The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ok0616046957, 2022-04-13 07:27:57

อารยธรรมสำคัญของโลกตะวันตก

ปก_merged

ปก
อารยธรรมสำคัญของโลกตะวนั ตก
รายวิชาประวัติศาสตรส์ ากล ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 6

ครอู สิ รา โตะ๊ ยโี กบ
ตำแหน่งครู วิทยฐานะ ครชู ำนาญการ

กลุม่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
โรงเรยี นท่าศาลาประสทิ ธิ์ศึกษา

สำนักงานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษามธั ยมศึกษานครศรีธรรมราช

คมู่ ือ การใช้ E-Book

E-Book หมายถงึ หนังสืออเิ ลก็ ทรอนิกสท์ ีอ่ ยูใ่ นรูปแบบดิจิตอล ผู้อ่านสามารถอา่ นโดยใช้เครอื่ งคอมพิวเตอร์

E-Book มีคุณสมบตั พิ ิเศษกวา่ หนังสือกระดาษหลายประการ อาทิ แสดงผลดว้ ยภาพ ขอ้ ความ เสียง
ภาพเคลอื่ นไหว เปน็ ตน้

E-Book สามารถอา่ นในรูปแบบออนไลนแ์ ละออฟไลน์ได้

การใชง้ าน E-Book

1. การเปิดใช้งาน E-Book
ดบั เบิลคลิกทไ่ี ฟลห์ นังสอื E-Book ทีม่ ีนามสกลุ .exe

2. เปลยี่ นหนา้ ถดั ไป
2.1 การคลิกเมาสบ์ นสญั ลักษณ์ลกุ ศรในฝง่ั ท่ีตอ้ งการเปดิ
2.2 ใช้เมาส์คลิกซา้ ยลากหนา้ กระดาษใชก้ ับการใช้มอื จบั กระดาษเพ่ือเปล่ยี นหนา้
2.3 ใชล้ ูกศรบนแปน้ พิมพ์ หนา้ ถัดไปกดลกู ศรทางขวา ยอ้ นกลบั กดลูกศรทางซา้ ย

3. การเปิดจากลงิ คห์ น้าสารบญั
ลากเมาสไ์ ปหวั ขอ้ ท่ีต้องการให้แถบทห่ี วั ข้อนัน้ เปลี่ยนสี เมอื่ คลกิ จะเป็นการเปิกหนา้ หัวข้อที่เลอื กจาก
สารบญั

4. การเชอ่ื มโยงไปเว็บไซตอ์ น่ื
เมอื่ เลอ่ื นเมาสไ์ ปที่ขอ้ ความหรอื ลงิ ค์ จะนูนข้นึ เปน็ ปมุ่ ขึน้ มาให้คลกิ ปุ่มท่มี กี ารเชอื่ มโยงได้เลย

5. การเลน่ วดิ โี อ
กดเครื่องหมายสามเหลี่ยมบนวดิ โี อเพอ่ื ทำการเล่นวิดโี อ กดหยดุ และขยายหนา้ จอได้ โดยคำส่งั ปุม่ กดตา่ ง
ๆ จะอย่ดู า้ นล่างของวดิ โี อ

6. การปิด
กดเครอ่ื งหมาย ที่มุมจอดา้ นบนขวาเพอ่ื ปิดการใชง้ าน

คำนำ

สภาพปัญหาของการจัดการเรยี นรู้รายวิชาประวตั ิศาสตร์สากล ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 ทน่ี ักเรยี นมที ัศนคติ
ทไ่ี มด่ ีต่อการเรยี น ในด้านเนอ้ื หาท่ีมาก ครผู ู้สอนใช้วธิ ีการสอนแบบบรรยายและการทอ่ งจำ ทำใหย้ ากตอ่ การ
เข้าใจเน้ือหา แนวทางการจดั การเรียนการสอนแบบเดิมยังไมส่ ่งผลให้ผ้เู รยี นเกิดการเรียนรเู้ ท่าทีค่ วร เน่อื งมาจาก
บรบิ ทของสงิ่ แวดล้อม การเข้าถึงสอ่ื /เทคโนโลยีของผ้เู รยี นคอ่ นข้างไม่ครอบคลมุ จึงส่งผลให้การจดั การเรียนรตู้ อ่
ผู้เรียนยงั ไมเ่ ป็นไปตามเป้าหมาย ดงั นั้น เพือ่ ใหเ้ กิดการพัฒนาทกั ษะกระบวนการแนวคิดเชิงคำนวณที่ดขี ้ึน
ครผู ้สู อนจงึ ใช้วิธีการประยุกตจ์ ากเทคโนโลยดี ้วยแบบการใช้บทเรียนสำเร็จรปู (E – book) และการจัดกิจกรรม
การเรียนการสอนในรูปแบบ Active Learning ซ่ึงเปน็ นวตั กรรมท่ีนำมาปรบั ประยุกตใ์ ช้ในการพัฒนาการจัดการ
เรียนรู้

การใชบ้ ทเรยี นสำเร็จรูป (E – book) และการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนในรปู แบบ Active Learning
เรอ่ื งอารยธรรมสำคัญของโลกตะวนั ตก จึงเปน็ แนวทางการจัดการเรยี นรทู้ ่ีสง่ เสรมิ ความน่าสนใจ ความพึงพอใจ
และการพฒั นาผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นของผเู้ รยี นได้สูงข้นึ

อิสรา โตะ๊ ยีโกบ

สารบัญ

1. แบบทดสอบกอ่ นเรยี น
2. อารยธรรมเมโสโปเตมี
3. กจิ กรรมทา้ ทาย
4. อารยธรรมอียิปต์
5. กจิ กรรมทา้ ทาย
6. อารยธรรมกรีก
7. กจิ กรรมท้าทาย
8. อารยธรรมมนั
9. กจิ กรรมท้าทาย
10. แบบทดสอบหลงั เรยี น

กิจกรรมท้าทาย เร่ืองอารยธรรมเมโซโปเตเมีย

ใหน้ กั เรยี นสืบคน้ การประดิษฐ์ตวั อักษรของชาติต่าง ๆ เช่น อักษรไฮโรกลิฟิกของชาวอยี ิปตโ์ บราณ อกั ษร
ภาพของชาวกลมุ่ แม่น้ำสนิ ธใุ นอนิ เดีย อักษรจนี โบราณ แล้วจดั ทำสมุดภาพ “ตำนานลายลกั ษณอ์ ักษ” เล่า
เร่อื งราวความเป็นมาของการประดิษฐต์ ัวอกั ษรของมนุษย์

กจิ กรรมท้าทาย เรอื่ งอารยธรรมอียิปต์
ให้นกั เรียนศึกษาค้นควา้ เกยี่ วกบั ข้นั ตอนการทำมัมม่จี ากแหลง่ การเรยี นรู้ตา่ ง ๆ

กจิ กรรมท้าทาย เรอ่ื งอารยธรรมกรีก
ครูให้นักเรยี นจำทำเสน้ เวลา (Timeline) แสดงพัฒนาการของอารยธรรมกรกี พรอ้ มท้งั ภาพประกอบ

กจิ กรรมท้าทาย เร่ืองอารยธรรมโรมนั
ครใู ห้นกั เรยี นแบ่งกลุม่ กลมุ่ ละ 5-6 คน จัดทำแผ่นพับเก่ยี วกบั ความเจรญิ รุ่งเรอื งของอารยธรรมโรมนั

แบบทดสอบกอ่ นเรยี น
เรอื่ งอารยธรรมสำคญั ของโลกตะวนั ตก

คำชี้แจง ใหน้ ักเรียนเลอื กคำตอบที่ถูกต้องท่สี ดุ เพียงคำตอบเดียว
1. ชนกลมุ่ ใดของอารยธรรมเมโซโปเตเมยี ทไี่ ดป้ ระดิษฐต์ วั อักษรคูนฟิ อรม์ เกดิ ข้นึ

ก. ซเู มอร์
ข. อัสซเี รยี
ค. ชาวบาบโิ ลเนยี
ง. ชาวฮบิ รู
2. ขอ้ ใดเปน็ ผลมาจากการประดิษฐ์ตัวอักษรของอารยธรรมโบราณ
ก. ระบบโทรทัศน์วงจรปดิ
ข. การส่ือสารกันด้วยอีเมล
ค. การแขง่ ขนั กีฬาโอลิมปิก
ง. ระบบโทรศพั ท์ระหวา่ งประเทศ
3. การขอหวยจากต้นไม้ของคนไทย สะทอ้ นถึงความเชื่อโบราณเรื่องใด
ก. ต้นไม้ใหป้ ระโยชน์ตอ่ มนุษยไ์ ดท้ ุกเร่อื ง
ข. หว่านพืชตอ้ งหวังผล เปน็ คนต้องหม่ันขวนขวาย
ค. มีเทพเจา้ หรือวิญญาณในส่งิ ต่างๆ ตามธรรมชาติ
ง. สิ่งต่างๆ ในธรรมชาติสามารถพยากรณ์เหตกุ ารณ์ลว่ งหน้าได้

4. เหตุใดบริเวณเมโสโปเตเมยี จงึ มีกลุ่มชนตา่ งๆ เข้ามาสรา้ งอารยธรรมจำนวนมาก
ก. เพราะมที รัพยากรทีส่ ง่ เสรมิ การสรา้ งอารยธรรม
ข. เพราะต้องอยู่บนเสน้ ทางคมนาคมในสมัยโบราณ
ค. เพราะเปน็ พื้นที่ราบทสี่ ะดวกต่อการเข้ายดึ ครองของชนกลมุ่ ตา่ งๆ
ง. เพราะมชี นกล่มุ ตา่ งๆ เขา้ มาอาศัยตงั้ ถ่ินฐานอยบู่ ริเวณสองฝ่งั แม่นำ้

5. สาเหตุสำคัญทที่ ำใหอ้ ารยธรรมอยี ปิ ต์พัฒนาอย่างมีเอกภาพคือขอ้ ใด
ก. มกี ารนับถอื เทพเจ้าองคเ์ ดยี ว
ข. ยึดถอื อารายธรรมเดมิ ตามบรรพบุรษุ
ค. ไม่มีชนชาติอ่นื มาปะปนในอาณาจักร
ง. มีสภาพภมู ิศาสตร์ท่ีปอ้ งกนั การรกุ รานจากภายนอก

6. ความเช่อื ของอียิปต์ในเร่ืองใด ทีม่ ีอทิ ธิพลตอ่ ความเชอื่ ของมนุษยใ์ นเวลาต่อมา
ก. ชวี ติ หลงั ความตาย
ข. มเี ทพเจ้าประจำเมือง
ค. ชีวิตอมตะไม่มวี นั ตาย
ง. มเี ทพเจา้ ในธรรมชาติ

7. พรี ะมิดแสดงถงึ ความเจรญิ ดา้ นใดของอารยธรรมอียปิ ต์
ก. ความเช่อื
ข. การปกครอง
ค. ภมู ศิ าสตร์
ง. สถาปัตยกรรม

8. การทำมัมมขี่ องอยี ปิ ตแ์ สดงถึงความเจริญของอารยธรรมอยี ปิ ตใ์ นด้านใด
ก. สิ่งทอ
ข. การแพทย์
ค. ความเชอ่ื
ง. ประติมากรรม

9. พัฒนาการของอารยธรรมกรกี ในสมยั เริม่ แรกประสบกบั ความชะงกั งนั ก่อนเขา้ สสู่ มยั คลาสสกิ ท้งั นี้เกดิ
จากปัจจัยใด

ก. การศกึ สงคราม
ข. การเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติ
ค. การยดึ มหากาพย์เปน็ หลักของชวี ิต
ง. การค้าระหว่างดินแดงต่างๆลดลง

10. สถาปัตยกรรมของอารยธรรมกรกี ในเรื่องใด ที่มอี ทิ ธพิ ลตอ่ สถาปตั ยกรรมในปัจจุบัน
ก. การสรา้ งอาคารยกพน้ื สงู
ข. การปน้ั รปู ผชู้ ายเปลอื ยกาย
ค. การสร้างหลงั คามงุ อาคาร
ง. การใชเ้ สาและคานรบั น้ำหนักอาคาร

