The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลโครงการ เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by training-nakhonnayok Library, 2021-05-18 00:20:27

Project results report CDD

รายงานผลโครงการ เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชน



คำนำ

กรมการพัฒนาชุมชน ร่วมกับมูลนิธิกสิกรรมธรรมชาติ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร
ลาดกระบัง และภาคีเครือข่ายภาคส่วนต่าง ๆ ทั้ง 7 ภาคี ได้น้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงลงสู่การ
ปฏิบัติอย่างเป็นขั้นตอน ตามกลไกการขับเคลื่อนสืบสานศาสตร์พระราชาเพื่อการปฏิรูปประเทศ โดยใช้หมู่บ้าน
เป็นฐานของการพัฒนา มุ่งสร้างภูมิคุ้มกันให้ทุกครัวเรือน และพัฒนาคนให้มีความรู้และปรับตัวให้สามารถ
ดาเนินชีวิตอย่างมีความสุข มีอาชีพ สร้างรายได้ ท่ามกลางวิกฤตโลกท่ีมีการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว
โดยกรมการพัฒนาชุมชน มอบหมายสถาบันการพัฒนาชุมชน โดยให้ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนนครนายก
ดาเนินงานตามโครงการพัฒนาพ้ืนที่ต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ “โคก
หนอง นา โมเดล” กิจกรรมท่ี 1 ฝึกอบรมเพ่ิมทักษะระยะสั้นการพัฒนากสิกรรมสู่ระบบเศรษฐกิจพอเพียง
รูปแบบ โคก หนอง นาโมเดล กลมุ่ เป้าหมาย เจ้าหนา้ ที่พฒั นาชมุ ชนจังหวดั และเจา้ หนา้ ท่ีพฒั นาชุมชนอาเภอ
วตั ถุประสงคเ์ พอ่ื ใหก้ ล่มุ เป้าหมายสามารถเป็นแกนนาขับเคล่อื นการน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
และทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่การปฏิบัติในรูปแบบ โคก หนอง นา โมเดลในพ้ืนที่เป้าหมายได้ เพ่ือส่งเสริมการ
เรียนรู้การน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งประยุกต์สู่การปฏิบัติ ในรูปแบบ โคก หนอง นา โมเดล
และเพื่อพัฒนาพ้ืนที่เรียนรูช้ ุมชนต้นแบบ “โคก หนอง นา โมเดล” ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ระดับ
ตาบล และระดบั ครัวเรือน

อีกท้ังเพ่ือส่งเสริมการเรียนรู้การน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงประยุกต์สู่การปฏิบัติ
ในรูปแบบ โคก หนอง นา โมเดล นาไปสกู่ ารพฒั นาพนื้ ท่ีเรียนรู้ชุมชนตน้ แบบ “โคก หนอง นา โมเดล” ตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ระดับตาบล และระดับครัวเรือน และเป็นการสืบสานพระราชปณิธาน น้อมนา
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นหลัก ในการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมของ
ประชาชน เน้นประชาชนเป็นศูนยก์ ลาง โดยการพัฒนาคนให้พึ่งตนเอง มีความเป็นเจ้าของและบรหิ ารจัดการ
โดยชมุ ชน พัฒนาหมู่บ้านหรือชุมชนให้มวี ิถชี ีวิตเศรษฐกิจพอเพียงและเปน็ สงั คม “อย่เู ย็น เปน็ สุข”

ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนนครนายก จึงได้จัดทารายงานผลการฝึกอบรม โครงการพัฒนาพ้ืนท่ี
ต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล” กิจกรรมท่ี 1
ฝึกอบรมเพิ่มทักษะระยะสั้นการพัฒนากสิกรรมสู่ระบบเศรษฐกิจพอเพียง รูปแบบ โคก หนอง นาโมเดล
กลุ่มเป้าหมาย เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชนจังหวัด และเจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชนอาเภอ ซึ่งดาเนินการระหว่างวันท่ี
29 พฤศจิกายน ถึง 3 ธันวาคม พ.ศ. 2563 ณ ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนนครนายก เพ่ือให้ผู้ที่เก่ียวข้อง
ไดร้ ับทราบผลการดาเนนิ งานฝกึ อบรมและผูท้ ่ีสนใจนาไปใชป้ ระโยชนต์ อ่ ไป

ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนนครนายก

พฤษภาคม 2564

สำรบญั ข

คำนำ หนำ้
สำรบญั
บทสรปุ ผบู้ รหิ ำร ก

สว่ นที่ 1 ท่มี ำของโครงกำร ง

1. เก่ยี วกบั โครงกำร 1
1.1 ความเปน็ มา 3
1.2 วตั ถุประสงค์ 3
1.3 กลุม่ เป้าหมาย 3
1.4 กระบวนการเรียนรู้ 3
1.5 เนือ้ หาหลักสูตร 4
1.6 กิจกรรมเสริมหลกั สูตร 4
1.7 ระยะเวลาดาเนนิ การ 4
1.8 วิธกี ารดาเนินงาน 4
1.9 งบประมาณ 4
1.10 ผลทค่ี าดวา่ จะไดร้ บั 5
1.11 ตัวชวี้ ดั กิจกรรม 5
2. รำยชือ่ ทีมวทิ ยำกร 6
3. ช่ือวทิ ยำกรประจำวชิ ำ
8
ส่วนท่ี 2 สรปุ เนื้อหำวิชำกำร ผลกำรฝกึ อบรมรำยวชิ ำ 11
1. วิชาผบู้ ริหารมอบนโยบายโครงการฯ 14
16
2. วิชากจิ กรรมกล่มุ สัมพนั ธแ์ ละปรับฐานการเรียนรู้
3. วชิ า เรียนร้ตู าราบนผนื ดนิ 21
4. โครงการพัฒนาพน้ื ทตี่ น้ แบบการพัฒนาคุณภาพชวี ติ 24
27
ตามหลักทฤษฎีใหม่ประยกุ ต์สู่ โคก หนอง นาโมเดล 31
5. การแปลงปรชั ญาเศรษฐกจิ พอพียงสู่การปฏิบัติแบบเป็นขั้นเป็นตอน 43
6. ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง “ทฤษฎีบันได 9 ขั้น”สคู่ วามพอเพยี ง 46
7. หลกั กสิกรรมธรรมชาติ 49
8. ฝึกปฏบิ ัติฐานเรียนรู้
9. ถอดบทเรียนผา่ นสื่อ“วิถภี ูมิปัญญาไทยกับการพ่งึ ตนเองในภาวะวกิ ฤต”
10. ฝกึ ปฏบิ ัติ “จิตอาสาพฒั นาชมุ ชนเอามื้อสามัคคี”
11. การออกแบบเชงิ ภมู สิ งั คมไทยฯ

สำรบญั (ตอ่ ) ค

12. พ้ืนฐานการออกแบบเพ่ือการจดั การพ้ืนทฯ่ี 53
13. ฝึกปฏิบัติสร้างห่นุ จาลอง (กระบะทราย)/นาเสนอ 57
14. ฝึกปฏิบัตกิ ารบรหิ ารจัดการในภาวะวกิ ฤต หาอยู่ หากิน/สรปุ บทเรียน 61
15. การขบั เคล่อื นศาสตร์พระราชา กลไก 357 64
16. จัดทาแผนปฏบิ ัตกิ าร”ยุทธศาสตรก์ ารขับเคล่ือนหลักปรัชญา 67

ของเศรษฐกจิ พอเพียงสกู่ ารปฏิบัติ/นาเสนอ 81
17. สขุ ภาพพึง่ ตน พฒั นา 3 ขุมพลงั “พลังกาย พลังใจ พลังปญั ญา”
83
สว่ นท่ี 3 กำรประเมนิ โครงกำร 83
83
1. วัตถปุ ระสงค์ 83
2. รูปแบบและวิธีการประเมนิ 84
3. การเก็บรวบรวมขอ้ มลู
4. การวิเคราะหข์ ้อมลู 90
5. ผลการประเมนิ รายวชิ าและผลการประเมินโครงการฯ

สว่ นที่ 4 ภำคผนวก

ภาพประกอบรายงานผลฝึกอบรม



บทสรปุ ผบู้ รหิ ำร

กรมการพัฒนาชุมชน มอบหมายสถาบันการพัฒนาชุมชน โดยให้ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชน
นครนายก ดาเนินงานตามโครงการพัฒนาพ้ืนท่ีต้นแบบการพัฒนาคณุ ภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่
“โคก หนอง นา โมเดล” กิจกรรมที่ 1 ฝึกอบรมเพ่ิมทักษะระยะสั้นการพัฒนากสิกรรมสู่ระบบเศรษฐกิจ
พอเพียง รูปแบบ โคก หนอง นาโมเดล กลุ่มเป้าหมาย เจ้าหน้าท่ีพัฒนาชุมชนจังหวัด และเจ้าหน้าท่ีพัฒนา
ชุมชนอาเภอ วัตถุประสงค์เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายสามารถเป็นแกนนาขับเคลื่อนการน้อมนาหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎใี หม่ประยกุ ต์สูก่ ารปฏบิ ตั ใิ นรปู แบบ โคก หนอง นา โมเดลในพ้นื ท่เี ปา้ หมายได้

กลุ่มเป้าหมายประกอบด้วย เจ้าหน้าท่ีพัฒนาชุมชนจังหวัด ๆ ละ 1 คน และเจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชน
อาเภอ ๆ ละ 1 คน จานวน 75 คน ในพื้นท่ี 11 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดนครนายก พระนครศรีอยุธยา
ปราจีนบุรี นนทบุรี ปทุมธานี กาญจนบุรี เพชรบุรี ประจวบ คีรีขันธ์ ราชบุรี นครปฐม และจังหวัด
สมทุ รสงคราม จานวน 75 คน ดาเนการระหวา่ งวันท่ี 29 พฤศจิกายน – 3 ธนั วาคม พ.ศ. 2563

ขอบเขตเน้ือหำหลกั สตู ร ประกอบด้วย
1) ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และหลักสกิ รรมธรรมชาติ
2) เขา้ ใจ เขา้ ถึง พฒั นาศาสตรพ์ ระราชา กบั การพัฒนาทย่ี ง่ั ยืน “SEP To SDGs”
3) การออกแบบเชิงภูมิสังคมไทยตามหลักภูมิสังคมไทยตามหลักกสรพัฒนาภูมิสังคมอย่าง

ยั่งยนื เพอื่ การพงึ่ ตนเองและรองรับภัยพิบตั ิ
โดยมีรายวชิ าดังน้ี

- กระบวนการความคาดหวงั /กลุ่มสัมพนั ธ์/ฝากตาแหน่ง อายุ รบั ผ้าสี เลอื กผนู้ า
- เรยี นรู้ตาราผืนดิน
- เขา้ ใจ เข้าถงึ พฒั นา ศาสตร์พระราชากบั การพฒั นาท่ียั่งยืน
- การแปลงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งสกู่ ารปฏบิ ัติแบบเปน็ ขน้ั เปน็ ตอน
- ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง “ทฤษฎี บนั ได 9 ขัน้ สู่ความพอเพียง
- หลกั กสกิ รรมธรรมชาติ
- ฝกึ ปฏบัติฐานเรียนรู้
- ถอดบทเรยี นผ่านสอ่ื “วิถภี ูมิปญั ญาไทยกับการพง่ึ ตนเอง ในภาวะวิกฤติ”
- “สุขภาพพ่งึ ตน พฒั นา 3 ขมุ พลัง” พลังกาย พลงั ใจ พลังปญั ญา
- ฝกึ ปฏิบตั ิ “จติ อาสาพฒั นาชมุ ชน เอามื้อสามัคคี พัฒนาพืน้ ทต่ี ามหลกั ทฤษฎีใหม่”
- การออกแบบเชงิ ภมู สิ ังคมไทยตามหลกั การพฒั นาภมู ิสังคมอย่างยง่ั ยืน เพื่อการพึ่งตนเองและรองรบั ภัยพบิ ัติ
- พน้ื ฐานการออกแบบเพือ่ การจัดการพืน้ ท่ตี ามหลกั ทฤษฎใี หม่ ประยกุ ต์สู่ โคก หนอง นา โมเดล
- ฝึกปฏิบัติการ สร้างหุ่นจาลอง(กระบะทราย) การจัดการพน้ื ทีต่ ามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกตส์ ู่ โคก หนอง นา
โมเดล
- Team Building ฝึกปฏบิ ัติการบรหิ ารจดั การ ในภาวะวกิ ฤต หาอยู่ หากิน และสรปุ บทเรยี น
- กตญั ญูตอ่ สถานท่พี ัฒนาจติ ใจ ทาบญุ ตกั บาตร
- จัดทาแผนปฏบิ ตั กิ าร “ยุทธศาสตรก์ ารขับเคล่อื นปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสูก่ ารปฏบิ ตั ิ”
- การขับเคล่ือนสืบสานศาสตรพ์ ระราชา กลไก 357



กิจกรรมหลกั สูตร ประกอบด้วย
1) มอบนโยบาย โดย นายสุทธิพงษ์ จลุ เจรญิ อธิบดกี รมการพัฒนาชุมชน
2) ปฐมนเิ ทศก่อนเข้ารับการฝกึ อบรม
3) กจิ กรรมกลุ่มสัมพนั ธ์
4) กจิ กรรมเคารพธงชาติ
5) กจิ กรรมทาบุญตกั บาตร
6) กิจกรรมมอบประกาศนียบัตร
7) กจิ กรรมถา่ ยภาพร่วมกนั

หลังการส้ินสุดการฝึกอบรม ได้ประเมินโครงการฯ โดยใช้แบบประเมินผลภาพรวมโครงการ ผลการประเมิน
สรปุ ได้ ดังนี้
1. กลมุ่ เป้ำหมำย

ผู้ตอบแบบประเมนิ โครงการ จานวน 75 คน
หมายเหตุ ผ่านการฝกึ อบรมครบทัง้ หมด 75 คน

จากกลุ่มเป้าหมาย เจ้าหน้าท่ีพัฒนาชุมชนจังหวดั ๆ ละ 1 คน และเจ้าหน้าพัฒนาชุมชนจัง
ระดับอาเภอ ๆ ละ 1 คน รวม จานวน 75 คน มีผู้ตอบแบบประเมินจานวน 75 คน คิดเป็นร้อยละ 100
ของกลุม่ เป้าหมาย จากผลการประเมินข้อมูลทัว่ ไปของผูต้ อบแบบประเมนิ โครงการฯ มรี ายละเอียดดังน้ี

1) เพศ เพศหญิง จานวน 46 คน คิดเป็นร้อยละ 61.33 และเพศชาย จานวน 29 คน
คิดเป็นร้อยละ 38.67

2) อายุ กลุ่มเป้าหมายส่วนใหญ่ อยู่ในช่วงอายุ 41 - 50 ปี คิดเป็นร้อยละ 50.67 และ
กลุ่มเป้าหมายอยู่ในช่วงอายุ 51 ข้ึนไป คิดเป็นร้อยละ 36 ช่วงอายุ 31-40 ปี คิดเป็นร้อยละ
13.00 ตามลาดับ

3) การศึกษา กลุ่มเป้าหมายส่วนใหญ่ มีระดับการศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรี
คดิ เป็นร้อยละ 56 ระดับปรญิ ญาโท คิดเปน็ รอ้ ยละ 42.67 และอื่น ๆ คิดเปน็ รอ้ ยละ 1.33

2. ควำมพึงพอใจต่อโครงกำร

จากผลการประเมินโดยส่วนใหญข่ องผู้ตอบแบบประเมินคิดเห็นวา่ มีความพึงพอใจต่อโครงการอยูใ่ น
ระดบั มำก ค่าคะแนนเฉลย่ี คือ 4.21 และเมอื่ พิจารณารายดา้ นสามารถสรปุ ได้ ดังนี้

1) กระบวนกำรข้ันตอนกำรให้บริกำร (กำรฝึกอบรม) อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย 4.1 และเม่ือ
พิจารณารายข้อ พบว่า ควำมเหมำะสมของสถำนท่ี อยู่ในระดับมำกท่ีสุด มีค่ำเฉล่ีย 4.55 และความ
เหมาะสมของระยะเวลา ชว่ งเวลา และการจัดลาดบั ขั้นตอนการใหบ้ รกิ าร อยูใ่ นระดับมาก

2) วิทยำกร อยู่ในระดับมาก อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย 4.09 และเมื่อพิจารณารายข้อ พบว่า ทุก
ข้ออยใู่ นระดับมาก

3) ด้ำนเจ้ำหน้ำที่ผู้ให้บริกำร/ผู้ประสำนงำน (หน่วยงำนจัดฝึกอบรม) อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย
4.49 และเมื่อพจิ ารณารายข้อ พบว่า เจ้ำหน้ำที่ผูใ้ ห้บริกำร/ผู้ประสำนงำน มีควำมสุภำพและกำรแต่งกำย
เหมำะสม อยู่ในระดับมำกที่สุด มีค่ำเฉลี่ย 4.6 และ 4.56 ตำมลำดับ การตอบคาถาม ข้อสงสัย และการ
ประสานงาน อยู่ในระดบั มาก



4) กำรอำนวยควำมสะดวก (หน่วยงำนจัดฝึกอบรม) อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉล่ีย 4.15 และเม่ือ
พิจารณารายข้อ พบว่า ทกุ ขอ้ อยใู่ นระดับมาก

5) คุณภำพกำรให้บริกำร อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย 4.22 และเม่ือพิจารณารายข้อ พบว่า ทุกข้อ
อยใู่ นระดบั มาก

3.) ขอ้ เสนอแนะเน้อื หำหลกั สตู ร

จากผลการประเมนิ สามารถสรปุ ได้ ดังนี้
1) เนือ้ หาหลักสตู รทกุ รายวิชาสามารถนาไปประยุกตใ์ ช้ได้จรงิ และปฏบิ ัติงานในพืน้ ทไี่ ด้
2) ผู้เข้าอบรมเห็นด้วยกับกิจกรรมฝึกปฏิบัติ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์โครงการฯ ซ่ึงสามารถนา
ความรู้ไปตอ่ ยอด เผยแพร่ในพนื้ ที่ได้
3) การบูรณาการหลักสูตรการพฒั นากสิกรรมสูร่ ะบบเศรษฐกิจพอเพียงหลักสูตรการออกแบบเชิงภูมิ
สังคมไทยเพ่อื การพ่ึงพาตนเองและรองรบั ภัยพิบัติ ส่งผลให้รายวิชาในเนอ้ื หาหลักสูตรน้ี มีจานวนมาก ซึ่งบาง
รายวิชาเป็นรายวิชาที่สาคัญอย่างย่ิงในการนาไปเป็นแนวทางการปฏบิ ัตงิ าน เชน่ วิชาการออกแบบเชิง
ภูมิสังคมไทยตามหลักการพัฒนาภูมิสังคมอย่างยั่งยืนเพ่ือการพ่ึงตนเองและรองรับภัยพิบัติ วิชาพ้ืนฐานการ
ออกแบบเพ่อื การรจดั การพื้นท่ตี ามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ โคก หนอง นา โมเดล เนอื่ งจากเปน็ วิชาที่สร้าง
ความรูใ้ หม่ แนวคดิ และประโยชน์ ตอ่ การนาไปปฏบิ ัตงิ านในพน้ื ท่ี ซงึ่ ชว่ ยให้เขา้ ใจทไ่ี ปที่มาของการออกแบบ
พ้ืนที่ เป็นต้น
4) ควรเพ่มิ เนื้อหาเกยี่ วกบั ทฤษฎใี หม่ประยุกต์สู่ โคก หนอง นา โมเดล ใหล้ ึกและชดั เจนมากข้นึ กว่าน้ี
เพอื่ นาไปเผยแพรค่ วามรไู้ ด้ถกู ตอ้ ง
5) เพิ่มเติมเน้ือหาที่จาเป็นต่อการบริหารโครงการ เช่น การจัดซ้ือ จัดจ้าง การร่างขอบเขตงาน
การตรวจรบั งาน เกีย่ วกบั การขดุ การบริหารความเสี่ยงของโครงการฯ
6) เพ่ิมเติมเนื้อหาที่จาเป็นต่อการบริหารโครงการ เช่น การจัดซ้ือ จัดจ้าง การร่างขอบเขตงาน
การตรวจรับงาน เก่ยี วกบั การขุด การบรหิ ารความเส่ียงของโครงการฯ
7) ควรจดั เวทแี ลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหวา่ งผเู้ ข้าอบรมเก่ียวหับหลกั กสกิ รรมธรรมชาติ



สว่ นที่ 1
บทนำ

โครงกำรพฒั นำพนื้ ทีต่ ้นแบบกำรพฒั นำคณุ ภำพชวี ติ ตำมหลกั ทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นำ
โมเดล” กจิ กรรมที่ 1 ฝึกอบรมเพิม่ ทักษะระยะสัน้ กำรพฒั นำกสกิ รรมสรู่ ะบบเศรษฐกิจพอเพียง
รปู แบบ โคก หนอง นำโมเดล

1. ควำมเป็นมำ/เกย่ี วกับโครงกำร
1.1 ควำมเปน็ มำ

สถานการณ์ของประเทศไทยในปัจจบุ ันตอ้ งเผชิญกับผลกระทบจากวิกฤตการแพร่ระบาดของ
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ซ่ึงส่งผลกระทบไปถึงวิกฤตทางด้านเศรษฐกิจ ด้านการสาธารณสุข
ด้านการคมนาคมและอื่น ๆ ส่งผลให้เกิดวิกฤตทางสังคมขนาดหนักไปท่ัวท้ังโลก จากรายงานของ McKinsey
& Company (March 26, 2020) จะสง่ ผลใหโ้ ลกมีผลผลิต (Productivity) ลดลงถงึ 30% นั่นหมายถงึ โลก
จะขาดอาหารและเศรษฐกิจจะมีการเตบิ โตลดลง - 1.5% ของ World GDP อีกท้ังวิกฤตด้านการเปล่ียนแปลง
สภาพภูมิอากาศ ท้ังเร่ืองภัยแล้งและน้าท่วมที่คาดว่าจะมีความรุนแรงขึ้นท้ังในเชิงความผันผวน ความถ่ี และ
ขอบเขตทก่ี วา้ งมากข้ึน ซงึ่ จะสรา้ งความเสยี หายต่อชีวิตและโครงสร้างพื้นฐานท่ีจาเป็นทาใหเ้ ศรษฐกิจฐานราก
(Local Economy) ของประเทศเกิดความเสียหาย เพ่ิมปัญหาความยากจน และความเหลื่อมล้าทางสังคม
ตลอดจนระบบการผลิตทางการเกษตรท่มี คี วามสัมพันธต์ ่อเน่อื งกับความมั่นคงดา้ นอาหารและนา้ ขณะทีร่ ะบบ
นิเวศต่าง ๆ มีแนวโน้มเสื่อมโทรมลง และมีแนวโน้มที่จะสูญเสียความสามารถในการรองรับความต้องการ
มนุษยไ์ ด้อยา่ งมีประสิทธิภาพ

ทางออกของประเทศไทยในการรอดพ้นวิกฤตและเกิดการพัฒนาที่ยั่งยืน ได้ถูกกาหนดไว้ในยุทธศาสตร์
ชาติ พ.ศ. 2561 – 2580 และนโยบายรัฐบาลที่จะสืบสาน รักษา ต่อยอด และพัฒนาประเทศตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถ
บพิตร กระทรวงมหาดไทยมอบหมายให้กรมการพัฒนาชุมชน น้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมา
เป็นหลัก ในการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมของประชาชน เน้นประชาชนเป็นศูนย์กลาง
โดยการพัฒนาคนใหพ้ ง่ึ ตนเอง มีความเป็นเจ้าของและบริหารจดั การโดยชุมชน พัฒนาหมู่บ้านหรอื ชุมชนใหม้ ี
วิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียงและเป็นสังคม “อยู่เย็น เป็นสุข” ทั้งน้ี กรมการพัฒนาชุมชน ร่วมกับมูลนธิ ิกสิกรรม
ธรรมชาติ สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้ คณุ ทหารลาดกระบงั และภาคีเครือขา่ ยภาคส่วนต่าง ๆ ทง้ั 7 ภาคี
ได้น้อมนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงลงส่กู ารปฏบิ ตั ิอย่างเป็นขัน้ ตอน ตามกลไกการขบั เคลื่อนสบื สานศาสตร์
พระราชาเพ่ือการปฏิรูปประเทศ โดยใช้หมู่บ้านเป็นฐานของการพฒั นา มุ่งสร้างภมู ิคุ้มกันให้ทุกครัวเรือน และ
พัฒนาคนให้มีความรู้และปรบั ตัวให้สามารถดาเนนิ ชีวิตอย่างมคี วามสุข มีอาชีพ สร้างรายได้ ท่ามกลางวิกฤต
โลกที่มกี ารเปล่ียนแปลงอย่างรวดเรว็ ด้วยการจัดทาโครงการที่ประยุกต์การใช้ศาสตร์พระราชาและนอ้ มนาเอา
แนวคดิ และทฤษฎีการพัฒนาอนั เนอื่ งมาจากพระราชดาริกว่า 40 ทฤษฎี ทีท่ รงพระราชทานไวใ้ ห้ในการแก้ไข
ปัญหาด้านเศรษฐกิจ สังคม และส่ิงแวดล้อมมาประยุกต์กับแนวคิดการพัฒนาพ้ืนที่และการออกแบบ
เชิงภูมิสังคมไทยเพ่ือการพึ่งตนเองและรองรับภัยพิบัติ ในรูปแบบ “โคก หนอง นา โมเดล” สร้างการพัฒนา



