The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนพัฒนาคุณภาพ3ปี 2561.ใหม่

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by noom2522nan, 2022-04-26 01:44:23

แผนพัฒนาคุณภาพ3ปี 2561.ใหม่

แผนพัฒนาคุณภาพ3ปี 2561.ใหม่

48

กจิ กรรม โครงการตามมาตรฐานการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน
เพอื่ ใหบ้ รรลุเปา้ หมายตามเกณฑท์ ่คี าดหวัง

เพ่ือใหก้ ารจดั การศึกษาบรรลุตามมาตรฐานและเกณฑท์ ี่คาดหวัง โรงเรียนบา้ นแก้งกอก จึงกำหนด

โครงการ/กจิ กรรมและตัวชว้ี ัดความสำเร็จตามโครงการ ดงั ตารางตอ่ ไปน้ี

ระดบั ขน้ั พน้ื ฐาน

ที่ ชอ่ื วตั ถปุ ระสงค์/เปา้ หมาย วิธดี ำเนนิ การ ตวั บ่งชคี้ วามสำเรจ็

งาน/โครงการ/ (ย่อๆ) (จำนวน/ร้อยละ)

กจิ กรรม

1 โครงการพัฒนา 1. เพ่ือพัฒนาความสามารถในการ ดำเนินการพัฒนาจาก 1. ผู้เรียนทุกระดับชั้นมี

ความสามารถในการ อา่ น การเขยี น การส่ือสารและการ ความร่วมมอื ของผทู้ ่ี ความสามารถในการและ

อา่ น เขียน คิด คดิ คำนวณ เกย่ี วข้อง(Stake ทักษะการอ่าน การเขยี น

วิเคราะห์ คดิ คำนวณ 2.เพื่อพฒั นาความสามารถในการ holder) ตามแนวทาง การสอ่ื สารและการคิด

และการสอ่ื สาร คิดวิเคราะห์ คิดอยา่ งมี และวธิ กี ารท่กี ำหนด คำนวณ เหมาะสมกับวยั และ

กจิ กรรม วจิ ารณญาณ อภิปราย แลกเปลยี่ น กิจกรรม รอ้ ยละ 80

1 กจิ กรรมพฒั นา ความคิดเหน็ และแกป้ ัญหา 1 กจิ กรรมพัฒนา 2. ผู้เรยี นมที ักษะการคิด

ทักษะการอ่านของ 3. เพื่อพฒั นาความสามารถในการ ทกั ษะการอ่านของ วิเคราะห์ คิดอย่างมี

ผูเ้ รยี น สร้างนวตั กรรม ผเู้ รียน วิจารณญาณ อภปิ ราย

2. กิจกรรมพัฒนา 4.เพอ่ื พัฒนา ความสามารถในการ 2. กจิ กรรมพัฒนา แลกเปลีย่ น ความคิดเหน็

ทกั ษะการเขยี น ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการ ทกั ษะการเขยี น และแก้ปัญหา รอ้ ยละ 80

3. กจิ กรรมพฒั นา สอ่ื สาร 3. กิจกรรมพฒั นา 3. ผู้เรยี นมีความสามารถใน

ทกั ษะการสื่อสารของ 5. เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการ ทักษะการส่ือสารของ การสร้างนวัตกรรม

ผู้เรยี น เรียนและพฒั นาการจากผลการ ผู้เรียน 4.ผ้เู รียนมีทักษะการใช้

4. กิจกรรมพัฒนาการ สอบวัดระดบั ชาติ 4. กจิ กรรมพัฒนาการ เทคโนโลยีสารสนเทศและ

คิดคำนวณของผู้เรยี น 6. เพอ่ื พัฒนาความพรอ้ มใน คดิ คำนวณของผู้เรียน การส่ือสารได้ ร้อยละ 80

5.กิจกรรมการแก้ปัญหา การศกึ ษาต่อ การฝกึ งานหรือการ 5.กจิ กรรมการ 5. ผ้เู รยี นมีผลสัมฤทธ์ิ

การอา่ นไม่ออกเขียน ทำงาน แกป้ ญั หาการอ่านไม่ ทางการเรยี นและพัฒนาการ

ไม่ได้ ออกเขียนไม่ได้ จากผลการสอบวัดระดับชาติ

6.ประเมนิ ความพึง 6.ประเมนิ ความพึง 6. ผ้เู รียนมีความรทู้ ักษะ

พอใจ พอใจ พน้ื ฐาน และเจตคติท่ีดตี ่อ

อาชพี ร้อยละ 80

49

ระดบั ขัน้ พื้นฐาน

ท่ี ชื่อ วัตถปุ ระสงค์/เปา้ หมาย วธิ ีดำเนินการ ตวั บง่ ชี้ความสำเร็จ

งาน/โครงการ/กิจกรรม (ย่อๆ) (จำนวน/ร้อยละ)

2 โครงการพัฒนาผูเ้ รยี นให้มี 1. เพื่อสง่ เสริมการเข้าคา่ ย ดำเนนิ การพฒั นาจาก 1. ผู้เรียนมคี ุณธรรม

คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ คณุ ธรรม ความรว่ มมอื ของผทู้ ่ี จริยธรรม และค่านิยมไทย

กจิ กรรม 2. เพอ่ื สง่ เสริมการทำ เก่ียวข้อง 12 ประการ รอ้ ยละ 80

1. กิจกรรมเขา้ คา่ ยคุณธรรม กจิ กรรมวนั สำคญั (Stake holder) ตาม 2. ผู้เรียนมีคณุ ลกั ษณะทพ่ี งึ

2. กจิ กรรมวันสำคัญ 3. เพอ่ื ส่งเสริมกจิ กรรม แนวทางและวธิ ีการที่ ประสงคต์ ามหลักสูตร

3. กจิ กรรมประเพณีท้องถน่ิ ประเพณีท้องถ่นิ กำหนด แกนกลางการศึกษาข้นั

4.กจิ กรรมโรงเรยี นสะอาด 4. เพอ่ื สง่ เสรมิ กจิ กรรม 1. กจิ กรรมเขา้ ค่าย พน้ื ฐาน ร้อยละ 80

รม่ รนื่ โรงเรียนสะอาดรม่ รื่น คณุ ธรรม2. กจิ กรรมวนั 3. ผู้เรยี นมคี วามภมู ใิ จใน

5. กิจกรรมส่งเสรมิ สขุ ภาพ 5. เพื่อสง่ เสริมกิจกรรม สำคัญ ทอ้ งถนิ่ และความเป็นไทย

6.กจิ กรรมโรงเรียนสขี าว โรงเรยี นสง่ เสรมิ สุขภาพ 3. กจิ กรรมประเพณี รอ้ ยละ 80

7.กิจกรรมสขุ ศึกษาใน 6. เพือ่ สง่ เสริมกจิ กรรม ทอ้ งถ่นิ 4. ผู้เรียนมสี ุขภาวะทาง

โรงเรียน โรงเรยี นสีขาว 4.กิจกรรมโรงเรยี นสะอาด ร่างกายและลกั ษณะจติ

8.กจิ กรรมครูพระสอน 7. เพ่ือสง่ เสริมกิจกรรม ร่มรน่ื สงั คมทด่ี ี ร้อยละ 80

ศลี ธรรมในโรงเรียน สขุ ศึกษาในโรงเรียน 5. กิจกรรมสง่ เสริมสขุ ภาพ

9.กิจกรรมธรรมศึกษาวนั 8. เพื่อสง่ เสริมกจิ กรรมครู 6.กจิ กรรมโรงเรียนสขี าว

เสาร์-อาทิตย์ พระสอนศีลธรรมใน 7.กิจกรรมสุขศึกษาใน

10.กจิ กรรมสหกรณ์ โรงเรียน โรงเรียน

โรงเรียน 9. เพ่ือส่งเสริมกจิ กรรม 8.กิจกรรมครูพระสอน

11.กิจกรรมปัจฉิมนิเทศ ศกึ ษาวันเสาร์-อาทติ ย์ ศลี ธรรมในโรงเรียน

12. กิจกรรมระบบดแู ล 10. เพอื่ สง่ เสรมิ กิจกรรม 9.กจิ กรรมธรรมศึกษาวนั

ช่วยเหลือ สหกรณ์โรงเรยี น เสาร์-อาทติ ย์

13. กิจกรรมโรงเรียน 11. เพ่ือสง่ เสรมิ กจิ กรรม 10.กิจกรรมสหกรณ์

คณุ ธรรมชนั้ นำ ปจั ฉมิ นเิ ทศ โรงเรยี น

14. กจิ กรรมออมทรัพย์ 12. เพื่อสง่ เสรมิ กจิ กรรม 11.กิจกรรมปจั ฉิมนิเทศ

นักเรียน ระบบดแู ลชว่ ยเหลอื 12. กิจกรรมระบบดูแล

15. กจิ กรรมครูD.A.R.E นักเรยี น ชว่ ยเหลอื

ประเทศไทย 13. เพื่อส่งเสริมกิจกรรม 13. กิจกรรมโรงเรยี น

16 กิจกรรมอาหารเสริมนม โรงเรียนคุณธรรมชน้ั นำ คุณธรรมช้ันนำ

17. กจิ กรรมอาหารกลางวัน 14. เพอ่ื ส่งเสรมิ กจิ กรรม 14. กิจกรรมออมทรพั ย์

ท่ี ชอ่ื วตั ถุประสงค์/เปา้ หมาย วธิ ดี ำเนนิ การ 50

งาน/โครงการ/กิจกรรม (ย่อๆ) ตัวบ่งชคี้ วามสำเรจ็
(จำนวน/รอ้ ยละ)

