The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลโครงการ เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by training-nakhonnayok Library, 2021-05-18 00:20:27

Project results report CDD

รายงานผลโครงการ เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชน

๔๔

6.3) วิทยากรมอบโจทย์ในการเรียนรู้ คือ ได้อะไรจากการชมสื่อวีดีทัศน์ ข้อคิด และมุมมองใน
การแกป้ ญั หาเชิงบวก

6.4) กลุม่ สแี ตล่ ะกลมุ่ รว่ มกนั ระดมสมองตามโจทย์ท่ไี ด้รับ
6.5) แตล่ ะกลมุ่ สนี าเสนอ และแลกเปล่ยี นเรียนรู้
6.6) วิทยากรสรปุ เติมเต็ม และสร้างกระบวนการเรียนรู้ดว้ ยการใชว้ ธิ ีการ ถาม-ตอบ และให้ผ้เู ข้ารับ
การฝกึ อบรมให้ข้อเสนอแนะเพ่มิ เติม
6.7) วิทยากร เกร่ินนาในประเด็น สถานการณ์วิกฤตในปัจจุบันท่ีมนุษย์รวมถึงคนไทยกาลังเผชิญ
การพึ่งตนเองด้วยศาสตร์พระราชา และให้ชมส่ือวิดีทัศน์ของบุคคลตัวอย่างที่ฝ่าวิกฤตในชีวิตด้วยศาสตร์
พระราชา “พอ่ เลยี่ ม บตุ รจันทา” ปลดหนีด้ ว้ ยศาสตรพ์ ระราชา: คนรักษป์ า่
6.8) วิทยากรสร้างการมีส่วนร่วมแก่ผู้รับการฝึกอบรม โดยใช้วิธีการถาม-ตอบ เพ่ือกระตุ้นให้เกิด
กระกวนการคิดและกระตอื รือร้น ดว้ ยประเดน็ คาถาม “ได้ข้อคิด/มุมมองอะไรบา้ ง และจะทาอะไรตอ่ ไป”

7. สรุปผลกำรเรียนรู้
7.1) สรุปผลการเรียนรู้ ถอดบทเรียนผา่ นสือ่ วดิ ีทัศน์ “แผน่ ดินไทย” ตอน แผ่นดนิ วกิ ฤต จาก การ

สงั เคราะหค์ วามรูข้ องผู้เขา้ รับการฝกึ อบรม ท้ัง 5 กลมุ่ สี สรปุ ไดด้ ังน้ี

ขอ้ คดิ ทไ่ี ดร้ บั จำกกำรชมสือ่ มุมมองในกำรแก้ไขปญั หำเชงิ บวก

1) มนุษย์ไม่มีการเตรียมตัว รับมือกับความเสี่ยงท่ี 1) แก้ไขด้วยการพึ่งตนเอง สร้างภูมิคุ้มกัน ด้วย

เกิกดข้นึ ส่งผลให้ขาดภูมคิ ้มุ กนั ในการดารงชวี ิต แนวคิดของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง

2) ระบบเศรษฐกิจทุนนนยิ ม มีการแข่งขันสูง ส่งผล 2) รักษาส่งิ แวดลอ้ มด้วยหลกั สกิ รรมธรรมชาติ

ให้เกิดวกิ ฤตส่งิ แวดลอ้ ม สังคม เศรษฐกิจ 3) สร้างสังคมแห่งการให้ และการช่วยเหลือเก้ือกุล

3) เกิดการละทิ้งสวฒั นธรรมและวถิ ชี ีวตดิ ั้งเดิม กนั

4) เกดิ สถานการณค์ นอพยพเขา้ เมอื ง 4) สรา้ งจดิ สานกึ ในการอนุรกั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติ

5) วิกฤตการณ์ในทุกได้ สามารถเกิดข้ึนไ ด้ 5) สง่ เสริมเศรษฐกจิ ฐานรากใหม้ ่ันคง สู่การพัฒนาที่

ตลอดเวลา เช่น วิกฤตโรคระบาดในคน ส่งผลต่อ ยัง่ ยนื และการพึ่งตนเอง

คุณภาพชวี ติ ของมนุษยท์ ้งั ทางตรงและทางอ้อม 6) ใช้ทนุ ในชุมชนใหเ้ กดิ ประโยชน์สงู สุด

6) ภาวะขาดแคลนอาหาร 7) ส่งเสรมิ ใหค้ วามรใู้ นการวางแผนชีวติ

7) เกิดความเหล่อื มลา้ ในสังคม 8) แผนพัฒนา / นโยบาย ช่วยเหลือประชาชนให้

8) การวา่ งงานทม่ี ีอตั ราเพ่ิมสูงข้นึ เร่อื ย ๆ ตรงจดุ และแกไ้ ขปญั หาไปบรบิ ทของแต่ละพนื้ ท่ี

9) คนพึ่งพาปัจจัยภายนอกมากเกินไป

10) การเมืองเกิดความขัดแยง้

7.2) สรุปผลการเรียนรู้ ถอดบทเรียนผ่านสื่อวิดีทัศน์ พ่อเลี่ยม บุตรจันทา” ปลดหน้ีด้วยศาสตร์
พระราชา: คนรักษ์ป่า จากการสังเคราะห์ความรู้จากประเด็นคาถาม “ได้ข้อคิด/มุมมองอะไรบ้าง และจะทา
อะไรต่อไป” ของผเู้ ข้ารับการฝึกอบรม ทั้ง 5 กลมุ่ สี สรปุ ได้ดังน้ี

ประเด็นท่ี 1 ไดข้ อ้ และมมุ มองอะไรบ้าง
- การพ่งึ ตนเองด้วยการนอ้ มหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงมาปรับใชก้ ารดาเนินชีวติ

๔๕

- การทาบัญชีครัวเรือน เพื่อให้รู้จักตนเอง เพราะรู้ตัวเอง ก็จะทราบถึงปัญหา และสามารถ
แกไ้ ขปญั หาไดอ้ ยา่ งตรงจดุ

- การวางแผนชวี ติ ล่วงหนา้ เพื่อสามารถพ่ึงตนเองได้ในภาวะวกิ ฤต
- การถ่ายทอดความรู้แก่คนในครอบครัว เพื่อสร้างความเข้าใจ และร่วมกันวางแผนชีวิต
แกไ้ ขปัญหาในครอบครัว
ประเด็นที่ 2 จะทาอะไรต่อ
- นาองค์ความรู้การทาบัญชีครัวเรือนไปทาในครอบครัว และยึดหลัก “ผู้นา ต้องทาก่อน”
เพือ่ ขยายผลแกป่ ระชาชน
- ลดการพงึ่ พาปจั จัยภายนอก หันมาพึ่งตนเอง
- ส่งเสริมการใชช้ วี ิตดว้ ยศาสตร์พระราชาแก่คนในชุมชน
8. รปู ภาพกจิ กรรม

๔๖

10. หัวข้อวชิ ำ : ฝึกปฏิบตั ิ “จิตอำสำพัฒนำชุมชน เอำม้ือสำมัคคีพัฒนำพน้ื ที่ตำมหลักทฤษฎใี หม่”

วทิ ยำกรหลัก นายเมธาพันธ์ นลิ แก้ว นักทรพั ยากรบคุ คลปฏิบัติการ
นายปราโมทย์ กจิ ปล้มื ท่ปี รึกษาเครือข่ายโคก หนอง นา จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา

1) วตั ถปุ ระสงค์
เพอ่ื ให้ผเู้ ข้าอบรมเห็นถงึ ความสาคัญของการแลกเปลยี่ นแรงงาน เอามื้อสามัคคี และเปน็ การ

แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ ในด้านการพัฒนาพ้ืนท่ีตามหลักทฤษฎีใหม่ โดยประชาชนส่วนใหญ่มักรู้จักในชื่ อ
กิจกรรมการ “ลงแขก” หรือ เอามื้อ “เอาแรง” ซ่ึงเป็นวัฒนธรรมชุมชนที่อยู่คู่กับสังคมไทยมาอย่างช้านาน
โดยในช่วงหลังมาน้ีนอกจากจะเป็นการแลกเปลี่ยนในด้านแรงงานแล้วยังได้เน้นให้เกิดการสร้างความรู้ท่ี
เหมาะสมกับสภาพพ้ืนท่ี

2) ประเดน็ เนอื้ หำ
2.1 แนะนาวิทยากร
2.2 แนวทางการพัฒนาพ้ืนทตี่ ามหลักทฤษฎใี หม่
2.3 ข้ันตอนการตรวจแปลง 10 ข้ันตอน
2.4 การมอบหมายหนา้ ท่ีผูเ้ ข้ารับการอบรม และกรรมการตรวจแปลง
2.5 การวางแผนร่วมกนั ท้ังในกลมุ่ ยอ่ ยและกลุม่ ใหญ่
2.6 การลงมอื ปฏิบัตเิ อาม้ือ
2.7 การตรวจแปลง
2.8 สรปุ การเรยี นรู้

3) ระยะเวลำ 7 ชั่วโมง

4) วธิ กี ำร/เทคนิค
4.1 ส่ือ Power Point บรรยาย
4.2 แลกเปลี่ยนคาถามกอ่ นลงมอื ปฏิบัติ
4.3 ลงมือปฏิบตั ิโดยมีครูพาทาคอยแนะนาในทุกๆ กล่มุ
4.4 คณะกรรมการตรวจแปลงดาเนินการตรวจแปลงและให้คาแนะนา
4.5 สรุปผลกจิ กรรม
4.6 ให้คะแนนและมอบรางวัลกลมุ่ ท่ไี ด้คะแนนมากท่ีสุด

5) วสั ดุ / อปุ กรณ์
5.1 สอื่ Power Point /ไมโครโฟน/อุปกรณ์ประกอบจังหวัด
5.2 อุปกรณ์การเกษตร ได้แก่ จอบ เสียม พล่วั คราด มดี อโี ต้ เลอ่ื ย ฟาง ปุ๋ยแหง้ ปุ๋ยนา้ ลวด

คีม บงุ้ กี๋ บัวรดนา้
5.3 ต้นไมท้ ่ีใชป้ ลกู ป่า 5 ระดับ
5.4 เคร่อื งขยายเสียง โทรโข่ง

๔๗

5.5 น้าด่ืม
5.6 ยาสามัญประจาบา้ น

6) ข้นั ตอน / วิธกี ำร
1. วทิ ยากรเริม่ ต้นโดยการแนะนาตนเอง
2. วิทยากรให้ความรู้เกีย่ วกบั การเอามอ้ื สามัคคีและการพัฒนาพ้นื ทต่ี ามหลกั ทฤษฎใี หม่ โดย

ยึดหลกั กสกิ รรมธรรมชาติ ไดแ้ ก่

1) การจดั การกล่มุ สารวจพื้นท่ี แบง่ หนา้ ที่ แบ่งคน ความสามัคคี
2) การเตรียมดิน ขดุ ร่องน้า ฝาย
3) การปลูกปา่ 5 ระดับ
4) การปลูกแฝก อนรุ กั ษ์ดนิ และนา้
5) การปลกู ดอกไมเ้ พอื่ บรหิ ารแมลง
6) การหม่ ดนิ
7) การเล้ยี งดินโดยการใส่ป๋ยุ อนิ ทรยี ์ (แหง้ ชาม-น้าชาม)
8) การทอ่ งคาถาเลยี้ งดิน 5 ภาษา

เลี้ยงดินให้ดินเล้ยี งพชื
ฟดี เดอะ ซอย แอนด์ เลท เดอะ ซอย ฟีด เดอะ แพลนท์
เจียม ได๋ ออย ได๋ เจยี ม ตะนา
เล่ยี ง เทะ อดึ เทะ เล่ียง ละชวิ
เลีย้ งแม่ธรณีให้แมธ่ รณีเลีย้ งแม่โพสพ
9) ศิลปะ ความสวยงาม ความเรียบรอ้ ยของแปลง
10) การจัดเก็บอุปกรณ์ ล้างทาความสะอาดจัดวางใหเ้ ปน็ ระเบียบ
3. วิทยากรขอตัวแทนผู้เข้ารับการอบรมของแต่ละกลุ่ม (5 กลุ่ม) เพ่ือลงไปสารวจพ้ืนที่ที่จะ
ดาเนนิ งาน ซง่ึ ทางคณะวิทยากรไดก้ าหนดขอบเขตของพ้นื ทไ่ี ว้(บริเวณด้านข้างโรงอาหารติดกบั หนอง
น้า) และแบ่งเป็น 5 โซน ตามจานวนกลุ่มสีท่ีได้แบ่งไว้ก่อนแล้ว โดยให้ตัวแทนแต่ละกลุ่มจับสลาก
เพื่อเลอื กว่ากลมุ่ ใดจะไดโ้ ซนใด
4. วิทยากรขอตวั แทนแต่ละกลุ่ม เพือ่ รว่ มเป็นคณะกรรมการตรวจแปลง
5. ผู้เขา้ รับการอบรมแต่ละกลุม่ วางแผนการพัฒนาพ้นื ท่ี โดยยึดหลักกสิกรรมธรรมชาติ
4. ผู้เข้ารบั การอบรมลงมือปฏบิ ัตงิ าน โดยมีครูพาทาใหค้ าแนะนาทกุ ๆ กลุ่ม
5. ระหว่างลงมือปฏบิ ตั ทิ างวิทยากรจะเปิดเพลงท่ีเกยี่ วกับหลักกสิกรรมธรรมชาติ และเพลง
สนุกสนานอ่ืนๆ เพ่อื ให้การเอามือ้ สามัคคีมีความสนกุ สนานเพลดิ เพลิน
6. คณะกรรมการตรวจแปลงดาเนนิ การตรวจแปลงครั้งที่ 1 โดยการตรวจแปลงคร้ังนเ้ี นน้ ที่
การใหค้ าแนะนาต่างๆ มากกวา่ การให้คะแนน
7. เมอื่ คณะกรรมการดาเนินการตรวจแปลงเสรจ็ แลว้ ผู้เข้ารับการอบรมแต่ละกลุ่มจะ
ดาเนนิ การปรับปรงุ แก้ไขพ้ืนท่ี ตามคาแนะนาของคณะกรรมการ
8. คณะกรรมการดาเนนิ การตรวจแปลงคร้งั ที่ 2 การตรวจแปลงครงั้ น้เี ป็นการตรวจเพื่อให้
คะแนน ผูเ้ ข้ารับการอบรมจะตอ้ งตง้ั แถวบริเวณพ้ืนทท่ี ก่ี ลมุ่ ตนเองรบั ผิดชอบ และกล่าวใส่รหัสสวัสดี

๔๘

คณะกรรมการเมื่อคณะกรรมการมาถึง จากน้นั จะต้องรว่ มใจกนั ท่องคาถาเล้ยี งดนิ และหลงั จากนั้น
ให้นาเสนอสิ่งท่ีกลุม่ ได้ดาเนินการให้คณะกรรมการฟัง จากนนั้ เป็นการซักถามจากคณะกรรมการ ใน
ระหว่างน้ีคณะกรรมการจะบันทกึ คะแนนลงในแบบฟอร์ม โดยยดึ หลกั 10 ขัน้ ตอน

9. เม่ือคณะกรรมการตรวจแปลงครบทงั้ 5 กลุ่มแล้ว จะดาเนนิ การรวมคะแนนและจะแจ้ง
ผลตอนทา้ ยช่ัวโมงการอบรมวิชาน้ี

10. เมื่อทุกกลมุ่ ได้รบั การตรวจแปลงเสร็จแล้ว จะเป็นกิจกรรมสรุปผลการดาเนนิ กจิ กรรม
เอามอ้ื สามัคคี ได้วิทยากรจะมอบโจทย์และใหแ้ ต่ละกลุม่ รว่ มกันคดิ และสง่ ตัวแทนออกมานาเสนอ

11. วทิ ยากรประกาศผลกลุม่ ที่ได้รับคะแนนสูงท่ีสุดของกจิ กรรมนี้ และมรี างวลั ให้กล่มุ ที่
ชนะเพื่อเป็นแรงจงู ใจในการนากิจกรรมนไ้ี ปปรับใช้ในพืน้ ทข่ี องตนเองตอ่ ไป

สรปุ ผลกำรเรยี นรู้
จากการดาเนินกิจกรรมพบว่า ผู้เข้ารับการอบรมส่วนใหญ่มีความสนใจ ให้การมีส่วนร่วมใน

กระบวนการเรียนรู้ เน่ืองจากเป็นการลงมือปฏิบัติจริง ทุกๆ กลุ่มจะต้องทาผลงานให้ดีท่ีสุด เกิดภาวะ
ความเป็นผู้นาของทุกๆ กลุ่ม ผู้ท่ีมีความสามารถด้านการเกษตรจะคอยแนะนาเพ่ือนๆ คนอ่ืนในกลุ่ม
มีการแบ่งหน้าท่ีกันทาอย่างชัดเจน เช่น ผู้ชายทางานที่หนัก ผู้หญิงคอยช่วยงานที่เบากว่าหรืองานท่ีต้องใช้
ความละเอียด เป็นต้น มีการพูดคุยช่วยกันแก้ปัญหาต่างๆ ที่เกิดข้ึนระหว่างดาเนินงานท้ังในแต่ละกลุ่มและ
ระหว่างกลุ่ม เพื่อให้ภาพรวมของแปลงออกมาดีท่ีสุด ระหว่างดาเนินกิจกรรมมีการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
ผู้เข้าอบรมคนใดเหน่ือยก็พัก เม่ือหายเหน่ือยก็กลับมาช่วยกนั ต่อ หลายๆ คนนาน้าและอาหารว่างไปบริการ
เพื่อนๆ ในกลุ่ม ซึ่งสิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งที่ตอบวัตถุประสงค์ของวิชาเน่ืองจากต้องการให้นากระบวนการเอาม้ือ
สามคั คี หรือการลงแขก กลับมาใชใ้ นยุคปจั จุบนั อีกคร้งั ดังคาทก่ี ล่าวไว้ว่า “ทาแบบคนจน”

ภำพถำ่ ยกจิ กรรม

๔๙

11. หัวข้อวิชำ กำรออกแบบเชิงภูมิสังคมไทยตำมหลักกำรพัฒนำภูมิสังคมอย่ำงยั่งยืนเพื่อกำรพึ่งตนเอง
และรองรบั ภยั พิบตั ิ
วทิ ยำกรหลกั

1. ผศ.พเิ ชฐ โสวิทยสกุล อาจารย์คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจา้
คณุ ทหารลาดกระบัง (สจล.) ทปี่ รึกษาอธิบดีกรมการพฒั นาชุมชน

2. รศ.วรวรรณ โรจนไพบูลย์ อาจารย์คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้า
เจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) ที่ปรึกษาอธบิ ดกี รมการพัฒนาชมุ ชน

1) วตั ถุประสงค์
เพ่อื ให้ผเู้ ขา้ รบั การฝกึ อบรม มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจในการออกแบบพื้นท่ีเชิงภมู ิสังคมไทยตามหลักการ

พัฒนาภูมิสังคมอยา่ งยัง่ ยืนเพือ่ การพงึ่ ตนเองและรองรบั ภยั พบิ ตั ิ “โคก หนอง นา โมเดล”

2) ประเด็นเนื้อหำ
๑. สถานการณ์และภาวะวิกฤตขิ องโลก ประเทศ ชมุ ชน (นา้ อาหาร พลงั งาน)
1.1 ทรัพยากรน้า
1.1.1) การใชป้ ระโยชนจ์ ากทรัพยากรน้า
1.1.2) สถานการณ์ทางนา้
1.2 วิกฤตการณด์ ้านอาหาร
1.2.1) สถานการณ์ขาดแคลนด้านอาหาร
1.3 วิกฤตการณด์ ้านพลังงาน
1.3.1) การขาดแคลนพลงั งาน
2. แนวทางการแก้ไขและรองรับภัยพิบัตดิ ว้ ยการบรหิ ารจดั การพ้ืนที่ “โคก หนอง นา”

3) ระยะเวลำ 2 ช่ัวโมง

4) วิธกี ำร /เทคนิค
๑. วิทยากรบรรยายประกอบส่อื Power point และสอื่ วิดทิ ัศน์
2. บรรยาย
3. กระตุน้ ดว้ ยคาถามและแลกเปลีย่ นความคิดเห็น
4. สรปุ การเรียนรู้