11. เหตใุ ดจงึ ถอื วา่ กรีกเปน็ ประเทศประชาธิปไตยแหง่ แรกของโลก
ก. ประชาชนมีเสรภี าพในการปกครองตนเอง
ข. มีการออกกฎหมายตามความตอ้ งการของประชาชน

ค. มีการเลอื กต้ังผนู้ ำของตนจากตวั แทนของนครรฐั ต่างๆ
ง. ประชาชนมีสิทธเิ ลือกตัง้ และเป็นผู้ปกครองจากการเลอื กตั้ง
12. การสร้างงานศลิ ปกรรมของโรมนั มีจดุ ม่งุ หมายใดเปน็ หลัก
ก. เพ่ือประโยชน์ใช้สอย
ข. เพอ่ื ใช้ในการประกอบพธิ กี รรม
ค. เพอ่ื แสดงความศรัทธาตอ่ ศาสนา
ง. เพื่อแสดงความยง่ิ ใหญ่ของจกั รวรรดิ
13. มรดกทางอารายธรรมโรมนั ด้านกฎหมายและการปกครองคอื ขอ้ ใด
ก. โคลอสเซยี ม
ข. กฎหมาย12โตะ๊
ค. การผ่าตัดครั้งแรก
ง. โบสถฮ์ าเจยี โซเซีย
14. ข้อใดคอื ลกั ษณะงานวรรณกรรมของโรมนั ทม่ี ผี ลต่อโลกปจั จบุ ัน
ก. การเขียนงานยกยอ่ งตนเอง
ข. การแสดงความศรทั ธาตอ่ ศาสนา
ค. การยกเหตุการณ์ในอดีตมาอา้ งอิง
ง. การเขยี นงานท่มี ปี รศิ นาใหผ้ อู้ ่านไดค้ ดิ

15. เหตุใดประเทศเมอื งแมจ่ งึ นำวฒั นธรรมและวทิ ยาการตะวนั ตกไปเผยแพรใ่ นดนิ แดนอาณานคิ ม
ก. เพ่อื ใหง้ า่ ยตอ่ การปกครอง
ข. เพอื่ ให้ชนพนื้ เมอื งสามคั คีกนั
ค. เพ่อื พฒั นาดินแดนอาณานิคมให้เจรญิ
ง. เพ่อื ให้มคี วามพรอ้ มในการได้รับเอกราช

เฉลย
1. ก 2.ข 3ค. 4.ก 5.ง 6.ก 7.ง 8.ข 9.ก 10.ง 11.ข 12.ก 13.ข 14.ก 15.ก

13

4

ประวตั ศิ าสตร์สากล

กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี 4-6 เวลาเรียน 14 ช่ัวโมง

 มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ช้ีวดั

ส 4.2 ม.4-6/2 วิเคราะห์เหตุการณส์ าคญั ต่างๆ ทส่ี ่งผลตอ่ การเปลีย่ นแปลงทางสงั คม เศรษฐกิจ
และการเมอื งเขา้ สู่โลกสมยั ปัจจบุ นั

ม.4-6/3 วิเคราะห์ผลกระทบของการขยายอทิ ธิพลของประเทศในยุโรปไปยงั ทวีป
อเมริกา แอฟริกา และเอเชีย

 สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด

เหตุการณส์ าคญั ในโลกตะวนั ตกและตะวนั ออก การขยายและการล่าอาณานิคมของประเทศในยโุ รป
ไปยงั ทวีปอเมริกา แอฟริกา และเอเชียส่งผลต่อการเปล่ียนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมอื งเขา้ สู่โลก
สมยั ปัจจบุ นั

 สาระการเรียนรู้

3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง

1. เหตกุ ารณส์ าคญั ต่างๆ ทสี่ ่งผลตอ่ การเปลย่ี นแปลงของโลกในปัจจุบนั เช่น
- ระบอบศกั ดินาสวามภิ กั ด์ิ
- สงครามครูเสด
- การฟ้ื นฟศู ลิ ปวทิ ยาการ
- การปฏิวตั ิทางวทิ ยาศาสตร์
- การสารวจทางทะเล
- การปฏริ ูปศาสนา
- การปฏิวตั ิอตุ สาหกรรม
- แนวคิดเสรีนิยม แนวคดิ จกั รวรรดินิยม แนวคดิ ชาตนิ ิยม

2. การขยาย การล่าอาณานิคม และผลกระทบ
3. ความร่วมมือและความขดั แยง้ ของมนุษยชาติในโลกในคริสตศ์ ตวรรษที่ 20

14

3.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิน่

-

 สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี น

4.1 ความสามารถในการคดิ

- ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์
- ทกั ษะการคดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณ

4.2 ความสามารถในการแก้ปญั หา
4.3 ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต

- กระบวนการทางานกลุ่ม
- กระบวนการปฏิบตั ิ

 คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์

1. มีวินยั
2. ใฝ่เรียนรู้
3. มุ่งมน่ั ในการทางาน

 ช้ินงาน/ภาระงาน (รวบยอด)

การทาแผน่ พบั เกี่ยวกบั เหตกุ ารณส์ าคญั ทางประวตั ิศาสตร์ทมี่ ผี ลต่อโลกปัจจบุ นั

 การวดั และการประเมินผล

7.1 การประเมินก่อนเรียน

- นกั เรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ท่ี 4

7.2 การประเมนิ ระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

1. ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ระบอบฟิวดลั
2. ใบงานที่ 1.2 เรื่อง สงครามครูเสด
3. ใบงานที่ 2.1 เรื่อง ลทั ธิเสรีนิยม จกั รวรรดินิยม ชาตนิ ิยม และสงั คมนิยม
4. ใบงานที่ 3.1 เรื่อง ความขดั แยง้ ระหว่างประเทศ
5. ใบงานท่ี 3.2 เร่ือง ความร่วมมือระหว่างประเทศ

15

6. สังเกตการนาเสนอผลงานทีห่ นา้ ช้นั
7. สงั เกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม

7.3 การประเมินหลังเรียน

- นกั เรียนทาแบบทดสอบหลงั เรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 4

7.4 การประเมินช้ินงาน / ภาระงาน (รวบยอด)

- ประเมินแผน่ พบั เหตุการณ์สาคญั ทางประวตั ศิ าสตร์ท่ีมีผลตอ่ โลกปัจจุบนั

16

การประเมินชิ้นงาน / ภาระงาน (รวบยอด)

แบบประเมินแผ่นพับเหตุการณ์สาคัญทางประวตั ศิ าสตร์ทีม่ ผี ลต่อโลกปัจจบุ ัน

รายการประเมนิ ดมี าก (4) คาอธิบายระดบั คณุ ภาพ / ระดับคะแนน ปรับปรุง (1)

ดี (3) พอใช้ (2)

1. การวิเคราะห์ เขยี นวเิ คราะห์เหตุการณ์ เขยี นวิเคราะห์ เขียนวิเคราะห์ เขียนวเิ คราะห์

เหตุการณ์สาคัญ ทางประวตั ิศาสตร์ที่มี เหตกุ ารณท์ าง เหตกุ ารณท์ าง เหตุการณ์ทาง

ทาง ผลตอ่ โลกปัจจุบนั ได้ ประวตั ศิ าสตร์ท่ีมีผลตอ่ ประวตั ศิ าสตร์ทีม่ ีผล ประวตั ศิ าสตร์ทม่ี ีผล

ประวัติศาสตร์ ถูกตอ้ ง ชดั เจน และ โลกปัจจุบนั ไดถ้ ูกตอ้ ง ตอ่ โลกปัจจุบนั ได้ ตอ่ โลกปัจจบุ นั ได้
ที่มผี ลต่อโลก ครบถว้ นทกุ ประเดน็ ชดั เจนเป็นส่วนใหญ่ ถกู ตอ้ ง แต่มีความ บางประเด็น และมี
ปัจจุบัน และครบทุกประเด็น บกพร่องบางประเด็น ความบกพร่องมาก

2. การวิเคราะห์ อธิบายผลกระทบของการ อธิบายผลกระทบของ อธิบายผลกระทบ อธิบายผลกระทบของ

ผลกระทบของ ขยายอทิ ธิพลของประเทศ การขยายอทิ ธิพลของ ของการขยายอิทธิพล การขยายอิทธิพลของ

การขยายอทิ ธิพล ในยุโรปไปยงั ทวปี ต่างๆ ประเทศในยุโรปไปยงั ของประเทศในยุโรป ประเทศในยโุ รปไปยงั

ของประเทศใน ไดอ้ ยา่ งชดั เจนมเี หตผุ ล ทวปี ต่างๆ ไดอ้ ย่าง ไปยงั ทวีปต่างๆ ได้ ทวปี ต่างๆ ไม่ชดั เจน
ยุโรป
เหมาะสม ชดั เจนมีเหตุผล อย่างชดั เจนมเี หตผุ ล มเี หตผุ ลเป็นบาง

เหมาะสมเป็นส่วนใหญ่ เป็นบางประเด็น ประเด็น

3. การเรียบเรียง เรียบเรียงเน้ือหาไดด้ ี เรียบเรียงเน้ือหาไดด้ ี เรียบเรียงเน้ือหาไดด้ ี เรียบเรียงเน้ือหาได้

เนื้อหา มาก มีความสละสลวย เป็นส่วนใหญ่ ใชภ้ าษา เป็นบางตอน แต่มี ไม่ดี อ่านเขา้ ใจยาก

ใชภ้ าษาไดเ้ หมาะสม ไดเ้ หมาะสม เขา้ ใจงา่ ย ความบกพร่องในการ

เขา้ ใจง่าย ใชค้ าในการสื่อสาร

4. รูปแบบ รูปแบบมีความสวยงาม รูปแบบมีความสวยงาม รูปแบบมคี วาม รูปแบบไมส่ วยงาม

ดงึ ดดู ความสนใจไดด้ ี ดึงดูดความสนใจ สวยงาม แต่ไมม่ ี ไม่มคี วามสร้างสรรค์

มีความสรา้ งสรรค์ มคี วามสร้างสรรค์ ความแปลกใหม่ และเป็นรูปแบบท่ีพบ

แปลกใหม่ แปลกใหม่ ไดท้ ว่ั ไป

เกณฑ์การตดั สินคุณภาพ

ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ
14-16 ดีมาก
11-13 ดี
8-10 พอใช้
5-7 ปรบั ปรุง

 กิจกรรมการเรยี นรู้ 17

• นกั เรียนทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เวลา 4 ชั่วโมง

กจิ กรรมท่ี 1 เหตกุ ารณ์สาคญั ในสมัยกลาง

วธิ สี อนโดยเน้นกระบวนการ : กระบวนการคิดวิเคราะห์,
กระบวนการกล่มุ

1. ครูเปิ ดวีดิทศั น์เก่ียวกบั สงครามครูเสด หรือระบอบฟิวดลั ใหน้ กั เรียนชม ภายหลงั ชมเสร็จแลว้
ครูต้งั คาถามเพอ่ื กระตุน้ ใหเ้ กิดการคิดวเิ คราะห์

2. ครูแบ่งนกั เรียนออกเป็น 4 กลมุ่ และใหส้ มาชิกกลมุ่ เลือกประธาน รองประธาน เลขานุการ
เพื่อศึกษาเก่ียวกบั ระบอบฟิวดลั และสงครามครูเสด จากหนงั สือเรียน และแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ

