The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ok0616046957, 2022-04-13 07:27:57

อารยธรรมสำคัญของโลกตะวันตก

ปก_merged

50

ลทั ธิ
จกั รวรรดิ

นิยม

แนวคิด ลกั ษณะสาคัญของแนวคดิ อิทธพิ ลที่มีต่อโลก

ลทั ธิ
ชาตนิ ิยม

51

ลทั ธิ
สงั คมนิยม

ใบงานที่ 2.1

เรื่อง ลัทธเิ สรีนยิ ม จกั รวรรดนิ ยิ ม ชาตนิ ิยม และสังคมนยิ ม

คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนวิเคราะหใ์ นประเด็นที่กาหนดใหถ้ ูกตอ้ ง

แนวคิด ลกั ษณะสาคญั ของแนวคดิ อิทธิพลทีม่ ีต่อโลก

52

ลทั ธิเสรี เป็นแนวคิดที่ให้ปัจเจกบคุ คลมีเสรีภาพ ก่อให้ เกิดการเรียกร้ องการปกครองระบอบ
นิยม ทง้ั ทางด้านการเมืองการปกครอง และ ประชาธิปไตยแบบรัฐสภาทใี่ ห้ประชาชนมีส่วน
เศรษฐกิจภายใต้กฎหมาย ซ่ึงเกิดขึน้ ร่วมในการปกครองประเทศ โดยมีรัฐธรรมนูญ
ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 18 เป็นกฎหมายสูงสุด เช่น ในฝรั่งเศสได้มีการปฏิรูป
กฎหมายการเลือกตงั้ ใน ค.ศ. 1824 และ 1830 หรือ
อังกฤษใช้ พ.ร.บ. ปฏิรูประบบการเลือกตง้ั สมาชิก
รัฐสภาคร้ังใหญ่ ค.ศ. 1832 นอกจากนใี้ นทาง
เศรษฐกิจ ระบบการค้าเสรีได้ทาให้ชนชั้นกลางมี
บทบาทมากขึน้ ทางการเมือง การค้าเติบโตมากขึน้

ลทั ธิ เป็ นนโยบายการขยายอานาจเข้าควบคมุ ทาให้ชาติมหาอานาจยโุ รปต่างๆ เข้าไปยึดครอง
จกั รวรรดิ ดินแดนอ่ืนท่ีอ่อนแอกว่า ทั้งการเข้า ดินแดนโพ้นทะเลเป็นอาณานิคม โดยอ้างว่าเป็น
ครอบครองดินแดน การเข้าควบคมุ ภาระของคนผิวขาวในการนาอารยธรรมท่สี ูงกว่า
นิยม ทางด้านเศรษฐกิจและการเมือง ซ่ึง ไปเผยแพร่ ทาให้ชาวพืน้ เมืองได้รับอิทธิพลทาง
เกิดขึน้ ในกลางคริสต์ศตวรรษท่ี 19 วฒั นธรรมตะวันตก เช่น การนบั ถอื คริสต์ศาสนา
ภาษาตะวนั ตก การศึกษาแบบตะวันตก การให้
ชาวพืน้ เมืองปลูกพืชเศรษฐกิจเพื่อแสวงหากาไร
จนนาไปสู่ความขดั แย้งระหว่างประเทศ การศึกษา
แบบตะวันตก ทาให้เกิดขบวนการชาตินิยมขึน้
ในเวลาต่อมา

แนวคดิ ลกั ษณะสาคญั ของแนวคดิ อทิ ธพิ ลทมี่ ีต่อโลก

53

ลทั ธิ เป็นความรู้สึกรักชาติ รักประเทศ ได้กระต้นุ ให้ดินแดนต่างๆ เกิดการรวมตัวเป็นชาติ
ชาตนิ ิยม รู้สึกภาคภูมิใจทีเ่ กิดมาเป็นพลเมือง ขึน้ เช่น การรวมชาติเยอรมนี การรวมชาติอิตาลี
ของชาติหรือประเทศนั้นๆ จึงทา ทัง้ ยงั ทาให้ชนกล่มุ น้อยต่างๆ พากนั เคลอื่ นไหว
ให้เกิดความรู้สึกผกู พัน หวงแหน แยกตวั จากการปกครองของคนต่างเชื้อชาติ เช่น
และร่วมกนั ปกป้องรักษาความ การก่อการปฏิวตั ขิ องชาวฮังการีต่อจกั รวรรดิ
เป็นชาติ ซึ่งเกิดขึน้ ในช่วง ออสเตรีย ค.ศ. 1848 ตลอดจนนาไปสู่การทาลาย
คริสต์ศตวรรษที่ 19 ล้างเผ่าพนั ธ์ุอ่ืนเพื่อแสดงความย่งิ ใหญ่ของชาติตน
ดังเช่นการฆ่าล้างเผ่าพันธ์ุชาวยวิ ของนาซีเยอรมัน
ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นต้น

ลทั ธิ เป็นแนวคิดทีเ่ น้นความเสมอภาคทั้ง ขบวนการสังคมนิยมและขบวนการแรงงานที่
สังคมนิยม ทางสังคมและเศรษฐกิจ เป็นสังคมท่ี ยอมรับในแนวคิดมีบทบาทสาคัญในการเคลือ่ นไหว
บคุ คลแต่ละคนทางานให้แก่สังคม ทางการเมืองและพยายามผลักดันการก่อการปฏิวัติ
ส่วนรวมอย่างเตม็ กาลงั ความสามารถ ตามแบบรัสเซีย รัสเซียสามารถสร้างระบอบสังคม
และสังคมกใ็ ห้การตอบแทนแต่ละ นิยมขึน้ ได้สาเร็จ และเป็นประเทศมหาอานาจ
คนตามที่แต่ละบุคคลต้องการ ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ทั้งยังสร้าง
แนวความคิดศิลปวัฒนธรรมคอมมิวนิสต์ขึน้
ทเ่ี รียกว่า แนวความคิดสัจสังคมนิยม

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 3

54

ประวตั ศิ าสตร์สากล ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ 4-6
เวลา 4 ช่ัวโมง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เหตุการณ์สาคญั ทางประวตั ิศาสตร์ทม่ี ีผลต่อโลกปัจจุบนั
เรื่อง ความร่วมมือและความขัดแย้งของมนุษยชาตใิ นคริสต์ศตวรรษ