5) วัสดุ /อุปกรณ์
1. ส่อื วิดีทัศน์
2. สือ่ นาเสนอดว้ ยโปรแกรม power point

6) ขนั้ ตอน /วิธีกำร
๑. วิทยากรเล่าสถานการณ์และวิกฤตของโลกและประเทศในปัจจุบัน (น้า อาหาร พลังงาน) พร้อม

ยกตัวอยา่ ง
2. วิทยากรบรรยายการออกแบบเชิงภูมิสังคมไทยตามหลักการพฒั นาภูมิสังคมอย่างย่ังยืนเพ่ือการ

พ่ึงตนเองและรองรับภัยพบิ ัติ (การออกแบบพื้นทชี่ ีวติ )
3. วิทยากรยกตัวอย่างแบบจาลองการจดั การพื้นท่กี สกิ รรมประกอบ เพอื่ ใหเ้ ห็นภาพชดั เจนย่ิงข้นึ

๕๐

4. วิทยากรบรรยายให้ความรเู้ ก่ียวกับแนวทางการแก้ไขและรองรับภัยพิบัติด้วยการบริหารจัดการ
พื้นท่ีการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษีใหม่ ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล” พร้อมยกตัวอย่าง
ความสาเรจ็ (พน้ื ทตี่ น้ แบบ)

5. สื่อวิดีทัศน์ กรณีศึกษา “ความสาเร็จของ “คนผู้เดินตามรอยศาสตร์พระราชา” : เจาะใจ” (ลุง
แสวง ผมู้ ัง่ คงั่ )

สรุปเน้ือหำกำรเรยี นรู้

วิทยากรผู้เช่ียวชาญ เกร่ินนาสถานการณ์โลกท่ีต้องเผชิญกับภยั พบิ ัติในหลากหลายรูปแบบและทาง
เดียวท่ีประเทศไทยจะรอดพ้นจากภัยพิบัติเหล่าน้ีได้คือ การน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และ
หลักการทรงงาน พระราชดารัส “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” ของในหลวงรัชกาลที่ 9 มาประยุกต์ใช้ในวิถีชีวิต
พร้อมเช่อื มโยงถงึ สถานการณ์การทาเศรษฐกิจพอเพียงทไี่ ม่ประสบความสาเร็จท่ีผ่านมา ไปไมถ่ ึงไหนเพราะทา
ไม่จริง ทาเล่นๆ แมใ้ นมมุ มองภาควิชาการท่ีทางานวิจัยเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพยี งมากกว่าแปดหม่ืนเร่ือง กย็ งั
ไม่สามารถนาผลที่ได้จากการวจิ ัยนั้นมาปรบั ใช้และดาเนินการในพ้นื ที่จริงได้ หน่วยงานภาครฐั จึงต้องน้อมนา
หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ไปเป็นตัวช้ีวัดหลักขององค์กร โดยเน้นหลัก 2 เงื่อนไข คือ การใช้ความรู้
บวกกบั คณุ ธรรม คือ การรู้รักสามัคคี ในท่นี ้คี อื การเอามือ้ สามคั คี การรว่ มแรงร่วมใจกันปรับและพฒั นาพ้ืนที่
ให้สามารถเป็นแหล่งอาหารและเป็นศูนย์พ่ึงพิงได้เมื่อยามเกิดภัยพิบัติ อีกทั้งเป็นศูนย์เรียนรู้ในระดับพ้ืนท่ไี ด้
ด้วยหลกั การทง้ั หมดนี้เราจะสามารถอยู่รอดและพึ่งตนเองได้ จะเปน็ ทางรอดของประเทศไทย

วิทยากรกล่าวถึงบทบาทและภารกิจการดาเนินงานของศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนที่จะต้อง
ขับเคลื่อนให้เป็นมหาวิทยาลัยศาสตร์พระราชา โดยยกตัวอย่างการดาเนินงานของสถาบันเศรษฐกิจพอเพียง
ภูมิพล King Bhumibol Institute of Sufficiency Economy (KBISE) ท่ีเน้นการขับเคลื่อนสืบสานศาสตร์
พระราชา ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่เป้าหมายความยั่งยืนของโลก และกรมการพัฒนาชุมชนต้อง
ตั้งเป้าหมายพื้นที่ต้นแบบในการน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงให้ได้อย่างน้อยหมู่บ้านละ 15
แปลง อีกทั้งใช้กลไกการทางานแบบเครือข่ายในการขยายผล จัดทาบันทึกข้อตกลงร่วมมือ “การขับเคล่ือน
ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสูเ่ ป้าหมายความย่งั ยืนโลก” โดยมีเครือขา่ ย ดังนี้ การไฟฟ้าฝา่ ยผลิตแห่งประเทศ
ไทย,สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.),มูลนิธิสภาคริสตจักร,นาคารเพ่ือ
การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธกส.),มหาวิทยาลัยแม่โจ้,มหาวิทยาลัยราชภฏั ราชนครนิ ทร,์ มูลนิธิรักษ์ดิน
รักษณ์น้า,มูลนิธิกสิกรรมธรรมชาติ และบริษัทเอามื้อสามัคคีวิสาหกิจเพ่ือสังคม จากัด ซึ่งมีเป้าหมายร่วมกัน
คือ ความยั่งยืนของโลก เครือข่ายการขยายผลน้ันได้แก่ เครือข่ายระดับพื้นที่ ระดับลุ่มแม่น้า ระดับจังหวัด
และระดับประเทศ โดยเร่ิมจากพื้นที่จังหวัดท่ีประสบปัญหาภัยแล้งซ้าซาก เช่น จังหวัดกาญจนบุรี จังหวัด
เชียงราย ได้ดาเนินการส่งประชาชนในพื้นที่เข้ารับความรู้ด้วยการอบรมตามหลักสูตรของศูนย์กสิกรรม
ธรรมชาติ (มาบเอื้อง) จังหวัด ชลบุรี เน้นกลุ่มเป้าหมาย 4 กลุ่ม คือ 1. คน, 2.ความรู้, 3.เครือข่าย และ 4.
ขยายผล ภายใต้แนวคิดที่ว่าทุกคนมีความสามารถ มีสิทธิเป็นครูได้ ซ่ึงเป้าหมายท่ี 1 ด้านคนนั้น ให้เน้นผ่าน
กระบวนการพัฒนาคนผ่านศูนย์บ่มเพาะเบ็ดเสร็จ โดยมีองค์ประกอบคือ หลักสูตรท่ีเหมาะสม วิทยากรฐาน
เรียนรู้/วิทยากรกระบวนการ ทีมออกแบบพ้ืนที่ ทีมขับเคล่ือนพื้นท่ี ทีมเก็บข้อมูล และทีมวิจัยร่วมชุมชน ป้า
หมายที่ 2 ด้านความรู้ เน้นด้านการเป็นศูนย์ข้อมูลและติดตามแบบบูรณาการ วิเคราะห์/สังเคราะห์ ตัวอย่าง
ความสาเร็จสู่งานวิชาการ เชื่อมโยงความรู้สู่สากล โดยมีองค์กระกอบคือ หลักสูตรท่ีเหมาะสม วิทยากรฐาน
เรียนรู้/วิทยากรกระบวนการ ทีมออกแบบพ้ืนท่ี ทีมขับเคล่ือนพื้นท่ี ทีมเก็บข้อมูล และทีมวิจัยร่วมชุมชน
เป้าหมายที่ 3 ด้านเครือข่าย เน้นกระบวนการสร้างเครือข่าย โดยมีองค์ประกอบคือ การบวนการสร้าง
เครอื ขา่ ย กระบวนการเชอ่ื มรอ้ ยกลไกการมีส่วนร่วม กจิ กรรมรณรงคแ์ ลกเปล่ียนเรยี นรู้

๕๑

วิทยากรยกตัวอย่างกรณีศึกษา โคก หนอง นา โมเดล ซึ่งทฤษฎีดังกล่าวเป็นการแปลงปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพยี งให้เปน็ รูปธรรม โดยมี 5 ขน้ั ตอน คอื

1.บันได 9 ขัน้ สเู่ ศรษฐกิจพอเพยี ง
2.ทฤษฎีใหม่กวา่ 40 ทฤษฎี
3.วิธปี ฏิบตั อิ ยา่ งเป็นข้ันเปน็ ตอนกว่า 4,741 โครงการ และ 47,000 เร่อื ง
4.เทคนิค/นวตั กรรม ท่เี ปน็ เคล็ดวชิ า เคลด็ ลบั บทเรียนจานวนมาก
5.การบริหารแบบคนจนโดยยึดวลีว่า “ความขาดแคลนไม่เป็นปัญหาถ้ามีปัญญาถ้ามีปัญญาและ
ความอดทน”
สาหรับหลักการทา โคก หนอง นา โมเดล หากมีพื้นที่ในการดาเนินการ จานวน 1 ไร่ เรียกว่าเป็น
การลดรายจ่าย จานวนพ้ืนที่ 3 ไร่ เรียกว่าพ่ึงตนเอง จานวนพ้ืนท่ี 5 ไร่ เรียกว่าแก้จน จานวนพ้ืนที่ 10 ไร่
เรียกว่า พ้นเกษียณ และจานวนพ้ืนท่ี 10 ไร่ เรียกว่า ศูนย์พ่ึงพิง หากใครเริ่มทาก่อนก็จะรอดก่อน เพราะ
เป้าหมายของการทา โคก หนอง นา คอื การขดุ หนองนา้ ไวใ้ ห้สามารถมนี ้าใชไ้ ด้ท้งั ปี ปลูกไม้ยนื ตน้ ปลูกพืชผัก
ทาประมง ทาปศุสตั ว์ ซึง่ ในหลักสูตรน้ี จะเนน้ ไปท่กี ารบรหิ ารจัดการพ้ืนทข่ี นาดเลก็ ให้สามารถเก็บกักน้าฝนไว้
เป็นการช่วยแก้สถานการณ์ภัยแล้งรุนแรงหรือซ้าซาก ในขณะท่ีวิธีคิดการบริหารจัดการน้าแบบเก่าท่ีต่างชาติ
คิดน้ันเป็นวิธีคิดที่จะกักเก็บน้าแต่ไม่สามารถนาน้าไปใช้ประโยชน์ได้เท่าท่ีควร ประเทศไทยเราจึงคิดวิธีการ
บริหารจัดการนา้ ในรูปแบบใหม่ที่สามารถนาน้ามาใชใ้ หเ้ กิดประโยชนไ์ ด้ จึงมีโครงการเกิดขน้ึ ดงั นี้
1.โครงการ โขง ชี มูล โดยใชห้ ลกั การแรวโน้มถ่วงของโลกในการแกป้ ัญหาแม่น้าโขงแห้ง
2.โครงการผนั นา้ เข้าแม่น้าสาละวนิ ไปยงั เข่อื นภูมพิ ล เพื่อแก้ปัญหาภูเขาหัวโลน้ ในพ้นื ที่จงั หวัดน่าน
และเชยี งราย
3.โครงการผันน้าจากเขื่อนปา่ สักไปยงั เขื่อนลาตะคอง
4.โครงการผนั นา้ จากเขื่อนศรนี ครินทร์ เพื่อแกป้ ญั หาการใช้สารเคมีท่ีเกนิ ปริมาณและทาให้สารเคมี
ตกคา้ งในดิน
5.โครงการอุโมงค์ผันนา้ ท่ีจังหวดั เชียงใหม่ แต่มคี วามล่าช้าถงึ ร้อยละ 85 กรมชลประทานจึงเข้ามา
แก้ปัญหาด้วยการขุดโคก หนอง นา ให้กับพี่น้องประชาชน โดยใช้งบประมาณในการขุด จานวน 26,500
บาทตอ่ 1 ไร่ จึงเป็นที่มาของ “ชุมชนกสิกรรมวิถี” ซ่ึงการทา โคก หนอง นา นัน้ ถือเปน็ การบรหิ ารจัดการใน
ด้าน ดนิ น้า ปา่ คน ใหส้ ามารถพ่งึ พาอาศัยเกื้อกูลกนั ระหวา่ งคนกบั ธรรมชาติ เปน็ การปรบั สมดุลเพอื่ คืนชีวิต
ให้กับธรรมชาติ และเป็นการเตรียมความพร้อมเพ่ือต้ังรับกับสถานการณ์ท่ีไม่คาดคิดหรือภัยพิบัติในรูปแบบ
ต่างๆไม่เว้นแมก้ ระท่ังวกิ ฤตท่ีคนจะตกงานในอนาคต ให้มีพ้ืนท่ีทามาหากนิ สามารถเล้ยี งตนเองและครอบครัว
ได้
หลักการออกแบบพื้นที่ ต้องคานึงถงึ ศาสตรพ์ ระราชา (เกษตร 2 ขา) คือ การรวมกันระหวา่ งทฤษฎี
ใหม่กับการเกษตรเชิงเดี่ยว ต้องวิเคราะห์พื้นที่ โดยเลือกพื้นที่ที่มีระดับพ้นจากการเกิดนา้ ท่วม มีวิธีปฏิบัติคอื
หาหรือปรบั ปรงุ แหลง่ น้า ปรับปรงุ คุณภาพของดินและเลือกกิจกรรมที่มีความเหมาะสมและฟน้ื ฟูสภาพดินโดย
ใช้การย่าขี้ ห่มดิน(แห้งชาม น้าชาม) ปลูกป่า 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง ทาน้าหมักชีวภาพ มีการขุดลอก
หนองนา้ เดมิ ใหส้ ามารถรองรับน้าฝนได้ในปรมิ าณมาก ทาการขดุ คลองไสไ้ กเ่ พือ่ ให้สามารถควบคมุ ทิศทางการ
ไหลของนา้ และสามารถใช้พน้ื ทีใ่ นการรองรับน้าฝน ถอื เปน็ การวางแผนใหค้ นสามารถอยูก่ บั นา้ ได้ ไมก่ อ่ ปัญหา
ในพน้ื ทีข่ ้างเคียงเมอ่ื เกิดปญั หาน้าท่วม มีการทาโคก ทานาขน้ั บนั ได และการยกหวั คนั นาทองคา ปรับพื้นท่ีให้
สามารถเปน็ แกม้ ลิง เปน็ ศูนยพ์ ่งึ พิงในอนาคตได้

๕๒

การทาโคก หนอง นา นี้ หากดาเนินการได้ร้อยละ 10 ของหมู่บ้าน จะสามารถเป็นแนวทางเป้น
ตน้ แบบในการขับเคลอ่ื นศาสตร์พระราชา โดยการใชท้ ฤษฎีใหม่มาประยกุ ต์ในวถิ ีชีวิต วทิ ยากรฉายภาพพร้อม
ยกตัวอย่าง พื้นที่จังหวัดน่านและจังหวัดทางภาคอสี านท่ีประสบความสาเรจ็ ในการดาเนินงาน โคก หนอง นา
เพ่ือเปน็ การกระจายและสร้างแรงบันดาลใจใหก้ ับผเู้ ขา้ ร่วมอบรมในการดาเนนิ งานตอ่ ไป

วทิ ยากรเปดิ โอกาสให้ผเู้ ข้าอบรมไดซ้ กั ถามและแลกเปลีย่ นความคิดเหน็ ในหัวข้อวชิ าน้ี
โดยสรุป พบว่า ผู้เข้าอบรมส่วนใหญ่มีความสนใจ ตั้งใจ และมีส่วนร่วมในการเรียนรแู้ ละการรบั ฟัง
การบรรยายด้วยความต้งั ใจ การตอบคาถาม การแสดงความคิดเห็นอย่างสรา้ งสรรค์ และมคี วามร้คู วามเขา้ ใจที่
ถกู ตอ้ งเก่ยี วกบั หลกั การออกแบบเชงิ ภูมิสงั คมไทยเพอื่ การพงึ่ ตนเองและรองรับภัยพบิ ัติ อกี ท้ังเกดิ แรงบันดาล
ใจใหส้ ามารถนาแนวคิด โคก หนอง นา โมเดล ซงึ่ เป็นหนึง่ ในทฤษฎใี หม่ เป็นการนอ้ มนาศาสตรพ์ ระราชาและ
ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ของในหลวงรัชกาลท่ี 9 ไปประยุกต์ใชใ้ นวถิ ชี วี ติ สคู่ วามย่ังยนื ต่อไป

ภำพบรรยำกำศกำรเรียนร้ใู นรำยวิชำ

สรปุ ผลกำรเรียนรู้
พบวา่ ผูเ้ ข้าอบรมส่วนใหญ่มีความสนใจ มคี วามต้งั ใจในการเรียนรู้ในหัวข้อวิชาการออกแบบเชิงภูมิ

สงั คมไทยตามหลักการพฒั นาภูมิสงั คมอย่างยั่งยืน เพอื่ การพง่ึ ตนเอง และรองรบั ภยั พบิ ัติ เนอ่ื งจากเนอื้ หาของ
หัวข้อวิชาเป็นหลักการท่ีสามารถนาไปขยายผลให้ความรกู้ ับประชาชนในพ้ืนท่ีการดาเนนิ งานได้จรงิ อีกทั้งยัง
เปน็ ประโยชน์กบั การพฒั นาและต่อยอดในพน้ื ท่ีการดาเนนิ งานของผูอ้ บรม

๕๓

12. หัวขอ้ วิชำ : พ้ืนฐำนกำรออกแบบเพอ่ื กำรจดั กำรพ้นื ท่ีตำมหลกั ทฤษฎีใหม่ ประยุกตส์ ู่ “โคก หนอง นำ
โมเดล ”

วทิ ยำกรหลัก นายณภัทรพนั ธ์ เฟอื่ งฟู
นายอชิร ก่อแกว้
นางสาวญานิกา เวชมณีกร

1) วตั ถปุ ระสงค์
เพ่ือให้ผู้เข้าอบรม มีความรู้ ความเข้าใจในการออกแบบพื้นท่ีเชิงภูมิสังคมไทย ตามหลักการ

พัฒนาภูมสิ ังคมอย่างยง่ั ยืนเพอ่ื การพ่งึ พาตนเองและรองรับภยั พบิ ตั ิ “โคก หนอง นา โมเดล”

2) ประเด็นเน้ือหำ
2.1 หลกั คดิ พื้นฐานการออกแบบเพือ่ การจดั การพ้นื ท่ีตามหลกั ทฤษฎีใหม่ ประยกุ ตส์ ู่ “โคก

หนอง นา โมเดล ”

3) ระยะเวลำ 2 ช่ัวโมง

4) วธิ ีกำร/เทคนิค
4.1 วิทยากรบรรยายประกอบส่อื Power Point
4.2 ตัวอยา่ งแบบพนื้ ที่ “โคก หนอง นา โมเดล ”

5) วสั ดุ / อปุ กรณ์
5.1 ส่อื Power Point
5.2 กระดาษ A4 / ปากกา

6) ขนั้ ตอน / วธิ กี ำร
วิทยากรกล่าวแนะนาตัว ให้ดูตัวอย่างการออกแบบพื้นที่ เพื่อชี้ให้เห็นถึงความสาคัญของ

การออกแบบ สามารถสรุปใจความสาคัญ ไดด้ งั น้ี
การออกแบบพื้นที่ มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้ในการส่ือสารกับช่างขุดในพ้ืนที่ และใช้ส่ือสารกับ

เจ้าของพน้ื ที่ ในการเขียนแบบจดั สรรพ้ืนท่ี โคก หนอง นา ควรใช้สัญลักษณ์ เช่น สี ตวั เลขกากบั ท่ีตงั้ ของพนื้ ที่
รอบข้าง ระบุทิศ การวัดระยะ ปริมาณการเก็บนา้ ในพ้ืนที่ เพราะการออกแบบพ้ืนที่เป้าหมาย คือ การเก็บนา้
ในพื้นท่ี เพื่อเอาน้ามาบริหารจัดการในพื้นที่ รวมถึงใส่รายละเอียดต่าง ๆ โยงรายละเอียดต่าง ๆ ใน
การออกแบบ เพอื่ จะส่ือสารความเป็นจรงิ ได้มากข้นึ

การกกั เก็บน้าของ “โคก หนอง นา” โมเดล หลกั การสาคญั ของโคก หนอง นา โมเดล คือการเก็บกัก
น้าไวใ้ ชอ้ ย่างเพยี งพอ ซง่ึ การออกแบบพน้ื ทจ่ี ะให้ความสาคญั ต่อการเก็บนา้ 3 ส่วนหลักๆ ไดแ้ ก่