3. ใหท้ ุกกลมุ่ ส่งตวั แทนออกมาจบั สลากหัวขอ้ ทจ่ี ะทาการศกึ ษาคน้ ควา้ กล่มุ ละ 1 หัวขอ้
4. ทกุ กลุ่มประชุมเพอ่ื ระดมสมองสรุปเหตุการณว์ างแผนศกึ ษาคน้ ควา้ ตามหวั ขอ้ ท่ีกลุ่มของตนไดร้ บั
5. ให้นกั เรียนแต่ละกลมุ่ ส่งตวั แทนออกมานาเสนอหนา้ ช้นั เรียน โดยเริ่มต้งั แต่กลมุ่ ที่ 1- 4
6. ครูใหน้ กั เรียนทาใบงานท่ี 1.1 เรื่อง ระบอบฟิวดลั และใบงานที่ 1.2 เร่ือง สงครามครูเสด
7. นกั เรียนและครูร่วมกนั สรุปสาระสาคญั เกี่ยวกบั ระบอบฟิวดลั และสงครามครูเสด
8. ครูเลา่ ประวตั ิของฟรันเซสโก เปตรากา ชาวอติ าเลียน ผทู้ ม่ี ชี ีวติ อยใู่ นสมยั ทม่ี ีการฟ้ื นฟูศลิ ป

วทิ ยาการ ให้นกั เรียนฟัง
9. ให้นกั เรียนศึกษาความรู้เร่ือง การฟ้ื นฟูศิลปวิทยาการ จากหนังสือเรียนและแหล่งการเรียนรู้อ่ืนๆ

เพมิ่ เติม โดยครูกาหนดประเดน็ การศกึ ษา
10. นกั เรียนและครูสรุปความรู้เกี่ยวกบั การฟ้ื นฟูศิลปะวิทยาการ

18

กจิ กรรมที่ 2 เหตกุ ารณ์สาคญั ในสมัยใหม่ - ปัจจบุ นั

วิธี ส อ น โด ย เน้ น ก ระบ ว น ก าร : ก ระบ ว น ก ารก ลุ่ม , เวลา 6 ช่ัวโมง

กระบวนการคิดวิเคราะห์ โดยใช้บทเรยี นสำเรจ็ รปู (E-Book)
เร่ืองเหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์กับเทคนิคการสอน
แบบ Active Learning

1. ครูนาภาพเจา้ ชายเฮนรี ราชนาวิก คริสโตเฟอร์ โคลมั บสั เฟอร์ดินานด์ แมกเจลแลน
มาใหน้ กั เรียนดู แลว้ ใหน้ กั เรียนช่วยกนั ตอบในประเด็นคาถาม

2. ครูใหน้ กั เรียนดูบทเรียนสาเร็จรูป (E-Book) เรื่องเหตกุ ารณ์สาคญั ทางประวตั ศิ าสตร์กบั
เทคนิคการสอนแบบ Active Learning
3. นกั เรียนแบ่งเป็น 4 กลมุ่ สมาชิกแต่ละกล่มุ เลือกประธาน รองประธาน เลขานุการแลว้ ให้แต่ละ

กลุ่มส่งตวั แทนออกมาจบั สลากหวั ขอ้ ครูช้ีแจงใหท้ กุ กลุ่มทราบวา่ เม่ือแตล่ ะกลมุ่ ไดร้ ับหวั ขอ้ ไป
แลว้ ใหไ้ ปศึกษาคน้ ควา้ ขอ้ มูลจากหนงั สือเรียนและแหลง่ การเรียนรู้ตา่ งๆ
4. นกั เรียนและครูร่วมกนั สรุปสาระสาคญั เก่ียวกบั การสารวจทางทะเล การปฏิรูปศาสนา การปฏวิ ตั ิ
ทางวทิ ยาศาสตร์ และการปฏวิ ตั อิ ุตสาหกรรมเพื่อเป็นการทบทวนความรู้
5. ครูนาวีดิทศั นเ์ กี่ยวกบั การปฏิวตั ิฝรงั่ เศส ค.ศ. 1789 มาใหน้ กั เรียนชม ภายหลงั การชมวดี ิทศั น์
ครูต้งั คาถามแลว้ ให้นกั เรียนช่วยกนั ตอบ
6. ครูอธิบายให้นกั เรียนเขา้ ใจวา่ การปฏิวตั ฝิ ร่งั เศส ค.ศ. 1789 เพื่อลม้ ลา้ งการปกครองระบอบ
สมบูรณาญาสิทธิราชย์
7. ครูใหน้ กั เรียนศึกษาเกี่ยวกบั ลทั ธิเสรีนิยม ลทั ธิจกั รวรรดินิยม ลทั ธิชาตนิ ิยม และลทั ธิสงั คมนิยม
จากหนงั สือเรียน
8. ให้นกั เรียนภายในหอ้ งจบั คกู่ นั และทาใบงานท่ี 2.1 เร่ือง ลทั ธิเสรีนิยม จกั รวรรดินิยม ชาตินิยม
และสังคมนิยม
9. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปสาระสาคัญเกี่ยวกับลัทธิเสรีนิยม จักรวรรดินิยม ชาตินิยม และ
สังคมนิยม

19

แบบทดสอบก่อนและหลงั เรียน ประจาหน่วยการเรียนรู้ที่ 4

คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนเลือกคาตอบท่ีถูกตอ้ งทีส่ ุดเพียงคาตอบเดียว

1. ในระบอบฟิวดลั บคุ คลใดเป็นผทู้ ีม่ ฐี านะสูงทสี่ ุดและต่าท่สี ุด
ก. ขนุ นาง-อศั วนิ
ข. กษตั ริย-์ ขนุ นาง
ค. กษตั ริย-์ ชาวนาและทาสตดิ ทีด่ ิน
ง. ขนุ นาง-ชาวนาและทาสติดทีด่ ิน

2. ขอ้ ใดเป็นสาเหตทุ ีท่ าใหร้ ะบอบฟิวดลั เส่ือมอานาจลงในสงั คมยโุ รป
ก. เกิดสงครามครูเสด
ข. ขุนนางแยง่ ชิงอานาจกนั เองภายใน
ค. ชาวนาและทาสตดิ ท่ดี ินพากนั ประทว้ ง
ง. กษตั ริยส์ ั่งยบุ อานาจและดูแลขุนนางและราษฎรโดยตรง

3. เหตใุ ดชาวคริสตแ์ ละชาวมุสลมิ จึงตอ้ งทาสงครามแยง่ ชิงดินแดนปาเลสไตน์
ก. เป็นเมอื งท่าท่ีเหมาะแก่การคา้ ขาย
ข. เป็นเมืองทีม่ ีอานาจมากท่สี ุดในยโุ รป
ค. เป็นเมอื งที่มที รัพยากรธรรมชาติอดุ มสมบรู ณ์
ง. เป็นดินแดนศกั ด์ิสิทธ์ิโดยเป็นท่ปี ระสูติของพระเยซู

4. สงครามครูเสดส่งผลต่อยโุ รปหลายประการ ยกเว้น ขอ้ ใด
ก. ทาลายระบอบฟิวดลั
ข. เกิดการปฏริ ูปศาสนา
ค. เกิดการฟ้ืนตวั ทางการคา้
ง. เกิดการแลกเปล่ียนศลิ ปวิทยาการ

5. ภาพโมนา ลิซา เป็นผลงานของศิลปิ นคนใด ข. มาซกั ซิโอ
ก. ราฟาเอล ง. ลโี อนาร์โด ดา วินชี
ค. ไมเคิล แองเจโล

20

6. ขอ้ ใด ไม่ได้ มีส่วนส่งเสริมให้เกิดการสารวจทางทะเล
ก. ผลประโยชน์ทางการคา้
ข. การอุปถมั ภข์ องกษตั ริย์
ค. องคก์ รคริสตศาสนจกั ร
ง. ความเจริญกา้ วหนา้ ทางวทิ ยาการ

7. ขอ้ ใดคอื ผลงานสาคญั ของคริสโตเฟอร์ โคลมั บสั
ก. การคน้ พบทวปี อเมริกา
ข. การคน้ พบทวปี ออสเตรเลยี
ค. การเดินเรือรอบโลกเป็นคร้งั แรก
ง. การเดินทางมาถงึ อินเดียเป็นคร้ังแรก

8. ขอ้ ใดเป็นผลของการสารวจทางทะเลดา้ นสังคม
ก. การผกู ขาดการคา้ เคร่ืองเทศ
ข. เกิดการปฏวิ ตั ทิ างนิเวศวิทยา
ค. การทาลายวฒั นธรรมพ้นื เมอื งในพ้นื ทีต่ ่างๆ
ง. การยึดครองดินแดนตา่ งๆ ในทวปี อเมริกาใตแ้ ละเอเชีย

9. เหตผุ ลของการปฏริ ูปศาสนาในขอ้ ใดทีแ่ ตกต่างจากขอ้ อ่นื
ก. การแยกออกเป็นนิกายองั กฤษ
ข. การปฏิรูปศาสนาของพวกอูเกอโน
ค. การปฏริ ูปศาสนาของมาร์ติน ลเู ทอร์
ง. การปฏิรูปศาสนาของจอห์น คาลวิน

10. การปฏิรูปศาสนาส่งผลต่อโลกปัจจุบนั อยา่ งไร
ก. กษตั ริยม์ อี านาจสูงสุดแต่ผูเ้ ดียว
ข. การมเี สรีภาพในการนบั ถือศาสนา
ค. นกั บวชไมม่ อี ิทธิพลตอ่ ชาวยโุ รปอกี ต่อไป
ง. นิกายโรมนั คาทอลิกเป็นนิกายทางศาสนาทดี่ ีท่ีสุดในโลก

21

11. ผคู้ น้ พบทฤษฎีสุริยจกั รวาลคอื ใคร
ก. เรอเน เดส์การ์ตส์
ข. โจฮนั เนส เคปเลอร์
ค. กาลเิ ลโอ กาลิเลอิ
ง. นิโคลสั โคเปอร์นิคสั

12. ขอ้ ใด ไม่ใช่ ผลของลทั ธิจกั รวรรดินิยมท่มี ตี ่อดินแดนต่างๆ ทตี่ กเป็นอาณานิคม
ก. การบงั คบั ให้ปลกู พชื เศรษฐกิจ
ข. การถูกปกครองอยา่ งกดขข่ี ่มเหง
ค. การบงั คบั ให้นบั ถอื คริสตศ์ าสนา
ง. การไดร้ ับอทิ ธิพลของวฒั นธรรมตะวนั ตก

13. ลทั ธิจกั รวรรดินิยมในช่วงคริสตศ์ ตวรรษที่ 19 มจี ุดประสงคห์ ลกั เพือ่ อะไร
ก. ตอ้ งการขยายอานาจ
ข. ตอ้ งการตลาดคา้ ขาย
ค. ตอ้ งการสินคา้ แปลกใหม่
ง. ตอ้ งการแสวงหาโชคลาภ

14. ขอ้ ใด ไม่ใช่ วิธีการแกไ้ ขปัญหาภาวะโลกร้อน
ก. ปลูกตน้ ไมใ้ ห้มาก
ข. ใชถ้ ุงพลาสติกรีไซเคลิ
ค. ขบั รถในการเดินทางอยเู่ สมอ
ง. ปิ ดเคร่ืองใชไ้ ฟฟ้าเม่ือไม่ใชง้ าน

15. หากน้ามนั มีราคาสูงข้นึ บุคคลใดท่ไี ดร้ ับผลประโยชนม์ ากท่ีสุด
ก. ประชาชน
ข. บริษทั ขนส่ง
ค. บริษทั ผลิตสินคา้
ง. ประเทศผผู้ ลิตน้ามนั

22

เฉลย 2. ก 3. ง 4. ข 5. ง
7. ก 8. ค 9. ก 10. ข
1. ค 12. ค 13. ก 14. ค 15. ง
6. ค
11. ง

23

ความร่วมมือและความขดั แย้งของมนุษยชาตใิ นคริสต์ศตวรรษที่ 20 - ปัจจุบัน

กิจกรรมที่ 3 วิธสี อนโดยเน้นกระบวนการ : กระบวนการกล่มุ , เวลา 4 ช่ัวโมง

กระบวนการคิดวเิ คราะห์

1. ครูนาวดี ิทศั นเ์ ก่ียวกบั สงครามโลกคร้งั ท่ี 1 หรือสงครามโลกคร้ังที่ 2 มาให้นกั เรียนชม แลว้ ครูต้งั
คาถามเพื่อกระตนุ้ ใหน้ กั เรียนคิดวเิ คราะห์