18. กจิ กรรมแขง่ ขันกฬี าสี/ ออมทรัพย์นักเรียน นักเรยี น

กฬี ากล่มุ 15. เพ่อื สง่ เสริมกิจกรรมครู 15. กิจกรรมครูD.A.R.E

19. กิจกรรมประชมุ D.A.R.E ประเทศไทย ประเทศไทย

ผู้ปกครอง 16. เพอ่ื สง่ เสริมกจิ กรรม 16 กิจกรรมอาหารเสริม

20. กิจกรรมสอบธรรมะทาง อาหารเสรมิ (นม) นม

ก้าวหนา้ 17. เพื่อส่งเสรมิ กิจกรรม 17. กจิ กรรมอาหาร

21. กิจกรรมทดสอบ อาหารกลางวัน กลางวนั

สมรรถภาพ 18. เพ่ือส่งเสรมิ กิจกรรม 18. กจิ กรรมแขง่ ขนั กีฬา

กีฬาสี/กีฬากลมุ่ ส/ี กฬี ากลุ่ม

19. เพื่อสง่ เสริมกจิ กรรม 19. กจิ กรรมประชุม

ประชมุ ผ้ปู กครอง ผู้ปกครอง

20. เพื่อสง่ เสรมิ กิจกรรม 20. กจิ กรรมสอบธรรมะ

สอบธรรมะทางก้าวหน้า ทางกา้ วหนา้

21. เพื่อสง่ เสริมกิจกรรม 21. กิจกรรมทดสอบ

ทดสอบสมรรถภาพ สมรรถภาพ

ระดับขั้นพ้นื ฐาน

ท่ี ชอ่ื วตั ถุประสงค์/เป้าหมาย วธิ ดี ำเนินการ ตัวบ่งชี้ความสำเรจ็

งาน/โครงการ/กจิ กรรม (ย่อๆ) (จำนวน/รอ้ ยละ)

3 โครงการโรงเรียนประชารัฐ 1.เพอ่ื ให้ผเู้ รยี นมี ดำเนินการพัฒนาจากความ 1.ผเู้ รียนทกุ ระดบั ช้นั มี

ส่งเสริมคุณธรรม จรยิ ธรรม คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ รว่ มมือของผู้ทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์

และคา่ นิยมท่ีพงึ ประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลาง (Stake holder) ตาม ตามหลกั สตู รแกนกลาง

กจิ กรรม การศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน แนวทางและวิธีการท่ี การศึกษาขน้ั พ้ืนฐานรอ้ ยละ

1. ปัญหาท่อี ยากแก้ ความดี 2.เพอื่ ใหผ้ เู้ รียนมีคุณธรรม กำหนด 80

ทีอ่ ยากทำ จรยิ ธรรมและค่านิยมไทย 1. ปัญหาท่อี ยากแก้ ความดี 2. .ผเู้ รียนทุกระดบั ชนั้ มี

2. ประชาธปิ ไตยในโรงเรียน 12 ประการ ทีอ่ ยากทำ คณุ ธรรมจรยิ ธรรมและ

3. บันทึกความดี 3.เพ่ือใหผ้ ู้เรียนมีพฤตกิ รรม 2. ประชาธปิ ไตยในโรงเรียน คา่ นิยมไทย 12 ประการ

4. คา่ ยคณุ ธรรม ที่ไม่พงึ ประสงค์ลดน้อยลง 3. บนั ทกึ ความดี รอ้ ยละ 80

5.ลกู เสอื – เนตรนารี 4.เพอื่ ให้ผู้เรยี นมีพฤตกิ รรม 4. คา่ ยคุณธรรม 3.ผู้เรียนมีพฤติกรรมที่ไม่พงึ

51

ท่ี ช่อื วัตถุประสงค์/เปา้ หมาย วิธดี ำเนนิ การ ตวั บง่ ชี้ความสำเรจ็
งาน/โครงการ/กจิ กรรม (จำนวน/รอ้ ยละ)
(ย่อๆ) ประสงค์ลดน้อยลงรอ้ ยละ
6.เด็กไทยไหว้สวย 80
7.วนั สำคัญของชาติและ ท่พี ึงประสงคด์ า้ น ความ 5.ลกู เสอื – เนตรนารี 4.ผูเ้ รยี นมีพฤติกรรมที่พงึ
ศาสนา ประสงค์ดา้ น ความพอเพียง
8.วันศกุ ร์สุดสปั ดาห์ พอเพยี ง ความกตญั ญู และ 6.เดก็ ไทยไหว้สวย ความกตญั ญู และความ
9.ครูพระสอนศลี ธรรมใน ซ่ือสัตย์สจุ รติ ในโรงเรยี น
โรงเรยี น ความซือ่ สตั ย์สจุ รติ ใน 7.วนั สำคัญของชาติและ เพ่ิมข้ึนร้อยละ 5
5ผู้เรียนมี.มกี ระบวนการมี
โรงเรยี นเพ่มิ ขนึ้ ศาสนา
สว่ นรว่ ม และสรา้ งความ
5.เพอื่ ให้ผเู้ รียน มี 8.วันศกุ ร์สดุ สปั ดาห์
รับผดิ ชอบจากผู้เกย่ี วข้องใน
กระบวนการมสี ว่ นรว่ ม 9.ครพู ระสอนศลี ธรรมใน
และสร้างความรบั ผดิ ชอบ โรงเรยี น โรงเรยี น

จากผูเ้ กีย่ วข้องในโรงเรยี น

ระดับข้นั พ้นื ฐาน

ท่ี ชื่อ วัตถุประสงค์/เปา้ หมาย วิธีดำเนินการ ตัวบ่งชีค้ วามสำเร็จ
(จำนวน/รอ้ ยละ)
งาน/โครงการ/กจิ กรรม (ย่อๆ) 1.ผเู้ รยี นทกุ ระดบั ชนั้ มี
รูห้ ลักปรชั ญาของ
4 โครงการศาสตร์พระราชา 1. เพอ่ื ให้ผเู้ รียนไดเ้ รยี นรหู้ ลกั ดำเนินการพฒั นาจาก เศรษฐกจิ พอเพยี ง
ตามกรอบ สามห่วง
สกู่ ารพฒั นาอย่างย่ังยืน ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ความร่วมมอื ของผทู้ ี่ (พอประมาณ มเี หตผุ ล
มีภูมิคุ้มกันในตวั ทด่ี ี)
กิจกรรม ตามกรอบ สามหว่ ง(พอประมาณ เกีย่ วขอ้ ง สองเง่ือนไข(ความรู้
คุณธรรม)ร้อยละ 85
1.ปลูกมะนาว มเี หตผุ ล มีภมู ิคุ้มกันในตัวที่ด)ี (Stake holder) ตาม 2 ผเู้ รียนทุกระดบั ช้นั
นำหลกั ปรัชญาสู่การ
2. กจิ กรรมปลูกผกั สวนครวั สองเงือ่ นไข(ความรู้ คุณธรรม) แนวทางและวิธีการท่ี ปฏิบตั อิ ย่างเปน็
รูปธรรมทัง้ ในโรงเรยี น
3. เล้ียงปลาในบ่อซีเมนต์ 2 เพ่ือใหน้ ักเรยี นนำหลกั ปรชั ญา กำหนด และทีบ่ า้ น ร้อยละ 85
3 ผู้เรียนทกุ ระดบั ชัน้
4.กจิ กรรมสวนสมุนไพร สู่การปฏบิ ตั ิอยา่ งเป็นรปู ธรรมทั้ง 1.ปลกู มะนาว ทำงานอย่างมีความสขุ

ในโรงเรยี นและทีบ่ า้ น 2. กิจกรรมปลูกผกั สวน

3 เพอ่ื ใหน้ ักเรียนทำงานอย่างมี ครัว3. เล้ียงปลาในบอ่

ความสขุ พฒั นางานและภูมใิ จใน ซเี มนต์

ผลงานของตนเอง 4.กจิ กรรมสวนสมุนไพร

.4 เพ่ือให้นักเรียนทำงานร่วมกบั

ผู้อ่ืนได้

ที่ ชือ่ วัตถุประสงค์/เป้าหมาย วธิ ีดำเนนิ การ 52
งาน/โครงการ/กจิ กรรม (ย่อๆ)
ตัวบง่ ชคี้ วามสำเร็จ
(จำนวน/รอ้ ยละ)
พัฒนางานและภมู ใิ จ
ในผลงานของตนเอง
ร้อยละ 85
4. ผู้เรยี นทกุ ระดบั ช้นั
ทำงานร่วมกับผู้อ่ืนได้
รอ้ ยละ 85

ระดบั ข้นั พืน้ ฐาน

ท่ี ชื่อ วตั ถปุ ระสงค์/เปา้ หมาย วธิ ดี ำเนนิ การ ตวั บง่ ช้คี วามสำเร็จ

งาน/โครงการ/กจิ กรรม (ย่อๆ) (จำนวน/รอ้ ยละ)

5 โครงการยกระดับผล 1.เพือ่ ให้ผู้เรียนมผี ลสมั ฤทธ์ิ ดำเนนิ การพฒั นาจาก 1. ผู้เรยี นทุกระดับชัน้ มี

ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น ทางการเรียนตามหลักสูตร ความร่วมมือของผู้ที่ ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนตาม

ของผ้เู รียน สถานศึกษาสูงข้ึน เกยี่ วข้อง หลักสูตรสถานศึกษาร้อยละ

กิจกรรม 2.เพือ่ ใหผ้ ู้เรียนมีผลประเมิน (Stake holder) ตาม 80
1. ครูสอนโดยใชแ้ ผนการ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียนตาม แนวทางและวธิ ีการท่ี
จัดการเรียนรู้ หลักสตู รระดบั ดีข้ึนไป กำหนด 2. ผูเ้ รียนทกุ ระดับชน้ั มผี ล
2.สอนซอ่ มเสริม ใช้การบา้ น 1. ครูสอนโดยใช้ ประเมินสมรรถนะสำคัญของ
ทำแบบฝกึ หัด 4 เพ่ือให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ แผนการจัดการเรียนรู้ ผู้เรยี นตามหลักสูตรร้อยละ
3. จดั ค่ายวชิ าการ ทางการเรียนจากการทดสอบ 2.สอนซอ่ มเสริม ใช้ 80