ท่ี 20 - ปัจจบุ นั

 สาระสาคญั / ความคิดรวบยอด

การเกิดความขัดแยง้ และความรุนแรงหลายเหตุการณ์ส่งผลกระทบต่อการเปล่ียนแปลงทางสังคม
เศรษฐกิจ และการเมอื ง ทาให้ทวั่ โลกหนั มาให้ความสาคญั และร่วมมอื กนั แกไ้ ขปัญหาทเี่ กิดข้นึ

 ตวั ช้ีวดั /จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้

2.1 ตัวช้ีวัด

ส 4.2 ม.4-6/2 วเิ คราะห์เหตกุ ารณ์สาคญั ตา่ งๆ ที่ส่งผลต่อการเปลีย่ นแปลงทางสงั คม
เศรษฐกิจ และการเมืองเขา้ สู่โลกสมยั ปัจจุบนั

ม.4-6/3 วเิ คราะห์ผลกระทบของการขยายอทิ ธิพลของประเทศในยโุ รปไปยงั ทวปี
อเมริกา แอฟริกา และเอเชีย

2.2 จุดประสงค์การเรียนรู้

1. อธิบายความร่วมมือและความขดั แยง้ ของมนุษยชาตโิ ดยสงั เขปได้
2. วิเคราะหค์ วามร่วมมอื และความขดั แยง้ ท่สี ่งผลตอ่ มนุษยชาติในโลกได้

 สาระการเรยี นรู้

3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ความร่วมมือและความขดั แยง้ ของมนุษยชาติในโลกคริสตศ์ ตวรรษท่ี 20

3.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิน่

-

 สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน

55

4.1 ความสามารถในการคดิ

- ทกั ษะการคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ
- ทกั ษะการคดิ วิเคราะห์

4.2 ความสามารถในการแก้ปัญหา

4.3 ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต

- กระบวนการทางานกลุ่ม
- กระบวนการปฏบิ ตั ิ

 คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์

1. มีวนิ ยั
2. ใฝ่เรียนรู้
3. มงุ่ มนั่ ในการทางาน

 กิจกรรมการเรยี นรู้

(วิธสี อนโดยเน้นกระบวนการ : กระบวนการกล่มุ , กระบวนการคิดวิเคราะห์)

ชั่วโมงที่ 1-2

1. ครูนาวีดิทศั นเ์ กี่ยวกบั สงครามโลกคร้งั ที่ 1 หรือสงครามโลกคร้ังที่ 2 มาใหน้ กั เรียนชม แลว้ ครูต้งั
คาถามเพอื่ กระตุน้ ใหน้ กั เรียนคิดวเิ คราะห์ ดงั น้ี
- สาเหตุของความขดั แยง้ เกิดจากอะไร
- เกิดข้นึ ทไ่ี หน
- ส่งผลต่อมนุษยแ์ ละโลกโดยรวมอยา่ งไร

2. ครูและนกั เรียนร่วมกนั สรุปถงึ ความขดั แยง้ ของมนุษยชาตินบั ต้งั แตอ่ ดีตจนถงึ ปัจจุบนั มีอยู่
มากมายหลายเหตกุ ารณ์ โดยมสี าเหตุแตกตา่ งกนั ไป แตผ่ ลจากความขดั แยง้ ก็ก่อใหเ้ กิดการสูญเสีย
ท้งั ชีวติ และทรพั ยส์ ินของผคู้ นจานวนมาก

3. ครูแบ่งนักเรียนเป็ น 4 กลุ่ม คละกันตามความสามารถ จากน้ันเลือกประธาน รองประธาน
เลขานุการ และให้สมาชิกในกลุ่มแบ่งหนา้ ท่ีความรับผดิ ชอบกนั

4. ให้ตวั แทนกลมุ่ ออกมาจบั สลากหมายเลขกลมุ่ เพอื่ ศึกษาในหัวขอ้ ตอ่ ไปน้ี

56

- กลุ่มท่ี 1 ศึกษาเร่ือง สงครามโลกคร้ังท่ี 1
- กล่มุ ที่ 2 ศึกษาเรื่อง สงครามโลกคร้ังที่ 2
- กลุม่ ท่ี 3 ศึกษาเร่ือง สงครามเยน็
- กลมุ่ ที่ 4 ศกึ ษาเร่ือง สงครามอริ กั
5. ครูใหน้ กั เรียนไปศึกษาคน้ ควา้ ขอ้ มลู จากหนงั สือเรียนและแหล่งการเรียนรู้อื่นๆ เช่น
ห้องสมดุ อินเทอร์เนต็ และใหน้ กั เรียนนาเสนอผลงานในชว่ั โมงต่อไป โดยเปิ ดโอกาสให้สมาชิก
ในกลมุ่ ระดมสมองในการวางแผนการทางาน

ช่ัวโมงท่ี 3

1. ครูสนทนากบั นกั เรียนถงึ ความพร้อมในการคน้ หาขอ้ มลู ตามทค่ี รูมอบหมาย โดยซกั ถามถึงวธิ ีการ
หาขอ้ มลู และการแบง่ หนา้ ทก่ี นั รับผิดชอบภายในกลุ่ม

2. ใหน้ กั เรียนแต่ละกลมุ่ ส่งตวั แทนออกมานาเสนอผลงานหนา้ ช้นั เรียน โดยกลุ่มอืน่ แสดงความคิดเห็น
เพ่ิมเติม

3. นกั เรียนและครูร่วมกนั ประเมินการนาเสนอผลงานของกล่มุ ตา่ งๆ จากน้นั ให้นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ นา
ผลงานไปจดั ป้ายนิเทศหนา้ ช้นั เรียน

4. นกั เรียนและครูร่วมกนั สรุปสาระสาคญั ทไ่ี ดศ้ ึกษามา และให้นกั เรียนกลุ่มเดิมทาใบงานท่ี 3.1 เร่ือง
ความขดั แยง้ ระหวา่ งประเทศ เม่ือทาเสร็จแลว้ ให้ตรวจสอบความถูกตอ้ งร่วมกนั

ช่ัวโมงที่ 4

1. ครูนาบตั รคาเกี่ยวกบั อกั ษรยอ่ ขององคก์ ารตา่ งๆ เช่น UN EU NATO OPEC APEC WTO
UNESCO ASEAN เป็นตน้ มาให้นกั เรียนดู แลว้ ต้งั คาถามถามนกั เรียน ดงั น้ี
- อกั ษรยอ่ น้ียอ่ มาจากองคก์ ารอะไร
- องคก์ ารแตล่ ะแห่งเป็นความร่วมมอื ในระดบั ใด
- องคก์ ารเหลา่ น้ีจดั ต้งั ข้ึนเพอื่ วตั ถุประสงคอ์ ะไร