2. ครูและนกั เรียนร่วมกนั สรุปถงึ ความขดั แยง้ ของมนุษยชาตนิ บั ต้งั แตอ่ ดีตจนถึงปัจจุบนั
ครูแบ่งนกั เรียนเป็น 4 กลุ่ม คละกนั ตามความสามารถ ให้ตวั แทนกลุ่มออกมาจบั สลากหมายเลข
กล่มุ เพ่ือศกึ ษาในหวั ขอ้ ที่กาหนด

3. ครูให้นกั เรียนไปศึกษาคน้ ควา้ ขอ้ มลู จากหนงั สือเรียนและแหลง่ การเรียนรู้อ่ืนๆ
4. ครูสนทนากบั นกั เรียนถึงความพร้อมในการคน้ หาขอ้ มลู ตามที่ครูมอบหมาย โดยซกั ถามถงึ วธิ ีการ

หาขอ้ มูลและการแบง่ หนา้ ทก่ี นั รับผดิ ชอบภายในกลมุ่

5. ให้นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มส่งตวั แทนออกมานาเสนอผลงานหนา้ ช้นั เรียน โดยกล่มุ อน่ื แสดงความ
คดิ เห็นเพม่ิ เตมิ

6. นกั เรียนและครูร่วมกนั ประเมนิ การนาเสนอผลงานของกลุ่มต่างๆ จากน้นั ใหน้ กั เรียนแตล่ ะกลมุ่
นาผลงานไปจดั ทป่ี ้ายนิเทศหนา้ ช้นั เรียน

7. ให้นกั เรียนกลมุ่ เดิมทาใบงานที่ 3.1 เรื่อง ความขดั แยง้ ระหวา่ งประเทศ
8. ครูนาบตั รคาเก่ียวกบั อกั ษรยอ่ ขององคก์ ารตา่ งๆ เช่น UN EU NATO OPEC APEC WTO

UNESCO ASEAN เป็นตน้ มาใหน้ กั เรียนดู แลว้ ต้งั คาถามถามใหน้ กั เรียนตอบ
9. นกั เรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 6 คน จากน้นั ใหจ้ บั คูก่ นั เป็น 3 คู่ โดยแต่ละครู่ ับผดิ ชอบศึกษาคน้ ควา้

ตามหัวขอ้ ท่ีกาหนดให้
10. ครูสนทนากบั นกั เรียนในกลมุ่ ถึงความพร้อมของแตล่ ะค่ใู นการสืบคน้ ขอ้ มลู เกี่ยวกบั ความร่วมมอื

ของมนุษยชาติท่ีกาหนดให้
11. ให้นกั เรียนแต่ละคู่ผลดั กนั เลา่ เร่ืองรอบวงในหัวขอ้ ท่ตี นไดร้ ับมอบหมายให้เพ่อื นฟัง จนทกุ คนมี

ความเขา้ ใจเน้ือหาสาระสาคญั ท้งั หมด
12. ใหแ้ ต่ละกลมุ่ ช่วยกนั วิเคราะหเ์ กี่ยวกบั ความร่วมมือของมนุษยชาติลงในใบงานท่ี 3.2 เรื่อง

ความร่วมมอื ระหว่างประเทศ
13. ให้นกั เรียนทาแผน่ พบั เหตกุ ารณ์สาคญั ทางประวตั ศิ าสตร์ทีม่ ผี ลต่อโลกปัจจบุ นั
 นกั เรียนทาแบบทดสอบหลงั เรียน หน่วยการเรียนรู้ท่ี 4

 ส่ือ/แหล่งการเรียนรู้

24

9.1 ส่ือการเรียนรู้

1. หนงั สือเรียน ประวตั ิศาสตร์สากล ม.4-ม.6
2. วดี ิทศั น์เกี่ยวกบั สงครามครูเสด หรือระบอบฟิวดลั
3. วดี ิทศั น์เกี่ยวกบั การปฏวิ ตั ิฝรง่ั เศส ค.ศ. 1789
4. วดี ิทศั น์เก่ียวกบั สงครามโลกคร้ังท่ี 1-2
5. เอกสารเพม่ิ เติมสาหรบั ครู
6. ใบงาน

9.2 แหล่งการเรียนรู้

1. ห้องสมุด
2. สานกั หอสมดุ แห่งชาติ
3. ราชบณั ฑติ ยสถาน
4. ห้องเทคโนโลยีสารสนเทศ

แบบทดสอบก่อนและหลงั เรียน ประจาหน่วยการเรียนรู้ท่ี 4

คาชี้แจง ให้นกั เรียนเลือกคาตอบทีถ่ กู ตอ้ งท่สี ุดเพียงคาตอบเดียว

1. ในระบอบฟิวดลั บคุ คลใดเป็นผทู้ ่มี ีฐานะสูงที่สุดและต่าท่สี ุด
ก. ขนุ นาง-อศั วิน
ข. กษตั ริย-์ ขนุ นาง
ค. กษตั ริย-์ ชาวนาและทาสติดที่ดิน
ง. ขุนนาง-ชาวนาและทาสติดท่ีดิน

2. ขอ้ ใดเป็นสาเหตทุ ท่ี าให้ระบอบฟิวดลั เสื่อมอานาจลงในสังคมยโุ รป
ก. เกิดสงครามครูเสด
ข. ขนุ นางแยง่ ชิงอานาจกนั เองภายใน
ค. ชาวนาและทาสตดิ ทด่ี ินพากนั ประทว้ ง
ง. กษตั ริยส์ ง่ั ยบุ อานาจและดแู ลขุนนางและราษฎรโดยตรง

3. เหตุใดชาวคริสตแ์ ละชาวมสุ ลมิ จึงตอ้ งทาสงครามแยง่ ชิงดินแดนปาเลสไตน์
ก. เป็นเมอื งทา่ ทีเ่ หมาะแก่การคา้ ขาย

25

ข. เป็นเมอื งทีม่ ีอานาจมากที่สุดในยโุ รป
ค. เป็นเมอื งที่มีทรัพยากรธรรมชาติอดุ มสมบูรณ์
ง. เป็นดินแดนศกั ด์ิสิทธ์ิโดยเป็นทป่ี ระสูติของพระเยซู

4. สงครามครูเสดส่งผลตอ่ ยโุ รปหลายประการ ยกเว้น ขอ้ ใด
ก. ทาลายระบอบฟิวดลั
ข. เกิดการปฏิรูปศาสนา
ค. เกิดการฟ้ืนตวั ทางการคา้
ง. เกิดการแลกเปลย่ี นศิลปวิทยาการ

5. ภาพโมนา ลิซา เป็นผลงานของศลิ ปิ นคนใด

ก. ราฟาเอล ข. มาซกั ซิโอ

ค. ไมเคิล แองเจโล ง. ลีโอนาร์โด ดา วนิ ชี

6. ขอ้ ใด ไม่ได้ มีส่วนส่งเสริมให้เกิดการสารวจทางทะเล

ก. ผลประโยชน์ทางการคา้

ข. การอปุ ถมั ภข์ องกษตั ริย์

ค. องคก์ รคริสตศาสนจกั ร

ง. ความเจริญกา้ วหนา้ ทางวทิ ยาการ

7. ขอ้ ใดคือผลงานสาคญั ของคริสโตเฟอร์ โคลมั บสั
ก. การคน้ พบทวปี อเมริกา
ข. การคน้ พบทวปี ออสเตรเลยี
ค. การเดินเรือรอบโลกเป็นคร้ังแรก
ง. การเดินทางมาถงึ อนิ เดียเป็นคร้ังแรก

8. ขอ้ ใดเป็นผลของการสารวจทางทะเลดา้ นสังคม
ก. การผกู ขาดการคา้ เครื่องเทศ
ข. เกิดการปฏวิ ตั ทิ างนิเวศวิทยา
ค. การทาลายวฒั นธรรมพ้ืนเมืองในพ้นื ทีต่ ่างๆ
ง. การยดึ ครองดินแดนตา่ งๆ ในทวีปอเมริกาใตแ้ ละเอเชีย

26

9. เหตุผลของการปฏริ ูปศาสนาในขอ้ ใดทแี่ ตกตา่ งจากขอ้ อนื่
ก. การแยกออกเป็นนิกายองั กฤษ
ข. การปฏิรูปศาสนาของพวกอเู กอโน
ค. การปฏิรูปศาสนาของมาร์ตนิ ลูเทอร์
ง. การปฏิรูปศาสนาของจอห์น คาลวิน

10. การปฏิรูปศาสนาส่งผลตอ่ โลกปัจจบุ นั อยา่ งไร
ก. กษตั ริยม์ ีอานาจสูงสุดแตผ่ ูเ้ ดียว
ข. การมีเสรีภาพในการนบั ถอื ศาสนา
ค. นกั บวชไมม่ ีอิทธิพลตอ่ ชาวยโุ รปอีกตอ่ ไป
ง. นิกายโรมนั คาทอลิกเป็นนิกายทางศาสนาที่ดีท่ีสุดในโลก

11. ผคู้ น้ พบทฤษฎีสุริยจกั รวาลคอื ใคร
ก. เรอเน เดส์การ์ตส์
ข. โจฮนั เนส เคปเลอร์
ค. กาลิเลโอ กาลิเลอิ
ง. นิโคลสั โคเปอร์นิคสั

12. ขอ้ ใด ไม่ใช่ ผลของลทั ธิจกั รวรรดินิยมทมี่ ีตอ่ ดินแดนตา่ งๆ ท่ีตกเป็นอาณานิคม
ก. การบงั คบั ใหป้ ลกู พืชเศรษฐกิจ
ข. การถกู ปกครองอยา่ งกดขขี่ ่มเหง
ค. การบงั คบั ให้นบั ถือคริสตศ์ าสนา
ง. การไดร้ บั อทิ ธิพลของวฒั นธรรมตะวนั ตก

13. ลทั ธิจกั รวรรดินิยมในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 มีจุดประสงคห์ ลกั เพ่ืออะไร
ก. ตอ้ งการขยายอานาจ
ข. ตอ้ งการตลาดคา้ ขาย
ค. ตอ้ งการสินคา้ แปลกใหม่
ง. ตอ้ งการแสวงหาโชคลาภ

27

14. ขอ้ ใด ไม่ใช่ วธิ ีการแกไ้ ขปัญหาภาวะโลกร้อน
ก. ปลกู ตน้ ไมใ้ หม้ าก
ข. ใชถ้ ุงพลาสตกิ รีไซเคิล
ค. ขบั รถในการเดินทางอยเู่ สมอ
ง. ปิ ดเครื่องใชไ้ ฟฟ้าเมอ่ื ไมใ่ ชง้ าน

15. หากน้ามนั มีราคาสูงข้ึน บคุ คลใดทไ่ี ดร้ บั ผลประโยชนม์ ากทสี่ ุด
ก. ประชาชน
ข. บริษทั ขนส่ง
ค. บริษทั ผลติ สินคา้
ง. ประเทศผผู้ ลติ น้ามนั

เฉลย 2. ก 3. ง 4. ข 5. ง
7. ก 8. ค 9. ก 10. ข
1. ค 12. ค 13. ก 14. ค 15. ง
6. ค
11. ง

28

แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 1 ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี 4-6
เวลา 4 ช่ัวโมง
ประวตั ิศาสตร์สากล

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 4 เหตกุ ารณ์สาคัญทางประวตั ิศาสตร์ทม่ี ผี ลต่อโลกปัจจุบนั
เร่ือง เหตุการณ์สาคัญในสมยั กลาง

 สาระสาคญั / ความคิดรวบยอด

ระบอบการปกครองแบบฟิวดลั หรือระบอบศกั ดนิ าสวามิภกั ด์ิ อานาจที่แทจ้ ริงตกอยใู่ นมอื ของขนุ นาง
ตามแว่นแควน้ และคริสตจกั รไดม้ อี ิทธิพลทางจิตใจของชาวยุโรป จนกระทงั่ เกิดสงครามครูเสดข้ึน ทาให้
อานาจของขนุ นาง ลดลงและกษตั ริยม์ อี านาจมากข้ึนจนสามารถสถาปนารัฐประชาชาตไิ ดส้ าเร็จ