1. เก็บน้าไว้ในหนอง : การขดุ หนองจะตอ้ งขุดให้คดโค้ง และมีระดับตื้นลกึ แตกตา่ งกนั ไปในแต่ละจุด
ซึ่งกอ่ นขดุ ต้องมีการคานวณปริมาตรนา้ ที่สามารถ เก็บไดใ้ นหนองเพือ่ ใหพ้ อใชง้ าน

๕๔

2. เก็บน้าไว้บนโคก : ทาได้โดยการปลูกป่าและเก็บในระบบรากของต้นไม้ ที่ปลูกไว้ 5 ระดับ ได้แก่
ไม้ระดบั สงู ไมช้ ้ันกลาง ไม้ช้นั เตี้ย ไม้เร่ียดนิ และ ไม้หัวใตด้ นิ ไมแ้ ตล่ ะระดบั ควรจะมอี ยา่ งน้อยไม่น้อยกว่า 21
ชนิด เพอื่ สร้าง ความหลากหลายของระบบราก เมือ่ ฝนตกลงมาระบบรากจะช่วยอุ้มน้าไว้ในดิน

3. เก็บไว้ในนา : ยกคันนาให้สูงและกว้าง สามารถเก็บน้าไว้ใช้ในช่วง ฝนทิ้งช่วง นอกจากน้ีเรายัง
สามารถปลกู พชื ผักไว้บนคันนาได้อกี ดว้ ย

ตัวอย่ำงแบบ

วิทยากรให้ผเู้ ข้าอบรมฝกึ การเขยี นแบบอยา่ งง่ายในกระดาษ A 4 เพอ่ื สรา้ งความกล้าในการเขียน
แบบเพอื่ ใช้สือ่ สารกับชา่ งขดุ ในพน้ื ที่ มขี ั้นตอน ดังนี้
1. วางกระดาษเปน็ แนวต้งั ขีดเส้นตรงเปน็ แนวนอน จานวน 1 เสน้ ไวด้ า้ นบนของขอบกระดาษ
2. วาดรปู คนอย่างง่ายไว้บนเส้นตรงทขี่ ดี ไว้ (คนหมายถึงเจ้าของแปลง) พรอ้ มทง้ั เขยี นชอ่ื เล่น อาหารที่ชอบ
ผลไม้ท่ชี อบ ผกั ทีช่ อบ และกจิ กรรมท่ีตนเองอยากทาในพืน้ ท่ี เช่น กจิ กรรมตกปลา กิจกรรมวง่ิ เป็นต้น
3. เขยี นรูปสเ่ี หลีย่ มผนื ผา้ ไวด้ ้านขวาของกระดาษ และแบง่ พน้ื ที่ในกรอบสเ่ี หลีย่ มดว้ ยเส้นประเปน็ 6 ส่วน
และออกแบบถนนไว้ส่วนใดก็ได้ และเขยี นสัญลกั ษณข์ องบ้าน โดยมีกาหนดเป็น 1 ส่วน และเขียนทางเข้าบ้าน
เชอื่ มกับถนน และเขียนหนองนา้ ท่ดี ีตอ้ งมีความโค้ง โคก ใหเ้ ขยี นแบบมีความโคง้ เวา้ กาหนดใหพ้ น้ื ท่ีโคก
กาหนดให้เป็น 2 สว่ น และนากาหนดเป็น 1 สว่ น
5. แปลงผักกาหนดให้เป็นรปู วงรี 3 วงกาหนดเป็นครง่ึ สว่ น จะวางไวต้ รงไหนของพนื้ ทกี่ ็ได้
6. หากชา่ งอ่านแบบเราไม่ออก เราตอ้ งเขยี นอธิบายรายละเอียดแต่ละส่วน โดยใชเ้ ส้นตรงโยงอธบิ ายพน้ื ที่
ส่วนนั้น ๆ

๕๕

วิทยากรให้ผู้เขา้ อบรมออกมานาเสนอ โดยใชว้ ธิ ีการสุ่มผอู้ อกมานาเสนอ

วิทยากรบรรยายเกย่ี วกับหลกั การออกแบบ “โคก หนอง นา โมเดล เบ้ืองตน้ ”
เน่ืองจากสภาพภูมิประเทศของไทย ภาคเหนือมีป่าเยอะทาให้มีแหล่งต้นน้าท่ีสาคัญ เม่ือฝนตกลงมา
จะทาใหม้ ีตะกอน (โคก) น้าไหลลงมาสูท่ ี่ราบภาคคกลาง ทาให้ภาคกลางเป็นแหลง่ ปลูกขา้ วท่ีอดุ มสมบูรณ์ (นา)
และไหลลงสู่อ่าวไทย เป็นแหล่งอนุบาลสัตว์น้าต่าง ๆ (หนอง) จากโมเดลเป็นแนวคิดระบบนิเวศธรรมชาติ ท่ี
เรยี กว่า “จากภูผา สมู่ หานที” ในพื้นที่จึงจาเป็นตอ้ งมโี คก หนอง และนา
ข้นั ตอน/ กระบวนการ ในการพฒั นาพ้ืนที่ มีดังนี้
1. การศึกษาเร่ืองทฤษฎีต่าง ๆ และองค์ความรู้เก่ียวกับกสิกรรมธรรมชาติ เช่น การห่มดิน แห้งชาม น้าชาม
และหลกั การพ่ึงตนเองแบบเศรษฐกจิ พอเพียง
2. การออกแบบพนื้ ท่ีตามความต้องการของเจ้าของแปลง เพือ่ เอาแบบไปสอื่ สารในการขดุ
3. การปรับพื้นทต่ี ามความต้องการของเจ้าของแปลง
4. การปลูกพชื ตามหลกั กสกิ รรม
ขัน้ ตอนการออกแบบ
1. ต้งั โจทย์ สารวจความตอ้ งการของตนเอง
2. วิเคราะหพ์ ้ืนท่ี เช่น สภาพปัญหาของพนื้ ท่ี
3. นาขอ้ มลู จากการต้งั โจทย์และการวิเคราะหพ์ น้ื ที่ เพ่อื มาพฒั นาแบบ
4. ออกแบบให้มรี ายละเอียดมากขนึ้ ในการพฒั นาแบบเพอ่ื การสอ่ื สารต่อ
เปา้ หมายในการออกแบบพ้นื ท่ี
1. การกักเก็บน้า คือ ต้องมีหนองเก็บน้าขนาดใหญ่ คันนาทองคา คูคลองไส้ไก่ และการกักเก็บน้าในโคก ท่ีมี
ปา่ 5 ระดับ
2. ฟ้นื ฟรู ะบบนเิ วศ คอื ตอ้ งมหี นองบาบัดนา้ เสยี หรอื ระบบบาบัดน้าเสยี
3. สร้างรายได้ คือ ต้องการขยายผลผลิตทางการเกษตร เช่น มีแปลงเกษตร แปลงผักสมุนไพร หัวคันนา
ทองคา สง่ ผลให้มกี ารแปรรปู ผลผลติ และเกิดการพฒั นาเปน็ แหลง่ ท่องเที่ยว
4. ศูนยก์ ารเรียนรู้ คือ มฐี านเรยี นรู้ เชน่ ฐานเรียนร้กู สิกรรม คนรักษป์ ่า คนมนี า้ ยา คนรกั ษแ์ มธ่ รณี
ท้ังน้ี การออกแบบพ้ืนที่ โคก หนอง นา จะแบง่ ออกเปน็ 2 เร่อื งหลัก คอื ขนาด และตาแหนง่
ซึ่งขนาด มคี วามเกยี่ วข้องกบั ปริมาณน้าฝน และตาแหนง่ จะเกยี่ วข้องกบั ปัจจยั ดา้ น ดนิ น้า ลม ไฟ คน

๕๖

วทิ ยากรยกตัวอย่างเรอ่ื งการคานวณการกักเก็บนา้ ในพืน้ ทโ่ี คก หนอง นา ดงั ภาพ

สรปุ ผลกำรเรยี นรู้
พบว่า ผู้เข้าอบรมสนใจ ต้ังใจ และมีส่วนร่วมในกระบวนสอนของวิทยากร เนื่องจากพื้นฐาน

การออกแบบพืน้ ท่ีเป็นองค์ความรใู้ หมข่ องผู้เข้าอบรม ทั้งนี้ สามารถสร้างความเขา้ ใจที่ถูกตอ้ งใหก้ บั ผเู้ ขา้ อบรม
เก่ียวกับหลักการพื้นฐานของการเขียนแบบ ตลอดจนสามารถนาไปต่อยอด สื่อสารกับกลุ่มเป้าหมาย HLM ,
CLM ในพน้ื ท่ีเพือ่ สร้างความเข้าใจทต่ี รงกันได้

๕๗

13. หวั ขอ้ วิชำ : ฝึกปฏบิ ัตกิ ำร สร้ำงหุ่นจำลอง (กระบะทรำย) กำรจัดกำรพ้ืนที่ตำมหลักทฤษฎีใหม่
ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นำ โมเดล” / นำเสนอผลงำน

วทิ ยำกรหลัก 1. ผศ.พเิ ชฐ โสวิทยสกลุ อาจารย์คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอม
เกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) ที่ปรึกษาอธิบดกี รมการพัฒนาชมุ ชน

2. รศ.วรวรรณ โรจนไพบูลย์ อาจารยค์ ณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอม
เกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) ท่ปี รึกษาอธิบดีกรมการพัฒนาชมุ ชน

3. นายนภทั รพนั ธ์ เฟอื่ งฟู
4. นายอชิร ก่อแก้ว
5. นางสาวญานกิ า เวชมณีกร

1) วัตถปุ ระสงค์
1.1 เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในการจัดการพื้นที่เชิงภูมิสังคมไทย

ตามหลกั การพฒั นาภมู ิสังคมอยา่ งยงั่ ยืน ตามหลกั การออกแบบ “โคก หนองนา โมเดล”
1.2 เพ่ือใหผ้ ูเ้ ขา้ อบรมฝึกปฏบิ ตั ิ workshop ออกแบบพืน้ ทใี่ นรูปแบบ 2 มิติ และ 3 มิติ

2) ประเด็นเน้อื หำ
2.1 หลักคิดพนื้ ฐานการออกแบบตามหลกั ภูมิสังคม (Geosocial)
2.2 การคานวณการจัดการน้าฝนในพืน้ ที่
2.3 แนวคดิ การออกแบบและฝกึ ปฏิบัตกิ ารเขียนแบบตามหลกั “โคก หนอง นา” เพ่อื การใช้
พ้ืนท่ใี ห้เกิดประโยชนส์ งู สดุ

3) ระยะเวลำ 5 ชัว่ โมง

4) วธิ กี ำร/เทคนิค
4.1. วทิ ยากรบรรยายใหค้ วามรู้ โดยใชส้ ือ่ Power Point ประกอบการบรรยาย
4.2. มอบหมายโจทย์สาหรบั ฝึกปฏิบัติ workshop จัดทาผลงานออกแบบพืน้ ทใ่ี นกระบะไม้

และนาเสนอผลงาน

5) วัสดุ / อุปกรณ์
1. ส่ือ Power Point
2. คอมพวิ เตอร์ เครื่องฉายโปรเจคเตอร์
3. กระดาษฟลิปชารต์ / ปากกาเคมี
4. กระบะไม้ / ดินปลกู บัว

6) ขน้ั ตอน / วิธีกำร
วิทยากรบรรยายเกี่ยวกับการคานวณน้าเพ่ือการกักเก็บน้าฝนในการออกแบบพ้ืนท่ี โดยหลักการมี

ปัจจัยหลักที่สาคัญของการออกแบบพื้นท่ี ภูมิ คือ สภาพทางกายภาพ เช่น สภาพดิน น้า ลม ไฟ สังคม

๕๘

วัฒนธรรม ความเชื่อ ภูมิปัญญาดั้งเดิมท่ีอยู่ในพื้นท่ีน้ัน ซ่ึงในการออกแบบจะให้ความสาคัญกับ “สังคม”
มากกว่า “ภูมิ” คือต้องออกแบบตามสังคมและวัฒนธรรมของคนที่อยู่ แม้ว่าภูมิประเทศจะเหมือนกันก็ตาม
หาก สังคมตา่ งกนั การออกแบบกจ็ ะต่างกนั ออกไปมหี ลักพจิ ารณา ดงั น้ี

1. ปรมิ าณน้าฝนท่ีตกเฉลี่ยในพื้นท่ี
2. ความสงู ตา่ ของพน้ื ทีแ่ ละทิศทางการไหลของน้าในแปลง
3. การวางองคป์ ระกอบของพนื้ ท่ี

- ดิน การออกแบบพื้นท่ีควรคานึงถึงสภาพปัญหาของดินและลักษณะของดิน ความอุ้มน้า
ของดิน ดินทราย ดินเหนียว เพื่อวางแผนการขุดหนองน้าและการปรับปรุงดินให้เหมาะสม โดยใช้หลักการ
ฟ้นื ฟูดิน ไมเ่ ปลือยดิน เตมิ ปุย๋ อินทรยี ์แบบแห้งและน้า หลงั การห่มดินด้วยฟาง ใบไม้

- นา้ การออกแบบพ้นื ทคี่ วรคานึงถงึ ทศิ ทางการไหลของนา้ เขา้ และออกจากพื้นท่ี ขุดหนองให้
มีความคดเคีย้ วเพือ่ เพ่มิ พื้นทีเ่ พาะปลูกพืชขอบริมหนอง และการทาตะพกั น้า

- ลม การออกแบบพนื้ ทค่ี วรคานงึ ถงึ ทศิ ทางลม ลมในพ้ืนที่พัดเขา้ มาทางไหน ทง้ั ลมร้อนและ
ลมฝน ตามหลักของลมน้ัน ลมฝนจะพัดมาทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ และลมหนาวพัดมาทางทิศ
ตะวันออกเฉียงเหนือ

วทิ ยากรมอบโจทย์ใหก้ บั ผเู้ ขา้ อบรมเปน็ กลมุ่ สี โดยแบง่ ออกเป็น 5 กลุ่ม (สีน้าเงนิ ชมพู แดง เหลือง และ
สเี ขยี ว) เพอื่ ใหอ้ อกแบบพืน้ ท่ีแบบ 2 มิติ ในกระดาษฟลปิ ชาร์ท แลว้ นาไปสรา้ งแบบจาลองในกระบะไม้ แบบ
3 มิติ ท้ังนเ้ี ม่อื ออกแบบเรียบรอ้ ยแลว้ ผูเ้ ข้าอบรมจะต้องนาเสนอผลงาน พร้อมอธิบายการคานวณน้าด้วย
โดยวิทยากรจะเปน็ ผู้เติมเตม็ ให้กับผ้เู ข้าอบรมแต่ละกล่มุ

๕๙

โจทย์

กิจกรรมทกี่ าหนดในการออกแบบพนื้ ที่

๖๐

ภาพการออกแบบของทงั้ 5 กลุ่ม

สรุปผลกำรเรยี นรู้
ผู้เข้าอบรมได้นาความรู้พ้ืนฐานเกี่ยวกับหลักการออกแบบพ้ืนที่ “โคก หนอง นา โมเดล” มาฝึก

ปฏิบัติจริง ทาให้เกิดความเข้าใจมากขึ้น และเกิดการแลกเปล่ียนเรียนรู้ระหว่างผู้เข้าอบรมในการออกแบบ
เพ่ือสรา้ งหนุ่ จาลองในกระบะทราย ทาให้บรรยากาศในกิจกรรมเป็นไปด้วยความสนุกสนาน เกิดความสามัคคี
ช่วยเหลอื แบง่ งานกันทา เพื่อให้การสรา้ งแบบในกระบะทรายเป็นไปตามหลักของการออกแบบเพอื่ การจดั การ
พื้นที่ใหใ้ ช้ประโยชน์ได้สงู สุด

๖๑

14. หวั ขอ้ วชิ ำ : Team building ฝึกปฏิบตั ิกำรบรหิ ำรจัดกำรในภำวะวกิ ฤต “หำอยู่ หำกิน”

วิทยำกรหลัก นางสาวภทั ธญิ า ติกจนิ า นักทรัพยากรบุคคล

1) วตั ถุประสงค์
1.1 เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเข้าใจการพึ่งตนเองและการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัดให้

เกิดประโยชนส์ งู สุดในการดารงชีวิต
1.2 เพอ่ื ใหผ้ ้เู ข้ารบั การฝกึ อบรมรจู้ ักการดารงชวี ติ ในภาวะวกิ ฤต/การประสบภัยพิบัติ
1.3 เพ่ือใหผ้ ู้เขา้ รับการฝึกอบรมรจู้ กั การวางแผนการทางานเปน็ ทีม ไดฝ้ ึกวนิ ยั และคณุ ธรรม
1.4 การพ่งึ พาตนเอง และการใช้ทรพั ยากรธรรมชาตทิ ่ีมีอยู่อยา่ งจากัดใหเ้ กดิ ประโยชน์สูงสุด
1.5 เพอื่ เสริมสรา้ งปฏิสมั พนั ธ์ การทางานเป็นทมี

2) ประเด็นเน้อื หำ
2.1 การทากิจกรรมแบบพึ่งตนเอง และใช้ทรัพยากรท่ีมีอย่างจากัดให้เกิดประโยชน์สูงสุด

ดารงชวี ิตในภาวะวิกฤต/การประสบภยั พบิ ตั ิ,วางแผนการทางานเป็นทมี ฝึกวนิ ยั และคณุ ธรรม
2.2 การดารงชวี ิตในภาวะวกิ ฤต/การประสบภยั พิบตั ิ
2.3 รจู้ ักการวางแผนการทางานเปน็ ทีม ไดฝ้ กึ วินัยและคุณธรรม
2.4 ความหมาย/เปา้ หมาย/รูปแบบ/ความสาคัญ Team Building
2.5 กติกาการทากิจกรรม
2.6 สภาพพน้ื ทีใ่ นการดาเนินกจิ กรรม
2.7 การสรุปบทเรียน

3) ระยะเวลำ
6 ชว่ั โมง

4) วิธกี ำร/เทคนคิ
4.1 ลกั ษณะการฝกึ อบรมแบบ work shop
4.2 ช้ีแจงกฎกตกิ า
4.3 แบง่ กลุ่ม
4.4 สรุปบทเรยี น

5) วัสดุ / อุปกรณ์
1. อุปกรณ์เครือ่ งครัวทงั้ 5 กลมุ่
2. อปุ กรณร์ อ้ งราทาเพลง
3. เครอ่ื งปรงุ อาหาร เช่น น้าปลา กะปี พริก เกลือ และวตั ถดุ บิ ทาอาหาร เชน่ ไก่ หมู ปลา

ไข่ไก่
4. อปุ กรณร์ บั ประทานอาหาร เชน่ ถ้วย ชอ้ น จาน ให้เพยี งพอทกุ คน
5. ไม้ขดี 5 กลอ่ งๆ ละ 1 ก้าน
6. ถา่ นทาครัว

๖๒

7. ขา้ วสาร
8. อุปกรณท์ าความสะอาดเครื่องครวั เช่น น้ายาลา้ งจาน ฟองน้า กะละมงั

6) ขน้ั ตอน / วิธีกำร

1. ทีมวิทยากรจัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ เคร่ืองครวั และวัตถุดิบต่าง ๆ
2. วทิ ยากรชแ้ี จง กฎ กตกิ า พรอ้ มดว้ ยอธบิ ายแผนผังในการหาวัตถดุ บิ (ชีแ้ จงว่าพื้นทไ่ี หนอนญุ าต
ตรงไหนไมอ่ นญุ าต)
3. มอบเช้อื เพลงิ ในการจุดไฟให้กับทกุ กลุ่มๆ ละ 1 กล่องๆ ละ 1 ก้าน (ไมข้ ีด ๑ กา้ นตอ่ ๑ กลุ่ม)
4. มอบอุปกรณ์เครื่องครวั เพื่อเป็นอปุ กรณ์ในการประกอบอาหาร เชน่ ถว้ ย ชาม ช้อน กระทะ หม้อ
ฯลฯ
5. มอบวตั ถุประกอบอาหาร ได้แก่ ข้าวสาร 1 กิโลกรัม ไข่ไก่ 5 ฟอง
6. หากผู้เข้าฝึกอบรมต้องการเครอ่ื งปรุงและวัตถุดบิ เพ่มิ เตมิ ให้ผู้เข้ารบั การฝกึ อบรมแสดง
ความสามารถเพือ่ แลกวตั ถุดิบ (กศุ โลบาย: มีเงินก็ซอื้ ไมไ่ ด้ ตอ้ งนาความสามารถมาแลกเพื่อใหม้ าซ่งึ ของที่
เราตอ้ งการ)
7. ลงมอื ประกอบอาหารร่วมกัน และหลงั จากทาอาหารเสร้จสิ้นใหเ้ กบ็ กวาด ทาความสะอาด อุปกรณ์
และพน้ื ทใ่ี หเ้ รียบร้อย
8. เลอื กตัวแทนแต่ละกลุม่ เปน็ กรรมการ ตรวจให้คะแนนอาหาร (รสชาติ คุณภาพ ความเหมาะสม
การนาทรพั ยากร/วัตถุดิบมาใช้ประกอบอาหารอย่างค้มุ คา่ การอธบิ ายสรรพคณุ ของวัตถดุ ิบแต่ละอยา่ ง กลมุ่
ละ 5 นาที
9. รบั ประทานอาหารพร้อมกนั
10. วิทยากรสรุปส่ิงทีไดจ้ ากการเรียนร้สู ่งิ ท่ีไดจ้ ากกจิ กรรมนี้ ผ่านเวทีล้อมวงชวนคยุ ในประเด็น
คาถาม ดงั ตอ่ ไปนี้