2. เม่ือนกั เรียนตอบเรียบร้อยแลว้ ครูอธิบายสรุปให้นกั เรียนเขา้ ใจว่าองคก์ ารตา่ งๆ เหลา่ น้ีเกิดจาก
ความร่วมมอื กนั ของประเทศต่างๆ ในโลก ท้งั ทอ่ี ยใู่ นภูมิภาคเดียวกนั และต่างภมู ิภาคกนั โดยมี
จดุ มงุ่ หมายเพ่ือผลประโยชนท์ จ่ี ะเกิดข้นึ ร่วมกนั ของประเทศสมาชิก

3. นกั เรียนแบ่งกลุ่ม กลมุ่ ละ 6 คน จากน้นั ให้จบั คกู่ นั เป็น 3 คู่ โดยแตล่ ะค่รู ับผิดชอบหวั ขอ้ ดงั น้ี

57

- คู่ที่ 1 ศึกษาเร่ือง องคก์ ารสหประชาชาติ หรือยเู อ็น
- คทู่ ี่ 2 ศกึ ษาเรื่อง สหภาพยโุ รป หรืออียู
- คูท่ ี่ 3 ศึกษาเร่ือง สมาคมประชาชาตเิ อเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ หรืออาเซียน
4. ครูสนทนากบั นกั เรียนในกลุ่มถงึ ความพร้อมของแต่ละคใู่ นการสืบคน้ ขอ้ มูลเกี่ยวกบั ความร่วมมือ
ของมนุษยชาตทิ ่กี าหนดให้ว่าไดข้ อ้ มูลมาจากแหลง่ ใด มีอปุ สรรคในการทางานหรือไม่ อยา่ งไร
ตลอดจนวธิ ีการแบง่ งานกนั ในการคน้ ควา้ ขอ้ มูล
5. ให้นกั เรียนแตล่ ะค่ผู ลดั กนั เล่าเรื่องรอบวงในหวั ขอ้ ที่ตนไดร้ ับมอบหมายให้เพือ่ นฟังจนทกุ คน
เขา้ ใจเน้ือหาสาระสาคญั ท้งั หมด
6. ให้แตล่ ะกลมุ่ ช่วยกนั ตอบคาถามเกี่ยวกบั ความร่วมมือของมนุษยชาติลงในใบงานที่ 3.2 เรื่อง
ความร่วมมือระหวา่ งประเทศ
7. ให้แตล่ ะกลมุ่ ส่งตวั แทนออกมานาเสนอใบงานทไี่ ดร้ ่วมกนั ทาหนา้ ช้นั เรียน ทีละกลุม่ จนครบทุกกลมุ่
โดยครูช่วยเสนอแนะเพม่ิ เติมใหส้ มบูรณ์
8. ให้นกั เรียนทาแผ่นพบั เหตกุ ารณ์สาคญั ทางประวตั ศิ าสตร์ท่ีมีผลต่อโลกปัจจุบนั
 นกั เรียนทาแบบทดสอบหลงั เรียน หน่วยการเรียนรู้ท่ี 4

 การวดั และประเมินผล เคร่ืองมือ เกณฑ์

วธิ กี าร ใบงานท่ี 3.1 ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
นกั เรียนทาใบงานท่ี 3.1
นกั เรียนทาใบงานท่ี 3.2 ใบงานที่ 3.2 ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
นกั เรียนทาแผ่นพบั เหตกุ ารณ์สาคญั
ทางประวตั ิศาสตร์ทีม่ ีผลตอ่ โลก แบบประเมนิ แผ่นพบั เหตุการณ์ ระดบั คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
ปัจจบุ นั สาคญั ทางประวตั ศิ าสตร์ทมี่ ผี ล
นกั เรียนนาเสนอผลงาน ตอ่ โลกปัจจบุ นั
สงั เกตพฤตกิ รรมการทางานกลุ่ม
แบบประเมนิ การนาเสนอผลงาน ระดบั คณุ ภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
นกั เรียนทาแบบทดสอบหลงั เรียน
แบบสังเกตพฤติกรรม ระดบั คุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์
การทางานกลมุ่

แบบทดสอบหลงั เรียน ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์

 สอ่ื /แหลง่ การเรยี นรู้

58

8.1 สื่อการเรียนรู้

1. หนงั สือเรียน ประวตั ศิ าสตร์สากล ม.4-ม.6
2. วีดิทศั นเ์ ก่ียวกบั สงครามโลกคร้งั ที่ 1-2
3. ใบงานที่ 3.1 เรื่อง ความขดั แยง้ ระหว่างประเทศ
4. ใบงานที่ 3.2 เร่ือง ความร่วมมอื ระหวา่ งประเทศ

8.2 แหล่งการเรียนรู้

1. หอ้ งสมดุ หรือหอ้ งสมดุ ประชาชน
2. สานกั หอสมดุ แห่งชาติ
3. ห้องเทคโนโลยีสารสนเทศ

แบบประเมินแผ่นพบั เหตกุ ารณ์สาคญั ทางประวัติศาสตร์ทม่ี ผี ลต่อโลกปัจจุบัน

59

ลาดับที่ รายการประเมนิ 4 ระดับคะแนน 1
32

1 การวิเคราะห์เหตุการณ์สาคญั
ทางประวตั ิศาสตร์ท่มี ีผลตอ่ โลกปัจจบุ นั

2 การวเิ คราะห์ผลกระทบของการขยายอิทธิพล
ของประเทศในยโุ รป

3 การเรียบเรียงเน้ือหา

4 รูปแบบ

รวม

ลงชื่อ ผปู้ ระเมนิ
( )

//

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ระดับคุณภาพ
4 หมายถงึ ดีมาก
ช่วงคะแนน 3 หมายถึง ดี
14-16 2 หมายถงึ พอใช้
11-13 1 หมายถึง ปรับปรุง
8-10
5-7

แบบประเมนิ การนาเสนอผลงาน

60

ลาดบั ท่ี รายการประเมิน ระดบั คะแนน
4321

1 เน้ือหาละเอียดชดั เจน
2 ความถูกตอ้ งของเน้ือหา
3 ภาษาท่ีใชเ้ ขา้ ใจงา่ ย
4 ประโยชน์ที่ไดจ้ ากการนาเสนอ
5 วิธีการนาเสนอผลงาน