 ตวั ช้ีวดั /จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้

2.1 ตัวช้ีวัด

ส 4.2 ม.4-6/2 วเิ คราะห์เหตกุ ารณ์สาคญั ตา่ งๆ ท่ีส่งผลตอ่ การเปลยี่ นแปลงทางสงั คม
เศรษฐกิจ และการเมอื งเขา้ สู่โลกสมยั ปัจจบุ นั

2.2 จุดประสงค์การเรียนรู้

1. สรุปเหตุการณข์ องระบอบฟิวดลั และสงครามครูเสดได้

29

2. วิเคราะหเ์ หตกุ ารณแ์ ละผลกระทบของระบอบฟิวดลั และสงครามครูเสดได้
3. สรุปเหตกุ ารณเ์ ก่ียวกบั การฟ้ืนฟศู ิลปวทิ ยาการได้
4. วิเคราะหเ์ หตกุ ารณเ์ กี่ยวกบั การฟ้ื นฟูศลิ ปวิทยาการได้

 สาระการเรียนรู้

3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง

เหตกุ ารณส์ าคญั ต่างๆ ทสี่ ่งผลตอ่ การเปลยี่ นแปลงของโลกในปัจจุบนั เช่น
- ระบอบศกั ดินาสวามิภกั ด์ิ
- สงครามครูเสด
- การฟ้ื นฟูศลิ ปวทิ ยาการ

3.2 สาระการเรียนรู้ท้องถนิ่
-

 สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี น

4.1 ความสามารถในการคิด

- ทกั ษะการคดิ วิเคราะห์
- ทกั ษะการคดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณ

4.2 ความสามารถในการแก้ปญั หา

- กระบวนการสืบคน้ ขอ้ มูล

4.3 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

- กระบวนการทางานกลุ่ม
- กระบวนการปฏิบตั ิ

 คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์

1. มีวนิ ยั
2. ใฝ่ เรียนรู้
3. ม่งุ มนั่ ในการทางาน

 กจิ กรรมการเรียนรู้ (วธิ สี อนโดยเน้นกระบวนการ : กระบวนการกล่มุ )

• นกั เรียนทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน หน่วยการเรียนรู้ท่ี 4

ช่ัวโมงท่ี 1-2

30

1. ครูเปิ ดวดี ิทศั น์เกี่ยวกบั สงครามครูเสด หรือระบอบฟิวดลั ใหน้ กั เรียนชม ภายหลงั ชมเสร็จแลว้
ครูต้งั คาถามเพอื่ กระตนุ้ ให้นกั เรียนเกิดการคดิ วิเคราะห์วา่
- เป็นเหตุการณ์ใด
- เกิดข้นึ ในช่วงเวลาใด
- ส่งผลสาคญั ตอ่ โลกปัจจุบนั อยา่ งไร

2. เมื่อนกั เรียนตอบแลว้ ครูจึงเฉลยคาตอบแลว้ อธิบายใหน้ กั เรียนเขา้ ใจวา่ ระบอบฟิวดลั และสงคราม
ครูเสดเป็นเหตกุ ารณส์ าคญั ทีเ่ กิดข้นึ ในสมยั กลางท่สี ่งผลต่อวถิ ีชีวติ ของชาวยโุ รปท้งั ดา้ น
การเมือง เศรษฐกิจ สงั คมและวฒั นธรรม โดยระบอบฟิวดลั เป็นการปกครองแบบกระจายอานาจ
ทีอ่ านาจอยทู่ ่ขี นุ นางมิใช่กษตั ริย์ ประชาชนส่วนใหญ่เป็นทาสติดทีด่ ินและดารงชีวิตอยใู่ นเขต
แมเนอร์ของขนุ นาง จนกระทง่ั เกิดสงครามครูเสด ทาให้ระบอบฟิ วดลั ถกู ทาลายลงมกี าร
แลกเปล่ยี นวทิ ยาการตา่ งๆ ระหวา่ งโลกตะวนั ตกกบั โลกตะวนั ออก

3. ครูแบ่งนกั เรียนเป็น 4 กลุ่ม และให้สมาชิกกลุม่ เลอื กประธาน รองประธาน เลขานุการ เพื่อศึกษา
เก่ียวกบั ระบอบฟิวดลั และสงครามครูเสด จากหนงั สือเรียน และแหล่งการเรียนรู้ตา่ งๆ

4. ให้ทกุ กล่มุ ส่งตวั แทนออกมาจบั สลากหัวขอ้ ทจี่ ะทาการศึกษาคน้ ควา้ กลุ่มละ 1 หัวขอ้ ดงั น้ี
- กลมุ่ ท่ี 1 ระบอบฟิวดลั
- กลุ่มที่ 2 ระบบเศรษฐกิจแบบแมเนอร์
- กล่มุ ท่ี 3 สาเหตขุ องสงครามครูเสด
- กลมุ่ ท่ี 4 ผลของสงครามครูเสด

5. ทุกกลุ่มประชุมเพ่อื ระดมสมองวางแผนศกึ ษาคน้ ควา้ ตามหัวขอ้ ทกี่ ลมุ่ ของตนไดร้ ับ
6. ครูนดั หมายใหท้ ุกกลุ่มเตรียมส่งตวั แทนออกมานาเสนอผลงานหนา้ ช้นั เรียนในชวั่ โมงต่อไป

ช่ัวโมงที่ 3

1. ให้นกั เรียนแต่ละกลมุ่ ส่งตวั แทนออกมานาเสนอหนา้ ช้นั เรียน โดยเริ่มต้งั แตก่ ล่มุ ท่ี 1, 2, 3 และ 4
ตามลาดบั เม่ือแตล่ ะกลุ่มนาเสนอเสร็จแลว้ เปิ ดโอกาสใหก้ ลมุ่ อื่นซกั ถามขอ้ สงสยั และอธิบาย
จนเขา้ ใจ จากน้นั ครูคดั เลอื กผลงานที่ดีทส่ี ุดไปตดิ ที่ป้ายนิเทศของช้นั เรียน

2. ครูแจกใบงานท่ี 1.1 เร่ือง ระบอบฟิวดลั และใบงานท่ี 1.2 เรื่อง สงครามครูเสด ใหน้ กั เรียนทา
เสร็จแลว้ ครูและนกั เรียนช่วยกนั เฉลยคาตอบ

3. นกั เรียนและครูร่วมกนั สรุปสาระสาคญั เก่ียวกบั ระบอบฟิวดลั และสงครามครูเสด

ช่ัวโมงที่ 4

31

1. ครูเลา่ ถึงประวตั ขิ องฟรันเซสโก เปตรากา ชาวอติ าเลียน ผูท้ ่มี ชี ีวิตอยใู่ นสมยั ท่ีมีการฟ้ื นฟศู ิลป
วทิ ยาการ ให้นกั เรียนฟัง แลว้ ให้นกั เรียนช่วยกนั ยกตวั อยา่ งผลงานสาคญั ทท่ี าใหเ้ ขาเป็นท่รี ู้จกั

ของคนทว่ั โลก
2. ให้นกั เรียนศึกษาความรู้เรื่อง การฟ้ื นฟูศิลปวิทยาการ จากหนงั สือเรียนและแหล่งการเรียนรู้อ่ืนๆ

เพม่ิ เตมิ โดยครูกาหนดประเดน็ การศึกษา ดงั น้ี
- สาเหตุของการฟ้ืนฟศู ิลปวิทยาการ
- ลกั ษณะของการฟ้ืนฟศู ิลปวทิ ยาการ
- มรดกทางวฒั นธรรม

3. ให้นกั เรียนร่วมกนั สรุปประเด็นความรู้ โดยครูคอยอธิบายเพ่มิ เตมิ ในส่วนท่บี กพร่อง
4. นกั เรียนและครูช่วยกนั สรุปความรู้เกี่ยวกบั การฟ้ื นฟศู ลิ ปวทิ ยาการ

 การวดั และประเมนิ ผล เครื่องมือ เกณฑ์
แบบทดสอบก่อนเรียน ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
วธิ ีการ ใบงานที่ 1.1 ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
นกั เรียนทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน ใบงานที่ 1.2 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
นกั เรียนทาใบงานที่ 1.1 แบบสงั เกตพฤติกรรมการ
นกั เรียนทาใบงานท่ี 1.2 ทางานรายบุคคล ระดบั คณุ ภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
สงั เกตพฤตกิ รรมการทางาน แบบสงั เกตพฤตกิ รรม
รายบคุ คล การทางานกลมุ่ ระดบั คณุ ภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

สังเกตพฤตกิ รรมการทางานกลมุ่

 สอื่ /แหลง่ การเรียนรู้

8.1 ส่ือการเรียนรู้

1. หนงั สือเรียน ประวตั ศิ าสตร์สากล ม.4-ม.6
2. วีดิทศั น์เกี่ยวกบั สงครามครูเสด หรือระบอบฟิวดลั
3. เอกสารเพมิ่ เติมสาหรับครู

32

4. ใบงานที่ 1.1 เร่ือง ระบอบฟิวดลั
5. ใบงานท่ี 1.2 เร่ือง สงครามครูเสด

8.2 แหล่งการเรียนรู้

1. ห้องสมุด หรือห้องสมดุ ประชาชน
2. สานกั หอสมุดแห่งชาติ
3. ราชบณั ฑติ ยสถาน
4. ห้องเทคโนโลยสี ารสนเทศ

แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานรายบุคคล

ลาดบั ชื่อ – สกุล มีความต้งั ใจ มีความ ความสะอาด ผลสาเร็จ รวม
ท่ี ในการ รับผดิ ชอบ ตรงต่อเวลา เรียบร้อย ของงาน 20
ทางาน คะแนน

43214321432143214321

33

เกณฑ์การให้คะแนน

ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมอยา่ งสม่าเสมอ = ดีมาก ให้ 4 คะแนน
ดี ให้ 3 คะแนน
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบอ่ ยคร้ัง = พอใช้ ให้ 2 คะแนน
ปรับปรุง ให้ 1 คะแนน
ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมบางคร้ัง =

ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมนอ้ ยคร้ัง =

เกณฑ์การตดั สินคณุ ภาพ

ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ

17 - 20 ดีมาก
13 - 16 ดี
9 - 12
5-8 พอใช้
ปรบั ปรุง

แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานกล่มุ

ลาดบั ชื่อ – สกุล ความ การแสดง การรับฟัง การต้งั ใจ การร่วม รวม
ที่ ร่วมมือ ความ ความ ทางาน ปรับปรุง 20
คดิ เหน็ คดิ เหน็ ผลงานกล่มุ คะแนน

43214321432143214321

34

เกณฑ์การให้คะแนน

ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมอยา่ งสม่าเสมอ = ดีมาก ให้ 4 คะแนน
ดี ให้ 3 คะแนน
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมบ่อยคร้งั = พอใช้ ให้ 2 คะแนน
ปรบั ปรุง ให้ 1 คะแนน
ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมบางคร้ัง =

ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมนอ้ ยคร้งั =

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ

ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ

17 - 20 ดีมาก
13 - 16 ดี
9 - 12
5-8 พอใช้
ปรับปรุง

เอกสารเพม่ิ เตมิ สาหรับครู

เรื่อง สงครามครูเสด

สงครามครูเสดเป็นสงครามศาสนาระหว่างชาวคริสตก์ บั ชาวมุสลิมท่เี ขา้ มายดึ ครองนครเยรูซาเล็ม
ซ่ึงเป็นนครศกั ด์ิสิทธ์ิท่ชี าวคริสตพ์ ากนั ไปจาริกแสวงบญุ มาต้งั แตต่ น้ คริสตกาล สงครามครูเสดเกิดข้ึน
ประมาณ 8 คร้ัง เริ่มต้งั แต่ ค.ศ. 1096-1270 (แต่ในบางความคิดเห็นอาจมีมากกว่าน้ีถึง 10 คร้ัง) ดงั มี
สาระสาคญั สรุปได้ ดงั น้ี