คุณภาพชีวิตให้เหมาะสมกับหมู่บ้านในภมู ิสังคมต่าง ๆ ผ่านการทางานในรูปแบบการจ้างงานและการร่วมกัน
ลงแรงด้วยการสนับสนุนวัสดุพื้นฐานและงบประมาณ และบูรณาการการทางานจากภาคีภาคส่วนต่าง ๆ
เพื่อสร้างงานสร้างรายได้ให้กับครัวเรือนและชุมชนที่เข้าร่วมโครงการในระดับพื้นฐาน ดาเนินการ สร้าง
(1) พน้ื ที่เรยี นรู้ชมุ ชนตน้ แบบการพัฒนาคุณภาพชีวิต (Community Lab Model for quality of life : CLM
) ระดับตาบล จานวน 337 ตาบล แยกเป็น ขนาดพ้ืนที่ 10 ไร่ จานวน 23 พื้นที่ และพื้นที่ 15 ไร่ จานวน
314 พ้ืนที่ รวมพน้ื ท่ไี มน่ ้อยกวา่ 4,940 ไร่ และใหก้ ารสนับสนนุ เพ่ือพัฒนา (2) พืน้ ท่ีครวั เรือนตน้ แบบการพัฒนา
คุณภาพชีวิต (Household Lab Model for quality of life : HLM) ระดับครัวเรือน จานวนทั้งสิ้น
24,842 ครัวเรือน ขนาดพน้ื ทไ่ี มเ่ กนิ 3 ไร่/ครวั เรือน รวมพน้ื ที่ไม่เกนิ 54,676 ไร่ และ (3) บูรณาการรว่ ม
พัฒนาพืน้ ที่ระดบั ตาบล เพ่อื การบริหารจดั การนา้ ขน้ั พน้ื ฐานท่ีเหมาะสมกับภูมิสังคมตามแนวพระราชดาริ 10 วธิ ี
เชื่อมโยงกับพ้ืนที่ปฏิบัติการโครงการฯ จากน้ันพัฒนาสู่ระดับก้าวหน้า โดยการดาเนินการส่งเสริมการสร้าง
มาตรฐานผลผลิต การแปรรูปและการตลาดตามมาตรฐานอนิ ทรียว์ ิถีไทย และยกระดับชุมชนทั้ง 337 ตาบล
ใหส้ ามารถ (1) แกไ้ ขวิกฤตด้านเศรษฐกิจ สงั คม และส่งิ แวดลอ้ มของประเทศ (2) เสริมสรา้ งความสามัคคีและ
สร้างเสริมสุขภาพให้แข็งแรงผ่านการทากิจกรรมพัฒนาพื้นท่ีร่วมกนั (3) สร้างระบบเกษตรกรรมยั่งยืนท่ีผลิต
อาหารปลอดภัยจากสารเคมีและผลิตสมุนไพรต่าง ๆ เพื่อยกระดับอาหารให้เป็นยาท่ีสามารถสร้างเสริมภูมิ
ตา้ นทานโรคต่าง ๆ อีกท้งั ยัง (4) เพ่มิ การจัดการใหก้ ักเก็บน้าฝนท่ีตกในพน้ื ทไี่ ด้เพยี งพอต่อการเพาะปลูกและ
การดารงชีวิตช่วยแก้ปัญหาภัยแล้งและน้าท่วม (5) เพ่ิมพื้นท่ีป่าที่ช่วยฟอกอากาศที่บริสุทธิ์และช่วยกักเก็บ
คารบ์ อนในช้ันบรรยากาศลดปญั หาฝ่นุ ละอองขนาดเล็ก PM 2.5 (6) เกบ็ รกั ษาและฟ้ืนฟหู น้าดนิ ด้วยการเก็บ
ตะกอนดินในพื้นท่ี ช่วยสร้างความสมดุลของระบบนิเวศใน ดิน น้า และป่า (7) เพ่ิมความหลากหลายให้กับ
พันธุกรรมของส่ิงมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์ ที่สาคัญยังช่วยชุมชนได้ ทั้งน้ี การดาเนินการพัฒนาสู่ระดับก้าวหน้า
ในระยะที่ 2 มแี ผนดาเนินการสง่ เสริมในระดับชุมชนให้รวมตัวกันจัดต้ังกลมุ่ เป็นกลมุ่ อาชีพเพ่ือสร้างวิสาหกิจชุมชน
ซ่ึงจะส่งผลให้เกิดการสร้างความม่ันคงทางเศรษฐกิจ และสนับสนุนกระบวนการผลิต ด้วยการส่งเสริม
และสนับสนุนให้วิสาหกิจชุมชนสามารถพัฒนายกระดับมุ่งไปสู่การจัดต้ังบริษัทวิสาหกิจเพื่อสังคมในระดับ
ตาบล เพ่ือพัฒนาศกั ยภาพการเพ่ิมผลผลิตต่าง ๆ ท่ไี ดจ้ ากในพื้นที่ดาเนินการ เพมิ่ มูลคา่ ดว้ ยการแปรรูป ขยาย
ตลาดการท่องเท่ียวชุมชน ฯลฯ และสรา้ งงานวิจัยชมุ ชนเพอ่ื ยกระดับผลิตภัณฑ์หรือค้นหาอตั ลกั ษณข์ องชุมชน
การสร้างนวัตกรรมที่เหมาะสมกับภูมิสังคมของชุมชน สร้างการจัดการความรู้ในมิตกิ ารพงึ่ ตนเองด้านครู คลัง
ช่าง หมอ ของชุมชน ร่วมกับสถาบันการศึกษาในพ้ืนท่ีชุมชนทั่วประเทศ ให้ได้ผลการดาเนินงานที่สามารถ
นาไปต่อยอดให้กับวิสาหกิจชุมชนในด้านการพัฒนาการท่องเที่ยวชุมชน การเพิ่มมูลค่าผลผลิตและยกระดับ
เศรษฐกิจฐานรากของชุมชน รวมท้ังสร้างการส่ือสารสังคมให้เกิดกระบวนการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมใน
ระดบั ชุมชนระดับตาบล ระดบั อาเภอ ระดบั จังหวัด ระดบั ประเทศ และระดบั นานาชาติ เร่อื ง การน้อมนาหลัก
ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy Philosophy: SEP) ในรปู แบบการทางานตามศาสตร์
พระราชาสู่การปฏิบตั ิจนเป็นวถิ ชี ีวิตของประชาชนให้บรรลุตามเป้าหมายเพือ่ การพฒั นาท่ียั่งยืน (Sustainable
Development Goals: SDGs) (SEP for SDGs) ในรูปแบบและวิธีการต่าง ๆ ที่เข้าถึงคนได้ทุกระดับและ
ทกุ วยั ผ่านการดาเนินงานโครงการในทุกพนื้ ท่ีเพ่ือสอื่ สารวิธีการแก้ไขวกิ ฤตตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงด้วยการสร้างตัวอย่างความสาเร็จท่ีเร่ิมต้นจากการพัฒนาคนให้โลกได้รับรู้อย่างแพร่หลาย ซ่ึงการ
ขับเคลื่อนตามกระบวนการท้ัง 2 ระยะจะเป็นการ (8) เตรียมความพร้อมให้ชุมชนมีความสามารถในการ
พึ่งตนเองในเรอ่ื งของน้า อาหาร และพลังงานทดแทนสร้างภูมิคุ้มกันชุมชนตอ่ สภาพปัจจุบันท่ีโลกกาลังเผชิญกบั



วิกฤตความเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศและภัยพิบัติธรรมชาติอย่างรุนแรง วิกฤตทางด้านโรคระบาดวกิ ฤต
ทางด้านความอดอยาก และวิกฤตความขดั แย้งของสงครามเศรษฐกิจหรือสงครามรูปแบบต่าง ๆ ในอนาคต

1.2 วัตถุประสงค์

2.1 เพ่ือส่งเสริมการเรียนรู้การน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงประยุกต์สู่การปฏิบัติ
ในรูปแบบ โคก หนอง นา โมเดล

2.2 เพ่ือพัฒนาพ้ืนที่เรียนรู้ชุมชนต้นแบบ “โคก หนอง นา โมเดล” ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี ง ระดับตาบล และระดับครวั เรอื น

2.3 เพื่อให้กลุ่มเปา้ หมายมีความรู้ความเข้าใจเศรษฐกิจพอเพียง รปู แบบ โคก หนอง นา โมเดล และ
พัฒนากลุ่มเป้าหมายสามารถเป็นแกนนาพัฒนาขับเคลื่อนการน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและ
ทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่การปฏิบัติในรูปแบบ โคก หนอง นา โมเดลในพื้นที่เป้าหมาย และสามารถเป็นครู
กระบวนการอครูกสิกรรม ครูประจาฐานเรียนรู้การพ่ึงพาตนเอง และครุพาทา เพ่ือขับเคล่ือนงานและเชื่มโยง
เครอื ขา่ ยในพ้นื ท่ีท้งั 7 ภาคี

1.3 กลมุ่ เปำ้ หมำย
เจ้าหน้าท่ีพัฒนาชุมชนจังหวัด ๆ ละ 1 คน และเจ้าหน้าพัฒนาชุมชนจังระดับอาเภอ ๆ ละ 1 คน

รวม ในพื้นที่ 11 จังหวัด ได้แก่ นครนายก พระนครศรีอยุธยา ปราจีนบุรี นนทบุรี ปทุมธานี กาญจนบุรี
เพชรบรุ ีประจวบครี ขี นั ธ์ ราชบรุ ี นครปฐม สมุทรสงคราม จานวน 75 คน

1.4 กระบวนกำรเรยี นรู้

กระบวนการเรีนรู้เนน้ การฝึกปฏบิ ัติ workshop และเน้นการบูรณาการยดึ ผเู้ รียนเปน็ ศนู ยก์ ลาง
1) บรรยายและใชส้ อื่ นาเสนอประกอบการฝกึ อบรม
2) แบ่งกลมุ่ ฝกึ ปฏิบตั ิ workshop และสรปุ เติมเต็มโดยวทิ ยากร
3) ใช้ส่ือการเรียนรู้ท่ีเก่ียวข้องกับประเด็นการเรียนรู้เพ่ือให้เห็นภาพความเป็นจริงและสร้างแรง
บรรดาลใจ
4) กจิ กรรมฝึกปฏิบัติฐานเรยี นรู้ ตามบรบิ ทของพ้นื ท่ี

1.5 เนื้อหำหลักสตู ร
1) ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และหลกั สกิ รรมธรรมชาติ
2) เข้าใจ เขา้ ถงึ พฒั นาศาสตรพ์ ระราชา กับการพัฒนาท่ียั่งยนื “SEP To SDGs”
3) การออกแบบเชิงภูมิสังคมไทยตามหลักภูมิสังคมไทยตามหลักกสรพัฒนาภูมิสังคมอย่าง

ย่งั ยนื เพื่อการพงึ่ ตนเองและรองรบั ภัยพิบัติ
โดยมรี ำยวชิ ำดงั นี้

- กระบวนการความคาดหวัง/กล่มุ สัมพนั ธ์/ฝากตาแหน่ง อายุ รบั ผา้ สี เลือกผู้นา
- เรยี นรู้ตาราผนื ดนิ
- เข้าใจ เข้าถึง พฒั นา ศาสตร์พระราชากบั การพฒั นาท่ยี ่ังยนื
- การแปลงปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งส่กู ารปฏิบัติแบบเปน็ ขั้นเป็นตอน



- ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง “ทฤษฎี บนั ได 9 ขั้นสู่ความพอเพียง
- หลักกสิกรรมธรรมชาติ
- ฝึกปฏบัติฐานเรียนรู้
- ถอดบทเรียนผ่านส่ือ “วถิ ภี ูมิปัญญาไทยกับการพึ่งตนเอง ในภาวะวิกฤติ”
- “สขุ ภาพพึ่งตน พฒั นา 3 ขมุ พลงั ” พลงั กาย พลังใจ พลังปัญญา
- ฝึกปฏบิ ัติ “จติ อาสาพฒั นาชมุ ชน เอามื้อสามัคคี พัฒนาพน้ื ทีต่ ามหลกั ทฤษฎีใหม่”
- การออกแบบเชิงภูมิสังคมไทยตามหลักการพัฒนาภูมิสังคมอย่างยั่งยืน เพื่อการพึ่งตนเองและ
รองรับภัยพิบตั ิ
- พื้นฐานการออกแบบเพอื่ การจัดการพื้นท่ีตามหลกั ทฤษฎใี หม่ ประยุกตส์ ู่ โคก หนอง นา โมเดล
- ฝึกปฏิบัติการ สร้างหุ่นจาลอง(กระบะทราย) การจัดการพื้นท่ีตามหลักทฤษฎใี หม่ ประยุกต์สู่ โคก
หนอง นา โมเดล
- Team Building ฝึกปฏบิ ัติการบริหารจดั การ ในภาวะวิกฤต หาอยู่ หากิน และสรปุ บทเรยี น
- กตญั ญตู ่อสถานท่พี ัฒนาจิตใจ ทาบุญตักบาตร
- จดั ทาแผนปฏิบัติการ “ยุทธศาสตรก์ ารขับเคลือ่ นปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสูก่ ารปฏบิ ตั ิ”
- การขบั เคล่อื นสืบสานศาสตร์พระราชา กลไก 357

1.6 กิจกรรมหลักสตู ร ประกอบดว้ ย
1) มอบนโยบาย โดย นายสุทธิพงษ์ จุลเจริญ อธบิ ดีกรมการพัฒนาชมุ ชน
2) ปฐมนเิ ทศกอ่ นเขา้ รับการฝึกอบรม
3) กจิ กรรมกลมุ่ สัมพนั ธ์/นันทนาการ
4) กิจกรรมเคารพธงชาติ
5) กจิ กรรมทาบุญตกั บาตร
6) กจิ กรรมมอบประกาศนยี บัตร
7) กิจกรรมถา่ ยภาพรว่ มกัน

1.7 ระยะเวลำดำเนินกำร
ดาเนนิ การจัดฝึกอบรม ระหว่างวันท่ี 29 พฤศจกิ ายน – 3 ธนั วาคม 2563

1.8 สถำนทด่ี ำเนินกำร
ณ ศูนย์ศึกษาและพฒั นาชุมชนนครนายก ตาบลสาริกา อาเภอเมือง จังหวัดนครนายก

1.9 งบประมำณ
งบประมาณทใี่ ช้ไปเป็นเงิน 565,140 บาท (หา้ แสนหกหมื่นห้าพันหนง่ึ ร้อยส่สี ิบบาทถว้ น)

1.10 ผลที่คำดวำ่ จะไดร้ บั
กลมุ่ เปา้ หมายสามารถเปน็ แกนนาขบั เคลอ่ื นการน้อมนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและทฤษฎี

ใหมป่ ระยุกตส์ ู่การปฏิบตั ใิ นรปู แบบ โคก หนอง นา โมเดลในพ้ืนทเี่ ป้าหมายได้



1.11 ตวั ชี้วัดกิจกรรม
กลุ่มเป้าหมายได้รับการพัฒนาตามหลักสูตรการพัฒนากสิกรรมสู่ระบบเศรษฐกิจพอเพียง รูปแบบ

โคก หนอง นา โมเดล

2. รำยช่อื ทีมวทิ ยำกรกระบวนกำร ตาแหน่ง ผ้อู านวยการศนู ย์ศกึ ษาและพัฒนาชมุ ชนนครนายก
2.1 นางประภา ปานนิตยกลุ ตาแหน่ง นักทรพั ยากรบคุ คลชานาญการ
2.2 นางสาวอรวยี ์ แสงทอง ตาแหนง่ นักวิชาการพัฒนาชมุ ชนชานาญการ
2.3 นายศภุ กติ ต์ รอบรู้ ตาแหนง่ นกั ทรัพยากรบคุ คลปฏบิ ตั ิการ
2.4 นางสุพรรษา แกว้ ขุนทด ตาแหน่ง นกั ทรพั ยากรบคุ คลปฏิบัติการ
2.5 นายเมธาพนั ธ์ นิลแก้ว ตาแหนง่ นักวิชาการพฒั นาชุมชนปฏิบัติการ
2.6 นางสาวพมิ พณ์ ดา ไมตรีเวช ตาแหนง่ นกั ทรพั ยากรบคุ คล
2.7 นางสาววชิรญาณ์ แยม้ เยื้อน ตาแหน่ง นกั ทรัพยากรบุคคล
2.8 นางสาวสฑุ ามาศ อมั รนิ ทร์ ตาแหนง่ นกั ทรพั ยากรบุคคล
2.9 นางสาวภทั ธญิ า ติกจนิ า

3. รำยช่ือวทิ ยำกรประจำรำยวชิ ำ

3.1 วิชำ มอบนโยบำยโครงกำรฯ โดย นายสุทธพิ งษ์ จุลเจริญ อธบิ ดีกรมการพฒั นาชมุ ชน

3.2 วิชำ กิจกรรม กลมุ่ สมั พนั ธ์ แบง่ กลมุ่ มอบภำรกจิ

ผูร้ ับผิดชอบ นายเมธาพนั ธ์ นลิ แก้ว ตาแหน่ง นักทรัพยากรบคุ คลปฏิบัตกิ าร

นางสาวพิมพ์ณดา ไมตรเี วช ตาแหน่ง นกั วิชาการพฒั นาชมุ ชนปฏิบตั กิ าร

นางสาววชริ ญาณ์ แยม้ เยื้อน ตาแหน่ง นักทรัพยากรบุคคล

นางสาวสุฑามาศ อัมรนิ ทร์ ตาแหนง่ นักทรัพยากรบคุ คล

นางสาวภทั ธิญา ติกจินา ตาแหน่ง นักทรพั ยากรบุคค

3.3 วชิ ำเรยี นรู้ตำรำบนดนิ : กจิ กรรมเดนิ ชมพนื้ ท่ี

ผู้รบั ผดิ ชอบ นางสาวอรวยี ์ แสงทอง ตาแหนง่ นกั ทรัพยากรบุคคลชานาญการ

นายศุภกติ ต์ รอบรู้ ตาแหน่ง นกั วิชาการพัฒนาชุมชนชานาญการ

นางสุพรรษา แก้วขนุ ทด ตาแหน่ง นักทรพั ยากรบุคคลปฏบิ ัตกิ าร

นายเมธาพนั ธ์ นิลแก้ว ตาแหน่ง นกั ทรัพยากรบคุ คลปฏบิ ตั กิ าร

นางสาวพิมพ์ณดา ไมตรเี วช ตาแหน่ง นักวิชาการพัฒนาชมุ ชนปฏิบัติการ

นางสาวชนชิ กานต์ รมิ สมุทร์ ตาแหน่ง เจา้ พนักงานโสตทศั นศึกษาปฏบิ ตั งิ าน

นางสาววชิรญาณ์ แยม้ เยือ้ น ตาแหนง่ นกั ทรัพยากรบคุ คล

นางสาวสฑุ ามาศ อัมรนิ ทร์ ตาแหน่ง นกั ทรัพยากรบคุ คล

นางสาวภัทธิญา ตกิ จนิ า ตาแหนง่ นักทรพั ยากรบุคค

นายปราโมทย์ กิจปลื้ม เครือข่ายโคก หนอง นา จังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา



3.4 วิชำ โครงกำรพัฒนำพน้ื ท่ีตน้ แบบกำรพัฒนำคุณภำพชวี ิตตำมหลักทฤษฎีใหม่ ประยกุ ตส์ ู่ โคก หนอง

นำ โมเดล

ผู้รบั ผิดชอบ ผศ.พิเชฐ โสวิทยสกลุ ที่ปรกึ ษาอธบิ ดกี รมการพัฒนาชมุ ชน

รศ.วรวรรณ โรจนไพบูลย์ ทป่ี รึกษาอธบิ ดีกรมการพฒั นาชมุ ชน

3.5 วิชำ กำรแปลงปรัชญำเศรษฐกจิ พอเพยี ง สู่กำรปฏบิ ัติแบบเปน็ ขน้ั เปน็ ตอน
ผรู้ ับผดิ ชอบ ผศ.พิเชฐ โสวทิ ยสกลุ ที่ปรกึ ษาอธบิ ดกี รมการพฒั นาชมุ ชน
รศ.วรวรรณ โรจนไพบลู ย์ ทป่ี รกึ ษาอธิบดกี รมการพัฒนาชุมชน

3.6 วชิ ำ ปรชั ญำของเศรษฐกจิ พอเพียง “ทฤษฎี บันได 9 ขั้นสคู่ วำมพอเพยี ง

ผู้รบั ผดิ ชอบ นายปัญญา ปุลิเวคนิ ทร์ หวั หนา้ ศูนยภ์ ูมิรักษธ์ รรมชาติจังหวัดนครนายก

3.7 วชิ ำ “หลักกสกิ รรมธรรมชำติ”

ผรู้ บั ผิดชอบ นายปัญญา ปุลิเวคนิ ทร์ หวั หน้าศนู ย์ภมู ริ กั ษธ์ รรมชาตจิ งั หวัดนครนายก

3.8 วชิ ำ ฝกึ ปฏบิ ตั ิฐำนเรยี นรู้

ผรู้ ับผิดชอบ นางอรวยี ์ แสงทอง ตาแหนง่ นักทรัพยากรบคุ คลชานาญการ

นายศุภกติ ต์ รอบรู้ ตาแหนง่ นกั วิชาการพัฒนาชุมชนชานาญการ

นางสุพรรษา แกว้ ขนุ ทด ตาแหน่ง นักทรัพยากรบุคคลปฏบิ ตั กิ าร

นายเมธาพันธ์ นิลแก้ว ตาแหนง่ นักทรพั ยากรบคุ คลปฏิบัตกิ าร

นางสาวพมิ พณ์ ดา ไมตรีเวช ตาแหน่ง นักวิชาการพัฒนาชุมชนปฏิบตั ิการ

นางสาววดี เพ็ชระ ตาแหน่ง นักจัดการงานทว่ั ไป

นางสาววชริ ญาณ์ แย้มเย้ือน ตาแหน่ง นกั ทรพั ยากรบคุ คล

นางสาวสฑุ ามาศ อมั รินทร์ ตาแหน่ง นกั ทรัพยากรบุคคล

นางสาวภัทธญิ า ติกจนิ า ตาแหน่ง นกั ทรัพยากรบคุ ค

3.9 วิชำ ถอดบทเรยี นผำ่ นสือ่ “วถิ ภี มู ิปัญญำไทยกับกำรพง่ึ ตนเองในภำวะวิกฤติ”

ผรู้ ับผดิ ชอบ นางประภา ปานนิตยกลุ ผู้อานวยการศูนยศ์ กึ ษาและพฒั นาชุมชนนครนายก

3.10 วชิ ำ ฝึกปฏิบัติ “จิตอำสำพฒั นำชมุ ชน เอำมือ้ สำมคั คี พัฒนำพน้ื ท่ีตำมหลกั ทฤษฎีใหม่”

ผู้รับผดิ ชอบ นางสาวอรวีย์ แสงทอง นกั ทรัพยากรบคุ คลชานาญการ

นายศุภกิตต์ รอบรู้ ตาแหน่งนกั วิชาการพฒั นาชมุ ชนชานาญการ

นายเมธาพนั ธ์ นลิ แก้ว ตาแหน่ง นักทรพั ยากรบคุ คลปฏบิ ัติการ

นางสาวพิมพ์ณดา ไมตรเี วช ตาแหน่ง นักวิชาการพฒั นาชุมชนปฏบิ ัติการ

นายปราโมทย์ กิจปลมื้ เครือข่ายโคก หนอง นา จงั หวดั พระนครศรีอยุธยา

นายสุนทร แววมะบุตร เครือข่ายโคก หนอง นา จงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยา

3.11 วิชำ กำรออกแบบเชงิ ภูมิสังคมไทยตำมหลกั กำรพัฒนำภมู ิสงั คมอย่ำงย่ังยนื เพือ่ กำรพง่ึ ตนเอง และ

รองรับภยั พบิ ัติ

ผรู้ บั ผดิ ชอบ ผศ.พิเชฐ โสวทิ ยสกุล ท่ีปรกึ ษาอธบิ ดกี รมการพัฒนาชุมชน

รศ.วรวรรณ โรจนไพบูลย์ ท่ีปรกึ ษาอธบิ ดกี รมการพัฒนาชุมชน



3.12 วิชำ พื้นฐำนกำรออกแบบเพอื่ กำรจัดกำรพน้ื ท่ีตำมหลักทฤษฎีใหม่ ประยกุ ต์สู่ โคก หนอง นำ โมเดล

ผู้รับผิดชอบ นายนภทั รพนั ธ์ เฟอ่ื งฟู
นายอชิร ก่อแกว้
นางสาวญานกิ า เวชมณกี ร

3.13 วิชำฝึกปฏิบัตกิ ำร สรำ้ งหนุ่ จำลอง(กระบะทรำย) กำรจดั กำรพืน้ ทตี่ ำมหลักทฤษฎใี หม่ ประยกุ ต์สู่