คำถำมที่ 1 : ทำ่ นเหน็ อะไร ? จำกกำรเขำ้ ร่วมกิจกรรมนี้
คาตอบ : ผอู้ บรมได้เรียนรู้จักความสามัคคี การรว่ มแรงร่วมใจในการทางาน การ
เอ้ือเฟอื้ เผ่ือแผซ่ ่ึงกนั และกันในสถานการณ์ที่วิกฤต

: เห็นถงึ ภาพการฉวยโอกาสของผปู้ ระกอบการ (ตลาด) การเป็นโจรลักขโมยของ
การกลั่นแกล้งจากวิทยากรเพื่อให้เห็นถึงความยากลาบาก ทาให้ตอ้ งปรบั ตวั ให้ทนั กบั สถานการณ์ท่ีวิกฤต

: มีเงินทองก็ซื้อของไมไ่ ดใ้ นยามวิกฤต
: เกดิ การคน้ หาศกั ยภาพในการทาอาหาร (แม่ครวั ที่มีฝีมือ/เมนทู ่ถี กู รังสรรคข์ ้ึน
ใหม่/เทคนิควิธีการหงุ ข้าวในรปู แบบใหม่)
คำถำมที่ 2 : ทำ่ นไดใ้ ช้ประโยชนจ์ ำกพนื้ ที่ในกำรเข้ำร่วมกิจกรรมน้ีอยำ่ งไรบำ้ ง?
คาตอบ : ผู้อบรมสามารถใชป้ ระโยชนจ์ ากการหาอยู่หากนิ ในฐานการเรยี นรู้ พน้ื ที่ 30
ตารางวา ฐานการเรยี นรูเ้ สวยี นยังชีพ เปน็ ต้น ทาใหไ้ ด้เรยี นรู้ถงึ การใช้ทรัพยากรในพื้นท่ีทีม่ อี ยอู่ ยา่ งจากดั ให้
เกดิ ประสิทธภิ าพสูงสดุ
คำถำมท่ี 3 : ทำ่ นได้อะไร ? จำกกำรเข้ำร่วมกิจกรรมน้ี
คาตอบ : ผอู้ บรมได้รับประสบการณ์ใหม่ทไ่ี ม่เคยได้ทดลองทามาก่อนผ่านกิจกรรม เชน่
การแสดงความสามารถต่าง ๆ เพอ่ื แลกกับวตั ถุดิบในการปรงุ อาหาร ได้เรียนรูท้ ักษะการเจรจาตอ่ รอง ไดเ้ หน็
มติ รภาพระหว่างกล่มุ สที มี่ คี วามเอือ้ เฟ้อื เผอ่ื แผก่ ัน มีความเห็นอกเหน็ ใจซ่ึงกนั และกัน มีการยอมรบั ฟังความ
คดิ เหน็ ซึง่ กนั และกนั ในระหวา่ งดาเนินกจิ กรรม ไดเ้ รยี นรถู้ งึ การบรหิ ารจดั การด้านทรัพยากรท่ีมีอยู่ให้เกิด

๖๓

ประโยชน์สูงสุด ดา้ นทรพั ยากรมนษุ ย์ (ใช้คนให้เหมาะสมกบั งานและตามความถนัด) การบรหิ ารจัดการทมี งาน
ผา่ นการทางานเป็นทมี

คำถำมท่ี 4 : ทำ่ นมีกำรวำงแผนหรอื บรหิ ำรจดั กำรอยำ่ งไร? เพอื่ ใหท้ นั ตำมเวลำท่กี ำหนด
คาตอบ : ผู้อบรมมีการแบง่ บทบาทหน้าท่กี ันทาตามความสมคั รใจและตามความถนัดของ
แต่ละบุคคล เชน่ มพี ่อครวั แม่ครวั มีผ้ชู ่วยประกอบอาหาร มที ีมเก็บผกั มีทมี ดาวเต้นดาวยว่ั ไปแสดง
ความสามารถเพ่อื แลกวตั ถุดบิ ในการประกอบอาหาร มผี ูน้ าที่คอยบญั ชาการใหก้ ิจกรรมสาเรจ็ ลลุ ่วงไปด้วยดี
คำถำมที่ 5 : ท่ำนประทับใจอะไร ? จำกกำรเข้ำรว่ มกิจกรรมนี้
คาตอบ : ผู้อบรมมีความประทับใจในการได้ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านการทากิจกรรม
เชน่
ได้เห็นภาพผู้อบรมฝ่ายหญิงเปน็ ผู้หาวตั ถุดิบ และเห็นผู้อบรมฝ่ายชายเป็นผู้ประกอบอาหาร ได้รับองค์ความรู้
ใหม่ ๆ เก่ียวกับการประกอบอาหาร (หากทุกคนช่วยกัน วิชาหรือองค์ความรู้จะเกิดขึ้นทันที) ประทับใจใน
ความรู้รักสามัคคี การช่วยกันวางแผนงาน ของสมาชิกภายในกลุ่มสี ได้เรียนรู้ประสบการณ์ใหม่ ๆ ผ่าน
การทาอาหารจากเดมิ ท่ไี ม่เคยทามากอ่ น ประทบั ใจในการเปน็ ภาวะผ้นู าและภาวะผูต้ ามท่ดี ี
สรปุ บทเรียนของกจิ กรรม
สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงของโลกในด้านภัยธรรมชาติที่มีความรุนแรงข้ึนทุกวนั ทาให้ได้
เรียนรู้ถึงการพงึ่ พาตนเองในยามวิกฤต ผ่านการจาลองสถานการณ์ดังกล่าว เราในฐานะกรมการพฒั นาชุมชน
จาเป็นต้องตระหนักในบทบาทหน้าที่ในการเป็นศูนย์พ่ึงพิง มีการสร้างภูมิคุ้มกัน มีการสร้างความม่ันคง
ทางดา้ นอาหาร สร้างความรู้ความเข้าใจและสร้างการรับรู้ที่ดีให้กบั ประชาชน เพือ่ ให้สามารถปฏิบตั ิตนในการ
รองรับภัยพิบัติ พร้อมต้ังรับ ตั้งสติ มีการวางแผนท่ีดีเพ่ือแก้ไขปัญหาในสถานการณ์ท่ีไม่คาดคิด ซ่ึงอาจจะ
เกิดขึน้ ได้ในอนาคต
สรุปผลกำรเรียนรู้
พบว่า ผู้เข้าอบรมส่วนใหญ่มีความสนใจในกระบวนการของกิจกรรม บรรยากาศการทากิจกรรม
เปน็ ไปดว้ ยความสนุกสนาน ฝกึ การหาอยู่ หากนิ ให้ใช้ชีวติ อย่ไู ดใ้ นภาวะวิกฤตด้วยหลกั กสิกรรมธรรมชาติ หา
ส่งิ ท่อี ย่รู อบตัว กนิ อยา่ งประหยดั พร้อมรับภัยพิบัตทิ ีเ่ กิดขน้ึ ทาให้ผูเ้ ขา้ อบรมเกิดความสามคั คีในหมูค่ ณะ รู้จัก
การแบ่งปันซึ่งกันและกัน รู้จักการวางแผนการทางานเป็นทีม ได้ฝึกวินัยและคุณธรรม รู้จักการพ่ึงพาตนเอง
และการใช้ทรพั ยากรธรรมชาติ ที่มีอยู่อย่างจากัดใหเ้ กิดประโยชน์สูงสุด ตลอดจนผู้เข้าอบรมได้นาทักษะภูมิ
ปญั ญาไทยมาใช้ในกิจกรรม เช่น การหงุ ข้าวแบบวธิ เี ช็ดนา้ แบบคนสมยั กอ่ นในชนบท ทาใหผ้ ู้เขา้ อบรมเรียนรู้
ภูมปิ ัญญาการเอาตัวรอด ตลอดจนตระหนักและเห็นความสาคญั ของการมีแหลง่ อาหารอยู่ในพน้ื ท่ี

๖๔

15. กำรขับเคลอื่ นศำสตรพ์ ระรำชำ กลไก 357 การขับเคลื่อนสบื สานศาสตรพ์ ระราชา กลไก ๓๕๗

วทิ ยำกรหลัก 1. ผศ.พเิ ชฐ โสวิทยสกุล อาจารย์คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบนั เทคโนโลยีพระจอม
เกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) ทีป่ รกึ ษาอธิบดีกรมการพฒั นาชมุ ชน

2. รศ.วรวรรณ โรจนไพบลู ย์ อาจารยค์ ณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอม
เกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบงั (สจล.) ทีป่ รึกษาอธิบดกี รมการพัฒนาชุมชน

1) วัตถุประสงค์
๑. เพื่อให้ผู้เข้ารับการประชุมได้รับทราบ ตระหนักรู้และเข้าใจความหมายท่ีแท้จริงของ

การขบั เคลือ่ นศาสตร์พระราชา ดว้ ยหลกั กลไก ๓๕๗
๒. เพ่ือให้ผู้เข้ารับการประชุมได้มองเห็นถึงการเชื่อมโยงการขับเคล่ือนศาสตร์พระราชาดว้ ย

หลกั กลไก ๓๕๗ กับการขับเคลอ่ื นงานกรมการพฒั นาชมุ ชน
2) ประเดน็ เนื้อหำ

๑. กลไกการขับเคลอื่ นศาสตรพ์ ระราชา กลไก ๓๕๗
๒. ปรชั ญา ๓ ระบบ
๓. ทฤษฎใี หม่กว่า ๔๐ ทฤษฎีตามศาสตรพ์ ระราชา
๔. แนวทางในการปฏิบตั ิในการใช้ชวี ติ ในการทางานตามศาสตร์พระราชา
๕. นวตั กรรม เคลด็ วิชากว่า ๔๘,๐๐๐ นวตั กรรม
๖. การบริหารแบบคนจน การทางานแบบคนจน
3) ระยะเวลำ
จานวน ๑ ชัว่ โมง

4) เทคนิค / วิธกี ำร
๑. บรรยาย
๒. ตงั้ คาถามเพอ่ื การแลกเปลีย่ นประสบการณ์
๓. เตมิ เต็มใหข้ ้อคิด และข้อเสนอแนะ

5) วัสด/ุ อุปกรณ์
- สือ่ วิดที ัศน์
- บทความ
- กรณีศกึ ษา
- PPT
- คอมพิวเตอร์ เคร่อื งฉาย และจอภาพ
- บอรด์ ,ปากกา

๖๕

6) ข้ันตอน / วิธกี ำร
วทิ ยากรแนะนาตวั และกล่าวถึงประเด็นเน้ือหาของวิชา

เนอ้ื หาวชิ ากลไกการขับเคลื่อนสืบสานศาสตร์พระราชากลไก 357 สรปุ ได้ ดังนี้
จากพระราชประสงค์ของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดศี รีสินทรมหาวชิราลงกรณ

พระวชริ เกล้าเจ้าอยู่หวั ในหลวงรัชกาลท่ี 10 ในการสืบสานต่อยอดศาสตร์พระราชา เพ่อื สร้างความอยู่ดีมีสุข
แก่ประชาชน พระองค์ทรงเริ่มต้นด้วยการปลุกจิตอาสาที่มีอยู่ในใจของคนไทยทุกคน มาเป็นแรงขับเคลื่อน
ซ่ึงการท่ีทุกคนจะร่วมกันขับเคล่ือนสืบสานศาสตร์พระราชาเพ่ือให้บรรลุเป้าหมายความย่ังยืนนั้น จะต้องมี
วิธีการคิดแบบองค์รวม ทาอย่างเป็นระบบ ขับเคล่ือนการดาเนินงานไปพร้อม ๆ กันอย่างเป็นแบบแผน
ไม่แตกแยกไปคนละทิศทาง

“สืบสานศาสตรพ์ ระราชา” พระราชประสงค์ของในหลวงรชั กาลท่ี 10
“เราจะสืบสาน รักษา และต่อยอด และครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุข
แหง่ อาณาราษฎรตลอดไป” พระปฐมบรมราชโองการของในหลวงรชั กาลท่ี 10 วนั ท่ี 4 พฤษภาคม 2562
โดยความหมายของคาว่า สืบสาน รักษา และต่อยอด ในที่นีค้ อื การสบื สานศาสตร์พระราชา
รกั ษาภูมปิ ญั ญาของบรรพบุรุษ และต่อยอดนวตั กรรมและเทคโนโลยที ่เี หมาะสมกับภูมสิ ังคม นั่นเอง

จากที่ได้กล่าวมา ด้วยพระปรีชาสามารถและสายพระเนตรอันกว้างไกลของ
กษัตริย์นักบินพระองค์น้ี จึงทรงมีพระราชประสงค์ให้มีการฝึกจิตอาสา 904 หลักสูตรหลักประจา “เป็นเบ้า
เป็นแม่พิมพ์” ท่ีมีการประยุกต์แนวพระราชดาริเกษตรทฤษฎีใหม่เพ่ือพึ่งพาตนเองและรองรับภัยพิบัติ
โดยมีระยะเวลาการฝึก 50 วัน มีผู้เข้ารับการฝึกรุ่นละประมาณ 500 คน ซึ่งการฝึกจิตอาสา 904
ใน 3 รุ่นแรก ได้ใช้พื้นท่ีฝึกท่ีศูนย์กสิกรรมธรรมชาติมาบเอื้อง อาเภอบ้านบึง จังหวัดชลบุรี มีการจาลอง
การใช้ชีวิตในโลกอนาคตซึ่งมนุษยชาติอาจจะต้องเผชิญกับสภาพอากาศที่แปรปรวน เกิดภัยพิบัติต่าง ๆ
ผู้เข้ารับการฝึกจึงต้องเรียนรู้การใช้ชีวิตให้พร้อมรับมือกับความเสี่ยงในโลกอนาคตเหล่านั้น เช่น ได้มี
การปรับพ้ืนที่สาหรับการดารงชีวิต มีการกักเก็บน้าฝนอย่างเป็นระบบ อาหารการกินท่ีได้มาจากปลาท่ีเล้ียง
และพืชพรรณธัญญาหารท่ีปลูกเอง จึงทาให้ไม่มีต้นทุนทางอาหาร ซ่ึงองค์ความรู้เหล่านี้เป็นส่ิงท่ี
ในหลวง รัชกาลท่ี 9 ทรงสอนพวกเรามาเปน็ เวลาช้านานแล้ว เปน็ ภูมปิ ญั ญาบรรพบุรษุ แตเ่ หตใุ ดเราจงึ ไม่เชื่อ
เราไม่เคยสนใจเพราะคนไทยไม่เชื่อคนไทยดว้ ยกนั เอง

๖๖

ในส่วนพ้ืนท่ีฝึกก็มีการ
ขยายเพ่มิ ขึ้นเรอื่ ย ๆ เชน่ กนั จาก 10 ไร่
เป็น 30 ไร่ 40 ไร่ จนปัจจุบันเป็นพื้นท่ี
เกือบ 200 ไร่ ผู้ที่เข้ารับการฝึกมีหลาย
ช่วงวัยท่ีมาจากต่างสาขาอาชีพ ท้ังทหาร
ระดับพลเอก นักเรียนนายร้อย พยาบาล
อธิการบดี คณบดี ข้าราชการ นิสิต
นักศกึ ษา ฯลฯ ทงั้ นี้ในหลวงรัชกาลที่ 10
ทรงมุง่ เนน้ ไปทกี่ ลุ่มเยาวชนเป็นหลัก ทรง
เล็งเห็นว่าการที่จะสืบสานงานของพระ
ราชบิดาให้ย่ังยืนนับร้อยนับพันปี จาเป็น
อยา่ งยิ่งทจ่ี ะต้องวางรากฐานเข้าไปในระบบโครงสร้างของสังคมโดยเฉพาะอยา่ งย่ิงโครงสร้างทางการศกึ ษา

3 ระดับ 5 กลไก 7 ภาค’ี กุญแจสาคัญของการขับเคลอื่ นสบื สานศาสตร์พระราชา
หลักการขับเคล่ือนสืบสานศาสตร์พระราชาให้ยั่งยืน ซึ่งเป็นการพัฒนาท่ีมีประชาชน
เป็นแกนกลาง และภาคีอื่น ๆ ร่วมบูรณาการเพ่ือเสริมกลไกเดิมของภาครัฐที่มีอยู่ เป็นการขับเคลื่อนในพนื้ ที่
3 ระดับ เป็นอย่างน้อย คือ ระดับชุมชนหรือลุ่มน้า ระดับจังหวัดหรือภูมิภาค และระดับชาติ ภายใต้
การมีส่วนร่วมของ 5 กลไก ที่จะช่วยหนุนเสริมงานขับเคลื่อนสืบสานศาสตร์พระราชา ประกอบด้วย
กลไกการประสานงานภาคีเครือข่าย กลไกแผนงานและยุทธศาสตร์เชิงบูรณาการ กลไกการติดตาม
และประเมินผล กลไกการจดั การความรู้ อนั เปน็ องค์ความรู้ท่ไี ด้จากการปฏิบัติท่ีต้องนามาจัดทาเป็นตาราหรือ
คู่มือเฉพาะในแต่ละพ้ืนที่ และกลไกการส่ือสารสังคมให้รับรู้ ร่วมด้วย การบูรณาการของ 7 ภาคี คือ ภาครัฐ
ที่ให้การสนับสนุนด้านงบประมาณ กฎหมาย รวมถึงเคร่ืองมือต่าง ๆ ภาควิชาการและสถาบันการศึกษา
ภาคศาสนา ภาคประชาชน ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม และภาคสอื่ มวลชน
ระบบ 3-5-7 นี้ จะช่วยหนุนเสริมให้การขับเคลื่อนสืบสานศาสตร์พระราชาบรรลุ
เป้าหมายความย่ังยืนของโลกได้ทั้ง 17 ข้อ ซึ่งในความเป็นจริงแล้ว แม้สิ่งท่ีในหลวงรัชกาลที่ 9 ได้ทรงปฏบิ ตั ิ
พระราชกรณียกิจมาตลอดระยะเวลา 70 ปีของการครองราชย์ จะทาให้บรรลุเป้าหมายความยั่งยืนได้
เกือบครบทั้ง 17 ข้อแล้ว แต่พระองค์ทรงเน้นท่ีข้อ 2 เป็นหลัก ในเรื่องการขจัดความอดอยากและสร้าง
ความมนั่ คงทางอาหาร ซงึ่ ครง้ั หน่งึ เคยมีส่อื ต่างชาติมาขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตสัมภาษณพ์ ระองค์
ว่าทรงกาลังสู้รบกับระบบคอมมิวนิสต์อยู่หรือ พระองค์พระราชทานสัมภาษณ์กลับไปว่าทรงกาลังสู้รบอยูก่ บั
ความอดอยาก ความหิวโหยของประชาชนภายในชาติ

๖๗

16. วิชำจดั ทำแผนปฏิบัติกำร “ ยุทธศำสตร์กำรขบั เคลอื่ นปรชั ญำของเศรษฐกจิ พอเพยี ง” และนำเสนอ

วทิ ยำกรหลกั 1. ผศ.พเิ ชฐ โสวทิ ยสกลุ อาจารย์คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยพี ระจอม
เกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบงั (สจล.) ทปี่ รึกษาอธิบดีกรมการพฒั นาชุมชน

2. รศ.วรวรรณ โรจนไพบูลย์ อาจารย์คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอม
เกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบงั (สจล.) ท่ีปรกึ ษาอธิบดกี รมการพฒั นาชมุ ชน