สงครามครูเสดคร้ังที่ 1 เกิดข้นึ ระหวา่ ง ค.ศ. 1096-1099 ผทู้ ่ีเขา้ ร่วมสงครามส่วนใหญเ่ ป็นขนุ นาง
และประชาชน ไมม่ กี ษตั ริยเ์ ขา้ ร่วมดว้ ย จึงไมม่ แี สนยานุภาพทางการรบเทา่ ทค่ี วร ใชอ้ าวุธเทา่ ทจ่ี ะหาได้
ขาดระเบียบวนิ ยั และเสบียงอาหาร ในระหว่างเดินทางจึงลม้ ตายเป็นจานวนมาก และถูกพวกเติร์กตแี ตกพา่ ย
งา่ ยดาย

ตอ่ มาไดม้ ีการรวมกนั ข้นึ ใหม่ประกอบดว้ ยอศั วนิ และทหารภายใตก้ ารคมุ ทพั ของเจา้ ผคู้ รองนคร
ต่างๆในยโุ รป จึงมคี วามพร้อมมากกว่าทพั ราษฎรในคราวแรก ในช่วงแรก ทพั ครูเสดตีได้ เมืองต่างๆตามทาง
รวมท้งั เมอื งอนั ตอิ อก (Antioch) เมอื งหลวงของซีเรีย จากน้นั จึงมุ่งตรงไปยงั นครเยรูซาเลมซ่ึงขณะน้นั ตก
เป็นของอยี ิปต์ ทพั ครูเสดจึงตีไดน้ ครเยรูซาเล็มเม่อื ค.ศ. 1099 และต้งั ก็อดเฟรยแ์ ห่งบุยอนิ ยอง (Godfrey of

35

Bouillon) ดุ๊กแห่งแควน้ ลอร์เรนภาคใตเ้ ป็นกษตั ริยป์ กครอง ส่วนนกั รบครูเสดกไ็ ดแ้ ยกยา้ ยกนั กลบั บา้ น
สงครามครูเสดคร้ังท่ี 2 เกิดข้นึ ระหว่าง ค.ศ. 1147-1149 หลงั จากสงบศกึ มาไดห้ ลายสิบปี พวก

มสุ ลิมก็ยกทพั เขา้ มารุกรานอกี ชาวคริสตจ์ ึงรวบรวมกองทพั ข้ึนมาภายใตก้ ารนาของพระเจา้ คอนราดที่ 3
แห่งเยอรมนี กบั พระเจา้ หลุยส์ท่ี 7 แห่งฝร่งั เศส แต่ก็ถกู พวกมุสลมิ ตีแตกพา่ ยก่อนถงึ นครเยรูซาเล็ม ตอ่ มา
เม่อื ค.ศ. 1187 สุลต่าน ซาลาดินจึงตนี ครเยรูซาเล็มกลบั คืนไปไดภ้ ายหลงั

สงครามครูเสดคร้ังที่ 3 เกิดข้นึ ระหว่าง ค.ศ. 1189-1192 ทพั ครูเสดคร้งั น้ีประกอบดว้ ยพระเจา้ เฟร-
เดอริก บาบารอสซาแห่งเยอรมนี (Frederick Babarossa) พระเจา้ ริชาร์ดใจสิงห์ (Richard the Lionhearted)
พระเจา้ ฟิลปิ ออกสั ตสั แห่งฝรั่งเศส แตเ่ น่ืองจากพระเจา้ เฟรเดอริกทรงจมน้าสิ้นพระชนมใ์ น ค.ศ. 1190 ส่วน
พระเจา้ ฟิลิปกบั พระเจา้ ริชาร์ดใจสิงห์ทรงขดั แยง้ กนั อยเู่ สมอ จึงไม่สามารถยึดนครเยรูซาเล็มได้ นอกจากน้ี
พระเจา้ ริชาร์ดทรงมคี วามสัมพนั ธฉ์ ันมติ รกบั สุลต่าน ซาลาดิน ท้งั สองต่างยอมรับฝีมอื ซ่ึงกนั และกนั จึงไดม้ ี
การเจรจาพกั รบกนั เป็นคร้ังคราวโดยตา่ งฝ่ายตา่ งรกั ษาสัจจะกนั อยา่ งเคร่งครดั

สงครามครูเสดคร้ังท่ี 4 ประมาณ ค.ศ. 1202-1204 โดยสนั ตะปาปาอนิ โนเซนตท์ ี่ 3ไดร้ วบรวมพวก
ครูเสดให้ไปตีนครเยรูซาเลม็ กลบั คืนมา แตพ่ วกครูเสดกลบั เขา้ ตกี รุงคอนสแตนติโนเปิ ลและเปลย่ี นชื่อใหม่
เป็นจกั รวรรดิละตินแห่งคอนสแตนตโิ นเปิ ล ใน ค.ศ. 1261 เจา้ ผคู้ รองนครรฐั ช่ือ ไมเคิล พาเลโอกสั ไดแ้ ยง่
กรุงคอนสแตนติโนเปิ ลมาจากพวกละตนิ ทาให้จกั รวรรดิละตนิ ถกู ยบุ สลายไป กลา่ วไดว้ า่ สงครามคร้ังน้ี
ไม่ไดเ้ ป็นการทาเพอื่ ศาสนาแตเ่ ป็นการแสวงหาผลประโยชน์ส่วนตวั แทน

สงครามครูเสดคร้ังท่ี 5 ประมาณ ค.ศ. 1218-1221 สงครามคร้งั น้ี มผี นู้ าเป็นกษตั ริยฮ์ งั การี ช่ือ
แอนดรูท่ี 2 ไดย้ กทพั ไปรบกบั พวกมุสลิมในอียปิ ต์ และยึดเมอื งดาเมียตตาได้ แต่ในท่ีสุดกถ็ ูกยึดกลบั คืนได้

สงครามครูเสดคร้ังท่ี 6 เกิดข้ึนระหวา่ ง ค.ศ. 1228-1229 ผนู้ าทพั คือ พระเจา้ เฟรเดอริกท่ี 2 แห่ง
จกั รวรรดิโรมนั อนั ศกั ด์ิสิทธ์ิ ซ่ึงไดถ้ กู สนั ตะปาปาเกรกอรีที่ 9 ขบั ไลอ่ อกจากศาสนจกั รคาทอลิกเพราะไม่
ยอมไปรบ โดยไดม้ กี ารเจรจาทางการทตู กบั พวกมุสลิม สุลตา่ นอียปิ ตจ์ ึงยกราชธิดาให้อภเิ ษกสมรสดว้ ยและ
ทาพิธีราชาภิเษกให้เป็นกษตั ริยค์ รองนครเยรูซาเล็ม จากน้นั พระองคไ์ ดเ้ ดินทางกลบั โดยไมต่ อ้ งทาสงคราม
แตน่ ครเยรูซาเล็มก็ถูกมุสลิมตีกลบั คนื ไปไดอ้ กี

สงครามครูเสดคร้ังท่ี 7 ค.ศ. 1248-1254 พวกมองโกลนาโดยเจงกิสขา่ น ไดข้ ยายอิทธิพลทวั่ เอเชีย
รวมถงึ กรุงแบกแดด สันตะปาปาจึงชกั ชวนให้ชาวคริสตเ์ ดินทางไปทาสงครามกบั พวกมสุ ลิมอกี แต่ชาว
ยโุ รปต่างรู้สึกเบ่อื หน่ายกบั สงครามทไ่ี ม่ให้ประโยชน์มากเท่าใดนกั อยา่ งไรกด็ ี พระเจา้ หลยุ ส์ท่ี 9 แห่ง
ฝรั่งเศสไดร้ วบรวมทพั ครูเสดข้นึ และสามารถยึดเมอื งดาเมียตตาของอียิปตไ์ ด้ แต่ยงั ไม่ทนั ยกทพั ไปถงึ กรุง
ไคโรก็ถูกกองทพั สุลต่านโจมตจี นตอ้ งยอมแพ้ ส่วนพระองคถ์ ูกจบั เป็นเชลย แต่ไดร้ ับการไถ่ตวั คืนดว้ ยเงนิ
จานวนมาก

สงครามครูเสดคร้ังท่ี 8 ค.ศ. 1270 พระเจา้ หลยุ ส์ที่ 9 แห่งฝรัง่ เศสทรงเป็นผูน้ าทพั อีกคร้งั แต่เม่อื ยก
ทพั ไปถงึ เมืองตนู ิสในแอฟริกาเหนือกเ็ กิดกาฬโรคระบาด ทาใหพ้ ระองคท์ รงประชวรและสวรรคตก่อนทา

36

การรบ พวกครูเสดท่ีรอดไดเ้ ดินทางกลบั ฝร่ังเศส ส่วนพระเจา้ เอดเวิร์ดแห่งองั กฤษไดเ้ ดินทางไปยงั
ปาเลสไตนแ์ ต่ไมป่ ระสบความสาเร็จ สุดทา้ ยไดเ้ ดินทางกลบั องั กฤษและข้นึ เป็นกษตั ริยเ์ อดเวิร์ดท่ี 1 นบั เป็น
การทาสงครามคร้ังสุดทา้ ยในดินแดนอนั ศกั ด์ิสิทธ์ิ

กลา่ วไดว้ ่าความลม้ เหลวของกองทพั ครูเสดเกิดจากสาเหตุหลายประการ เช่น การขาดผบู้ งั คบั บญั ชา
ทม่ี ีอานาจสูงสุด การทะเลาะววิ าทภายในกองทพั รวมท้งั การแสวงหาประโยชน์ ส่วนตนมากกว่าทาเพอ่ื
ศาสนา

เอกสารเพ่มิ เติมสาหรับครู

เรื่อง การปฏริ ูปศาสนาของฝ่ ายคาทอลิก

การปฏริ ูปศาสนาของฝ่ายคาทอลกิ หรือเรียกอกี ชื่อหน่ึงวา่ การตอ่ ตา้ นการปฏริ ูปศาสนา (Counter
Reformation) เป็นการตอ่ ตา้ นการปฏิรูปศาสนาของฝ่ายโปรเตสแตนตข์ องสนั ตะปาปา คณะบาทหลวง
เยซูอิต กษตั ริยผ์ คู้ รองแผ่นดินและเจา้ ผคู้ รองรัฐที่เคร่งครดั ในศาสนา เริ่มต้งั แต่ ค.ศ. 1545 และสิ้นสุดลงใน
ค.ศ. 1563 ดงั มเี หตกุ ารณส์ าคญั ดงั น้ี

1. การจดั ต้งั สมาคมเยซูอิต (Jesuits) ใน ค.ศ. 1534 ผกู้ อ่ ต้งั คอื นกั บญุ อิคเนเทยี ส โลโญลา
(St.Ignatius Loyola) ชาวสเปน สมาคมเยซูอิตมใิ ช่เป็นเพียงสมาคมของพระเทา่ น้นั แต่เป็นกองทพั ท่มี ี
ระเบียบวินยั เคร่งครดั หวั หนา้ ของสมาคมจะดารงตาแหน่งเป็นนายพลทท่ี าหนา้ ที่บงั คบั บญั ชาบาทหลวง เจา้
คณะมณฑล จงั หวดั และตาบลตามลาดบั ข้นึ ตรงต่อสนั ตะปาปา ส่วนสมาชิกสมาคมตอ้ งปฏญิ าณตนวา่ จะยดึ
มนั่ ต่อสญั ญา 4 ประการ ไดแ้ ก่ รกั ษาความบริสุทธ์ิ ความยากจน ความนอบนอ้ มต่อสันตะปาปา และเชื่อฟัง
นายพลของสมาคม คณะบาทหลวงจะจดั ต้งั วทิ ยาลยั ในสเปน อติ าลี โปรตุเกส เยอรมนีตอนใต้ ฝร่ังเศส เพ่อื
สอนความรู้สาขาต่างๆ เช่น มานุษยวิทยา ภาษากรีก ละตนิ โบราณ โดยไมต่ อ้ งเสียคา่ ใชจ้ า่ ย นอกจากน้ี

37

สมาคมเยซูอิตยงั ส่งบาทหลวงออกไปเผยแผ่ศาสนายงั ดินแดนตา่ งๆ ดว้ ย จากการปรบั ปรุงขอ้ บกพร่องตา่ งๆ
ส่งผลให้ดินแดนหลายแห่งที่นบั ถอื นิกายโปรเตสแตนตห์ นั กลบั มานบั ถอื นิกายคาทอลกิ ดงั เดิม