โคก หนอง นำ โมเดล

ผรู้ บั ผดิ ชอบ ผศ.พิเชฐ โสวิทยสกลุ ที่ปรึกษาอธบิ ดีกรมการพัฒนาชมุ ชน

รศ.วรวรรณ โรจนไพบูลย์ ทปี่ รกึ ษาอธบิ ดกี รมการพฒั นาชมุ ชน

นายนภัทรพันธ์ เฟ่อื งฟู

นายอชิร ก่อแก้ว

นางสาวญานกิ า เวชมณีกร

นายเมธาพนั ธ์ นิลแก้ว นกั ทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ

นางสพุ รรษา แกว้ ขุนทด นกั ทรพั ยากรบคุ คลปฏบิ ัตกิ าร

3.14 วชิ ำ Team Building ฝกึ ปฏบิ ัตกิ ำรบรหิ ำรจัดกำรในภำวะวกิ ฤต หำอยู่ หำกนิ

ผู้รับผิดชอบ นายเมธาพนั ธ์ นิลแกว้ ตาแหน่ง นกั ทรัพยากรบุคคลปฏิบตั ิการ

นางสุพรรษา แก้วขุนทด ตาแหนง่ นกั ทรพั ยากรบคุ คลปฏิบตั ิการ

นางสาวพมิ พ์ณดา ไมตรีเวช ตาแหนง่ นกั วิชาการพัฒนาชมุ ชนปฏบิ ัตกิ าร

นางสาววชริ ญาณ์ แย้มเยอื้ น ตาแหนง่ นักทรัพยากรบคุ คล

นางสาวภทั ธิญา ติกจนิ า ตาแหนง่ นกั ทรัพยากรบคุ คล

3.15 วิชำ กำรขบั เคลอื่ นสบื สำนศำสตรพ์ ระรำชำ กลไก 357

ผู้รับผดิ ชอบ ผศ.พเิ ชฐ โสวิทยสกุล ทป่ี รกึ ษาอธิบดกี รมการพัฒนาชมุ ชน

3.16 วิชำ จัดทำแผนปฏิบัติกำร“ยุทธศำสตร์กำรขับเคล่ือนปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียงสกู่ ำรปฏบิ ตั ิ”/

นำเสนอแผนยุทธศำสตร์

ผู้รบั ผิดชอบ ผศ.พิเชฐ โสวิทยสกลุ ทป่ี รึกษาอธบิ ดีกรมการพฒั นาชุมชน

รศ.วรวรรณ โรจนไพบลู ย์ ที่ปรึกษาอธบิ ดกี รมการพฒั นาชมุ ชน

3.17 วิชำสุขภำพพ่งึ ตน “พัฒนำ 3 ขมุ พลัง” พลงั กำย พลงั ใจ พลังปัญญำ

ผ้รู ับผิดชอบ นางสาวอรวยี ์ แสงทอง ตาแหน่ง นกั ทรพั ยากรบคุ คลชานาญการ

3.18 กจิ กรรมกตญั ญูต่อสถำนท่พี ฒั นำจติ ใจ ทำบุญตักบำตร

ผรู้ ับผิดชอบ ทมี วทิ ยากรกระบวนการ



สว่ นที่ 2
สรุปเนอื้ หำวชิ ำกำร ผลกำรฝกึ อบรมรำยวชิ ำ

โครงการพัฒนาพนื้ ที่ต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา
โมเดล” กิจกรรมที่ 1 ฝกึ อบรมเพม่ิ ทักษะระยะสั้นการพฒั นากสิกรรมสรู่ ะบบเศรษฐกิจพอเพียง รปู แบบ โคก
หนอง นาโมเดล มีวัตถุประสงค์เพือ่ ใหก้ ลมุ่ เป้าหมายมคี วามรู้ความเขา้ ใจเศรษฐกจิ พอเพียง รูปแบบ โคก หนอง
นา โมเดล และพฒั นากลุ่มเป้าหมายสามารถเป็นแกนนาพัฒนาขับเคลือ่ นการนอ้ มนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงและทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่การปฏิบัติในรูปแบบ โคก หนอง นา โมเดลในพื้นท่ีเป้าหมาย และสามารถ
เป็นครูกระบวนการอครูกสิกรรม ครูประจาฐานเรียนรู้การพึ่งพาตนเอง และครุพาทา เพื่อขับเคล่ือนงานและ
เชือ่ มโยงเครอื ข่ายในพื้นที่ท้ัง 7 ภาคี รวมทั้งส่งเสรมิ การเรียนรู้การนอ้ มนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ประยุกต์สู่การปฏิบัติ ในรูปแบบ โคก หนอง นา โมเดล และเพื่อพัฒนาพื้นที่เรียนรู้ชุมชนต้นแบบ “โคก หนอง
นา โมเดล” ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ระดบั ตาบล และระดับครวั เรอื นอีกดว้ ย โดยมีรายวชิ าดงั น้ี

1. หัวข้อวชิ ำ : ผู้บริหำรมอบนโยบำยโครงกำรพัฒนำพนื้ ทตี่ ้นแบบกำรพัฒนำคณุ ภำพชีวิตตำมหลักทฤษฎี
ใหม่ ประยุกตส์ ู่ โคก หนอง นำ โมเดล หลักสูตร เพมิ่ ทกั ษะระยะส้นั กำรพฒั นำกสิกรรมสู่ระบบเศรษฐกิจ
พอเพยี ง รปู แบบ โคก หนอง นำ โมเดล

วิทยำกรหลกั
นายสุทธพิ งษ์ จุลเจริญ ตาแหน่ง อธบิ ดีกรมการพัฒนาชมุ ชน

1) วัตถุประสงค์
เพื่อใหม้ ีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับโครงการพัฒนาพื้นท่ีตน้ แบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตาม

หลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ โคก หนอง นา โมเดล และสามารถนาความรู้ความเข้าไจไปปฏิบัติงานตาม
โครงการฯ ได้

2) ประเดน็ เน้อื หำ
โครงการพัฒนาพน้ื ท่ตี ้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวติ ตามหลกั ทฤษฎใี หม่ ประยกุ ตส์ ู่

โคก หนอง นา โมเดล หลักสตู ร เพิ่มทกั ษะระยะส้นั การพัฒนากสกิ รรมสูร่ ะบบเศรษฐกิจพอเพียง รูปแบบ โคก
หนอง นา โมเดล

3) ระยะเวลำ
2 ชัว่ โมง

4) วิธกี ำร/เทคนิค
4.1 บรรยายประกอบส่ือ Power Point
4.2 แลกเปล่ียนเรยี นรู้ดว้ ยการซกั ถามและการตอบคาถาม



5) วัสดุ / อุปกรณ์
สอื่ บรรยายดว้ ยโปรแกรม Power Point

6) ขนั้ ตอน / วิธีกำร
วิทยากรกล่าวนาถึงโครงการพฒั นาพนื้ ที่ต้นแบบการพฒั นาคุณภาพชวี ิตตามหลักทฤษฎีใหม่

ประยกุ ต์สู่ โคก หนอง นา โมเดล ซ่งึ เปน็ โครงการทม่ี งุ่ เนน้ การออกแบบพ้ืนที่เพ่อื ใหเ้ ป็นพน้ื ท่ีต้นแบบ และเนน้
ยา้ วา่ โครงการฯ นี้จะเป็นโครงการที่ชว่ ยกระตุน้ เศรษฐกจิ ฐานราก ทาให้ประชาชนสามารถพึ่งพาตนเองได้และ
ทาใหม้ ีคุณภาพชีวิตท่ีดีขึ้น และกล่าวถึงทีม่ าของโครงการฯ ทเี่ กดิ จากพระปรีชาญาณของพระบาทสมเด็จพระ
บรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ที่พระองค์ทรงพระราชทาน ส.ค.ส.ปี พ.ศ.
2547 ไว้ให้กับคนไทย โดยเป็นรูปแผนที่ประเทศไทยท่ีมีระเบิดทั้ง 4 ลูก ล้อมรอบแผนที่ประเทศไทย
ซึ่งระเบิดทั้ง 4 ลูก นั้นได้แก่ วิกฤตด้านสังคม วิกฤตด้านเศรษฐกิจวิกฤตด้านสิ่งแวดล้อม และวิกฤตด้าน
การเมอื ง ซ่ึง ณ ปจั จบุ ัน วกิ ฤตเหล่านไ้ี ด้เกดิ ขึ้นกับประเทศไทยแล้ว หากจะกา้ วผ่านวิกฤตเหล่านไี้ ด้เราในฐานะ
ปวงชนชาวไทยจะต้องนอ้ มนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาปรบั ใช้ นั่นถึงจะเป็นทางรอด ดังพระราช
ดารัสของพระองค์ท่านที่พระราชทานแด่คณะบุคคลต่างๆ ท่เี ข้าเฝา้ ถวายชยั มงคล เน่ืองในโอกาสวนั เฉลิมพระ
ชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดาฯ พระราชวังดุสิต ๔ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๔๑ ความว่า “เศรษฐกจิ
พอเพียง หรือ ทฤษฎใี หม่ นี้ ๒ อยำ่ งนจ้ี ะนำควำมเจรญิ แก่ประเทศได้ แตต่ อ้ งมคี วำมเพยี ร แลว้ ต้องอดทน
ต้องไม่ใจร้อน ต้องไม่พูดมำก ต้องไม่ทะเลำะกัน ถ้ำทำได้โดยเข้ำใจกัน เชื่อว่ำทุกคนจะมีควำมพอใจได้”
อีกทัง้ พระราชปณิธานอันแนว่ แนข่ องพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธบิ ดีศรีสนิ ทรมหาวชิราลงกรณ พระว
ชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ท่ีพระองค์ทรงมีพระปฐมบรมราชโองการพระราชทานอารกั ขา แก่ประชาชนชาวไทยความ
ว่ำ “เรำจะสืบสำน รักษำ และต่อยอด และครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งอำณำรำษฎร
ตลอดไป” และดว้ ยสานกึ ในพระมหากรุณาธคิ ุณทสี่ มเด็จ พระเจา้ อยหู่ ัวมหาวชริ าลงกรณ บดินทรเทพยวราง
กูร ท่ีทรงพระราชทานโครงการจิตอาสาพระราชทานตามแนวพระราชดาริ “เรำทำควำม ดี ด้วยหัวใจ”
ด้วยทรงมุ่งหวังให้พสกนิกรทุกหมู่เหล่ามีความสมคั รสมานสามคั คี ร่วมมือ ร่วมใจประกอบกิจกรรมสาธารณะ
เพ่ือประโยชน์สุขของชุมชนส่วนรวม โดยไม่หวังส่ิงตอบแทน และให้เกิดความรัก ความผูกพันใน 4 สถาบัน
ของชาติ ได้แก่ สถาบนั ชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์ และประชาชน จงึ เกิดเป็นโรงเรยี นจติ อาสาพระราชทาน

พัฒนาการอาเภอและพัฒนากร ในฐานะข้าราชการกรมการพัฒนาชุมชน จะต้องเป็น
แบบอย่างในการทาความดี โดยการนอ้ มนาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาปรบั ใช้ให้สามารถเข้าไปแก้ไข
ปัญหาของประชาชนพร้อมท้ังเป็นแบบอย่างท่ีดีให้กับประชาชนก่อน โดยเริ่มจากการคิดและวางแผนการ
ดาเนินงานในพ้ืนท่ี โดยอาจจะไปเรียนรู้ กรณีศึกษาจากคลิปวีดิทัศน์ “พ่อเล่ียม” เพื่อใช้เป็นแนวทางใน
การดาเนินงานและปรับประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับงานตามบริบทของพ้ืนที่ และส่ิงที่สาคัญท่ีสุดสาหรับการ
ทางานในบทบาทของข้าราชการกรมการพัฒนาชุมชน คือ ทัศนคติ ความเช่ือ และมีความรู้ท่านจะต้องมี
ทัศนคติที่แน่วแน่ มีความเชื่อมีความศรัทธาว่าโครงการฯ น้ี ทาแล้วดี ทาแล้วประชาชนได้รับประโยชนส์ ูงสุด
อีกท้ังมีความร้คู วามเข้าใจท่ีถูกหลักวิชา มแี รงปรารถนาท่ีดีทอ่ี ยากให้ประชาชนมีความสุข ลดการพึง่ พาปัจจัย
ภายนอกและสามารถพง่ึ พาตนเองเพื่อใหส้ ามารถดารงชวี ิตไดอ้ ยา่ งมีความสขุ

ซึ่งโครงการฯ นี้ เป็นการดาเนินงานตามพระราชกาหนดให้อานาจกระทรวงการคลังกู้เงิน
เพ่ือแก้ไขปัญหา เยียวยา และฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคม ที่ได้รับผลกระทบจากการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส

๑๐

โคโรนา 2019 เราจึงจาเป็นต้องตระหนักและให้ความสาคัญกับการดาเนินโครงการฯ โดยต้องคานึงถึง
เป้าประสงค์ของรัฐบาลท่ีมุ่งเน้นนาเม็ดเงินไปกระตุ้นเศรษฐกิจของชุมชนบนฐานคิดที่ว่า “ประเทศชาติจะอยู่
รอดได้แต่ละครัวเรือนต้องรอดก่อน” จึงเป็นท่ีมาของคาว่า “ต้นแบบ” และ “ครูประจำตำบล”
การดาเนินงานดังกล่าว รัฐบาลเป็นผู้สนับสนุน และหน่วยงานภาครัฐขับเคล่ือนในระดับพ้ืนท่ี การบูรณาการ
งานร่วมกันกับภาคีเครือข่ายต่าง ๆ เพราะหากคิดคนเดียว ทาคนเดียวหรือต่างคนต่างทา จะขาดการเรียนรู้
ร่วมกัน อาจจะทาให้ไม่ประสบความสาเร็จในการดาเนินงาน ตัวอย่างการทางานแบบ “ไซโล” ซึ่งเป็น
พฤติกรรมหรอื กรอบความคิดประเภทท่ีว่า หน่วยงานต่าง ๆ ในองค์กรเดียวกัน ไม่ยอมแลกเปลี่ยนข้อมูลหรอื
องค์ความรู้ระหว่างกัน ซ่ึงพฤติกรรมเช่นนี้ทาให้ประสิทธิภาพการดาเนินงานต่าลง งำนฉัน!!! งำนเธอ!!!
พฤติกรรมแยกส่วน ต่างหน่วยงาน ต่างสาขา ต่างทา ไม่ทางานร่วมกัน ไม่แชร์ข้อมูลกัน บางทีทาซ้ากันบ้าง
ขัดกันบ้าง ฯลฯ เป็นปัญหาที่หลาย ๆ องค์กรต้องเจอ โดยเฉพาะองค์กรใหญ่ ๆ จึงควรให้ความสาคัญกับภาคี
เครอื ขา่ ยการพัฒนาเพ่อื รว่ มกันบรู ณาการการทางานให้สามารถดาเนินงานตามโครงการฯ นี้ ให้สาเรจ็

และการดาเนนิ งานนี้ ถอื เป็นงานท่สี าคัญของกรมการพัฒนาชุมชน ถือเปน็ ช่ือเสียงของ
กรมฯ ฉะน้นั ต้องทาด้วยความตั้งใจ เต็มที่ หมน่ั ศกึ ษาหาความรู้ เอาใจใส่ หมนั่ ไปตรวจเยีย่ มประชาชนในพน้ื ที่
ซ่ึงในการท่ีจะพัฒนาใครเขาต้องพัฒนาที่ตัวเราก่อน จึงจาเป็นต้องมีหัวใจนักปราชญ์ คือ สุ จิ ปุ ลิ และมี
ความเชื่ออย่างมีสติ ไม่เน้นท่องจา และอยากให้ไปศึกษาหลักการทางานของสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรม
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ท่ีพระองค์ท่านให้ความสาคัญกับการศึกษา ตัวอย่าง เช่น
โรงเรยี นตารวจตระเวนชายแดน โรงเรยี นในโครงการพระราชดาริ ฯลฯ

ทา้ ยสุดนี้ อยากเนน้ ยา้ ถงึ “จุดแตกหกั ” ของโครงการฯ น้ี คอื หากทาไมส่ าเรจ็ ทาดว้ ยความ
ไม่ต้งั ใจ ไม่รู้จริง มอี คติ จะเกดิ ความล่มสลายของสังคมไทย อีกทง้ั ยังส่งผลตอ่ ความเชือ่ ม่นั ความน่าเชอ่ื ถือจาก
สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และรัฐบาล เป็นอย่างยิ่ง จึงขอให้ทุกท่านท่ีเข้ารับการ
ฝึกอบรมมีความตั้งใจ ทาใหเ้ ตม็ ที่ มีความเอาใจใส่ในงาน และตอ้ งเปน็ นักส่ือสารทด่ี ี เปน็ สื่อมวลชนในการช่วย
ประชาสมั พนั ธก์ ารดาเนินโครงการฯ นี้ เพือ่ สรา้ งการรบั รูแ้ ละขยายผลไปยังประชาชนตอ่ ไป

สรุปผลกำรเรยี นรู้
พบว่า ผู้เข้าอบรมส่วนใหญ่ให้ความสนใจ ต้ังใจในการเข้ารับฟังบรรยาย และสามารถเข้าใจที่มา

และความสาคัญของโครงการพัฒนาพ้ืนที่ต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่
โคก หนอง นา โมเดล หลกั สตู ร เพ่มิ ทักษะระยะส้ันการพัฒนากสกิ รรมสู่ระบบเศรษฐกิจพอเพียง รปู แบบ โคก
หนอง นา โมเดล ซึง่ จะนาไปสู่การปฏิบตั ิในพน้ื ที่ต่อไป

๑๑

2. หัวข้อวชิ ำ : กิจกรรมกลุม่ สมั พนั ธแ์ ละปรบั ฐำนกำรเรยี นรู้

วิทยำกรหลัก นายเมธาพนั ธ์ นลิ แกว้ นกั ทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ

นางสาววชิรญาณ์ แย้มเย้ือน นกั ทรัพยากรบคุ คล

1) วตั ถปุ ระสงค์

เพือ่ ให้สามารถทาความรูจ้ ักกัน สานสัมพันธ์ทดี่ ีระหวา่ งวทิ ยากรกับผ้อู บรม และผอู้ บรมกบั

ผอู้ บรม พรอ้ มท้ังสร้างบรรยากาศการเรยี นรู้ เตรยี มความพรอ้ มผูอ้ บรมกอ่ นเข้าสู่บทเรยี น

2) ประเด็นเน้อื หำ

2.1 แนะนาวทิ ยากร

2.2 สรา้ งความคุ้นเคย

2.3 กาหนดกตกิ า/ถอดวางตาแหน่ง/กาหนดอายใุ นการเรียนร/ู้ ปรบมือเชิงสญั ลกั ษณ์

(ปรบมอื ใส่รหัส)

2.4 แบ่งกลุ่มสี

2.5 มอบหมายหนา้ ท่ี

2.6 การรบั ผา้ สีและปฏญิ าณตน

2.7 ความคาดหวัง

2.8 สรุปการเรยี นรู้

3) ระยะเวลำ 1.30 ชวั่ โมง

4) วธิ กี ำร/เทคนคิ

4.1 กจิ กรรมสมั พนั ธ์ (เพลงและเกมส)์

4.2 สอ่ื Power Point บรรยาย

4.3 กระตุ้นดว้ ยคาถามและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น

4.4 สรุปการเรียนรู้

5) วัสดุ / อุปกรณ์

5.1 สอ่ื Power Point /ไมโครโฟน/อปุ กรณป์ ระกอบจงั หวดั

5.2 ผา้ พนั คอตามกลุ่มสี (แดง น้าเงนิ ชมพู เขียว เหลอื ง)

5.3 บตั รคา/ปากกาเคมี

6) ขน้ั ตอน / วิธีกำร

1. วทิ ยากรจัดรปู แบบการนงั่ ของผู้เขา้ รบั การอบรมเปน็ ตัว U
2. วิทยากรเรมิ่ ตน้ โดยการแนะนาตนเอง
3. เร่มิ กิจกรรมละลายพฤตกิ รรม โดยกิจกรรมการถอดหัวโขน พูดคุยพบปะ สรา้ งบรรยากาศ
ใหเ้ กดิ ความผ่อนคลาย สรา้ งความคุ้นเคย หลงั จากนัน้ วิทยากรให้ผู้เขา้ รบั การฝึกอบรมยกมือขวาขึ้นพรอ้ มกบั
จนิ ตนาการวา่ กาลงั ถอดหัวโขน (ยศ/ตาแหนง่ /อืน่ ๆ) แลว้ เขวย้ี งออกไปยังหม้อดนิ ทวี่ ทิ ยากรถอื อยู่หนา้ เวที
เพอ่ื ให้เกิดความรู้สกึ ว่าทุกคนมีความเทา่ เทยี มกัน เกิดความเป็นกนั เองมากขนึ้ จากนั้นวทิ ยากรจะสอบถามอายุ
ดาเนนิ การลดอายุผู้เข้ารว่ มอบรมให้มอี ายุเท่ากนั ทุกคนเพอ่ื ให้เหมาะสมกบั การทากจิ กรรมการเรยี นรโู้ ดยใช้
หลัก 3ค (คึกคัก คลอ่ งแคลว่ ครน้ื เครง)

๑๒

4.วทิ ยากรสร้างสญั ลกั ษณ์รว่ มกันด้วยการปรบมอื โดยมีคาสงั่ วา่
“ใส่รหัส... (คาส่ัง)

สาม สอง หนึ่ง จากนัน้ ให้ผู้เข้าอบรมปรบมือหลังสิ้นคาส่ังเป็นจงั หวะ สาม สาม เจ็ด ต่อด้วย
(คาสั่ง........เช่น ใส่รหัส สวัสดี ให้ ปรบมือ 123 123 1234567 ตำมด้วยคำว่ำ “สวัสดี”)
วิทยากรทาการทดสอบโดยใหผ้ เู้ ขา้ อบรมทาตามคาสงั่ การใส่รหสั

5. วทิ ยากรเขา้ สู่การสรา้ งบรรยากาศการมีสว่ นรว่ มดว้ ยเพลง
เพลง ปรบมอื 5 ครงั้

“ปรบมือ 5 คร้งั (12345) ปรบให้ดงั กวำ่ น้ี (12345)
ปรบใหม่อกี ที (12345) ปรบให้ดีกว่ำเดมิ (12345)”

และเพลง ปรบมอื ปรับ ปรบั ปรบั
ปรบมอื ดัง ปรับ ปรับ ปรบั
กระทบื เทำ้ ดัง ปงั ปัง ปัง

ลุกขึ้นยนื แลว้ น่ัง ลุกข้นึ ยืนแลว้ นั่ง
กระทบื เท้ำดัง ปงั ปงั ปัง

แลว้ ปรบมือดัง ปรบั ปรบั ปรบั
โดยวิทยากรออกคาส่งั ในรอบที่ ๑ ใหผ้ ้อู บรมทาทา่ ทางตามบทเพลง เชน่ ออกคาสง่ั
ปรบมือ ให้ผ้อู บรมทาการปรบมอื ออกคาสั่งกระทืบเทา้ ให้ผ้อู บรมกระทืบเท้า ฯลฯ พรอ้ มทาท่าประกอบไปจน
จบเน้อื เพลง ในรอบท่ี ๒ วิทยากรให้ผู้อบรมทาทา่ ทางตามบทเพลงเชน่ เดมิ แต่ในรอบนใ้ี ห้ทาทา่ ทางสลบั กบั
เนื้อเพลง เชน่ ออกคาสงั่ ปรบมือ ให้ผ้อู บรมทาการกระทืบเทา้ ออกคาสั่งกระทืบเทา้ ให้ผ้อู บรมปรบมอื ฯลฯ
พรอ้ มทาทา่ ประกอบไปจนจบเน้อื เพลง จากนน้ั วทิ ยากรช่วยกนั ดูว่าผูอ้ บรมท่านใดทาทา่ ทางผดิ พลาด ทาช้า
หรอื ทาไม่ทันเพ่อื นให้ออกมาแนะนาตัวดา้ นหนา้ เวทีเพื่อสรา้ งความรูจ้ ักกนั ในหมู่คณะ

6. วิทยากรให้ผูเ้ ขา้ รับการอบรมนับ 1-5 ทง้ั ฝ่งั ชายและหญิง เพอื่ แยกสมาชกิ ออกเปน็
5 กล่มุ ซ่งึ แตล่ ะกล่มุ จะมีสมาชิกคละกันทง้ั ชายและหญิงในปริมาณที่ใกล้เคียงกันทุกกลุ่ม จากนน้ั วทิ ยากรให้
แต่ละกลุ่มน่ังประจากลุ่มเพื่อให้สมาชิกทาความรู้จักกันในเบื้องต้น สุ่ม 1-2 กลุ่มให้พูดช่ือสมาชิกในกลุ่ม
เรียงลาดับพรอ้ มกนั ทกุ คน

7. วทิ ยากรใหเ้ จา้ หนา้ ทแ่ี จกกระดาษฟลบิ ชาร์ตพรอ้ มปากกาเคมีสองหวั เพ่อื ให้แต่ละกลุ่ม
ตั้งช่ือบา้ น สโลแกน พรอ้ มท่าประกอบ เพอื่ นาไปใช้เริ่มต้นในการทากิจกรรมฐานเรียนรู้ทกุ ครัง้ จากนน้ั ให้แต่
ละกลุ่มนาเสนอชอ่ื บ้าน สโลแกน พร้อมทา่ ประกอบ