รวม

ลงชื่อ ผปู้ ระเมิน
()
//

เกณฑ์การให้คะแนน

การนาเสนอผลงานสอดคลอ้ งกบั รายการประเมนิ สมบรู ณ์ชดั เจน ให้ 4 คะแนน

การนาเสนอผลงานสอดคลอ้ งกบั รายการประเมนิ เป็นส่วนใหญ่ ให้ 3 คะแนน

การนาเสนอผลงานสอดคลอ้ งกบั รายการประเมนิ บางส่วน ให้ 2 คะแนน

การนาเสนอผลงานไมส่ อดคลอ้ งกบั รายการประเมนิ ให้ 1 คะแนน

เกณฑ์การตดั สินคณุ ภาพ

ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ
17-20 4 หมายถงึ ดีมาก
13-16 3 หมายถึง ดี
9-12 2 หมายถงึ พอใช้
5-8 1 หมายถึง ปรับปรุง

61

แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกล่มุ

ลาดับ ชื่อ – สกุล ความ การแสดง การรับฟัง การต้งั ใจ การร่วม รวม
ท่ี ร่วมมือ ความ ความ ทางาน ปรับปรุง 20
คดิ เหน็ คิดเหน็ ผลงานกล่มุ คะแนน

43214321432143214321

เกณฑ์การให้คะแนน

ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤติกรรมอยา่ งสม่าเสมอ = ดีมาก ให้ 4 คะแนน
ดี ให้ 3 คะแนน
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบ่อยคร้ัง = พอใช้ ให้ 2 คะแนน
ปรับปรุง ให้ 1 คะแนน
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมบางคร้ัง =

ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมนอ้ ยคร้ัง =

เกณฑ์การตดั สินคุณภาพ

ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ

17 - 20 ดีมาก
13 - 16 ดี
9 - 12
5-8 พอใช้
ปรับปรุง

62

เอกสารเพ่ิมเติมสาหรับครู

เร่ือง บิมสเทค

กรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจบมิ สเทค (BIMSTEC) กอ่ ต้งั ข้นึ ตามปฏิญญากรุงเทพฯ เมอื่ วนั ท่ี 6
มถิ นุ ายน พ.ศ. 2540 โดยในช้นั ตน้ สมาชิกประกอบดว้ ย บงั กลาเทศ ศรีลงั กา อนิ เดีย และไทย ภายใตช้ ่ือ
BIST-EC ตอ่ มาไดร้ ับสหภาพพม่าเขา้ เป็นสมาชิกอยา่ งเป็นทางการในวนั ที่ 22 ธนั วาคม พ.ศ. 2540 พร้อมท้งั
เปลยี่ นชื่อกรอบความร่วมมือเป็น BIMST-EC ภายหลงั ต่อมามสี มาชิกเพิ่มอกี 2 ประเทศ ไดแ้ ก่ เนปาล และ
ภฏู าน โดยมีวตั ถุประสงคเ์ พื่อสร้างความเจริญทางเศรษฐกิจและสังคมในภมู ิภาค และเพอ่ื ส่งเสริม
ผลประโยชน์ร่วมกนั ในดา้ นเศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยีและการให้ความช่วยเหลอื ระหว่างประเทศสมาชิก
กาหนดให้มีความร่วมมือในสาขาหลกั 6 สาขา ไดแ้ ก่ การคา้ และการลงทนุ เทคโนโลยี การคมนาคมและ
สื่อสาร พลงั งาน การท่องเท่ียว การประมง โดยแบง่ หนา้ ท่คี วามรับผิดชอบของประเทศสมาชิกจาแนกตาม
สาขาความร่วมมือ ดงั น้ี

- บงั กลาเทศ เป็นผนู้ าสาขาการคา้ และการลงทนุ
- ศรีลงั กาเป็นผนู้ าสาขาเทคโนโลยี
- อินเดียเป็นผนู้ าสาขาการคมนาคมและสื่อสาร และการท่องเทย่ี ว
- สหภาพพมา่ เป็นผนู้ าสาขาพลงั งาน
- ไทยเป็นผนู้ าสาขาการประมง

บิมสเทคมแี นวทางความร่วมมอื ทางเศรษฐกิจจดั ต้งั เขตการคา้ เสรีในอนาคตหลายประการ หาก
ความตกลงเป็นไปตามทก่ี าหนด บิมสเทคจะเป็นตลาดขนาดใหญ่สาหรับขยายการคา้ และการลงทนุ ซ่ึงจะ
ช่วยบรรเทาปัญหาภาวะการแขง่ ขนั ทางการคา้ ของประเทศไทยและประเทศในกลุ่มบิมสเทคยงั เป็นแหล่ง
วตั ถุดิบในการผลิตสินคา้ ส่งออกท่สี าคญั ของไทย

บิมสเทคมีขอ้ ตกลงที่ช่วยลด/เลกิ อปุ สรรคทางการคา้ ท้งั ดา้ นภาษแี ละมใิ ช่ภาษรี ะหว่างประเทศ
สมาชิก จะทาให้สมาชิกมกี ารปรบั มาตรฐานกฎเกณฑข์ องประเทศสมาชิกให้สอดคลอ้ งกนั เป็นมาตรฐาน
เดียวกนั เพือ่ เป็นการอานวยความสะดวกทางการคา้ เช่น มีการปรับกฎเกณฑม์ าตรฐานดา้ นคณุ ภาพ พิธีการ
ศุลกากร เป็นตน้ ช่วยลดตน้ ทุนการขนส่ง โดยท่ีประเทศในกล่มุ บิมสเทคมีพ้นื ทีท่ เ่ี ช่ือมต่อกนั จึงมีความ
ร่วมมือดา้ นคมนาคมในการสร้างถนนเช่ือมโยงกนั คือ ไทย-พมา่ -อินเดีย และไทย-พม่า-บงั กลาเทศ และ
ความร่วมมือในการพฒั นาการเดินเรือเลยี บชายฝ่ังระหว่างสมาชิกในอ่าวเบงกอลและมหาสมุทรอนิ เดีย
หากการดาเนินการดงั กลา่ วสาเร็จจะสามารถส่งเสริมการคา้ ไดเ้ ป็นอยา่ งดี

63

การมีความร่วมมอื ทางดา้ นเศรษฐกิจการคา้ ทีด่ ีและสาคญั ของสมาชิกบมิ สเทค จะเป็นการสร้างความ
น่าเช่ือถอื ให้กบั บมิ สเทค และจะทาใหป้ ระเทศต่างๆ สนใจในภมู ภิ าคน้ีมากข้นึ อนั จะนาไปสู่การขยายตวั ทาง
การคา้ และการลงทนุ ของประเทศสมาชิก