4. ไปแหล่งเรียนรทู้ ั้งภายใน ระดบั ชาติ (O-NET) สูงข้ึน การบา้ นทำแบบฝกึ หดั 4 . ผู้ เรี ย น มี ผ ล สั ม ฤ ท ธิ์

และภายนอกโรงเรยี น 3. จดั คา่ ยวิชาการ ทางการเรียนจากการทดสอบ

5. ใชส้ ่ือ DLTV /DLIT สื่อ 4. ไปแหล่งเรยี นรู้ทงั้ ระดบั ชาติ(O-NET)เพิ่มขึน้

มัลติมีเดีย ภายในและภายนอก ร้อยละ 3
6.กิจกรรมติว O-NET, NT, โรงเรียน

RT 5. ใชส้ อื่ DLTV /DLIT

7. กจิ กรรมเพ่ือนชว่ ยเพ่ือน สือ่ มลั ตมิ ีเดีย

6.กจิ กรรมตวิ O-NET,

NT, RT

7. กิจกรรมเพ่ือนช่วย

เพ่อื น

53

ระดับข้ันพ้นื ฐาน

ที่ ช่อื วตั ถุประสงค์/เปา้ หมาย วิธดี ำเนินการ ตัวบง่ ชค้ี วามสำเร็จ

งาน/โครงการ/กจิ กรรม (ย่อๆ) (จำนวน/รอ้ ยละ)

6 โครงการสง่ เสริมและ 1.เพือ่ ให้ครูมีการกำหนด ดำเนินการพัฒนาจาก 1. ครมู กี ารกำหนดเปา้ หมาย

พัฒนาบุคลากรทาง เป้าหมายคณุ ภาพผูเ้ รียนทงั้ ความร่วมมือของผู้ท่ี คณุ ภาพผู้เรียนทั้งดา้ นความรู้

การศึกษา ดา้ นความรู้ ทกั ษะ เกย่ี วข้อง ทกั ษะ กระบวนการ

กจิ กรรม กระบวนการ สมรรถนะ และ (Stake holder) ตาม สมรรถนะ และคุณลักษณะท่ี

1 อบรม สมั มนา คณุ ลกั ษณะทีพ่ ึงประสงค์ แนวทางและวธิ ีการที่ พงึ ประสงค์ อยใู่ นระดบั ยอด

- สนับสนุนให้เขา้ อบรมที่ 2.เพอ่ื ให้ครใู ช้ข้อมูลในการวาง กำหนด เยีย่ ม

เขตพื้นทีจ่ ดั ข้ึน แผนการจัดการเรยี นร้เู พอ่ื 1 อบรม สมั มนา 2.ครูใชข้ อ้ มลู ในการวาง

- สนับสนนุ ให้เข้ารับการ พัฒนาศักยภาพของผเู้ รียน - สนบั สนนุ ใหเ้ ข้า แผนการจดั การเรียนรู้เพอื่

อบรมท่ีหน่วยงานต่าง ๆ จดั 3.เพ่ือให้ครูออกแบบและ อบรมท่ีเขตพน้ื ท่ีจดั ขน้ึ พัฒนาศักยภาพของผเู้ รยี น

ขนึ้ จดั การเรียนรูท้ ี่ตอบสนองความ - สนบั สนนุ ให้เข้ารบั อยใู่ นระดับยอดเยยี่ ม

- สนับสนุนให้เขา้ รับการ แตกต่างระหว่างบคุ คลและ การอบรมท่หี น่วยงาน 3.ครอู อกแบบและจัดการ

อบรมดว้ ยตนเอง ผา่ น พฒั นาการ ต่าง ๆ จัดขนึ้ เรียนรทู้ ี่ตอบสนองความ

ระบบ Online เช่น TV ครู ทางสติปญั ญา - สนับสนุนใหเ้ ขา้ รับ แตกตา่ งระหวา่ งบุคคลและ

อบรมครูระบบทางไกลผา่ น 4. เพอ่ื ให้ครสู อ่ื และเทคโนโลยี การอบรมดว้ ยตนเอง พัฒนาการ ทางสติปัญญา

ดาวเทียม E – Training ที่เหมาะสม ผนวกกับการนำ ผ่านระบบ Online อยใู่ นระดบั ยอดเยย่ี ม

TEPE บริบทและภูมปิ ัญญาของ เช่น TV ครู อบรมครู 4.ครมู สี อื่ และเทคโนโลยีท่ี

2.ศึกษาดูงานเพื่อพัฒนาครู ทอ้ งถิ่นมา บูรณาการในการ ระบบทางไกลผ่าน เหมาะสม ผนวกกบั การนำ

และบคุ ลากรทางการศึกษา จดั การเรยี นรู้ ดาวเทียม E – บรบิ ทและภมู ิปญั ญาของ

3.จ้างบคุ ลากรทางการ 5. เพือ่ ให้ครูมกี ารวัดและ Training TEPE ท้องถน่ิ มา บูรณาการในการ

ศกึ ษา ประเมนิ ผลท่มี ุ่งเนน้ การ 2.ศกึ ษาดูงานเพื่อ จัดการเรียนรู้ อยใู่ นระดับ

4. กจิ กรรม PLC พัฒนาการเรยี นรู้ของผ้เู รยี น พฒั นาครแู ละบุคลากร ยอดเย่ยี ม

5. กิจกรรมวจิ ัยในช้นั เรยี น ดว้ ยวิธีการที่หลากหลาย ทางการศึกษา 5.ครมู มี กี ารวดั และ

6. กจิ กรรมทำแผนพฒั นา 6. เพือ่ ให้ครแู ก้ปัญหาใหก้ บั 3.จา้ งบุคลากรทางการ ประเมินผลทม่ี ่งุ เนน้ การ

ตนเอง (ID PLAN) ผู้เรยี นทงั้ ด้านการเรียนและ ศึกษา พฒั นาการเรยี นรู้ของผ้เู รียน

7. กิจกรรมทำรายงาน คณุ ภาพชวี ิตดว้ ยความเสมอ 4. กิจกรรม PLC ด้วยวธิ ีการทหี่ ลากหลาย อยู่

ประเมนิ ตนเอง (SSR) ภาพ 5. กจิ กรรมวจิ ัยในชั้น ในระดบั ยอดเยย่ี ม

8. กิจกรรมผลิต จัดหาสอ่ื 7.เพื่อให้ครมู ีการศกึ ษาวิจัย เรยี น 6.ครูแกป้ ัญหาให้กับผู้เรียน

54

ท่ี ชอื่ วตั ถปุ ระสงค์/เป้าหมาย วิธดี ำเนินการ ตวั บ่งช้คี วามสำเร็จ
งาน/โครงการ/กจิ กรรม
นวัตกรรม (ย่อๆ) (จำนวน/รอ้ ยละ)

และพัฒนาการจัดการเรยี นร้ใู น 6. กจิ กรรมทำ ท้ังดา้ นการเรียนและคุณภาพ

วิชาทตี่ นรบั ผิดชอบและใช้ผล แผนพัฒนาตนเอง (ID ชีวติ ดว้ ยความเสมอภาพ อยู่

ในการปรบั การสอนพืน้ ฐาน PLAN) ในระดบั ยอดเยี่ยม

8.เพ่อื ให้ครปู ระพฤติตนเปน็ 7. กิจกรรมทำรายงาน 7.ครูมกี ารศึกษาวิจัยและ

แบบอย่างท่ดี แี ละเปน็ สมาชิกที่ ประเมนิ ตนเอง (SSR) พฒั นาการจัดการเรียนร้ใู น

ดีของสถานศึกษา 8. กจิ กรรมผลิต จดั หา วิชาท่ีตนรบั ผดิ ชอบและใช้

9. เพื่อให้ครจู ัดการเรียนการ สื่อ นวตั กรรม ผลในการปรบั การสอน

สอนตามกลุ่มสาระอย่าง พืน้ ฐาน อยใู่ นระดับยอด

ครบถว้ นและมุ่งพัฒนาผเู้ รียน เย่ียม

ใหม้ ีคณุ ภาพตามทีห่ ลกั สตู ร 8. ครมู ี ประพฤติตนเปน็

กำหนด แบบอย่างทีด่ ีและเป็นสมาชิก

ทด่ี ีของสถานศึกษา อยใู่ น

ระดบั ยอดเยีย่ ม

9. ครูจัดการเรียนการสอน

ตามกลุ่มสาระอยา่ งครบถ้วน

และมุ่งพัฒนาผเู้ รยี นให้มี

คุณภาพตามท่หี ลักสตู ร

กำหนด อยใู่ นระดบั ยอด

เยย่ี ม

ระดบั ข้นั พน้ื ฐาน

ที่ ชือ่ วตั ถปุ ระสงค์/เป้าหมาย วิธีดำเนนิ การ ตวั บ่งช้คี วามสำเร็จ

งาน/โครงการ/ (ย่อๆ) (จำนวน/ร้อยละ)

กจิ กรรม

7 โครงการอบรมพัฒนา 1เพ่ือให้ผูบ้ ริหารมี ดำเนนิ การพัฒนาการประกัน 1ผบู้ รหิ ารมคี วามคิดรเิ ริ่ม

ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา ความคิดรเิ ร่มิ สร้างสรรค์ คุณภาพของสถานศึกษาจาก สร้างสรรค์มีวสิ ยั ทศั น์ และ

กิจกรรม มวี สิ ัยทศั น์ และเป็นผู้นำ ความรว่ มมอื ของผทู้ ่ีเกี่ยวข้อง เปน็ ผู้นำทางวชิ าการอยู่ใน

1.อบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการ ทางวชิ าการ (Stake holder) ตามแนวทาง ระดับยอดเย่ียม

ภาวะผนู้ ำ มวี สิ ยั ทัศน์ 2.เพ่อื ให้ผู้บริหารใช้ และวิธีการทก่ี ำหนด 2.ผูบ้ รหิ ารใช้หลกั การบริหาร