8. วิทยากรนาเขา้ สู่กระบวนการคดั เลือกผูน้ าบา้ น โดยให้ทุกคนยกมือชูน้วิ ชี้ข้ึนดา้ นบน
วทิ ยากรใช้คาสัง่ ว่า “ให้ช้ีไปหาคนในกลมุ่ ตนเองทคี่ ิดว่าเหมาะสมจะเป็นผู้ใหญ่บา้ นของกลุม่ หลังจากนับ
1 - 2 - 3 ให้ผ้ทู โี่ ดนเพือ่ นช้มี ากทีส่ ุดได้รับเลือกเป็นผู้ใหญบ่ ้านประจากลุ่ม จากนั้นใหผ้ ใู้ หญ่บา้ นทุกกลมุ่ ยืนข้ึน
แลว้ เลอื กผู้ช่วยฯ เลขาฯ น้องเล็ก ตาแหนง่ ละ 1 คน

9. วทิ ยากรทาการอธบิ ายหนา้ ทีค่ วามรบั ผดิ ชอบ
ผูใ้ หญ่บ้าน - เตรียมความพร้อมของบ้านทุกกจิ กรรม และก่อนเรม่ิ เข้าส่วู ิชาต่าง ๆ โดยถาม

๑๓

จานวนสมาชิกจากน้องเล็ก
ผ้ชู ่วยผู้ใหญบ่ า้ น - คอยช่วยเหลอื สนับสนุนผู้ใหญ่บ้าน และทาหน้าท่แี ทนผใู้ หญบ่ ้านกรณี

ผใู้ หญบ่ ้านตดิ ภารกิจ
เลขานกุ าร - คอยจดบนั ทึกทุกกิจกรรม
น้องเล็ก - ทุกครง้ั กอ่ นเขา้ สกู่ ระบวนการต้องคอยเช็คยอดสมาชกิ เพ่อื แจ้งให้ผู้ใหญบ่ า้ นทราบ

กอ่ นเตรียมความพรอ้ ม และสังเกตสมาชกิ บ้าน กรณีเจ็บป่วย หาย โดยจะตอ้ งรู้จกั สมาชกิ และเบอรโ์ ทรศพั ท์
ทุกคน

10. วทิ ยากรใหท้ ุกกล่มุ เขา้ แถวตอนเรยี งตามกลุม่ โดยให้ผใู้ หญ่บา้ นน่ังหนา้ สุดและใหน้ ้อง
เลก็ น่ังหลงั สุด แลว้ ใหผ้ ู้ใหญบ่ ้านท่ัง 5 กลุ่ม พดู คยุ ปรกึ ษากนั เพื่อเลือกกานัน (ผู้นารุ่น) จากน้ันให้กานันเลือก
สารวัตรกานนั จานวน 1 คน

11. วิทยากรทาการอธิบายหน้าท่ีความรับผิดชอบ
กานนั - เตรยี มความพรอ้ มลูกบา้ นทง้ั หมดก่อนเขา้ สวู่ ชิ า หลังจากท่ผี ู้ใหญบ่ ้านเตรียมความ
พรอ้ มของลูกบา้ นตัวเองแลว้ และนากล่าวใสร่ หสั สวสั ดี/ขอบคุณวทิ ยากรประจาวชิ าหรอื ฐานเรียนรู้
สารวัตรกานัน - คอยช่วยเหลือสนบั สนุนกานนั และทาหนา้ ทแ่ี ทนกานัน ในกรณที ีก่ านันติด
ภารกิจ
12. เขา้ สกู่ ระบวนการรับผา้ สี โดยใหท้ กุ คนอยใู่ นความสงบ จากนัน้ วทิ ยากรใหเ้ จ้าหนา้ ที่
เชิญกลอ่ งสลาก เพ่อื ใหผ้ ใู้ หญบ่ ้านจบั สลากสีประจาบ้าน แลว้ ให้ผ้ใู หญ่บา้ นบอกลูกบ้านว่ากลุ่มตนเองได้สีอะไร
โดยไม่ส่งเสียงดัง วิทยากรนาสู่กระบวนการรับผ้าสีโดยให้ผู้แทนของแต่ละกลุ่มสี (ผู้ใหญ่บ้าน) เป็นผู้เข้ารับ
จากนั้น วิทยากรเชิญเจ้าหน้าท่ีเชิญพานผ้าสี เพื่อนาไปวางไว้หน้าพระบรมฉายาลักษณ์ของ ร.9 และ ร.10
ตอ่ จากนน้ั เข้าสู่กระบวนการรับผ้าสี เมอื่ ผ้แู ทนรับผ้าสีแลว้ ให้กลับมานงั่ ท่ี และส่งต่อผา้ สีใหล้ ูกบ้าน โดยสง่
ต่อกัน ใหล้ ูกบา้ นรบั ไว้คนละหนึง่ ผนื (ห้ามคลผ่ี ้าออก) เมื่อผเู้ ข้าอบรมไดร้ ับผ้าครบ วิทยากรให้นาผา้ วางไว้บน
ฝ่ามือขวา และวางมอื ไวบ้ นหนา้ ตักขวา แลว้ หลับตาเพื่อราลึกถึงพระราชกรณียกจิ ของท้ังสองพระองค์ จากน้นั
วิทยากรให้ลืมตา และนากล่าวคาปฏญิ าณตนตามวทิ ยากร

คำปฏิญำณตน
ขา้ พเจา้ จะตั้งในฝึกอบรมศาสตรพ์ ระราชา
เพอื่ นาไปปรบั ใชใ้ นชวี ติ ประจาวันของขา้ พเจา้
ครอบครัวของข้าพเจา้ ชมุ ชนของข้าพเจ้า
ตลอดจนประเทศชาติ อย่างสุดความสามารถ
เมือ่ กลา่ วจบ วทิ ยากรแนะนาพี่เลีย้ งกลุ่มสี และสอนวธิ ีการผกู ผ้าสี เมื่อผูกเสร็จแลว้ วิทยากร
แนะนาภารกิจการดูแลพ้ืนทข่ี องแต่ละกล่มุ สี โดยให้ดูตามตารางภารกิจ และบอกกฎกตกิ าการเข้าห้องอบรม
โดยการเข้าหอ้ งอบรมทกุ คร้ัง จะมกี ารเปดิ เพลงคืนชวี ิตใหแ้ ผ่นดิน หลังจบเพลง ผ้เู ข้ารบั การอบรมจะต้องอยู่ใน
หอ้ งอบรมครบทกุ คน และผใู้ หญ่บา้ นตอ้ งเตรยี มความพร้อมของลกู บ้าน
13. วิทยากรใหเ้ จา้ หนา้ ท่แี จกกระดาษบตั รคา ให้ผู้เขา้ อบรมเขียนความคาดหวังต่อโครงการ
อบรมในคร้ังนี้ จากน้นั เจา้ หนา้ ท่เี กบ็ รวบรวมเพอ่ื นามาสรุป

๑๔

สรปุ ผลกำรเรยี นรู้
พบว่า ผู้เข้าอบรมส่วนใหญ่มีความต่ืนตัว มีความสนใจ ให้การมีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้

เช่น สามารถปฏบิ ตั ิตามกตกิ า คาส่ัง และการขอความร่วมมือจากวิทยากรได้เป็นอยา่ งดี สามารถทาความรู้จัก
กันระหว่างผู้อบรมกับวิทยากร และผู้อบรมกับผู้อบรม ภายในบรรยากาศที่สนุกสนานเป็นกันเอง ผู้อบรม
สามารถร้จู กั การบริหารจดั การสมาชิกภายในกลุ่มสี ร้จู กั การแบ่งบทบาทหน้าที่ มีการยอมรบั และใหเ้ กยี รติ
ซึ่งกันและกันผ่านการเลือกผู้นากลุ่มและมีภาวะผู้ตามที่ดี รู้จักการเคารพกฎกติกา ระเบียบวินัยในการอยู่
เรยี นรู้ร่วมกนั ตลอดระยะเวลาท่ีเขา้ รบั การฝึกอบรม และวทิ ยากรสามารถใช้กระบวนการ Play & Learn
ท่มี ุ่งเน้นการละเลน่ ไปด้วยสอดแทรกการเรยี นรู้หรอื ความรู้ไปด้วย ทาใหผ้ ้อู บรมสามารถมคี วามรู้ความเข้าใจใน
หลกั สูตรได้ดียง่ิ ข้ึนและเปน็ การเตรยี มความพร้อมผู้อบรมเพ่อื เขา้ สู่บทเรียนของหลักสูตรตอ่ ไป

3. วิชำ เรยี นรูต้ ำรำบนผืนดนิ

วิทยำกรหลกั
นางสพุ รรษา แก้วขนุ ทด ตาแหนง่ นักทรพั ยากรบคุ คลปฏิบตั ิการ

1)วัตถุประสงค์
1. เพ่ือสารวจและศกึ ษาเรียนรูต้ าราจากผืนดินจากพ้นื ท่ีตน้ แบบ/พน้ื ทศ่ี ูนยศ์ ึกษาและพฒั นาชมุ ชน
2. เพื่อวิเคราะหแ์ ละนาเสนอสง่ิ ที่สงั เกตเหน็ และสิ่งทไ่ี ดจ้ ากการลงพ้นื ทใี่ นการเรียนรู้

2) ประเดน็ /ขอบเขตเนอ้ื หำ
๑. ศึกษา สารวจพนื้ ที่
2. บนั ทึกผลการเรียนรตู้ ามประเดน็ ต่างๆ
3. แลกเปล่ยี นเรยี นรูเ้ พมิ่ เติม

3) ระยะเวลำ 1 ช่ัวโมง

4) วธิ ีกำร/เทคนิค
1. ชี้แจงกฎกตกิ าและแบ่งกลุ่ม
2. สรปุ บทเรยี น

5) วัสดุ /อปุ กรณ์
1. โทรโข่ง
2. ฐานเรียนรู้

6) ขน้ั ตอน /วิธกี ำร
1. วทิ ยากรแนะนาตนเอง และชแี้ จงวัตถุประสงค์ รายละเอียดตา่ ง ๆ รวมถงึ แผนผังฐานเรยี นรู้
2. วิทยากรแบ่งทีมออกเป็น 2 ทีม พร้อมแนะนาวิทยากรประจาทีมเพื่อลงพ้ืนท่ีเรียนรู้ตารา

บนผืนดนิ

๑๕

3. วิทยากรมอบโจทย์การเรยี นรู้ ดังนี้
(1) ทา่ นเห็นอะไร จากการสารวจ
(2) ท่านไดเ้ รียนร้อู ะไรจากการสารวจ
(3) ให้ท่านหยิบสิ่งของจากฐานเรียนรู้ที่ได้รับมอบโจทย์มา 1 ช้ิน เพื่อนามาเสนอให้กับผู้

เขา้ อบรม
4. วิทยากรประจาทมี นาผู้เขา้ อบรมลงพืน้ ท่เี รียนร้ตู าราบนผืนดนิ ภายในพน้ื ท่ี ศพช.
5. หลงั จากเรียนรพู้ น้ื ท่ีทงั้ หมดแล้ว ใหแ้ ต่ละกล่มุ รวมตัวกันเพอ่ื สรปุ และคดั เลือกตัวแทนนาเสนอ

ตามโจทยท์ ีไ่ ดร้ ับมอบหมาย (1) (2) (3)

คำถำมท่ี 1 : ทำ่ นเห็นอะไร ? จำกกำรสำรวจ
คาตอบ : ผูอ้ บรมได้เห็นการใชแ้ นวทางการใชท้ รัพยากรใหเ้ กิดประโยชน์ การพึ่งตนเอง
และแนวทางในการเป็นศูนย์พ่ึงพิง ในสถานการณท์ ว่ี ิกฤต

คำถำมท่ี 2 : ท่ำนได้เรียนรู้อะไรจำกกำรสำรวจ?
คาตอบ : ผู้อบรมเรียนร้ถู ึงการใชท้ รัพยากรในพืน้ ทท่ี ีม่ ีอยใู่ หเ้ กดิ ประโยชน์สูงสดุ
พึ่งตนเองได้ เป็นแหลง่ อาหารท่ีสามารถรองรับวกิ ฤตหรือภยั พบิ ตั ิ

คำถำมท่ี 3 : ทำ่ นหยบิ สงิ่ ของจำกฐำนเรียนรู้ท่ไี ด้รบั มอบโจทย์มำ 1 ช้ิน เพอ่ื นำมำเสนอ
ให้กบั ผู้เข้ำอบรม? จำกกำรเข้ำร่วมกจิ กรรมน้ี

คาตอบ : ผ้อู บรมหยิบปอเทอื ง ฟาง ผกั ชีลาว หนิ ดอกดาวกระจาย
สรปุ บทเรยี นของกจิ กรรม

สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงของโลกในด้านภัยธรรมชาติที่มีความรุนแรงข้ึนทุกวนั ทาให้ได้
เรียนรถู้ ึงการพง่ึ พาตนเองในยามวกิ ฤต ผ่านการเรียนรู้ตาราบนผนื ดินดงั กลา่ ว สามารถนาไปเปน็ แบบอย่างใน
การทาแหล่งเรยี นรู้ และตระหนักในบทบาทหนา้ ที่ในการเป็นศูนย์พงึ่ พิง มีการสร้างภูมิคุ้มกัน มีการสร้างความ
ม่ันคงทางด้านอาหาร สร้างความรู้ความเข้าใจและสร้างการรับรู้ที่ดีให้กับประชาชน เพ่ือให้สามารถปฏิบัติตน
ในการรองรับภัยพิบัติ พร้อมต้ังรับ ตั้งสติ มีการวางแผนที่ดีเพ่ือแก้ไขปัญหาในสถานการณ์ท่ีไม่คาดคิด ซ่ึง
อาจจะเกิดขน้ึ ไดใ้ นอนาคต

สรปุ เน้ือหำกำรเรยี นรู้
พบวา่ ผู้เข้าอบรมสว่ นใหญม่ คี วามสนใจ ตงั้ ใจ และมีส่วนรว่ มในการเรยี นรแู้ ละการรับฟงั การ

บรรยายในแตล่ ะจุดด้วยความตั้งใจ การตอบคาถาม การแสดงความคิดเหน็ อยา่ งสร้างสรรค์ และมคี วามรคู้ วาม
เขา้ ใจท่ีถกู ต้องเกย่ี วกบั การพง่ึ ตนเองและรองรบั ภยั พิบัติ อกี ทัง้ เกดิ แรงบนั ดาลใจให้สามารถนาแนวคดิ โคก
หนอง นา โมเดล ซงึ่ เปน็ หน่งึ ในทฤษฎใี หม่ เปน็ การน้อมนาศาสตรพ์ ระราชาและปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ของในหลวงรัชกาลท่ี 9 ไปประยุกต์ใชใ้ นวิถชี วี ติ สู่ความยัง่ ยืนตอ่ ไป

๑๖

4. วชิ ำโครงกำรพัฒนำพน้ื ท่ีต้นแบบกำรพฒั นำคุณภำพชีวิตตำมหลักทฤษฎใี หม่ ประยกุ ตส์ ู่ โคก หนอง นำ
โมเดล

วิทยำกรหลกั
1. ผศ.พเิ ชฐ โสวทิ ยสกลุ อาจารยค์ ณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจ้าคุณ

ทหารลาดกระบัง (สจล.) ทปี่ รึกษาอธบิ ดีกรมการพฒั นาชมุ ชน
2. รศ.วรวรรณ โรจนไพบูลย์ อาจารยค์ ณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้า

คณุ ทหารลาดกระบัง (สจล.) ทีป่ รึกษาอธบิ ดีกรมการพฒั นาชมุ ชน

1)วตั ถปุ ระสงค์
1. เพื่อใหผ้ ้เู ข้าอบรมเข้าใจเกย่ี วกบั โครงการพฒั นาพนื้ ท่ตี ้นแบบการพัฒนาคุณภาพชวี ติ ตามหลัก

ทฤษฎีใหม่ ประยุกตส์ ู่ โคก หนอง นา โมเดล ตลอดจนการดาเนนิ งานในกจิ กรรมตา่ ง ๆ ของโครงการ

2) ประเด็น/ขอบเขตเนอื้ หำ

๑. กรอบแนวคิดหลกั ในการปฏิบตั งิ านของกรมการพฒั นาชุมชนในการดาเนินงานโครงการ
2. การดาเนนิ งานของโครงการฯ

3) ระยะเวลำ 3 ช่ัวโมง

4) วธิ ีกำร/เทคนิค

๑. วิทยากรบรรยายประกอบส่ือ Power point และสื่อวดิ ิทัศน์
2. บรรยาย

5) วัสดุ /อปุ กรณ์
1. สอื่ นาเสนอดว้ ยโปรแกรม power point

6) ข้ันตอน /วิธกี ำร
๑. วิทยากรเกร่นิ นาถึงความเปน็ มาของโครงการพัฒนาพืน้ ท่ีต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลัก

ทฤษฎใี หม่ ประยุกต์สู่ โคก หนอง นา โมเดล
2. วทิ ยากรบรรยายเกย่ี วกับการดาเนนิ งานของโครงการพฒั นาพ้นื ทีต่ น้ แบบการพฒั นาคุณภาพชีวิต

ตามหลกั ทฤษฎีใหม่ ประยกุ ตส์ ู่ โคก หนอง นา โมเดล

สรุปเนื้อหำกำรเรียนรู้
วิทยากรผ้เู ชย่ี วชาญ เกรนิ่ นาเกี่ยวกับอานาจหน้าทีข่ องกระทรวงมหาดไทย และกรมการพฒั นาชุมชน

สรุปได้ ดงั น้ี
กระทรวงมหาดไทย มอี านาจหน้าที่เกีย่ วกบั การบาบัดทกุ ข์บารงุ สุข การรักษาความสงบเรียบร้อยของ

ประชาชน การอานาวยความเป็นธรรมของสงั คม การสง่ เสริมและพฒั นาการเมืองการปกครอง การพัฒนาการ
บริหารราชการส่วนภูมิภาค การปกครองท้องที่ การส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นนและพัฒนาชุมชน
การทะเบียนราษฎร์ ความม่ันคงภายใน กิจการสาธารณภัย การพัฒนาเมือง และราชการอื่นตามท่ีมีกฎหมาย
กาหนดใหเ้ ป็นอานาจหน้าท่ขี องกระทรวงมหาดไทยหรือสว่ นราชการท่ีสังกดั กระทรวงมหาดไทย

๑๗

กรมการพัฒนาชุมชน มีอาหนาจหน้าที่ ในการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมของ
ประชาชน สง่ เสริมและพัฒนาเศรษบกิจชุมชนฐานรากให้มีความม่ันคงและมเี สถยี รภาพ ศึกษา วิเคราะห์ วจิ ยั
จดั ทายทุ ธศาสตรช์ ุมชน ฝกึ อบรมและพัฒนาบคุ ลากรที่เก่ียวข้องในการพฒั นาชมุ ชนเพอื่ ให้ชุมชนเข้มแขง็ อย่าง
ย่งั ยนื

โดยนายสุทธิพงษ์ จุลเจริญ อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน ได้เข้าหลักสูตรจิตอาสา 904 “หลักสูตร
พน้ื ฐาน” รุน่ ท่ี 1/2562อบรมหว้ งเวลา วนั ท่ี 25 พฤษภาคม - 8 มถิ ุนายน 2562 สิ่งท่ีไดจ้ ากการเข้ารับการ
อบรมจิตอาสา 904 ได้เห็นว่า “คน” คือหัวใจสาคัญของการพัฒนาต้องพัฒนา “คน” ทุกช่วงวัย ดังนั้น
กรมการพัฒนาชุมชนจึงได้ทา MOU บันทึกข้อตกลงความร่วมมือ “การขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงสู่เป้า
หมายความยั่งยืนโลก” ร่วมกับ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้า
เจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง (สจล.) มูลนิธิรักษ์ดิน รักษ์น้า มูลนิธิกสิกรรมธรรมชาติ บ.เอามื้อสามัคคีวิสาหกิจ
เพอ่ื สงั คม จากดั โดยใชก้ ลไกขับเคลอ่ื นงานสืบสานศาตรพ์ ระราชาเพอ่ื การปฏริ ูปประเทศตาม (กลไก ๓๕๗)
กรอบแนวคดิ หลักในกำรปฏบิ ัตงิ ำนของกรมกำรพฒั นำชมุ ชนในกำรดำเนินงำนโครงกำร ดงั ภำพ

กรอบแนวคิดหลักในการปฏิบัติงานของกรมการพัฒนาชุมชนในการดาเนินงานโครงการพัฒนาพ้ืนท่ีต้นแบบ
การพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ตามหลักทฤษฎใี หม่ ประยกุ ต์สู่ โคก หนอง นา โมเดล ไดแ้ ก่

1. ฝึกพฒั นาคน (ผ่านการฝึกอบรมในศูนย์เรีนรู้
2. ปรบั พนื้ ท่ี โคก หนอง นาโมเดล
3. เกบ็ ขอ้ มลู องคค์ วามรู้จากการพฒั นาพืน้ ที่
4. สร้างเครอื ขา่ ยรวมกลมุ่ ในชุมชน
5. สอื่ สาร ขยายผลการเรียนรู้ องคค์ วามรู้

๑๘

กำรดำเนนิ งำน
โครงการท่ี 1 โครงการพัฒนาหมู่บ้านและชุมชนท้องถิ่นตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ปีงบประมาณ 2564 เพ่อื ส่งเสริมการปรับทศั นคติ และเพม่ิ ทกั ษะการดาเนินชีวิตและการสร้างภมู คิ ้มุ กัน ของ
ประชาชน ไดร้ ับการอนุมตั งิ บประมาณ ปี 2564 ให้ดาเนนิ งานใน 11,414 ครวั เรอื น โดยแบง่ เปน็ 3 ระดับ
ได้แก่ ระดับครัวเรือน การสร้างความม่ันคงทางอาหาร สร้างสิ่งแวดล้อมให้ยั่งยืน สร้างภูมิคุ้มกันทางสังคม
ระดับกลุ่มอาชีพส่งเสริมและพัฒนากลุ่มอาชีพ ส่งเสริมอาชีพการเกษตร โคก หนอง นา โมเดล ระดับชุมชน
ชุมชนมีกิจกรรมสรา้ งหลักประกนั สวัสดิการ ความสัมพันธ์ในชุมชน สร้างคุณภาพชีวิตประชาชนหลากหลาย
และยัง่ ยืน

โครงการที่ 2 โครงการขับเคล่ือนการพฒั นาหมู่บ้านและชุมชนท้องถ่ินตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงปีงบประมาณ 2563 แผนการดาเนินงาน ศูนย์การเรียนรู้นอ้ มนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสูว่ ิถี
ชีวิต (เดือนมกราคม – มีนาคม ๒๕๖๓) ภายใต้ความร่วมมือ 7 ภาคี 1) เพื่อสร้างเครือข่าย
ขยายผล ๑,๑๐๐ คน ฝึกอบรมผู้นากสิกรรม หลักสูตรการพัฒนากสิกรรมสู่ระบบเศรษฐกิจพอเพียง
๕ วนั ( ม.ค. – ก.พ. ๖๓ ) ดาเนินการ ศพช.๑๑ แหง่ / สจล. ศูนยเ์ ครือข่ายกสิกรรมธรรมชาติ 2) สรา้ ง/พัฒนา
ทีมออกแบบ ๕๕๐ คน ฝึกอบรมผู้นากสิกรรมที่มีความพร้อม หลักสูตรการออกแบบเชิงภูมิสังคมฯ
๕ วัน ( ก.พ – พ.ค. ๖๓ ) ดาเนินการ ณ ศพช.๑๑ แห่ง และ 3) เพ่ือพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ฯ พัฒนาศูนย์
การเรียนรู้ฯ โคก หนอง นา โมเดล, ฐานเรียนรู้ ตามภูมิสังคม มี.ค. ๖๓ เป็นต้นไป ดาเนินการ ณ ศพช.
11 แหง่

โครงการที่ 3 โครงการปลูกผกั สวนครวั เพ่ือสร้างความมน่ั คงด้านอาหารระยะท่ี 1 และระยะท่ี 2
โครงการท่ี 4 โครงการพัฒนาพ้ืนที่ต้นแบบตัวอย่างความสาเร็จ เพ่ือเป็นศูนย์ศึกษาและพัฒนาตาม
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จานวน 33 พื้นท่ี (ในสังกัดของกรมการพัฒนาชุมชน 18 แห่ง + ในสังกัด
เครือข่ายกสิกรรมธรรมชาติ11 แห่ง + ในสังกัดสถาบันบริหารจัดการธนาคารท่ีดิน (องค์การมหาชน 2 แห่ง)
+ ท่สี าธารณะประโยชน์ วัดโกรกแกว้ วงพระจนั ทร์ และวัดทพิ ยส์ คุ นธาราม 2 แหง่
โครงการที่ 5 ได้แก่ 1.การสนับสนุนครัวเรือนต้นแบบผ่านการออกแบบพ้ืนท่ี จานวน 300 แปลงที่
ไมไ่ ด้อบรม 2.การจดั ทาหนังสอื คูม่ ือการดาเนินงาน สือ่ การสอนสารสนเทศ 3.การจัดทาระบบสารสนเทศเพ่ือ
การสารวจ รวบรวม และจัดทาฐานข้อมูลดาเนินงานโดย ภาคีเครือข่ายภายใต้ MOU ข้ันตอนการดาเนนิ งาน
ดงั น้ี