ที่มา : กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ www.dtn.moc.go.th

64

ใบงานท่ี 3.1

เร่ือง ความขดั แย้งระหว่างประเทศ

ตอนท่ี 1 ใหน้ กั เรียนวเิ คราะห์เกี่ยวกบั ความขดั แยง้ ของมนุษยชาติตามหัวขอ้ ท่กี าหนดให้ถูกตอ้ ง

ความขัดแย้งในสมยั โบราณ-สมยั กลาง

ตวั อยา่ งความขดั แยง้ ผลท่มี ีตอ่ โลก

ความขัดแย้งในสมยั ใหม่ ผลทม่ี ีตอ่ โลก
ตวั อยา่ งความขดั แยง้

ความขัดแย้งในสมัยปัจจบุ ัน ผลที่มตี อ่ โลก
ตวั อยา่ งความขดั แยง้

65

ตอนที่ 2 ให้นกั เรียนเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของความขดั แยง้ ของมนุษยใ์ นอดตี กบั
ปัจจบุ นั

ความเหมือน ความแตกต่าง

ตอนที่ 3 นกั เรียนคดิ ว่าแนวทางในการสร้างสนั ตภิ าพมิใหเ้ กิดความขดั แยง้ ข้ึนในโลกสามารถทาไดอ้ ยา่ งไร

66

ใบงานท่ี 3.1

เรื่อง ความขดั แย้งระหว่างประเทศ

ตอนท่ี 1 ใหน้ กั เรียนวเิ คราะห์เก่ียวกบั ความขดั แยง้ ของมนุษยชาติตามหัวขอ้ ทก่ี าหนดใหถ้ ูกตอ้ ง

ความขัดแย้งในสมัยโบราณ-สมยั กลาง

ตวั อยา่ งความขดั แยง้ ผลทีม่ ีต่อโลก

1. สงครามเพโลพอนนีเชียน ระหว่างเอเธนส์กับ - ดินแดนต่างๆ ของกรีกต้องพินาศและเปิ ดโอกาส
สปาร์ ตาเพ่ือแย่งชิงความเป็ นใหญ่ในดินแดนกรีก ให้พระเจ้าอเลก็ ซานเดอร์มหาราชขยายอานาจเข้า
ครอบครองกรีก
2. สงครามครูเสด ระหว่างชาวคริสต์กบั ชาวมุสลิม - เกิดการแลกเปลีย่ นศิลปวิทยาการระหว่างโลก
เพื่อแย่งชิงดินแดนปาเลสไตน์ ตะวนั ตกกับโลกตะวันออก ทาลายระบอบฟิ วดัล
และกษตั ริย์กลบั มามอี านาจแท้จริง

ความขัดแย้งในสมยั ใหม่

ตวั อยา่ งความขดั แยง้ ผลท่มี ีต่อโลก

1. สงครามการปฏิวตั ิของชาวอเมริกัน ค.ศ. 1776 - ชาวอาณานิคมได้รับเอกราช กลายเป็นประเทศใหม่
ระหว่างชาวอาณานิคมกับองั กฤษ ท่ภี ายหลงั ได้พฒั นาเป็นประเทศมหาอานาจ
2. สงครามโลกครั้งท่ี 1 ระหว่างกล่มุ สนธิสัญญา - ยโุ รปต้องประสบความพินาศทางเศรษฐกิจ สังคม
พันธไมตรีไตรภาคีกบั กล่มุ สนธิสัญญาไตรภาคี การเมือง มีการนาอาวุธอันทนั สมัยมาใช้ในการรบ
3. สงครามโลกคร้ังท่ี 2 ระหว่างฝ่ ายพนั ธมิตรกบั - เศรษฐกิจตกตา่ เกิดประเทศมหาอานาจใหม่ คอื
ฝ่ ายอักษะ สหรัฐฯกับสหภาพโซเวยี ต เกิดประเทศยโุ รปใหม่ๆ

ความขัดแย้งในสมยั ปัจจบุ ัน

ตวั อยา่ งความขดั แยง้ ผลทมี่ ีตอ่ โลก

1. สงครามเยน็ ระหว่างกล่มุ ประเทศโลกเสรี - สหรัฐฯกลายเป็นประเทศอภิมหาอานาจเดียวใน

ประชาธิปไตยนาโดยสหรัฐฯกับโลกคอมมิวนิสต์ โลก สหภาพโซเวียตล่มสลาย เกิดสาธารณรัฐใหม่ๆ
นาโดยสหภาพโซเวียต มีการพัฒนาทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
2. สงครามระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์ เพ่ือ - มีการสูญเสียชีวิตและทรัพย์สินของประเทศที่
แย่งกันอ้างสิทธิเหนือดินแดนปาเลสไตน์ เกีย่ วข้อง และผ้นู าของท้ัง 2 ฝ่ าย ได้รับรางวัล

โนเบลสาขาสันติภาพ แต่ปัญหานกี้ ย็ งั ไม่ยุติ

67

ตอนท่ี 2 ให้นกั เรียนเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกตา่ งของความขดั แยง้ ของมนุษยใ์ นอดตี กบั
ปัจจบุ นั

ความเหมือน ความแตกต่าง

สาเหตุของความขัดแย้งบางประการ ในอดีตรูปแบบการทาสงครามจะเป็ นการใช้
เหมือนกัน เช่น การแย่งชิงทอ่ี ย่อู าศยั การแสวงหา ทหารราบเป็นหลกั ใช้อาวธุ ประเภทดาบ โล่ เท่าที่
ผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ ความแตกต่างทาง สร้างได้ในขณะน้ัน แต่ในสมัยปัจจุบัน ได้มกี าร
ศาสนา ความเช่ือ ซึ่งนาไปสู่การต่อสู้ปะทะกัน พฒั นาด้านประสิทธิภาพของอาวุธยุทโธปกรณ์
จึงมกี ารนาระเบิดนิวเคลยี ร์ทม่ี พี ลังทาลายล้างสูงมา
ใช้ จรวด เครื่องบิน เรือดานา้ ปื นสมยั ใหม่ จึง
ทาให้ สร้ างความเสียหายได้มากกว่าในอดตี
นอกจากนี้ ยงั อย่ใู นรูปแบบของการใช้ระเบิดพลชี ีพ
ทไี่ ม่ได้โจมตเี ป้าหมายหลัก แต่พ่งุ เป้าไปที่ผ้บู ริสุทธ์ิ
คนอื่นๆ ด้วย จึงทาให้ไม่ทราบตัวผู้บงการท่อี ยู่
เบือ้ งหลัง