นักการบรหิ าร หลกั การบริหารแบบมี 1.อบรมเชงิ ปฏิบัตกิ ารภาวะผู้นำ แบบมีสว่ นรว่ ม และส่งเสรมิ

55

ท่ี ช่ือ วัตถุประสงค์/เป้าหมาย วิธีดำเนนิ การ ตวั บง่ ชีค้ วามสำเร็จ
(จำนวน/ร้อยละ)
งาน/โครงการ/ (ย่อๆ)
พฒั นาคณุ ภาพผูเ้ รยี นอยู่ใน
กจิ กรรม ระดบั ยอดเยยี่ ม
3.ผบู้ ริหารมีความสามารถใน
2.การบริหารตามหลกั สว่ นร่วม และสง่ เสรมิ มีวสิ ยั ทศั น์นกั การบรหิ าร การบริหารงานวชิ าการและ
การจัดการ อยใู่ นระดบั ยอด
ธรรมาภิบาล พฒั นาคณุ ภาพผู้เรียน 2.การบรหิ ารตามหลักธรรมาภิ เยย่ี ม
4.ผู้บริหารสง่ เสรมิ และพฒั นา
3.การสร้างขวญั และ 3.เพอ่ื ใหผ้ ู้บริหารมี บาล ศักยภาพบุคลากรให้พรอ้ มรบั
การกระจายอำนาจ อยใู่ น
กำลังใจแก่ครูและ ความสามารถในการ 3.การสร้างขวัญและกำลงั ใจแก่ ระดับยอดเยย่ี ม
5.นักเรียน ผูป้ กครอง และ
บคุ ลากรทางการศึกษา บรหิ ารงานวชิ าการและ ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา ชุมชนพึงพอใจผลการบริหาร
การจดั การศึกษารอ้ ยละ80
4.การนิเทศ กำกบั การจดั การ 4.การนเิ ทศ กำกับตดิ ตามการ 6.ผู้บรหิ ารจดั การศกึ ษาเต็ม
ศกั ยภาพและเต็มเวลาตามที่
ติดตามการดำเนินงาน 4.เพอ่ื ใหผ้ บู้ ริหารส่งเสริม ดำเนินงานของครูและบคุ ลากร หลกั สตู รกำหนด อยใู่ นระดับ
ยอดเยย่ี ม
ของครูและบุคลากร และพฒั นาศกั ยภาพ ทางการศึกษา

ทางการศึกษา บุคลากรให้พร้อมรับการ 4.การกระจายอำนาจในการจัด

4.การกระจายอำนาจ กระจายอำนาจ การศกึ ษา

ในการจัดการศกึ ษา 5.เพอ่ื ให้นักเรยี น

ผ้ปู กครอง และชมุ ชนพงึ

พอใจผลการบรหิ ารการ

จัดการศกึ ษา

6.เพอื่ ให้ผูบ้ รหิ ารจดั

การศกึ ษาเต็มศักยภาพ

และเต็มเวลาตามที่

หลักสตู รกำหนด

ระดบั ขัน้ พ้นื ฐาน

ท่ี ชอ่ื วัตถปุ ระสงค์/เปา้ หมาย วิธีดำเนนิ การ ตัวบ่งชค้ี วามสำเรจ็
(จำนวน/รอ้ ยละ)
งาน/โครงการ/กจิ กรรม (ย่อๆ) 1.สถานศกึ ษามกี าร
กำหนดมาตรฐาน
8 โครงการพัฒนาระบบ 1. เพือ่ ให้สถานศึกษามีการ ดำเนนิ การพฒั นาการประกัน การศึกษาข้ันพื้นฐาน
2.สถานศกึ ษาจดั ทำ
ประกันคณุ ภาพภายใน กำหนดมาตรฐานการศึกษา คณุ ภาพของสถานศึกษาจาก และดำเนนิ การตาม
แผนพัฒนาการศกึ ษา
ของสถานศกึ ษา ขน้ั พื้นฐาน ความรว่ มมอื ของผูท้ ี่เก่ียวข้อง ของสถานศึกษาท่สี อด

กจิ กรรม 2.เพื่อใหจ้ ดั ทำและดำเนนิ การ (Stake holder) ตามแนวทาง

1. การจดั ระบบรหิ าร ตามแผนพัฒนาการศึกษาของ และวธิ ีการท่ีกำหนด

และสารสนเทศ สถานศกึ ษาที่สอดรบั 1. การจดั ระบบรหิ ารและ

2.การพฒั นามาตรฐาน มาตรฐานการศึกษาของ สารสนเทศ

56

ที่ ช่อื วัตถปุ ระสงค์/เปา้ หมาย วธิ ีดำเนนิ การ ตัวบ่งชค้ี วามสำเร็จ

งาน/โครงการ/กจิ กรรม (ย่อๆ) (จำนวน/ร้อยละ)

การศึกษา สถานศกึ ษา 2. การพัฒนามาตรฐาน รบั มาตรฐานการศึกษา

3.การจัดทำแผนพฒั นา 3.เพื่อให้มีการประเมินผลและ การศกึ ษา ของสถานศึกษา

คณุ ภาพการศึกษา ตดิ ตามตรวจสอบคุณภาพ 3. การจัดทำแผนพฒั นาคุณภาพ 3.สถานศกึ ษาการ

4.การตรวจสอบและ ภายในของสถานศึกษา การศึกษา ประเมินผลและติดตาม

ทบทวนคณุ ภาพ 4.เพ่อื ใหส้ ถานศึกษาจดั ทำ 4. การตรวจสอบและทบทวน ตรวจสอบคุณภาพ

การศกึ ษา รายงานผลการประเมนิ ตนเอง คณุ ภาพการศึกษา ภายในของสถานศึกษา

5.การประเมนิ คุณภาพ ประจำปี 5.การประเมินคุณภาพ 4.สถานศึกษาจัดทำ

การศึกษา (SAR) 5.เพื่อให้มกี ารนำผลการ การศึกษา (SAR) รายงานผลการประเมนิ

6จดั ทำรายงานคณุ ภาพ ประเมนิ คุณภาพภายในไป 6จดั ทำรายงานคุณภาพ ตนเองประจำปี

การศึกษาประจำปี ปรบั ปรงุ และพฒั นาคุณภาพ การศกึ ษาประจำปี 5.สถานศกึ ษามีการนำ

สถานศึกษาอย่างต่อเนอ่ื ง ผลการประเมนิ คุณภาพ

6.เพื่อให้ผมู้ สี ว่ นเกยี่ วขอ้ งได้มี ภายในไปปรับปรงุ และ

ส่วนรว่ มในการจัดทำรายงาน พฒั นาคุณภาพ

ผลการประเมนิ ตนเองของ สถานศกึ ษาอย่าง

สถานศึกษา ตอ่ เนือ่ ง

6.ผูม้ สี ่วนเกยี่ วข้องไดม้ ี

สว่ นรว่ มในการจัดส่ง

ทำรายงานผลการ

ประเมนิ ตนเองของ

สถานศึกษา

ระดับขน้ั พน้ื ฐาน

ท่ี ช่ือ วัตถปุ ระสงค์/เปา้ หมาย วิธดี ำเนนิ การ ตวั บง่ ช้คี วามสำเร็จ

งาน/โครงการ/กิจกรรม (ย่อๆ) (จำนวน/ร้อยละ)

9 โครงการสานสมั พนั ธช์ ุมชน 1.เพอ่ื ใหผ้ ู้ปกครองและชมุ ชน ดำเนินการพฒั นาการประกนั 1.ผูป้ กครองและ

แหง่ การเรียนรู้ เขา้ มามสี ่วนร่วมในการพฒั นา คุณภาพของสถานศึกษาจาก ชมุ ชนเข้ามามสี ่วน

. กิจกรรม สถานศึกษา ความรว่ มมอื ของผทู้ เี่ กี่ยวข้อง ร่วมในการพัฒนา

1.ประชุมคณะกรรมการ 2. เพอื่ ให้มีการสรา้ งและ (Stake holder) ตามแนวทาง สถานศึกษา

สถานศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พัฒนาแหล่งเรียนรภู้ ายใน และวธิ ีการทกี่ ำหนด รอ้ ยละ 80

2.ประชมุ ผปู้ กครอง สถานศึกษาและใชป้ ระโยชน์ 1.ประชุมคณะกรรมการ 2. ผปู้ กครองและ

3. ประชุมกลุ่มเครือขา่ ย จากแหล่งเรียนรูท้ ั้งภายในและ สถานศึกษาขั้นพนื้ ฐาน ชุมชนมีการสร้างและ

ที่ ชอื่ วตั ถุประสงค์/เปา้ หมาย วิธดี ำเนินการ 57
งาน/โครงการ/กจิ กรรม
(ย่อๆ) ตัวบง่ ชคี้ วามสำเรจ็
สถานศึกษา (จำนวน/ร้อยละ)
4. ให้ความรว่ มมือกบั ภายนอกสถานที่เพ่ือพฒั นาการ 2.ประชมุ ผูป้ กครอง พัฒนาแหลง่ เรียนรู้
หน่วยงานทีเ่ กย่ี วข้อง ภายในสถานศึกษา
5รว่ มงานประเพณีท้องถนิ่ เรยี นรู้ของผ้เู รยี นและบคุ ลากร 3. ประชุมกลุ่มเครือขา่ ย และใชป้ ระโยชนจ์ าก
แหล่งเรียนรูท้ ้ัง
ของสถานศึกษารวมท้งั ผู้ท่ี สถานศึกษา ภายในและภายนอก
สถานท่เี พ่ือ
เกยี่ วขอ้ ง 4. ให้ความร่วมมือกบั พัฒนาการเรยี นรู้ของ
ผ้เู รียนและบุคลากร
3. เพอื่ ใหม้ ีการแลกเปล่ียน หนว่ ยงานที่เกีย่ วข้อง ของสถานศึกษา
รวมทง้ั ผูท้ เ่ี กย่ี วข้อง
เรยี นรรู้ ะหวา่ งบคุ ลากรภายใน 5ร่วมงานประเพณีท้องถน่ิ ร้อยละ 80
3. ผปู้ กครองและ
สถานศกึ ษาระหว่าง ชุมชนแลกเปลยี่ น
เรยี นรู้ระหวา่ ง
สถานศึกษากบั ครอบครวั ชุมชน บคุ ลากรภายใน
สถานศึกษาระหว่าง
และองคก์ รท่ีเกี่ยวข้อง สถานศึกษากับ
ครอบครวั ชมุ ชนและ
องค์กรท่เี กี่ยวข้อง
รอ้ ยละ 80