๑๙

โครงการที่ 6 โครงการภายใต้กรอบนโยบายการฟื้นฟเู ศรษฐกิจและสังคมของประเทศซึ่งไดร้ ับผลกระทบจาก
การแพรร่ ะบาดของไวรัสโคโรน่า 2019 (โควิด-19) วงเงินงบประมาณ 4,787.9164 ล้านบาท

๒๐

กลุ่มเป้าหมายของโครงการภายใต้กรอบนโยบายการฟน้ื ฟูเศรษฐกิจและสังคมของประเทศซ่ึงได้รับผลกระทบ
จากการแพรร่ ะบาดของไวรัสโคโรนา่ 2019 (โควิด-19) ประกอบด้วย

1. ครวั เรือนประชาชน
2. กลุ่มผใู้ ชแ้ รงงานภาคการผลติ ภาคการคา้ สง่ - ค้าปลกี ภาคการท่องเท่ียว-โรงแรม นกั ศึกษาจบ
ใหม่ นกั ศึกษาในระบบการศึกษา และผูป้ ระกอบการภาคอ่ืน ๆ ที่ได้รบั ผลกระทบจากสถานการณใ์ นชว่ งวิกฤต
การแพร่ระบาดของไวรสั โคโรนา 2019 (COVID 19)
3. ภาคประชาชน/ภาคเอกชน ท่ีสนใจที่เข้าร่วมสร้างพ้ืนที่เรียนรู้ชุมชนต้นแบบการพัฒนาคุณภาพ
ชวี ติ (พรพช.) และพ้นื ที่ครวั เรอื นต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวติ (พคพช.)
4. ภาควิชาการ โดยสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง เป็นผู้ประสานงาน
สถาบันการศึกษาต่างๆท่ีสนใจเข้าร่วมจัดทาหลักสูตรการศึกษาตามศาสตร์พระราชาท่ีเหมาะสมกับภูมิสังคม
สร้างงานวิจัยท้องถ่ิน สร้างนวัตกรรมท่ีเหมาะสมกับภูมิสังคม สร้างระบบจัดการฐานข้อมูล เพ่ือติดตาม
ประเมินผล และหนุนเสริม สร้างรูปแบบการจัดการความรู้กระบวนการพัฒนาของพื้นท่ีเรียนร้ชู ุมชนต้นแบบ
การพฒั นาคณุ ภาพชีวิต (พรพช.) และพ้ืนทค่ี รัวเรือนต้นแบบการพัฒนาคณุ ภาพชีวติ (พคพช.)
5. ภาครัฐ โดยกรมการพฒั นาชุมชน กระทรวงมหาดไทย และจากกระทรวง ทบวง กรม ต่าง ๆ ท่ีได้
บูรณาการการทางานรว่ มกนั
6. ภาคประชาสังคมและภาคสื่อมวลชน ที่ร่วมให้การสนับสนุนท้ังด้านการปฏิบัติงาน การสื่อสาร
สังคมและด้านอื่นๆ
พน้ื ทีด่ ำเนนิ กำร ได้แก่
1. ระดบั ตาบล จานวน 7,255 ตาบล ระดับชมุ ชน จานวน 75,032 ชุมชน ระดับครัวเรือน ชุมชน
ละ 20 ครวั เรอื น จานวน 1,500,640 ครวั เรือน
2. ระดับตาบล จานวน 7,255 ตาบล ตาบลละ 2 พ้ืนที่ 40 ครัวเรือน ระดับครัวเรือน จานวน
290,200 ครวั เรอื น
3. ระดับตาบล จานวน 7,255 ตาบล ตาบลละ 1 พ้ืนที่ 20 ครัวเรือน ระดับครัวเรือน จานวน 145,100
ครัวเรอื น
4. AREA BASE ในพื้นท่วี กิ ฤตดา้ นตา่ ง ๆ

วัตถปุ ระสงคโ์ ครงกำร /ผลผลิต/ผลลัพธ์

วตั ถปุ ระสงค์ 1 เพอ่ื ลงทนุ และสง่ เสริมกิจกรรมการพัฒนาที่สามารถพลกิ ฟื้นกจิ กรรมทางเศรษฐกิจฯ
Community Lab Model for quality of life (CLM) Land Lab Model for quality of life (LLM) พื้นท่ี
ได้รับการพัฒนา เพิ่มพ้ืนท่ีกักเก็บน้าฝน สามารถกักเก็บน้าฝนได้ ได้พื้นท่ีเกษตรอินทรีย์ปลอดสารพิษ สร้าง
ความม่ันคงทางอาหาร ผลิตข้าวได้ สร้างความมั่นคงทางอาหาร เลี้ยงคนได้ เพ่ิมพื้นที่ป่า จานวนต้นไม้ท่ี
เพ่มิ ข้นึ ฟ้นื ฟูทรพั ยากรดิน ลดการชะลา้ งหน้าดินลงได้

โครงการพัฒนาพ้ืนท่ีต้นแบบการพัฒนาคุรภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา
โมเดล ” พ้นื ทีด่ าเนนิ งาน จานวน 3,246 ตาบล จานวน 24,842 ครัวเรือน ภาพรวมโครงการจาแนกข้อมูล

๒๑

พ้ืนทดี่ าเนินโครงการ (ระยะท่ี 1) พืน้ ทีด่ าเนินการ “โคก หนอง นา” ทั้งหมด 59,616 ไร่ 73 จังหวดั 575
อาเภอ 3,246 ตาบล 25,179 ครัวเรือน HLM 24,842 ครวั เรอื น CLM 337 ครวั เรอื น

วธิ กี ารดาเนินงานและขัน้ ตอนดาเนินกิจกรรมโครงการฯ
1. ฝกึ อบรมเพมิ่ ทกั ษะระยะสน้ั การพัฒนากสิกรรมสู่ระบบเศรษฐกจิ พอเพียง รปู แบบ โคก หนอง นาโมเดล
2. สร้างพ้ืนที่เรียนรู้ชุมชนต้นแบบการพัฒนาคุรภาพชีวิตระดับตาบล และพัฒนาพ้ืนท่ีต้นแบบการพัฒนา
คณุ ภาพชวี ติ ระดบั ครัวเรอื น
3. สร้างงานสร้างรายได้รายเดือนให้แก่ เกษตรกร แรงงานและบัณฑิตจบใหม่ กลุ่มแรงงานท่ีอพยพกลับ
ท้องถิ่นและชมุ ชน
4. กระตุ้นการบรโิ ภคภาคครัวเรอื นและเอกชน ผ่านกิจกรรมการพัฒนาและสนับสนนุ พ้ืนท่ีครัวเรือนต้นแบบ
การพฒั นาคุณภาพชวี ติ ระดับครัวเรอื น
5. บรู ณาการร่วมพฒั นาพืน้ ทร่ี ะดบั ตาบลต่อยอดทางธรุ กจิ รว่ มกบั ภาคเอกชนในพน้ื ที่
6. พฒั นาการสรา้ งมาตรฐานผลผลิต การแปรรูปและการตลาดตามมาตรฐานอนิ ทรียว์ ถิ ีไทย
7. พัฒนาระบบ Digital รองรับ Local economy ดว้ ยการสรา้ งระบบดปรแกรมและระบบฐานข้อมลู

การดาเนินงานทุกโครงการฯ ยึดหลัก “พัฒนา คือ สร้างสรรค์” ย่ังยืนด้วยการสร้าง “เครือข่าย”
ในระบบสังคมอนุรกั ษ์ และพฒั นาตามหลกั บวร บรม ครบ
สรุปผลกำรเรียนรู้

พบว่า ผู้เข้าอบรมส่วนใหญ่มีความสนใจในการบรรยายจากวิทยากร เก่ียวกับโครงการพัฒนาพ้ืนที่
ต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นาโมเดล ” โดยเฉพาะวิธีการ
ดาเนินงานและข้นั ตอนการดาเนินงานของโครงการฯ ทั้ง 7 กจิ กรรม

5. วิชำ กำรแปลงปรชั ญำเศรษฐกิจพอเพียง สู่กำรปฏิบตั ิแบบเปน็ ขั้นเปน็ ตอน

วทิ ยำกรหลกั
1. ผศ.พเิ ชฐ โสวิทยสกุล อาจารยค์ ณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คุณ

ทหารลาดกระบงั (สจล.) ทป่ี รึกษาอธบิ ดีกรมการพฒั นาชมุ ชน
2. รศ.วรวรรณ โรจนไพบลู ย์ อาจารย์คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้า

คณุ ทหารลาดกระบัง (สจล.) ที่ปรึกษาอธบิ ดีกรมการพฒั นาชมุ ชน 1. เพอื่ สรา้ งความรูค้ วามเข้าใจใน
เกี่ยวกับทฤษฎีบนั ได 9 ข้ัน การบริหารเป็นขน้ั เปน็ ตอนนาเศรษฐกจิ พอเพยี งมาปรับใช้ในชีวติ ประจาวัน และ
สามารถนาไปปฏบิ ัติจนเปน็ วถิ ชี วี ิต
1)วัตถปุ ระสงค์

1. เพ่ือให้ผู้เข้าอบรมเข้าใจการแปลงปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งที่เปน็ นามธรรมลงส่รู ปู ธรรมการปฏิบัติ
แบบเป็นข้ันเป็นตอน

2) ประเด็น/ขอบเขตเนอ้ื หำ
๑. ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งกบั การสรา้ งความยั่งยืน
2. ตวั อยา่ งการนาปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งไปปรับใช้

๒๒

3) ระยะเวลำ 2 ชั่วโมง

4) วธิ ีกำร/เทคนิค

๑. วิทยากรบรรยายประกอบสื่อ Power point และสอ่ื วดิ ทิ ัศน์
2. บรรยาย
5) วัสดุ /อุปกรณ์
1. ส่ือนาเสนอด้วยโปรแกรม power point

6) ขน้ั ตอน /วิธกี ำร
๑. วิทยากรเกร่นิ นาการแปลงปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงที่เป็นนามธรรมลงสู่รูปธรรมการปฏิบัติแบบ

เปน็ ขน้ั เป็นตอน

2. วทิ ยากรยกตัวอย่างพ้ืนทีท่ ่ีนาหลักเศรษฐกจิ ไปพอเพียงไปลงมอื ทา

สรปุ เนอื้ หำกำรเรยี นรู้
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คือ ปรัชญาใหม่ในการพัฒนามนุษย์ ให้เปลี่ยน mindset ใหม่ จากมุ่ง

แขง่ ขันเปน็ มุ่งสร้างสรรค์ แบ่งปนั หัวใจสาคญั คอื พระราชดารัส “ Our Loss is Our Gain” ยง่ิ ให้ไป ยิ่งได้มา
ดงั นัน้ การพฒั นาต้องเปน็ ไปเพื่อสรา้ งขบวนการ “จิตอาสา” พร้อมนาศาสตร์พระราชาเข้าแก้ไขปัญหาประเทศ
ทงั้ ในและนอกระบบราชการ
กำรขับเคล่ือน “ปรชั ญำใหม่” ทีย่ ่ังยนื
1. ต้องก้าวไปดกั หนา้ Technology 5.0
2. ตอ้ งเอื้อต่อการบูรณาการและการสรา้ งสิง่ ใหมใ่ นระดับโครงสร้าง
3. ตอ้ งมีภารกจิ บม่ เพาะใหเ้ ขา้ ใจศาสตรพ์ ระราชาอย่างลกึ ซ้งึ เข้าถึงปญั หาชาติ และพรอ้ มพัฒนา
4. ตอ้ งมีการนาศาสตรพ์ ระราชาแก้ปัญหาประเทศ และเผยแพรผ่ ลสาเร็จนน้ั ออกไป
5. ตอ้ งมยี ุทธศาสตร์สือ่ สารท้งั “เปา้ หมาย” ไม่ยึดวธิ ีการ ไม่วัดแค่ KPI แตย่ ดึ แกน่ ของศาสตรพ์ ระราชา
6. ต้องเป็นกลไกหนนุ ใหเ้ กดิ การ ปฏริ ูปภาคปฏบิ ัติ เพื่อประโยชนส์ ุขแหง่ “มหาชนชาวสยาม”
กำรแปลงปรัชญำเศรษฐกิจพอเพียงทีเ่ ปน็ นำมธรรมลงสู่รปู ธรรมกำรปฏิบัติแบบเปน็ ขนั้ เปน็ ตอน

๒๓

ความสัมพันธ์ของเศรษฐกิจ 3 แบบ 1) ระบบสังคมนิยม เน้นการกระจายรายได้ มุ่งเท่าเทียม ลดเหลื่อมล้า
“INCOME DISTRIBUTION” 2) ระบบทุนนิยม ต้องได้กาไรสูงสุด มุ่งตลาดนาปรับประสิทธิภาพ และ
3) พอเพียง “ขาดทุนของเรา คือกาไรของเรา ย่ิงให้ไป... ย่ิงได้มา ” มุ่งสร้างให้พอ เน้นการแบ่งปัน
พอเพียงไมป่ ฏิเสธทนุ นยิ มและสังคมนิยม แตใ่ ห้ทาพนื้ ฐานให้มนั่ คงเสยี ก่อน ดงั พระราชดารสั เน่อื งในโอกาสวัน
เฉลมิ พระชนมพรรษา ณ ศาลาดสุ ิตดาลยั วนั ที่ 4 ธนั วาคม 2534 ความว่า “...เราไมเ่ ปน็ ประเทศรา่ รวย เรามี
พอสมควร พออยู่ได้ แต่ไม่เป็นประเทสที่ก้าวหน้าอย่างมาก เราไม่อยากเป็นประเทศที่ก้าวหน้าอย่างมาก
เพราะถ้าเราเป็นประเทศก้าวหน้าอย่างมากก็จะมีแต่ถอยกลับ ประเทศเหล่านั้นที่เป็นประเทศอุตสาหกรรม
ก้าวหนา้ จะมแี ต่ถอยและถอยหลงั อย่างน่ากลวั ...” ซ่ึงจะนาไปส่เู ป้าหมายการปฏริ ูปประเทศ สรา้ งคนดีมีวินัย
ภูมิใจในชาติ สรา้ งความเชยี่ วชาญตามความถนดั ของตนรบั ผดิ ชอบตอ่ ครอบครัว ชุมชนสงั คม และประเทศชาติ
เพ่ือสร้างความยั่งยืน สังคมลดความเหล่ือมล้า เสมอภาค ปรองดอง ด้านการเมือง มั่นคง ขจัดคอรัปช่ัน
โปรง่ ใส เปน็ ธรรม ดา้ นเศรษฐกิจ สรา้ งความพอเพียง เกิดการแบง่ ปนั

จากองค์ความรู้ที่เกิดจากศาสตร์พระราชา นามาซึ่งการพัฒนาคุณภาพชีวิตของปวงชนชาวไทย
เปน็ ทฤษฎีใหมท่ ีเ่ กี่ยวกบั การจัดการ ดิน น้า ปา่ คน กวา่ 40 ทฤษฎี เช่น โครงการหลวงพชื ผกั เมอื งหนวปลอด
สารพษิ ฝายตน้ นา้ ลาธารฟน้ื ฟูอนุรกั ษ์ต้นน้า หนา้ แฝกอนรุ ักษ์ดนิ และป่า การปลกู ปา่ 3 อยา่ ง ได้ประโยชน์ 4
อย่าง เพื่อรักษาระบบนิเวศ เป็นต้น สาหรับเกษตรทฤษฎีใหม่ (การจัดการน้าตามศาสตร์พระราชาและภูมิ
ปัญญาท้องถ่นิ ) คือ แนวพระราชดาริ การแบ่งสัดส่วนพนื้ ทท่ี ากนิ เพ่อื การพ่ึงพาตนเอง โดยกาหนดอตั ราการใช้
พนื้ ที่เปน็ 30 : 30 : 30 : 10 ไดแ้ ก่ สระนา้ ทานา ปลกู พชื และทอ่ี ยู่ ตามลาดบั จากน้ันพัฒนาตามข้ันตอน
3S คือ 1) อย่รู อด Survival เกษตรทฤษฎใี หมแ่ บง่ สัดสว่ นพื้นทที่ ากิน สร้างผลผลติ ให้สามารถพึง่ ตนเองได้

2) พอเพยี ง Sufficiency การรวมพลงั ในชุมชนในลกั ษณะสหกรณช์ ว่ ยเหลือกนั ด้านตา่ ง ๆ
3) ย่ังยืน Sustainability ร่วมกันผลักดันใหเ้ กิดการลงทุนจากแหล่งเงนิ ทาให้เกษตรกรแข็งแรงไมถ่ ูก
กดราคา
จากสถานการณ์วกิ ฤตทางส่ิงแวดล้อม เช่น ปัญหาภัยแล้ง คงเป็นปัญหาที่ประเทศไทยกาลังเผชิญอยู่
ในช่วงหน้าแล้งของทุกปี ทาใหค้ นไทยจะตอ้ งปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งท่ีเป็นนามธรรมลงสู่รูปธรรมการปฏิบัติ
ในโครงการพฒั นาพนื้ ท่ีต้นแบบการพฒั นาชีวิตประยกุ ตส์ ู่ โคก หนอง นาโมเดล

๒๔

6. วิชำ : ปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง “ทฤษฎบี ันได 9 ข้ันสคู่ วำมพอเพียง”
วทิ ยำกรหลกั

นายปญั ญา ปลุ เิ วคินทร์ ตาแหน่ง หัวหนา้ ศนู ยภ์ ูมิรกั ษธ์ รรมชาติ จงั หวัดนครนายก

1) วตั ถปุ ระสงค์
1. เพอื่ สรา้ งความร้คู วามเขา้ ใจในเกีย่ วกับทฤษฎบี นั ได 9 ขั้น การบรหิ ารเปน็ ข้นั เปน็ ตอนนาเศรษฐกิจ

พอเพยี งมาปรับใชใ้ นชวี ิตประจาวัน และสามารถนาไปปฏบิ ัตจิ นเปน็ วถิ ีชีวิต

2) ประเดน็ เน้ือหำ
1. หลกั คิดของ “ทฤษฎีบนั ได 9 ข้นั สู่ความพอเพียง”
2. ความหมายของระบอบเศรษฐกิจ แบบทนุ นิยม สงั คมนิยมหรอื คอมมวิ นสิ ต์ และเศรษฐกจิ พอเพยี ง

3) ระยะเวลำ

2 ชว่ั โมง

4) เทคนคิ / วิธกี ำร

1. ส่อื Power Point บรรยาย
2. แลกเปลยี่ นความคิดเหน็

5) วสั ดุ / อปุ กรณ์
1. สอื่ Power Point
2. กระดาษ / สมดุ / ปากกา
3. คอมพิวเตอร์ / เครื่องฉายโปรเจคเตอร์

6) ขัน้ ตอน / วิธีกำร
วิทยากรกล่าวแนะนาตัวและมอบโจทย์ เพื่อประเมินความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับ ระบอบของ

เศรษฐกจิ แบบทนุ นยิ ม สงั คมนิยมหรือคอมมวิ นสิ ต์ และเศรษฐกิจพอเพยี ง โดยให้เขียนตามความเข้าใจแบบส้ัน
และใหผ้ ้เู ข้าอบรมนาเสนอแลกเปลีย่ นเรยี นรู้

โจทย์
1.1 จงเขียนคาจัดกัดความของ “ระบอบทุนนิยม”
1.2 จงเขียนคาจากัดความของ “ระบอบสังคมนิยมหรอื คอมมิวนิสต์”
1.3 จงเขยี นคาจากัดความของ “เศรษฐกิจพอเพยี ง”

จากโจทย์ทว่ี ิทยากรมอบให้กับผเู้ ข้าอบรมสามารถสรปุ ได้ ดังน้ี
1. ระบอบทุนนิยม คือ เป็นระบบที่มีการขับเคล่ือนเศรษฐกิจภายใต้การแข่งขันกันอย่างเสรี เป็น

ลกั ษณะของทนุ ใหญ่กนิ ทนุ เลก็ ทนุ เล็กลม้ หายตายจากไปในอนาคต
2. ระบอบสังคมนิยมหรือคอมมิวนิสต์” คือ ระบบเศรษฐกิจท่ีว่าด้วยความเสมอภาค ทุนเป็นของ

ทุกคนและผลกาไรต้องเฉล่ียให้กับทุกคน ซ่ึงจะเป็นการบริหารจัดการโดยภาครัฐ ท้ังนี้ รัฐจะเป็นผู้จัดสรร
ผลประโยชนใ์ ห้กับองค์กรและประชาชน

3. เศรษฐกิจพอเพียง คือ เปน็ หลกั สมดลุ ของชีวิต ทุกอย่างไม่มากไปไม่น้อยไป

๒๕

วทิ ยากรบรรยายประกอบสอื่ Power Point สามารถสรปุ ใจความสาคัญได้ ดังนี้
เม่ือประมาณ 300 กว่าปีที่ผ่านมา Adam Smith ชาวอังกฤษ เป็นที่รู้จักในฐานะนักเศรษฐศาสตร์

ได้ให้ให้แนวคิดของ “ทุนนิยม” ว่ามนุษย์สามารถแข่งขนั กันได้โดยเสรีโดยมีเป้าหมายเป็นเงินและวัตุเปน็ หลัก
ทาให้มนุษย์เข้าสู่การทาลายธรรมชาติ ประกอบด้วย ทาลายป่า ดิน น้า และอากาศ และเพื่อให้ได้ประโยชน์
สงู สดุ มนุษยเ์ ริ่มมีการเอาเปรียบกนั และกนั มากขน้ึ และเมอ่ื มนษุ ยย์ ดึ เงนิ และวัตถุเป็นท่ีตัง้ ทาให้เกดิ การฉ้อโกง
ขาดความกตัญญรู คู้ ุณ

แนวคิดระบอบทุนนิยมน้ันเกิดขึ้นในประเทศไทย ในปี พ.ศ. 2504 คือ ประเทศไทยมีแผนพัฒนา
เศรษฐกิจแห่งชาติฉบับที่ 1 นายกรัฐมนตรีในสมัยนั้น คือ จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ได้กาหนดคาขวัญว่า
“งานคือเงิน เงินคืองานบันดาลสุข”การมีเงินมากจะทาให้ชีวิตมีความสุข การมีเงินน้อยนั้นชีวิตไม่มีความสุข
ซึง่ ส่ิงที่สะทอ้ นแผนพฒั นาเศรษฐกิจฉบับที่ 1 ได้เปน็ อยา่ งดี คือ เพลงผูใ้ หญ่ลี

“พอศอสองพนั หา้ ร้อยส่ี ผใู้ หญ่ลตี ีกลองประชมุ ชาวบา้ นต่างมาชมุ นุม มาประชุมทบี่ ้านผู้ใหญ่ลี
ต่อไปนี้ผู้ใหญ่ลีจะขอกล่าว ถึงเรื่องราวท่ีได้ประชุมมา ทำงกำรเขำสั่งมำว่ำ ทำงกำรเขำส่ังมำว่ำ
ให้ชำวนำเลี้ยงเป็ดและสุกร ฝ่ำยตำสีหัวคลอน ถำมว่ำสุกรน้ันคืออะไร ผู้ใหญ่ลีลุกข้ึนตอบทันใด
สกุ รนั้นไซร้ คอื หมำน้อยธรรมดำ หมำนอ้ ย หมำนอ้ ยธรรมดำ หมำน้อย หมำนอ้ ยธรรมดำ”

เมื่อเรียงลาดับเหตุการณ์ในยุคนั้นแล้วพบว่า ในยุคน้ันแล้วพบว่า ช่วงท่ีแต่งเพลงผู้ใหญ่ลี
ประเทศไทยกาลังอยู่ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติฉบับที่ 1 ในยุคสมัยของ จอมพลสฤษด์ิ ธนะรัชต์
ซ่ึงเป็นยุคเผด็จการ โครงการพัฒนาต่าง ๆ รวมถึงการสื่อสารระหว่างนักการเมืองกับข้าราชการต่าง ๆ
จึงเป็นแบบ “ส่ังการจากบนลงล่าง” ขาดการมีส่วนร่วมของประชาชน อย่างครบทุกขั้นตอน
ตง้ั แตร่ ว่ มคดิ วางแผน และรับผลประโยชน์

เมื่อประมาณ 100 กว่าปีท่ีผ่านมา Karl Marx ชาวเยอรมัน เป็นท่ียอมรับว่า เป็นบิดาแห่งระบอบ
สังคมนิยม มองว่าทรัพย์สินเป็นของรัฐ และกิจการเป็นของรัฐ ไม่เอาความเจริญ เกิดการกระจายรายได้ ใน
หลวงรัชกาลที่ 9 จึงเรียกว่าเป็นเศรษฐกิจของพวกคนหลังเขา ทาให้ในปี พ.ศ. 2519 ในหลวงรัชกาลท่ี 9
ได้รบั ส่ังเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงข้นึ โดยในยคุ นนั้ พบว่าไทยอยู่ภายใต้อิทธิพลของชาตติ ะวนั ตก เชน่ อนุญาตให้
สหรัฐอเมริกาต้ังฐานทัพในประเทศไทย สะท้อนให้เห็นว่าชาติตะวนั ตกมีอิทธิพลเหนอื ประเทศไทย เป็นอย่าง
มาก ในปีน้ันเองท่ีในหลวงรัชกาลท่ี 9 ท่านทรงเปรียบเศรษฐกิจพอเพียงเป็นเสมือนบ้าน ควรมีเสาเข็ม
พึ่งตนเองเป็นพนื้ ฐาน เพราะฉะนน้ั เศรษฐกิจพอเพียงตามหลักกสิกรรมธรรมชาติจึงเป็นการแปลงสาระสาคญั
ของเศรษฐกจิ พอเพยี งเป็น “ทฤษฎบี ันได 9 ข้นั สู่ความพอเพยี ง” สามารถสรุปได้ ดงั น้ี

