1
แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา
ปี 2561-2563
โรงเรยี นบา้ นแกง้ กอก
อำเภอศรีเมืองใหม่ จังหวดั อุบลราชธานี
สำนักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาอบุ ลราชธานี เขต 3
สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
2
คำนำ
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขนั้ พื้นฐาน ปี 2561 - 2563 ของโรงเรียนบ้านแก้งกอก เป็น
แผนพฒั นาคุณภาพท่ีรองรับนโยบายของสำนักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาอบุ ลราชธานี เขต
3 เพ่ือและมาตรฐานการศึกษาปฐมวัยที่ประกาศใช้ใหม่ ระดับปฐมวัยท้ังหมด 3 มาตรฐาน 14
ประเด็นพิจารณา และ ระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ทั้งหมด 3 มาตรฐาน 21 ประเด็นพิจารณา เพื่อ
พัฒนาคุณภาพการศึกษาให้สนองนโยบาย กลยุทธ์ จุดเน้น ครอบคลุมมาตรฐานและมีเอกลักษณ์
อตั ลักษณข์ องโรงเรียนทีส่ อดคล้องกบั ข้อเสนอแนะของสมศ. และเนน้ ผลงานที่เกดิ กบั ผู้เรียนทกุ คน
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาข้นั พน้ื เลม่ นี้ จะเป็นคู่มอื สำหรับผู้บรหิ ารในการกำกับ ติดตาม
การดำเนินงานตามนโยบายและสำหรับครูผู้รับผิดชอบโครงการ กิจกรรม จะใช้เป็นคู่มือ ในการ
ดำเนินการให้มีคณุ ภาพ สอดคลอ้ งกบั ความต้องการและนโยบายที่กำหนด
ขอขอบคุณคณะทำงานทุกท่านที่ให้ความร่วมมือในการทำงานในครั้งน้ี ทำให้ได้แผน
แผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน ปี 2561 - 2563 เป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพการจัด
การศึกษาของโรงเรยี นบ้านแก้งกอกตอ่ ไป
ลงช่อื ........................................
( นายวษิ ณุ สนู านนท์ )
ผ้อู ำนวยการโรงเรยี นบ้านแกง้ กอก
3
สารบัญ
เร่อื ง หน้า
คำนำ ก
สารบัญ ข
บทท่ี 1 ขอ้ มูลพ้นื ฐานของโรงเรียน..................................................................... 1
1
ขอ้ มลู ท่ัวไป............................................................................................ 4
แหลง่ เรยี นรู้ …………………………………………………….…………………………. 5
ภมู ิปญั ญาท้องถนิ่ .................................................................................. 12
ข้อมลู นักเรียน....................................................................................... 13
ขอ้ มลู บุคลากร...................................................................................... 15
การวิเคราะห์ SWOT............................................................................ 16
โครงสร้างการบริหารงาน...................................................................... 17
โครงสร้างหลกั สูตรปฐมวยั /ข้ันพื้นฐาน................................................. 19
ข้อเสนอแนะของคณะกรรมการประเมนิ ภายนอก(สมศ.)รอบสาม........ 26
บทที่ 2 เปา้ หมายการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาปฐมวยั /ข้ันพนื้ ฐาน.................. 26
วิสยั ทัศน.์ ............................................................................................. 26
พันธกจิ .............................................................................................. 26
เป้าหมาย............................................................................................ 30
กลยทุ ธ์ ............................................................................................... 34
จุดเนน้ ................................................................................................ 35
มาตรฐานการประกันคุณภาพการศกึ ษาระดบั ปฐมวยั …………………… 36
มาตรฐานการประกนั คุณภาพการศกึ ษาระดับข้ันพื้นฐาน.................. 38
กิจกรรมโครงการตามมาตรฐานเพอื่ บรรลุเปา้ หมาย............................ 60
บทที่ 3 การดำเนนิ โครงการตามมาตรฐานการศกึ ษาปฐมวัย/ขน้ั พ้นื ฐาน.......... 62
บทที่ 4 การนิเทศ ติดตามและรายงานผล........................................................ 67
บทท่ี 5 เง่ือนไขความสำเรจ็ .............................................................................
ภาคผนวก 75
- คำสง่ั แตง่ ตงั้ คณะทำงาน…………………………………………………………………..
1
บทที่ 1
ขอ้ มูลพ้ืนฐานของโรงเรยี น
1.ขอ้ มูลพน้ื ฐานของโรงเรียน
1.1 ขอ้ มูลท่ัวไป
1.1.1 ชอ่ื สถานศึกษา
ชื่อ โรงเรยี นบ้านแกง้ กอก ที่ตัง้ หมู่ 1 ตำบลแก้งกอก อำเภอศรีเมืองใหม่
จงั หวดั อุบลราชธานี 34250 โทรศพั ท์ 081-6697595
E – mail address/ e-mail [email protected] website -
สังกดั สำนกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาอุบลราชธานี เขต 3
1.1.2 เปดิ สอนระดบั อนบุ าล ปีท่ี 2 ถึงระดับประถมศึกษาปีที่ 6
1.1.3 มีเขตพน้ื ที่บริการ 3 หม่บู า้ น ได้แก่
หมู่ที่ 1 บ้านแกง้ กอก มปี ระชากร ชาย 234 คน หญิง 243 คน รวม 477 คน
หมู่ท่ี 2 บา้ นดอนงวั มปี ระชากร ชาย 387 คน หญงิ 393 คน รวม 780 คน
หม่ทู ่ี 3 บ้านกุดชมุ มปี ระชากร ชาย 331 คน หญงิ 360 คน รวม 691 คน
ประชากรในเขตบรกิ ารรวมท้งั ส้นิ ชาย 952 คน หญิง 996 คน รวมทง้ั ส้ิน 1,948 คน
1.2 ข้อมูลดา้ นการบรหิ าร
1.2.1 ช่อื – สกลุ ผูบ้ ริหาร
นายวิษณุ สูนานนท์ วุฒกิ ารศกึ ษาสงู สุด ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต (ศษ.ม.)
.สาขา การบริหารการศึกษา
โทรศพั ท์ 081 - 6697595 e-mail [email protected]
ดำรงตำแหนง่ ทโี่ รงเรียนนีต้ ง้ั แต่ 9 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2561
จนถงึ ปจั จุบนั เป็นเวลา 3 ปี 6 เดอื น
1.2.2 ผชู้ ว่ ยผบู้ รหิ ารหรอื ผู้รกั ษาราชการแทนท่ีได้รบั แต่งตั้ง - ผู้รักษาราชการแทน
ประกอบด้วย
นางรศั มี ชมทอง ผรู้ กั ษาราชการแทนคนท่ี 1
นางสาวหนนู อ้ ม พนั ตรา ผูร้ กั ษาราชการแทนคนที่ 2
2
1.3 ประวตั ิโดยย่อ คำขวัญ และวัตถุประสงคเ์ ฉพาะของสถานศกึ ษา
1.3.1 ประวัติโดยย่อโรงเรียนบา้ นแกง้ กอก
โรงเรียนบ้านแก้งกอก ต้ังอยู่บ้านแก้งกอก หมู่ที่ 1 ตำบลแก้งกอก อำเภอศรี
เมืองใหม่ จังหวัดอุบลราชธานี มีพ้ืนท่ี 25 ไร่ 1 งาน 55 ตารางวา หมู่บ้านในเขตบริการมี 3
หมูบ่ ้าน คือ บ้านแกง้ กอก บา้ นกดุ ชมุ และบ้านดอนงัว
โรงเรียนบ้านแก้งกอก เดิมเป็นสาขาโรงเรียนประชาบาล (บ้านนาเออื ด) ต่อมาใน
ปี พ.ศ. 2477 ทางราชการได้ยกฐานะเป็นโรงเรยี นอิสระ ช่ือโรงเรียนประชาบาล ตำบลนาคำ 2 บ้าน
แก้งกอก อาศัยศาลาวัดบ้านแก้งกอกเป็นสถานทเี่ รยี น โดยมี นายพร ประจญศึก เปน็ ครใู หญค่ นแรก
พ.ศ. 2482 คณะครูและชาวบ้าน บ้านแก้งกอก บ้านกุดชุม และบ้านดอนงัว ได้
บริจาคเงิน 400 บาท ซ้ือที่ดินปลูกสร้างอาคารเรียน ซ่ึงได้รับงบประมาณปลูกสร้างอาคารเรียน
ขนาดกวา้ ง 7 เมตร ยาว 33 เมตรใต้ถุนสูง 3 เมตร จำนวน 1 หลัง เปิดสอนตัง้ แต่ช้นั ประถมศกึ ษาปี
ท่ี 1 ถงึ ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 4
พ.ศ. 2512 ได้รับงบประมาณจากสำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล ปลูกสร้างอาคาร
เรยี น แบบ ป. 1 ซ ขนาด 5 ห้องเรยี น 1 หลงั
พ.ศ. 2515 ไดร้ บั อนมุ ตั ใิ หเ้ ปดิ ขยายการศกึ ษาถงึ ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 7
พ.ศ. 2517 ได้รับงบประมาณปลูกสร้างอาคารเรียนแบบ ป.1ซ ขนาด 2
ห้องเรียน
พ.ศ. 2520 ได้รับงบประมาณปลูกสร้างอาคารเรียน แบบ ป.1ซ ขนาด 5
หอ้ งเรียน
พ.ศ. 2523 โรงเรียนได้โอนจากองค์การบริหารส่วนจังหวัดมาสังกัดสำนักงาน
คณะกรรมการการประถมศกึ ษาแหง่ ชาติ
พ.ศ. 2529 โรงเรยี นได้รับคัดเลือกให้เป็นที่ตัง้ ศูนยว์ ิชาการกลุ่มโรงเรียนเอือดใหญ่
เปดิ สอนตงั้ แต่ชนั้ เด็กเลก็ ถึงชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 6
พ.ศ. 2535 เปิดทำการสอนตงั้ แต่ชนั้ อนบุ าล 1 ถงึ ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 6
พ.ศ. 2540 โรงเรียนได้รบั อนุมัตเิ ขา้ โครงการโรงเรียนปฏริ ปู การเรยี นรู้
พ.ศ. 2543 ได้รับงบประมาณปลูกสร้างอาคารเรียน แบบ สปช. 105/29 จำนวน 1 หลัง 4
หอ้ งเรียน ต่อมาไดร้ ับงบประมาณตอ่ เตมิ อาคารเรียนชน้ั ล่างอกี 4 ห้องเรยี น
พ.ศ. 2546 โรงเรยี นไดโ้ อนมาสังกดั สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาอุบลราชธานี เขต 3
พ.ศ. 2551 สร้างหอประชมุ รวมใจจากเงินผา้ ป่าศิษย์เก่าโรงเรยี นบา้ นแก้งกอก
พ.ศ. 2562 โรงเรียนบา้ นแกง้ กอกเขา้ รว่ มโครงการโรงเรยี นคณุ ภาพประจำตำบล
3
1.3.2 ท่ีตงั้ โรงเรยี น
โรงเรียนบ้านแกง้ กอก ตัง้ อยู่หม่ทู ี่ 1 บ้านแก้งกอก ตำบลแกง้ กอก อำเภอศรเี มืองใหม่
จังหวดั อุบลราชธานี รหสั ไปรษณีย์ 34250 สังกัดสำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษา
อบุ ลราชธานี เขต 3
1.3.3 แผนผังภายในโรงเรยี นบา้ นแกง้ กอก
\
4
1.3.4 สภาพชุมชน
สภาพชุมชนโดยทั่วไปเป็นลักษณะของสงั คมเกษตรกรรมที่ประกอบอาชีพทางด้าน
การเกษตรเปน็ หลกั เชน่ ทำนา ทำสวน ปลกู พืชผักสวนครวั ตามฤดกู าล เชน่ ถวั่ ฝักยาว ฟักทอง
บวบ พริก ผู้ปกครองสว่ นใหญม่ ีฐานะยากจน โดยมรี ายได้เฉล่ียปีละประมาณ 25,000 บาท ต่อ
ครอบครวั เม่ือเสรจ็ ฤดูกาลทำนา ผปู้ กครองนักเรียนมักจะไปประกอบอาชีพรบั จ้างในตวั เมืองใหญ่ ๆ
เช่น กรุงเทพมหานคร ท้ิงลูกที่อยูใ่ นวยั เรยี นอย่กู ับ ปู่ ยา่ ตา ยาย หรอื ญาติ เป็นสว่ นใหญ่
ชาวบ้านในชุมชน ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ โดยในเขตบริการมีวัดอยู่ 1 วัด คือวัดไชย
มงคล ในวันพระและวันสำคัญทางศาสนา วัดจะเป็นศูนย์รวมของชาวบ้านที่ไปทำบุญและกิจกรรม
ต่างๆ ที่วัดเป็นประจำ นอกจากน้ี ชาวบ้านยังรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีวัฒนธรรม ไว้เป็น
เอกลกั ษณ์ เช่น บุญประจำปี บุญขา้ วจี่ บุญข้าวประดบั ดิน การอุปสมบท เป็นตน้
1.3.5 แหลง่ เรยี นรู้ ภูมิปญั ญาทอ้ งถิน่ และการใชห้ ้องสมดุ
ห้องสมดุ มีขนาด 150 ตารางเมตร จำนวนหนังสอื ในห้องสมุดทง้ั หมด 5,000 เล่ม การสืบคน้
หนังสือและการยืม – คนื ใชร้ ะบบทว่ั ไปแยกตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ และกลุ่มหนังสอื ท่ัวไปจำนวน
นกั เรยี นทใ่ี ชห้ ้องสมดุ ในปีการศกึ ษาน้ี คิดเป็น 102 คน / วนั
- แหล่งเรียนรภู้ ายในโรงเรยี น (นอกห้องสมดุ ) และแหล่งเรียนรู้ภายนอกห้องเรยี นพร้อมสถิติการใช้
แหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรยี น สถิตกิ ารใช้ แหลง่ เรยี นรภู้ ายนอกโรงเรียน สถติ กิ ารใช้
ชอ่ื แหลง่ เรยี นรู้ (จำนวนครง้ั /ปี) ชอ่ื แหลง่ เรยี นรู้ (จำนวนครั้ง/ป)ี
1. หอ้ งสมดุ 5
2. ห้องเรียนคณุ ภาพ 230 1.โรงงานทำขนมจีน 30
3. ห้องปฏบิ ัติการทาง 15
วทิ ยาศาสตร์ 160 2. วดั ไชยมงคล
4. ห้องพยาบาล 5
5. สวนสมุนไพร 210 3. องค์การบริหารสว่ นตำบล 10
6. เรอื นเพาะชำ 15
7. ห้องครัว แกง้ กอก 15
8. หอ้ งปฏิบตั ิการคอมพวิ เตอร์ 10
9. บ่อเลย้ี งปลา 25 4. ดอนปูต่ า 5
10. สนามเดก็ เล่น
130 5. โรงน้ำแข็งวารเี ทพ
130 6. สวนผกั เสกดิน
230 7. ฝายยางหว้ ยตงุ ลงุ
200 8. ตลาดสามแยกอบต.แกง้ กอก
120 9. สถานประกอบการปลาทูนึ่ง
210
5
แหล่งเรยี นรูภ้ ายในโรงเรยี น สถิติการใช้ แหล่งเรยี นร้ภู ายนอกโรงเรยี น สถติ ิการใช้
ช่ือแหล่งเรียนรู้ (จำนวนคร้งั /ปี)
ช่อื แหล่งเรียนรู้ (จำนวนครงั้ /ปี)
11.สนามกีฬา 220
12.ห้องสหกรณ์โรงเรียน 215
13.สวนมะนาว 120
14.ห้องปฏิบตั กิ ารทางภาษา 200
15.ห้องเด็กพิเศษเรยี นรว่ ม 150
- ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่
ปราชญ์ชาวบา้ น/ภมู ปิ ญั ญาท้องถ่นิ /ผ้ทู รงคณุ วุฒิ
1) ชอื่ -สกุล พระสวุ ัฒน์ สายเหมาะ สอนนักเรียน ชนั้ ป.4
2) ช่อื -สกุล พระศราวุธ สายเหมาะ สอนนักเรียน ชน้ั ป.5
3) ชอ่ื -สกลุ พระณภัทร อุดมพืช สอนนกั เรียน ช้นั ป.6
4) ชือ่ -สกลุ นายสมศรี บัวแก้ว ให้ความรู้ดา้ นพราหมณ์
5) ชอ่ื -สกุล นายวัน โรยอำไพ ใหค้ วามรู้ดา้ นหมอยาสมุนไพร
6) ช่ือ-สกลุ นางนงเยาว์ ศรพี รหม ใหค้ วามรู้ดา้ นการจกั สานไม้ไผ่
7) ชอื่ -สกลุ นางสาวจันทรจ์ ริ า ทองงวิ้ ให้ความรู้ด้านการจักสานไม้ไผ่
8) ชื่อ-สกลุ นางบุญกอง บญุ ทวี ใหค้ วามรดู้ ้านชา่ งเสรมิ สวย
9) ชอื่ -สกลุ นายสุพล โยธาพล ใหค้ วามรดู้ ้านการเปา่ แคน
10) ชอื่ -สกลุ นายทองใบ อนิ ทราชา ใหค้ วามรูด้ า้ นการดดี พณิ
11) ชื่อ-สกุล นางคำมี มลู เกษ ให้ความรูด้ า้ นการจักสานตระกร้าพลาสติก
12) ชอ่ื -สกลุ นางจิราพร ปุยดา ให้ความร้ดู า้ นสขุ ภาพอนามัย
13) ชอ่ื -สกลุ นายคำเปลีย่ น โพธ์ศิ รี ให้ความร้ดู ้านงานก่อสร้าง
14) ชือ่ -สกลุ นางอง่นุ ชมทอง ให้ความรู้ดา้ นการทำขนมไทย
15) ชื่อ-สกุล นางจนั ทร์ พุฒชา ให้ความร้ดู า้ นการทำพานบายสี
16) ชอ่ื -สกุล นางแดง คล้ายคลงึ ให้ความรู้ดา้ นพรมเชด็ เทา้
17) ชื่อ-สกุล นายพร เกตวุ ัตร ใหค้ วามรู้ด้านงานไม้
1.3.6 โอกาสและข้อจำกดั ของโรงเรียน
ผลการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอกพบว่าบริเวณโดยรอบสถานศึกษาต่างอยู่ใกล้แหล่ง
เรียนรู้แวดล้อมเป็นหมู่บ้านแก้งกอก กุดชุม ดอนงัว ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านแก้งกอก วัดไชยมงคล
6
ซ่ึงโรงเรียนจัดเป็นศูนย์กลางของเขตพ้ืนที่บริการ มีฝายเขื่อนยาง เป็นแหล่งน้ำท่ีมีอย่างเพียงพอ
สำหรับการอุปโภคตลอดปีและชุมชนโดยรอบยังเป็นชุมชนชนบท ทำให้ปราศจากอบายมุข
ประกอบกับผู้เรียนต่างขยันทำงานและช่วยงานด้านการเกษตรผู้ปกครองและชุมชนต่างเป็น
กัลยาณมิตรที่ดีต่อสถานศึกษา มศี ิษย์เกา่ คณะกรรมการสถานศึกษาและผู้นำทอ้ งถิ่นให้ความรว่ มมือ
และสนับสนุนในการพัฒนาการศึกษา มีแหล่งเรียนรู้เพียงพอสำหรับให้สถานศึกษานำมาใช้จัดการ
เรยี นการสอนเพ่อื สง่ เสรมิ ผเู้ รียนตามแนวหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ผลการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอกพบว่าอุปสรรค โดยสภาพชุมชนเป็นชุมชน
เกษตรกรต้องพ่ึงพาอาศัยธรรมชาติ ผู้ปกครองมีฐานะยากจน เม่ือหมดฤดูกาลเก็บเก่ียวผู้ปกครอง
ส่วนใหญ่จะไปทำงานก่อสรา้ งในต่างจังหวัดหรือในเมืองใหญ่ นักเรียนอยใู่ นความดแู ลของญาติผูใ้ หญ่
ทำใหข้ าดความรักความเอาใจใสจ่ ากผู้ปกครอง
ผลการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในพบว่าโรงเรียนบ้านเก้งกอกมีการปรับโครงสร้างของ
โรงเรียนโดยการกระจายอำนาจการบริหารจัดการศึกษา การมีระบบการประกันคุณภาพการศึกษา
ครูมีความพร้อมท่ีจะได้รับการพัฒนาให้ทันการเปล่ียนแปลงตามแนวทางปฏิรูปการศึกษา มีการ
บริหารงานโรงเรียนอย่างเป็นระบบ ทำให้สามารถพัฒนาการศึกษาได้อย่างต่อเน่ือง นักเรียนมี
คุณธรรมจริยธรรม มารยาทที่ดีงามเป็นท่ีชื่นชมของบุคคลทั่วไป นักเรียนมีสุขภาพ สขุ นิสัยท่ีดี มี
การออกกำลังกายทุกวันอย่างสม่ำเสมอ นักเรียนมีทักษะทางด้านการจักสาน เล่นกีฬา
วอลเลย์บอล ตะกร้อ และฟุตชอล มีความรับผิดชอบ มีวินัย ความซื่อสัตย์ สุจริต และปฏิบัติ
ตนเป็นประโยชน์แก่ส่วนรวม ครูส่วนมากมีภูมิลำเนาอยู่ใกล้สถานศึกษา ครูบางส่วนเป็นศิษย์เก่า
มีวุฒิทางการศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไป มีความต้ังใจท่ีจะพัฒนาสถานศึกษาทุกด้าน มีความรู้
ความสามารถตรงกบั งานเข้าใจในหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐานและใช้คอมพิวเตอร์ผลิตสื่อการเรียน
การสอน ผู้บริหารมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีวิสัยทัศน์ มีความรู้ในด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
สามารถจัดองค์กรโครงสรา้ งการบริหารและระบบบรหิ ารงานให้มีความคล่องตวั สงู
1.3.7 ขอบขา่ ยความรบั ผดิ ชอบ บทบาทหน้าที่ของโรงเรยี น
1. ด้านการกำหนดนโยบายการบริหารจัดการสถานศกึ ษา
โรงเรียนบา้ นแก้งกอก ใช้หลักการบริหารดว้ ยนวัตกรรมแก้งกอกโมเดล “KEANGKOK MODEL”
การออกแบบนวัตกรรม โดยใช้รูปแบบการพัฒนาโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ด้วยนวัตกรรม
“KEANGKOK MODEL” มหี ลักการและแนวคิดจากการมสี ่วนร่วมของทุกภาคส่วน เป็นการบรหิ าร
โดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (School-Based Management : SBM) ซึ่งได้นำทฤษฏีการบริหารเป็น
7
ฐานความคิด มาประยุกตใ์ ช้ ในการพัฒนาโรงเรียนซ่ึงเป็นกิจกรรมในการแก้ไขปัญหาคุณธรรม
และจริยธรรมในโรงเรยี นบา้ นแกง้ กอก โดยมีแนวทางในการดำเนนิ งานดังนี้
1.1 ทฤษฏีระบบ System Theory
1.2 หลักการของวงจรเดม่ิง (PDCA )
1.3 แนวคดิ การป้องกนั และแกไ้ ขปัญหาคุณธรรมและจรยิ ธรรมในสถานศึกษา มาเปน็
แนวคิดในการออกแบบโมเดล
1.4 การบูรณาการการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนเกี่ยวกับเร่อื งคุณธรรมและจรยิ ธรรม
2. ข้ันตอนการดำเนินงานพฒั นา
รูปแบบการพัฒนาสถานศึกษา โรงเรียนคุณธรรม สพฐ. แก้งกอกโมเดล “KEANGKOK
MODEL ” ได้ใช้หลักบริหารโดยประยุกต์รูปแบบการบริหารโดยคำนึงถึงประโยชน์ของนักเรียนเป็น
สำคัญเกิดประโยชน์ต่อผู้เรียนมากท่ีสุด โดยการวิเคราะห์นโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานและจุดเน้นของสำนักงานเขตพ้ืนท่ี การศึกษา
ประถมศึกษาอบุ ลราชธานี เขต 3 ซง่ึ มีรปู แบบการบรหิ าร ดังน้ี
แผนภมู กิ ารพฒั นานวัตกรรม โรงเรียนคุณธรรม สพฐ. แก้งกอกโมเดล
“KEANGKOK MODEL ”
นำนวัตกรรม “KEANGKOK MODEL ” มาจัดเรียงลำดับตามกระบวนการบรหิ ารจัดการดังนี้
K E AN G KOK
Kindness Efficiency Aim Niceness Good Kith Open Knowledge
ความเป็น ความมี วตั ถปุ ระสงค์ ความดี government เพ่อื นร่วมงาน การมสี ่วนรว่ ม องค์ความรู้
กลั ยาณมติ ร ประสิทธิภาพ เปา้ หมาย หลกั ธรรมาภบิ าล
“บวร”
3 5 18 6 427
2.1 ข้ันเตรียมการ
1) ศึกษาสภาพปจั จุบนั และปญั หาจากการประชมุ ครปู ระจำช้ัน แล้วนำมาวเิ คราะห์ถึงสาเหตุของ
ปญั หา
2) ประชุม วางแผน รว่ มกบั ครูประจำชนั้ เพื่อทำความเขา้ ใจนโยบาย โครงการ โรงเรยี น
คุณธรรม สพฐ.