ระดบั ข้นั พ้ืนฐาน วัตถุประสงค์/เปา้ หมาย วธิ ีดำเนินการ ตวั บ่งชี้ความสำเรจ็
ที่ ชอื่ (ย่อๆ) (จำนวน/รอ้ ยละ)
1 เพ่ือพัฒนาหลกั สูตร 1 สถานศกึ ษามี
งาน/โครงการ/กิจกรรม สถานศึกษาใหเ้ หมาะสมกับ ดำเนินการพัฒนาการ หลกั สตู รสถานศึกษา
10 โครงการพัฒนาหลักสูตร ผเู้ รยี นและท้องถ่ิน ประกันคุณภาพของ ใหเ้ หมาะสมกับผูเ้ รยี น
2 เพอื่ ใหห้ ลักสตู รสถานศึกษา สถานศกึ ษาจากความ และท้องถิ่น อยู่ใน
กระบวนการเรยี นรู้ มีรายวิชาและกจิ กรรมท่ี ร่วมมือของผูท้ ่ีเกย่ี วขอ้ ง ระดับยอดเยี่ยม
กิจกรรม หลากหลายเลอื กเรยี นตาม (Stake holder) ตาม 2 เสถานศกึ ษามี
1. ปรับปรงุ พฒั นาหลกั สตู ร แนวทางและวิธีการท่ี
สถานศึกษา
2. จดั กิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น

58

ท่ี ชอื่ วตั ถุประสงค์/เปา้ หมาย วธิ ีดำเนินการ ตวั บ่งชี้ความสำเรจ็
(ย่อๆ) (จำนวน/รอ้ ยละ)
งาน/โครงการ/กจิ กรรม หลักสตู รสถานศกึ ษามี
กำหนด รายวิชาและกจิ กรรมท่ี
ที่สอดคล้องกบั ความถนัด ความสนใจ 1. ปรับปรงุ พฒั นาหลกั สูตร หลากหลายเลอื กเรยี น
สถานศกึ ษา ตามความสนใจ อยู่ใน
ความสามารถของผเู้ รยี น 3 เพื่อส่งเสริมใหค้ รจู ดั ทำ 2. จัดกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียน ระดับยอดเยีย่ ม
ท่สี อดคล้องกบั ความถนัด 3 สถานศกึ ษาใหค้ รู
3. จดั กจิ กรรมชมุ นุมท่ี แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ความสามารถของผู้เรียน จัดทำแผนการจัดการ
3. จัดกจิ กรรมชุมนมุ ท่ี เรยี นรทู้ ่ตี อบสนอง
หลากหลาย ตอบสนองความถนัด และ หลากหลาย ความถนดั และ
4. นเิ ทศ กำกับติดตามการ ความสามารถของ
4. นเิ ทศ กำกบั ตดิ ตามการ ความสามารถของผ้เู รยี นและ จดั การเรยี นการสอนของ ผเู้ รยี นและพฒั นา
นวตั กรรมการจดั การ
จดั การเรียนการสอนของครู พฒั นานวตั กรรมการจดั การ เรียนรู้ อย่ใู นระดับยอด
เยย่ี ม
เรยี นรู้ 4 ครูสามารถนิเทศ
กันเองได้และนำภูมิ
.4 ครูสามารถนิเทศกันเองได้ ปญั ญาท้องถ่ินมา
จดั การเรียนการสอนได้
และนำภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถ่นิ มา อยา่ งเหมาะสม อยู่ใน
ระดับยอดเย่ยี ม
จดั การเรยี นการสอนได้อยา่ ง

เหมาะสม

ระดับขั้นพน้ื ฐาน วัตถุประสงค์/เป้าหมาย วิธีดำเนินการ ตัวบง่ ช้ี
ที่ ชอื่ (ย่อๆ) ความสำเรจ็
(จำนวน/รอ้ ยละ)
งาน/โครงการ/กจิ กรรม 1. เพื่อให้โรงเรียนมสี ภาพแวดล้อมทเี่ ออื้ ดำเนินการพัฒนาการ 1 สถานศกึ ษามี
สภาพแวดลอ้ มที่
11 โครงการปรบั ปรงุ ภมู ิทัศน์ ต่อการจัดการเรยี นรู้ ประกนั คุณภาพของ เอื้อต่อการจัดการ
พัฒนาสภาพแวดล้อม เรยี นรู้ อยู่ในระดบั
กิจกรรม 2. เพอื่ ใหโ้ รงเรียนมีพน้ื ทีส่ ีเขยี วและส่งิ สถานศึกษาจากความ ยอดเยีย่ ม
1. ปรับปรงุ ตกแตง่
หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร อำนวยความสะดวกเพียงพอ ร่วมมือของผูท้ ี่

3. เพ่อื ใหโ้ รงเรยี นมสี ถานทีต่ ่างๆเปน็ เกยี่ วข้อง(Stake

59

ที่ ชอ่ื วัตถุประสงค์/เปา้ หมาย วิธดี ำเนินการ ตวั บง่ ช้ี
งาน/โครงการ/กิจกรรม
(ย่อๆ) ความสำเรจ็

(จำนวน/ร้อยละ)

2.โรงเรียนสะอาดร่มรนื่ แหล่งเรียนรทู้ ง้ั ในและนอกสถานท่ี holder) ตามแนวทาง 2 สถานศกึ ษามี
3. สง่ เสริมการใชแ้ หลง่
เรียนรู้ ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถ่นิ ใน และวิธกี ารที่กำหนด พ้ืนทส่ี ีเขียวและส่ิง
ชมุ ชนหลากหลายตามสภาพ
จรงิ 1. ปรบั ปรุงตกแตง่ อำนวยความ
4.จดั หา จัดซือ้ วสั ดอุ ุปกรณ์
สำนกั งาน หอ้ งปฏิบัติการ สะดวกเพยี งพอ อยู่

2.โรงเรียนสะอาด ในระดับยอดเย่ยี ม

ร่มรน่ื .3 สถานศกึ ษามี

3. ส่งเสริมการใช้แหลง่ สถานที่ต่างๆเป็น

เรยี นรู้ ภมู ิปญั ญา แหล่งเรยี นรทู้ ้ังใน

ทอ้ งถ่นิ ในชมุ ชน และนอกสถานที่

หลากหลายตามสภาพ อย่ใู นระดบั ยอด

จรงิ เยีย่ ม

4. จดั หา จัดซื้อวัสดุ

อปุ กรณ์ สำนักงาน

60

บทท่ี 3
การดำเนิน โครงการตามมาตรฐานการศกึ ษาปฐมวัย/ขนั้ พ้ืนฐาน

รายชื่อโครงการท่ีสนอง รองรับแตล่ ะมาตรฐานระดบั ปฐมวัย
สว่ นรายละเอียดโครงการปรากฏทแ่ี ผนปฏิบัตกิ ารระดบั ปฐมวยั

โครงการที่ ชอ่ื โครงการ มาตรฐาน/ประเด็นพิจารณา
1 โครงการส่งเสรมิ พัฒนาการด้านรา่ งกายของเด็กปฐมวยั 1.1
2 โครงการพัฒนาด้านอารมณ์จิตใจของเดก็ ปฐมวยั 1.2
3 โครงการพฒั นาดา้ นสงั คมของเด็กปฐมวยั 1.3
4 โครงการพฒั นาด้านสติปัญญาของเด็กปฐมวยั
5 โครงการพัฒนาหลักสตู รสถานศึกษาปฐมวัย 1.4 (ขอ้ เสนอแนะ สมศ.)
6 โครงการพฒั นาครผู สู้ อนปฐมวัย 2.1
7 โครงการพฒั นาครใู ห้เช่ียวชาญดา้ นการจัดประสบการณ์เด็ก 2.2
ปฐมวยั 2.3
8 โครงการจัดสภาพแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้
9 โครงการบริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ 2.4
10 โครงการประกนั คุณภาพปฐมวัย 2.5
11 โครงการสง่ เสรมิ เด็กปฐมวยั ให้มพี ัฒนาการทกุ ด้านอย่างสมดุล 2.6
เตม็ ศกั ยภาพ 3.1
12 โครงการจัดประสบการณ์การเรียนรู้
13 โครงการจัดบรรยากาศทเี่ อ้ือต่อการเรียนรู้ของเด็กปฐมวยั 3.2
14 โครงการประเมนิ พัฒนาการเดก็ ปฐมวยั 3.3
3.4

61

รายชื่อโครงการทีส่ นอง รองรับแตล่ ะมาตรฐานระดับขน้ั พืน้ ฐาน
สว่ นรายละเอยี ดโครงการปรากฏทแี่ ผนปฏบิ ัตกิ ารระดบั ขั้นพ้ืนฐาน

