวลานานอย่างน้อย 15 นาที โดยตอ้ งเปิดตาให้
กวา้ งเเละพลิกเปลอื กตาด้านในออกขณะล้างตา ทุกคนจึงต้องรู้ ตาแหน่งทตี่ ้ังและวธิ ใี ช้อา่ งลา้ งตาฉุกเฉิน ปกติ
แล้วตอ้ งรบี ลา้ งตาภายใน 15 วินาที หลงั จากสารเคมีกระเด็นเขา้ ตา หากทาช้ากว่านี้ อาจทาให้สูญเสียตาได้

2. ตอ้ งสวมเสอ้ื คลุมปฏิบัตกิ ารตลอดเวลาที่อยู่ในห้องปฏบิ ัตกิ าร เพ่ือปอ้ งกันสารเคมที ่ีหกหรือกระเดน็
ไม่ใหส้ ัมผัส กบั รา่ งกายโดยตรง เมอ่ื สารเคมีสมั ผัสกับผิวหนา้ หรือหกรดมือหรอื แขนเพียงเลก็ นอ้ ย ให้ลา้ งดว้ ย
นา้ ปริมาณมากอย่างรวดเร็ว อาจใช้น้าจากกอ๊ กน้า โดยปลอ่ ยใหน้ ้าไหลชะลา้ งเปน็ เวลาไมน่ อ้ ยกวา่ 15 นาที แต่

ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 1 พรพรรณ ย่ิงยง |

เอกสารประกอบการสอนวิชาทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 1 50

ถ้าถกู ขาหรอื รา่ งกายเป็นบริเวณกว้าง ให้ถอดเสื้อผา้ ทีเ่ ปื้อนสารเคมีออกอยา่ งรวดเรว็ และซบั หรือเช็ดสารเคมี
ตามร่างกายออกให้มากทีส่ ุด แล้วจงึ ชาระลา้ งดว้ ยนา้ จาก ฝักบัวฉกุ เฉิน ซึง่ จะปล่อยน้าปริมาณมากในเวลาสัน้
เพื่อชะล้างสารเคมีออกอยา่ งรวดเร็ว หลังจากนนั้ ให้รายงานการบาดเจบ็ หรอื อบุ ัตเิ หตุให้อาจารยผ์ คู้ วบคมุ
ปฏบิ ัตกิ ารหรือหวั หนา้ ห้องปฏบิ ตั ิการทราบทันที เพื่อดาเนินการตามวิธกี ารรักษาท่ีเหมาะสม ต่อไป

3. ควรสวมถุงมอื ยางเม่ือตอ้ งทางานกับสารกดั กร่อน เป็นพิษ หรอื ระคายเคืองเป็นเวลานาน และลา้ ง
มือใหส้ ะอาด ทกุ คร้ังเมื่อทาการทดลองเสรจ็ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเม่ือทางานกับกรดและเบสแก่ อย่าให้ถูก
ผวิ หนังเพราะจะทาใหผ้ ิวหนัง ไหม้เกรยี มไดง้ ่าย ถา้ เปน็ สารท่มี คี วามเปน็ พิษสงู ต้องทาการทดลองในตู้ดดู ควนั
เพราะตู้ดดู ควันจะดูดไอของสารและปลอ่ ย ออกนอกอาคารตลอดเวลา ถ้าไม่มตี ู้ดูดควันให้ทาในบริเวณท่ีมีการ
ถ่ายเทอากาศท่ีดเี พ่ือหลีกเลี่ยงการสะสมของไอของสารจน ถึง ขดี อนั ตราย

4. ต้องตรวจสภาพของเคร่ืองแกว้ ทุกชน้ิ ก่อนนาไปใช้งานทุกครั้ง โดยยกเครื่องแกว้ ขน้ึ ดดู ้วยการส่อง
กับแสงสวา่ ง และตรวจดูใหท้ ั่วเพอื่ หารอยรา้ ว รอยบิ่น รอยแตก หรือลกั ษณะผดิ ปกติอน่ื ๆ ซึง่ มกั เปน็ สาเหตุทา
ใหเ้ ครือ่ งแกว้ แตกระหว่าง ทาการทดลอง ถ้าตรวจพบลักษณะผิดปกตขิ องเครื่องแกว้ ใหเ้ ปลย่ี นทันที ไม่ควร
นาไปใช้ ให้ท้ิงเศษแกว้ แตกและหลอด คาพิแลรีทใ่ี ชแ้ ล้วในภาชนะทจ่ี ดั ไว้ ห้ามท้งิ เศษแก้วเหลา่ นใี้ นถังขยะปกติ
สาหรบั เทอรโ์ มมเิ ตอรป์ รอทท่ีแตก จะตอ้ งระวัง เปน็ พิเศษ เพราะปรอทเปน็ พษิ และระเหยไดง้ ่ายท่ี
อุณหภูมหิ อ้ ง ตอ้ งรายงานให้ผู้ควบคุมปฏบิ ตั กิ ารหรือหวั หน้าห้องปฏบิ ัติการ ทราบ เพื่อกาจัดโดยทันที