3) แต่งต้ังคณะกรรมการเพื่อแก้ปญั หาของนกั เรยี น
8
4) แตง่ ตง้ั คณะกรรมการดำเนินการตามโครงการและมอบหมายหนา้ ทรี่ ับผดิ ชอบเพ่ือกำหนด
กจิ กรรมส่งเสรมิ ท่เี หมาะสมกับนักเรียน จดั ทำรายละเอียดโครงการเสนอผูบ้ ริหารเพอ่ื พิจารณา
อนุมตั ิ
5) สร้างเคร่อื งมือประเมินผลตามวตั ถปุ ระสงค์ของโครงการได้แก่ แบบสอบถาม เกย่ี วกับการจดั
กิจกรรมสง่ เสรมิ แบบสอบถามเกี่ยวกับความพึงพอใจของครู นกั เรยี นและผ้ปู กครองที่มตี อ่ การ
ดำเนนิ โครงการ โรงเรยี นคุณธรรม สพฐ.
2.2 ขน้ั ดำเนินการ
1) ประชุมช้ีแจงรายละเอียดของโครงการใหแ้ ก่คณะครูผ้รู ับผดิ ชอบกิจกรรมในแต่ละ
กจิ กรรม
2) จดั ทำปฏทิ ินการปฏบิ ตั กิ ิจกรรมตามโครงการ
3) ประชาสมั พนั ธโ์ ครงการและรายละเอยี ดของกิจกรรมตามโครงการให้นักเรยี น ครู
ผูป้ กครอง และผู้มสี ่วนเกยี่ วข้องทราบ
4) ดำเนนิ กจิ กรรมสง่ เสริมเชงิ สรา้ งสรรค์ใหน้ กั เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม
5) ประสานงาน ตดิ ตามผลการดำเนินงานเพื่อแกป้ ัญหาท่ีเกดิ ขนึ้ ระหวา่ งการดำเนนิ
กจิ กรรม
6) กำกับ ติดตาม นเิ ทศ และประเมินผลโครงการเปน็ ระยะ ๆ อย่างตอ่ เน่ือง
2.3 ขัน้ ประเมนิ ผล
1) ประชมุ คณะครเู พื่อกำหนดหลกั เกณฑ์ ขน้ั ตอน วิธกี ารประเมนิ ผล
2) จัดทำเคร่ืองมือประเมินผลตามวตั ถุประสงค์และเป้าหมายของโครงการ
3) ครูประจำชน้ั เก็บรวบรวมขอ้ มูลและผลการประเมินนกั เรยี น
4) วิเคราะห์ สรปุ รายงานผลการประเมนิ โครงการ
9
กระบวนการสรา้ งและพฒั นารปู แบบนวตั กรรม
INPUT PROCESS PRODUCT ( OUTPUT/
A (Aim) = วตั ถุประสงค์ OUTCOME)
เป้าหมาย
K (Kindness) = ความเป็น G (Good governance)= หลกั K (Knowledge) =องคค์ วามรู้
กลั ยาณมติ ร “บวร”
ธรรมาภบิ าล
K (Kith) = เพอ่ื นรว่ มงาน E (Efficiency) = ความมี N (Niceness)= ความดี
O ( Open ) = การมสี ว่ นรว่ ม ประสทิ ธภิ าพ
FEEDBACK
รปู แบบนวตั กรรม โรงเรียนคุณธรรม สพฐ. นวตั กรรมแก้งกอกโมเดล “KEANGKOK
MODEL ”
10
2) ดา้ นการบริหารการจดั การเรยี นรู้
วิเคราะห์หลักสูตร มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัด เพ่ือนำมาประยุกต์ใช้กับหลักสูตร
สถานศึกษา ส่งเสริมสนับสนุนการออกแบบการเรียนการสอน และแผนการจัดการเรียนรู้ของผู้สอน
เน้นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบปฏิบัติ ใช้ส่ือนวัตกรรมที่เหมาะสมกับผู้เรียน มีแผนการนิเทศตาม
ระบบการนิเทศการจัดการเรียนรู้ มีระบบการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน โดยมีการวัด
และประเมินผลที่หลากหลายและเหมาะกับผู้เรียน ระบบการจัดหาการให้บริการและการจัดเก็บ
เทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่อื การเรยี นรทู้ ี่มีประสิทธิภาพประสิทธิผล
3) ดา้ นการบรหิ ารจัดการงานท่วั ไปของสถานศึกษา
มีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับการบริหารงานในหน้าท่ี กฎหมาย ระเบียบท่ีเกี่ยวข้องกับการ
ปฏิบัติงาน และมีความรอบรู้ท่ัวไป มีความสามารถในการบริหารจัดการสถานศึกษา ด้านวิชาการ
งบประมาณ การบริหารงานบุคคล และการบริหารทั่วไป ตามแนวทางกฎหมายที่เก่ียวข้องกำหนด
มีการพัฒนาตน พัฒนาวิชาชีพ มีทักษะในการบริหารจัดการศึกษา ส่งผลให้ครูและบุคลากรใน
สถานศึกษาปฏิบัติงานได้ตามนโยบายและวัตถุประสงค์ของสถานศึกษา สำนักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน และกระทรวงศึกษาธิการ ดังน้ี
4) ดา้ นการบริหารงานวิชาการ
1) จัดให้มีหลักสูตรสถานศึกษาท่ีสอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียนและ
ท้องถิ่น มีการปรับปรุงพัฒนาอย่างต่อเนื่อง การจัดการเรียนรู้ มีความรู้ความเข้าใจในการจัดการ
เรียนรู้ สามารถส่งเสริมให้ครูจัด กิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลายและเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญจัดทำ
วิจัยในช้ันเรยี นเพอื่ ปรับปรุงและพัฒนา ส่งเสริมให้ครูจัดหา / ผลิต และใช้สื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี
และแหล่งเรียนรู้ท้ังภายในและภายนอกสถานศึกษา ส่งเสริมและสนับสนุนใหช้ ุมชนมีส่วนร่วมในการ
จัดการเรียนรู้ มีการจัดทำเอกสารทางวชิ าการและเผยแพร่เอกสารทางวิชาการเป็นประจำ การวจิ ัย
และพัฒนามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการวัดและประเมินผลตามหลักสูตรสถานศึกษาและจัดการ
ให้มีระเบียบการวัดและประเมินผลของสถานศึกษาที่สอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษา สนับสนุน
ให้ครูใช้เครื่องมือ วิธีการวัดผลประเมินผลตามสภาพจริงด้วยวิธีท่ีหลากหลาย มีการปรับปรุงและ
พัฒนาเครื่องมือวัดและประเมินผลระเบียบการวัดและประเมินผลของสถานศึกษาท่ีเหมาะสมกับ
สภาพปจั จบุ นั
2) การประกันคุณภาพการศึกษาจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพที่ย่ังยืนและ
ต่อเน่ือง มีการรายงานการประเมินตนเอง รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจำปีอย่าง
11
ต่อเน่ือง เป็นปัจจุบันโดยรายงานต่อหน่วยงานต้นสังกัดและสาธารณชน นำผลการประเมินมา
ปรับปรุงและพัฒนา มีความรแู้ ละทักษะในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ได้เป็นอย่างดี ส่งเสรมิ ให้
ครูจัดหา / ผลิต ใช้ส่ือ นวัตกรรมและเทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้ ประเมินผลการใช้ส่ือ
นวัตกรรมและเทคโนโลยีและพัฒนาใหเ้ หมาะสมกับบรบิ ทของสถานศึกษา
3) ส่งเสริมให้นักเรียนเข้าร่วมแข่งขันทางวิชาการอยู่เสมอ นำนักเรียนเข้าร่วม
แข่งขันกิจกรรมตา่ ง ๆ ท้งั ระดับกล่มุ เครอื ขา่ ยสถานศึกษา ระดับเขตพื้นที่และระดบั ชาติ
5) ด้านการบริหารงานบุคคล
จดั ให้บริการข้อมูลสารสนเทศแก่บุคลากร และมอบหมายหน้าท่ีแก่บุคลากรอย่างเหมาะสม
ตามความรู้ ความสามารถและความถนัด จัดวางระบบการบริหารงานบุคคลอย่างชัดเจน โดยการ
ทำงานเป็นทีม มีการปฐมนิเทศช้ีแจงหน้าที่ความรับผิดชอบ และนิเทศ กำกับ ติดตาม ทำให้
บุคลากรสามารถปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพ มีคุณธรรม จริยธรรม ตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
สง่ เสริมการศกึ ษาดูงานสถานศกึ ษาอน่ื เพื่อการพฒั นา
6) ดา้ นการบริหารทั่วไป
6.1) การบริหารงานกิจการนักเรียน จัดกิจกรรมนักเรียน ระบบดูแลช่วยเหลือ
นกั เรียนมีข้อมูลเก่ียวกับนักเรยี นและมีแผนปฏิบัตกิ ารเก่ียวกับงานกิจการนักเรียน พัฒนาผู้เรียนให้มี
คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ มีการประเมินผล สรุปรายงานและนำผลไปใช้ปรับปรุงแก้ไขและพัฒนา
ส่งเสริมการจัดกิจกรรมวันสำคัญต่างๆเพื่อพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม สืบสานและอนุรักษ์ รักความ
เป็นไทย
6.2) งานความสัมพันธ์ชมุ ชน มีความรู้ความเขา้ ใจบริบทของชมุ ชน มีทักษะใน
การสร้างความสัมพันธ์ท่ีดีกับชุมชน ริเริ่มโครงการสร้างสรรค์ในชุมชน เช่นโครงการพบปะสังสรรค์
ผู้นำผู้ปกครอง ครู เน่ืองในวนั ปีใหม่ วันพ่อ ทำให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาสถานศึกษาและการ
ระดมทรัพยากรเพอื่ การศึกษา
6.3) การพัฒนาอาคารสถานศึกษาและสิ่งแวดล้อม มีแผน/ โครงการพฒั นา
อาคารสถานศกึ ษาและสิง่ แวดล้อม ดำเนินการพฒั นาตามแผนทว่ี างไว้ มีการแสวงหาความรว่ มมือ
จากชุมชน ในการมสี ่วนรว่ มพัฒนาอาคารสถานศึกษา
7) ดา้ นการบริหารงบประมาณ
การบริหารการเงนิ บัญชี และพสั ดุ จดั ใหม้ ีการบริหารการเงินบญั ชี และพสั ดุ อย่างเป็น
ระบบ ดำเนินงานถูกต้องตามระเบียบของทางราชการ อยา่ งมีคณุ ภาพมคี ุณภาพ และเป็นปัจจบุ ัน
12
1.4 ข้อมลู นักเรยี น (ณ วนั ที่ 10 มิถนุ ายน ของปี การศกึ ษาที่รายงาน)
1. จำนวนนกั เรียนในเขตพ้นื ทีบ่ ริการท้ังสิ้น 198 คน
2. จำนวนนกั เรยี นในโรงเรียนทงั้ สนิ้ 198 คน จำแนกตามระดบั ช้ันที่เปดิ สอน
ชน้ั เรียน จำนวนนกั เรียน ครปู ระจำชน้ั หมายเหตุ
ชาย หญงิ รวม
อนุบาลปีที่ 2 7 9 16 นางรณญา วเิ วก
อนุบาลปีท่ี 3 18 10 28 นางสาวหนูนอ้ ม พันตรา
รวมระดับกอ่ นประถมศึกษา 25 19 44 นางนงคล์ ักษณ์ สอแสง
ประถมศึกษาปที ่ี 1 10 13 23 นางมลฤดี มนัส
ประถมศกึ ษาปีท่ี 2 11 10 21 นางรัศมี ชมทอง
ประถมศกึ ษาปีที่ 3 11 15 26 นางเปรมกมล ละอองแก้ว
ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 12 13 25 นางยพุ า วิเศษวงษา
ประถมศึกษาปที ่ี 5 14 13 27 นางฉววี รรณ บญุ ปอง
ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 12 20 32 นางยวุ ฉตั ร หลุมทอง
รวมประถมศกึ ษา 70 84 154
รวมท้งั สิน้ 95 103 198
13
1.5 ขอ้ มลู บคุ ลากรในโรงเรียน
ท่ี ชื่อ -สกุล เลขที่ ตำแหนง่ / อันดบั วุฒิ วชิ าเอก
ตำแหน่ง วทิ ยฐานะ เงนิ เดือน
1 นายวษิ ณุ สูนานนท์ 10251 ผอ.ชำนาญการพิเศษ คศ. 3 ศษ.ม. การบรหิ ารการศึกษา
2 นางฉวีวรรณ บุญปอง 10277 ครูชำนาญการพเิ ศษ คศ. 3 คบ. คหกรรมศาสตร์
3 นางยุพา วเิ ศษวงษา 10278 ครูชำนาญการพเิ ศษ คศ. 3 คบ. ประถมศึกษา
4 นางรัศมี ชมทอง 10282 ครูชำนาญการพิเศษ คศ. 3 คบ. วทิ ยาศาสตร์
5 นางสาวหนนู อ้ ม พนั ตรา 10283 ครูชำนาญการพเิ ศษ คศ. 3 คบ. บรรณารักษศาสตร์
6 นางมลฤดี มนสั 10284 ครูชำนาญการพิเศษ คศ. 3 คบ. ภาษาไทย
7 นางเปรมกมล 10286 ครูชำนาญการพิเศษ คศ. 3 คบ. จติ วทิ ยาและแนะแนว
10287 คศ. 3 ศศ.บ.