โครงการที่ ชอ่ื โครงการ มาตรฐาน/ประเดน็ พิจารณา
1 โครงการพัฒนาความสามารถในการอ่าน เขยี น คิดวิเคราะห์ คดิ มาตรฐานท่ี 1(1-4)
คำนวณและการสื่อสาร มาตรฐานท่ี 3 (3.1-3.5)
2 โครงการยกระดบั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผเู้ รยี น มาตรฐานที่ 1,3 (5)
3 โครงการ โรงเรยี นประชารัฐ สง่ เสรมิ คุณธรรม จรยิ ธรรมและคา่ นยิ ม มาตรฐานท่ี 1 (1.2.1)
ทีพ่ งึ ประสงค์
4 โครงการศาสตร์พระราชา สู่การพัฒนาอยา่ งย่ังยืน มาตรฐานท่ี 1 (1.2.1)
5 โครงการพฒั นาผู้เรยี นให้มีคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ มาตรฐานท่ี 1 (1.2.3,4)
6 พัฒนาระบบประกันคณุ ภาพภายในของสถานศึกษา มาตรฐานท่ี 2 (2.1,2.2,2.6)
7 พฒั นาหลักสูตรกระบวนการเรียนรู้ มาตรฐานที่ 2 (2.3)
8 สง่ เสรมิ และพัฒนาบุคลากรทางการศึกษา มาตรฐานที่ 2 (2.4,6)
9 อบรมพฒั นาผู้บริหารสถานศึกษา มาตรฐานท่ี 2 (2.4,6)
10 โครงการปรบั ภมู ทิ ัศนจ์ ัดสภาพแวดลอ้ ม มาตรฐานที่ 2 (2.5-2.6)
11 สานสัมพันธช์ มุ ชนแหง่ การเรียนรู้ มาตรฐานท่ี 3 (3.5)

62
บทท่ี 4

การนเิ ทศ ติดตามและรายงานผล

เพอ่ื ใหก้ ารดำเนนิ การพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรยี นบา้ นแก้งกอก มปี ระสิทธภิ าพ จงึ ตอ้ งมี
การติดตาม ตรวจสอบและรายงานผลการปฏบิ ตั ิงานของผู้มีสว่ นเก่ียวข้องทกุ ฝา่ ย ดงั นี้

ปฏทิ นิ การปฏิบตั ิงาน

การดำเนินการตดิ ตาม และประเมินผล ไดว้ างแนวทางในการนเิ ทศดังนี้

1. ประชมุ เตรียมความพร้อมก่อนเปดิ ภาคเรียน 1 ครั้ง / ภาคเรยี น

2. ศกึ ษาเอกสารทางวิชาการ 1 ครั้ง / เดือน

3. ใหค้ ำแนะนำปรกึ ษา 1 ครงั้ / สัปดาห์

4.สนทนา แลกเปล่ียนเรียนรู้ทางวิชาชีพ PLC 1 ครัง้ / สปั ดาห์

5.เยย่ี ม นเิ ทศชัน้ เรียน 1 ครั้ง / สปั ดาห์

6.สงั เกตพฤติกรรมการเรยี นการสอน 1 ครั้ง / สัปดาห์

7.การศึกษาดูงาน 1 ครัง้ / ภาคเรียน

8.จัดนทิ รรศการ เผยแพร่ผลงานครู / นักเรยี น 1 ครัง้ / ภาคเรยี น

9.นเิ ทศงานโครงการตามแผนปฏบิ ตั ิการ 1 ครั้ง / 1 กจิ กรรม

63

ปฏทิ นิ การจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรยี นร้ทู างวิชาชพี PLC ของโรงเรียนแกง้ กอก

ปกี ารศึกษา 2561

คร้ังที่ วนั ที่ เวลา หมายเหตุ
1 วันองั คารท่ี 22 พฤษภาคม 2561 15.30-17.30 น.
2 วนั อังคารท่ี 29 พฤษภาคม 2561 15.30-17.30 น.
3 วนั อังคารที่ 5 มิถนุ ายน 2561 15.30-17.30 น.
4 วันองั คารที่ 12 มถิ นุ ายน 2561 15.30-17.30 น.
5 วันองั คารท่ี 19 มิถนุ ายน 2561 15.30-17.30 น.
6 วันองั คารท่ี 26 มถิ นุ ายน 2561 15.30-17.30 น.
7 วนั องั คารท่ี 3 กรกฎาคม 2561 15.30-17.30 น.
8 วนั องั คารที่ 10 กรกฎาคม 2561 15.30-17.30 น.
9 วนั องั คารที่ 17 กรกฎาคม 2561 15.30-17.30 น.
10 วนั อังคารที่ 24 กรกฎาคม 2561 15.30-17.30 น.
11 วนั อังคารที่ 31 กรกฎาคม 2561 15.30-17.30 น.
12 วนั อังคารที่ 7 สงิ หาคม 2561 15.30-17.30 น.
13 วนั องั คารที่ 14 สงิ หาคม 2561 15.30-17.30 น.
14 วนั องั คารที่ 21 สงิ หาคม 2561 15.30-17.30 น.
15 วันองั คารท่ี 28 สิงหาคม 2561 15.30-17.30 น.
16 วันองั คารที่ 4 กนั ยายน 2561 15.30-17.30 น.
17 วันอังคาร 11 กันยายน 2561 15.30-17.30 น.
18 วันอังคาร 18 กนั ยายน 2561 15.30-17.30 น.
19 วนั อังคาร ที่ 25 กันยายน 2561 15.30-17.30 น.
20 วนั อังคาร ที่ 2 ตุลาคม 2561 15.30-17.30 น.
21 วนั อังคาร ท่ี 9 ตุลาคม 2561 15.30-17.30 น.
22 วนั อังคาร ที่ 6 พฤศจิกายน 2561 15.30-17.30 น.
23 วันองั คาร ท่ี 13 พฤศจกิ ายน 2561 15.30-17.30 น.
24 วันองั คาร ที่ 20 พฤศจกิ ายน 2561 15.30-17.30 น.
25 วันองั คาร ที่ 27 พฤศจกิ ายน 2561 15.30-17.30 น.
26 วันองั คาร ที่ 4 ธนั วาคม 2561 15.30-17.30 น.
27 วันอังคาร ที่ 11 ธนั วาคม 2561 15.30-17.30 น.
28 วันองั คาร ท่ี 18 ธันวาคม 2561 15.30-17.30 น.

64

ครง้ั ที่ วนั ที่ เวลา หมายเหตุ
29 วนั องั คาร ที่ 25 ธนั วาคม 2561 15.30-17.30 น.
30 วนั องั คาร ที่ 8 มกราคม 2562 15.30-17.30 น.
31 วนั องั คาร ที่ 15 มกราคม 2562 15.30-17.30 น.
32 วนั องั คาร ท่ี 22 มกราคม 2562 15.30-17.30 น.
33 วนั องั คาร ที่ 29 มกราคม 2562 15.30-17.30 น.
34 วันองั คาร ที่ 5 กุมภาพันธ์ 2562 15.30-17.30 น.
35 วนั อังคาร ท่ี 12 กมุ ภาพันธ์ 2562 15.30-17.30 น.
36 วนั องั คาร ท่ี 19 กมุ ภาพนั ธ์ 2562 15.30-17.30 น.
37 วนั องั คาร ที่ 26 กุมภาพนั ธ์ 2562 15.30-17.30 น.
38 วันองั คาร ท่ี 5 มนี าคม 2562 15.30-17.30 น.
39 วันองั คาร ท่ี 12 มีนาคม 2562 15.30-17.30 น.
40 วันอังคาร ท่ี 19 มีนาคม 2562 15.30-17.30 น.
41 วนั อังคาร ท่ี 26 มนี าคม 2562 15.30-17.30 น.

ปฏทิ ินการนเิ ทศการจัดการเรยี นการสอนโรงเรียนบ้านแกง้ กอก

กิจกรรมศกึ ษาสงั เกตชนั้ เรยี น (Open Class)

ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2561

คร้ังท่ี กจิ กรรมนเิ ทศ ชน้ั ผนู้ เิ ทศ ผู้รับการนิเทศ
1 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้
2 การจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ อ.2 ผบู้ รหิ าร /ครวู ิชาการ นางรณญา วิเวก
3 การจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน
อ.3 ผบู้ รหิ าร /ครูวิชาการ นางสาวหนนู อ้ ม พนั ตรา
4 การจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน
5 การจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน ป.1 ผู้บรหิ าร /ครูวชิ าการ นางนงค์ลกั ษณ์ สอแสง
6 การจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน
7 การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน นายเชาวฤทธิ์ แก้วกัญญา
8 การจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน
ป.2 ผู้บรหิ าร /ครูวิชาการ นางมลฤดี มนสั

ป.3 ผบู้ ริหาร /ครูวิชาการ นางรัศมี ชมทอง

ป.4 ผบู้ ริหาร /ครูวิชาการ นางเปรมกมล ละอองแกว้

ป.5 ผู้บรหิ าร /ครวู ิชาการ นางยพุ า วเิ ศษวงษา

ป.6 ผ้บู รหิ าร /ครูวิชาการ นางฉววี รรณ บุญปอง

นางยุวฉตั ร หลมุ ทอง

65

แนวทางการบรหิ ารแผนพัฒนาการศกึ ษาส่กู ารปฏิบัติและการตดิ ตามประเมินผล
การนำแผนสูก่ ารปฏบิ ตั แิ ละการตดิ ตามประเมนิ ผล

1. การนำแผนสกู่ ารปฏบิ ตั ิ
การนำแผนพัฒนาโรงเรียนไปสู่การปฏิบัตินับเป็นข้ันตอนที่สำคัญมาก เพราะเป็นความสามารถ

ที่จะผลักดันการทำงานของกลไกท่ีสำคัญทั้งหมด ให้สามารถบรรลุผลลัพธ์ตามท่ีต้ังเป้าหมายไว้
การดำเนินงานจะเกิดผลอย่างมีประสิทธิภาพจำเป็นอย่างย่ิงท่ีจะต้องผลักดันให้มี การปรับเปล่ียนแนวคิด
ค่านิยม เป้ามาย รวมถึงวิธีและกระบวนการทำงาน การนำแผนไปสู่การปฏิบัติจะต้องทำให้หน่วยงานยอมรับ
แนวทาง แผนงาน โครงงานนัน้ และพร้อมทน่ี ำแนวทางนัน้ ไปดำเนินการไดอ้ ย่างเหมาะสมกบั สภาพแวดลอ้ ม และ
วิธีการปฏิบัติงานของตน ดังนั้น จึงจำเป็นต้องมีการระดมกำลัง แสวงหาการสนับสนุน เพื่อให้เกิดการปฏิบัติ
และสร้างความเป็นปึกแผ่นให้เกิดขึ้นเพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องมีความรู้สึกเป็นเจ้าของและมีส่วนร่วม ดังนั้น เพื่อให้
บรรลุวัตถุประสงค์ และเป้าหมายของการพัฒนาคุณภาพการศึกษาจึงกำหนดแนวทางการนำแผนไปสู่การ
ปฏิบัติ โดยสงั เขป ดังน้ี