1) วัตถปุ ระสงค์
เพอ่ื ให้มีแนวทางและเปา้ หมายในการขับเคล่อื นหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งที่สอดคลอ้ งกบั

บรบิ ทพื้นท่ี

2) ประเดน็ เนอื้ หำ
๑. ศาสตร์พระราชา วิเคราะห์บริบทพื้นท่ี
๒. กาหนดวิธกี ารแกไ้ ขปญั หาในแตล่ ะพื้นที่
3. กาหนดยุทธวิธใี ชก้ ลยุทธ์ในการสร้างการเรยี นรู้ ใชฐ้ านการเรยี นรู้เปน็ เครือ่ งมอื
4. กาหนดยุทธศาสตร์การขบั เคลื่อนปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งสูก่ ารปฏบิ ัติในสถานท่ีจริง

3) ระยะเวลำ
2 ชว่ั โมง

4) วธิ ีกำร/เทคนคิ
4.1 ฝึกปฏิบตั ิการจดั ทายทุ ธศาสตรอ์ ยา่ งง่าย
4.2 นาเสนอ และแลกเปลยี่ นเรียนรู้

5) วัสดุ / อปุ กรณ์
1. คอมพิวเตอร์จอภาพ และเครื่องฉาย
2. คลปิ วิดีโอ
3. ฟลปิ ชารท์
4. ปากกาเคมี

6) ขั้นตอน / วธิ กี ำร
1. วทิ ยากรบรรยายเรือ่ งการจัดทา“ยุทธศาสตร์การขับเคล่ือนปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

สู่การปฏิบัติ”
2. วิทยากรให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมแบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติการจัดทายุทธศาสตร์อย่างง่าย โดย

แบ่งกล่มุ ตามรายจงั หวดั
3. ตวั แทนกลุ่มนาเสนอยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ

และรับฟังข้อเสนอแนะจากวิทยากร แบ่งเป็น 11 กลุ่มตามรายจังหวัด ไดแก่ นครนายก พระนครศรีอยุธยา

๖๘

ปราจีนบรุ ี นนทบรุ ี ปทมุ ธานี กาญจนบรุ ี เพชรบุรี ประจวบครี ีขันธ์ ราชบุรี นครปฐม สมุทรสงคราม ซึ่งมกี าร

จดั ทาและเสนอแผนยุทธศาสตร์การขับเคลือ่ นปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งสู่การปฏบิ ัติ ดังนี้

3.1 กลมุ่ ท่ี 1 จังหวัดนครนายก

ยุทธวิธี

จังหวดั การประสานงาน บูรณาการ การตดิ ตามและ การจัดการ การส่อื สาร
นครนายก ความรู้ สังคม
1.ใคร ภาคีเครอื ข่าย แผนงานและ ประเมินผล
2.ทำอะไร
ยทุ ธศาสตร์
3.ทำท่ไี หน
พระ ภาครฐั อปท. 7 ภาคีเครอื ขา่ ย คณะตดิ ตาม CLM, HLM, ผูส้ ่อื สาร ผนู้ า
เจ้าหนา้ ที่ พช. ชมุ ชน
ส่อื มวลชน ภาค ประเมนิ ผล อาเภอ/

ประชาชน จังหวดั สอ่ื มวลชน

1.กาหนดแนวทาง บูรณาการ กาหนดเกณฑ์ ถอดบทเรยี น เสนอผลสาเรจ็
ความสาเร็จ, ของงาน
ขบั เคลื่อน ทางาน ประเมนิ ความสาเรจ็ ความลม้ เหลว

2.สนับสนุนวชิ าการ ขบั เคลือ่ นแผน

3.ประสานภาคี

4.ประชาสมั พนั ธ์

5.รายงานผล

6.กากบั ตรวจสอบ

ระดบั จงั หวดั , ระดับจงั หวดั , พนื้ ที่ CLM และ พืน้ ท่ี CLM และ พนื้ ท่ี CLM

อาเภอ, ตาบล อาเภอ, ตาบล พน้ื ที่ HLM พื้นท่ี HLM และ พ้ืนท่ี

HLM

4.ทำอยำ่ งไร แตง่ ต้ังคณะทางาน ประชมุ วางแผน ลงพน้ื ทต่ี ดิ ตาม ลงพ้นื ท่โี ดยการ ประชาสมั พนั ธ์
การขบั เคลือ่ น ประเมนิ ผล ให้
สัมภาษณ์ ผ่านส่ือ
แบง่ หนา้ ท่ี คาปรึกษา
สงั เกตพ้ืนท่ี ออนไลน์,

มอบรางวัล

เชดิ ชูเกยี รติ

5.ทำกบั ใคร 7 ภาคีเครือขา่ ย 7 ภาคีเครอื ขา่ ย CLM, HLM, ครวั เรือน CLM, ภาครฐั ,
6.ทำไมตอ้ งทำ สรา้ งการมีสว่ นร่วม CLM GLM เจ้าหน้าท่ี พช.
นักพฒั นาพืน้ ที่ HLM, นพต., ประชาชนที่

เพ่อื มีกรอบ เพื่อช่วยเหลือและ จนท.พช. สนใจ
แนวทาง วิธีการ แกไ้ ขปัญหา
ไปถึงเป้าหมาย เพื่อทราบปัจจัย สรา้ งการรับรู้

ความสาเร็จ และเขา้ ใจ

และปจั จัยความ โคก หนอง นา

ล้มเหลว

7.ทำแลว้ ได้ ได้แนวคิดการ ไดแ้ ผนการ รับทราบผล ไดข้ อ้ มลู นาไป ประชาชน
อะไร พฒั นารูปแบบ ขับเคลอื่ นงาน ดาเนินการ, นาไป
ใหม่ๆ แก้ไข ปรับปรุง สนใจ และเข้า
ปรบั ปรุงและพัฒนา
และพฒั นา รว่ มโครงการ

๖๙

3.2 กลุ่มท่ี 2 จังหวัดปราจนี บรุ ี

ยุทธวิธี

จงั หวดั การประสานงาน บรู ณาการ การตดิ ตาม การจัดการความรู้ การส่ือสารสงั คม
ปราจนี บุรี ภาคีเครอื ข่าย
แผนงานและ และ

ยทุ ธศาสตร์ ประเมนิ ผล

1.ใคร นอภ./หวั หน้า 7 ภาคเี ครือขา่ ย คณะติดตาม คณะทางาน, คณะทางาน
สว่ นราชการ,
พอ., จนท.พช. ประเมินผล คร. CLM, หัวหน้าสว่ น
อปท.,ช่าง
อาเภอ/ คร. HLM, ราชการ

จงั หวัด เจ้าหน้าท่ี พช., 7 ภาคเี ครือข่าย

สื่อมวลชน ภาคีเครอื ข่าย ประชาชนทวั่ ไป

2.ทำอะไร 1.สอ่ื สาร บูรณาการ กาหนดเกณฑ์ ถอดบทเรยี น เสนอผลสาเร็จ
3.ทำท่ไี หน 2.สร้างการรับรู้
3.รายงานผล ทางาน ประเมิน สรุปผลการ ของงาน
4.มอบหมาย
5.วางแผน/ ขับเคลื่อนแผน ความสาเร็จ ดาเนนิ งาน
ดาเนนิ การ
6.ติดตามและ โครงการ
ประเมนิ ผล(กอ่ น
ระหวา่ ง หลัง) ระดับจงั หวัด, พน้ื ที่ CLM พนื้ ที่ CLM และ พืน้ ท่ี CLM และ
อาเภอ, ตาบล และ พืน้ ที่ พื้นที่ HLM พ้ืนที่ HLM
พนื้ ทโี่ ครงการ
(CLM, HLM) HLM ลงพ้ืนทโี่ ดยการ ประชาสัมพันธ์
สมั ภาษณ์ สงั เกต ผา่ นสอื่ ออนไลน์,
4.ทำอยำ่ งไร 1.แตง่ ตั้ง ประชมุ วางแผน ลงพืน้ ที่ พื้นท่ี มอบรางวลั เชิดชู
5.ทำกบั ใคร คณะทางาน การขบั เคลอ่ื น ตดิ ตาม เกยี รติ
2.วางแผนการ แบง่ หน้าท่ี ประเมนิ ผล ครวั เรอื น CLM, ภาครฐั ,
ประสานงาน HLM, นพต., ประชาชนทีส่ นใจ
ให้คาปรึกษา จนท.พช.
7 ภาคเี ครือข่าย เพอ่ื ทราบผลการ สรา้ งการรบั รู้
7 ภาคเี ครือข่าย CLM, HLM, ดาเนนิ งาน และเขา้ ใจ โคก
6.ทำไมตอ้ งทำ สรา้ งรูปแบบการ CLM GLM เจ้าหนา้ ท่ี โครงการ หนอง นา
ประสานงาน นกั พัฒนาพน้ื ท่ี พช. ได้ขอ้ มูลนาไป ดึงดดู ให้
เครอื ข่าย แก้ไข ปรบั ปรุง ประชาชนสนใจ
เพอื่ มีกรอบ เพอ่ื ช่วยเหลือ และพฒั นา และเข้ารว่ ม
7.ทำแลว้ ได้ เครือขา่ ย แนวทาง วธิ ีการ และแก้ไข โครงการ
อะไร ประสานงาน ไปถึงเปา้ หมาย ปญั หา

ใหมๆ่ ไดแ้ ผนการ รบั ทราบผล
ขับเคลื่อนงาน ดาเนนิ การ,

ใชป้ รับปรุง
และพัฒนา

๗๐

3.3 กลุม่ ท่ี 3 จงั หวัดปทุมธานี

ยุทธวิธี

จงั หวัดปทุมธานี การประสานงาน บรู ณาการ การตดิ ตามและ การจดั การ การสอื่ สาร
1.ผู้ท่ีมีสว่ น
เก่ยี วขอ้ ง ภาคเี ครือข่าย แผนงานและ ประเมนิ ผล ความรู้ สงั คม

2.การ ยทุ ธศาสตร์
ดาเนินการ/
วธิ ีการ 1.ภาคประชาชน : 1.ประชาชน 1.ประชาชน 1.ประชาชน 7 ภาคี

กลมุ่ องค์กร, ครวั เรอื น CLM, ครวั เรือน CLM, ครวั เรอื น เครอื ขา่ ย

ประชาชนในพื้นที่ HLM HLM CLM, HLM

2.ภาควิชาการ : ม. 2.นกั พฒั นาพื้นท่ี 2.นกั พัฒนาพนื้ ท่ี 2.ครพู าทา

วิไลอลงกรณ์ ตน้ แบบฯ ตน้ แบบฯ 3.นักพัฒนา

3.ภาคประชาสังคม 3.ภาคเี ครือข่าย 3.ภาคเี ครอื ข่าย พนื้ ทต่ี น้ แบบฯ

: สภาเกษตรกร 4.ภาคี

4.ภาคราชการ : เครอื ขา่ ย

อปท., เกษตร, 5.ประชาชนท่ี

ปกครอง,กศน.,สธ., เกยี่ วข้อง

ประมง, ธกส.

5.ภาคเอกชน :

บรษิ ทั ประชารัฐฯ

1.แตง่ ตง้ั 1.ยทุ ธศาสตร์ : 1.ประเมนิ ผลการ 1.จดั เวทีถอด 1.เอกสารคูม่ อื

คณะทางาน เน้นการพฒั นาคน ขบั เคลือ่ นโครงการ องค์ความรู้ 2.การ

2.ตง้ั กลุ่มไลน์ 2.แผนงาน : : มฐี านการเรียนรู้, 2.สัมภาษณ์ ประชาสัมพนั ธ์

3.ประชุมกลุม่ ยอ่ ย ฝกึ อบรม, ให้ มคี รูพาทา,วิทยากร ไดแ้ ก่ วดิ ีทศั น,์

ความรู,้ เพม่ิ ประจาฐาน Line,

ทกั ษะ, ส่งเสริม 2.ประเมินผล Facebook,

สนบั สนุน ความสาเร็จของ แถลงข่าว

เคร่ืองมือ/ โครงการ : เปน็

อปุ กรณ์ ศนู ย์กลางการ

พัฒนาคนในพืน้ ที่

ชมุ ชน

และตวั ช้วี ดั

ประชาชนในพื้นท่ี

เข้ามาเรยี นรแู้ ละ

นาไปปฏบิ ตั ิตาม

หลักกสกิ รรม

ธรรมชาติ

๗๑

3.4 กลมุ่ ที่ 4 จังหวัดเพชรบุรี

จงั หวัด การประสานงานภาคี บูรณาการแผนงาน ยทุ ธวิธี การจดั การ การสอ่ื สาร
ปทุมธานี ความรู้ สงั คม
เครือขา่ ย และยุทธศาสตร์ การติดตามและ
ประเมนิ ผล

1.ใคร พอ./พก./คณะทางาน ครพู าทา, อปท. คณะทางานจงั หวัด/ พอ./พก./ สอ่ื มวลชน/

จังหวดั /อาเภอ เกษตร, คณะทางาน อาเภอ คณะทางาน ส่อื ในพน้ื ท/ี่

จงั หวัด/อาเภอ จังหวดั / พอ./พก.

อาเภอ, เครอื ขา่ ย

เจา้ ของแปลง

CLM/HLM

2.ทำอะไร 1.ประชุมคณะทางาน ส่งเสรมิ การ ติดตามประเมนิ ผล ถอดองค์ เผยแพร่

2.กาหนดแนวทาง ดาเนินงานตาม แบบมีสว่ นร่วม ความรู้ ปญั หา ข้อมลู

ขบั เคลือ่ น ภารกิจของหน่วยงาน อุปสรรค และ ขา่ วสาร

3.สนบั สนุนความรู้ แนวทางแก้ไข

แนวทาง

3.ทำท่ไี หน 1.ทวี่ ่าการอาเภอ พ้ืนทแ่ี ปลง พน้ื ทีแ่ ปลง -พ้นื ที่แปลง ทุกช่องทาง

2.แปลง CLM/HLM CLM/HLM CLM/HLM CLM/HLM การส่อื สาร

3.ระดับอาเภอ -อาเภอ

4.ทำอยำ่ งไร ประชมุ กาหนด ลงพื้นท่ปี ฏบิ ัตกิ าร 1.ใหค้ าแนะนา ระดมสมอง วดิ ีทศั น์,

แผนปฏบิ ตั ิการตาม และสนบั สนนุ แก้ปัญหาอุปสรรค ระดับจงั หวัด/ Social

ภารกจิ สนับสนุนของ วิชาการ 2.ใชแ้ บบประเมนิ อาเภอ Network

คณะทางาน ผลสาเร็จ ความพึง

แตล่ ะคณะ พอใจ

5.ทำกบั ใคร 1.คณะทางานอาเภอ 1.เป้าหมาย 1.เปา้ หมาย ผู้มสี ่วนไดส้ ว่ น สื่อมวลชน

2.พอ./พก. CLM/HLM CLM/HLM เสยี , จิตอาสา, ,จนท.,จติ

3.CLM/HLM 2.นักพัฒนาพ้ืนท่ี 2.นักพฒั นาพืน้ ท่ี ผู้นาชุมชน อาสา

4.นักพัฒนาพืน้ ท่ี ต้นแบบฯ ตน้ แบบฯ

ตน้ แบบฯ 3.ผสู้ นใจในพ้ืนท่ี 3.อปท./ผู้นาชมุ ชน

6.ทำไมตอ้ งทำ ขับเคลื่อนสู่เป้าหมาย ขยายผลและสร้าง -ทราบความก้าวหน้า ใชเ้ ปน็ ข้อมูล สรา้ งการ

ภารกิจกรมฯ รูปธรรม CLM/HLM -ทราบข้อมูลเพ่ือการ ในการขยาย รับรู้ตอ่

ขยายผล ผลต่อไป สาธารณะ

-ทราบปัญหาและ

แนวทางแกไ้ ข

7.ทำแลว้ ได้ CLM/HLM ท่เี ข้มแข็ง พ้นื ท่ีเรยี นร้ฯู แกไ้ ขปัญหาและ ไดอ้ งคค์ วามรู้ ขยายผล

อะไร เข้าใจการเปน็ CLM/HLM กาหนดแผนการ Best HLM เพม่ิ

ต้นแบบพ้ืนทเี่ รียนร้ฯู ท่เี ปน็ รปู ธรรม ส่งเสรมิ ขยายผล Practice

3.5 กลุม่ ที่ 5 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

๗๒

ยุทธวธิ ี

จงั หวดั การประสานงาน บูรณาการ การติดตามและ การจดั การ การสื่อสารสงั คม
ปทุมธานี ภาคเี ครอื ข่าย แผนงานและ ประเมินผล ความรู้

ยุทธศาสตร์

1.ใคร 7 ภาคเี ครอื ข่าย คณะทางาน คณะติดตาม CLM, HLM, จนท.พช.,

ขับเคลอ่ื น ประเมนิ ผล เจ้าหนา้ ที่ พช. สอื่ มวลชน

จังหวดั /อาเภอ อาเภอ/จังหวัด คณะทางาน

นักพฒั นาพืน้ ที่

ต้นแบบฯ

2.ทำอะไร 1.กาหนด บูรณาการ กาหนดเกณฑ์ ถอดบทเรียน นาเสนอผลการ

แนวทาง ทางาน ประเมิน ผลการ ดาเนนิ งาน

ขับเคลื่อน ขับเคลอ่ื นแผน ความสาเร็จ ดาเนินงานทุก Website,

2.ประสานภาคี ระดบั Facebook, Line

ร่วมสนับสนุนงาน และช่องทางอน่ื ๆ

3.ทำท่ไี หน พ้ืนทีด่ าเนนิ การ พื้นที่ดาเนินการ พ้ืนทด่ี าเนนิ การ พ้นื ที่ Social media,

สพอ./สพจ. สพอ./สพจ. สพอ./สพจ. ดาเนนิ การ website

สพอ./สพจ.

4.ทำอยำ่ งไร -แตง่ ตัง้ ประสาน จัดทา วัดผล กอ่ น ลงพื้นทโ่ี ดยการ ประชาสัมพนั ธ์

คณะทางาน แผน กจิ กรรม ระหว่าง หลงั สมั ภาษณ์ ผา่ นสอ่ื ออนไลน,์

ขบั เคลื่อน งบประมาณ การดาเนนิ การ สงั เกตพนื้ ที่ มอบรางวลั เชดิ ชู

-จัดทาช่องทาง เกยี รติ

เครือข่ายทกุ

ชอ่ งทาง

5.ทำกบั ใคร 7 ภาคีเครือขา่ ย 7 ภาคเี ครอื ขา่ ย CLM, HLM, ครัวเรือน CLM, สื่อมวลชนทุก

เจา้ หนา้ ที่ พช. HLM, นพต., แขนง

จนท.พช.