บันไดขนั้ ท่ี 1 – 4 เศรษฐกจิ พอเพียงข้ันพ้นื ฐำน

ขัน้ ที่ 1 คือ พอกิน ซึง่ เป็นข้นั พืน้ ฐานที่สดุ ของมนุษย์ คือ ความตอ้ งการปัจจยั 4 และประการท่สี าคัญ
ท่ีสุดของปจั จยั 4 คอื อาหาร โดยเหน็ วา่ แนวทางการแก้ปัญหาทีย่ ่งั ยืน คอื การตอบคถามให้ได้ว่า “ทาอย่างไร
จึงจะพอกิน” ซึ่งจะต้องให้ความสาคัญกบั อาหารเป็นหลัก เกษตรกรต้องอยใู่ ห้เป็นโดยไมใ่ ช้เงิน มีอาหารพอมี
พอกนิ ด้วยการปลกู ผัก ผลไม้ มีการเก็บข้าวไวใ้ ห้พอกินทั้งปี

ขั้นที่ 2 – 4 คือ พอใช้ พออยู่ พอร่มเย็น สามารถเกิดข้ึนได้พร้อมกัน โดยการ “ปลูกป่า 3 อย่าง
ประโยชน์4อย่างป่าอย่างจะให้ทั้งอาหารเครื่องนุ่งห่มสมุนไพรสาหรับรักษาโรคให้ไม้สาหรับทาบ้านพักที่อยู่
อาศยั และให้ความร่มเย็นกบั บ้านและชุมชนและจะเปน็ แนวทางในการแกป้ ัญหาความยากจนจาการทาเกษตร
เชงิ เดีย่ ว

๒๖

ปญั หาความเสือ่ มโทรมของทรพั ยากร ปญั หาความขาดแคลนนา ภัยแล้ง ท้งั หมดลว้ นแกไ้ ขไดจ้ ากแนวคดิ ปา่ 3
อยา่ งประโยชน์ 4 อยา่ งขององค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หู ัวฯ รชั กาลที่ 9

บนั ไดข้ันที่ 5-9 คือ เศรษฐกจิ พอเพยี งขัน้ กำ้ วหน้ำ

ข้ันท่ี 5-6 บุญและทาน จากความเชื่อม่ันว่าสังคมไทยเป็นสังคมบุญ สังคมทาน ไม่เน้นการ
แลกเปลีย่ นทางการค้า แตเ่ น้นการทาบญุ ไมเ่ น้นการสะสมเป็นของสว่ นตัว แต่เน้นการใหท้ าน

ข้ันท่ี 7 เก็บรักษา ข้ันต่อไปหลังจากสามารถพ่ึงตนเองได้ พอมี พอเหลือทาบุญ ทาทานแล้ว คือการ
รู้จักเก็บรักษา ซึ่งเป็นการต้ังอยู่ในความไม่ประมาท และการรู้จักเก็บรักษา ยังเป็นการสร้างรากฐานของการ
เอาตวั รอดในเวลาเกิดวิกฤตการณ์

ข้ันท่ี 8 ขาย เนื่องจากเศรษฐกิจพอเพียง ไม่ใช่เศรษฐกิจการค้า แต่ก็ไม่ใช่เศรษฐกิจหลังเขา การค้า
ขายสามารถทาได้ แต่ทาภายใต้การร้จู ักตนเอง รจู้ กั พอประมาณ และทาไปตามลาดบั โดยของท่ขี าย คือ ของที่
เหลอื จากทกุ ขัน้ แล้วจึงนามาขาย เชน่ ทานาอินทรีย์ ปลกู ข้าวปลอดสารเคมี ไมท่ าลายธรรมชาติ ไดผ้ ลผลิตเก็บ
ไว้พอกิน เก็บไว้ทาพนั ธ์ุ ทาบุญ ทาทาน แล้วจึงนามาขายด้วยความรูส้ ึกของการ “ให้” อยากที่จะให้สิ่งดี ๆ ที่
เราปลกู เอง เผ่ือแผ่ให้กับคนอ่ืน ๆ ได้รับสง่ิ ดี ๆ นั้น ๆ ดว้ ย

ข้นั ที่ 9 เครอื ขา่ ย คอื การสรา้ งเครอื ข่ายเช่ือมโยงทั้งประเทศ เพื่อขยายผลความ สาเร็จตามแนวทาง
เศรษฐกิจพอเพียง สู่การปฏิวัติแนวคิด และวิถีการดาเนินชีวิตของคนในสังคม ในชุมชน เพ่ือการแก้ปัญหา
วิกฤต 4 ประการ อันได้แก่ วิกฤตการณ์ส่ิงแวดล้อม ภัยธรรมชาติ วิกฤตการณ์โรคระบาดท้ังในคน สัตว์ พืช
วกิ ฤตเศรษฐกิจ ข้าวยากหมากแพงวิกฤตความขดั แย้งทางสังคม

สรปุ ผลกำรเรยี นรู้
ผู้เขา้ อบรมส่วนใหญ่ มคี วามเข้าใจเกีย่ วความเปน็ มาของ “ทฤษฎีบันได 9 ขนั้ สู่ความพอเพียง” เพิม่

มากข้ึน และเข้าใจหลักคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สามารถนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไป
ประยกุ ตก์ บั ตนเอง และองค์กร ได้ และตระหนักถึงการบริหารจดั การเปน็ ข้นั เป็นตอนตามคากล่าวทวี่ ่า “เดนิ ที
ละกา้ ว กนิ ขา้ วละคา” เน้นแนวคดิ การพ่ึงตนเองเปน็ หลัก

๒๗

7. วชิ ำ หลักกสกิ รรมธรรมชำติ

วิทยำกรหลัก นายปญั ญา ปุลเิ วคนิ ทร์ หัวหนา้ ศนู ย์กสกิ รรมธรรมชาติ จงั หวัดนครนายก
1) วัตถปุ ระสงค์

1.1 เพ่อื ใหผ้ ู้เข้ารบั การฝึกอบรมเขา้ ใจเกยี่ วกับหลักกสิกรรมธรรมชาติ
1.2 ตระหนกั การปลกู ใหเ้ กดิ คณุ คา่ บูรณาการในพืน้ ทที่ ากนิ เดมิ ใหม้ สี ภาพใกลเ้ คียงกบั ป่า
2) ประเดน็ เนอื้ หำ
2.1 ความหมายของกสิกรรม และเกษตรกรรม
2.2 แนวคิดของกสกิ รรมธรรมชาติ
2.3 ความเปน็ จริงแหง่ ปญั หาทุนนยิ ม
2.4 หวั ใจหลักกสกิ รรมธรรมชาติ กบั ปา่ 3 อยา่ ง ประโยชน์ 4 อยา่ ง
3) ระยะเวลำ
1 ช่ัวโมง
4) วธิ ีกำร/เทคนคิ
4.1. วทิ ยากรบรรยายให้ความรู้ โดยใชส้ ื่อ Power Point ประกอบการบรรยาย
4.2. แลกเปลยี่ นความคิดเหน็
5) วสั ดุ / อปุ กรณ์
1. สือ่ Power Point
2. คอมพวิ เตอร์ เครื่องฉายโปรเจคเตอร์
6) ขนั้ ตอน / วธิ ีกำร
วทิ ยากรแนะนาตวั แนะนาสอ่ื ประกอบการสอน และบรรยายให้ความร้โู ดยใช้สอ่ื Power Point
ของ นายปรีชา หงอกสิมมา เจ้าหน้าท่ีศูนย์ภูมิรักษ์ธรรมชาติ จังหวัดนครนายก โดยวิทยากรได้ให้ผู้เข้าอบรม
ตระหนักถึงความสาคัญของการทาตัวเป็นน้าไม่เต็มแก้ว สามารถเรียนรู้ส่ิงใหม่ ๆ ตามสถานการณ์โลกได้
ตลอดเวลา
จากการบรรยายสามารถสรุปใจความสาคัญได้ ดังนี้
ความหมายของคาวา่ “กสิกรรม” และ “เกษตรกรรม”
คาว่า “กสิกรรม” กับคาว่า “เกษตรกรรม” มีความหมายต่างกัน คาว่า“กสิกรรม” มาจากคา
บาลีว่า กสิกมฺม (อ่านว่า กะ-สิ-กัม-มะ) ซึ่งหมายถึง การเพาะปลูก, การไถ ในภาษาไทยคาว่า “กสิกรรม”
เขยี นคาวา่ กรรม ตามแบบสนั สกฤต คอื ก ไก่ ร หนั ม มา้ หมายถึง การทาไรไ่ ถนา ใช้ตรงกับคาภาษาอังกฤษ
วา่ farming (อ่านว่า ฟารม์ -มิง่ )
ส่วนคาว่า “เกษตรกรรม” มาจากคาสันสกฤตว่า เกฺษตฺร (อ่านว่า กะ-เสด-ตระ) ซึ่งหมายถึง นา
กับคาว่า กรฺม (อ่านว่า กัม -มะ) ซ่ึงหมายถึงการกระทา คาว่า เกษตรกรรม ใช้ตรงกับคาภาษาอังกฤษว่า
agriculture (อา่ นว่า อะ-กฺรี-คัล-เชอ่ ร์) หมายถึง การใชป้ ระโยชนจ์ ากทด่ี ิน เช่นการเพาะปลกู พชื ตา่ ง ๆ การปา่
ไม้ รวมทั้งการเล้ยี งสัตว์ และการประมงดว้ ย
กสกิ รรม คือ การเพาะปลูก เลยี้ งสัตว์ ไมร่ วมถึงการประมงหรอื ป่าไม้ โดยคาว่า กสิ คือ การไถหว่าน
จงึ หมายถงึ ผู้ทาการปลกู ข้าว พ่งึ ตนเอง พ่ึงธรรมชาติ ไม่ธรรมลายเคารพนอบนอ้ มต่อธรรมชาติ และเกิดมติ ิทาง

๒๘

ความเชือ่ และจติ วญิ ญาณเป็นท่มี าแห่งวถิ ีวัฒนธรรมไทย เพราะสมัยก่อนคนไทยจะเรยี กดนิ ว่า แม่ธรณี เรยี กนา้
วา่ แม่คงคา เรียกฝนวา่ พระพิรุณ เรียกขา้ ววา่ แม่โพสพ และตน้ ไม้นนั้ ก็เชื่อว่ามีรกุ ขะเทวดาเฝา้ อาศัยอยู่ รวมถึง
วฒั นธรรมเก่ยี วกับการเพาะปลกู ในสมัยกอ่ นทม่ี กี ารทาพธิ ีขวัญควาย เพราะควายมพี ระคณุ ตอ่ ชาวนา

เกษตร มาจากศัพท์ภาษาอังกฤษว่า Agriculture เป็นแนวคิดตะวันตกแบบทุนนิยม เน้นความ
ร่ารวยและผลประโยชน์สงู สุด นาไปสู่การทาลายน้า ดิน และทรัพยากรธรรมชาติทัง้ หมด ส่วนเกษตรสมัยใหม่
นั้น ทาแบบผูกขาดครบวงจร ดังคากล่าวท่ีว่า “เกษตรนายทุนครบวงจร เกษตรกรครบวงจน” เป็นการทา
เกษตรเชงิ เด่ียว มกี ารดดั แปลงพันธุกรรมพืชและสัตว์ ใช้เทคโนโลยแี ละเครอ่ื งจักรในการผลิต เกษตรกรหันมา
ใชส้ ารเคม/ี ปุ๋ย / ยาฆา่ แมลง และฮอร์โมนตา่ ง ๆ ในภาคการเกษตร ทาแบบครบวงจรเพือ่ สร้างระบบผูกขาด
ใช้กลไกตลาดเป็นตัวควบคุมราคา และท้ายท่ีสุดเปล่ียนการผลิตเป็นเกษตรอุตสาหกรรม เช่น บริษัท CP
ค้นคว้าการผลติ ไกแ่ บบไมม่ ขี น เนน้ การใช้เทคโนโลยีเพือ่ การผลติ และเน้นผลกาไรสูงสุด

ปัจจัยท่ีทาให้เกิดทุกข์ของแผ่นดินในระบบการศึกษา เศรษฐกิจการเมือง พิจารณาได้จากบันได
3 ขน้ั ของลัทธกิ ารล่าอาณานคิ มสมยั ใหม่ ข้นั ที่ 1 ครอบงำ คอื ระบบการศกึ ษาทแี่ ยกส่วนปลกู ฝังอุดมการณ์
ทุนนิยม โดยระบบการศึกษาท่ีล้มเหลว นาสู่ระบบราชการทาให้บูรณาการกันไม่ได้ ขั้นท่ี 2 ควบคุม คือ
ระบอบประชาธิปไตยแบบผู้แทนผูกขาดรัฐสภาที่ขาดคุณธรรมการเลือกตั้ง และการซ้ือเสียงเพ่ือได้อานาจ
บริหาร และนิติบัญญตั ิ รวมถึงการสร้างเศรษฐกิจแบบผูกขาด ข้ันที่ 3 ยึดครอง คือ ยึดครองท่ีดินเกษตรโดย
ธนาคาร หรือภาคอตุ สาหกรรม

จากการขยายตัวของประชากรและเศรษฐกิจส่งผลให้เกิดการเปล่ียนแปลงการใช้ประโยชน์ท่ีดนิ
ไปสู่พ้ืนที่เกษตรอุตสาหกรรม และท่ีอยู่อาศัยมากขึ้น ส่งผลให้คุณภาพแหล่งน้าผิวดินเส่ือมโทรมลงปี 2551
คุณภาพน้าแหลง่ นา้ ผวิ ดนิ ดังนี้

22 % อยใู่ นเกณฑด์ ี
54 % อยู่ในเกณฑ์พอใช้
24 % เสื่อมโทรม
0 % เส่อื มโทรมมาก
โดยแหล่งน้าผิวดินท่ีเส่ือมโทรมมากคือ แม่น้า เจ้าพระยาและท่าจีนตอนล่าง สะแกกรัง ลพบุรี เพชรบุรี
ตอนลา่ ง และลาตะคอง ตอนลา่ ง ซ่ึงมีความหนาแน่นของประชากร และกจิ กรรมทางเศรษฐกจิ
ทั้งน้ีผลกระทบจากการทาเกษตรกรรมแบบทุนนิยม จะส่งผลผลกระทบข้างเคียงต่อเกษตรกร/
ผบู้ รโิ ภค ไดแ้ ก่
1. ผลกระทบต่อเกษตรกร สารพษิ สะสมในตวั เกษตรกร(80%) สุขภาพออ่ นแอเสี่ยงต่อการเป็น
โรคร้ายแรง สดุ ทา้ ยหมดตัวจากการปว่ ยไข้
2. ผลกระทบตอ่ ผู้บรโิ ภค คือ บริโภคอาหารมีสารพษิ และฮอร์โมนตกคา้ งเส่ยี งตอ่ โรครา้ ยแรงอายุ
ส้ันตายกอ่ นวยั อนั ควร สารตกคา้ งทพี่ บมากที่สุด ในกะหล่าปลี กะหล่าปลสี ีม่วง กะหล่าดอก คะนา้ ถั่วฝกั ยาว
พริก ถั่วลันเตา สลัดแก้ว ผักกาดฮ่องเต้ บล็อกโคลี่ ผลไม้ท่ีมีสารตกค้างมากท่ีสุด ได้แก่ องุ่น ส้ม สตรอเบอรี่
แคนตาลปู และแตงโม ตามลาดบั ส่วนสารพิษตกคา้ งในอาหาร ผัก 4 อันดบั ท่มี ีสารตกคา้ งมากที่สดุ ได้แก่ 1)
ถ่ัวฝักยาว เกนิ ค่าความปลอดภัย 2-10 เทา่ 2) ผกั ชีเกนิ คา่ ความปลอดภยั 30-100 เท่า 3) พริกจนิ ดา เกนิ
คา่ ความปลอดภยั 121 เทา่ และ 4) คะน้า เกนิ คา่ ความปลอดภัย 202 เทา่

๒๙

3. ผลกระทบด้านภูมิปัญญาและวิถีท้องถิ่น ทาลายระบบการพ่ึงพาตนเองของเกษตรกรปุ๋ย/
เมลด็ พันธพ์ุ ชื /พันธุส์ ตั ว์ ทาลายภูมปิ ญั ญาทอ้ งถ่ิน สมุนไพรวถิ ีการเพาะปลูกพืชการเลย้ี งสตั ว์

จากผลกระทบของการทาเกษตรในระบบทุนนิยม แนวคิดหลักกสิกรรมจึงต้องมีคาถาเลี้ยงดิน
เพ่ือระลกึ ถึงการทาเกษตร

ยุทธศาสตร์ของกสิกรรมธรรมชาติ คอื “ดิน” ดินดคี อื ดนิ มชี ีวิต “เราเชอื่ ว่าดนิ มีชวี ิต” เรามาช่วยกัน
“คืนชวี ิตให้แผ่นดิน” ตามพระราชดาริของในหลวง รัชกาลที่ 9 ทวี่ ่า จะทาให้ดนิ ดี อยา่ ปอกเปลือกเปลือยดิน
ใหห้ ่มดิน บารงุ ดินด้วยแห้งชาม (ปยุ๋ หมกั ) น้าชาม (ปุ๋ยน้าหมัก) และลกั ษณะการปลูกพชื ตามหลักกสิกรรม
ธรรมชาติ ควรปลกู ดอกไม้ล่อแมลง เรยี กว่า การหลอกล่อ สมุนไพรไล่แมลง(เปลีย่ นกล่นิ พชื ) ปลูกดอกไม้หลาก
สี ดงึ ดดู ตัวห้า ตัวเบยี น กับดักแมลง ไฟลอ่ แมลง สว่ นการบริหารจดั การน้าตามศาสตรพ์ ระราชา ใชแ้ นวคดิ
“จากภูผา...สมู่ หานที” ดังภาพ

๓๐

สมุนไพร เจด็ รส ที่ใชใ้ นการเกษตรตามหลกั กสกิ รรม สรุปได้ ดังน้ี

1. น้าหมกั สมนุ ไพรรสจดื ได้แก่ ใบกลว้ ย ผกั บุ้ง รางจืด และพชื สมุนไพรทมี่ ีรสจืดทุกชนิด สรรพคุณ จะเปน็ ปุ๋ย
บารงุ ดนิ ให้ดนิ มีความรว่ นซยุ โปร่ง และทาใหด้ ินไม่แขง็ และใช้บาบัดนา้ เสยี ได้
2. น้าหมกั สมนุ ไพรรสขม ไดแ้ ก่ ใบสะเดา บอระเพ็ด ใบข้เี หลก็ และพชื สมุนไพรทมี่ ีรสขมทุกชนิด สรรพคณุ
สามารถฆา่ เช้อื แบคทเี รีย เพอ่ื สร้างภูมิคมุ้ กนั ให้กบั พชื
3. น้าหมกั สมนุ ไพรรสฝาด ไดแ้ ก่ ปลกี ลว้ ย เปลอื กมังคุด เปลือกฝรั่ง มะยมหวาน และพชื สมุนไพรทีม่ ีรสฝาด
ทกุ ชนดิ สรรพคณุ ฆ่าเช้อื ราในโรคพืชทกุ ชนิด
4 . น้าหมักสมุนไพรรสเบอ่ื เมา ไดแ้ ก่ หวั กลอย ใบเมลด็ สบูด่ า ใบน้อยหน่า และพชื สมนุ ไพรทมี่ ีรสเบอ่ื เมาทุก
ชนิด สรรพคุณ ฆ่าเพลี้ย หนอน และ แมลง ในพืชผกั ทกุ ชนิด
5.นา้ หมกั สมุนไพรรสเปรยี้ ว วัตถุดิบ ไดแ้ ก่ มะกรูด มะนาว กระเจยี๊ บ และพืชสมุนไพรทมี่ ีรสเปรี้ยวทกุ ชนดิ
สรรพคุณ ไลแ่ มลงโดยเฉพาะ
6. นา้ หมักสมุนไพรรสหอมระเหย วัตถดุ ิบ ไดแ้ ก่ ตะไครห้ อม ใบกะเพรา ใบเตย และพชื สมุนไพรมรี สหอม
ระเหยทกุ ชนดิ สรรพคณุ จะเปน็ นา้ หมักทเ่ี ปลีย่ นกลิน่ ของตน้ พชื เพอื่ ปอ้ งกันไมใ่ ห้แมลงไปกดั กินทาลาย
7. นา้ หมกั สมุนไพรรสเผ็ดร้อน วัตถุดบิ ได้แก่ พริก ขิง ขา่ และพืชสมุนไพรท่มี รี สเผด็ รอ้ นทกุ ชนดิ

สรุปผลกำรเรียนรู้
พบวา่ ผู้เขา้ อบรมสว่ นใหญ่มีความสนใจในเนอ้ื หาของการบรรยาย เนื่องจากบางเร่อื งเป็นความรู้

ใหม่ของผู้เข้าอบรม ทาให้ผู้เข้าอบรมมีส่วนร่วมในการเรียน บรรยากาศในห้องเรียนจึงเป็นเวทีของการ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทาให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้ความเข้าใจมากข้ึนเก่ียวกับปัญหาของทุนนิยมนาไปสู่แนวคิด
กสกิ รรมธรรมชาติ และเขา้ ใจ เห็นคณุ คา่ ของการทาเกษตรกรรมตามหลกั กสิกรรม ทั้งนี้ ผเู้ ขา้ อบรมสามารถนา
ความรู้จากการฟงั บรรยายของวทิ ยากรไปเผยแพรใ่ หก้ ับองค์กรของตนเอง

๓๑

8. หัวข้อวชิ ำ ฝึกปฏิบตั ิ “ฐำนกำรเรียนรู้” 9 ฐำนเรยี นรู้

วทิ ยากรหลกั นางสาวพิมพ์ณดา ไมตรีเวช นกั วิชาการพฒั นาชมุ ชนปฏบิ ัตกิ าร และวทิ ยากรประจาฐานเรียนรู้

1. วตั ถุประสงค์
๑.1) เพ่ือให้ผเู้ ข้ารับการฝกึ อบรมรู้และเข้าใจถงึ การน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาปรับ

ใชใ้ นชีวิตประจาวัน และสามารถปฏบิ ตั ิจนเป็นวถิ ีชีวิต
1.2) เพอื่ ผเู้ ข้าอบรมมที ักษะ ความรู้ในแตล่ ะฐานการเรียนร้แู ละนาไปปฏบิ ัติได้
1.3) สามารถนาความรู้และเทคนิคในฐานต่าง ๆ ไปประยุกต์ใช้เป็นอาชีพเสริมในครัวเรือน เพ่ือให้

เกิดรายไดแ้ ละพง่ึ พาตนเองได้

2. ประเด็นเน้อื หำ
2.1) ฐานเรียนรู้ “คนรักษแ์ มธ่ รณี”
เนอ้ื หาการเรยี นรู้: การห่มดิน
2.2) ฐานเรยี นรู้ “คนรักษแ์ ม่ธรณี”
เน้ือหาการเรียนรู้: การทาปุ๋ยชีวภาพ
2.3) ฐานเรยี นรู้ “คนรกั ษส์ ขุ ภาพ”
เนอ้ื หาการเรยี นรู้: การสเปรย์กนั ยุง
2.4) ฐานเรยี นรู้ “คนมีนา้ ยา”
เนอื้ หาการเรยี นรู้: การทาน้ายาอเนกประสงค์
2.5) ฐานเรยี นรู้ “เสวยี นไมไ้ ผ่”
เน้อื หาการเรยี นรู้: การทาเสวยี นจากไมไ้ ผแ่ ละการทาเสวียนยังชพี
2.6) ฐานเรียนรู้ “คนรักษ์น้า”
เนื้อหาการเรยี นรู:้ การทาฝายชะลอน้า
2.7) ฐานเรยี นรู้ “คนรกั ษ์นา้ ”
เนอื้ หาการเรียนร:ู้ การทาลูกระเบิดจุลนิ ทรยี ์
2.8) ฐานเรียนรู้ “หน่ึงงาน บา้ นพอเพียง”
เน้อื หาการเรยี นรู้: การทาอาหารไก่แบบพอเพียง
2.9) ฐานเรยี นรู้ “คนรกั ษป์ า่ ”
เนอ้ื หากรเรยี นรู้: การขยายพันธุพ์ ชื

3. ระยะเวลำ จานวน ๖ ช่วั โมง

4. วิธีกำร/เทคนิค
4.1) วิทยากรประจาฐานบรรยายเพื่อให้มีความรู้ เกี่ยวกับฐานการเรียนรู้ ฝึกปฏิบัติและตอบข้อ

ซักถาม
4.2) วทิ ยากรมอบหมายให้ผเู้ ขา้ รบั การฝกึ อบรมลงมอื ฝกึ ปฏบิ ตั ิดว้ ยตนเอง
4.3) ผเู้ ข้ารับการฝึกอบรมสรุปผลกจิ กรรมเป็นรายกลุ่ม