5. อา่ นชอ่ื ของสารเคมที ีฉ่ ลากบนขวดให้แน่ใจว่าหยบิ ถูกตอ้ งแล้ว กอ่ นใชส้ ารเคมีและก่อนผสม
สารเคมใี ดๆ ต้อง ตรวจสอบอีกคร้ังหน่ึงให้แนใ่ จว่าหยบิ สารเคมมี าถกู ต้อง หา้ มใชส้ ารเคมีท่ีอย่ใู นขวดหรอื
ภาชนะอ่ืนท่ีไมม่ ีฉลากบอกชื่อสารเคมี ใหถ้ ่ายเทสารเคมมี าใช้เพียงเลก็ น้อยในปรมิ าณเท่าทตี่ อ้ งการ สว่ นเกิน
ที่เหลือตอ้ งกาจัดทง้ิ ตามคาแนะนาของผคู้ วบคุมปฏิบัติการ หรอื หัวหนา้ ห้องปฏบิ ัติการ ห้ามเทกลบั คนื ลงขวด
บรรจุสารเพ่ือป้องกนั ไม่ใหม้ ีส่ิงปนเปื้อนในขวดบรรจุสาร ทกุ คร้งั ท่ีใช้ รเี อเจนตเ์ สรจ็ แล้วต้องเช็ดรอบขวด
ภายนอกและปิดจกุ หรือฝาให้เรยี บร้อย

6. ถา้ ทาสารเคมีหกเลอะเลก็ นอ้ ย (น้อยกว่า 50 กรัม หรือ 50 มลิ ลลิ ติ ร) บนพน้ื ห้องหรือบนโตะ๊
ปฏบิ ตั กิ ารจะต้อง ทาความสะอาดทนั ทีด้วยวิธีการท่ถี ูกต้อง แต่ถา้ ทาหกเลอะปรมิ าณมาก (มากกวา่ 50 กรัม
หรือ 50 มลิ ลิลติ ร) ให้รายงานผ้คู วบคุม ปฏบิ ัตกิ ารหรอื หัวหนา้ หอ้ งปฏิบัตกิ ารทราบ

7. เม่อื จะใช้อุปกรณไ์ ฟฟ้าควรตรวจสอบก่อนว่าสายไฟท่ีตอ่ กับเคร่ืองมือไม่ชารุด
8. ในห้องปฏบิ ัติการต้องมีเครื่องดบั เพลงิ ประจาห้อง ทน่ี ิยมใช้ได้แก่ประเภทคาร์บอนไดออกไซด์เหลว
หรือผงเคมี เช่น โซเดียมไบคารบ์ อเนต และแอมโมเนยี มฟอสเฟต ผปู้ ฏิบตั งิ านควรทราบตาแหน่งทต่ี ั้งและวธิ ใี ช้
เครื่องดบั เพลิง ในกรณที ี่ เกิดเพลงิ ลกุ ไหมใ้ นภาชนะ ให้ปดิ หรือคลมุ ภาชนะนนั้ ทันทีด้วยภาชนะหรอื อปุ กรณ์
อ่ืนใดที่อยู่ใกล้หรือใช้ผา้ ชบุ นา้ ปดิ คลมุ ไฟ ทันที เพื่อปอ้ งกันไมใ่ หไ้ ฟลกุ ลาม หากไฟลุกติดเส้อื ผ้า ห้ามว่ิง เพราะ
จะทาให้ไฟลุกมากข้ึน ใหน้ อนกลง้ิ บนพ้ืนและคลมุ ดว้ ย ผา้ หม่ คลมุ เพลิงหรือผ้าชุบนา้
9. ทางานในหอ้ งปฏบิ ัตกิ ารด้วยความระมดั ระวังอยู่เสมอ โดยเฉพาะอย่างย่ิงเมื่อต้องใช้ตัวทาละลาย
และสารเคมี-อนิ ทรยี ท์ ่เี ปน็ สารไวไฟและมจี ุดวาบไฟตา่ เชน่ ไดเอทลิ อีเทอร์ เพราะไอจะกระจายท่ัวห้องได้
อย่างรวดเรว็ จงึ มโี อกาสเกดิ ไฟไหม้ไดง้ า่ ย ไมค่ วรนาตวั ทาละลายทีร่ ะเหยง่ายมาทาให้ร้อนโดยตั้งบนฮ๊อต

ระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 พรพรรณ ย่งิ ยง |


Click to View FlipBook Version