6.ทำไมตอ้ งทำ เพื่อปฏบิ ัตงิ าน ลดความซา้ ซอ้ น เพ่ือวดั ผลสาเร็จ Best Practice สร้างภาพลกั ษณ์

ตามภารกจิ ที่ ประสบ ทราบปัญหา ขยายผล องคก์ ร เผยแพร่

เก่ียวขอ้ งรว่ มกัน ความสาเรจ็ อุปสรรค หา ต้นแบบ ประชาสมั พันธ์

แนวทางแกไ้ ข

7.ทำแลว้ ได้ ไดง้ านเครอื ขา่ ย ได้แผนการ รับทราบผล Best Practice ดงึ ดดู ให้

อะไร การพัฒนา ขบั เคลอื่ นงาน ดาเนินการ, ประชาชนสนใจ
และเข้ารว่ ม
นาไปปรบั ปรงุ

และพฒั นา โครงการ

๗๓

3.6 กลุ่มที่ 6 จงั หวดั นครปฐม

จังหวดั ยุทธวธิ ี
ปทุมธานี
การประสานงานภาคี บรู ณาการแผนงาน การติดตามและ การจัดการความรู้ การส่ือสาร
เครอื ขา่ ย
และยุทธศาสตร์ ประเมนิ ผล สังคม

1.ใคร 7 ภาคเี ครือขา่ ย 7 ภาคเี ครอื ขา่ ย คณะทางาน จนท.พช., จนท.พช.,

ติดตาม ครัวเรอื นต้นแบบ, 7ภาคี

ประเมนิ ผล นักพฒั นาพน้ื ที่

ตน้ แบบ,

ประชาชนในพนื้ ท่ี

2.ทำอะไร เป็นวทิ ยากร, ครพู าทา 1.MOU ตดิ ตาม ถอดบทเรียน สรา้ ง

,องค์ความรดู้ ้านอาชพี , 2.แตง่ ตั้งคณะทางาน ประเมนิ ผล กระบวนการ

การออกแบบพ้นื ที่, ทกุ ระดบั ก่อน ระหวา่ ง เรยี นรู้

ส่ือประชาสัมพันธ์ และหลงั

ดาเนนิ การ

3.ทำท่ไี หน พน้ื ท่ี HLM จานวน จงั หวัด, อาเภอ, พ้ืนที่ HLM พน้ื ท่ี HLM สอ่ื ทุก

9 แปลง พน้ื ที่ HLM จานวน จานวน ชอ่ งทาง

9 แปลง 9 แปลง

4.ทำอยำ่ งไร สรา้ งกระบวนการ 1.ประชมุ ลงพืน้ ท่ี จัดเวท,ี สอ่ื สาร

เรยี นรู้ (อบรม,สาธิต 2.แบง่ งาน (ประชมุ สังเกต จดบนั ทึก, โครงการ

,ให้คาปรกึ ษา ฯลฯ) 3.กาหนดแผน สอบถาม การพูดคยุ , ผา่ นสือ่ ทุก

4.เตรยี มความพร้อม รายงาน ฯลฯ) เยีย่ มเยยี น ช่องทาง

ดาเนินการ

5.ทำกบั ใคร ครัวเรือนตน้ แบบ ครวั เรือนตน้ แบบ, ครัวเรอื น จนท.พช., ประชาชน

,จนท.พช.,นักพัฒนา ประชาชน, ตน้ แบบ, ครวั เรือนต้นแบบ, ทว่ั ไป

พนื้ ทีต่ น้ แบบ, ผ้ทู เี่ ก่ยี วข้อง นักพัฒนาพืน้ ที่ นกั พฒั นาพ้นื ที่

ประชาชนในพ้นื ที่ ต้นแบบ, ตน้ แบบ,

จนท.พช., ประชาชนในพ้ืนที่

ผู้ทเี่ ก่ียวขอ้ ง

6.ทำไมตอ้ งทำ เพอื่ ใหเ้ กิดการบรู ณา บรู ณาการแผนงาน เพ่ือทราบ รวบรวมองค์ สร้างการ

การทางานร่วมกนั ของ และยุทธศาสตร์ ความก้าวหน้า ความรู้ รับรู้

ภาคีเครอื ข่ายกบั ร่วมกนั และปัญหา

ประชาชนในพืน้ ที่ อปุ สรรค

7.ทำแลว้ ได้ รูปแบบการทางานเพ่ือ งานเกิดประสทิ ธภิ าพ เพือ่ ใหเ้ กิด ไดอ้ งค์ความรู้ใช้ โครงการ

อะไร พัฒนาคณุ ภาพชวี ติ เชิง ประชาชนได้ แนวทางต่อยอด ในการถ่ายทอด เปน็ ทีร่ ู้จัก

พื้นท่ี ประโยชน์สูงสดุ การทางาน แพรห่ ลาย

๗๔

3.7 กลุ่มท่ี 7 จงั หวดั กาญจนบุรี

จงั หวดั การประสานงาน บูรณาการแผนงาน ยุทธวิธี การจดั การความรู้ การสอ่ื สาร
ปทมุ ธานี ภาคีเครือข่าย และยุทธศาสตร์ สังคม
7 ภาคเี ครือข่าย การตดิ ตามและ -เปา้ หมาย -เปา้ หมาย
1.ใคร 7 ภาคีเครือข่าย ประเมนิ ผล CLM/HLM CLM/HLM
ไดแ้ ก่ รัฐ เอกชน ประสานการบูรณา คณะทางาน -ประชาชน -ประชาชน
ประชาสงั คม การแผนและ จังหวดั /อาเภอ ผทู้ ่เี ก่ยี วขอ้ ง ผทู้ เ่ี กีย่ วขอ้ ง
ศาสนา วิชาการ ยทุ ธศาสตร์รว่ มกนั ใน -จนท.พช.ในพ้ืนท่ี -จนท.พช.ใน
ประชาชน พนื้ ท่ี มีการติดตาม -นกั พัฒนาพน้ื ที่ฯ พ้นื ที่
สื่อมวลชน จงั หวดั , อาเภอ, ประเมินผล ก่อน -นักพฒั นา
พืน้ ที่ CLM/HLM ระหว่าง และหลงั ถอดบทเรียนการ พื้นทฯี่
2.ทำอะไร ทาบันทึกขอ้ ตกลง ประชุม/จดั ทาแผน ดาเนนิ การ ดาเนินงานท้ัง สร้างการรับรู้
ระดบั จงั หวัด กบั 7 ร่วมกัน/ดาเนนิ การ/ จังหวดั , อาเภอ, ระดับจงั หวดั / และการ
ภาคเี ครอื ข่าย ประสานงาน/เตรยี ม พนื้ ที่CLM/HLM อาเภอ เผยแพร่งาน
ความพร้อมพื้นทแ่ี ละ -ประชมุ จงั หวดั , อาเภอ,
3.ทำท่ไี หน หนว่ ยงานจังหวดั ครัวเรือนเป้าหมาย -สังเกต พ้นื ที่ CLM/HLM สอ่ื หลาย
4.ทำอยำ่ งไร และอาเภอ -เปา้ หมาย -สอบถาม -จดบนั ทกึ ชอ่ งทางทีม่ ี
CLM/HLM -รายงานผล -การพูดคุย ส่ือสาร
5.ทำกบั ใคร -ร่าง MOU เพ่ือทา -ประชาชน -เย่ียมเยยี น โครงการผา่ น
ข้อตกลงกบั ภาคี ผู้ทเี่ ก่ยี วขอ้ ง -เปา้ หมาย -จัดเวทีสรุป สอื่ ทุกช่องทาง
-ประกาศใช้ MOU -จนท.พช.ในพนื้ ท่ี CLM/HLM บทเรียนรว่ มกัน
เพ่อื บูรณาการงาน -นกั พัฒนาพนื้ ทฯี่ -ประชาชน -เป้าหมาย ประชาชน
ตามภารกจิ เพ่อื ให้การขบั เคลอ่ื น ผู้ที่เกีย่ วขอ้ ง CLM/HLM ท่ัวไป
งานในพนื้ ทเ่ี ปน็ ไป -จนท.พช.ในพื้นที่ -ประชาชน
7 ภาคีเครือขา่ ย ตามวตั ถุประสงค์ -นักพฒั นาพนื้ ท่ีฯ ผ้ทู เ่ี กีย่ วขอ้ ง สร้างการรับรู้
โครงการ เพอ่ื ใหเ้ ปน็ ไปตาม -จนท.พช.ในพ้นื ที่ ให้เปน็ วงกวา้ ง
6.ทำไมตอ้ งทำ เพ่ือให้เกิดการบรู ไดแ้ ผนบูรณาการ เป้าหมายของ -นกั พัฒนาพน้ื ที่ฯ
ณาการทางาน รว่ มกันระหว่างภาคี โครงการ รวบรวมสรปุ ผล เกดิ การขยาย
ร่วมกันของภาคี ในพน้ื ที่ การดาเนินงาน ผลไปยังผูท้ ่ี
เครอื ขา่ ย เพอ่ื ใหแ้ ก้ไข และองคค์ วามรู้ท่ี สนใจ
ปญั หา ปรับปรงุ ไดจ้ ากงาน
7.ทำแลว้ ได้ ความรว่ มมอื กนั พัฒนางานได้ ได้องคค์ วามรจู้ าก
อะไร ระหว่างหนว่ ยงาน การดาเนนิ งาน

๗๕

3.8 กล่มุ ท่ี 8 จงั หวดั ราชบรุ ี

ยุทธวิธี

จังหวดั การประสานงาน บรู ณาการ การตดิ ตามและ การจดั การ การสอื่ สารสงั คม
ปทมุ ธานี
1.ใคร ภาคีเครอื ข่าย แผนงานและ ประเมนิ ผล ความรู้

2.ทำอะไร ยุทธศาสตร์
3.ทำท่ไี หน
4.ทำอยำ่ งไร 7 ภาคีเครือขา่ ย 7 ภาคีเครือข่าย 7 ภาคีเครือข่าย -จนท.พช. -จนท.พช.

5.ทำกบั ใคร ได้แก่ รฐั เอกชน -เปา้ หมาย -เป้าหมาย

6.ทำไมตอ้ ง ประชาสงั คม CLM/HLM CLM/HLM
ทำ
ศาสนา วิชาการ -ประชาชน -ประชาชน

ประชาชน ผ้ทู ี่เกย่ี วข้อง ผูท้ ่เี กี่ยวขอ้ ง

สือ่ มวลชน -นักพัฒนาพนื้ ทฯ่ี -นกั พฒั นาพน้ื ทีฯ่

ทาบนั ทึก ประสานการ มกี ารตดิ ตาม ถอดบทเรียนการ สรา้ งการรับร้แู ละ

ข้อตกลงระดับ บูรณาการแผน ประเมนิ ผล การ ดาเนินงานทัง้ การเผยแพรง่ าน

จังหวัด กบั 7 และยุทธศาสตร์ ดาเนินงานทกุ ระดบั จังหวดั /

ภาคีเครือข่าย ร่วมกนั ในพน้ื ท่ี กิจกรรม อาเภอ

หนว่ ยงานจังหวัด จังหวัด, อาเภอ, จังหวดั , อาเภอ, จังหวัด, อาเภอ, Social Media

และอาเภอ พ้ืนท่ี พืน้ ที่CLM/HLM พื้นท่ี CLM/HLM ต่างๆ,

CLM/HLM ส่ือสารมวลชน

-รา่ ง MOU เพื่อ ประชุม -ประชุม -จดบนั ทกึ จดั ทาสื่อและ

ทาขอ้ ตกลงกับ จดั ทาแผน -สังเกต -การพดู คุย ประชาสัมพนั ธ์

ภาคี ร่วมกัน -สอบถาม -เยี่ยมเยยี น เผยแพรช่ ่องทาง

-ประสานงาน ดาเนนิ การ -รายงานผล -จัดเวทีสรุป ตา่ งๆ

ภาคเี ครอื ข่าย ประสานงาน บทเรียนรว่ มกนั

เตรียมความ

พรอ้ มพนื้ ท่แี ละ

ครัวเรือน

เป้าหมาย

7 ภาคเี ครอื ข่าย -CLM/HLM -CLM/HLM -CLM/HLM ประชาชนทว่ั ไป

-ประชาชน -ประชาชน -ประชาชน และสอื่ มวลชน

ผทู้ เ่ี กย่ี วข้อง ผทู้ ่เี กย่ี วข้อง ผูท้ ี่เกยี่ วขอ้ ง

-จนท.พช.ใน -จนท.พช.ใน -จนท.พช.ใน

พ้นื ที่ พื้นท่ี พน้ื ท่ี

-นักพฒั นาพน้ื ท่ี -นกั พฒั นาพนื้ ที่ -นักพัฒนาพน้ื ท่ี

เพือ่ ให้เกิดแผน เพอื่ ให้การ เพ่ือให้เป็นไป รวบรวมสรุปผล สร้างการรับรู้ให้

บูรณาการทางาน ขับเคลอ่ื นงาน ตามเป้าหมาย การดาเนนิ งาน เป็นวงกวา้ ง

รว่ มกัน เป็นไปดว้ ย ของโครงการ และองค์ความรู้ท่ี

ความเรียบรอ้ ย ได้จากงาน

7.ทำแลว้ ได้ ความรว่ มมือกัน ไดแ้ ผนบูรณา เพ่ือให้แกไ้ ข ไดอ้ งคค์ วามรู้ ๗๖
อะไร ระหว่าง การรว่ มกนั ปัญหา ปรับปรงุ จากการ
หน่วยงาน พฒั นางานได้ ดาเนนิ งาน เกิดการขยายผล
ระหว่างภาคีใน ไปยงั ผู้ท่สี นใจ
พน้ื ท่ี

3.9 กลมุ่ ที่ 9 จังหวัดประจวบครี ขี ันธ์

ยุทธวิธี

จังหวดั การประสานงาน บูรณาการ การตดิ ตาม การจดั การความรู้ การส่ือสารสงั คม
ปทมุ ธานี
1.ใคร ภาคเี ครอื ข่าย แผนงานและ และ

2.ทำอะไร ยทุ ธศาสตร์ ประเมนิ ผล

3.ทำท่ไี หน 7 ภาคเี ครอื ขา่ ย 7 ภาคีเครอื ขา่ ย คณะทางาน จนท.พช., จนท.พช.,
4.ทำอยำ่ งไร
ตดิ ตาม ครัวเรอื นต้นแบบ, ครัวเรือนต้นแบบ,
5.ทำกบั ใคร
ประเมนิ ผล นกั พฒั นาพ้ืนที่ นักพฒั นาพน้ื ท่ี

ตน้ แบบ, ต้นแบบ,

ประชาชนในพนื้ ท่ี ประชาชนในพนื้ ท่ี

เปน็ วทิ ยากร, ครู 1.MOU ติดตาม ถอดบทเรยี น สรา้ งกระบวนการ

พาทา,องคค์ วามรู้ 2.แตง่ ตัง้ ประเมนิ ผล เรียนรู้

ด้านอาชพี , การ คณะทางานทุก กอ่ น ระหวา่ ง

ออกแบบพื้นที่, ระดบั และหลัง

ส่อื ประชาสัมพนั ธ์ ดาเนินการ

พืน้ ท่ี HLM จงั หวัด, อาเภอ, พืน้ ท่ี HLM พนื้ ท่ี HLM สื่อทุกชอ่ งทาง

จานวน พ้ืนที่ HLM จานวน จานวน

9 แปลง 9 แปลง 9 แปลง

สรา้ งกระบวนการ 1.ประชุม ลงพืน้ ท่ี จัดเวที, ส่อื สารโครงการ

เรยี นรู้ (อบรม, 2.แบ่งงาน (ประชมุ จดบนั ทกึ , ผ่านสอ่ื ทกุ

สาธติ ,ให้ 3.กาหนดแผน สังเกต การพดู คยุ , ชอ่ งทาง

คาปรกึ ษา ฯลฯ) 4.เตรียมความ สอบถาม เยี่ยมเยยี น

พรอ้ ม รายงาน ฯลฯ)

ดาเนนิ การ

ครัวเรอื นตน้ แบบ ครัวเรอื น ครัวเรือน จนท.พช., ประชาชนทัว่ ไป

,จนท.พช., ต้นแบบ, ตน้ แบบ, ครัวเรือนต้นแบบ,

นักพฒั นาพน้ื ท่ี ประชาชน, นักพฒั นา นักพฒั นาพ้นื ท่ี

ต้นแบบ, ผทู้ เ่ี กีย่ วข้อง พื้นที่ต้นแบบ, ตน้ แบบ,

ประชาชนในพ้นื ที่ จนท.พช., ประชาชนในพื้นท่ี

ผูท้ ่เี กยี่ วข้อง

๗๗

6.ทำไมตอ้ งทำ เพอ่ื ให้เกดิ การบูร บูรณาการ เพอ่ื ทราบ รวบรวมองค์ สรา้ งการรบั รู้
ณาการทางาน แผนงานและ ความกา้ วหนา้ ความรู้
ยุทธศาสตร์ โครงการเป็นที่
รว่ มกันของภาคี ร่วมกัน และปญั หา ร้จู ักแพร่หลาย
เครือขา่ ยกับ อปุ สรรค
งานเกดิ
ประชาชนในพืน้ ท่ี ประสทิ ธภิ าพ เพอ่ื ใหเ้ กดิ ไดอ้ งคค์ วามรู้ใช้
7.ทำแลว้ ไ-ด้ รูปแบบการ ประชาชนได้ แนวทางตอ่ ในการถ่ายทอด
อะไร ทางานเพอื่ พัฒนา ประโยชนส์ ูงสุด ยอดการ
ทางาน
คุณภาพชวี ติ เชิง

พน้ื ท่ี

3.10 กลุ่มที่ 10 จงั หวัดนนทบุรี

จงั หวัด การประสานงาน บรู ณาการ ยทุ ธวธิ ี การจัดการความรู้ การสอ่ื สารสงั คม
ปทุมธานี ภาคีเครอื ข่าย แผนงานและ
1.ใคร ยทุ ธศาสตร์ การตดิ ตาม คณะทางาน คณะทางาน
สพจ.,สพอ. และ จังหวดั /อาเภอ จังหวดั /อาเภอ
2.ทำอะไร สพจ.,สพอ. ประเมนิ ผล ครัวเรอื นตน้ แบบ, 7ภาคี
คณะทางาน นกั พัฒนาพืน้ ท่ี
3.ทำท่ไี หน -ประสานงาน -แต่งตงั้ จงั หวัด/ ตน้ แบบ,
4.ทำอยำ่ งไร -ประสาน คณะทางานทกุ อาเภอ รวบรวมองค์ สรา้ งกระบวนการ
ประโยชน์ ระดับ ความรทู้ ัง้ หมดที่ เรยี นรู้และสรา้ ง
-ประชมุ จัดทา มีการติดตาม ไดจ้ ากโครงการ การรบั รู้
สานกั งาน และ แผนและ ประเมนิ ผล และพืน้ ที่
พืน้ ทแ่ี ปลง ยทุ ธศาสตร์ ก่อน ระหว่าง เปา้ หมาย
ครัวเรอื น ขบั เคล่ือนงาน และหลัง
ในระดับพ้ืนที่ ดาเนินการ สานักงาน และ สอ่ื ทุกช่องทาง
พน้ื ที่แปลง
สานกั งาน และ สานกั งาน ครวั เรอื น
พื้นทีแ่ ปลง และพืน้ ท่ี
ครวั เรือน แปลง
ครัวเรือน
เอกสาร/การ 1.จดั ประชมุ -ลงพน้ื ท่ี -รวบรวมองค์ จดั ทาสอื่
พูดคุยเจรจา/จัด ตดิ ตาม เยี่ยม ความรขู้ องพ้นื ที่ ประชาสมั พนั ธ์
เวทปี ระชาคม 2.แบง่ งานตาม เยยี นพ้นื ที่ เปา้ หมาย ผ่านช่องทางตา่ งๆ
ภารกจิ เปา้ หมาย -สังเคราะห์
3.จดั ทาแผน วเิ คราะห์องค์

๗๘

4.เตรยี มความ -ติดตามการ ความรู้

พร้อมพ้ืนที่ ดาเนนิ งาน -สรปุ องคค์ วามรู้

และเผยแพร่

5.ทำกบั ใคร เกษตรอาเภอ, -7ภาคเี ครือข่าย -เปา้ หมาย -เปา้ หมาย CLM/ สอ่ื มวลชนและ

ทอ้ งถน่ิ , กศน.,วัด, -เปา้ หมาย CLM/ HLM HLM ประชาชนทวั่ ไป

ปกครอง,และ CLM/ HLM -นกั พัฒนา -นักพฒั นาพน้ื ที่

7 ภาคีเครือข่าย -ประชาชน พนื้ ท่ี -จนท.พช.

ผทู้ ีเ่ กยี่ วขอ้ งใน -จนท.พช.