ตอนท่ี 3 นกั เรียนคดิ วา่ แนวทางในการสร้างสันติภาพมใิ หเ้ กิดความขดั แยง้ ข้นึ ในโลกสามารถทาไดอ้ ยา่ งไร

ประเทศหรือฝ่ ายท่มี ีความขดั แย้งกนั ควรหันมาเจรจาร่วมกันโดยหาข้อตกลงซ่ึงเป็นทพ่ี อใจของทุกฝ่ าย และ
ควรมีประเทศที่มอี านาจเป็นตวั กลางมาช่วยไกล่เกลีย่ และมบี ทลงโทษสาหรับในกรณีทีฝ่ ่ ายใดฝ่ ายหนึ่ง ละเมิดข้อตกลง
ร่วมกัน นอกจากนภี้ าครัฐควรส่งเสริมให้เยาวชนของประเทศตระหนักถึงผลกระทบจากความขดั แย้ง และส่งเสริมให้
เหน็ ความสาคัญของการอย่รู ่วมกันอย่างสันติ

(พิจารณาจากคาตอบของนักเรียน โดยให้อย่ใู นดุลยพินิจของครูผ้สู อน)

68

ใบงานที่ 3.2

เรื่อง ความร่วมมือระหว่างประเทศ

คาชีแ้ จง ใหน้ กั เรียนวิเคราะหเ์ กี่ยวกบั ความร่วมมือของมนุษยชาตทิ ่ีกาหนดให้

ความร่วมมอื ในระดบั  ภูมิภาคเดียวกนั  ต่างภมู ิภาคกนั
วตั ถุประสงคเ์ พ่ือ

องคก์ ารสหประชาชาติ

ความร่วมมือในระดบั  ภูมิภาคเดียวกนั  ต่างภมู ภิ าคกนั
วตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่

สหภาพยโุ รป

ความร่วมมอื ในระดบั  ภมู ภิ าคเดียวกนั  ต่างภูมิภาคกนั
วตั ถุประสงคเ์ พ่ือ

องคอก์ งาครก์ าอราอเาซเซียียนน

นกั เรียนคดิ ว่าการร่วมมอื ของมนุษยชาตกิ ่อใหเ้ กิดผลดีตอ่ โลกอยา่ งไร

69

ใบงานที่ 3.2

เรื่อง ความร่วมมือระหว่างประเทศ

คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนวิเคราะห์เก่ียวกบั ความร่วมมอื ของมนุษยชาตทิ กี่ าหนดให้

องคก์ ารสหประชาชาติ ความร่วมมือในระดบั  ภมู ภิ าคเดียวกนั  ตา่ งภมู ภิ าคกนั
วตั ถปุ ระสงคเ์ พ่อื รักษาสันติภาพและความมนั่ คงของโลก พัฒนา
ความสัมพนั ธ์ฉันมิตรระหว่างประเทศ ร่วมมือกันแก้ปัญหาระหว่าง
ประเทศ ส่งเสริมสิทธิมนุษยชน และเป็นศนู ย์กลางในการสร้างความ
สมานฉันท์ในการดาเนินนโยบายของชาติต่างๆ

สหภาพยโุ รป ความร่วมมือในระดบั  ภูมภิ าคเดียวกนั  ตา่ งภมู ภิ าคกนั
วตั ถปุ ระสงคเ์ พ่ือ ให้เกิดการจัดตง้ั เป็นตลาดเดียว ใช้เงินตราสกลุ เดียว
เสริมสร้างบรรยากาศที่เอือ้ อานวยต่อการค้า การลงทนุ และการแข่งขัน
ภายในสหภาพยโุ รป ให้ประเทศสมาชิกปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจ
ในด้านต่างๆ เพ่ือลดความแตกต่างในด้านค่าเงินของแต่ละประเทศ

องคอก์ งาครก์ าอราอเาซเซียียนน ความร่วมมือในระดบั  ภูมิภาคเดียวกนั  ต่างภูมภิ าคกนั
วตั ถุประสงคเ์ พ่ือ ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ สังคม วิชาการและ
วัฒนธรรม เพื่อสร้างความม่นั คง ความเป็นปึ กแผ่นของประชาชาติและ
ภูมิภาค และต่อมาได้มีการเพ่ิมข้อตกลงความร่วมมือทางการทหาร

นกั เรียนคิดว่าการร่วมมอื ของมนุษยชาติกอ่ ให้เกิดผลดีตอ่ โลกอยา่ งไร
ความร่วมมือก่อให้เกิดการประชุมร่วมกันเพื่อหาแนวทางในการแก้ไขปัญหาต่างๆ ทเ่ี กิดขึน้ นอกจากนีย้ ัง
เป็นการเจรจาเพ่ือผลประโยชน์ร่วมกนั ทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ถือเป็นการสร้างความสัมพนั ธ์
อนั ดีต่อกนั และทาให้ประเทศท่มี คี วามสัมพนั ธ์ทด่ี ีอยู่แล้วมคี วามม่ันคงถาวรมากขึน้ เมื่อต่างฝ่ ายร่วมมือ
กนั ด้วยดกี จ็ ะสร้างความเจริญให้แก่ชาติและช่วยให้โลกเกิดสันติภาพและความสงบสุข



อารยธรรมเมโสโปเตเมีย

เมโสโปเตเมีย (Mesopotamia) เป็นคากรกี โบราณ = "ท่รี ะหวา่ งแม่น้า" → "ดินแดนระหวา่ งแม่น้าแมน่ ้าไทกรสิ และ
ยูเฟรทสี " (meso = กลาง, potamia = แม่น้า) ซ่งึ เป็นสว่ นหน่ึงของ "ดนิ แดนรูปพระจนั ทรเ์ ส้ยี วอนั อดุ มสมบูรณ์" (ซูเมอร)์
โดยเป็นดนิ แดนรูปคร่ึงวงกลมผืนใหญ่ ทอดโคง้ ข้ึนไปจากฝงั่ ทะเลเมดิเตอรเ์ รเนียนไปจรดอา่ วเปอรเ์ ซยี





ปจั จยั ทางภมู ิศาสตรก์ บั การตง้ั ถ่นิ ฐาน

เมโสโปเตเมยี ตง้ั อยู่ระหว่างแม่น้า 2 สาย คอื แม่น้าไทกรสิ (Tigris)
และแม่น้ายูเฟรทสี (Euphrates)(ประเทศอริ กั ซ่งึ มกี รุง
แบกแดดเป็นเมอื งหลวง) แม่น้าทง้ั 2 สายมตี น้ น้าอยูใ่ นอารเ์ มเนียและ
เอเชียไมเนอรไ์ หลลงสูท่ ะเลท่ีอา่ วเปอรเ์ ซีย
แม่น้าไทกรสี = มีตน้ กาเนิดจากเทือกเขาซากรอสในประเทศ
อหิ รา่ น
แม่น้ายูเฟรติส = มีตน้ กาเนิดจากเขตภเู ขาในบรเิ วณท่ีราบสูง
อารเ์ มเนีย ในประเทศตรุ กปี จั จุบนั