1) ผูบ้ รหิ ารโรงเรยี นผลักดันให้มกี ารดำเนินงานตามแผนอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ และสม่ำเสมอ
2) โรงเรียนจั ดทำแผนระยะกลางและจั ดทำแผนปฏิ บั ติ การ และดำเนิ นการตามแผน
มีการกำกับติดตาม ประเมินคุณภาพ ประสานงานกับหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง เพ่ือให้ประสบผลสำเร็จตามที่
มงุ่ หวังไว้
3) เร่งรัดให้หน่วยงานดำเนินงาน เพ่ือเผยแพร่และเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เก่ียวกับ
สาระสำคัญของแผนให้ครูและบุคลากรที่เก่ียวข้องได้ทราบ มีส่วนร่วมและให้การสนับสนุนอย่างกว้างขวาง
เพื่อให้การนำแผนสกู่ ารปฏิบตั ิ เปน็ ไปอยา่ งมีประสทิ ธิภาพเกิดความเป็นปึกแผน่ ต่อเนือ่ ง
4) มีการกำหนดภารกิจความรับผิดชอบให้ชัดเจนเพื่อความสอดคล้องกับแผนงาน และแผน
อตั รากำลงั และขจัดความซ้ำซอ้ นของงาน
5) วางแนวปฏิบัติ เพ่ือให้เกิดความคล่องตัวและชัดเจนแก่ผู้ปฏิบัติและผู้เก่ียวข้อง รวมทั้งลด
ขนั้ ตอนในการปฏิบัติงานเพื่อให้มปี ระสิทธภิ าพมากยงิ่ ข้ึน
6) พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษาให้มีความแม่นยำและเป็นปัจจุบัน และสามารถ
ให้บรกิ ารไดต้ รงกบั ความต้องการและทนั ต่อการเปล่ยี นแปลง
7) พัฒนาระบบการกำกับติดตาม และการประเมินผล ที่มุ่งเน้นประเมินเพ่ือการพัฒนาและ
ปรับปรุงการดำเนินงาน โดยมีการพัฒนาตัวช้ีวัดผลสำเร็จการดำเนินงานท้ังในด้านปริมาณ คุณภาพ
ระยะเวลาในการประเมิน ผปู้ ระเมิน และแนวทางในการเกบ็ รวบรวมข้อมลู
2. การติดตามและประเมินผล
หลงั จากท่ีโรงเรยี นได้ปฏิบัติดำเนินการตามแผนยทุ ธศาสตรน์ ี้แล้ว จำเปน็ ต้องมีการกำกับติดตาม และ
ประเมินผล เพอ่ื ใหท้ ราบผลและความกา้ วหนา้ ในการปฏบิ ตั งิ าน วา่ จะสามารถบรรลวุ ัตถุประสงคท์ ก่ี ำหนดใน
เวลาท่กี ำหนดไว้หรือไม่ โดยการติดตามประเมินผล จะวัดจากจดุ มุง่ หมายหลกั โดยสรปุ ไดด้ งั นี้

66

1) มุง่ หวงั ให้ผู้เรียนมีบุคลิกภาพที่เป็นผู้นำ มีคุณธรรม สังคมยกย่องและให้การยอมรับ มีทักษะ
ในการเรียนรดู้ ้านวิชาการรบั ผิดชอบต่อสงั คม มีสำนกึ ในความเป็นไทย รู้จกั ดำรงชวี ติ อยา่ งมคี ุณคา่ มสี ขุ ภาพที่ดี

2) มุ่งพัฒนาระบบและบุคลากรฝ่ายบริหารให้เป็นมืออาชีพ เพ่ือสนองความต้องการของสังคม
ทางวิชาการ โดยเน้นคุณภาพระดับสากล และสามารถปลูกฝังคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์แก่ผู้เรียนและให้
บคุ ลากรทกุ คนไดร้ บั การพัฒนาความสามารถอยา่ งต่อเนอ่ื ง โดยสามารถดำรงไว้ซึ่งจรรยาบรรณแห่งวิชาชพี

3) มุ่งเน้นการจัดการศึกษาที่มีอิสระ และคล่องตัวในการบริหารจัดการ เพ่ือให้สามารถสร้าง
มาตรฐานการบรกิ ารใหเ้ ป็นทพ่ี ึงพอใจของผู้ใช้บริการ โดยการประเมินผลมกี ระบวนการอยา่ งครา่ วๆ ดงั น้ี

(1) โรงเรียนสรา้ งกระบวนการตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมินผลอย่างตอ่ เนื่อง และสร้าง
เครอื ข่ายเชอ่ื มโยงเป็นระบบเดียวกนั เพื่อสามารถเอื้อประโยชนร์ ่วมกันได้ใน
ทกุ หนว่ ยงาน โดยจัดทำเกณฑ์ชีว้ ดั ความสำเรจ็ ของแผนตามวตั ถปุ ระสงค์ท่ีกำหนดไวใ้ ห้เป็นรปู ธรรม

(2) ประชาสมั พนั ธ์เผยแพร่ผลงานให้บุคลากรทราบอยา่ งตอ่ เนอื่ ง
(3) มีการปรับปรงุ แผนเพ่อื ให้สอดคล้องกบั สภาพการณท์ ่ีเปลี่ยนแปลงไป
(4) สร้างมาตรการเร่งรัด หากมีโครงการท่ีดำเนินกรช้ากว่าที่กำหนด และตรวจสอบคุณภาพ
อยา่ งใกล้ชิดและสม่ำเสมอ

ปฏิทินการกำกับตดิ ตามการดำเนนิ งานตามแผนพฒั นาการศึกษา
โรงเรียนบา้ นแกง้ กอก

วัน เดือน ปี รายการปฏิบัติ ผ้รู ับผิดชอบ
- งานแผนงานและงบประมาณ
เมษายน - ตรวจสอบ ทบทวน การจดั ทำแผนปฏิบตั กิ าร - งานประกันคุณภาพ
- งานประกันคุณภาพ
ประจำปี (ปีงบประมาณ) - งานแผนงานและงบประมาณ
- งานประกันคุณภาพ
กรกฎาคม - นเิ ทศ ติดตาม - งานแผนงานและงบประมาณ
- งานประกนั คุณภาพ
กันยายน - สรปุ ประเมนิ ผล งาน/โครงการ/กิจกรรม - งานประกันคุณภาพ
- งานแผนงานและงบประมาณ
(ครั้งท่ี 1) - งานประกันคุณภาพ

ตุลาคม - จดั ทำแผนปฏิบัติการประจำปี (ปีงบประมาณ)

ธันวาคม - นเิ ทศ ตดิ ตาม
มนี าคม - สรปุ ประเมนิ ผล งาน/โครงการ/กจิ กรรม
(ครงั้ ที่ 2)
- นำเสนอผลงานดเี ด่น
- จดั ทำรายงาน SSR และ SAR

67

บทที่ 5
เงอื่ นไขความสำเร็จ

โรงเรียนบา้ นแกง้ กอก ได้ดำเนินการพฒั นาคุณภาพการศึกษาโดยมเี ง่ือนไขทท่ี ุกคนรว่ มกันปฏิบตั ิเป็น
วงจรการทำงานท่ีสัมพนั ธ์ ต่อเนื่องและพัฒนาทกุ ปี ดว้ ยระบบการทำงาน ดังน้ี

1. ระบบวงจรการทางาน PDCA

กระบวนการปฏบิ ตั ิงานตามวงจร PDCA

-กำหนดปัญหา
-หาสาเหตุ
-วางแผนร่วมกนั

PLAN

ปรับปรุงระบบ/ -- Act Do - ลงมอื ปฏิบตั ิ
วิธกี ารทำงาน
ปรับมาตรฐาน/ Check
มาตรการ
-เก็บข้อมูล
-ยนื ยันผลลพั ธ์
-บนั ทึกผล

68

วงจรการพัฒนาคุณภาพ PDCA ของเดม่ิง (Deming Cycle) เป็นเทคนิคท่ีผู้บริหาร
ส่วนใหญ่ นิยมใช้กันแพร่หลาย เพราะเป็นกระบวนการท่ีมีการตรวจสอบตนเองอยู่ตลอดเวลา
ตั้งแต่ข้ันการวางแผน (Plan) การปฏิบัติตามแผนหรือข้ันตอนที่วางไว้(Do) การตรวจสอบหรือ
การประเมิน (Check) และการนำผลการประเมินย้อนกลับไปทบทวน ปรับปรุงแก้ไข วางมาตรฐาน/มาตรการ
กำหนดขน้ั ตอนกันใหม่ (Act) เพือ่ การดำเนนิ งานต่อ ๆ ไป

วงจรการพัฒนา PDCA สามารถนำไปใชด้ ำเนินการได้ในทุกขั้นตอนทุกงานและสอดรับกันได้
อยา่ งต่อเนือ่ ง

กระบวนการดำเนนิ งานตามวงจร PDCA ในแตล่ ะงานท่ีดำเนินไปพรอ้ มๆ กัน

การ
สนบั P
สนนุ D การพฒั นาบุคลากร

C
A

โครงการ ผลสำเร็จ คุณภาพ
โครงการ ของ ผเู้ รียน
โครงการ
P D C A P Dโครงการ

ระบบขอ้ มลู สารสนเทศ

69

2. ระบบการติดตามตรวจสอบ
คุณภาพงาน PDCA

การติดตามตรวจสอบคุณภาพ เป็นการดำเนินงานเพื่อช่วยเหลือ สนับสนุน กำกับติดตาม
ความก้าวหน้า และยืนยันการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษาให้เป็นไปตามเป้าหมายและ
บรรลตุ ามมาตรฐานท่กี ำหนด โดยการตดิ ตามตรวจสอบคณุ ภาพสามารถดำเนนิ งานในแต่ละระดับ ไดด้ งั นี้