๓๒

5. วัสด/ุ อุปกรณ์
5.1) วสั ดุ/อปุ กรณ์ ประจาฐานเรยี นรู้
5.2) เอกสารองคค์ วามรูใ้ นแตล่ ะฐานเรยี นรู้
5.3) บอรด์ , ปากกา, กระดาษฟลปิ ชาร์ท
5.4) อุปกรณข์ ยายเสยี ง, ไมค์โครโฟน

6. ขนั้ ตอน/วิธีกำร
6.1) วิทยากรแนะนาตัวเอง เน้ือวิชา แผนผังจุดเรียนรู้ และแนะนาวิทยากรประจาจุดเรียนรู้ท้ัง 9

ฐานเรียนรู้ และมอบโจทย์ ดงั น้ี
1) ทา่ น ไดเ้ รียนรอู้ ะไรจากการฝกึ ปฏิบัติ

2) ท่าน จะนาไปปรับใช/้ ประยุกต์ใช้ กบั ตนเอง ชุมชน และองค์กร อย่างไร

และให้แตล่ ะกลุ่มสี วเิ คราะหส์ ่ิงท่ไี ด้จากการฝึกปฏิบตั ิ ตามโจทยท์ ่ีได้รับมอบหมายโดยมีเวลานาเสนอ
กลุม่ ละ 10 นาที

6.2) วิทยากรอธิบายกติกาการฝึกปฏิบัติให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมทราบ คือ ผู้ใหญ่บ้านใส่รหัสสวัสดี
วิทยากร และกลุ่มสีให้กลุ่มสีนาเสนอสโลแกน ท่าประจาบ้าน ก่อนเร่ิมเรียนนรู้ ณ ฐานเรียนรู้ทุกจุด และเม่ือ
เสรจ็ ส้ินกจิ กรรมในแต่ละจดุ ให้ผู้ใหญ่บ้านใส่รหสั ขอบคุณวิทยากร

6.3) วทิ ยากรประจาฐานเรียนรู้ นาผเู้ ข้ารับการฝึกอบรมแต่ละกลุ่มสี ไปที่ฐานเรยี นรู้
6.4) วิทยากรประจาฐานเรียนรู้ อธิบายเน้ือหาความรู้และนาผู้เข้ารับการฝึกอบรมลงมือฝึกปฏิบัติ
(ฐานเรียนรู้ละ 30 นาที)

1) ฐำนเรียนรู้ “คนรกั ษแ์ มธ่ รณี” เน้ือหำกำรเรียนรู้: กำรห่มดิน
การหม่ ดนิ ตามหลักกสิกรรมธรรมชาติ โดยใชฟ้ าง เศษหญ้า หรอื ใบไมท้ สี่ ามารถย่อยสลายได้

เองตามธรรมชาติห่มหรอื คลุมลงบนหนา้ ดิน และใส่ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพลงไป เพื่อให้อาหารแก่ดิน ดิน
จะปล่อยธาตุอาหารใหพ้ ืชโดยกระบวนการย่อยสลายของจุลนิ ทรยี ์ เรียกหลกั การนี้วา่ “เลย้ี งดิน ให้ดิน
เล้ยี งพชื ”

1) ห่มดินด้วยฟาง เศษหญ้า หรือใบไม้ รอบโคนต้นไม้ประเภทไม้ยืนต้นหรือพืชท่ีเราปลูก
ห่างจากโคนตน้ ไมห้ รือพืชทปี่ ลูก 1 คืบ ห่มหนา 1 คืบ ถึง 1 ฟตุ ตอ้ งทาเปน็ วงเหมือนโดนทั

2) โรยด้วยปุ๋ยคอก (มูลสัตว์) บาง ๆ และรดด้วยน้าหมักชีวภาพผสมน้าเจือจาง อัตราส่วน
1 : 100 - 200 หรือเรียกขัน้ ตอนนี้ว่า “แห้งชาม น้าชาม”

2) ฐำนเรยี นรู้ “คนรักษ์แม่ธรณี” เนือ้ หำกำรเรียนรู้: กำรทำปุ๋ยชวี ภำพ
ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพ หมายถึง สารธรรมชาติท่ีได้จากกระบวนการหมักบ่มวัตถุดิบจาก

ธรรมชาติต่าง ๆ ทั้งพืช และสัตว์จนสลายตัวสมบูรณ์เป็นฮิวมัส วิตามิน ฮอร์โมน และ สารธรรมชาติ
ต่าง ๆ ซ่ึงเป็นทั้งอาหารของดิน ตัวเร่งการทางานของสิ่งมีชีวิตเล็ก ๆ ที่อาศัยอยู่ในดิน และอาศัยอยู่
ปลายรากของพชื ท่ีสามารถสร้างธาตุอาหารกว่า ๙๓ ชนดิ ใหแ้ ก่พืช

๓๓

ปุย๋ หมกั แห้งอนิ ทรยี ช์ วี ภาพ (ชนิดผง) สูตรมลู สัตว์
ส่วนประกอบ
- มลู สตั ว์ ๑ กระสอบ
- แกลบ เศษใบไม้ หรอื ซงั ข้าวโพด ๑ กระสอบ
- ขเ้ี ถ้าแกลบ ๑ กระสอบ
- ราอ่อน ๑ กระสอบ
- น้าสะอาด ๑๐ ลติ ร (ถ้าวตั ถุดบิ แห้งมากก็สามารถเพ่ิมปรมิ าณข้ึน)
- หวั เช้ือจลุ ินทรีย์เขม้ ขน้ ๑ ลิตร
วธิ ีทำ
๑) นามูลสตั ว์ แกลบ ขเี้ ถ้าแกลบ และราอ่อนมาผสมคลุกเคล้าให้เขา้ เปน็ เนอ้ื
เดยี วกัน
๒) ผสมน้ากับหัวเช้ือจุลินทรีย์เข้มข้นให้เข้ากัน รดลงบนกองวัสดุ และผสมให้เข้ากัน
จนมีความชื้นประมาณ ๓๕% โดยทดลองกาดูจะเกาะกันเป็นก้อนได้แต่ไม่เหนียว และเมื่อ
ปล่อยท้ิงลงพื้นจากความสูงประมาณ ๑ เมตร กอ้ นปยุ๋ จะแตกแตย่ ังมรี อยนิว้ มอื เหลอื อยู่
3) คลุกเคล้าใหเ้ ขา้ กันดี ตกั ปยุ๋ ใส่กระสอบ และมดั ปากถุงใหแ้ นน่
๔) กองกระสอบปุ๋ยซ้อนกันเป็นช้ันๆ และควรวางกระสอบแต่ละต้ังให้ห่างกนั เพื่อให้
ความรอ้ นสามารถระบายออกได้ทัง้ ๔ ดา้ น เพ่อื ไมต่ ้องกลบั กระสอบทุกวนั
๕) ทิ้งไว้ประมาณ ๕-๗ วัน ตรวจดูว่ามีกล่ินหอมและไม่มีไอร้อน ก็สามารถนาไปใช้
งานและเกบ็ รกั ษาไว้ไดน้ าน

ปุ๋ยนา้ หมักรสจดื จากหนอ่ กล้วย (จลุ ินทรียห์ น่อกล้วย)
ส่วนประกอบ
1) หนอ่ กล้วย เอาพรอ้ มราก เง้า ของหน่อกล้วย สูงไมเ่ กนิ 1 เมตร 3 กโิ ลกรัม
2) กากนา้ ตาล 1 กโิ ลกรัม
วิธีทำ
1) นาหน่อกล้วยทไ่ี ดม้ าห่นั เปน็ แว่นบางๆ ตา้ หรือบดใหล้ ะเอยี ด จ้านวน 3 กิโลกรัม
2) นามาคลุกกับกาก้น้าตาล จ้านวน 1 กิโลกรัม คลุกเคล้าให้เข้ากัน น้าใส่ถาด
หมกั ไว้ 7 วนั คนทกุ วันเช้า - เยน็ พอถึง 7 วัน ใส่ถงั ปดิ ฝาใหส้ นิท- เก็บได้นาน

3) ฐำนเรียนรู้ “คนรกั ษส์ ุขภำพ” เนื้อหำกำรเรยี นรู้: สเปรย์กนั ยงุ
ฐานเรียนรู้คนรักษ์สุขภาพพบว่าในช่วงฤดูฝนมีการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก ผู้ป่วยโรค

ไขเ้ ลือดออกมีแนวโน้มของผปู้ ว่ ยเพิ่มข้นึ เรื่อย ๆ สาหรับโรคไข้เลอื ดออกมียุงลายเปน็ พาหะนา อาการของโรคน้ี
มคี วามคล้ายคลึงกับโรคไขห้ วดั ในชว่ งแรก จึงทาให้เข้าใจคลาดเคลอื่ นได้ว่าเปน็ เพยี งโรคไขห้ วดั และถ้าไมไ่ ดร้ ับ
การรักษาท่ีถูกต้อง โดยเฉพาะในระยะท่ีมีเลือดออก (ระยะช็อก) ก็อาจส่งผลให้เกิดการเสียชีวิตได้ และวิธีที่ดี
ทีส่ ดุ ในการควบคุมการระบาดของโรคไขเ้ ลอื ดออก คือ การป้องกนั ไมใ่ หย้ งุ กัด จงึ นาสมุนไพรพ้ืนบ้าน หางา่ ยใช้
สะดวก เป็นท่ีรู้จักของคนในชุมชน มีสารสาคัญช่วยไล่ยุง ป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออกได้ เช่น ตะไคร้
หอม ซึ่งจะแตกต่างจากตะไครบ้ ้าน คือ ตะไคร้หอมมลี าต้นจะเรียวยาว มีสีแดงอมม่วง ใบยาวกว่าตะไครแ้ ละ
นิ่มกว่าตะไคร้บ้าน และมีกลิ่นท่ีฉุนกว่า ซึ่งไม่นิยมนามาทากับข้าว ตะไคร้หอม มีสารสาคัญเป็นน้ามันหอม
ระเหย ซ่ึงมปี ระสทิ ธภิ าพในการไล่ยงุ และแมลงอนื่ ๆ มาทาทาเป็นสเปรย์ตะไครห้ อมกนั ยงุ เพอ่ื แจกจา่ ยให้กับ
เจ้าหน้าที่ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนนครนายก ใช้ในช่วงฤดูฝน เพื่อป้องกันความเส่ียงในการเป็นโรค

๓๔

ไข้เลอื ดออก ในการฝกึ ปฏบิ ัติในฐานคนรกั ษ์สุขภาพ วิทยากรบรรยายในความรูเ้ กย่ี วกบั สมุนไพร และวธิ ีการทา
สเปรยก์ ันยุงจากสมุนไพรไทย และให้ผู้เข้าอบรมฝึกปฏบิ ตั ิ มีข้นั ตอนดังน้ี

1. หั่นตะไครห้ อม (เอาเฉพาะลาตน้ ) เปน็ ทอ่ นไม่บางหรอื หนาเกินไป ประมาณ 200 กรัม
2. ห่นั ผิวมะกรดู แบบไม่ตดิ เน้อื สขี าวมากนัก ประมาณ 200 กรมั
3. นาเอทลิ อแลกอฮอร์ 95 % ปรมิ าณ 600 มลิ ลิลิตร เทใส่โหลแกว้ ขนาดความจุ 2 ลิตรที่เตรียมไว้
4. นาตะไครห้ อมและผิวมะกรูดทห่ี ั่นไว้ ใสใ่ นโหลแกว้
5. ใส่การบรู และกานพลลู งไป ปิดฝาให้แนน่ หมกั ทง้ิ ไว้ 5 – 7 วนั แล้วนามากรองด้วยผา้ ขาวบาง
เอาแตน่ ้า (สว่ นกากให้เอาไปฝ่ังดนิ เพอื่ ย่อยสลายเป็นปุย๋ ตอ่ ไป) และบรรจุลงในขวดสเปรยท์ ี่เตรียมไว้ พร้อม
นาไปใช้งานได้

4) ฐำนเรียนรู้ “คนมีน้ำยำ” เน้อื หำกำรเรยี นรู้: กำรทำน้ำยำอเนกประสงค์
ในการฝึกปฏิบัตใิ นฐานคนมีน้ายา วิทยากรบรรยายในความรู้เก่ียวกับประโยชนข์ องการทาน้ายา

ใชเ้ อง วธิ กี ารทานา้ ยาอเนกประสงค์ และวธิ ีการใชน้ า้ ยาให้เกิดประสิทธภิ าพ ใหผ้ ูเ้ ข้าอบรมฝกึ ปฏิบัติ มีขัน้ ตอน
ดงั น้ี

1. นา้ ยาเอนกประสงค์สองค่หู ู
1.1 วัสดอุ ปุ กรณ์/วตั ถดุ บิ
1) มะกรูด
2) มะละกอ
3) เอ็น70 (N70)
4) เกลอื
5) โซดา
6) น้าเปล่า
7) หมอ้ ต้มแบบมีฝาปดิ
8) ถงั (สาหรับกวน)
9) ผ้าขาวบาง
10) ไมพ้ าย
11) ถงั แกส๊
1.2 วธิ ีทำ
1) ห่ันมะละกอดิบเป็นชิ้นเล็ก ๆ เอาเมล็ดออกให้หมด และนาไปใส่หมอ้ ตม้ ท่ีต้มนา้
ไว้ 8 ลติ ร รวมกบั มะกรดู อยา่ งละ 2 กิโลกรัม (มะกรูดตม้ ทง้ั ผล) ใหต้ ม้ จนมะละกอและ
มะกรดู มีสีนา้ ตาล และนา้ ลดเหลอื ประมาณ 7 ลติ ร และปดิ แกส๊
2) นาน้าทต่ี ้มไว้กรองไว้ดว้ ยผา้ ขาวบาง และเก็บน้าต้มไว้ในภาชนะ
3) นา N70 ใสใ่ นถงั พลาสติก และใส่เกลอื ตามลงไป ใชไ้ มพ้ ายกวนให้เปน็ เนอื้
เดียวกนั เติมโซดา และกวนตอ่ อีก
4) ค่อย ๆ เติมนา้ ทีต่ ม้ ไว้ ทัง้ หมดลงในถัง และกวนใหเ้ ปน็ เนือ้ เดียวกัน
5) ทิ้งไวใ้ ห้ฟองยบุ ลง และนาไปบรรจขุ วด เพือ่ เกบ็ ไวใ้ ชง้ าน

๓๕

5) ฐำนเรยี นรู้ “เสวยี นไมไ้ ผ่” เนอ้ื หำกำรเรียนรู้: กำรทำเสวยี นจำกไมไ้ ผแ่ ละกำรทำเสวยี นยังชพี
5.1 ประเด็นเนือ้ หำ
1) ความเปน็ มาของเสวียนไมไ้ ผ่
2) วิธกี าร/ข้นั ตอน/เทคนิค การทาเสวยี นไม้ไผ่
3) ประโยชน์จากการทาเสวียนไม้ไผ่
4) การสรปุ กจิ กรรม
5.2 วัสดุ / อปุ กรณ์
1) ไมไ้ ผ่ลวกหรือไมไ้ ผซ่ าง ความยาวประมาณ ๑ เมตร
2) ไม้ไผ่ซางผา่ เป็นเส้นยาว
3) ลวด
4) คีม
5) มีดพร้า
6) ค้อน
7) เล่อื ย
8) โทรโขง่
9) สอื่ การเรียนร้กู ารทาเสวยี นไมไ้ ผ่
5.3 ข้นั ตอน / วิธีกำร ทำเสวยี นไม้ไผ่
ครูพาทาเข้าสู่การแนะนาฐานการเรียนรู้เสวียนไม้ไผ่ด้วยการแนะนาตัว และนาเข้าสู่
บทเรียนด้วยการซักถามผู้อบรมว่า ท่านใดเคยมีประสบการณ์/เคยรู้จักการทาเสวียนไม้ไผ่
มาก่อนหรือไม่? จากนั้นครูพาทาอธิบายถึงความเป็นมาและความสาคัญของการทาเสวียน
ไม้ไผ่ กล่าวคือ “เสวียน” เป็นส่ิงประดิษฐ์ที่เกิดจากภูมิปญั ญาของชาวบ้าน ซึ่งเคยมีการใช้
กนั มาตัง้ แตบ่ รรพบุรษุ อาจมีการขาดหายไปในบางช่วงบ้างจนระยะหลังมีปญั หาหมอกควัน
เกดิ ขึน้ มากชาวบ้านจึงหนั กลบั มาใช้ภูมิปัญญาท้องถน่ิ ที่ถา่ ยทอดมาตงั้ แตบ่ รรพบุรษุ การทา
เสวียน เป็นการ นาเอาไม้ไผ่มาสานรอบโคนต้นไม้เพื่อใช้เก็บขยะใบไม้ให้ใบไม้เศษไม้ย่อย
สลายตามธรรมชาติ เปน็ การลดฝุ่นละอองจากการเผาเศษใบไม้ เสวียนไม้ไผ่ นับว่าเป็น
ประโยชน์ต่อการจัดการขยะอินทรีย์ พวกใบไม้ เศษกิ่งไม้ และถือเป็นการช่วยอนุรักษ์
สิ่งแวดล้อม
5.4 ครูพำทำกำรอธบิ ำยและกำรสำธิตกำรทำเสวยี นไมไ้ ผ่ ดังน้ี
1. ตัดไม้ไผ่ลวกหรือไม่ไผ่ซ่าง ความยาวประมาณ 1 เมตร เพ่ือใช้เป็นเสาหลัก ปักลงดิน

ตัดแตง่ สว่ นทจ่ี ะปกั ลงดินให้แหลมหรือเป็นล่ิมเพอื่ งา่ ยตอ่ การตอกลงดนิ
2. ตอกเสาหลกั ลงดิน ให้เหลือสว่ นที่พ้นดิน ประมาณ 60 เซนติเมตร ระยะหา่ งระหว่างหลัก

ประมาณ 30 เซนติเมตร กรณีตน้ ไมใ้ หญ่จะใช้ประมาณ 13-15 หลกั
3. ผา่ ไมไ้ ผ่ซางใหเ้ ปน็ เส้นยาวแลว้ นามาสานขัดไปมารอบเสาหลักทตี่ อกไว้รอบโคนตน้ ไม้
4. ครูพาทาให้ผอู้ บรมลงมือปฏิบตั ิการทาเสวียนไม้ไผ่ จานวน ๑ วง
5. ครูพาทาตรวจผลงานการทาเสวียนไม้ไผ่ พรอ้ มให้คาแนะนาเพิม่ เตมิ

๓๖

5.5 ครพู ำทำสรุปบทเรียนจำกกำรทำเสวียนไม้ไผ่ โดยกลำ่ วถึงเทคนคิ กำรทำเสวียนไม้ไผ่
และประโยชน์จำกกำรทำเสวียนไม้ไผ่ ดงั นี้

เทคนิคท่ี 1.การคานวณขนาดความกว้างของเสวียน ควรจะวัดขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง
ประมาณ 2-3 เมตร ตามขนาดท่ีต้องการ โดยส่วนใหญ่จะนิยมใช้เสาจานวนเลขคู่ เช่น
6,8,10,12 เปน็ ตน้ เพ่อื งา่ ยต่อการสานไมไ้ ผ่และเปน็ ลวดลายทสี่ วยงาม

เทคนิคท่ี 2.ก่อนจะทาการตอ่ ไมไ้ ผ่ ควรวดั ไม้ไผแ่ ต่ละเส้นให้มีขนาดที่เท่ากัน และทาการสาน
ทลี ะเสน้ ต่อขน้ึ ไปเปน็ วงทลี ะ ๑ วง (ลักษณะเหมือนการซ้อนห่วงยาง)

เทคนคิ ที่ 3.การมดั ไม้ไผด่ ว้ ยลวดควรมดั จากทางด้านนอกโดยใหป้ ลายลวดหันเข้าด้านในเพื่อ
ป้องกันไม่ใหค้ วามแหลมคมของปลายลวดจะทิม่ แทงหรอื เก่ยี วขาเมื่อเวลาเดินผา่ น

ในส่วนของประโยชน์จากการทาเสวียนไม้ไผ่ คือ ลดการใช้ปุ๋ย ลดขยะ ลดปัญหามลพิษ
ลดปัญหาหมอกควัน สร้างสภาพแวดล้อมท่ีดีให้กับชุมชน สามารถปลูกพืชผักสวนครัวเสริมใส่
เสวียนไมไ้ ผ่ได้ (ในทน่ี จี่ ะเรียกว่า เสวยี นยังชพี ) ซ่งึ วธิ กี ารทาไมย่ ากเพยี งแค่มีไม้ไผ่ ก็สามารถสร้าง
เสวียนรกั ษโ์ ลกไดต้ ามขนาดทีต่ ้องการ

6) ฐำนเรียนรู้ “คนรกั ษน์ ำ้ ” เนื้อหำกำรเรียนรู้: กำรทำฝำยชะลอน้ำ
ในการฝึกปฏิบัติในฐานคนรักษ์นา้ วิทยากรทาอธิบายประโยชน์ สาธิตการทาฝายชะลอ และให้ผู้

เขา้ อบรมลงมอื ปฏิบตั ดิ ้วยตนเอง ข้นั ตอนดงั นี้
1) สารวจและเลอื กพน้ื ท่ที าฝายชะลอนา้ (ฝายแม้ว) บรเิ วณทเ่ี หมาะสมในคลองไส้ไก่
2) จัดหาไมไ้ ผ่ ให้มขี นาดความสูงพอดีกบั ความสูงของคลองไส้ไก่
3) เหลาปลายไม้ไผใ่ ห้มีความแหลม สาหรับปักลงดินเพือ่ ยึดดินให้ฝายมคี วามแขง็ แรง
4) ใช้ค้อนตอกไม้ไผ่ลงดินเพ่ือทากาแพงฝาย โดยตอกยึดให้ลึกลงในดินประมาณ

0.30- 0.50 เมตร ทาเป็นด้านหน้าฝาย และด้านหลังฝาย และเว้นระยะห่างของหลักไม้ไผ่ ให้มี
ระยะหา่ งระหวา่ งกันประมาณ 20 ซม.