เมโสโปเตเมีย (meso=กลาง,potamia=แมน่ ้า)ดินแดนดงั กลา่ วนี้ เป็น
ส่วนหน่ึงของ "ดินแดนรปู พระจนั ทรเ์ สี้ยวอนั อดุ มสมบรู ณ์" ซึ่งเป็นดินแดนรปู
ครง่ึ วงกลมผืนใหญ่ ท่ีทอดโค้งขึน้ ไปจากฝัง่ ทะเลเมดิเตอรเ์ รเนียนไปจรดอ่าว

เปอรเ์ ซีย

ปัจจยั ที่ส่งผลให้อารยธรรมเมโสโปเตเมยี
เจริญรงุ่ เรือง

1. ความอดุ มสมบรู ณ์ของล่มุ แมน่ ้าไทกรีสและ

ยเู ฟรตีส
2. ความคิด และการสืบทอดอารยธรรมของ
กล่มุ ชนในดินแดนแห่งนี้ซึ่งมีด้วยกนั 6 กลมุ่
3.มีพรมแดนธรรมชาติเป็นเกราะป้องกนั การ
รกุ รานจากศตั รภู ายนอก โดยทิศเหนือมีภเู ขา
และที่ราบสงู ทิศใต้ติดอ่าวเปอรเ์ ซีย ทิศ
ตะวนั ออกจดเทือกเขาซารก์ อส และทิศตะวนั

เป็ นทะเลทรายซีเรีย



 เมโสโปเตเมยี แบง่ ออกเป็นสองสว่ น

 สว่ นล่างใกลก้ บั อา่ วเปอรเ์ ซีย มคี วามอดุ มสมบูรณ์เรยี กว่าบาบโิ ลเนีย (Babylonia)
 สว่ นบนซ่งึ ค่อนขา้ งแหง้ แลง้ เรยี กว่าแอสซีเรยี (Assyria) บรเิ วณทง้ั หมดมชี นชาตหิ ลายเผ่าพนั ธอุ์ าศยั อยู่ มกี ารรบพงุ่ กนั อยูเ่ สมอ เม่อื ชาตใิ ดมี

อานาจกเ็ ขา้ ไปยดึ ครองและกลายเป็นชนชาตเิ ดียวกนั



 อาณาบรเิ วณท่เี รยี กว่า เมโสโปเตเมยี

 ทิศเหนือ-จรด- ทะเลดาและทะเลแคสเปียน
 ทศิ ตะวนั ตกเฉียงใต-้ จรด- คาบสมทุ รอาหรบั ซ่ึงลอ้ มรอบดว้ ยทะเลแดงและมหาสมทุ รอนิ เดยี
 ทิศตะวนั ตก-จรด- ท่รี าบซีเรียและปาเลสไตน์
 สว่ นทศิ ตะวนั ออก-จรด- ท่รี าบสูงอหิ รา่ น

 เมโสโปเตเมยี เป็นดนิ แดนท่ีอากาศรอ้ นและกนั ดารฝน ไดร้ บั น้าจากหมิ ะละลายในภาคฤดูรอ้ นบนเทอื กเขาในอารเ์ มเนีย (Armenia)
+โคลนตมทบั ถมใหพ้ ้นื ดินอดุ มสมบูรณ์และบางครง้ั ทาความเสยี หายการกสกิ รรมจงึ ตอ้ งอาศยั ระบบการชลประทานท่ีมีประสทิ ธภิ าพ

 ความอดุ มสมบูรณ์ของลมุ่ แมน่ ้าเป็ นเคร่อื งดงึ ดูดใหผ้ ูค้ นเขา้ มาทามาหากนิ ในบรเิ วณน้ี แต่ความรอ้ นของอากาศก็เป็ นเคร่อื งบนั่ ทอนกาลงั ทา
ใหข้ าดความกระตือรอื รน้ เม่ือมีพวกอน่ื รุกรานจงึ หลกี ทางใหผ้ ูท้ ่เี ขา้ มาใหม่

 พวกท่รี ุกรานสว่ นใหญม่ กั มาจากบริเวณหบุ เขาท่รี าบสูงทางภาคเหนือ และตะวนั ออก ซ่งึ สว่ นใหญ่เป็นเขาหนิ ปูนไมอ่ ุดมสมบูรณ์ และพวก
ท่มี าจากทะเลทรายซเี รยี และอารเบีย ดนิ แดนน้ีจงึ เก่ียวขอ้ งกบั คนหลายกลมุ่



⚫ สภาพภมู ิประเทศท่ีเป็นที่ราบและเปิ ดโลง่ ไมม่ ีปราการธรรมชาติ
กนั้ อยู่ ทาให้ชนเผา่ ต่าง ๆ เขา้ มารกุ รานได้โดยงา่ ย

⚫ อารยธรรมเมโสโปเตเมยี จงึ เป็นอารยธรรมท่ถี ูกสรา้ งโดยชนเผ่าหลายกล่มุ

ชนเผ่าท่สี าคญั

 1. สเุ มเรยี น (Sumerians) เป็นชนเผา่ กลุ่มแรกท่ีเขา้ มาตงั้ ถิ่นฐานบริเวณดินแดนสามเหล่ียมปากแมน่ ้า เรียกวา่ Sumer
 เมืองมีฐานะเป็น “นครรฐั ” แต่นครรฐั ปกครองกนั เอง และมีการส้รู บระหว่างกนั ด้วย (ระบบกษตั ริย)์
 เน่ืองจากสภาพภมู ิอากาศแบบกงึ่ ทะเลทรายท่ีไมเ่ อื้ออานวยต่อการดาเนิ นชีวิต ที่มอี ากาศวิปริตแปรปรวนอยเู่ สมอ ส่งผล

ทาให้ชาวสเุ มเรยี นต้องสร้างทานบกนั้ น้า คลองระบายน้า เข่อื นกนั้ น้า ประตรู ะบายน้า อ่างเกบ็ น้า เพื่อระบายน้าไปยงั
พืน้ ท่ีแห้งแล้งท่ีอย่ไู กลออกไป(ชาวสเุ มเรยี นเป็นชนกล่มุ แรกท่ีทาระบบชลประทานได้)