อยา่ งไรกต็ าม เน่ืองจากสมาคมน้ีไมม่ ีเครื่องแบบและไมใ่ ชว้ ธิ ีการปกครองแบบสมาคมศาสนาทวั่ ไป
จึงไม่ไดร้ ับการยอมรบั จากกลุ่มศาสนาท่ีเกิดข้นึ กอ่ น แต่สมาคมกไ็ ดร้ วบรวมชาวคาทอลกิ ให้เป็นปึ กแผน่ ซ่ึง
ตรงกนั ขา้ มกบั ฝ่ายโปรเตสแตนตท์ แี่ ตกสาขาออกไปเรื่อยๆ

2. การจดั ต้งั ศาลศาสนา (The Inquisition) เพือ่ พจิ ารณาลงโทษผทู้ กี่ ระทาการนอกรีตโดยใชว้ ธิ ีการ
เผาท้งั เป็น จดุ ประสงคส์ าคญั นอกจากจะสร้างความหวนั่ เกรงให้แก่พวกคาทอลกิ แลว้ ยงั ป้องกนั มใิ ห้
ความคิดนอกรีตเผยแผ่เขา้ ไปในหมคู่ าทอลิก วิธีการน้ีใชม้ ากในสเปนและอติ าลี

3. การประชุมทางศาสนาท่เี มืองเทรนต์ (Council of Trent) ทางเหนือของอิตาลี
ระหว่าง ค.ศ. 1545-1563 ผจู้ ดั ใหม้ กี ารประชุม คือ สนั ตะปาปาปอลท่ี 3 โดยมีจดุ ประสงคเ์ พอื่
กาหนดขอ้ ปฏิบตั ิในนิกายคาทอลกิ และปรบั ปรุงการบริหารงานใหม้ ปี ระสิทธิภาพมากข้นึ รวมท้งั
กาหนดขอ้ ปฏิบตั ใิ ห้ผนู้ บั ถือคาทอลกิ ปฏิบตั ิ โดยทีป่ ระชุมไดข้ อ้ ตกลงร่วมกนั ว่า สันตะปาปา คอื
ประมุขของศาสนา บาทหลวงจะเป็นผปู้ ระกาศคาสอนทางศาสนา มีการยอมรบั การแปลคมั ภีร์เป็น
ภาษาละตินเทา่ น้นั และมสี ิ่งที่ตอ้ งปรบั ปรุงแกไ้ ข คือ หา้ มขายใบบญุ ไถ่บาปและการขายตาแหน่งทาง
ศาสนา มกี ารกาหนดระเบียบวนิ ยั และยกมาตรฐานการศกึ ษาของพระและบางคร้งั ควรใช้ภาษาทอ้ งถน่ิ
ในการเทศน์เพ่อื ให้ประชาชนเขา้ ใจงา่ ยมากข้ึน นอกจากน้ียงั มกี ารทาบญั ชีรายชื่อตอ้ งหา้ ม (Index
of Black List) ทผี่ ูเ้ คร่งศาสนาไม่ควรอา่ น ตอ่ มาภายหลงั ไดม้ กี ารประชุมหา้ มการขายและซ้ือ
หนงั สือเร่ืองศาสนาทไ่ี ม่ปรากฏนามผแู้ ต่ง หา้ มอา่ นหนงั สือของอีรัสมุส (Erasmus) หนงั สือทไี่ ดร้ บั
การอนุญาตให้จดั พิมพไ์ ดบ้ นปกจะตอ้ งปรากฏคาว่า “ไมข่ ดั ขอ้ งถา้ จะพิมพห์ นงั สือน้ี” หรือ “อนุญาตให้
จดั พมิ พไ์ ด”้

ภายหลงั ศาสนจกั รคาทอลกิ มกี ารเปล่ียนแปลงไปในทางท่ดี ีข้ึนแลว้ กไ็ ดส้ ร้างความเลื่อมใสศรทั ธา
มากข้นึ ช่วยป้องกนั การเกิดนิกายโปรเตสแตนตใ์ นบางประเทศ เช่น สเปน อติ าลี โปรตุเกสเพ่มิ ข้ึน ส่งผล
ให้นิกายคาทอลกิ ยงั คงดารงอยตู่ อ่ มาและมีผนู้ บั ถอื มากกว่านิกายอน่ื

38

ใบงานท่ี 1.1

เรื่อง ระบอบฟิ วดัล

คาชีแ้ จง ใหน้ กั เรียนดภู าพจาลองภายในแมเนอร์ในระบอบฟิวดลั แลว้ ตอบคาถามท่ีกาหนดใหถ้ ูกตอ้ ง

 ภาพจาลองภายในแมเนอร์ ในระบอบฟิ วดัล






39

1. ใหน้ กั เรียนระบุตาแหน่งตามหมายเลขต่อไปน้ี
หมายเลข 1 คอื
หมายเลข 2 คอื
หมายเลข 3 คือ
หมายเลข 4 คอื
หมายเลข 5 คอื

2. ภายในแมเนอร์ หมายเลข 1 และ 2 มีความสมั พนั ธก์ นั อยา่ งไร

3. หมายเลข 4 มคี วามสาคญั ตอ่ สงั คมฟิวดลั อยา่ งไร

40

4. ในปัจจบุ นั อทิ ธิพลของระบอบฟิวดลั ยงั คงเหลอื ใหเ้ ห็นอยหู่ รือไม่ อยา่ งไร

ใบงานท่ี 1.1

เร่ือง ระบอบฟิ วดลั

คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนดภู าพจาลองภายในแมเนอร์ในระบอบฟิวดลั แลว้ ตอบคาถามท่ีกาหนดให้ถกู ตอ้ ง

 ภาพจาลองภายในแมเนอร์ ในระบอบฟิ วดัล






41

1. ใหน้ กั เรียนระบตุ าแหน่งตามหมายเลขตอ่ ไปน้ี
หมายเลข 1 คือ ปราสาทของขนุ นางเจ้าของทดี่ ิน
หมายเลข 2 คอื หม่บู ้านของชาวนาและทาสติดทีด่ ิน
หมายเลข 3 คอื ท่งุ นา
หมายเลข 4 คอื โบสถ์
หมายเลข 5 คือ ท่งุ หญ้าเลีย้ งสัตว์

2. ภายในแมเนอร์ หมายเลข 1 และ 2 มคี วามสัมพนั ธก์ นั อยา่ งไร
ในระบอบฟิ วดัล ขุนนางเจ้าของแมเนอร์และชาวนาและทาสติดทีด่ ินจะมีภาระผกู พนั กัน

และกนั กล่าวคือ ขนุ นางจะให้ความคุ้มครองและให้ท่ีอย่อู าศยั แก่ชาวนาและทาสติดที่ดินในแมเนอร์
ของตน ส่วนชาวนาและทาสติดทด่ี ินจะตอบแทนขนุ นางโดยเป็นผ้ทู าไร่ ไถนาบนท่ีดินของขุนนาง
และทางานบริการอ่ืนๆ เช่น สร้างถนน บ่อนา้ สะพาน โรงสี เป็นต้น

3. หมายเลข 4 มีความสาคญั ตอ่ สงั คมฟิวดลั อยา่ งไร
โบสถ์เป็นศูนย์กลางของชุมชน มอี ย่ทู ุกแมเนอร์ โดยจะมบี าทหลวงทาหน้าท่สี ั่งสอนอบรม

จิตใจผ้คู นทีอ่ าศัยอย่ใู นแมเนอร์ รวมทงั้ ใช้เป็นสถานท่ใี นการประกอบพิธีกรรมทางศาสนา
และสวดมนต์ภาวนา

4. ในปัจจุบนั อทิ ธิพลของระบอบฟิวดลั ยงั คงเหลือใหเ้ ห็นอยหู่ รือไม่ อยา่ งไร

42

ยังคงหลงเหลือให้เห็นอย่ใู นปัจจบุ ัน โดยจะเป็นอิทธิพลทางวฒั นธรรม ดังจะเห็นได้จาก
ตาแหน่งของขนุ นางต่างๆ เช่น ดุ๊ก บารอน เอิร์ล เซอร์ เป็นต้น รวมทั้งข้อปฏิบัติของอศั วิน
ท่ตี ้องให้เกยี รติและปกป้องค้มุ ครองสตรี

ใบงานที่ 1.2

เร่ือง สงครามครูเสด

คาชีแ้ จง ให้นกั เรียนวิเคราะห์ประเดน็ คาถามเก่ียวกบั สงครามครูเสดให้ถกู ตอ้ งและไดใ้ จความ

สงครามครูเสด

สาเหตุ ผลทเ่ี กิดขนึ้

43

จากความขดั แยง้ ทางศาสนาที่เกิดข้นึ ในปัจจบุ นั ใหน้ กั เรียนเสนอแนะวธิ ีการป้องกนั มใิ ห้เกิด
ความขดั แยง้ รุนแรงมากข้ึน

ใบงานที่ 1.2

เร่ือง สงครามครูเสด

คาชี้แจง ให้นกั เรียนวเิ คราะห์ประเดน็ คาถามเกี่ยวกบั สงครามครูเสดใหถ้ กู ตอ้ งและไดใ้ จความ

สงครามครูเสด

สาเหตุ ผลที่เกิดขนึ้
1. ความขัดแย้งเร่ืองดินแดนปาเลสไตน์ 1.สถาบนั กษัตริย์เข้มแขง็ มากขึน้ อานาจ
2. อิทธิพลของศาสนจักร ของขนุ นางลดลง
3. ผลประโยชน์ทางการค้า 2. การค้าขยายตัว เกิดเมืองการค้าสาคัญ
4. ความขดั แย้งเรื่องความเชื่อทางศาสนา 3. ระบอบฟิ วดลั ถกู ทาลาย
5. ความต้องการแสวงโชค 4. มกี ารแพร่หลายของวิทยาการต่างๆ
ทง้ั ของมุสลิมและกรีก-โรมนั

44

จากความขดั แยง้ ทางศาสนาทเ่ี กิดข้ึนในปัจจุบนั ใหน้ กั เรียนเสนอแนะวธิ ีการป้องกนั มิให้เกิด
ความขดั แยง้ รุนแรงมากข้ึน

วิธีการป้องกนั มิให้เกิดความขัดแย้งรุนแรงมหี ลายวิธี เช่น ทกุ ฝ่ ายร่วมกันแสวงหาสันติ
วิธีโดยการประชุมอภิปรายร่วมกนั เพ่ือหาทางออก และควรปลกู ฝังเยาวชนในประเทศให้เกิด
ความรู้ความเข้าใจทางศาสนาอย่างถกู ต้อง เห็นความสาคัญของการเคารพสิทธิในชีวิตมนุษย์
จัดให้มีการแลกเปล่ยี นความคิดเห็นทางศาสนาร่วมกัน เป็นต้น

แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 2 ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี 4-6
เวลา 6 ชั่วโมง
ประวัตศิ าสตร์สากล

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เหตุการณ์สาคัญทางประวตั ิศาสตร์ทมี่ ผี ลต่อโลกปัจจุบนั
เร่ือง เหตกุ ารณ์สาคญั ในสมยั ใหม่-ปัจจบุ นั

 สาระสาคญั / ความคิดรวบยอด

จากความขดั แยง้ ทางศาสนาทเ่ี กิดข้ึนในปัจจบุ นั ให้นกั เรียนเสนอแนะวธิ ีการ
เหตุการณป้อ์สงากคนััญมทิใาหง้เปกิดระคววตัามิศขาดสั แตยรง้์โรลุนกแมรีคงมวาากมขส้นึ าคญั ต่อพฒั นาการและวิวฒั นาการของมนุษยชาติ
มาต้งั แต่อดีตจนถึงปัจจุบวิธนั ีกาดรงั ปน้อ้นั งจกึงนั จมาเิใปห็ น้เกทิดีจ่ คะวตาอ้ มงขเรัดียแนยร้งู้เรพุนอื่ แจระงไมดีหเ้ ขลา้าใยจวใิธนี เกชา่นรเปทลุกยี่ ฝน่ าแยปคลวรงขร่วอมงสกันังคมโลก
ทเี่ กิดข้นึ อยา่ งตแ่อสเนว่ืองหง าสันติวิธีโดยการประชุมอภิปรายร่วมกันเพ่ือหาทางออก และควรปลกู ฝัง