ละอองแกว้ 11013 ครูชำนาญการพเิ ศษ คศ. 3 ศษ.บ. ประวตั ิศาสตร์
8 นางนงคล์ กั ษณ์ สอแสง 10279 ครูชำนาญการพิเศษ คศ.3 คบ. ภาษาไทย
9 นางยวุ ฉัตร หลมุ ทอง
10 นางรณญา วิเวก - ครชู ำนาญการพิเศษ วท.บ. การศกึ ษาปฐมวยั
11 นายเชาวฤทธ์ิ แก้วกญั ญา - ครพู เี่ ลีย้ งเด็กพิการ บธ.บ. วิทยาการ
-
12 นางสาวทิพธญั ญา คอมพวิ เตอร์
แสนทวีสุข จนท.ธุรการ ศษ.ม/ หลักสตู รและการสอน
บธ.บ. การจัดการ
13 นายคำมี พลู ทอง ลกู จา้ งชัว่ คราว ม.6
14
1.6 รายชื่อคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพน้ื ฐานโรงเรียนบ้านแกง้ กอก
1.6.1 รายชื่อคณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พ้ืนฐานโรงเรยี นบ้านแกง้ กอก
ท่ี ชือ่ – สกลุ ตำแหนง่ ตำแหนง่ คณะกรรมการ
1 ดต.วรจักร์ ศรีพรหม ผู้ทรงคุณวุฒิ ประธานกรรมการ
2 นายสมแพง ทรัพย์มลู ผแู้ ทนผ้ปู กครอง รองประธานกรรมการ
3 นางมลฤดี มนัส ผแู้ ทนครู รองประธานกรรมการ
4 นางจริ าพร ปยุ ดา ผแู้ ทนองคก์ รชุมชน กรรมการ
5 นายศริ ิศักด์ิ โคตรสหี า ผแู้ ทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ กรรมการ
6 นางบุญชอบ โคตรสีหา ผแู้ ทนศษิ ย์เกา่ กรรมการ
7 พระครมู งคลชยานุรักษ์ ผู้แทนพระภกิ ษสุ งฆ์ กรรมการ
8 นางวนดิ า กรมเมือง ผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมการ
9 นายวิษณุ สนู านนท์ ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี น กรรมการและเลขานุการ
1.6.2 รายชื่อคณะท่ีปรกึ ษาโรงเรยี นบ้านแก้งกอก
1. นายทองทัศ อุดมพชื อดีตข้าราชการบำนาญ
2. นายอ่อนสา นนทวี อดตี ข้าราชการบำนาญ
3. นายชม ศรัทธาพนั ธ์ ส.อบต.แกง้ กอก หมู่ที่ 1
4. นายสมสงา่ กรมเมือง ส.อบต.แกง้ กอก หมู่ที่ 2
5. นายมังกร ประเชิญสุข ส.อบต.แกง้ กอก หมู่ท่ี 2
6. นายเสมา ศลิ าลยั ส.อบต.แกง้ กอก หมู่ท่ี 3
7. นายหนิ มาลาหอม ส.อบต.แกง้ กอก หมู่ท่ี 3
8. นางวิลยั พทุ ธจักร ผอ.รพ.สต.นาแค
9. ร.ต.อ.ชำนาญ บุญจำเนียร รอง.สวป.สภ.ศรีเมืองใหม่
10. พระครูมงคลชยานุรกั ษ์ เจา้ คณะอำเภอศรีเมืองใหม่
15
1.7 การวเิ คราะหจ์ ดุ อ่อน จุดแขง็ โอกาสและอปุ สรรคของโรงเรียน (SWOT)
ปจั จยั ภายในสถานศกึ ษา
จดุ แขง็
1. ผู้บรหิ ารมวี สิ ยั ทศั น์ มภี าวะผู้นำและมีหลกั ธรรมาภิบาลในการบริหารงาน
2. โรงเรียนมบี คุ ลากรวยั ทำงานและมบี ุคลากรเพยี งพอ
3. โรงเรยี นมีสื่อ อุปกรณ์ มีหนงั สอื ของเลน่ ที่หลากหลาย
4. บุคลากรมคี ุณวฒุ ิ มีความรู้ความสามารถ
จดุ อ่อน
1. ไม่มเี ครอ่ื งเล่นสนามกลางแจ้ง
ปจั จยั ภายนอกสถานศกึ ษา
โอกาส
1. ชุมชนและคณะกรรมการสถานศึกษาให้ความร่วมมอื และชว่ ยเหลือสถานศึกษา
ในทุกด้านและอยรู่ ่วมกันอย่างปกติสขุ
2.มแี หลง่ เรียนรูแ้ ละภมู ิปญั ญาทอ้ งถน่ิ ในชมุ ชนทเี่ อ้อื ต่อการจัดการเรยี นรู้ เช่น
วัดไชยมงคลวิทยา ดอนปตู่ า หว้ ยตงุ ลงุ
3.มสี ถานประกอบการร้านค้าหมู่บ้าน ตลาดชุมชน กองทุนหม่บู า้ น โรงนำ้ แข็ง
อุปสรรค
ผู้ปกครองส่วนใหญ่มีฐานะยากจน โดยมีรายได้เฉล่ียปีละประมาณ 20,000 บาท ต่อ
ครอบครัว เม่ือเสร็จฤดูกาลทำนา ผู้ปกครองนักเรียนมักจะไปประกอบอาชีพรับจ้างในตัวเมือง
ใหญ่ ๆ เช่น กรงุ เทพมหานคร ให้ลกู ท่ีอยใู่ นวยั เรยี นอยูก่ บั ปู่ ย่า ตา ยาย หรอื ญาติ เป็นสว่ นใหญ่
16
1.8 โครงสร้างการบริหารโรงเรยี นบ้านแก้งกอกปกี ารศกึ ษา 2561-2563
ผ้อู ำนวยการโรงเรยี น ------ คณะกรรมการสถานศกึ ษาข้นั
พืน้ ฐาน
กล่มุ บริหารวิชาการ กล่มุ บริหารงบประมาณ กล่มุ บริหารงานบุคคล กล่มุ บริหารงานทั่วไป
- งานพฒั นาสาระหลกั สูตรทอ้ งถิ่น - งานจดั ทาแผนงบประมาณและคาขอ - งานวางแผนอตั รากาลงั - งานพฒั นาระบบและเครือขา่ ยขอ้ มลู
- งานวางแผนงานดา้ นวชิ าการ ต้งั งบประมาณ - งานจดั สรรอตั รากาลงั สารสนเทศ
- งานจดั การเรียนการสอน - งานนโยบาย/แผนงานและโครงการ - งานสรรหาและบรรจุแตง่ ต้งั - การวางแผนการบริหารงานการศึกษา
- งานพฒั นาหลกั สูตรสถานศกึ ษา - งานอนุมตั ิการใชจ้ ่ายงบประมาณ - งานการเปล่ียนตาแหน่งใหส้ ูงข้ึน - การวจิ ยั เพ่ือพฒั นานโยบายและแผน
- งานพฒั นากระบวนการเรียนรู้ - งานขอโอนและขอเปลย่ี นแปลง - งานยา้ ยขา้ ราชการครูและบุคลากร - การจดั ระบบบริหารและพฒั นาองคก์ ร
- งานทะเบียนวดั ผลและเทียบโอน งบประมาณ ทางการศกึ ษา - การพฒั นามาตรฐานการปฏิบตั งิ าน
ผลการเรียน - งานรายงานผลการเบิกจ่าย - งานการเลื่อนข้นั เงินเดือน / - การเสนอต้งั ยบุ รวม เลกิ โรงเรียน
- งานวจิ ยั เพ่อื พฒั นาคุณภาพ งบประมาณ ประเมินผลการปฏิบตั ิงาน - งานธุรการ/สารบรรณโรงเรียน
การศึกษา - งานตรวจสอบติดตามและรายงานการ - งานการลาทุกประเภท - งานคณะกรรมการสถานศึกษาข้นั
- งานพฒั นาและส่งเสริมให้มีแหลง่ ใชง้ บประมาณ - งานวินยั และการลงโทษ /รายงาน พ้ืนฐาน
เรียนรู้ - งานตรวจสอบติดตามและรายงาน การดาเนินการทางวนิ ัย และการ - งานสมาคมครู ผปู้ กครองและศษิ ยเ์ ก่า
- งานนิเทศการศึกษา การใชผ้ ลผลิตจากงบประมาณ ลงโทษ - งานอนามยั โรงเรียน
- งานแนะแนว - งานระดมทรัพยากรและการลงทุนเพอื่ - งานสง่ั พกั ราชการและการออกจาก - งานโภชนาการ
- งานพฒั นาระบบประกนั คณุ ภาพ การศกึ ษา ราชการ - งานปฏคิ มโรงเรียน
ภายในและมาตรฐานการศกึ ษา - งานบริหารจดั การทรัพยากรเพื่อ - งานอทุ ธรณ์และการร้องทกุ ข์ - งานประชาสมั พนั ธก์ ารศกึ ษา
- การส่งเสริมประสานงานเครือข่าย การศึกษา - งานการออกจากราชการ - งานกิจการนกั เรียน
การศึกษา - งานวางแผนพสั ดุ - งานส่งเสริมวินัย คณุ ธรรมและ
- งานจดั ทาระเบียบและแนวปฏิบตั ิ - งานกาหนดรูปแบบรายการหรือ จริยธรรม • ระบบดูแลช่วยเหลอื นกั เรียน
เก่ียวกบั งานดา้ นวชิ าการ คณุ ลกั ษณะครุภณั ฑ์ ส่ิงกอ่ สร้าง - งานจดั ทาบญั ชีและเสนอขอ
- งานคดั เลือกหนงั สือ แบบเรียนเพ่ือ - งานพฒั นาระบบขอ้ มลู และสารสนเทศ เครื่องราชอสิ ริยาภรณ์ • การ ส่งเสริมระเบยี บวนิ ยั คุณธรรม
ใชใ้ นสถานศกึ ษา เพอ่ื จดั ทาและจดั หาพสั ดุ - งานเกษยี ณอายุราชการ และจริยธรรม
- งานพฒั นาและใชส้ ื่อเทคโนโลยี - งานจดั หาพสั ดุ - งานสง่ เสรมิ การประเมนิ วิทยฐานะ
เพอื่ การศกึ ษา - งานควบคมุ ดแู ลบารุงรักษาและ - งานจดั ทำระบบและการจัดทำ • การส่งเสริมประชาธิปไตยสภา
- งานส่งเสริมและพฒั นาความเป็น จาหน่ายพสั ดุ ทะเบยี นประวตั ิ นกั เรียน
เลิศทางวชิ าการ - งานจดั หาผลประโยชน์จากทรัพยส์ ิน - งานสง่ เสรมิ และยกย่องเชดิ ชเู กยี รติ
- งานหวั หนา้ กล่มุ สาระการเรียนรู้ - งานเบิกเงินจากคลงั - งานส่งเสริมขวัญและกำลังใจ • การป้องกนั และแกไ้ ขปัญหายาเสพ
- งานจดั ทาสามะโนผเู้ รียน - งานรับเงิน เก็บรักษาเงิน จ่ายเงิน - งานพัฒนาขา้ ราชการครูและ ติด
- งานรับนกั เรียน - งานนาเงินส่งคลงั บคุ ลากรทางการศกึ ษา
- งานพัฒนากิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น/ - งานจดั ทาบญั ชีการเงิน - งานส่งเสริมมาตรฐานวชิ าชีพและ • งานระดบั ช้นั หวั หนา้ ระดบั ช้นั
- งานจดั ทารายงานทางการเงินและ งบ จรรยาบรรณวชิ าชีพ • การจราจรในโรงเรียน
งานทศั นศกึ ษา การเงิน - งานส่งเสริมขอรับใบอนุญาต
ประกอบ วชิ าชีพ • การจดั ทาคู่มือนกั เรียน
- งานสารสนเทศกล่มุ วชิ าการ - งานจดั ทาหรือจดั หาแบบพมิ พบ์ ญั ชี ทะเบยี น - งานธุรการ สารบรรณกล่มุ - งานเครือข่ายผแู้ ทนผูป้ กครองนกั เรียน
และรายงาน บริหารงานบุคคล - งานเวรยามและเวรประจาวนั
- งานอ่ืนๆท่ีไดร้ ับมอบหมาย - งานดแู ลอาคารสถานทแี่ ละ - งานรายงานผลการปฏบิ ตั ิงานบริหาร
- งานจดั ระบบควบคุมภายในหน่วยงาน สภาพแวดล้อม ทว่ั ไป
- งานประกนั อุบตั ิเหตุหมูน่ กั เรียน - งานโรงเรียนและชุมชน - การส่งเสริมแกไ้ ขพฤติกรรมนกั เรียน
- งานยานพาหนะ และลงโทษนกั เรียน
- งานอืน่ ๆทไี่ ด้รับมอบหมาย - งานอืน่ ๆทีไ่ ด้รับมอบหมาย
17
1.9 โครงสร้างของหลกั สตู รสถานศึกษาปฐมวัย
เพื่อใหก้ ารจัดการศึกษาเป็นไปตามหลักการ จุดหมายทก่ี ำหนดไว้ใหส้ ถานศึกษา และผู้เกีย่ วขอ้ งกบั
การเลย้ี งดเู ดก็ ในการจัดทำหลกั สูตรสถานศึกษาจงึ กำหนดโครงสร้างของหลักสตู รการศึกษาปฐมวัยของ
โรงเรยี นบ้านแกง้ กอก ดังนี้
โครงสร้างหลกั สูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560
ช่วงอายุ อายุ 3 - 6ปี
ประสบการณ์สำคญั สาระที่ควรเรียนรู้
-ด้านรา่ งกาย - เรอื่ งราวเก่ยี วกับตวั เดก็
สาระการเรียนรู้ - ด้านอารมณ์ จิตใจ - เร่ืองราวเกี่ยวกบั บคุ คลและสถานท่ี
- ด้านสังคม แวดล้อมเด็ก
- ดา้ นสตปิ ัญญา - ธรรมชาติรอบตัว
- ส่งิ ต่างๆรอบตวั เด็ก
จดั การศึกษา 2 ภาคเรยี น : 1 ปีการศึกษา
ชนั้ อนบุ าลปที ี่ 2 อายรุ ะหวา่ ง 4-5 ปี
ระยะเวลาเรียน ชนั้ อนบุ าลปที ่ี 3 อายรุ ะหว่าง 5-6 ปี
ไม่น้อยกว่า 180 วนั : 1 ปี ใช้เวลาไม่น้อยกวา่ 5 ชั่วโมง : 1 วนั
25-30 ชว่ั โมง/สปั ดาห์
หมายเหตุ 4-5 ปี มคี วามสนใจ 12 - 15 นาที
5-6 ปี มคี วามสนใจ 15 - 20 นาที
* กจิ กรรมทีต่ ้องใช้ความคิดในกลุ่มเล็กและกลุม่ ใหญ่ ไม่ควรใชเ้ วลาตอ่ เน่อื งนานเกินกว่า 20 นาที
* กจิ กรรมที่เด็กมีอิสระเลือกเลน่ เสรี เชน่ การเล่นตามมมุ การเล่นกลางแจ้ง ใชเ้ วลา 40 – 60 นาที
18
1.10 โครงสร้างของหลกั สูตรสถานศึกษาระดับขัน้ พื้นฐาน
โครงสรา้ งเวลาเรียนระดบั ประถมศึกษา
กลุม่ สาระการเรียนรู้/รายวิชา/ เวลาเรียน : ชว่ั โมง/ปี
กจิ กรรม ระดบั ประถมศึกษา
ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6
กลุ่มสาระการเรียนร/ู้ วชิ าพนื้ ฐาน
ภาษาไทย 200 200 200 160 160 160
คณิตศาสตร์ 200 200 200 160 160 160
วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 80 80 80 120 120 120
สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 40 40 40 80 80 80
40 40 40 40 40 40
ประวตั ิศาสตร์ 40 40 40 40 40 40
สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา 40 40 40 40 40 40
ศิลปะ 40 40 40 40 40 40
การงานอาชพี 160 160 160 160 160 160
ภาษาตา่ งประเทศ 840 840 840 840 840 840
รวมเวลาเรียน (รายวชิ าพื้นฐาน)
รายวิชาเพิ่มเติม 40 40 40 40 40 40
หนา้ ทีพ่ ลเมือง
ภาษาอังกฤษเพ่อื การสอ่ื สาร 40 40 40 - - -
คอมพิวเตอรเ์ ชงิ สร้างสรรค์
รวมเวลาเรียน (รายวชิ าเพิม่ เติม) - - - 40 40 40
กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น
กจิ กรรมแนะแนว 80 80 80 80 80 80
กิจกรรมนักเรยี น
ลูกเสือ/เนตรนารี 30 30 30 30 30 30
ชมุ นมุ *
กิจกรรมเพื่อสังคม 40 40 40 40 40 40
และสาธารณประโยชน์ 40 40 40 40 40 40
รวมเวลา (กิจกรรมพัฒนาผ้เู รียน)
10 10 10 10 10 10
รวมเวลาทง้ั หมด 120 120 120 120 120 120
1,040 ช่ัวโมง 1,040 ชวั่ โมง
19
*กจิ กรรมชมุ นุมนกั เรยี นเลอื กเรยี นตามความสนใจ ไดแ้ ก่ 3. ชมุ นุมนักวิทย์น้อย
1. ชุมนมุ หัตถกรรมสานมือ 2. ชุมนมุ ตามรอยพอ่ อยอู่ ย่างพอเพียง
4. ชมุ นุม English Fun Fun! 5. ชุมนุมรักการอ่าน
1.11 สรุปผลการประเมินจากหน่วยงานภายนอกและข้อเสนอแนะผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบ
สาม ( พ.ศ.2553-2558)
โรงเรียนบ้านแก้งกอก ได้รับการประเมินคุณภาพรอบสาม จากสำนักงานสำนักงานรับรองมาตรฐาน
และประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) รับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษาระหว่าง
วนั ที่ 23 - 2 สิงหาคม พ.ศ. 2554 โดยตัวแทนหน่วยประเมิน หจก.วิจัยและประเมินผลการศึกษา ผลการ
ประเมินภายนอกของสถานศกึ ษา มกี ารประเมนิ 3 กลุ่ม 12 ตวั บ่งชี้ ซ่ึงสรปุ ผลการประเมนิ โดยรวม
ตามตัวบง่ ช้ี ดังแสดงในตารางตอ่ ไปน้ี
1 ระดับการศกึ ษาปฐมวัย
มาตรฐานการศึกษาระดบั ปฐมวัย ระดับคุณภาพ
เพื่อการประเมนิ คุณภาพภายนอก
ปรบั พอใช้ ดี ดมี าก
ปรุง
กลมุ่ ตัวบง่ ชพ้ี ้ืนฐาน
ตัวบง่ ชที้ ่ี 1 เดก็ มีพฒั นาการดา้ นร่างกายสมวัย /
ตวั บง่ ช้ีท่ี 2 เด็กมีพฒั นาการดา้ นอารมณ์และจิตใจสมวัย /
ตวั บง่ ชีท้ ี่ 3 เด็กมพี ัฒนาการดา้ นสงั คมสมวัย /
ตัวบง่ ชี้ที่ 4 เดก็ มพี ัฒนาการดา้ นสตปิ ัญญาสมวยั /
ตัวบง่ ช้ที ี่ 5 เด็กมีความพรอ้ มศึกษาต่อในข้นั ตอ่ ไป /
กลมุ่ ตัวบง่ ชีพ้ ื้นฐาน
ตวั บง่ ชีท้ ี่ 6 ประสิทธิผลการจัดประสบการณก์ ารเรียนรู้ท่เี น้นเด็กเป็นสำคัญ /
กล่มุ ตวั บ่งช้พี ้นื ฐาน /
/
ตวั บง่ ช้ที ่ี 7 ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการพฒั นาสถานศึกษา
กล่มุ ตวั บ่งชี้พ้ืนฐาน
ตัวบง่ ชี้ที่ 8 ประสทิ ธิผลของระบบการประกนั คณุ ภาพภายใน
กลุ่มตวั บ่งชอ้ี ัตลกั ษณ์ /
ตัวบ่งช้ีที่ 9 ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน/วิสัยทัศน์ พันธกิจและ
วัตถุประสงค์ของการจัดต้ังสถานศึกษา
20
มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย ระดับคุณภาพ
เพือ่ การประเมนิ คุณภาพภายนอก
ปรบั พอใช้ ดี ดมี าก
ปรุง
ตัวบ่งช้ีที่ 10 ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นท่ีส่งผลสะท้อนเป็น /
เอกลกั ษณ์ของสถานศึกษา
กล่มุ ตัวบง่ ช้มี าตรการสง่ เสริม
ตวั บง่ ชี้ท่ี 11 ผลการดำเนินงานโครงการพเิ ศษเพื่อส่งเสริมบทบาทของ /
สถานศึกษา
กลมุ่ ตวั บ่งช้ีมาตรการสง่ เสริม
ตวั บง่ ชี้ท่ี 12 ผลการส่งเสรมิ พัฒนาสถานศกึ ษาเพื่อยกระดับมาตรฐาน รักษา /
มาตรฐาน และพฒั นาสู่ความเป็นเลิศท่สี อดคล้องกับแนวทางการปฏริ ปู การศึกษา
ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายนอกรอบสองระดบั การศกึ ษาปฐมวัย
โรงเรยี นมผี ลการประเมินระดับคุณภาพ ดี โดยมคี า่ เฉลย่ี 85.50
ผลการรับรองมาตรฐานคุณภาพ / รับรอง ไม่รบั รอง
กรณที ่ีไม่ได้รับการรบั รอง เน่ืองจาก
1. มผี ลคะแนนรวมทุกตวั บง่ ช้ี ตงั้ แต่ 80 คะแนนขึ้นไป
2. มตี ัวบ่งช้ีทไ่ี ด้ระดับดขี นึ้ ไป 11 ตวั บ่งช้ี จาก 12 ตวั บ่งชี้
3. ไมม่ ีตวั บ่งช้ใี ดที่มีระดบั คณุ ภาพตอ้ งปรบั ปรุงหรอื ต้องปรับปรุงเรง่ ด่วน
ขอ้ เสนอแนะจากการประเมินคุณภาพภายนอก รอบสาม ระดับการศึกษาปฐมวัย
จุดเดน่
1. ด้านผลการจัดการศึกษา
เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย ด้านอารมณ์และจิตใจ ด้านสังคม และด้านสติปัญญาสมวัย
ทำให้เด็กมีความพร้อมศึกษาต่อในช้ันต่อไป สถานศึกษามีผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน/
วสิ ัยทัศน์ พันธกิจและวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถานศึกษา กำหนดอัตลักษณ์ของเด็กคือ “เด็กมีคุณธรรม
จริยธรรม” จัดให้มีโครงการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมและคุณลักษณะที่พึงประสงค์ กิจกรรมวิถี
พุทธ กิจกรรมพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน กิจกรรมประชาธิปไตย กิจกรรมสืบสานประเพณีท้องถ่ิน
กิจกรรมรักษ์สิ่งแวดล้อม กิจกรรมออมทรัพย์ กิจกรรมปลูกจิตสำนึกด้านคุณธรรมจริยธรรม กิจกรรมฝึก
ระเบียบวินัยหน้าเสาธง กิจกรรมข้อตกลง กิจกรรมทำความดี ผลการดำเนินงานทำให้เด็กมีคุณธรรม
21
จริยธรรม ปฏิบัติตนตามหลักธรรมเบ้ืองต้นของศาสนา ปฏิบัติตามข้อตกลงของห้อง มีความซื่อสัตย์ สุจริต
และมีความกตัญญูกตเวที มีเมตตาและเอื้อเฟื้อเผ่ือแผ่ มคี วามประหยัดใช้ทรัพย์สินส่วนรวมและส่วนตวั อย่าง
คมุ้ คา่ รู้จกั ใชแ้ ละรักษาทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม เดก็ มมี ารยาทท้ังการไหว้ การพูด การฟัง และ
การปฏิบัติตนต่อผู้ใหญ่ มีความภูมิใจในความเป็นไทย เป็นท่ียอมรับของชุมชนและท้องถ่ิน สถานศึกษามีผล
การพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นของสถานศึกษา คือ “ สถานศึกษาส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม” โดยจัดทำ
โครงการพัฒนาคณุ ธรรมจรยิ ธรรม ค่านิยมและคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ กจิ กรรมวถิ ีพุทธ กิจกรรมพระสอน
ศีลธรรมในโรงเรียน กิจกรรมประชาธิปไตย กิจกรรมสืบสานประเพณีท้องถิ่น กิจกรรมรักษ์สิ่งแวดล้อม
กิจกรรมออมทรัพย์ กิจกรรมปลูกจิตสำนึกด้านคุณธรรมจริยธรรม กิจกรรมฝึกระเบียบวินัยหน้าเสาธง
กิจกรรมข้อตกลง กิจกรรมทำความดี ผลการดำเนินงานทำให้เด็กมีคุณธรรมจริยธรรม ปฏิบัติตนตาม
หลกั ธรรมเบ้ืองต้นของศาสนา ปฏิบัติตามข้อตกลงของห้อง มีความซ่อื สัตย์ สุจริต และมีความกตัญญูกตเวที
มีเมตตาและเอ้ือเฟ้ือเผ่ือแผ่ มีความประหยัดใช้ทรัพย์สินส่วนรวมและส่วนตัวอย่างคุ้มค่า รู้จักใช้และรักษา
ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม เด็กมีมารยาทท้ังการไหว้ การพูด การฟัง และการปฏิบัติตนต่อผู้ใหญ่
มีความภูมิใจในความเป็นไทย เป็นที่ยอมรับของชุมชนและท้องถิ่น และสถานศึกษามีโครงการพิเศษเพื่อ
สง่ เสริมบทบาทของสถานศึกษา 2 โครงการ คือ 1. โครงการส่งเสรมิ นักเรียนท่ีมีความสามารถทางด้านกีฬา
ฟุตซอลและดนตรีโปงลาง จัดทำขึ้นเพื่อแก้ปัญหาสุขภาพกายและสุขภาพจิตของเด็กและป้องกันเด็กให้
หา่ งไกลจากอบายมุข จัดให้มีกจิ กรรมการเล่นกีฬาฟตุ ซอล การออกกำลังกาย การชมการแสดงโปงลาง ผล
การดำเนินงานพบว่า เด็กมีสขุ ภาพกายแข็งแรง สมบรู ณ์ ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ มีความรู้ในการดูแล
ตนเอง เด็กเข้าร่วมกิจกรรมด้านดนตรี ทำให้มีความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการ มีความพร้อมในการทำ
กจิ กรรมต่างๆ 2. โครงการส่งเสริมทกั ษะในการทำงานและเจตคตทิ ่ีดีต่ออาชีพสุจริต เพ่ือแก้ปัญหาฐานะของ
ผปู้ กครองและการใช้เวลาว่างของเด็ก จัดให้มีกิจกรรมปลกู ผักสวนครัว การเล้ียงปลาดุก ผลการดำเนินวาน
พบว่า เด็กได้ดูการทำกิจกรรมต่างๆของรุ่นพี่ประถมศึกษา เด็กมีประสบการณ์จากการไปเรียนรู้ยังแปลงผัก
บอ่ เลีย้ งปลา เรยี นรู้การใช้ชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง การนำผลผลติ มาประกอบอาหารเป็น
การลดภาระคา่ ใชจ้ า่ ย มคี วามประหยดั อดออม ทำให้เด็กมที ศั นคตทิ ีด่ ีต่ออาชีพทีส่ ุจรติ
2. ดา้ นการบริหารจดั การศกึ ษา
สถานศึกษามีผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อรักษามาตรฐานที่สอดคล้องกับแนวท าง
ปฏิรูปการศึกษา เนื่องมาจากสถานศึกษามีแผนการดำเนินงานประจำปีตามมาตรการท่ีนำมาปรับปรุงและ
พัฒนาเพื่อมุ่งไปสู่สถานศึกษาท่ีมีคุณภาพตามกลุ่มสถานศึกษา โดยใช้ข้อเสนอแนะจากผลการประเมิน
คุณภาพภายนอกและผลการประเมินคุณภาพภายในมาพัฒนา มีข้อตกลงร่วมกันระหว่างสถานศึกษากับ
หน่วยงานต้นสังกัดในการร่วมมือกันพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาท่ีเป็นลายลักษณ์อักษร มีการดำเนินงาน
อย่างเป็นระบบครบวงจรคุณภาพ(PDCA) มีผลการดำเนินงานบรรลุเป้าหมายตามแผนการดำเนินงาน
22
สถานศึกษามผี ู้บริหาร คณะกรรมการสถานศึกษาทม่ี ีความสามารถในการบริหารจัดการใหม้ ีประสิทธิภาพ มี
ครูเพียงพอและมีคุณภาพ จดั สภาพแวดล้อมภายนอกและภายในอาคารใหเ้ อื้อต่อการเรียนรู้ ปลอดภัย และ
ถกู สขุ ลักษณะ มมี าตรการดา้ นความปลอดภัยและการป้องกันการบาดเจ็บในเด็ก
3. ดา้ นการจัดการเรยี นการสอนทีเ่ น้นผ้เู รยี นเป็นสำคญั
ครูสง่ เสริมการเรยี นรเู้ พือ่ พัฒนาการด้านร่างกาย ด้านอารมณ์และจติ ใจ ด้านสังคมและด้าน
สติปัญญา มีการจัดประสบการณ์เพ่ือส่งเสรมิ ความสัมพันธ์ทางบวกกับเดก็ และครอบครัว และสง่ เสริมการ
เรียนร้ทู ่ตี อสนองตอ่ ธรรมชาติและพัฒนาการของเด็ก
4. ด้านการประกันคุณภาพภายใน
ส ถ า น ศึ ก ษ า ด ำ เนิ น ก า ร ป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พ ภ า ย ใน โด ย ก ำ ห น ด ม า ต ร ฐ า น ก า ร ศึ ก ษ า ข อ ง
สถานศึกษา จัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของ
สถานศึกษา จัดระบบบริหารและสารสนเทศ ดำเนินงานตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
จัดให้มีการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา มีการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของ
สถานศึกษา จัดทำรายงานประจำปีที่เป็นรายงานประเมินคุณภาพภายใน และมีการพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาอยา่ งต่อเน่อื ง
2. ระดบั การศึกษาข้ันพื้นฐาน
มาตรฐานการศึกษาระดับขนั้ พน้ื ฐาน ระดับคณุ ภาพ
เพอื่ การประเมนิ คุณภาพภายนอก
ปรับ พอ ดี ดี
กลมุ่ ตวั บ่งชพ้ี น้ื ฐาน
ปรงุ ใช้ มาก
ตวั บง่ ชี้ท่ี 1 ผูเ้ รียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจติ ที่ดี /
ตัวบง่ ชท้ี ่ี 2 ผู้เรยี นมีคุณธรรมจรยิ ธรรมและคา่ นิยมทพ่ี ึงประสงค์ /
ตัวบง่ ช้ีท่ี 3 ผ้เู รยี นมคี วามใฝร่ ้แู ละเรียนรู้อยา่ งต่อเน่อื ง /
ตวั บง่ ชท้ี ี่ 4 ผเู้ รียนคิดเป็น ทำเป็น /
ตัวบง่ ชี้ท่ี 5 ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนของผเู้ รียน /
ตัวบง่ ชี้ท่ี 6 ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนท่เี นน้ ผูเ้ รยี นเป็นสำคญั /
ตัวบง่ ชท้ี ี่ 7 ประสทิ ธภิ าพของการบรหิ ารจัดการและการพัฒนาสถานศึกษา /
ตวั บ่งชี้ท่ี 8 พฒั นาการของการประกันคุณภาพภายในโดยสถานศกึ ษาและต้น
สงั กัด /
กลมุ่ ตวั บง่ ชี้อัตลักษณ์ 23
ตวั บง่ ช้ที ี่9 ผลการพฒั นาใหบ้ รรลตุ ามปรัชญา ปณธิ าน/วสิ ยั ทัศนพ์ นั ธกจิ และ /
วตั ถปุ ระสงค์ของการจดั ต้ังสถานศกึ ษา /
ตวั บง่ ช้ีท่ี 10 ผลการพฒั นาตามจดุ เน้นและจดุ เด่นที่ส่งผลสะท้อนเปน็ /
เอกลกั ษณ์ของสถานศึกษา /
กล่มุ ตัวบ่งชมี้ าตรการสง่ เสริม
ตวั บ่งชี้ท่ี 11 ผลการดำเนนิ งานโครงการพเิ ศษเพ่ือส่งเสรมิ บทบาทของ
สถานศกึ ษา
ตัวบง่ ชที้ ่ี 12 ผลการส่งเสรมิ พัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดบั มาตรฐานรักษา
มาตรฐานและพฒั นาสู่ความเปน็ เลิศ ท่ีสอดคล้องกับแนวทางการปฏริ ูปการศึกษา
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสองระดบั การศึกษาข้นั พนื้ ฐาน
โรงเรยี นมผี ลการประเมินระดับคุณภาพ ดี โดยมีค่าเฉลยี่ 88.01
ผลการรับรองมาตรฐานคณุ ภาพ / รับรอง ไม่รับรอง
กรณที ี่ไม่ได้รับการรบั รอง เน่ืองจาก
1.สถานศึกษามผี ลคะแนนรวมทกุ ตัวบ่งช้ี ตั้งแต่ 80 คะแนนขนึ้ ไป
2.สถานศกึ ษามตี วั บ่งชท้ี ่ีได้ระดับดขี ึน้ ไป 10 ตวั บง่ ช้ี จาก 12 ตวั บ่งช้ี
3.สถานศกึ ษาไม่มีตวั บ่งชี้ใดที่มีระดับคุณภาพต้องปรบั ปรุงหรอื ตอ้ งปรบั ปรุงเร่งด่วน
ข้อเสนอแนะจากการประเมินคุณภาพภายนอก รอบสาม ระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน
จุดเดน่
1. ดา้ นผลการจดั การศกึ ษา
ผเู้ รียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีคณุ ธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พงึ ประสงค์ เป็นลูก
ท่ดี ขี องพ่อแม่ เปน็ ศษิ ยท์ ี่ดีของครู และเปน็ คนดขี องสงั คม มีความใฝร่ ู้และเรียนร้อู ย่างต่อเนอื่ ง คดิ เป็น
ทำเป็น สถานศึกษามีผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน/วิสัยทัศน์ พันธกิจและวัตถุประสงค์ของ
การจัดต้ังสถานศึกษา กำหนดอัตลักษณ์ของเด็กคือ “ เด็กมีคุณธรรมจริยธรรม” จัดให้มีโครงการพัฒนา
คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมและคุณลักษณะที่พึงประสงค์ กิจกรรมวิถีพุทธ กิจกรรมพระสอนศีลธรรมใน
โรงเรยี น กิจกรรมประชาธิปไตย กิจกรรมสืบสานประเพณีท้องถ่ิน กิจกรรมรักษ์สิ่งแวดล้อม กิจกรรมออม
ทรัพย์ กิจกรรมปลูกจิตสำนึกด้านคุณธรรมจริยธรรม กิจกรรมฝึกระเบียบวินัยหน้าเสาธง กิจกรรมข้อตกลง
กิจกรรมทำความดี ผลการดำเนินงานทำให้เด็กมีคุณธรรมจริยธรรม ปฏิบัติตนตามหลักธรรมเบื้องต้นของ
ศาสนา ปฏิบัติตามระเบียบของสถานศึกษา มีความซื่อสัตย์ สุจริต และมีความกตัญญูกตเวที มีเมตตาและ
เอ้ือเฟ้ือ มีความประหยัดใช้ทรัพย์สินส่วนรวมและส่วนตัวอย่างคุ้มค่า รู้จักใช้และรักษาทรัพยากรธรรมชาติ
24
และสิ่งแวดล้อม ผเู้ รียนมีมารยาทท้ังการไหว้ การพูด การฟัง และการปฏิบัติตนต่อผู้ใหญ่ มีความภูมิใจใน
ความเป็นไทย สถานศึกษามีผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นของสถานศึกษา คือ “ สถานศึกษาส่งเสริม
คุณธรรมจริยธรรม” โดยจัดทำโครงการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมและคุณลักษณะที่พึงประสงค์
กิจกรรมวิถีพุทธ กิจกรรมพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน กิจกรรมค่ายอบรมธรรมะ กิจกรรมประชาธิปไตย
กิจกรรมสืบสานประเพณีท้องถ่ิน กิจกรรมรักษ์ส่ิงแวดล้อม กิจกรรมออมทรัพย์ กิจกรรมปลูกจิตสำนึกด้าน
คุณธรรมจริยธรรม กิจกรรมฝึกระเบียบวินัยหน้าเสาธง กิจกรรมข้อตกลง กิจกรรมทำความดี ผลการ
ดำเนินงานทำใหผ้ ู้เรียนมคี ุณธรรมจริยธรรม ปฏิบตั ติ นตามหลักธรรมเบอื้ งต้นของศาสนา ปฏิบัติตามระเบยี บ
ของสถานศึกษา มีความซ่ือสัตย์ สุจริต และมีความกตัญญูกตเวที มีเมตตาและเอ้ือเฟื้อ มีความประหยัดใช้
ทรพั ย์สินสว่ นรวมและส่วนตวั อยา่ งคมุ้ ค่า รู้จักใช้และรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม มีมารยาททั้ง
การไหว้ การพูด การฟัง และการปฏิบัติตนต่อผู้ใหญ่ มีความภูมิใจในความเปน็ ไทย เปน็ ที่ยอมรับของชมุ ชน
และทอ้ งถนิ่ และสถานศึกษามโี ครงการพิเศษเพ่ือสง่ เสรมิ บทบาทของสถานศึกษา 2 โครงการ คือ
1. โครงการส่งเสรมิ นักเรียนทีม่ คี วามสามารถทางดา้ นกีฬาฟตุ ซอลและดนตรโี ปงลาง จดั ทำขึ้นเพอื่
แก้ปญั หาสขุ ภาพกายและสุขภาพจิตของเด็กและป้องกันเด็กให้ห่างไกลจากอบายมุข จัดให้มีกิจกรรมการเล่น
กฬี าฟุตซอล การออกกำลังกาย การชมการแสดงโปงลาง และมสี ุนทรยี ภาพ ผลการดำเนินงานพบวา่ ผ้เู รียน