อารยธรรมของชาวสุเมเรยี น

1. สภาพภมู อิ ากาศท่เี ลวรา้ ยมผี ลใหส้ ุเมเรยี นเป็นตวั เองเป็นทาส หรอื ของเลน่ ของ
พระเจา้ สงั คมสุเมเรยี นจงึ ยกยอ่ งเกรงกลวั พระเจา้ และถอื เป็นหนา้ ท่ีของทกุ คน
ทต่ี อ้ งรบั ใชพ้ ระเจา้ อย่างซ่อื สตั ย์ เพอ่ื ใหพ้ ระเจา้ เมตตา ไม่ลงโทษ

2. “ซกิ กูแลต” (Ziggurat) คลา้ ยภเู ขา เป็นสญั ลกั ษณ์ทป่ี ระทบั ของพระเจา้
ทาจากอฐิ ตากแหง้ อยูใ่ จกลางเมอื งและหอ้ มลอ้ มดว้ ยบา้ นเรอื น (ท่สี อนหนงั สอื
แกน่ กั บวชรนุ่ เยาว)์

ท่ีสิงสถิตของเทพเจา้

“วหิ ารหอคอย” หรอื “ซิกกูแรท” ท่ีสรา้ งดว้ ยดินหรอื อฐิ ตากแหง้ ซ่งึ นนั่ นับเป็นจดุ ออ่ นของสถาปตั ยกรรมของชาวสุเมเรยี น เพราะดินสามารถเสอ่ื มสลาย ผุ
ผงั ไปตามกาลเวลาไดง้ า่ ย ลกั ษณะของซิกกูแรตคลา้ ยๆกบั พรี ะมิดมสั ตาบา้ ของอยี ิปตโ์ บราณ แต่จะเป็นฐานส่เี หล่ยี มจตั ุรสั เรียงซอ้ นกนั ข้ึนไป มที างข้นึ ทง้ั
2-3 ดา้ น ดา้ นบนสุดเป็นท่ีสงิ สถิตของเทพเจา้





3. ตวั อกั ษร เป็นตวั อกั ษรเคร่อื งหมาย หรือเรียกวา่ “อกั ษรรูปล่มิ ” หรือ “อกั ษรคูนิฟอรม์ ” รูปรา่ งคลา้ ยตวั วใี นภาษาองั กฤษ โดยนาเอาไมส้ ลกั ลง

บนแผน่ ดนิ เหนียวเปียกๆ เป็ นสญั ลกั ษณต์ า่ งๆ แทนความหมายของคา เพอ่ื ประโยชน์ทางศาสนกิจและการบนั ทกึ ของพวกพระ เช่นบญั ชี

การคา้ บทบญั ญตั ทิ างศาสนา วรรณกรรม (มหากาพยก์ ิลกาเมช = Epic of Gilgamest)



 จารกึ มหากาพยก์ ลิ กาเมช ท่เี ก่ยี วขอ้ งกบั เหตกุ ารณน์ า้ ท่วมโลก ในอคั คาเดยี น

⚫ เป็นการผจญภยั ของกลิ กาเมช ประมขุ
และวรี บรุ ุษแหง่ อูรุก (2,700 BE)
เพอ่ื แสวงหาชวี ติ ทเ่ี ป็นอมตะ แต่ลม้ เหลว
เพราะชวี ติ กบั ความตายเป็นของคู่กนั

4. การปกครอง ปกครองแบบเทวาธปิ ไตย อาศยั อานาจของเทพเจา้ เป็ นเคร่ืองมือในการปกครอง มีอยู่ดว้ ยกนั 2 กลมุ่ คอื
1) ลูการ์ คอื ทหารท่ีมาปกครอง

2) ปาเตซี คอื พระท่ีเป็นคนกลางระหวา่ งเทพเจา้ กบั มนุษย์ จงึ ไดเ้ ขา้ มามสี ว่ นรว่ มในการปกครอง แต่กไ็ มน่ านนกั

5. วทิ ยาศาสตร์ ทาปฎทิ นิ โดยยึดหลกั จนั ทรคติ 1 ปีมี 360 วนั รูจ้ กั คานวณหาพ้นื ท่เี พ่อื เพาะปลูก
หรือก่อสรา้ ง เร่ิมสงั เกตความเป็นไปบนทอ้ งฟ้ า

6. สงั คม แบ่งเป็น 4 ชนชน้ั ไดแ้ ก่
1) ชนชน้ั สูงหรอื ปกครอง ไดแ้ ก่ พระ ผูค้ รองนคร
2) ชนชน้ั กลาง ไดแ้ ก่ พอ่ คา้ ช่างฝี มือ อาลกั ษณ์
3) ชนชน้ั ตา่ ไดแ้ ก่ ประชาชนทวั่ ไป ชาวนา
4) ชนชน้ั ตา่ สดุ ไดแ้ ก่ ทาส

ชนชนั้ ต่ำสดุ ถกู ใชแ้ รงงำนในกำรสรำ้ งซกิ กแู รท

ชนชนั้ สงู หรอื ชนชนั้ ปกครอง
เครอ่ื งใชท้ พ่ี บ (ชำม)

ภาพวาดและจารึกท่ีแสดงถงึ ความเชื่อของชาวสเุ มเรยี น

การวางผงั เมอื ง

6. ระบบชลประทาน

7. อน่ื ๆ = ดา้ นคณิตศาสตร์ ปฏทิ ิน การชงั่ ตวง วดั การแบ่งย่อยจานวน เช่น จานวน 12, 24, 60, 90, 360, การแบง่ วนั
ออกเป็น 24 ชวั่ โมง (กลางวนั 12 ชม. กลางคืน 12 ชม. ) การแบ่งมมุ , การคูณ หาร ยกกาลงั การถอดรากกาลงั ท่ีสองและท่ีสาม
การคานวณวงกลม การนบั เดือนแบบจนั ทรคติ เป็นตน้

2. อคั คาเดียน (Akkadian) หรอื แอคคดั เข้ามายึดพืน้ ที่
บริเวณทางตอนเหนือของ Sumer เรียกบริเวณนี้ว่า
Akkad

พระเจา้ ซารก์ อนท่ี 1 ปราบ นครรฐั ของพวกสเุ มเรยี น
และรวมนครรฐั ต่าง ๆ ไว้ด้วยกนั สถาปนาเป็น
“จกั รวรรดิอคั คาเดียน” (Akkadian Empire)

ไมน่ านกถ็ กู พวกสเุ มเรียนยึดอานาจ


Click to View FlipBook Version