เยาวชนในประเทศให้เกิดความรู้ความเข้าใจทางศาสนาอย่างถูกต้อง เห็นความสาคัญ

 ตวั ช้ีวดขั อ/งกจาดรุ เคปารรพะสสิทงธิคในก์ชีวาิตรขเอรงมียนนษุ รย์ ้จู ัดให้มีการแลกเปลยี่ นความคิดเห็นทางศาสนา

2.1 ตวัร่ชวมี้วกัดนั เป็นต้น

ส 4.2 ม.4-6/2 วเิ คราะหเ์ หตกุ ารณ์สาคญั ตา่ งๆ ทส่ี ่งผลต่อการเปลย่ี นแปลงทางสังคม
เศรษฐกิจ และการเมอื งเขา้ สู่โลกสมยั ปัจจบุ นั

45

ม.4-6/3 วิเคราะหผ์ ลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในทวปี ยโุ รป
ไปยงั ทวีปอเมริกา แอฟริกา และเอเชีย

2.2 จดุ ประสงค์การเรียนรู้

1. วิเคราะห์เหตุการณ์เก่ียวกับการสารวจทางทะเล การปฏิรูปศาสนา การปฏิวัติทาง
วทิ ยาศาสตร์ และการปฏิวตั อิ ุตสาหกรรมได้

2. อธิบายลกั ษณะของลทั ธิเสรีนิยม ลทั ธิจกั รวรรดินิยม และลทั ธิชาตนิ ิยมได้
3. วเิ คราะห์อทิ ธิพลของลทั ธิเสรีนิยม ลทั ธิจกั รวรรดินิยม และลทั ธิชาตินิยมที่มีต่อโลกได้

 สาระการเรียนรู้

3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง

1. เหตกุ ารณส์ าคญั ตา่ งๆ ทีส่ ่งผลต่อการเปลีย่ นแปลงของโลกในปัจจบุ นั เช่น
- การสารวจทางทะเล
- การปฏิรูปศาสนา
- การปฏวิ ตั ิทางวทิ ยาศาสตร์
- การปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรม
- แนวคดิ เสรีนิยม แนวคดิ จกั รวรรดินิยม แนวคดิ ชาตินิยม

2. การขยาย การล่าอาณานิคม และผลกระทบ

3.2 สาระการเรียนรู้ท้องถนิ่
-

 สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน

4.1 ความสามารถในการคิด

- ทกั ษะการคดิ วิเคราะห์
- ทกั ษะการคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ

4.2 ความสามารถในการแก้ปญั หา
4.3 ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ

- กระบวนการทางานกลุ่ม
- กระบวนการปฏิบตั ิ

 คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์

46

1. มีวินยั
2. ใฝ่เรียนรู้
3. มุ่งมนั่ ในการทางาน

 กจิ กรรมการเรยี นรู้ (วธิ สี อนแบบบรรยาย วธิ สี อนโดยเน้นกระบวนการ : กระบวนกล่มุ )

ชั่วโมงที่ 1-2
4

1. ครูนาภาพเจา้ ชายเฮนรี ราชนาวกิ คริสโตเฟอร์ โคลมั บสั เฟอร์ดินานด์ แมกเจลแลน
มาให้นกั เรียนดู แลว้ ให้นกั เรียนช่วยกนั ตอบในประเด็นคาถามตอ่ ไปน้ี
- เป็นภาพของบคุ คลใด
- เป็นชนชาติใด
- บคุ คลดงั กลา่ วอยใู่ นช่วงสมยั ใด
- มีบทบาทสาคญั ทางประวตั ศิ าสตร์อยา่ งไร

2. ครูอธิบายเพ่มิ เตมิ ว่าบุคคลเหล่าน้ีมีความสาคญั ต่อประวตั ศิ าสตร์ตะวนั ตกในหลายดา้ นซ่ึงทาให้
ยโุ รปมีการเปลีย่ นแปลงไปจากสมยั กลางทีอ่ ยใู่ ตอ้ ิทธิพลของคริสตจกั ร ทาใหย้ โุ รปเจริญกา้ วหนา้
จนกลายเป็ นประเทศมหาอานาจของโลก

3. นกั เรียนแบง่ เป็น 4 กลมุ่ สมาชิกแต่ละกลุม่ เลือกประธาน รองประธาน เลขานุการ
4. ให้แต่ละกลุ่มส่งตวั แทนออกมาจบั สลากหัวขอ้ ดงั น้ี

- กลุ่มที่ 1 การสารวจทางทะเล
- กลมุ่ ที่ 2 การปฏริ ูปศาสนา
- กลุ่มท่ี 3 การปฏิวตั ทิ างวิทยาศาสตร์
- กลุม่ ท่ี 4 การปฏิวตั อิ ุตสาหกรรม
5. ครูช้ีแจงให้ทกุ กลุ่มทราบว่าเมื่อแต่ละกลมุ่ ไดร้ บั หวั ขอ้ ไปแลว้ ให้ไปศกึ ษาคน้ ควา้ ขอ้ มูลจาก
หนงั สือเรียนและแหล่งการเรียนรู้ตา่ งๆ และเตรียมนาเสนอผลงานหนา้ ช้นั เรียน

ช่ัวโมงที่ 3-4

1. ครูซกั ถามนกั เรียนแต่ละกลุ่มเกี่ยวกบั ความพร้อมในการนาเสนอผลงานหนา้ ช้นั เรียน
2. ใหน้ กั เรียนแตล่ ะกลมุ่ เตรียมความพร้อม 5 นาที จากน้นั เร่ิมจากกลมุ่ ท่ี 1-4 ตามลาดบั

ระหว่างท่ีกลมุ่ ที่ 1 นาเสนอเสร็จ ให้เปิ ดโอกาสใหเ้ พือ่ นกลุ่มอน่ื ซกั ถามขอ้ สงสยั และเสนอแนะ

47

เพมิ่ เติม ทาเช่นน้ีจนครบท้งั 4 กลุม่
3. นกั เรียนและครูร่วมกนั สรุปสาระสาคญั เก่ียวกบั การสารวจทางทะเล การปฏิรูปศาสนา การปฏิวตั ิ

ทางวิทยาศาสตร์ และการปฏิวตั ิอตุ สาหกรรม เพอ่ื เป็นการทบทวนความรู้ท้งั หมด

ช่ัวโมงที่ 5-6

1. ครูนาวีดิทศั นเ์ กี่ยวกบั การปฏิวตั ิฝร่งั เศส ค.ศ. 1789 มาให้นกั เรียนชม ภายหลงั การชมวดี ิทศั นแ์ ลว้
ครูต้งั คาถามให้นกั เรียนช่วยกนั ตอบวา่
- เป็นเหตกุ ารณเ์ ก่ียวกบั อะไร
- เกิดข้ึนทใ่ี ด
- มีสาเหตมุ าจากอะไรและส่งผลอยา่ งไร

2. ครูอธิบายให้นกั เรียนเขา้ ใจว่า การปฏวิ ตั ิฝรัง่ เศส ค.ศ. 1789 เพ่อื ลม้ ลา้ งการปกครองระบอบ
สมบูรณาญาสิทธิราชย์ มีส่วนกอ่ ใหเ้ กิดแนวคดิ เสรีนิยมและตอ่ มาถึงไดแ้ ผ่ขยายไปยงั ดินแดนอื่นๆ
ทวั่ ยโุ รป โดยเสรีนิยมเป็นหลกั การพ้ืนฐานในการดาเนินการปกครองแบบประชาธิปไตย ท้งั ยงั
สร้างความรู้สึกใหป้ ระชาชนรกั และภาคภมู ิใจในชาตขิ องตน จนเกิดความร่วมมอื ร่วมใจกนั สร้าง
ชาติข้นึ และชาตยิ โุ รปไดใ้ ชค้ วามเหนือกว่าของเผ่าพนั ธุ์ในการเขา้ ไปรุกรานดินแดนอ่ืนท่ดี อ้ ยกว่า

3. ครูใหน้ ักเรียนศึกษาเกี่ยวกบั ลทั ธิเสรีนิยม ลทั ธิจกั รวรรดินิยม ลทั ธิชาตินิยม และลทั ธิสังคมนิยม
จากหนงั สือเรียน

4. ให้นกั เรียนภายในหอ้ งจบั คูก่ นั อาจจะเป็นชายกบั ชาย หญิงกบั หญิง หรือชายกบั หญงิ และแจก
ใบงานที่ 2.1 เร่ือง ลทั ธิเสรีนิยม จกั รวรรดินิยม ชาตินิยม และสงั คมนิยม ให้แตล่ ะคู่ร่วมกนั
ระดมความคดิ เปรียบเทยี บความแตกตา่ งของลทั ธิท้งั 4 และอทิ ธิพลท่มี ีต่อโลกลงใน
ใบงาน

5. ครูสุ่มเรียกตวั แทนนกั เรียนออกมานาเสนอผลงาน 4-5 คู่ โดยครูคอยช้ีแนะและเปิ ดโอกาสให้
นกั เรียนซกั ถามขอ้ สงสัย

6. นกั เรียนและครูร่วมกนั สรุปสาระสาคญั เก่ียวกบั ลทั ธิเสรีนิยม จกั รวรรดินิยม ชาตนิ ิยม และ
สงั คมนิยม

 การวดั และประเมนิ ผล

วธิ ีการ เครื่องมือ เกณฑ์

นกั เรียนทาใบงานที่ 2.1 ใบงานที่ 2.1 ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์

สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทางานกลุม่ ระดบั คณุ ภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

48

 สอ่ื /แหลง่ การเรยี นรู้

8.1 สื่อการเรียนรู้

1. หนงั สือเรียน ประวตั ศิ าสตร์สากล ม.4-ม.6
2. วีดิทศั น์เกี่ยวกบั การปฏวิ ตั ิฝร่ังเศส ค.ศ. 1789
3. ใบงานท่ี 2.1 เร่ือง ลทั ธิเสรีนิยม จกั รวรรดินิยม ชาตนิ ิยม และสงั คมนิยม

8.2 แหล่งการเรียนรู้

1. หอ้ งสมดุ หรือห้องสมดุ ประชาชน
2. สานกั หอสมดุ แห่งชาติ
3. หอ้ งเทคโนโลยสี ารสนเทศ

แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานกล่มุ

ลาดบั ช่ือ – สกลุ ความ การแสดง การรับฟัง การต้งั ใจ การร่วม รวม
ที่ ร่วมมือ ความ ความ ทางาน ปรับปรุง 20
คิดเหน็ คิดเห็น ผลงานกล่มุ คะแนน

43214321432143214321

49

เกณฑ์การให้คะแนน

ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤติกรรมอยา่ งสม่าเสมอ = ดีมาก ให้ 4 คะแนน
ดี ให้ 3 คะแนน
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมบ่อยคร้งั = พอใช้ ให้ 2 คะแนน
ปรับปรุง ให้ 1 คะแนน
ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤติกรรมบางคร้ัง =

ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤติกรรมนอ้ ยคร้งั =

เกณฑ์การตดั สินคุณภาพ

ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ

17 - 20 ดีมาก
13 - 16 ดี
9 - 12
5-8 พอใช้
ปรบั ปรุง

ใบงานท่ี 2.1

เรื่อง ลทั ธิเสรีนิยม จักรวรรดนิ ยิ ม ชาตินิยม และสังคมนยิ ม

คาชี้แจง ให้นกั เรียนวเิ คราะหใ์ นประเด็นท่กี าหนดให้ถูกตอ้ ง

แนวคิด ลักษณะสาคัญของแนวคิด อทิ ธิพลทีม่ ตี ่อโลก

ลทั ธิเสรี
นิยม


Click to View FlipBook Version