ได้ฝึกซ้อมกีฬา เล่นกีฬา และออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ ทำให้มีทักษะในการเล่นกีฬา มีสุขภาพกาย
แข็งแรง สมบูรณ์ ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมด้านดนตรี ฝึกซ้อมการเล่นคนตรีโปงลางอย่างสม่ำเสมอ ทำให้มี
ทักษะในการเล่นดนตรี มีความคดิ สรา้ งสรรค์และจินตนาการ กลา้ แสดงออกในทางที่เหมาะสมและแสดงออก
ในงานต่างๆ ทั้งของชุมชนและสถานศึกษา เด็กมีสุขภาพจิตที่ดี มีสมาธิในการฝึกซ้อมและทำใหม้ ีสมาธใิ นการ
เรียนวชิ าต่างๆ 2. โครงการส่งเสริมทักษะในการทำงานและเจตคตทิ ี่ดีตอ่ อาชพี สุจริต เพอื่ แกป้ ญั หาฐานะของ
ผ้ปู กครองและการใช้เวลาว่างของเด็ก จัดให้มีกิจกรรมปลูกผักสวนครัว การเลย้ี งปลาดุก ผลการดำเนนิ งาน
พบวา่ ผู้เรยี นได้เรียนรกู้ ารทำการเกษตรผลติ อาหารทปี่ ลอดภัยจากสารเคมี ได้เรยี นร้จู ากการปฏิบัติจริง
มีทกั ษะในการทำงาน สามารถทำงานตามลำดับข้นั ตอน ทำงานร่วมกับผู้อน่ื ได้ และมที ักษะในการแก้ปัญหา
ไดด้ ี ผเู้ รียนมที ัศนคตทิ ด่ี ตี ่ออาชีพสจุ ริต นำผลผลิตมาประกอบอาหารและขายได้ ทำใหผ้ เู้ รียนประหยดั
อดออม เรียนรู้การใช้ชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และขยายผลสู่ผู้ปกครองและชุมชนให้หัน
มาสนใจและเห็นความสำคัญของการดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ชุมชนมีความพึง
พอใจในผลการดำเนินงานของสถานศกึ ษา
2. ดา้ นการบริหารจดั การศกึ ษา
สถานศึกษามีผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับมาตรฐานท่ีสอดคล้องกับแนว
ทางการปฏิรูปการศึกษา สถานศึกษามีการบริหารจัดการ กำกับ ติดตาม ประเมินผลการดำเนินงานอย่าง
ต่อเนื่องและเป็นระบบ มีการใช้ทรัพยากรที่เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ส่วนรวม สถานศึกษามีผู้บริหารและ
คณะกรรมการสถานศึกษาที่มีความสามารถในการบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพ และมีการจัดบรรยากาศ
และสภาพแวดล้อมท่ถี ูกสขุ ลกั ษณะ มีความปลอดภัย สวยงาม สง่ เสรมิ การจดั การเรียนรู้
25
3. ดา้ นการจัดการเรยี นการสอนท่ีเน้นผูเ้ รยี นเปน็ สำคัญ
สถานศึกษาส่งเสริมให้ครูได้รับการพัฒนาในวิชาท่ีสอน มีการประเมินแผนการจัดการเรียนรู้
และประเมนิ การจดั การเรียนการสอนของครูทุกคนอย่างสมำ่ เสมอ มีการประเมนิ แบบวัด แบบทดสอบ และนำ
ผลประเมินไปพัฒนาครูแต่ละคนอย่างเป็นระบบ ครูมีการกำหนดเป้าหมายของสาระการเรียนรู้ มีการ
วิเคราะห์ข้อมูลเป็นรายบุคคล แล้วนำข้อมูลมาใช้ในการวางแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีสอดคล้องกับ
ความสามารถของผู้เรียน จัดบรรยากาศท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้และดูแลช่วยเหลือผู้เรียน นำภูมิปัญญาท้องถิ่น
เทคโนโลยีทเ่ี หมาะสมมาประยุกต์ในการจัดการเรยี นการสอน มีการประเมินความกา้ วหนา้ ของผเู้ รยี นด้วยวิธีที่
หลากหลาย เหมาะสม มีการวิเคราะห์ผลการประเมนิ และนำมาใช้ในการศกึ ษาค้นควา้ วจิ ยั เพ่อื พัฒนาสื่อและ
กระบวนการจดั การเรียนรู้ที่เนน้ ผู้เรียนเป็นสำคัญ
4. ดา้ นการประกันคุณภาพภายใน
ส ถ า น ศึ ก ษ า ด ำ เนิ น ก า ร ป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พ ภ า ย ใน โด ย ก ำ ห น ด ม า ต ร ฐ า น ก า ร ศึ ก ษ า ข อ ง
สถานศึกษา จัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพตามาตรฐานการศึกษาของ
สถานศึกษา จัดระบบบริหารและสารสนเทศ ดำเนินงานตามแผนพัฒนาการจัดการศกึ ษาของสถานศึกษา จัด
ให้มีการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา จัดให้มีการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของ
สถานศึกษา จัดทำรายงานประจำปีท่ีเป็นรายงานประเมินคุณภาพภายใน และจัดให้มีการพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาอยา่ งตอ่ เน่อื ง
26
บทที่ 2
เปา้ หมายการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา
2.1 วิสยั ทศั น์ พันธกิจ เปา้ หมายของสถานศึกษา
2.1.1 วสิ ัยทัศน์
โรงเรียนบ้านแก้งกอกเปน็ องค์กรแห่งการเรียนรู้ เนน้ การจัดการศึกษาและบริหารจัดการท่ีมี
ประสิทธภิ าพ มคี วามเป็นเลศิ ด้านทักษะอาชีพ บนพน้ื ฐานความเป็นไทย น้อมนำหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง มคี วามรคู้ ู่คุณธรรม นำส่กู ารมีสว่ นร่วมของชมุ ชน
2.1.2 พนั ธกจิ
1) พฒั นาระบบบริหารและจัดการศึกษาเนน้ การมีสว่ นรว่ ม โดยยึดหอ้ งเรียนและโรงเรียนเปน็ ฐาน
2) ส่งเสริมให้สถานศึกษาจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ มีความเป็นเลิศ
ด้านทกั ษะอาชีพ
3) ส่งเสริมให้สถานศึกษาจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ บนพื้นฐานความ
เป็นไทย ใสใ่ จสิง่ แวดลอ้ ม
4) ส่งเสริมการจัดการศึกษาเพ่ือปลูกฝังให้ผู้เรียน มีความรู้คู่คุณธรรม น้อมนำหลักปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพียงสู่การปฏิบัติ
5) พัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ตามมาตรฐานวิชาชีพอยา่ งมคี ณุ ภาพ
2.1.3 เป้าประสงค์
1) มีการพฒั นาระบบบริหารและจดั การศกึ ษาเน้นการมสี ว่ นรว่ ม โดยยึดหอ้ งเรยี นและโรงเรียนเป็น
ฐาน
2) มีการส่งเสรมิ ใหส้ ถานศกึ ษาจัดการเรียนรู้ใหผ้ ูเ้ รยี นไดร้ ับการพฒั นาเตม็ ตามศักยภาพ มีความเป็น
เลศิ ด้านทกั ษะอาชพี
3) มีการส่งเสริมให้สถานศึกษาจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ บนพื้นฐาน
ความเปน็ ไทย ใส่ใจสง่ิ แวดล้อม
4) มีการส่งเสริมการจัดการศึกษาเพื่อปลูกฝังให้ผู้เรียน มีความรู้คู่คุณธรรม น้อมนำหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงสกู่ ารปฏบิ ตั ิ
5) มกี ารพัฒนาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา ตามมาตรฐานวิชาชีพอยา่ งมคี ุณภาพ
2.1.4 เอกลกั ษณ์ " โรงเรียนสะอาด บรรยากาศร่มรนื่ "
2.1.5 อัตลักษณ์ “ ทักษะอาชพี ดี มคี ณุ ธรรม นอ้ มนำเศรษฐกจิ พอเพยี ง ”
27
ทักษะอาชีพดี หมายถงึ ความสามารถของนักเรียนที่จะดำเนนิ การเร่ืองใดเรอื่ งหนงึ่ ได้อย่างชำนาญ
ซ่ึงความสามารถน้ันเกิดขน้ึ ได้จากการเรยี นรู้ เชน่ ทักษะทางการจกั สานไมไ้ ผ่
มคี ณุ ธรรม หมายถึง ความดีงามของนักเรียนทถี่ ูกปลูกฝังขึ้นในจิตใจ มคี วามกตญั ญู ขยัน ปะหยดั
ซอื่ สัตย์ สามคั คี มีวนิ ยั มีน้ำใจ และ เป็นสภุ าพชน
นอ้ มนำเศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง แนวทางสำหรับการดำเนินชีวติ ของนกั เรยี นและคนทุก
ระดบั ชัน้
2.1.6 คำขวญั ปรัชญา สปี ระจำโรงเรียน ตน้ ไม้ประจำโรงเรียน ปณธิ านของสถานศึกษา
คำขวญั โรงเรยี น
“ เรยี นเด่น เนน้ วินยั อนามัยเย่ียม เปี่ยมคุณธรรม ”
ปรชั ญาโรงเรยี น
ปญฺญา โลกสฺมิ ปชฺโชโต
“ปญั ญาเปน็ แสงสวา่ งในโลก ”
สีประจำโรงเรียน
ส้ม – เหลอื ง สสี ม้ หมายถึง ความรา่ เรงิ แจม่ ใส
สีเหลอื ง หมายถงึ ความรู้ สตปิ ญั ญา
ตน้ ไม้ประจำโรงเรยี น หมายถึง ความมเี กยี รตยิ ศศักดิศ์ รี
ตน้ ราชพฤกษ์
ปณิธานของสถานศกึ ษา “ ม่งุ มน่ั พัฒนา คุณภาพการศกึ ษา สู่โรงเรยี นคณุ ภาพประจำตำบล”
28
2.2 ยุทธศาสตร์ กลยทุ ธ์ จุดเนน้
โรงเรียนบ้านแก้งกอกได้นำกรอบยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) แผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560-2564) แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2619
จุดเน้นนโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12
(พ.ศ. 2560-2564) และบริบทต่าง ๆ ที่เก่ียวข้อง มาเช่ือมโยงกับอำนาจหน้าท่ีของโรงเรียนกำหนดเป็นกรอบ
แนวทางในการจดั ทำแผนปฏบิ ตั ริ าชการประจำปี 2564 โดยมีรายละเอียด ดังนี้
แผนยทุ ธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580)
คณะกรรมการจัดทำยุทธศาสตร์ชาตไิ ด้ดำเนนิ การยกแผนยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี เพ่อื ใชเ้ ป็น
กรอบแนวทางการพฒั นาประเทศในระยะ 20 ปี โดยกำหนดวสิ ัยทัศน์ เปา้ หมายและยทุ ธศาสตร์ ดงั นี้
วิสยั ทัศน์
“ประเทศไทยมคี วามม่นั คง มั่งค่งั ย่งั ยืน เปน็ ประเทศพัฒนาแล้วดว้ ยการพัฒนาตาม หลกั
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” และเป็นคติพจนป์ ระจำชาติว่า “มั่นคง มง่ั คั่ง ยงั่ ยนื ”
เปา้ หมาย
1. ความมน่ั คง
1.1 การมีความม่ันคงปลอดภัยจากภัยและการเปลี่ยนแปลงทัง้ ภายในประเทศและภายนอก ประเทศ
ในทุกระดับ ท้ังระดับประเทศ สังคม ชุมชน ครัวเรือน และปัจเจกบุคคล และมีความมั่นคงในทุกมิติ ท้ังมิติ
เศรษฐกิจ สงั คม สง่ิ แวดลอ้ ม และการเมอื ง
1.2 ประเทศมีความม่ันคงในเอกราชและอธิปไตย มีสถาบันชาติ ศาสนาและพระมหากษัตริย์ ที่
เข้มแข็ง เป็นศูนย์กลางและที่ยึดเหน่ียวจิตใจของประชาชน ระบบการเมืองมีความม่ันคง เป็นกลไกท่ีนำไปสู่
การบริหารประเทศทต่ี ่อเนอื่ งและโปร่งใสตามหลกั ธรรมาภิบาล
1.3 สังคมมีความปรองดองและความสามัคคี สามารถผนึกกำลังเพ่ือพัฒนาประเทศชุมชน มีความ
เขม้ แข็ง ครอบครวั มีความอบอุ่น
1.4 ประชาชนมคี วามม่ันคงในชวี ติ มีงานและรายไดท้ ่มี ัน่ คงพอเพียงกับการดำรงชวี ติ
มีที่อยอู่ าศัย และความปลอดภัยในชีวิตทรพั ยส์ ิน
1.5 ฐานทรัพยากรและสงิ่ แวดลอ้ ม มคี วามม่ันคงของอาหาร พลังงาน และนำ้
2. ความมงั่ ค่ัง
2.1 ประเทศไทยมีการขยายตัวของเศรษฐกิจอย่างต่อเน่ือง ยกระดับเป็นประเทศในกลุ่มรายได้สูง
ความเหลอ่ื มล้ำของการพฒั นาลดลง ประชากรไดร้ ับผลประโยชน์จากการพัฒนาอย่างเทา่ เทยี มกันมากขึ้น
2.2 เศรษฐกิจมีความสามารถในการแข่งขันสูง สามารถสร้างรายได้ทั้งภายในและภายนอกประเทศ
สร้างฐานเศรษฐกิจและสังคมแห่งอนาคต และเป็นจุดสำคัญของการเชื่อมโยง ในภูมิภาค ทั้งการคมนาคม
ขนส่ง การผลิต การค้าการลงทุนและการทำธุรกิจ มีบทบาทสำคัญในระดับภูมิภาค และระดับโลก เกิดสาย
สมั พันธ์ทางเศรษฐกจิ และการค้าอยา่ งมีพลัง
29
2.3 ความสมบูรณ์ในทุนท่ีจะสามารถสร้างการพัฒนาคนอย่างต่อเนื่อง ได้แก่ ทุนมนุษย์ ทุนทาง
ปัญญา ทุนทางการเงิน ทุนท่ีเป็นเครื่องมือเคร่ืองจักร ทุนทางสังคม และทุนทรัพยากรธรรมชาติและ
ส่งิ แวดล้อม
3. ความยั่งยืน
3.1 การพัฒนาท่ีสามารถสร้างความเจริญ รายได้ และคุณภาพชีวิตของประชาชน ให้เพ่ิมขึ้นอย่าง
ต่อเน่ือง ซึ่งเป็นการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจท่ีไม่ใช้ทรัพยากรธรรมชาติเกินพอดี ไม่สร้างมลภาวะต่อ
สงิ่ แวดลอ้ มจนเกินความสามารถในการรองรบั และเยียวยาของระบบนิเวศน์
3.2 การผลิตและการบริโภคเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม และสอดคล้องกับกฎระเบียบ ของประชาคม
โลก ซึ่งเป็นท่ียอมรับร่วมกัน ความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมมีคุณภาพดีขึ้น คนมี
ความรับผดิ ชอบต่อสงั คม มคี วามเอ้ืออาทร เสยี สละเพื่อผลประโยชน์ส่วนรวม
3.3 ประชาชนทกุ ภาคส่วนในสงั คมยึดถอื และปฏบิ ตั ิตามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
2. แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติได้จัดทำแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) สำหรับใช้เป็นแผนพัฒนาประเทศไทยในระยะ 5 ปี ซ่ึงเป็นการ
แปลงยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี สู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม เพื่อเตรียมความพร้อมและวางรากฐานใน
การยกระดับประเทศไทยให้เป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว มีความม่ันคง มั่งค่ัง ยั่งยืน ด้วยการพัฒนาตามปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งการพัฒนาประเทศในระยะของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12
(พ.ศ. 2560-2564) มหี ลักการทส่ี ำคัญ คอื
1) ยึด “หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”เพื่อให้เกิดบูรณาการการพัฒนาในทุกมิติอย่าง
สมเหตุสมผล มคี วามพอประมาณ และมีระบบภูมคิ ุ้มกนั และการบรหิ ารจัดการความเส่ียงท่ดี ี ซ่ึงเป็นเง่อื นไขท่ี
จำเป็นสำหรบั การพฒั นาที่ยง่ั ยืนซ่ึงมงุ่ เน้นการพฒั นาคน มีความเป็นคนทสี่ มบรู ณ์ สังคมไทยเปน็ สงั คมคณุ ภาพ
มที ยี่ ืนและเปดิ โอกาสให้กับทกุ คนในสังคมไดด้ ำเนินชวี ิตทีด่ ีมีความสุข และอยู่รว่ มกันอย่างสมานฉนั ท์
2) ยึด “คนเป็นศูนย์กลางการพฒั นา”มุ่งสร้างคณุ ภาพชีวติ และสุขภาวะที่ดี สำหรับคนไทย พัฒนา
คนให้มีความเป็นคนท่ีสมบรู ณ์ มีวินัย ใฝร่ ู้ มคี วามรู้ มีทักษะ มีความคิดสร้างสรรค์ มีทศั นคติท่ดี ี รบั ผดิ ชอบต่อ
สงั คม มจี ริยธรรมและคุณธรรม พัฒนาคนทุกช่วงวยั และเตรียมความพร้อมเข้าสสู่ ังคมผู้สูงอายุอยา่ งมคี ุณภาพ
รวมถึงการสร้างคนให้ใช้ประโยชน์และอยู่กับส่ิงแวดล้อมอย่างเกื้อกูล อนุรักษ์ ฟ้ืนฟู ใช้ประโยชน์
ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมอย่างเหมาะสม
3) ยึด “วสิ ัยทัศนภ์ ายใต้ยทุ ธศาสตรช์ าติ ระยะ 20 ปี” มาเปน็ กรอบของวสิ ัยทัศนป์ ระเทศไทยใน
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 วิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความมั่นคง ม่ังค่ัง ยั่งยืน เป็น
ประเทศพัฒนาแล้วด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” หรือเป็นคติพจน์ประจำชาติว่า
“มั่นคง ม่ังคงั่ ยัง่ ยนื ”
30
4) ยดึ “เป้าหมายอนาคตประเทศไทย ปี 2679” ท่เี ป็นเปา้ หมายในยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี มา
เปน็ กรอบในการกำหนดเป้าหมายที่จะบรรลุใน 5 ปีแรกและเป้าหมายในระดบั ย่อยลงมา ควบคูก่ บั กรอบ
เปา้ หมายท่ีย่งั ยนื (SDGs)
5) ยดึ “หลักการเจริญเตบิ โตทางเศรษฐกิจท่ีลดความเหล่อื มล้าและขบั เคลอ่ื นการเจรญิ เติบโต จาก
การเพิ่มผลติ ภาพการผลติ บนฐานของการใชภ้ ูมิปญั ญาและนวัตกรรม”
6) ยึด “หลกั การนำไปส่กู ารปฏบิ ัติให้เกิดผลสมั ฤทธ์ิอยา่ งจริงจงั ใน 5 ปีทต่ี ่อยอดไปสผู่ ลสัมฤทธ์ิ ที่เปน็
เป้าหมายระยะยาว”
ยทุ ธศาสตร์ การจัดการศึกษาของโรงเรยี นบา้ นแก้งกอก
1. จัดการศกึ ษาเพ่ือความมน่ั คง
2. พัฒนาคณุ ภาพผเู้ รียนและสง่ เสริมการจดั การศึกษาเพ่ือสรา้ งขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั
3. ส่งเสรมิ สนบั สนนุ การพฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศึกษา
4. ขยายโอกาสการเขา้ ถึงบริการทางการศกึ ษาและการเรียนรอู้ ย่างมีคุณภาพ
5. จดั การศึกษาเพ่ือเสรมิ สรา้ งคุณภาพชีวติ ที่เป็นมิตรกับสง่ิ แวดลอ้ ม
6. พัฒนาระบบบรหิ ารจดั การและส่งเสรมิ การมสี ่วนรว่ มในการจดั การศกึ ษา
กลยุทธข์ องโรงเรยี นบา้ นบ้านแกง้ กอก
1. พฒั นาหลกั สูตร สง่ เสรมิ กระบวนการเรยี นร้อู ย่างมคี ณุ ภาพและเสรมิ สร้างขีดความสามารถในการ
แข่งขนั
2. ปลกู ฝังคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมท่ีพงึ ประสงค์ เสริมสร้างความเปน็ ไทยและวถิ ปี ระชาธิปไตย โดยใช้
หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
3. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาตามมาตรฐานวิชาชีพอย่างมคี ุณภาพ
4. เพิม่ โอกาสการเข้าถึงการศึกษาอยา่ งมีคุณภาพดว้ ยความเสมอภาคและความเท่าเทียม
5. พฒั นาคณุ ภาพการจัดการศึกษาดว้ ยกระบวนการบริหารแบบมีส่วนร่วมสู่ความเป็นเลิศ
จดุ เน้นการดำเนนิ งานของ สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน
โรงเรยี นบา้ นแก้งกอก ไดก้ ำหนดจุดเน้นการดำเนนิ งาน ดงั น้ี
1. จดุ เน้นดา้ นหลักสตู รและกระบวนการเรยี นรู้
1. หลักสตู รและกระบวนการเรียนรู้มีการปรบั ปรงุ ตามความเหมาะสม ดังต่อไปน้ี
1.1 หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐานมีการปรบั ปรุงให้เหมาะสมกบั ผเู้ รยี น
1.2 โครงสร้างเวลาเรียนมีการปรับปรุงให้เหมาะสมกบั ผูเ้ รียน
1.3 สถานศึกษาทุกแหง่ มีการยกระดับมาตรฐานภาษาองั กฤษในแตล่ ะชว่ งช้ัน
1.4 สถานศึกษาใช้ STEM Education BBL DLTV
2. ผ้เู รยี นมสี มรรถนะท่สี ำคญั สมู่ าตรฐานสากล ดังต่อไปนี้
31
2.1 ผเู้ รยี นระดับก่อนประถมศึกษามพี ัฒนาการดา้ น ร่างกาย อารมณ์ จติ ใจ สงั คมและ
สตปิ ญั ญาทส่ี มดลุ เหมาะสมกับสังคม วัย และเรยี นรู้อย่างมีความสขุ
2.2 ผเู้ รยี นตั้งแต่ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 1 อ่านออก เขียนได้
2.3 ผเู้ รยี นตั้งแตช่ ้นั ประถมศึกษาปที ่ี 2 ขึ้นไป อ่านคล่องเขียนคล่อง
2.4 ผเู้ รยี นตั้งแตช่ ้นั ประถมศึกษาปีท่ี 3 มีความสามารถดา้ นภาษา ดา้ นคำนวณ และ
ดา้ นเหตุผล ผา่ นเกณฑ์มาตรฐานท่ีกำหนดเพิ่มขนึ้
2.5ผเู้ รียนชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี6มีผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นจากการทดสอบระดบั ชาตขิ ้นั
พน้ื ฐาน (O-NET) กลมุ่ สาระหลักเพิม่ ขนึ้
2.6 ผู้เรยี นในระดบั มัธยมศกึ ษาได้รับการสง่ เสริมให้มีแรงจูงใจสู่อาชีพ ดา้ นการแนะแนวและ
ไดร้ บั การพฒั นาความรู้ทกั ษะทีเ่ หมาะสมเพื่อการมงี านทำในอนาคต
2.7 ผู้เรยี นมีทกั ษะในการส่ือสาร ทกั ษะการคิด ทกั ษะการแกป้ ัญหา ทกั ษะชวี ติ และทกั ษะ
การใชเ้ ทคโนโลยี ท่เี หมาะสมตามช่วงวยั
2.8 ผู้เรียนไดร้ บั การวัดและประเมินผลท่หี ลากหลายเหมาะสมตามศักยภาพเปน็ รายบุคคล
3. ผเู้ รียนมคี ณุ ธรรม จริยธรรม ตามคา่ นิยมหลักของคนไทย 12 ประการ รวมทั้งมจี ิตสำนึกในการ
อนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม และห่างไกลยาเสพติด
3.1 ผู้เรยี นใฝ่เรียนรู้ ใฝ่ดี และอยรู่ ว่ มกบั ผู้อน่ื ได้
3.2 ผเู้ รยี นมีทักษะการแก้ปัญหา และอยู่อยา่ งพอเพยี ง
3.3 ผู้เรียนมคี วามมงุ่ ม่นั ในการศึกษาและการทำงาน สามารถปรับตัวเข้ากับพหวุ ัฒนธรรม
บนพ้นื ฐานวัฒนธรรมทด่ี งี ามของไทย
4. ผเู้ รยี นทีม่ ีความต้องการพิเศษได้รบั การส่งเสรมิ สนับสนุน และพัฒนา เต็มตามศักยภาพเป็น
รายบุคคล ได้แก่
4.1 ผ้พู ิการ
4.2 ผ้ดู อ้ ยโอกาสและผเู้ รียนในพ้ืนท่ีพิเศษ
4.3 ผเู้ รยี นทีม่ ีความสามารถพเิ ศษ
4.4 ผู้เรียนภายใต้การจัดการศึกษาโดยครอบครวั สถานประกอบการและศูนย์การเรยี น
4.5 ผู้เรยี นที่ต้องการความคุ้มครองและช่วยเหลือเปน็ กรณีพเิ ศษ
2. จุดเนน้ ดา้ นครูและบคุ ลากรทางการศึกษา
1. ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา ได้รบั การพัฒนาองค์ความรู้ ตรงตามความต้องการของบคุ คล
และสถานศึกษา
1.1 ครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ไดร้ บั การพฒั นาวิธีจดั การเรยี นรู้ ท่ใี ช้ทักษะกระบวนการ
คิด รวมท้งั การวดั และประเมินผลการเรียนรู้
1.2 ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา สามารถประยุกตใ์ ช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
ส่ือสารท่ที นั สมยั
32
1.3 ครูและบุคลากรทางการศึกษา ได้รับการนิเทศแบบกลั ยาณมติ ร จากสำนักงานเขตพ้นื ท่ี
การศกึ ษา ผู้บรหิ ารสถานศึกษา และครู ท้ังในโรงเรยี น ระหวา่ งโรงเรยี น หรอื ภาคส่วนอื่นๆ ตามความพร้อม
ของโรงเรยี น
1.4 ครูและบุคลากรทางการศึกษา สรา้ งเครือขา่ ยการเรยี น การมสี ่วนร่วมจากผมู้ สี ่วน
เก่ยี วขอ้ ง และทุกภาคส่วนใหเ้ กิดชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้
1.5 ครูจดั การเรยี นรสู้ ปู่ ระคมอาเซยี น
1.6 ครแู ละบุคลากรทางการศึกษา มจี ติ วิญญาณของความเปน็ ครู การเปน็ ครูมอื อาชีพและ
ยึดมน่ั ในจรรยาบรรณวชิ าชพี
2. ผู้บริหารสถานศกึ ษา สามารถบริหารงานทกุ ด้านใหม้ ปี ระสิทธภิ าพ และเกดิ ประสทิ ธิผล
3. ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา มขี วญั กำลงั ใจในการทำงาน และมีผลการปฏบิ ตั ิงานเชงิ ประจักษ์
4. องคก์ ร องค์คณะบุคคล และผ้มู ีส่วนได้ส่วนเสียวางแผนสรรหา ยา้ ย โอน ครู และบุคลากร
ทางการศึกษา ให้สอดคลอ้ งกับความต้องการของโรงเรยี นและชมุ ชน
3. จุดเน้นด้านการทดสอบ การประเมนิ การประกนั คุณภาพและมาตรฐานการศกึ ษา
1. ระบบการประเมินสถานศกึ ษาและผูเ้ รยี นมีการพฒั นาให้เหมาะสมกบั สถานศึกษาและผู้เรียน
2. ระบบทดสอบเพื่อประเมินผ่าน หรือซ้ำซ้อน มกี ารพัฒนาใหเ้ หมาะสมในการจบการศกึ ษา
ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 6
3. ผปู้ ระเมนิ คุณภาพสถานศึกษามีการพฒั นาตามมาตรฐานผู้ประเมนิ
4. จุดเน้นดา้ นพฒั นากำลังคนและงานวิจัยที่สอดคล้องกับความต้องการของประเทศ
1. สถานศกึ ษาสร้างคา่ นยิ มเชงิ บวกในการเรียนสายอาชีพ เพ่ือลดสัดส่วนการเรยี นสายสามญั
2. หนว่ ยงานทุกระดบั มกี ารวิจยั ทส่ี ามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้
5. จดุ เนน้ ด้าน ICT เพ่ือการศกึ ษา
1. หนว่ ยงานทกุ ระดบั พัฒนาระบบ ICT เพ่ือการศกึ ษาให้เหมาะสมกับสถานศึกษาและผเู้ รยี น
2. หนว่ ยงานทุกระดับพัฒนาระบบข้อมลู สารสนเทศให้เปน็ ฐานเดียวกันในเร่ืองข้อมูลนกั เรยี น
ขอ้ มลู ครูและบุคลากรทางการศึกษา ขอ้ มูลสถานศึกษาและขอ้ มูลขา้ ราชการและบคุ ลากรอืน่ ในการใช้ขอ้ มลู
ร่วมกันอยา่ งมีประสิทธิภาพ
3. หนว่ ยงานทุกระดับพัฒนา DLTV DLI T ให้เหมาะสมกบั สถานศึกษาและผูเ้ รยี น
4. ผูเ้ รยี นมคี อมพิวเตอร์ใชใ้ นการเรยี นรู้
6. จุดเนน้ ดา้ นบรหิ ารจัดการ
1. หนว่ ยงานทุกระดับบริหารจัดการโดยมงุ่ เน้นการกระจายอำนาจ การสร้างเครือข่ายและ
รบั ผดิ ชอบต่อผลการดำเนินงาน
33
1.1 สถานศึกษาที่ไม่ผา่ นการรับรองคุณภาพภายนอกตามที่กำหนดได้รับการแก้ไข ชว่ ยเหลอื
นิเทศ ติดตาม และประเมินผล
1.2 สถานศกึ ษาขนาดเล็กไดร้ ับการพัฒนาให้มีคุณภาพการจดั การศึกษา
1.3 สถานศึกษาทม่ี ีความพร้อมรบั การกระจายอำนาจมีรปู แบบการบรหิ าจัดการได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
1.4 สถานศึกษาบริหารจัดการร่วมกันโดยใชก้ ารวางแผนพัฒนาการศกึ ษาระดบั ตำบล
(Educational Maps)
1.5 สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาบริหารรว่ มกนั ในรูปแบบ Cluster อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ
1.6 สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาบริหารจดั การอย่างมีคุณภาพ โดยใช้มาตรฐานสำนกั งาน
เขตพนื้ ทกี่ ารศึกษา
1.7 หน่วยงานทุกระดับพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา สรา้ งระบบสวสั ดิการ สวสั ดิภาพและความ
ปลอดภยั ใหเ้ หมาะสมตามบริบทของพ้ืนทพ่ี เิ ศษ
1.8 หน่วยงานทุกระดับพัฒนาระบบ กำกับ ติดตาม และประเมินผล เพื่อการบรหิ ารจดั การที่
มปี ระสทิ ธิภาพและต่อเน่ือง
1.9 หนว่ ยงานทกุ ระดับปรับปรงุ ระบบการจดั สรรงบประมาร และเกณฑก์ ารจัดสรรงบเงิน
อุดหนนุ คา่ ใช้จา่ ยรายหวั ใหม้ ีความเหมาะสมและเพยี งพอ
1.10 หน่วยงานทุกระดับ ยกย่องเชิดชเู กียรติ หน่วยงาน องค์คณะบคุ คลและบุคลากรท่ีมี
ผลงานเชงิ ประจักษ์
1.11 หน่วยงานทกุ ระดบั ส่งเสริมให้มีการวจิ ัยเพ่ือพฒั นานโยบายและพัฒนาการจัด
การศกึ ษาของเขตพน้ื ที่การศึกษา และสถานศึกษา
1.12 หน่วยงานทุกระดบั มีการบรหิ ารจัดการโดยยดึ หลักธรรมาภิบาล
2. หนว่ ยงานทกุ ระดบั สง่ เสรมิ การมสี ว่ นร่วมในการจัดการศึกษา
2.1 หนว่ ยงานทกุ ระดับ ส่งเสริมใหท้ กุ ภาคส่วนและผมู้ สี ่วนได้ส่วนเสยี เข้ามามีสว่ นรว่ มในการ
จัดการศึกษา
2.2 หนว่ ยงานทกุ ระดับ ส่งเสริมการระดมทรัพยากรในการจัดการศึกษา
2.3 หนว่ ยงานทกุ ระดบั รบั ฟังความคดิ เห็น ข้อเสนอแนะจากทุกภาคส่วน และผูม้ ีสว่ นได้
สว่ นเสยี เพอื่ ปรบั ปรุงพฒั นาการจัดการศึกษา
34
จดุ เนน้ การพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาของโรงเรียนบา้ นแกง้ กอก
ระดบั การศกึ ษาปฐมวัย
จุดเนน้ ท่ี 1 เด็กมีพัฒนาการทุกด้านอยา่ งสมดลุ เตม็ ศักยภาพ
จดุ เน้นที่ 2 การพฒั นาหลักสูตรสถานศกึ ษาครอบคลุมพฒั นาการทง้ั 4 ดา้ น
จุดเนน้ ท่ี 3 จัดประสบการณ์การเรยี นรู้ให้เด็กมีการพัฒนาทุกด้านอยา่ งสมดลุ เตม็ ศกั ยภาพ
ระดบั การศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน
จดุ เนน้ ที่ 1 ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสอ่ื สารและการคดิ คํานวณ
จุดเน้นท่ี 2 พัฒนาระบบการบรหิ ารและจัดการคุณภาพสถานศึกษา
จุดเนน้ ที่ 3 มงุ่ พัฒนาผู้เรยี นเรียนรู้โดยผ่านกระบวนการคดิ และปฏิบตั จิ ริง เน้นการสอนแบบโครงงาน
และสะเต็มศึกษา
35
มาตรฐานการประกนั คุณภาพการศึกษาระดบั ปฐมวัย
เป้าหมายการจัดการศกึ ษาตามมาตรฐานการศกึ ษาปฐมวัย
ในการวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนบ้านแก้งกอก ช่วงปีการศึกษา 2561-2563
โรงเรียนได้กำหนดเป้าหมายการจัดการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย โดยกำหนดเกณฑ์ที่คาดหวัง
ตามมาตรฐานดงั นี้
มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย รวม 3 มาตรฐาน 14 ประเดน็ พจิ ารณา
ประเด็น รายการ เกณฑ์ทคี่ าดหวัง(รอ้ ยละ)
ปี 61 ปี 62 ปี 63
พิจารณา
85 87 88
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก
85 87 88
1.1 มีพฒั นาการด้านรา่ งกายแขง็ แรงมีสขุ นิสยั ทดี่ แี ละดแู ลความปลอดภัย 85 87 88
ของตนเองได้
1.2 มพี ัฒนาการดา้ นอารมณ์ จิตใจ ควบคมุ และแสดงออกทางอารมณ์ได้
1.3 มพี ฒั นาการดา้ นสงั คม ชว่ ยเหลอื ตนเอง และเป็นสมาชกิ ทดี่ ีของสังคม
1.4 มีพฒั นาการด้านสตปิ ัญญา สอื่ สารได้ มที ักษะการคดิ พืน้ ฐาน และ 80 82 85
แสวงหาความรู้
ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม ยอดเยย่ี ม
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
2.1 มหี ลักสูตรครอบคลมุ พฒั นาการท้งั 4 ดา้ น สอดคล้องกบั บรบิ ทของ ยอดเยี่ยม ยอดเยย่ี ม ยอดเยี่ยม