พนื้ ที่

6.ทำไมตอ้ งทำ เพ่ือใหก้ าร ให้เกิดการบูร เพือ่ ตดิ ตาม รวบรวมสรุปการ สรา้ งการรับรูแ้ ละ

ดาเนนิ งานเป็นไป ณาการแผนงาน ความกา้ วหน้า จดั การความรขู้ อง ให้เป็นท่ีรู้จกั

ในทศิ ทางเดยี วกัน และยทุ ธศาสตร์ และปญั หา โครงการ

ในพ้ืนที่ อุปสรรค

7.ทำแลว้ ได้ เกดิ การมีสว่ นรว่ ม ปฏิบตั งิ านได้มี เพอ่ื ให้เกดิ ไดอ้ งค์ความรู้ใน เป็นที่ร้จู ัก

อะไร ประสทิ ธภิ าพ การพฒั นาตอ่ พ้นื ทีใ่ ช้ในการ แพรห่ ลาย ผู้คน
ยอดงาน ขยายผลตอ่ ไป สนใจ

3.11 กลุ่มที่ 11 จงั หวัดสมทุ รสงคราม

ยุทธวธิ ี

จงั หวัด การประสานงาน บรู ณาการ การตดิ ตามและ การจัดการความรู้ การส่อื สารสงั คม
ปทุมธานี ภาคีเครอื ข่าย แผนงานและ ประเมนิ ผล
1.ใคร เจา้ หนา้ ที่ พช., จนท.พช.,
ยทุ ธศาสตร์ คณะทางาน ครัวเรอื น CLM, สอ่ื มวลชน
2.ทำอะไร ขบั เคล่อื น HLM, ภาคีเครือข่าย,
-คณะทางาน คณะทางาน จังหวัด/อาเภอ นักพัฒนาพน้ื ท่ี ครัวเรอื น CLM,
3.ทำท่ไี หน ขับเคลอื่ นจังหวดั / ขับเคลื่อน ต้นแบบฯ HLM,
อาเภอ จงั หวัด/อาเภอ ถอดบทเรยี นการ
-7 ภาคีเครือขา่ ย ดาเนนิ งาน ประชาสมั พันธ์
โครงการร่วมกัน สรา้ งการรับรทู้ าง
1.ทา MOU บรู ณาการ ติดตาม Website,
ประเมินผล พ้นื ที่ ครัวเรอื น Facebook, Line
ระหว่างหนว่ ยงาน ขบั เคล่ือน โครงการในพนื้ ที่ เปา้ หมาย และชอ่ งทางอน่ื ๆ
ดาเนินการ
รว่ มกัน แผนงานและ Social media,
พ้นื ที่ ครวั เรือน website
2.ประสาน ยุทธศาสตร์ เปา้ หมาย

ปฏบิ ัตงิ านรว่ มกัน

พ้นื ท่ีดาเนินการ พืน้ ที่ ครัวเรอื น

สพอ./สพจ. เป้าหมาย

๗๙

4.ทำอยำ่ งไร -ประชมุ / จดั ทาแผน/ ประเมินผล( กอ่ น -การสัมภาษณ์ -ประชาสัมพันธ์
5.ทำกบั ใคร วางแผน/กาหนด
ช่องทาง กาหนดกจิ กรรม ระหว่าง หลงั การ -การสังเกต ผ่านสื่อออนไลน์
ประสานงาน
งบประมาณ ดาเนินการ) -จัดเวทีสรปุ กจิ กรรมที่
7 ภาคีเครือข่าย
บทเรียน ดาเนนิ การ

7 ภาคเี ครอื ข่าย ครวั เรือน CLM, ครวั เรือน CLM, สื่อมวลชนทกุ แขนง

HLM, นพต., HLM, นพต.,

จนท.พช. จนท.พช.

6.ทำไมตอ้ งทำ เพ่ือปฏบิ ตั งิ าน ลดความซา้ ซ้อน เพือ่ ให้ทราบ Best Practice เผยแพร่
ตามภารกจิ
ประสบ ผลสาเร็จโครงการ ขยายผลต้นแบบ ประชาสมั พันธ์ให้
7.ทำแลว้ ได้ ไดง้ านเครอื ขา่ ย
อะไร การพัฒนา ความสาเรจ็ เป็นทร่ี จู้ กั

ดาเนนิ การได้ นาไปขยายผละ Best Practice ให้คนท่ัวไปรูจ้ ัก

ตามแผนงานที่ ปรบั ปรงุ และ เปน็ ตวั อยา่ งขยาย สนใจ และเข้าร่วม

วางไว้ พฒั นา ผลต่อไป โครงการ

สรุปผลกำรเรียนรู้
ยทุ ธศาสตร์การขับเคลื่อนปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสกู่ ารปฏิบตั ิ คือ การกาหนดเปา้ หมายใน

การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยที่ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาใหม่ในการพัฒนา
มนุษย์ ให้เปลี่ยน Mindset ใหม่ จากมุ่งแข่งขัน มาเป็นการมุ่งสร้างสรรค์ และแบ่งปัน หัวใจสาคัญ คือ พระ

ราชดารัส “Our Loss is our Gain” ยิ่งให้ไป ยิ่งได้มา ดังน้ัน การพัฒนาต้องเป็นไปเพื่อสรา้ งขบวนการ “จิต
อาสา” พร้อมนาศาสตร์พระราชาไปแก้ไขปัญหา ซึง่ การขับเคลื่อนปรัชญาใหม่ ท่ยี ่งั ยนื คอื การก้าวไปดักหน้า

Technology 5.0 ต้องเอื้อต่อการบูรณาการและการสร้างสิ่งใหม่ในระบบโครงสร้าง ต้องมีภารกิจบ่มเพาะ

ศาสตร์พระราชาให้เข้าใจอยา่ งลกึ ซ้งึ ตอ้ งนาศาสตร์พระราชาไปใชใ้ นการพัฒนาประเทศ ตอ้ งมียุทธศาสตร์การ
สอ่ื สาร มีการวดั ผลใหม่ดว้ ยการวัดผลที่เป้าหมาย

เม่ือกาหนดยุทธศาสตร์หรือเป้าหมายแล้ว ส่ิงต่อไปท่ีจะต้องกาหนด คือ ยุทธวิธี คือ วิธีการ
ขับเคลอื่ นงาน โดยยทุ ธวิธีการดาเนินงาน โคก หนอง นา โมเดล มุง่ เนน้ การสบื สานศาสตร์พระราชา รกั ษาภูมิ

ปัญญาท้องถ่ินและต่อยอดเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เหมาะสมด้วยการฟื้นฟูทรัพยากรดิน น้า ป่า นิเวศ
วัฒนธรรม และภมู ปิ ัญญาท้องถ่ิน เพอื่ มงุ่ สกู่ ารผลิตใหม่ ระบบสหกรณ์ เขตเศรษฐกิจพิเศษแบบพอเพียง และ

เช่ือมโยงธรุ กจิ จากขนั้ พื้นฐานส่ขู นั้ ก้าวหน้าเพอื่ ยกระดับเศรษฐกิจฐานรากชมุ ชน
จากการฝกึ ปฏิบัติและนาเสนอการจัดทายุทธศาสตร์การขับเคล่ือนปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ส่กู ารปฏบิ ตั ิ สรปุ ไดด้ ังนี้

ท่ี ยุทธวิธี
1 กำรประสำนงำนภำคีเครือข่ำย

1. จัดตง้ั ศูนยป์ ระสานงานการขบั เคล่อื นปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏบิ ัติ ตั้งแตร่ ะดับ
ชุมชน ตาบล อาเภอ และจังหวดั
2. มุ่งเน้นการมีส่วนร่วม 7 ภาคีเครือข่าย ได้แก่ ภาครัฐ ภาคศาสนา ภาคเอกชน ภาค
สื่อสารมวลชน ภาควชิ าการ ภาคประชาชน และภาคประชาสังคม
3. จดั กจิ กรรมเอามื้อสามคั คี ระดบั ตาบล อาเภอ และจังหวดั

๘๐

2 กำรบรู ณำกำรแผนงำนและยทุ ธศำสตร์
1. การดาเนนิ งานยึดหลักการทางานตามศาสตร์พระราขา ท้ังภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ
2. เปา้ หมายเป็นการแก้ไขปัญหาสิง่ แวดลอ้ ม เศรษฐกิจ สังคม และการเมอื ง
3. การพฒั นาคุณภาพชีวิตประยุกต์ตามหลกั ทฤษฎใี หม่
4. การพัฒนาและยกระดับสู่การท่องเที่ยวมุ่งส่คู วามม่นั คง มัง่ คั่ง และย่ังยืน
5. มงุ่ แกไ้ ขปัญหาความยากจน

3 กำรติดตำมและประเมนิ ผล
1. ตดิ ตามประเมินผลโดยคณะกรรมการศูนย์เรียนรู้ระดบั ตาบล (Community Lab Model)

ท่ี ยุทธวิธี
4 กำรจดั กำรควำมรู้

1. มีการจดบนั ทกึ องคค์ วามรู้จากการปฏบิ ตั ิ
2. มีการจดั การความรู้ โดยคณะกรรมการศูนยเ์ รียนรรู้ ะดบั ตาบล (Community Lab Model)
3. ทมี วทิ ยากร (นักพัฒนาพนื้ ทีต่ ้นแบบ) และปราชญช์ ุมชน ทาหนา้ ทจ่ี ัดการความรู้
5 กำรสือ่ สำรสงั คม
1. มีการสร้างการรบั รู้ผ่านช่องทาง Youtube, Facebookและส่ือทอ้ งถิ่น
2. จัดงานอเี วนทต์ า่ ง ๆ เพือ่ ประชาสมั พันธ์ผลการดาเนินงาน
3. ผนู้ าชมุ ชนมีบทบาทสาคัญในการสร้างการรบั รสู้ ู่สาธารณชน
4. ประชาสมั พันธโ์ ดยใช้เครือข่ายประชาสมั พนั ธ์จงั หวดั
5.ถา่ ยทอดความรสู้ เู่ ครอื ขา่ ย โดยผา่ น 9 ฐานการเรียนรู้
6. สรา้ งภาพลกั ษณใ์ หน้ า่ สนใจ และทาให้เปน็ ทรี่ ู้จกั

ดังนั้น จากการฝึกปฏิบัติและนาเสนอยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การ
ปฏบิ ัติ ทาให้ผ้เู ข้ารับการอบรมฯ ได้ร่วมกนั กาหนดยุทธศาสตรแ์ ละยุทธวธิ กี ารขับเคลอื่ นหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจ
พอเพยี งทีเ่ หมาะสมกับแต่ละบริบทพ้ืนท่ีครอบคลุม ทั้ง 5 ยทุ ธวธิ ที ่ีจะสง่ ผลให้การขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียงสู่การปฏิบัติประสบผลสาเร็จได้ และได้วิเคราะห์จุดตายของโครงการพัฒนาพื้นที่ต้นแบบการพัฒนา
คุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล”เพ่ือจะประโยชน์ต่อการกาหนดแนว
ทางการดาเนินโครงการตอ่ ไป

๘๑

17. วิชำ สุขภำพพ่ึงตน พฒั นำ 3 ขุมพลัง พลังกำย พลังใจ พลังปัญญำ

วทิ ยำกรหลัก นางสาวอรวีย์ แสงทอง นกั ทรัพยากรบคุ คลชานาญการ
1) วตั ถปุ ระสงค์

1.1 เพ่ือใหผ้ ้เู ขา้ รบั การฝกึ อบรมได้ยเื สน้ ยืดสาย ออกกาลงั กาย ก่อนการฝึกอบรม
1.2 เพือ่ พฒั นาพลงั กาย พลังใจ และพลังปัญญา
1.3 เพื่อให้ผู้เขา้ อบรมสร้างแรงบนั ดาลใจในการทางาน และสร้างคุณคา่ ในการดาเนนิ ชีวติ
2) ประเด็นเน้อื หำ
2.1 การพฒั นาพลังกาย พลังใจ พลงั ปัญญา
2.2 การปรับเปลย่ี นชวี ิตตามสถานการณ์
2.3 การ wrap up สิง่ ท่ีเรียนรู้
3) ระยะเวลำ

2 ช่วั โมง
4) วิธกี ำร/เทคนคิ

4.1 วิทยากร นาออกกาลงั กาย
4.2 วิทยากรสรปุ wrap up และเตมิ เต็มองค์ความรู้
4.3 นาเสนอแลกเปล่ยี นเรียนรู้เพอื่ สร้างแรงบนั ดาลใจในการดาเนินชีวิต
5) วัสดุ / อปุ กรณ์

1. สอ่ื วีดีทัศน์
2. คอมพิวเตอร์ เครือ่ งฉาย จอภาพ
6) ข้ันตอน / วิธีกำร
วทิ ยากร นาออกกาลงั กาย โดยใช้ส่ือการบริหารรา่ งกายแบบไทย และ การออกกาลังกายแบบ T
26 และการพัฒนา 3 ขุมพลัง การพัฒนาสมาธิ พลังใจ และพลังกาย โดยเร่ิมจากการปลุกสมองให้พร้อม
สาหรับการเรียนรเู้ รอื่ งราวใหม่ ๆ ที่จะได้รับ โดยการฝึกเล่นเกมส์ นับ 1 – 5 และใช้มือทาท่าประกอบพรอ้ ม
การนาเลข 1 – 5 เพ่ือให้มีสมาธิ ไม่คิดฟุ้งซ่าน เพื่อเป็นการกระตุ้นสมองและร่างกาย เรียกความพร้อมก่อน
เริม่ กจิ กรรมต่อไป
เมื่อเกิดความพร้อมแล้ว วิทยากร ให้แต่ละกลุ่มแลกเปล่ียนประสบการณ์ดีดีเล่าสู่กันฟัง โดยให้
ผู้ฟังทุกคน ฟังให้จบก่อน หากมีข้อสงสัยให้ซักถามได้ โดยมีเวลาจากัด ให้แต่ละคนเล่าประสบการณ์ที่ดี เพ่ือ
สร้างแรงบันดาลใจให้กบั ผู้อื่นดว้ ย จากน้ันให้คนท่ีมปี ระสบการณ์เกี่ยวกับการทางานในบทบาทของนกั พฒั นา
มาเล่าประสบการณ์การทางานในพ้ืนทใี่ ห้ผเู้ ข้าอบรมในท่ปี ระชมุ ไดฟ้ ัง
เม่ือเตรียมพร้อมด้านพลังกาย พลังใจ แล้วก็ต่อด้วยพลังปัญญา วิทยากร ได้สรุปความรู้ท่ีได้รับ
ของการเรียนรู้ในวันท่ีผ่านมา เกี่ยวกับการฝึกปฏบิ ัติฐานเรยี นรู้ท้ัง 9 ฐาน และการเรียนรู้ผ่านสื่อวีดีทัศน์ของ
นายเล่ียม บตุ รจันทา ปราชญ์ชาวบ้าน เรื่องการพึ่งตนเอง เปน็ เกษตรกรทหี่ ลายคนรจู้ ัก เป็นจดุ เร่ิมตน้ ของการ
พึ่งตนเอง คือ ต้องรู้ตน รู้ปัญหา ท่ีเกิดข้ึนและต้องแก้ไขปัญหาท่ีต้นเหตุ โดยเร่ิมจากการทาบัญชีครัวเรือน ซึ่ง
จะชว่ ยใหม้ แี ผนในการดาเนินชวี ติ ตอ่ ไป
วทิ ยากรเตมิ เตม็ เรอื่ งหลักสาคญั ในการเรียนรู้ไปสูก่ ารปฏบิ ตั ิ โดยเฉพาะรู้ 5 เรอื่ ง คือ

๘๒

1. ต้องรูจ้ กั ตนเอง
2. ต้องรู้จกั ปญั หาของตนเอง
3. รู้จักตนเองวา่ อยบู่ นฐานทรพั ยากรอะไรบา้ ง
4. รู้การใชท้ รัพยากร
5. รู้จกั ว่าตวั เราคอื ใคร อาชีพอะไร

ภำพประกอบรำยวชิ ำ

๘๓

บทท่ี 3
กำรประเมินผลโครงกำร

โครงกำรพฒั นำพนื้ ท่ีตน้ แบบกำรพัฒนำคณุ ภำพชวี ติ ตำมหลกั ทฤษฎีใหม่ประยกุ สู่ "โคก หนอง นำ โมเดล"
กจิ กรรมท่ี 1 ฝึกอบรมเพมิ่ ทกั ษะระยะส้นั กำรพัฒนำกสกิ รรมสูร่ ะบบเศรษฐกจิ พอเพียง
รปู แบบ โคก หนอง นำ โมเดล
ระหว่ำงวันท่ี 29 พฤศจิกำยน – 3 ธนั วำคม พ.ศ. 2563
ณ ศนู ย์ศึกษำและพัฒนำชมุ ชนนครนำยก

1. วัตถปุ ระสงค์โครงกำร

เพื่อพัฒนาผู้เข้าอบรมให้มีความรูค้ วามเข้าใจเศรษฐกิจพอเพยี งรูปแบบโคก หนอง นา โมเดล พัฒนา
ให้กลุม่ เป้าหายเปน็ แกนนาการพฒั นา สามารถเป็นครกู ระบวนการ ครูกสิกรรม ครปู ระจาฐานเรยี นรกู้ ารพงึ่ พา
ตนเอง และครพู าทา เพื่อขบั เคล่ือนงานและเช่ือมโยงเครอื ขา่ ยในพื้นทที่ ง้ั 7 ภาคี

2. วนั เวลำและสถำนที่

ศูนยศ์ ึกษาและพัฒนาชมุ ชนนครนายก ระหวา่ งวันที่ 29 พฤศจกิ ายน – 3 ธนั วาคม พ.ศ. 2563

3. กลมุ่ เป้ำหมำย
เจ้าหนา้ ที่พฒั นาชุมชนจังหวดั ๆ ละ 1 คน และเจ้าหนา้ พัฒนาชมุ ชนจระดบั อาเภอ ๆ ละ 1 คน รวม

จานวน 75 คน

4. รปู แบบและวิธีกำรประเมิน

มีการประเมินภาพรวมโครงการ โดยได้ทาเป็นแบบประเมินสอบถามความคิดเห็นรายประเด็นเพ่ือเป็น
เครอื่ งมอื ในการรวบรวมขอ้ มูล ลกั ษณะของแบบสอบถามเป็นแบบมาตราสว่ นประเมนิ ค่าโดยในแต่ละข้อคาถาม
จะมีคาตอบให้เลือก 5 ตัวเลอื ก และผู้ตอบแบบสอบถามสามารถเลือกตอบได้เพยี งตัวเลือกเดียว ดังนี้

ส่วนที่ 1 ข้อมูลทว่ั ไป ประกอบด้วย เพศ อายุ และการศึกษา
ส่วนท่ี 2 ความคดิ เห็นต่อโครงการ

2.1 การบรรลุวัตถปุ ระสงคข์ องโครงการ
2.2 ประโยชน์ของหวั ขอ้ วิชาต่อการนาความรไู้ ปปรับใช้ในการปฏิบัตงิ าน
2.3 ความพึงพอใจต่อภาพรวมของโครงการ
2.4 ขอ้ เสนอแนะ

5. กำรเกบ็ รวบรวมข้อมูล

วิธกี ารเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู โดยใหผ้ ู้เข้าอบรมทาแบบสอบถามออนไลน์ผ่านทาง Google Form

6. กำรวิเครำะห์ขอ้ มูล
วเิ คราะหข์ อ้ มูลจากการนาผลจากการทาแบบสอบถามมาประเมนิ ผล และหาค่าเฉล่ยี ตามหลัก

คณติ ศาสตร์ โดยใชค้ า่ เฉลยี่ ( )̅

๘๔

7. เกณฑ์กำรประเมนิ ผล

เม่อื เกบ็ รวบรวมข้อมลู เสร็จเรยี บร้อยแลว้ ได้กาหนดเกณฑส์ าหรับการวิเคราะห์ข้อมูล ดงั นี้

ระดับความคิดเหน็ มากท่สี ดุ = 5 เกณฑ์ในการประเมินคอื 4.51 - 5.00

ระดบั ความคิดเหน็ มาก = 4 เกณฑใ์ นการประเมินคอื 3.51 - 4.50

ระดบั ความคิดเห็นปานกลาง = 3 เกณฑใ์ นการประเมนิ คือ 2.51 - 3.50

ระดบั ความคดิ เห็นน้อย = 2 เกณฑ์ในการประเมนิ คอื 1.51 - 2.50

ระดบั ความคิดเห็นน้อยท่ีสดุ = 1 เกณฑใ์ นการประเมนิ คือ 1.00 - 1.50

8. ผลกำรประเมินโครงกำรและผลกำรประเมินรำยวชิ ำ
สว่ นที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
ส่วนท่ี 2 ความพงึ พอใจต่อโครงการ
ส่วนท่ี 3 ความคิดเหน็ และข้อเสนอแนะอ่นื ๆ

8.1 ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถำม
ผู้ตอบแบบประเมินโครงการ จานวน 75 คน
จากกลุ่มเป้าหมาย เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชนจังหวัด ๆ ละ 1 คน และเจ้าหน้าพัฒนาชุมชนจ

ระดบั อาเภอ ๆ ละ 1 คน รวม จานวน 75 คน มีผูต้ อบแบบประเมินจานวน 75 คน คดิ เป็นร้อยละ
100 ของกลุ่มเป้าหมาย จากผลการประเมินข้อมูลท่ัวไปของผู้ตอบแบบประเมินโครงการฯ
มีรายละเอยี ดดงั น้ี