5) ใช้ลาไม้ไผ่ตัดตามความกวา้ งของคลองไส้ไก่ โดยวางขวางแนวนอนกนั้ ด้านในของหลักไม้
ไผด่ า้ นหนา้ ฝายและหลงั ฝาย

6) เตมิ หินใหเ้ ตม็ ฝาย โดยใส่หนิ ทีม่ ขี นาดเทา่ ๆ กัน เพือ่ ใหช้ อ่ งว่างนอ้ ยที่สดุ เพ่ือการชะลอนา้
7) เลื่อยไมไ้ ผใ่ หม้ คี วามสูงเท่ากนั เสมอแนวคลองไส้ไก่เพอื่ ความสวยงาม

7) ฐำนเรยี นรู้ “คนรกั ษ์น้ำ” เนื้อหำกำรเรยี นร:ู้ กำรทำลกู ระเบิดจลุ นิ ทรีย์
ในการฝึกปฏิบัตใิ นฐานเรยี นรคู้ นรกั ษน์ า้ วทิ ยากรให้องค์ความรเู้ กย่ี วกบั ลกู ระเบิดจลุ นิ ทรยี ์ เป็นลกู

ระเบิดจลุ ินทรีย์ ซ่งึ เป็นตวั ชว่ ยบาบัดน้าเสียให้เป็นน้าใส เพราะ “นา้ ” เป็นปจั จัยทสี่ าคัญสาหรับการดารงชีวิต
ของส่งิ มีชวี ติ และย่อมเกดิ ความเดือดร้อนเมือ่ เกดิ สภาวะนา้ เน่าเสยี ข้ึนมา

วิธีการบาบัดง่าย ๆ ทาได้โดยการนาน้าหมักชีวภาพมาผสมกับส่วนผสมอ่ืน ๆ ปั้นเป็นลูกระเบิด
จลุ นิ ทรีย์ เมือ่ โยนลงไปในน้าแล้ว จะชว่ ยบาบดั น้าทเี่ นา่ เสียใหใ้ สและไม่ส่งกลน่ิ เหม็น เพ่ิมออกซเิ จนในแหลง่ น้า
ชว่ ยให้เกิดแบคทเี รียท่ีสร้างสรรค์นอ้ี ย่างทวีคณู ส่งเสรมิ ให้เกิดสัตวห์ น้าเลน เช่น ไส้เดอื นแมลงในนา้ รวมทั้งไร
นา้ ซ่งึ เป็นอาหารธรรมชาตทิ ส่ี าคญั ยง่ิ ของสตั วน์ า้ พวก ปู กุง้ ปลา และหอยอีกดว้ ย

๓๗

สูตรทำลูกระเบดิ จุลนิ ทรีย์อยำ่ งง่ำย

วสั ดุ ส่วนผสม

1. ปุ๋ยอินทรียแ์ บบแห้ง ถ้าหาไมไ่ ด้ ใช้อินทรยี ์วตั ถุ เชน่ ใบไมแ้ หง้ ฟางหญา้ ชานออ้ ย ขยุ มะพรา้ ว1สว่ น
2. มูลสตั ว์ เช่น ไก่ แพะ วัว ควาย 1 ส่วน
3. ดินโคลนเลน ถา้ หาไม่ได้ ใชด้ นิ ธรรมดาแทนได้ แตต่ ้องเนอ้ื เหนียวหนอ่ ยเพราะจะปัน้ เป็นลูกงา่ ย1สว่ น
4. รา 1/2 ส่วน
5. ปุ๋ยน้าหมักชีวภาพ รสจืด หมักจากเศษอาหาร ผัก แยกเศษเนื้อสัตว์ออก ควรเป็นรสจืดจะช่วย
บาบัดน้าได้ดี ควรใช้ปุ๋ยน้าที่หมักไว้แล้วอย่างน้อย 3 เดือน ถ้าหมักไม่ทันก็ใช้ปุ๋ยน้าหมักชีวภาพที่มีขายตาม
รา้ นคา้ ได้ ผสมนา้ ในอัตรา 1:1 สว่ น
วิธกี ำรทำ
1. ผสมส่วนผสมทั้งหมดคลุกให้เข้ากนั แลว้ รดดว้ ยป๋ยุ นา้ หมักชวี ภาพผสมน้า พอใหส้ ว่ นผสมช้ืน คลุก
ให้เขา้ กัน ลองหยิบส่วนผสมมาบีบดู พอใหม้ ีนา้ ซมึ ๆ ออกมาตามงา่ มน้ิว ถอื ว่าใช้ได้ ไมเ่ ละ หรือเหลวเกนิ ไป
2. ปั้นเป็นลูกขนาดพอเหมาะหรือขนาดเท่าลูกเปตอง วางผ่ึงไว้ในที่ร่มจนแห้ง นาวัสดุที่สามารถ
ระบายอากาศได้คลมุ ประมาณ 4-7 วัน (ห้ามโดดแดด โดนฝน) จึงสามารถนาไปบาบัดน้าได้
วธิ กี ำรบำบดั น้ำเสยี
1. โยนลูกระเบดิ โดยใชใ้ นอตั ราส่วน 5 กิโลกรมั ตอ่ นา้ 1 ลา้ นลิตร หรือ 25-50 กโิ ลกรมั ตอ่ พ้ืนท่ี
1 ไร่ หรือ 4 ก้อน ตอ่ 1 ลูกบาศก์เมตร ท้ังนีข้ ึน้ อยู่กบั สภาพนา้ ทีเ่ น่าเสยี
2. นาน้าหมักชีวภาพ ราดบริเวณขอบบ่อหรือสระท่ีต้องการบาบัดน้าเสีย และนาน้าหนักราดเป็นรปู
เคร่อื งหมายคณู บริเวณกลางบ่อหรือสระ ลกู ระเบดิ จะแตกภายใน 21 นาที บาบดั นา้ จาก ล่าง ขน้ึ บน และ
ใส่ปุ๋ยนา้ ชวี ภาพ จาบาบดั นา้ จาก บน ลง ล่าง
ข้อแนะนำ
1. ไม่เหมาะกบั การใชใ้ นพืน้ ท่นี า้ ไหล เพราะก้อนจลุ ินทรีย์จะไหลไปกับนา้
2. ไมเ่ หมาะกับนา้ เสยี ทเ่ี กดิ จากสารเคมี
3. ถา้ ใชใ้ นปริมาณมากเกนิ ไปอาจทาให้น้าเสียได้
4. ลูกระเบิดจุลินทรีย์ท่ีใช้ได้ จะต้องเป็นลูกร้ะเบิดจุลินทรีย์ที่เป็น ไม่ใช่ลูกท่ีตาย วิธีสังเกตอย่างงา่ ย
คอื จะมีเชอ้ื ราเปน็ ใยสีขาวฟูๆ

8) ฐำนเรียนรู้ “หนึง่ งำน บำ้ นพอเพียง เนอื้ หำกำรเรยี นรู้: กำรทำอำหำรไก่แบบพอเพียง

ในการฝึกปฏิบัติในฐานเรียนรู้หน่ึงงานบ้านพอเพียง ซ่ึงเป็นฐานเรยี นรู้ท่ีมีองค์ความรู้หลากหลาย
ในการอบรมคร้ังวิทยากรได้ให้ความรู้เกี่ยวกับการทาอาหารไก่แบบพอเพียง โดยให้ผู้เข้าอบรมฝึกปฏิบัติ มี
ส่วนผสมและวธิ ที า ดังน้ี

1. หยวกกล้วย 3 กก.
2. กากนา้ ตาล 1 กก. (อาหารจลุ นิ ทรีย)์

3. เอม็ รอ้ ย 1 ขวด
4. นมเปรีย้ ว 1 ขวด

๓๘

อาหารหมักจากหยวกกล้วย เหมาะสาหรับเกษตรกรที่มีพ้ืนท่ีจากัด โดยการใช้หยวกกลัวยที่ลาต้น
ไม่แก่มาก ซอยให้เป็นแผ่นเล็ก ๆ ใสล่ งในถังหมักแล้วใส่สวนผสมที่เหลอื ปิดไว้ 1 อาทิตย์ สามารถใหไ้ ก่กินได้
เลย หรือวา่ จะผสมอาหารอย่างอืน่ ร่วมก็ได้

8) ฐำนเรยี นรู้ “คนรกั ษ์ป่ำ” เน้ือหำกรเรียนรู้: กำรขยำยพนั ธพ์ุ ืช
ในการฝึกปฏิบัติในฐานคนรักษ์ป่า วิทยากรได้ถ่ายองค์ความรู้เกี่ยวกับการขยายพันธุ์พืช ได้แก่

ตอนกงิ่ เสยี บยอด ติดตา ปกั ชา และมอบหมายให้ผ้เู ข้าอบรมได้ฝกึ ปฏบิ ตั ิการตอนกงิ่ มขี นั้ ตอนดังน้ี
อปุ กรณ์ท่ีใชใ้ นกำรตอนกิ่ง
1) มดี ขยายพันธ์หุ รอื คัตเตอร์ (Cutter) หรอื มีดติดตาตอ่ กง่ิ
2) ถงุ พลาสติกขนาด 2x4 น้วิ หรือ 3x5 น้ิว
3) วสั ดหุ ุ้มกง่ิ ตอน เชน่ กาบมะพร้าว ถา่ นแกลบหรอื ขยุ มะพรา้ ว
4) เชือกมัดวสั ดหุ ุม้ ก่ิงตอน เชน่ เชอื กฟาง
5) ฮอร์โมนเร่งราก
วิธีกำรตอนกิง่
1) เลือกก่งิ ท่ีมีอายุไม่เกิน 1 ปี หรืออยูใ่ นวัยหนมุ่ สาว ซึ่งจะออกรากได้ดกี ว่ากงิ่ ทีม่ อี ายุมาก
และควรเปน็ ก่งิ กระโดงหรอื ก่ิงนา้ ค้าง ท่สี มบรู ณ์ ปราศจากโรคและแมลง
2) ควั่นเปลือกกิ่ง ความยาวของรอยแผล ประมาณเส้นรอบวงของกิ่ง ท้ังด้านบนและล่าง
ของกงิ่ แลว้ ลอกเอาเปลอื กออกและขดู เยื่อเจริญทีเ่ ปน็ เมือกลนื่ ๆ รอบก่ิงออกใหห้ มด
3) นาตุ้มตอน (ขุยมะพร้าวเก่าท่ีแช่น้าจนอ่ิมตัว แล้วบีบน้าออกพอหมาดๆ อัดลงใน
ถุงพลาสตกิ แลว้ ผกู ปากถุงใหแ้ น่น) มาผ่าตามความยาวแลว้ นาไปห้มุ รอยแผลของกง่ิ ตอน มัดดว้ ยเชือก
ทง้ั บนและล่างรอยแผลทค่ี วั่น
4) เมื่อกิ่งตอนงอกรากซ่ึงจะเกิดตรงบริเวณรอยควั่นด้านบน และรากเร่ิมแก่เป็นสีเหลือง
หรือมีสีนา้ ตาล ปลายรากมสี ขี าวและมจี านวนรากมากพอ จงึ ตดั ก่งิ ตอนไปชาหรอื ปลูกได้
5) ตัดกง่ิ ตอนไปชาในภาชนะ ในกระถางหรือถงุ พลาสตกิ เพอื่ รอการปลกู ตอ่ ไป

เม่ือเสร็จส้ินการเรียนรู้ท้ัง 9 ฐานเรียนรู้ ให้พร้อมกันท่ีห้องอบรม สรุปผลกิจกรรมเป็นรายกลุ่มและ
วทิ ยากรสรุปเติมเตม็

7. สรุปผลกำรเรยี นรู้
7.1) ฐำนเรียนรู้ “คนรกั ษ์แม่ธรณี”
เนอื้ หำกำรเรียนรู้: กำรหม่ ดนิ
การห่มดินตามหลักกสิกรรมธรรมชาติ โดยใช้ฟาง เศษหญ้า หรือใบไม้ท่ีสามารถย่อยสลายได้
เองตามธรรมชาติห่มหรือคลุมลงบนหนา้ ดิน และใส่ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพลงไป เพื่อให้อาหารแก่ดิน ดิน
จะปล่อยธาตอุ าหารใหพ้ ืชโดยกระบวนการยอ่ ยสลายของจุลนิ ทรยี ์ เรยี กหลกั การน้ีว่า “เลย้ี งดิน ใหด้ ิน
เล้ยี งพชื ”
7.1) ฐำนเรียนรู้ “คนรกั ษแ์ ม่ธรณี”
เนื้อหำกำรเรียนรู้: กำรทำปุย๋ ชวี ภำพ

๓๙

ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพ หมายถึง สารธรรมชาติท่ีได้จากกระบวนการหมักบ่มวัตถุดิบจาก
ธรรมชาติต่าง ๆ ท้ังพืช และสัตว์จนสลายตัวสมบูรณ์เป็นฮิวมัส วิตามิน ฮอร์โมน และ สารธรรมชาติ
ต่าง ๆ ซึ่งเป็นท้ังอาหารของดิน ตัวเร่งการทางานของส่ิงมีชีวิตเล็ก ๆ ที่อาศัยอยู่ในดิน และอาศัยอยู่
ปลายรากของพชื ทีส่ ามารถสร้างธาตอุ าหารกวา่ ๙๓ ชนดิ ใหแ้ กพ่ ชื
7.3) ฐำนเรยี นรู้ “คนรกั ษส์ ขุ ภำพ”

เน้อื หำกำรเรยี นรู้: สเปรย์กันยงุ
สมุนไพรที่คนส่วนใหญ่จะคิดวา่ เป็นพชื และจะต้องนามาเป็นยาเพ่อื รกั ษาโรคยามเจ็บไข้ได้ปว่ ย
แต่ในความเปน็ จรงิ แล้วเราใช้สมุนไพรท้งั พืช สัตว์ และแรธ่ าตุ พืชใชเ้ ป็นอาหาร เปน็ ยา เปน็ เคร่ืองใช้
ส่วนสัตว์เปน็ ทง้ั อาหาร และบางส่วนของสตั ว์บางชนดิ นามาทาเป็นยาได้ แรธ่ าตเุ ช่นเดยี วกันหมอแผน
โบราณมกั จะนาท้ังพชื สัตว์และแร่ธาตุมาทาเป็นยาตารบั สมุนไพรทเ่ี ปน็ พืชทน่ี ามาใช้ในชีวิตประจาวัน
ในแง่ของอาหาร ยา และเครอ่ื งใชใ้ นบ้าน ซ่ึงบางครั้งพืชผักท่ีกนิ อยู่ทุกวนั เราอาจจะไมร่ มู้ วี ่าสรรพคุณ
รกั ษาโรคได้
7.4) ฐำนเรยี นรู้ “คนมีนำ้ ยำ”
เนือ้ หำกำรเรียนรู้: กำรทำนำ้ ยำอเนกประสงค์
ในปัจจุบันรายจา่ ยสงู กว่ารายรับ จึงเรมิ่ ประชมุ ปรกึ ษาหารือกันภายในหมู่บ้าน คน้ หาผู้มีความรู้
ด้านต่าง ๆ ในการที่จะทาอย่างไรในการลดรายจ่ายในครวั เรือนและทาใหม้ รี ายได้เพ่ิมขน้ึ จงึ มีมตทิ ่ีจะ
ทาน้ายาอเนกประสงค์ใช้ในครัวเรอื นเพื่อลดรายจ่าย และสามารถเพิ่มรายได้ให้กับครัวเรือน การลด
คา่ ใชจ้ ่ายในครัวเรอื นในแตล่ ะเดือนครอบครัวของเราจา่ ยเงินไปเท่าไรในการซ้ือ น้ายาซักผ้า นา้ ยาลา้ ง
จาน น้ายาล้างรถ หรือน้ายาทาความสะอาดสารพัดล้าง แล้วสินค้าท่ีเราซ้ือมาใช้นั้นดีจริงอย่างที่เขา
โฆษณาหรือเปล่า ดงั นนั้ เราจงึ ลองใช้ภมู ิปัญญาเพ่อื พึ่งพาตนเอง มาทาผลติ ภณั ฑ์ดีและราคาถูกใชเ้ อง
7.5) ฐำนเรยี นรู้ “เสวียนไมไ้ ผ่”
เนอ้ื หำกำรเรยี นรู้: กำรทำเสวยี นจำกไมไ้ ผ่และกำรทำเสวียนยงั ชพี
เสวียน เปน็ สง่ิ ประดษิ ฐ์ที่เกิดจากภูมิปัญญาของชาวบ้าน ซ่งึ เคยมีการใชก้ นั มา ตงั้ แตบ่ รรพบุรุษ
อาจมีการขาดหายไปในบางช่วง จนระยะหลังมีปัญหาหมอกควัน เกิดข้ึนมาก ชาวบ้านจึงหันกลับมา
ใชภ้ ูมปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ ท่ีถ่ายทอดมาตง้ั แตบ่ รรพบุรุษ การทาเสวียน เป็นการนาเอาไม้ไผม่ าสานรอบโคน
ต้นไมเ้ พอ่ื ใช้เก็บขยะใบไม้ ใหใ้ บไม้เศษไม้ยอ่ ยสลายตามธรรมชาติลดฝนุ่ ละอองจากการเผาใบไมเ้ ศษ

7.6) ฐำนเรยี นรู้ “คนรักษน์ ำ้ ”
เนื้อหำกำรเรียนรู้: กำรทำฝำยชะลอนำ้
หลักการหน่ึงในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ คือ การทาฝายชะลอน้า หรือฝายชะลอ

ความช่มุ ชื้นซ่ึงหมายถึง สิ่งก่อสร้างที่ขวางทางก้ันลาน้าขนาดเล็กในบรเิ วณต้นน้า หรือพ้ืนท่ีท่ีมีความ
ลาดชันสูง เพื่อให้น้าที่ไหลมาแรงสามารถที่จะชะลอการไหลช้าลงและเก็บกักตะกอน เพื่อไม่ให้
ลงไปสู่บริเวณลุ่มนา้ ตอนลา่ ง

ฝายชะลอน้า หรอื Check Dam คอื สิ่งก่อสร้าง ทีท่ าขึ้นเพอ่ื ขวางหรอื ก้นั ทางน้า โดยปกติมักจะ
กั้นลาห้วย ลาธารขนาดเล็กในบริเวณท่เี ป็นตน้ น้า หรอื พ้ืนทที่ ี่มีความลาดชนั สงู ให้สามารถกักตะกอน
อยู่ได้ และหากเป็นช่องที่น้าไหลแรงก็สามารถช่วยในการชะลอการไหลของน้าให้ช้าล งด้วย
เพอ่ื การกักเก็บตะกอนเอาไว้ไมใ่ หไ้ ปทบั ถมลานา้ ตอนลา่ ง อนั เป็นเปน็ วิธีการอนุรักษ์ดนิ และแหลง่ น้า

๔๐

7.7) ฐำนเรยี นรู้“คนรักษ์นำ้ ”
เนื้อหำกำรเรียนรู้: กำรทำลกู ระเบดิ จุลินทรีย์
ลกู ระเบิดจลุ นิ ทรีย์ ตัวชว่ ยบาบัดน้าเสียให้เป็นน้าใส เพราะ “นา้ ” เป็นปจั จัยท่ีสาคัญสาหรับ

การดารงชีวิตของส่ิงมีชีวิต และย่อมเกิดความเดือดร้อนเม่ือเกิดสภาวะน้าเน่าเสียข้ึนมา ซ่ึงจากการ
ทดลองของเครือข่ายกสิกรรมธรรมชาติพบว่า สามารถเพิ่มค่า DO (Dissolved Oxygen) หรือค่า
ออกซเิ จนทลี่ ะลายในน้าจาก 3.5 ppm (หรอื สว่ นในลา้ นสว่ น) เป็น 6.5 ppm ในเวลา 22 นาที เปน็
การเพิ่มออกซิเจนให้กับน้า ซ่ึงออกซิเจนเป็นสิ่งที่จาเป็นอย่างย่ิงสาหรับปลาหอยพืช และแอโรบิก
แบคทีเรีย (แบคท่ีเรียที่ต้องการออกซิเจน) ถ้าหากค่า DO ในน้าต่ากว่า 3 ppm จะทาให้ส่ิงมีชีวิตใน
น้าอยู่ในภาวะถูกกดดัน ถ้าค่า DO ต่ากว่า 2 ppm หรือ 1 ppm ปลาจะไม่สามารถดารงชีวิตอยู่ได้
เนื่องจากปลาจะดารงชีวิตและทากิจกรรมต่าง ๆ ตามปกติ ได้ท่ีค่า DO 5-6 ppm ซึ่งเป็นส่ิงจาเป็น
มากสาหรับอตุ สาหกรรมการเพาะเลีย้ งสัตวน์ า้ และพืชน้า ซง่ึ การเพ่ิมออกซเิ จนในแหล่งน้า ชว่ ยใหเ้ กิด
แบคทีเรียทีส่ ร้างสรรคน์ อ้ี ยา่ งทวีคูณ สง่ เสรมิ ให้เกดิ สตั วห์ นา้ เลน เชน่ ไส้เดอื นแมลงในน้า รวมทั้งไรน้า
ซ่ึงเปน็ อาหารธรรมชาติทสี่ าคัญยิ่งของสัตวน์ า้ พวก ปู กุ้ง ปลา และหอยอกี ดว้ ย

7.8) ฐำนเรียนรู้ “หนึ่งงำน บ้ำนพอเพียง”
เนอ้ื หำกำรเรียนรู้: กำรทำอำหำรไก่แบบพอเพยี ง
การทาอาหารสัตว์ นับเป็นปัจจัยสาคัญย่ิงต่อการเล้ียงสัตวแ์ ละเป็นหนงึ่ ในต้นทุนที่สาคัญ ซ่ึง

ในวันนี้ เกษตรกรเป็นจานวนมากต้องประสบกับภาวะราคาต้นทุนอาหารที่เพ่ิมขึ้น จากภาวการณ์ท่ี
เกิดขึน้ ไดส้ ง่ ผลกระทบเปน็ อย่างมากต่อเกษตรกรผเู้ ล้ยี งรายยอ่ ย ทีม่ ีจานวนไมน่ ้อยทไ่ี ม่ สามารถแบก
รบั ภาระต้นทุนค่าอาหารท่ีเพิ่มขึ้นได้ จนทาให้ต้องเลิกอาชีพการเล้ียงสัตว์ไป ในช่วงระยะเวลาที่ผ่าน
มา เพ่ือเป็นการแก้ไขปัญหาและทาให้เกษตรกรสามารถเลี้ยงสัตว์เพ่ือสร้างรายได้ต่อไปได้ จึงได้มี
การนาแนวคดิ เกยี่ วกบั การใชว้ ัตถุดบิ อาหารสตั ว์ในท้องถน่ิ มาผสมขน้ึ เป็นอาหารใช้เอง ทดแทนการซ้ือ
อาหารสาเร็จรูป

7.9) ฐำนเรยี นรู้ “คนรักษ์ปำ่ ”
เนอื้ หำกรเรยี นรู้: กำรขยำยพนั ธุ์พืช
การขยายพันธุ์พืชจัดวา่ มคี วามสาคัญในการปลูกพชื เพราะข้นั ตอนแรกของการเพาะปลกู ตอ้ ง

มีต้นกล้าพืชเสียก่อน การเลือกวิธีการขยายพันธุ์พืชท่ีเหมาะสมจะทาให้สามารถผลิตต้นกล้าได้ตาม
ปริมาณและคุณภาพท่ีต้องการ ซ่ึงเป็นผลไปถึงคุณภาพหรือปริมาณของผลผลิตของพืชนั้น ๆ
นอกจากน้ีการขยายพนั ธ์พุ ืชยังมีความสาคัญในดา้ นการอนุรักษ์พันธพุ์ ชื ทหี่ ายากหรอื ใกลจ้ ะสญู พันธ์ุ
8. รปู ภำพกจิ กรรม
ฐานเรียนรู้ “คนรกั ษแ์ ม่ธรณี” เน้ือหาการเรยี นรู้: การห่มดิน

๔๑

ฐานเรยี นรู้ “คนรกั ษแ์ มธ่ รณี” เนอื้ หาการเรียนรู้: การทาป๋ยุ ชีวภาพ

ฐานเรยี นรู้ “คนรกั ษส์ ุขภาพ” เนือ้ หาการเรยี นรู้: การสเปรย์กนั ยุง

ฐานเรียนรู้ “คนมีน้ายา” เน้ือหาการเรยี นรู้: การทานา้ ยาอเนกประสงค์

ฐานเรียนรู้ “เสวียนไม้ไผ่” เน้ือหาการเรียนรู้: การทาเสวยี นจากไม้ไผ่และการทาเสวียนยังชพี

๔๒

ฐานเรียนรู้ “คนรักษน์ า้ ” เนอื้ หาการเรยี นร:ู้ การทาฝายชะลอน้า

ฐานเรียนรู้ “คนรกั ษ์นา้ ” เนื้อหาการเรียนร:ู้ การทาลูกระเบิดจุลนิ ทรีย์

ฐานเรียนรู้ “หน่งึ งาน บา้ นพอเพียง” เนือ้ หาการเรียนรู้: การทาอาหารไกแ่ บบพอเพียง

ฐานเรยี นรู้ “คนรกั ษป์ ่า” เนือ้ หากรเรยี นรู้: การขยายพนั ธุ์พชื

๔๓

9. หัวข้อวิชำ ถอดบทเรียนผ่ำนส่ือ “แผ่นดินไทย” ตอน แผ่นดินวิกฤต และ “วิถีภูมิปัญญำไทยกับกำร
พ่งึ ตนเองในภำวะวกิ ฤต”

วิทยำกรหลกั นางประภา ปานนติ ยกลุ ผู้อานวยการศูนยศ์ กึ ษาและพัฒนาชมุ ชนนครนายก

1. วัตถปุ ระสงค์
๑.1) เพ่อื ใหผ้ ู้เรยี นได้สงั เคราะห์ความรู้ท่ีได้รบั จากวิทยากรท่ไี ด้มาบรรยายในแตล่ ะวิชา มาสังเคราะห์

ความรู้ผ่านการถอดบทเรยี นจากส่ือ
1.2) เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมตระหนักถึงความสาคัญของการน้อมนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจ

พอเพียงไปประยุกต์ใชใ้ นการดารงชีวติ
1.3) เพื่อให้ผู้อบรมมีความรู้ความเข้าใจสถานการณ์โลกปัจจุบันกับการเปล่ียนแปลงของดิน

ฟ้า อากาศ และตระหนกั ถึงวกิ ฤตปัญหาด้านดิน น้า ลม ไฟ โรคติดต่อระบาดท่ีอาจเกดิ ขนึ้ ในประเทศไทยและ
การปอ้ งกนั ภยั

2. ประเด็นเนอื้ หำ
2.1) การพงึ่ พาตนเองในภาวะวกิ ฤต
2.2) การนอ้ มนาหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใชใ้ นการดารงชวี ติ
2.3) ภาวะวิกฤตสงั คมโลก สังคมไทย ในปัจจบุ ัน
2.4) หาทางออกวิกฤตดว้ ยศาสตรพ์ ระราชา

3. ระยะเวลำ
จานวน 2 ชวั่ โมง

4. วิธกี ำร/เทคนิค
4.1) ชมส่ือวดิ ที ัศน์
4.2) วิธกี ารแบง่ กล่มุ ระดมสมอง ร่วมกันสงั เคราะห์องคค์ วามรู้
4.3) นาเสนอข้อมูลรายกลมุ่ ตามโจทย์ท่ีได้รบั มอบหมาย
4.4) สร้างกระบวนการมีสว่ นร่วมด้วยการถาม-ตอบ

5. วัสดุ/อปุ กรณ์
5.1) สื่อวิดีทัศน์ แผ่นดินไทย ตอน แผ่นดินวิกฤต และส่ือวิดีทัศน์ “พ่อเลี่ยม บุตรจันทา” ปลดหนี้

ดว้ ยศาสตร์พระราชา: คนรกั ษ์ป่า
5.2) เคร่ืองคอมพิวเตอร์ เครือ่ งฉาย และจอภาพ
5.3) กระดาน กระดาษฟลิปชาร์ต ปากกา กระดาษกาว

6. ขน้ั ตอน/วธิ กี ำร
6.1) วิทยากรแนะนาตนเอง และชี้แจงวัตถุประสงค์ของวิชา เกริ่นนาก่อนเข้าสู่บทเรียนในประเด็น

สถานการณ์ของโลก ประเทศไทย
6.2) วทิ ยากรใหช้ มชมสือ่ วดิ ที ัศน์ แผน่ ดนิ ไทย ตอน แผน่ ดนิ วิกฤต


Click to View FlipBook Version