ทอ้ งถิน่ ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม
2.2 จัดครูให้เพียงพอกับช้นั เรียน ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม ยอดเย่ียม
2.3 สง่ เสริมให้ครูมีความเช่ียวชาญดา้ นการจัดประสบการณ์ ยอดเยี่ยม ยอดเยย่ี ม ยอดเยี่ยม
2.4 จดั สภาพแวดลอ้ มและสอ่ื เพื่อการเรยี นรู้ อย่างปลอดภัย และเพียงพอ
2.5 ใหบ้ ริการสือ่ เทคโนโลยีสารสนเทศและส่ือการเรยี นรเู้ พื่อสนับสนนุ การ ยอดเยย่ี ม ยอดเยีย่ ม ยอดเยย่ี ม
จัดประสบการณ์
2.6 มีระบบบรหิ ารคุณภาพทีเ่ ปิดโอกาสให้ผเู้ กย่ี วขอ้ งทุกฝา่ ยมีส่วนร่วม ยอดเย่ียม ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม
มาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณ์ทเี่ น้นเด็กเป็นสำคญั ยอดเยย่ี ม ยอดเยย่ี ม ยอดเยย่ี ม
3.1 จดั ประสบการณท์ ส่ี ง่ เสริมใหเ้ ดก็ มพี ัฒนาการทกุ ดา้ นอยา่ งสมดลุ เต็ม
ศกั ยภาพ ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม
3.2 สรา้ งโอกาสใหเ้ ดก็ ไดร้ บั ประสบการณ์ตรง เล่นและปฏิบัติอยา่ ง ยอดเยย่ี ม ยอดเยีย่ ม ยอดเยี่ยม
มคี วามสุข
3.3 จดั บรรยากาศท่ีเอื้อต่อการเรยี นรู้ ใช้สื่อ และเทคโนโลยีทเ่ี หมาะสม
3.4 ประเมนิ พฒั นาการเด็กตามสภาพจริง และนำผลการประเมนิ
พัฒนาการเดก็ ไปปรบั ปรงุ การจดั ประสบการณแ์ ละพฒั นาเด็ก
36
มาตรฐานการประกันคุณภาพการศึกษาระดบั ขั้นพืน้ ฐาน
เป้าหมายการจดั การศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน
ในการวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนแก้งกอก ช่วงปีการศึกษา 2561-2563
โรงเรยี นได้กำหนดเป้าหมายการจัดการศึกษาตามมาตรฐานการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน โดยกำหนดเกณฑ์ที่คาดหวัง
ตามมาตรฐานดังนี้
มาตรฐานการศึกษาระดับขนั้ พ้ืนฐาน รวม 3 มาตรฐาน 21 ประเดน็ พจิ ารณา
มาตรฐาน / ประเด็นการพจิ ารณา เกณฑท์ ีค่ าดหวัง(ร้อยละ)
ป6ี 1 ปี62 ปี63
มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผู้เรียน
1.1 ผลสัมฤทธ์ทิ างวิชาการของผู้เรยี น 80 82 85
80 82 85
1) มคี วามสามารถในการอ่าน การเขยี น การส่ือสาร และการคดิ คำนวณ
2) มคี วามสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวจิ ารณญาณ อภิปราย 80 82 85
แลกเปลีย่ นความเห็นและแก้ปญั หา 80 82 85
3) มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม 80 82 85
4) มคี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร 80 82 85
5) มผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา
6) มีความรู้ ทักษะพื้นฐานและเจตคติที่ดตี ่องานอาชีพ 80 82 85
1.2 คุณลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ของผู้เรยี น 80 82 85
1) การมีคณุ ลักษณะและค่านิยมท่ีดตี ามท่สี ถานศกึ ษากำหนด 80 82 85
2)ความภมู ิใจในท้องถน่ิ และความเปน็ ไทย 80 82 85
3) การยอมรับท่ีจะอยรู่ ว่ มกันบนความแตกต่างและหลากหลาย
4) สขุ ภาวะทางร่างกายและจิตสังคม ยอด ยอด ยอดเยี่ยม
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ เยยี่ ม เย่ยี ม
2.1 มีเป้าหมาย วิสัยทศั น์ และพันธกิจท่สี ถานศึกษากำหนด ยอด ยอด ยอดเยย่ี ม
เยี่ยม เยยี่ ม
2.2 มรี ะบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา ยอด ยอด ยอดเยย่ี ม
เยีย่ ม เย่ยี ม
2.3 ดำเนินงานพัฒนาวชิ าการที่เนน้ คณุ ภาพผ้เู รียนรอบดา้ นตามหลกั สูตร ยอด ยอด ยอดเยย่ี ม
สถานศกึ ษา และทกุ กลุ่มเปา้ หมาย
2.4 พัฒนาครแู ละบุคลากรใหม้ คี วามเช่ียวชาญทางวชิ าชีพ
37
มาตรฐาน / ประเดน็ การพิจารณา เกณฑท์ ่คี าดหวัง(ร้อยละ)
เย่ียม เยี่ยม
2.5 จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรยี นรู้ ยอด ยอด ยอดเยย่ี ม
อย่างมคี ุณภาพ เยย่ี ม เยี่ยม
2.6 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนนุ การบริหารจดั การ ยอด ยอด ยอดเย่ยี ม
และการเรยี นรู้ เยย่ี ม เย่ียม
มาตรฐานที่ 3 การจดั การเรยี นการสอนทเ่ี น้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ยอด
3.1 จดั การเรยี นร้ผู ่านกระบวนการคดิ และปฏบิ ัติจรงิ และสามารถนำไป เยย่ี ม
ประยกุ ต์ใชใ้ นชีวติ ได้ ยอด ยอด ยอดเยย่ี ม
เยย่ี ม เยีย่ ม
3.2 ใชส้ ่อื เทคโนโลยี สารสนเทศ และแหลง่ เรียนรู้ทีเ่ อื้อต่อการเรยี นรู้ ยอด ยอด ยอดเย่ียม
เยี่ยม เยี่ยม
3.3 มีการบรหิ ารจดั การชน้ั เรยี นเชิงบวก ยอด ยอด ยอดเยี่ยม
เยี่ยม เยย่ี ม
3.4 ตรวจสอบและประเมินผเู้ รียนอย่างเปน็ ระบบ และนำผลมาพฒั นา ยอด ยอด ยอดเยี่ยม
ผเู้ รยี น เยี่ยม เยย่ี ม
ยอด ยอด ยอดเย่ียม
3.5 มีการแลกเปลยี่ นเรียนรู้และใหข้ ้อมลู สะท้อนกลบั เพื่อพัฒนาและ เย่ยี ม เยี่ยม
ปรบั ปรงุ การจดั การเรียนรู้
38
กิจกรรม โครงการตามมาตรฐาน
เพ่ือให้บรรลุเป้าหมายตามเกณฑ์ท่ีคาดหวัง
เพ่อื ใหก้ ารจดั การศึกษาบรรลุตามมาตรฐานและเกณฑท์ ่ีคาดหวัง โรงเรียนแกง้ กอก จึงกำหนด
โครงการ/กจิ กรรมและตวั ช้ีวัดความสำเรจ็ ตามโครงการ ดงั ตารางต่อไปน้ี
ระดับปฐมวยั
ท่ี ช่อื วัตถุประสงค์/เป้าหมาย วิธดี ำเนินการ ตัวบ่งช้ี
งาน/โครงการ/กิจกรรม (ย่อๆ) ความสำเรจ็
(จำนวน/ร้อยละ)
1 โครงการพฒั นาด้าน 1. เพอ่ื ให้เด็กปฐมวยั มนี ำ้ หนักสว่ นสูง ดำเนนิ การพัฒนา 1. เดก็ ปฐมวยั มี
รา่ งกายของเดก็ ปฐมวยั เป็นไปตามเกณฑม์ าตรฐาน ร่างกายของเด็กจาก นำ้ หนักส่วนสงู
กิจกรรม 2. เพ่อื ให้เด็กปฐมวัยมที ักษะการ ความร่วมมอื ของ เป็นไปตามเกณฑ์
1. กิจกรรมชงั่ นำ้ หนกั วดั เคลื่อนไหวตามวัย ผทู้ เ่ี ก่ียวข้อง ตาม มาตรฐาน ร้อยละ
ส่วนสงู และเสน้ รอบศีรษะ 3. เพ่อื ให้เด็กปฐมวยั มีสุขนสิ ัยในการ แนวทางและวิธีการ 80
2. กิจกรรมตรวจสุขภาพเด็ก ดูแลสุขภาพของตน ที่กำหนด 2. เด็กปฐมวัยมี
3. กิจกรรฟนั สวยยมิ้ ใส 4. เพือ่ ให้เด็กปฐมวัยรู้จักหลกี เลี่ยงต่อ 1. กจิ กรรมชัง่ นำ้ หนัก ทกั ษะการ
4. กิจกรรมปอ้ งกันโรค สภาวะที่เสี่ยงต่อโรคอุบัติเหตุภัย วัดส่วนสูงและเส้นรอบ เคล่อื นไหวตามวัย
5. กิจกรรมด่ืมนม และสงิ่ เสพติด ศีรษะ ร้อยละ 80
6. กจิ กรรมทดสอบ 2. กจิ กรรมตรวจ 3. เด็กปฐมวัย
สมรรถภาพ สุขภาพเดก็ มสี ขุ นสิ ัยในการ
7. กิจกรรมหนูนอ้ ย 3. กจิ กรรฟันสวยย้มิ ใส ดแู ลสุขภาพของตน
ปลอดภยั ห่างไกลยาเสพติด 4. กิจกรรมปอ้ งกันโรค รอ้ ยละ 80
8.กจิ กรรมอาหารดีมีพลงั 5. กิจกรรมดม่ื นม 4. เด็กปฐมวัย
9.กจิ กรรมกีฬาสี 6. กิจกรรมทดสอบ หลีกเล่ียงต่อสภาวะ
10.กิจกรรมกลางแจง้ สมรรถภาพ ทเี่ สี่ยงต่อโรค
7. กจิ กรรมหนูนอ้ ย อบุ ตั ิเหตภุ ัยและสงิ่
ปลอดภยั หา่ งไกลยา เสพตดิ ร้อยละ 80
เสพติด
8.กจิ กรรมอาหารดมี ี
พลงั
9.กจิ กรรมกีฬาสี
10.กจิ กรรมกีฬากลุม่ /
อำเภอ
39
ระดบั ปฐมวยั วัตถุประสงค์/เปา้ หมาย วิธดี ำเนินการ ตวั บ่งชคี้ วามสำเร็จ
ท่ี ชือ่ (จำนวน/ร้อยละ)
(ย่อๆ) 1.เด็กปฐมวยั รา่ เริง
งาน/โครงการ/กจิ กรรม แจ่มใสมีความร้สู ึกที่ดตี ่อ
2 โครงการพฒั นาดา้ น 1.เพื่อให้เดก็ ปฐมวัย ดำเนินการพฒั นา ตนเอง รอ้ ยละ 80
2. เด็กปฐมวัยมีความ
อารมณ์จิตใจของเดก็ รา่ เริงแจ่มใสมีความรูส้ ึก อารมณจ์ ติ ใจของเด็ก มั่นใจและกล้าแสดงออก
ปฐมวัย รอ้ ยละ 80
กิจกรรม ท่ดี ตี ่อตนเอง จากความร่วมมือของ 3. เด็กปฐมวยั ควบคมุ
1.กิจกรรมเล่าขา่ วและ ตนเองได้เหมาะสมกับวัย
เหตกุ ารณ์ประจำวนั 2.เพอ่ื ใหเ้ ด็กปฐมวัย ผทู้ เ่ี ก่ียวขอ้ ง(Stake ร้อยละ 80
2. กิจกรรมเลา่ เร่อื งจาก 4. เดก็ ปฐมวยั ชนื่ ชม
ผลงาน มีความม่นั ใจและ holder) ตามแนวทาง ศิลปะดนตรี การ
3. กจิ กรรมเลา่ นทิ านก่อน เคลือ่ นไหวและรกั
นอน กลา้ แสดงออก และวิธกี ารทก่ี ำหนด ธรรมชาติ รอ้ ยละ 80
4. กิจกรรมรักธรรมชาติ 5. ผมู้ ีส่วนเก่ียวขอ้ งมี
5. กจิ กรรมเคลื่อนไหว 3. เพ่อื ใหเ้ ด็กปฐมวัย 1. กิจกรรมเลา่ ขา่ วและ ความพึงพอใจในการจดั
จงั หวะ กจิ กรรมตามโครงการ
ควบคุมตนเองได้ เหตกุ ารณป์ ระจำวนั ร้อยละ 80
เหมาะสมกับวัย 2. กจิ กรรมเลา่ เรือ่ งจาก
4. เพือ่ ใหเ้ ด็กปฐมวัย ผลงาน
ชื่นชมศิลปะดนตรี 3. กจิ กรรมเลา่ นทิ าน
การเคล่อื นไหวและ ก่อนสนุก
รักธรรมชาติ 4. กิจกรรมรักธรรมชาติ
ระดบั ปฐมวยั วัตถปุ ระสงค์/เป้าหมาย วิธดี ำเนินการ ตัวบง่ ชี้ความสำเรจ็
ท่ี ชือ่ (จำนวน/ร้อยละ)
(ย่อๆ) 1.เด็กปฐมวัยมีวินยั
งาน/โครงการ/กจิ กรรม รบั ผิดชอบ เชอื่ ฟงั คำสั่ง
3 โครงการพัฒนาดา้ น 1.เพอ่ื ให้เด็กปฐมวยั ดำเนินการพฒั นาเด็ก สอนของพ่อแม่ ครู
อาจารยร์ ้อยละ 80
สังคมของเดก็ ปฐมวัย มวี ินัย รับผิดชอบ เชอื่ ฟงั ปฐมวัยจากความรว่ มมือ 2. เดก็ ปฐมวัยมคี วาม
กจิ กรรม ซ่ือสตั ย์ สุจรติ
1. กิจกรรมหนูน้อย คำสงั่ สอนของพ่อแม่ ครู ของผูท้ ่เี ก่ียวข้อง(Stake ช่วยเหลอื แบ่งปันรอ้ ยละ
มารยาทงามตามประเพณี
วฒั นธรรมไทย อาจารย์ holder) ตามแนวทาง
2. กจิ กรรมพจิ ารณา
2.เพ่ือให้เด็กปฐมวัย มี และวธิ ีการทก่ี ำหนด
ค ว า ม ซ่ื อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต 1.กจิ กรรมข้อตกลงของ
ช่วยเหลือแบง่ ปัน เรา
40
ท่ี ช่อื วตั ถุประสงค์/เป้าหมาย วิธดี ำเนินการ ตวั บง่ ชค้ี วามสำเรจ็
งาน/โครงการ/กิจกรรม (จำนวน/ร้อยละ)
อาหาร/ นั่งสมาธิ (ย่อๆ) 80
3. กิจกรรมข้อตกลงของ 3.เดก็ ปฐมวัยเล่นและ
ห้องเรยี น 3.เพอ่ื ให้เดก็ ปฐมวัยเลน่ 2. กิจกรรมบนั ทึกความ ทำงานร่วมกับผู้อน่ื ได้
4. กิจกรรมบนั ทกึ ความดี รอ้ ยละ 80
5. กิจกรรมการเล่นมุม และทำงานร่วมกบั ผู้อน่ื ดี 4.เดก็ ปฐมวยั ประพฤติ
ประสบการณ์ ตนตามวฒั นธรรมไทย
- มุมบล็อก -มุมหนงั สือ ได้ 3. กจิ กรรมวันสำคัญ และศาสนาที่ตนนับถือ
-มมุ บ้าน -มมุ แตง่ ตวั ร้อยละ 80
4.เพ่ือใหเ้ ดก็ ปฐมวยั 4. กิจกรรมสวนสนกุ 5. ผ้รู บั บรกิ ารและ
ผู้เก่ยี วข้องพึงพอใจผล
ประพฤตติ นตาม ปฐมวัย การบริหารงานและการ
พัฒนาเด็ก ร้อยละ 80
วฒั นธรรมไทยและ 5. กจิ กรรมการเลน่ มุม
ศาสนาทตี่ นนบั ถือ เสรี
ระดับปฐมวัย วตั ถุประสงค์/เป้าหมาย วิธีดำเนินการ ตวั บ่งช้ีความสำเรจ็
ท่ี ช่ือ (ย่อๆ) (จำนวน/ร้อยละ)
1.เพอ่ื ให้เดก็ สนใจเรยี นรู้ 1.เด็กมคี วามสนใจเรยี นรู้
งาน/โครงการ/กิจกรรม ส่งิ รอบตวั ซกั ถามอย่าง ดำเนินการแกไ้ ข ส่ิงตา่ งๆ รอบตัว ซกั ถาม
4 โครงการพัฒนา ตัง้ ใจและรักการเรยี นรู้ พฤติกรรมนักเรยี นจาก อยา่ งตงั้ ใจ และรกั การ
2.เพอื่ ใหเ้ ดก็ มีความคดิ ความร่วมมือของผู้ที่ เรยี นรู้ร้อยละ 80
สติปัญญาของเด็ก รวบยอดเกย่ี วกับสิ่ง เกยี่ วข้อง(Stake 2. เดก็ มีความคิด
ปฐมวัย ตา่ งๆท่ีเกดิ จากการ holder)ตามแนวทาง รวบยอดเกยี่ วกบั สิ่ง
กิจกรรม ประสบการณ์การเรียนรู้ และวิธกี ารทก่ี ำหนด ต่างๆท่เี กดิ จาก การ
1. กิจกรรมพัฒนาการ 3.เพ่อื ใหเ้ ดก็ มีทักษะทาง 1. กิจกรรมพฒั นาการ เรียนรู้ รอ้ ยละ 80
คดิ ของเดก็ โดยใช้ส่ือ ภาษาที่เหมาะสมกับวยั คิดของเด็กโดยใช้สื่อ 3. เดก็ มที กั ษะทาง
2. กจิ กรรมพัฒนาภาษา 4.เพอ่ื ให้เดก็ มีทกั ษะ 2. กจิ กรรมพฒั นาภาษา ภาษาท่ีเหมาะสมกบั วัย
อย่างธรรมชาติ(Whole กระบวนการทาง อย่างธรรมชาต(ิ Whole ร้อยละ 80
language) วทิ ยาศาสตรแ์ ละ language) 4. เด็กมที ักษะ
3. กจิ กรรมสารสมั พนั ธ์ คณติ ศาสตร์ 3. กจิ กรรมสารสมั พนั ธ์ กระบวนการทาง
บ้าน-โรงเรียน 5.เพอ่ื ใหเ้ ดก็ มี บ้าน-โรงเรยี น วิทยาศาสตร์และ
4. กจิ กรรมเรยี นร้ดู ้วย 4. กจิ กรรมเรยี นรดู้ ว้ ย
โครงการ(Project
Approach)
41
ที่ ช่ือ วัตถปุ ระสงค์/เป้าหมาย วิธีดำเนินการ ตัวบ่งชี้ความสำเร็จ
(จำนวน/รอ้ ยละ)
งาน/โครงการ/กจิ กรรม (ย่อๆ) คณติ ศาสตร์ ร้อยละ80
5. เด็กมจี ินตนาการและ
5.กจิ กรรมบูรณาการ จนิ ตนาการและความคิด โครงการ(Project ความคิดรเิ ร่มิ สร้างสรรค์
ร้อยละ 80
STEM ปฐมวัย สรา้ งสรรค์ Approach)
6. กิจกรรมตามตาราง
กจิ กรรมประจำวัน
ระดบั ปฐมวยั วตั ถุประสงค์/เป้าหมาย วธิ ีดำเนินการ ตวั บง่ ช้ีความสำเรจ็
ท่ี ชอ่ื (ย่อๆ) (จำนวน/ร้อยละ)
1.เพอ่ื ให้สถานศึกษามี 1.สถานศึกษามหี ลกั สตู ร
งาน/โครงการ/กิจกรรม หลักสูตรสถานศกึ ษาที่ ดำเนนิ การพฒั นา สถานศึกษาที่สอดคลอ้ ง
5 โครงการ สอดคลอ้ งกับบริบทของ หลกั สูตรสถานศกึ ษา กบั บริบทของท้องถ่นิ ใน
ท้องถ่นิ ปฐมวยั จากความร่วมมือ ระดับยอดเย่ยี ม
พฒั นาหลักสูตร 2.เพอ่ื ให้สถานศึกษามี ของผู้ท่ีเก่ยี วข้อง(Stake 2.สถานศึกษามีหลกั สตู ร
สถานศกึ ษาปฐมวัย หลกั สตู รสถานศกึ ษาที่ holder) ตามแนวทาง สถานศกึ ษาท่ีสอดคล้อง
กจิ กรรม สอดคล้องกับหลักสูตร และวิธีการทกี่ ำหนด กับหลักสูตรการศึกษา
1.กิจกรรมการ การศึกษาปฐมวัย กิจกรรม ปฐมวยั พุทธศกั ราช
ประเมนิ ผลหลกั สูตร พุทธศักราช 2560 1.กิจกรรมการ 2560 ในระดับยอด