1) เพศ เพศหญิง จานวน 46 คน คิดเป็นร้อยละ 61.33 และเพศชาย จานวน 29 คน
คดิ เป็นรอ้ ยละ 38.67

2) อายุ กลุ่มเป้าหมายส่วนใหญ่ อยู่ในช่วงอายุ 41 - 50 ปี คิดเป็นร้อยละ 50.67 และ
กลุ่มเป้าหมายอยู่ในช่วงอายุ 51 ขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 36 ช่วงอายุ 31-40 ปี คิดเป็นร้อยละ
13.00 ตามลาดบั

3) การศึกษา กลุ่มเป้าหมายส่วนใหญ่ มีระดับการศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรี
คิดเปน็ ร้อยละ 56 ระดับปรญิ ญาโท คิดเป็นรอ้ ยละ 42.67 และอ่ืน ๆ คดิ เปน็ ร้อยละ 1.33

8.2 ส่วนท่ี 2 ควำมพึงพอใจต่อโครงกำร ค่าเฉลย่ี ระดับ
ประเดน็ ( ̅ )

1. กระบวนกำรขั้นตอนกำรให้บริกำร (กำรฝกึ อบรม) 4.10 มำก
1.1 ความเหมาะสมของสถานที่ 4.55 มำกท่สี ุด
1.2 ความเหมาะสมของระยะเวลา 4.11 มาก
1.3 ความเหมาะสมของช่วงเวลา 3.85 มาก
1.4 การจดั ลาดับขนั้ ตอนการให้บรกิ าร 3.91 มาก

๘๕

ประเด็น ค่าเฉล่ีย ระดบั
( ̅ )

2.วทิ ยำกร 4.09 มาก
2.1 ความรอบรู้ในเน้ือหาของวิทยากร 4.33 มาก
2.2 ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ 4.01 มาก
2.3 การเปิดโอกาสให้ซกั ถามแสดงความคิดเหน็ 4.13 มาก
2.4 การสรา้ งบรรยากาศในการเรียนรู้ 3.89 มาก
3. เจ้ำหน้ำทีผ่ ใู้ หบ้ ริกำร/ผปู้ ระสำนงำน (หนว่ ยงำนจดั ฝึกอบรม) 4.49 มำก
3.1 การแต่งกาย 4.56 มำกท่สี ุด
3.2 ความสภุ าพ 4.6 มำกทสี่ ุด
3.3 การตอบคาถาม ข้อสงสยั 4.47 มาก
3.4 การประสานงาน 4.35 มาก
4. กำรอำนวยควำมสะดวก (หนว่ ยงำนจัดฝกึ อบรม) 4.15 มำก
4.1 เอกสารประกอบการฝกึ อบรม 3.97 มาก
4.2 โสตทัศนูปกรณ์ 4.27 มาก
4.3 เจา้ หนา้ ที่ฝ่ายสนบั สนนุ 4.36 มาก
4.4 อาหาร, เครอ่ื งด่มื และสถานที่ 3.99 มาก
5. คุณภำพกำรใหบ้ ริกำร 4.22 มำก
5.1 ทา่ นได้รับความรู้ แนวคดิ ทกั ษะ และประสบการณใ์ หม่ จากโครงการน้ี 4.31 มำก
5.2 ทา่ นสามารถนาสง่ิ ทไี่ ด้รับจากโครงการน้ไี ปใช้ในการปฏบิ ตั ิงานของท่าน 4.8 มำก
5.3 สงิ่ ที่ท่านได้รบั จากโครงการครง้ั น้ีตรงตามความคาดหวงั ของทา่ น 3.96 มำก
5.4 สัดส่วนระหว่างการฝึกอบรมภาคทฟษฎกี บั ภาคปฏบิ ัติมีความเหมาะสม 3.95 มำก
4.6 ประโยชนท์ ่ีได้รบั จากโครงการ/หลกั สตู ร 4.11 มำก

ควำมพึงพอใจตอ่ โครงกำร (คะแนนเฉลี่ยโดยรวม) 4.21 มำก

จากตารางการประเมนิ ผลความพงึ พอใจต่อโครงการ จากผ้ตู อบแบบสอบถาม จานวน 75 คน พบว่า
กลุ่มเป้าหมายท่ีเข้ารับการฝึกอบรมในกิจกรรมที่ 1 ฝึกอบรมเพ่ิมทักษะระยะสั้นการพัฒนากสิกรรมสู่ระบบ
เศรษฐกิจพอเพียง รูปแบบ โคก หนอง นา โมเดล ณ ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนนครนายก ระหว่างวันที่
29 พฤศจิกายน – 3 ธันวาคม พ.ศ. 2563 มีความพึงพอใจต่อโครงการึกอบรม อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย
4.21 และเมอื่ พิจารณารายด้าน ปรากฏผลดงั นี้

๘๖

1) กระบวนกำรข้ันตอนกำรให้บริกำร (กำรฝึกอบรม) อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉล่ีย 4.1 และเมื่อ
พิจารณารายข้อ พบว่า ควำมเหมำะสมของสถำนท่ี อยู่ในระดับมำกท่ีสุด มีค่ำเฉล่ีย 4.55 และความ
เหมาะสมของระยะเวลา ช่วงเวลา และการจดั ลาดบั ขัน้ ตอนการให้บริการ อยูใ่ นระดับมาก

2) วิทยำกร อยู่ในระดับมาก อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย 4.09 และเมื่อพิจารณารายข้อ พบว่า ทุก
ข้ออยู่ในระดับมาก

3) ด้ำนเจ้ำหน้ำท่ีผู้ให้บริกำร/ผู้ประสำนงำน (หน่วยงำนจัดฝึกอบรม) อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉล่ีย
4.49 และเม่ือพจิ ารณารายขอ้ พบว่า เจ้ำหน้ำที่ผู้ให้บริกำร/ผู้ประสำนงำน มีควำมสุภำพและกำรแต่งกำย
เหมำะสม อยู่ในระดับมำกที่สุด มีค่ำเฉล่ีย 4.6 และ 4.56 ตำมลำดับ การตอบคาถาม ข้อสงสัย และการ
ประสานงาน อยู่ในระดบั มาก

4) กำรอำนวยควำมสะดวก (หน่วยงำนจัดฝึกอบรม) อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉล่ีย 4.15 และเม่ือ
พจิ ารณารายขอ้ พบวา่ ทกุ ข้ออยใู่ นระดบั มาก

5) คุณภำพกำรให้บริกำร อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย 4.22 และเม่ือพิจารณารายข้อ พบว่า ทุกข้อ
อยู่ในระดบั มาก

8.3 ส่วนท่ี 3 ควำมคิดเห็นและข้อเสนอแนะอื่น ๆ

ท่ี หัวข้อ ขอ้ เสนอแนะ

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง "ทฤษฎีบันได 9 ข้ันสู่ความพอเพียง” และวิชาหลักกสิกร

รมธรรมชาติ (วทิ ยากร : อาจารย์ปญั ญา ปลุ เิ วคินทร์) ควรเพมิ่ ระยะเวลาในการเรยี นมาก

ขนึ้ เพื่อสรา้ งความเข้าใจให้มากขึ้นสูก่ ารทาไปปฏิบัตงิ านในพ้ืนที่ (ครพู าทา)

เนน้ ทฤษฎี แนวคดิ หลกั การปฏบิ ัติ มากกวา่ นาเสนอตวั อย่างความสาเร็จ หากใช้วิธีการ

สอนด้วยการนาเสนอตัวอย่างความสาเร็จ กลุ่มเป้าหมายระดับครัวเรือน อาจไม่เข้าใจ

กระบวนการไปสู่ความสาเร็จ

1 เน้อื หำ เนือ้ หาหลกั สตู รทกุ รายวิชาสามารถนาไปประยุกตใ์ ช้ไดจ้ รงิ และปฏิบัติงานในพื้นทีไ่ ด้

หลักสตู ร ผู้เข้าอบรมเห็นด้วยกับกิจกรรมฝึกปฏิบัติ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์โครงการฯ ซ่ึง

สามารถนาความรไู้ ปต่อยอด เผยแพรใ่ นพืน้ ทไ่ี ด้

ก าร บูร ณาก าร หลั ก สู ตร ก าร พั ฒ น าก สิ ก ร ร มสู่ ร ะ บบเศร ษฐกิ จพ อ เพี ย ง หลั ก สู ตร ก า ร

ออกแบบเชิงภูมิสังคมไทยเพ่ือการพึ่งพาตนเองและรองรับภัยพิบัติ ส่งผลให้รายวิชาใน

เนื้อหาหลักสูตรนี้ มีจานวนมาก ซ่ึงบางรายวชิ าเป็นรายวิชาที่สาคัญอย่างย่ิงในการนาไป

เป็นแนวทางการปฏิบัติงาน เช่น วิชาการออกแบบเชิงภูมิสังคมไทยตามหลักการ

พัฒนาภูมิสังคมอย่างย่ังยืนเพื่อการพึ่งตนเองและรองรับภัยพิบัติ วิชาพ้ืนฐานการ

ออกแบบเพ่ือการรจัดการพื้นท่ีตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ โคก หนอง นา โมเดล

เนื่องจากเป็นวิชาที่สร้างความรู้ใหม่ แนวคิด และประโยชน์ ต่อการนาไปปฏิบัติงานใน

พื้นที่ ซึ่งช่วยใหเ้ ข้าใจทไ่ี ปทมี่ าของการออกแบบพนื้ ท่ี เปน็ ตน้

เนอ้ื หาวิชาทาใหเ้ ขา้ ใจหลักทฤษฎใี หมป่ ระยกุ ตส์ ู่ โคก หนอง นา โมเดล ชดั เจนมากย่ิงขน้ึ

ควรเพ่ิมเนอ้ื หาเกี่ยวกบั ทฤษฎใี หมป่ ระยุกต์สู่ โคก หนอง นา โมเดล ให้ลกึ และชดั เจนมาก

ข้นึ กว่าน้ี เพือ่ นาไปเผยแพร่ความรไู้ ด้ถูกต้อง

๘๗

ท่ี หัวขอ้ ขอ้ เสนอแนะ

หลักสตู รทาให้เข้าใจกระบวนการและกิจกรรมของ “โคก หนอง นา โมเดล” มากขนึ้

เพิ่มเติมเนื้อหาท่ีจาเป็นต่อการบริหารโครงการ เช่น การจัดซ้ือ จัดจ้าง การร่างขอบเขต

งานการตรวจรับงาน เกยี่ วกับการขุด การบรหิ ารความเสี่ยงของโครงการฯ

เนน้ ภาคปฏิบัติใหม้ ากกวา่ ทฤษฎี และเจาะลึกทฤษฎี แนวคดิ ใหม้ ากข้นึ
เน้อื หำ ทาใหเ้ ขา้ ใจหลักการการจัดการพ้ืนที่ชัดเจนมากขึน้ สามารถนาไปพัฒนาพื้นทไี่ ด้
หลักสูตร สามารถนาความรู้ไปถ่ายทอดให้กับกลุ่มเป้าหมายอย่างตรงจุดถูกต้องและตรงตาม
(ตอ่ ) วัตถุประสงคโ์ ครงการฯ

กระบวนการฝึกอบรมเนน้ กระบวนการมสี ่วนรว่ ม ส่งผลให้เกดิ ความรกั ความสามัคคี และ

สร้างการเรียนรู้อย่างเป็นขั้นเป็นตอน เพ่ือให้สามารถนาไปถ่ายทอดให้บุคลากรใน

สานักงานพัฒนาชุมชนและครวั เรือนเปา้ หมายได้

ทาให้สามารถปรับเปล่ียนความคิด เพ่ือการขับเคลื่อนงานในพื้นท่ีเป้าหมายได้ชัดเจน

ถกู ตอ้ ง

ปรับเวลาการเรยี นให้นอ้ ยลง (ในการเรยี นแต่ละวนั ไมค่ วรเกนิ 20.00 น.)

ได้รับฟังนโยบายโดยตรงจากผูบ้ รหิ ารและที่ปรึกษาฯ โดยตรง

จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ระหว่างผเู้ ขา้ อบรมเก่ยี วหบั หลักกสกิ รรมธรรมชาติ

รายวิชาหลังจากการฝึกปฏิบัติ ไม่ควรเป็นการฟังบรรยาย เน่ืองจากทาให้ประสิทธิภาพ

การเรียนรู้และการรับรลู้ ดลง

แบบฝึกหัดในรายวิชาพื้นฐานการออกแบบเพื่อการรจัดการพื้นที่ตามหลักทฤษฎีใหม่

ประยุกตส์ ู่ โคก หนอง นา โมเดล มีประโยชน์ สามารถใหเ้ ขา้ อบรมคิดตามได้ ทาใหเ้ ข้าใจ

หลักการบรหิ ารจัดการพ้ืนทม่ี ากขึน้

การฝกึ อบรมสดุ โตง่ ไม่ใช่ ทางสายกลาง

เพิ่มกจิ กรรมเสรมิ สร้าง สร้างแรงจงู ใจในการทางาน

ลดการนาเสนอประวัติโครงการฯ เพิม่ เนื้อหาการออกแบบพ้ืนท่ีฯ

ควรมีวทิ ยากรเครอื ข่ายทีต่ ้องทางานรว่ มกันในพ้นื ท่ี

วิทยากรภายนอกควรส่ือสารด้วยความสุภาพ ให้เกียรติผู้เข้าอบรม ให้ความเคารพซงึ่ กนั

และกัน และควรมีวุฒิภาวะ ซึ่งคาพูดของวิทยากรไม่สามารถสร้างแรงจูงใจให้คนฟังได้

และส่งผลให้ผ้เู ข้าอบรมเกิดอคตกิ ับวทิ ยากรได้

วทิ ยากรพูดเนอ้ื หาซ้ากนั ควรปรับปรุงเน้ือหา เพ่ือได้รับความรูท้ ห่ี ลากหลายและนา่ สนใจ

และลดการใช้สือ่ ที่สามารถคน้ ควา้ เองได้ (ต้องการความรูใ้ หม่และทันสมัย)
2 วิทยำกร ผ้เู ขา้ อบรมชืน่ ชม อ.ปัญญา ปุลเิ วคินทร์ เพราะอาจารย์สอนเขา้ ใจงา่ ย กระชับ นาไปใช้ได้

จรงิ

ควรให้บรรยากาศแห่งการเรียนรู้เป็นของผู้เรียน / อบรม มากที่สุด (เน้นผู้เรียนเป็น

ศนู ยก์ ลาง)

วทิ ยากรรายวชิ าพ้นื ฐานการออกแบบเพื่อการรจัดการพ้ืนท่ีตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์

สู่ โคก หนอง นา โมเดล

เน้ือหาของวิทยากรควรเป็นความรู้ท่ีนาไปใช้ประโยชน์ได้ต่อ ไม่ควรเป็นผลงานของ

วิทยากร

๘๘

ท่ี หัวข้อ ขอ้ เสนอแนะ

วทิ ยำกร ควรสร้างพลังใจใหผ้ เู้ ข้าอบรม

(ตอ่ ) วิทยากรควรเปิดโอกาสให้ผู้เข้าอบรมได้ถามประเด็นข้อสงสัยในรายวิชาพื้นฐานการ

ออกแบบเพอื่ การรจัดการพ้ืนทต่ี ามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ โคก หนอง นา โมเดล

เน้อื หาการสอนในบางรายวชิ าไมต่ รงกบั หวั ข้อในการเรียน

วิทยากรบางท่านยังไมเ่ ข้าใจจติ วญิ ญาณของ คน พช. อยา่ งถ่องแท้

ผู้อานวยการและเจ้าหน้าที่ศูนย์ฯ ถ่ายทอดความรู้และประสานงานได้ดีมาก มีความเป็น

กนั เอง ความตั้งใจ มงุ่ มั่นทมุ่ เทในการทาหน้าท่ีวทิ ยากร

ประทับวิทยากรศูนย์ฯ ทุกคน ที่ให้ความรู้ เช่ือมโยงการจัดการความรู้ สู่ความเข้าใจ

เขา้ ถงึ ในตัวหลักสตู ร และสร้างบรรยากาศในการเรียนร้ไู ดเ้ ป็นอย่างดี
3 เจ้ำหนำ้ ที่ วิทยากรตอ้ งสรา้ งกตกิ าใหช้ ัดเจนตามกระบวนการสอนให้ชดั เจนมากข้นึ
ศนู ยฯ์ เจ้าหนา้ ทศ่ี นู ย์ฯ มคี วามพร้อมในการฝึกอบรม มีความรู้ มีความสามารถ ส่อื สารถา่ ยทอด

องคค์ วามรูไ้ ดด้ ี

คณะวิทยากรประจาศูนยฯ์ ชีแ้ จงกระบวนการฝกึ ปฏิบตั ิไมช่ ัดเจน

ส่ือบุคคลต้นแบบ (พ่อเลีย่ ม บุตรจนั ทา) สามารถสรา้ งแรงบนั ดาลใจในการทางานได้อย่าง

ดี

ให้กาลังใจเจ้าหน้าท่ีบุคลากรศูนย์ฯ ในการทาหน้าท่ีสาคัญในบทบาทนักฝึกอบรม และ

ก้าวแรกของ โคก หนอง นา โมเดล
4 อ่นื ๆ สง่ เสริมการให้กาลังใจแกผ่ ู้เข้าอบรม

เพ่มิ เอกสารการฝกึ อบรมในทกุ รายวชิ า

ควรเพมิ่ ศักยภาพของโสตทัศนปู กรณ์ให้มีความพรอ้ ม เชน่ กรณีการถ่ายทอดสด ควรเป็น

ระบบ two-way เพื่อความรวดเร็วในการส่ือสาร และเกิดการเรียนรู้ท่ีมีประสิทธิภาพ

เช่น กิจกรรมเอามื้อสามัคคีควรมี Drone ในการเก็บภาพบรรยากาศภาพมุมสูง เพื่อ

เสริมแรงในการเรียนแก่ผู้เข้ารบั การฝกึ อบรม

ภำคผนวก

๙๐

ภำพประกอบรำยงำนผลกำรฝกึ อบรม

โครงกำรพัฒนำพน้ื ท่ีต้นแบบกำรพฒั นำคุณภำพชีวติ ตำมหลกั ทฤษฎีใหม่ประยุกสู่ "โคก หนอง นำ โมเดล"
กิจกรรมท่ี 1 ฝึกอบรมเพ่ิมทักษะระยะส้นั กำรพัฒนำกสกิ รรมสูร่ ะบบเศรษฐกิจพอเพียง
รปู แบบ โคก หนอง นำ โมเดล
ระหวำ่ งวันท่ี 29 พฤศจกิ ำยน – 3 ธนั วำคม พ.ศ. 2563
ณ ศูนยศ์ กึ ษำและพฒั นำชุมชนนครนำยก

วนั ท่ี 29 พฤศจกิ ำยน 2563

พธิ เี ปดิ มอบนโยบายโดย นายสุทธพิ งษ์ จลุ เจริญ อธิบดีกรมการพฒั นาชุมชน

กจิ กรรมกลมุ่ สัมพนั ธ์ แบ่งกล่มุ มอบภารกจิ

๙๑

วิชา เรียนร้ตู าราบนผืนดนิ : กจิ กรรมเดนิ ชมพื้นที่
วชิ า โครงการพฒั นาพน้ื ท่ตี ้นแบบการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ตามหลักทฤษฎีใหมป่ ระยุกต์สู่ โคก หนอง นา โมเดล

วชิ าการแปลงปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งสู่การปฏิบัติแบบเปน็ ข้ันเปน็ ตอน

๙๒

วนั ท่ี 30 พฤศจิกำยน 2563

วชิ า ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง “ทฤษฎีบนั ได 9 ข้นั สู่ความพอเพยี ง และวิชาหลักกสกิ รรมธรรมชาติ

ฝึกปฏบิ ัติฐานเรยี นรู้

๙๓

วชิ า ถอดบทเรียนผ่านสื่อ “วถิ ภี มู ิปัญญาไทยกับการพง่ึ ตนเองในภาวะวกิ ฤต”
วนั ที่ 1 ธนั วำคม 2563

วชิ า สุขภาพพึ่งตน พฒั นา 3 ขุมพลัง พลงั กาย พลงั ใจ พลังปญั ญา
วชิ า ฝึกปฏิบัติ “จติ อาสาพัฒนาชุมชน เอามอื้ สามัคคี พัฒนาพื้นที่ตามหลกั ทฤษฎใี หม่”


Click to View FlipBook Version