สถานศกึ ษาปฐมวัย 3.เพ่อื ใหผ้ ู้ที่มีส่วน ประเมินผลหลักสูตร เย่ียม
2.กจิ กรรมรายงานผล เก่ียวข้องมคี วามพึง สถานศกึ ษาปฐมวัย 3.เพอื่ ให้ผ้ทู ี่มีสว่ น
การประเมิน จำนวน 2 พอใจในการดำเนินงาน 2.กจิ กรรมรายงานผล เกยี่ วขอ้ งมคี วามพึงพอใจ
เลม่ ตามโครงการ การประเมนิ จำนวน 2 ในการดำเนินงานตาม
3.กิจกรรมการปรบั ปรงุ เล่ม โครงการ รอ้ ยละ80
หลกั สูตรสถานศกึ ษา 3.กิจกรรมการปรบั ปรุง
ปฐมวัย หลกั สูตรสถานศกึ ษา
4.กิจกรรมการกำหนด ปฐมวยั
หน่วยการจัด 4.กิจกรรมการกำหนด
ประสบการณ์ หนว่ ยการจดั
5.กจิ กรรมจดั ทำ ประสบการณ์
แผนการจดั 5.กิจกรรมจดั ทำ
ประสบการณ์ แผนการจัด
6.กจิ กรรมประชุม ประสบการณ์
ผู้ปกครอง 6.กจิ กรรมประชุม
ผูป้ กครอง
42
ระดบั ปฐมวัย
ท่ี งาน/โครงการ/กิจกรรม วตั ถุประสงค์/เปา้ หมาย วธิ ีดำเนินการ ตัวบง่ ช้ีความสำเร็จ
(ย่อๆ) (จำนวน/ร้อยละ)
6 โครงการพัฒนา 1. เพ่อื ใหส้ ถานศึกษาจัด ดำเนนิ การเตรยี มครแู ละ 1. สถานศกึ ษาจดั ครทู ี่
ครูผสู้ อนปฐมวัย ครูทจ่ี บการศกึ ษาปฐมวยั บุคลากรทเ่ี พียงพอต่อช้นั จบการศกึ ษาปฐมวยั ท่ี
กิจกรรม ทเ่ี พียงพอกับชนั้ เรยี นจากความรว่ มมือของผู้ เพียงพอกบั ช้นั ในระดบั
1.กจิ กรรมจัดครูให้ 2.เพ่อื ใหผ้ ทู้ ่ีมีสว่ น ทเี่ ก่ียวข้อง(Stake holder) ยอดเยย่ี ม
เพียงพอกับชน้ั เรียน เกย่ี วขอ้ งมีความพึงพอใจ ตามแนวทางและวธิ กี ารท่ี 2.ผ้ทู ีม่ สี ว่ นเกี่ยวขอ้ งมี
2. กจิ กรรมจดั หา ในการดำเนินงานตาม กำหนด ความพงึ พอใจในการ
บุคลากรใหเ้ พียงพอกับ โครงการ 1.กจิ กรรมจดั ครูใหเ้ พียงพอ ดำเนนิ งานตามโครงการ
ชั้นเรยี น กับช้นั เรยี น ร้อยละ80
2. กจิ กรรมจัดหาบุคลากร
ให้เพยี งพอกับชั้นเรยี น
ระดับปฐมวัย
ที่ งาน/โครงการ/กจิ กรรม วตั ถปุ ระสงค์/เป้าหมาย วิธีดำเนนิ การ ตวั บง่ ชีค้ วามสำเรจ็
(จำนวน/รอ้ ยละ)
(ย่อๆ) 1.พัฒนาครแู ละบุคลากร
ใหม้ ีความรู้ความสามารถ
7 โครงการสง่ เสรมิ และ 1.เพื่อให้พัฒนาครูและ ดำเนนิ การจัดพฒั นาครู ในการวิเคราะห์และ
ออกแบบหลักสูตร
พัฒนาบุคลากรทาง บุคลากรให้มีความรู้ จากความร่วมมือของผ้ทู ี่ สถานศกึ ษา ในระดับยอด
เย่ยี ม
การศกึ ษา ความสามารถในการ เกย่ี วขอ้ ง(Stake holder) 2.ครูมที ักษะในการจดั
ประสบการณ์และประเมิน
กจิ กรรม วิเคราะหแ์ ละออกแบบ ตามแนวทางและวิธกี ารที่ พัฒนาการเด็กดว้ ย
เครื่องมือท่ีหลากหลาย ใน
1.กจิ กรรมพฒั นา หลักสูตรสถานศกึ ษา กำหนด ระดับยอดเยี่ยม
3.ครูมีทักษะในการสังเกต
บคุ ลากรการฝึกอบรม / 2.เพือ่ ให้ครมู ที ักษะใน 1. กจิ กรรมพฒั นา และประเมนิ พฒั นาการเด็ก
เป็นรายบคุ คล ในระดับ
ประชุม / สัมมนา การจัดประสบการณ์ บคุ ลากรการฝึกอบรม / ยอดเยีย่ ม
อบรม สัมมนา และประเมนิ พฒั นาการ ประชุม / สัมมนา
- สนบั สนนุ ใหเ้ ข้ารับการ เด็กด้วยเคร่ืองมือที่ 2. กิจกรรมสารสมั พันธ์
อบรมที่หนว่ ยงานต่าง ๆ หลากหลาย ครูและผปู้ กครอง
จดั ขน้ึ สนับสนนุ ให้เข้า 3.เพ่ือให้ครมู ที ักษะใน
รับการอบรมด้วยตนเอง การสงั เกตและประเมนิ
ผ่านระบบ Online เช่น พฒั นาการเด็กเป็น
TV ครู อบรมครูระบบ รายบุคคล
ทางไกลผ่านดาวเทยี ม E 4.เพือ่ ให้ครูมปี ฏสิ มั พนั ธ์
ท่ี งาน/โครงการ/กิจกรรม วัตถปุ ระสงค์/เป้าหมาย วิธดี ำเนินการ 43
(ย่อๆ)
ตวั บง่ ช้คี วามสำเร็จ
– Training TEPE ที่ดีกับเด็ก ผปู้ กครอง (จำนวน/ร้อยละ)
4.ครูมีปฏสิ ัมพนั ธ์ทีด่ ีกับ
2. กิจกรรมสารสมั พนั ธ์ และชมุ ชน เดก็ ผ้ปู กครอง และชมุ ชน
ในระดบั
ครูและผู้ปกครอง 5.เพ่ือให้ผูม้ ีส่วน ยอดเย่ียม
5.ผู้มสี ว่ นเกีย่ วข้องมี
เกี่ยวข้องมีความพึง ความพึงพอใจในการจดั
กจิ กรรมการเรียนรูส้ ำหรับ
พอใจในการจดั กจิ กรรม เดก็ ปฐมวยั ในระดบั
การเรียนรสู้ ำหรบั เดก็ ร้อยละ 80
ปฐมวยั
ระดับปฐมวยั วตั ถปุ ระสงค์/เปา้ หมาย วิธดี ำเนนิ การ ตัวบ่งช้คี วามสำเรจ็
ที่ งาน/โครงการ/กิจกรรม (ย่อๆ) (จำนวน/ร้อยละ)
1.เพ่อื พฒั นาสง่ เสริมการ 1.เดก็ ไดเ้ รยี นรู้จากส่อื ทนี่ ำ
8 โครงการจดั จดั และตกแตง่ ห้องเรียน ดำเนินการจัด มาจดั บรรยากาศไดด้ ีมาก
สภาพแวดลอ้ มเพ่ือการ ให้มบี รรยากาศที่เอ้อื ต่อ สภาพแวดล้อมเพอื่ การ ข้ึนในระดบั ยอดเยี่ยม
เรียนรู้ การเรียนรู้ เรยี นร้ใู นสถานศกึ ษา 2.บรรยากาศในห้องเรยี น
กิจกรรม 2.เพ่อื จัดสภาพแวดลอ้ ม ปฐมวัย ตามแนวทางและ สามารถเป็นแหล่งเรยี นร้ทู ่ี
1.กจิ กรรมพัฒนาการจัด ใหด้ งึ ดดู ความสนใจและ วธิ ีการที่กำหนด ดใี ห้แก่เด็ก ในระดับ
สภาพแวดลอ้ มภายใน สง่ เสริมการเรยี นร้ขู อง 1.กจิ กรรมพัฒนาการจัด ยอดเย่ียม
และภายนอกห้องเรียน เด็ก สภาพแวดล้อมภายในและ 3.เดก็ ได้พัฒนากระบวน
2.กิจกรรมพัฒนามมุ 3.เพื่อใหเ้ ดก็ มีเจตคติที่ดี ภายนอกหอ้ งเรียน การเรียนรู้ได้อย่างมี
ประสบการณ์ ในการเรยี นรู้ 2.กจิ กรรมพฒั นามมุ ประสิทธิภาพมากย่ิงขึน้
3.กิจกรรมจดั หาส่ือ ประสบการณ์ ในระดับยอดเย่ยี ม
3.กจิ กรรมจดั หาส่ือ
44
ท่ี งาน/โครงการ/กจิ กรรม วัตถปุ ระสงค์/เป้าหมาย วธิ ดี ำเนินการ ตวั บ่งช้ีความสำเร็จ
(ย่อๆ) (จำนวน/ร้อยละ)
9 โครงการพัฒนาส่อื เทคโนโลยี 1.เพื่อให้บริการสื่อ ดำเนนิ การบริการส่ือ 1.ครูใชส้ ่อื เทคโนโลยีสารสนเทศ
สารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ วัสดุ และอุปกรณพ์ ัฒนาการ
กจิ กรรม วัสดุ และอปุ กรณ์ ในสถานศึกษาปฐมวยั เรยี นการสอนอยา่ งมี
1.กจิ กรรมบรกิ ารสือ่ 2.เพ่อื เปน็ แหลง่ เรียน ตามแนวทางและ ประสิทธภิ าพ ในระดับ
เทคโนโลยสี ารสนเทศ สำหรบั เด็ก ครู วิธกี ารทกี่ ำหนด ยอดเย่ยี ม
2.กิจกรรมสารสมั พนั ธบ์ ้าน ผู้ปกครองที่เกย่ี วข้อง 1.กจิ กรรมบรกิ ารส่ือ 2.เดก็ ครู ผูป้ กครองและผูท้ ่ี
โรงเรยี น เทคโนโลยสี ารสนเทศ เกี่ยวข้องใชเ้ ป็นแหล่งวิทยาการ
3.กิจกรรมจดั หาส่ือเทคโนโลยี 2.กจิ กรรมสารสมั พนั ธ์ ในระดบั ยอดเยี่ยม
สารสนเทศ บ้านโรงเรียน 3.ผู้มสี ่วนเกย่ี วข้องมีความพึง
3.กิจกรรมจัดหาสื่อ พอใจในการดำเนนิ กจิ กรรม
เทคโนโลยีสารสนเทศ ตามโครงการ ร้อยละ 80
ระดับปฐมวยั วัตถุประสงค์/เปา้ หมาย วธิ ดี ำเนนิ การ ตัวบง่ ชค้ี วามสำเร็จ
ที่ งาน/โครงการ/ (ย่อๆ) (จำนวน/ร้อยละ)
1. เพ่ือให้สถานศึกษามีการ 1. สถานศึกษามีการกำหนด
กจิ กรรม กำหนดมาตรฐานการศึกษา ดำเนินการพัฒนาการ มาตรฐานการศึกษาปฐมวยั
10 โครงการประกนั ปฐมวัย ประกันคุณภาพปฐมวยั 2. สถานศึกษาจัดทำและ
2. เพื่อให้จัดทำและดำเนินการ ของสถานศกึ ษาจาก ดำเนินการตามแผนพัฒนา
คุณภาพระดบั ปฐมวัย ตามแผนพัฒนาการศึกษาของ ความรว่ มมอื ของผทู้ ่ี การศกึ ษาของสถานศึกษาที่
กจิ กรรม สถานศกึ ษาที่สอดรบั มาตรฐาน เกย่ี วขอ้ ง(Stake สอดรบั มาตรฐานการศึกษา
1.กจิ กรรมจดั ทำ การศกึ ษาของสถานศกึ ษา holder) ตามแนวทาง ของสถานศึกษา
มาตรฐานการศึกษา 3. เพอ่ื ให้มกี ารประเมนิ ผลและ และวิธกี ารท่ีกำหนด 3. สถานศึกษาการ
2.กิจกรรมจดั ทำ ตดิ ตามตรวจสอบคุณภาพ 1.กจิ กรรมจัดทำ ประเมินผลและติดตาม
แผนพัฒนาการศึกษา ภายในของสถานศึกษา มาตรฐานการศึกษา ตรวจสอบคณุ ภาพภายในของ
3.กจิ กรรมรายงาน 4. เพอ่ื ให้สถานศึกษาจัดทำ 2.กจิ กรรมจัดทำ สถานศกึ ษา
ประเมนิ ผลและติดตาม รายงานผลการประเมินตนเอง แผนพฒั นาการศกึ ษา 4. สถานศึกษาจดั ทำรายงาน
ตรวจสอบคณุ ภาพ ประจำปี 3.กิจกรรมรายงาน ผลการประเมินตนเอง
ภายในของสถานศึกษา ประเมนิ ผลและติดตาม
4.กจิ กรรมจัดทำ
รายงานผลการประเมนิ
45
ท่ี งาน/โครงการ/ วตั ถปุ ระสงค์/เป้าหมาย วธิ ีดำเนินการ ตวั บง่ ชคี้ วามสำเร็จ
กิจกรรม (ย่อๆ) (จำนวน/ร้อยละ)
5. เพื่อใหม้ ีการนำผลการ ประจำปี
ตนเองประจำปี ประเมนิ คุณภาพภายในไป ตรวจสอบคณุ ภาพ 5. สถานศึกษามีการนำผล
ปรบั ปรุงและพัฒนาคุณภาพ ภายในของสถานศึกษา การประเมินคุณภาพภายใน
สถานศกึ ษาอยา่ งตอ่ เน่ือง 4.กิจกรรมจดั ทำ ไปปรับปรุงและพฒั นา
6. เพือ่ ให้ผู้มสี ่วนเก่ยี วข้องได้มี รายงานผลการประเมนิ คุณภาพสถานศึกษาอยา่ ง
สว่ นรว่ มในการจัดทำรายงาน ตนเองประจำปี ตอ่ เน่ือง
ผลการประเมนิ ตนเองของ 6. ผมู้ ีสว่ นเก่ียวข้องได้มสี ่วน
สถานศกึ ษา ร่วมในการจดั ทำรายงานผล
การประเมินตนเองของ
สถานศกึ ษา รอ้ ยละ 80
ระดับปฐมวัย วัตถุประสงค์/เป้าหมาย วธิ ีดำเนนิ การ ตัวบง่ ชี้ความสำเรจ็
ท่ี งาน/โครงการ/ (จำนวน/ร้อยละ)
(ย่อๆ) 1.เพือ่ ให้ครวู ิเคราะห์ขอ้ มูล
กิจกรรม เดก็ เปน็ รายบคุ คล ในระดบั
11 โครงการสง่ เสริมเดก็ 1.เพอ่ื ให้ครวู ิเคราะห์ข้อมลู เด็ก ดำเนินการจัดกจิ กรรม ยอดเย่ยี ม
2.เพ่ือให้ครมู กี ารวิเคราะห์
ปฐมวัยให้มี เป็นรายบุคคล ตามแนวทางและ มาตรฐานคณุ ลักษณะท่ีพงึ
พัฒนาการทุกดา้ น ประสงคใ์ นหลักสูตร
อย่างสมดุลเต็ม 2.เพื่อให้ครมู กี ารวิเคราะห์ วิธีการทกี่ ำหนด สถานศกึ ษา ในระดับยอด
ศักยภาพ กจิ กรรม เยย่ี ม
กิจกรรม มาตรฐานคณุ ลักษณะท่ีพึง 1.กจิ กรรมวเิ คราะห์ 3.เพ่อื ให้ครจู ดั ทำแผนการจดั
1.กจิ กรรมวิเคราะห์ ประสบการณ์ของเด็กปฐมวยั
ข้อมูลเด็กเป็น ประสงค์ในหลักสตู รสถานศึกษา ขอ้ มลู เด็กเป็น ในระดบั ยอดเยย่ี ม
รายบุคคล 3.เพอ่ื ให้ครูจัดทำแผนการจดั รายบคุ คล
2.กจิ กรรมวิเคราะห์
มาตรฐานคณุ ลักษณะ ประสบการณ์ของเด็กปฐมวัย 2.กจิ กรรมวิเคราะห์
ท่พี ึงประสงค์
3.กจิ กรรมจดั ทำ มาตรฐานคณุ ลักษณะ
แผนการจัด
ประสบการณ์ ทพี่ งึ ประสงค์
3.กิจกรรมจัดทำ
แผนการจดั
ประสบการณ์
46
ระดบั ปฐมวัย วตั ถุประสงค์/เปา้ หมาย วธิ ดี ำเนินการ ตวั บง่ ชคี้ วามสำเร็จ
ที่ งาน/โครงการ/ (ย่อๆ) (จำนวน/ร้อยละ)
1. เพ่อื ให้ครูจดั ประสบการณ์ท่ี 1. ครูจดั ประสบการณ์ท่ี
กจิ กรรม เช่ือมโยงประสบการณเ์ ดิม ดำเนนิ การจดั กิจกรรม เช่อื มโยงประสบการณเ์ ดิม ใน
12 โครงการจดั 2.เพือ่ ใหเ้ ด็กมีโอกาสเลือกทำ ตามแนวทางและ ระดับยอดเยี่ยม
กจิ กรรมอยา่ งอสิ ระ ตามความ วิธีการทกี่ ำหนด 2.เด็กมโี อกาสเลอื กทำ
ประสบการณก์ าร ถนดั ตอบสนองต่อวิธีการ กจิ กรรม กจิ กรรมอย่างอิสระ ตาม
เรียนรู้ เรียนรู้ของเด็กเป็นรายบุคคล 1.กิจกรรมการจัด ความถนัด ตอบสนองต่อ
กจิ กรรม หลากหลายรปู แบบ ประสบการณ์ใน วิธีการเรียนรู้ของเด็กเปน็
1.กจิ กรรมการจัด หอ้ งเรียน รายบคุ คล หลากหลาย
ประสบการณ์ใน 2.กจิ กรรมบา้ นวิทย์ รูปแบบ ในระดบั ยอดเยี่ยม
ห้องเรยี น นอ้ ย
2.กิจกรรมบา้ นวิทย์ 3.กจิ กรรมจดั
นอ้ ย ประสบการณ์นอก
3.กจิ กรรมจดั ห้องเรยี น
ประสบการณน์ อก
ห้องเรยี น
ระดบั ปฐมวยั วตั ถปุ ระสงค์/เป้าหมาย วิธดี ำเนนิ การ ตัวบ่งชีค้ วามสำเร็จ
ที่ งาน/โครงการ/ (จำนวน/รอ้ ยละ)
(ย่อๆ) 1.ครจู ัดห้องเรยี นที่เอ้ือตอ่ การ
กิจกรรม เรียนรู้ของเด็ก ในระดบั ยอด
13 โครงการจัด 1.เพอ่ื ให้ครจู ดั ห้องเรยี นที่เอ้อื ดำเนนิ การพัฒนา เยย่ี ม
2.เพือ่ ให้ครใู ชส้ ่ือและ
บรรยากาศท่เี อ้อื ต่อ ต่อการเรียนรู้ของเดก็ ปฐมวัยจากความ เทคโนโลยีท่ีเหมาะสมกบั ชว่ ง
การเรียนรู้ของเด็ก วัย ในระดบั ยอดเย่ียม
ปฐมวัย 2.เพอ่ื ให้ครูใช้สอื่ และเทคโนโลยี รว่ มมอื ของผ้ทู ่ี 3.เพอ่ื ให้ผู้มีสว่ นเกีย่ วขอ้ งมี
กิจกรรม ความพงึ พอใจในการจดั
1.กิจกรรมพัฒนาส่อื ท่ีเหมาะสมกบั ชว่ งวัย เก่ยี วขอ้ ง(Stake
การเรียนรู้
2.กิจกรรมพัฒนามุม 3.เพอ่ื ใหผ้ ูม้ สี ว่ นเกีย่ วขอ้ งมี holder) ตามแนวทาง
ความพึงพอใจในการจัด และวธิ กี ารทกี่ ำหนด
บรรยากาศท่เี อ้ือต่อการเรยี นรู้ 1.กจิ กรรมพัฒนาส่ือ
ของเด็กปฐมวัย การเรียนรู้
47
ท่ี งาน/โครงการ/ วัตถุประสงค์/เปา้ หมาย วธิ ดี ำเนินการ ตัวบง่ ชี้ความสำเรจ็
กิจกรรม (ย่อๆ) (จำนวน/ร้อยละ)
บรรยากาศทเี่ อ้ือตอ่ การ
ประสบการณ์ใน 2.กิจกรรมพฒั นามุม เรียนร้ขู องเด็กปฐมวยั
ห้องเรียน ประสบการณ์ รอ้ ยละ80
3.กจิ กรรมปา้ ยนเิ ทศ 3.กจิ กรรมป้ายนเิ ทศ
ประจำหอ้ ง ประจำห้อง
ระดับปฐมวยั
ท่ี งาน/โครงการ/ วตั ถุประสงค์/เป้าหมาย วิธดี ำเนนิ การ ตวั บ่งชี้ความสำเร็จ
กิจกรรม (ย่อๆ) (จำนวน/ร้อยละ)
14 โครงการประเมนิ 1.เพื่อให้ครปู ระเมินพัฒนาการ ดำเนินการพฒั นา 1.ครปู ระเมนิ พัฒนาการเดก็
พัฒนาการเดก็ ปฐมวัย เด็กจากกจิ กรรมและกจิ วตั ร ปฐมวัยจากความ จากกจิ กรรมและกิจวตั ร
กจิ กรรม ประจำวนั ด้วยเครื่องมอื และ รว่ มมือของผทู้ ี่ ประจำวนั ด้วยเครอื่ งมอื และ
1.กจิ กรรมจัดทำ วิธกี ารท่ีหลากหลาย เก่ยี วขอ้ ง(Stake วิธีการท่ีหลากหลาย ในระดับ
เครอ่ื งมือประเมิน 2.เพ่อื ใหเ้ ด็กและผู้ปกครองมี holder) ตามแนวทาง ยอดเย่ียม
พัฒนาการเด็กดว้ ยวธิ ีท่ี ส่วนร่วมในการประเมนิ และวิธีการท่กี ำหนด 2.เด็กและผ้ปู กครองมสี ่วน
หลากหลาย พัฒนาการของเด็กปฐมวยั กิจกรรม ร่วมในการประเมนิ พัฒนาการ
2.กิจกรรมประชุม 1.กิจกรรมจดั ทำ ของเด็กปฐมวยั ในระดับยอด
ผปู้ กครอง เครอ่ื งมือประเมนิ เย่ยี ม
พัฒนาการเด็กด้วยวธิ ีท่ี
หลากหลาย
2.กจิ กรรมประชุม
ผู้ปกครอง