2.1 การติดตามตรวจสอบคุณภาพของสถานศึกษา โดยสถานศึกษาต้ังคณะทำงานข้ึนเพื่อ
รวบรวมข้อมูลสารสนเทศ การดำเนินงาน/โครงการตลอดปีการศึกษาท้ังด้านการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
คณุ ภาพการจดั การเรียนการสอน คุณภาพการบรหิ ารและการจัดการศึกษา และด้านการพัฒนาชุมชนแหง่ การ
เรียนรู้ จัดทำเป็นระบบขอ้ มูลสารสนเทศท่ีสามารถนำผลไปใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาได้ทันท่วงที และเป็น
ข้อมลู สำหรับประเมินคุณภาพภายในสถานศกึ ษาได้

2.2 การติดตามตรวจสอบคณุ ภาพของสถานศกึ ษา โดยสำนักงานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษาหรือ
หน่วยงานท่ีรับผิดชอบสถานศึกษา เพ่ือให้การส่งเสริม สนับสนุนและช่วยเหลือให้สถานศึกษาสามารถ
ดำเนินการพัฒนาคุณภาพไปสู่เป้าหมายตามมาตรฐานที่กำหนดไว้สถานศึกษาทุกแห่งควรได้รับการ
ตดิ ตามตรวจสอบคุณภาพจากเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษาอย่างนอ้ ย 1 คร้งั ภายใน 3 ปี (ตามกฎกระทรวงว่าดว้ ยระบบ
หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2546) สำหรับสถานศึกษาที่มีความเข้มแข็ง เขตพ้ืนที่
การศึกษาควรส่งเสริมให้พัฒนาอย่างต่อเน่ือง ยกย่องสถานศึกษาท่ีมีรูปแบบการพัฒนาท่ีดีให้เป็นตัวอย่างแก่
สถานศึกษาแห่งอื่นได้ ส่วนสถานศึกษาที่มีคุณภาพผู้เรียนต่ำหรือมีแนวโน้มต่ำลงอันเนื่องมาจากปัญหาต่างๆ
เขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาควรตั้งคณะทำงานเข้าไปช่วยเหลือสถานศึกษาอย่างต่อเนอ่ื ง และติดตามความกา้ วหนา้ เป็น
ระยะ เขตพ้ืนท่ีการศึกษาต้องทำรายงานติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาเสนอต่อสำนักงานคณะกรรมการ
การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน เพื่อทราบดว้ ย

2.3 การติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการพัฒนาคุณภาพการศึกษาในภาพรวม
ระดับประเทศ โดยหน่วยงานหลักที่รบั ผิดชอบ คือสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เพ่ือนำข้อมูล
ที่ได้มาประกอบการกำหนดนโยบาย เพ่ือส่งเสริม สนับสนุนและผลักดันให้สถานศึกษาพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาอย่างต่อเน่ือง กำหนดมาตรฐานเพ่ือยกระดับคุณภาพสถานศึกษาที่ไม่ผ่านเกณฑ์ ส่งเสริมการมีส่วน
รว่ มระหวา่ งสถานศึกษา เพือ่ เพ่มิ พูนศักยภาพสถานศึกษาให้บริหารและจดั การศกึ ษาได้อย่างเต็มท่ี

70

3. การประเมนิ และรับรองคุณภาพ

การประเมินและรับรองคุณภาพ เป็นการดำเนินงานเพื่อตรวจสอบผลการจัดการศึกษาของ
สถานศกึ ษา โดยแบง่ เป็น 2 สว่ นทีเ่ กี่ยวขอ้ งกนั ดงั น้ี

3.1 การประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา จากการติดตามตรวจสอบคุณภาพของ
สถานศึกษาในข้อ 2.1 สถานศึกษานำข้อมูลสารสนเทศมาประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา
ที่กำหนด (ตามระดับการศึกษาที่จัดซึ่ง หมายถึง มาตรฐานการศึกษาข้ันพ้ืนฐานและมาตรฐานการศึกษา
ปฐมวัย) จัดทำเป็นรายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจำปีของสถานศึกษา รายงานต่อคณะกรรมการ
สถานศกึ ษา ผปู้ กครองชมุ ชน หนว่ ยงานตน้ สังกดั และรายงานต่อสาธารณชน

3.2 การประเมินเพื่อรับรองมาตรฐานการศึกษา การประเมินในส่วนนี้เป็นการดำเนินงาน
โดยองค์กรภายนอกกระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา(สมศ.)ซ่ึง
เป็นองค์กรมหาชน ทำหน้าที่ประเมินและให้การรับรองว่าสถานศกึ ษาจัดการศึกษาได้ตามมาตรฐานการศึกษา
ทก่ี ำหนดในทุกๆ 5 ปี ผลจากการประเมินในภาพรวม จะนำเสนอรัฐบาล เพื่อนำไปใช้ในการพิจารณาจัดสรร
งบประมาณการกำหนดทิศทางการพฒั นาคณุ ภาพการจัดการศึกษาเพอ่ื ใหท้ ัดเทยี มนานาอารยประเทศ

แผนภาพแสดงความสมั พนั ธข์ องกระบวนการประกนั คณุ ภาพการศึกษา

การ
พฒั นา
คณุ ภาพการ
ประเมนิ คุณภาพ
ภายในสถานศกึ ษา

คุณภาพการจัด

การศึกษาของ

สถานศกึ ษา

การตดิ ตามตรวจสอบ การประเมนิ คุณภาพภายนอก

ของหนว่ ยงานตน้ สังกัด

71

4. ระบบการประกันคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา

จากมาตรา 47 ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 2 )
พ.ศ. 2545 ท่ีกำหนดว่า ระบบ หลักเกณฑ์และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษาให้เป็นไปตามที่กำหนดใน
กฎกระทรวงนั้น ได้นำไปสู่การจัดทำกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพ
การศึกษา พ.ศ. 2561 และมีการปรับปรุงใหม่โดยรวมระบบการประกันคุณภาพภายในขององค์กรหลักที่
รบั ผิดชอบการศึกษาในแต่ละระดับ(การศึกษาขั้นพื้นฐาน การอาชีวศึกษา และการอุดมศกึ ษา) และระบบการ
ประกันคุณภาพภายนอกเข้าด้วยกัน โดยในส่วนของการศึกษาข้ันพื้นฐาน(ซ่ึงรวมถึงการศึกษาปฐมวัยด้วย)นั้น
ระบุว่าให้สถานศึกษาจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาประกอบด้วย การ
ดำเนนิ งานโดยยดึ หลักการมสี ่วนรว่ ม 8 ประการ ดังนี้

1. การกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
2. การจัดระบบบริหารสารสนเทศ
3. การจัดทำแผนพัฒนาสถานศกึ ษา
4. การดำเนนิ ตามแผนพฒั นาสถานศึกษา
5. การตรวจสอบและทบทวนคุณภาพการศึกษา
6. การประเมินคุณภาพการศกึ ษาตามมาตรฐานทกี่ ำหนด
7. การรายงานคุณภาพการศึกษาประจำปี
8. การพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาอย่างต่อเนื่อง

5. การกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา

การกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา
มาตรฐานการศึกษามีความสำคัญและจำเป็นมากสำหรับการจัดการศึกษาที่ใช้หลักการกระจาย
อำนาจไปยังสถานศึกษาโดยท่ีให้สถานศึกษาจัดทำหลักสูตรเอง และบริหารการใช้หลักสูตรให้เหมาะสม
สอดคล้องกับสภาพ ปัญหาและความต้องการของท้องถ่ิน รัฐจึงกำหนดมาตรฐานการศึกษาของชาติเพื่อเป็น
ข้อกำหนดเก่ียวกับคุณลักษณะที่พึงประสงค์และสมรรถนะสำคัญท่ีต้องการให้เกิดขึ้นในสถานศึกษาทุกแห่ง
และใช้เป็นหลักในการเทียบเคียงสำหรับการส่งเสริมและกำกับดูแล การตรวจสอบ การประเมินผล และการ
ประเมินคุณภาพการศึกษา มาตรฐานการศึกษา มาตรฐานการศึกษาของชาติมี 3 มาตรฐาน 11 ตัวบ่งช้ี
จากมาตรฐานการศึกษาของชาติ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานได้นำสู่การปฏิบัติให้
เกดิ ผล เพ่ือยกระดับการศึกษาของประเทศให้เกิดประโยชน์กับประชาชนไทยทุกคน และเพิม่ ขีดความสามารถ

72

ในการแข่งขันของประเทศ โดยนำมาจัดทำเป็นมาตรฐานการศึกษาข้ันพื้นฐาน ประกาศให้สถานศึกษาทุกแห่ง
ท่เี ปิดสอนระดับดังกลา่ วใช้เป็นเป้าหมายการพัฒนา เมื่อวันท่ี 6 สิงหาคม 2561 ระดับการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน
จำนวน 3 มาตรฐาน 21 ประเด็นพิจารณา และระดับการศึกษาปฐมวัยจำนวน 3 มาตรฐาน 14 ประเด็น
พิจารณา

สถานศึกษาต้องนำมาตรฐานการศึกษาขั้นพ้ืนฐานและมาตรฐานการศึกษาปฐมวัยท่ีประกาศไว้น้ีเป็น
เป้าหมายการพัฒนาสถานศึกษา อย่างไรก็ตาม เขตพ้ืนท่ีการศึกษาและสถานศึกษาเองอาจต้องการเพ่ิม
มาตรฐานการศึกษาท่กี ำหนดเฉพาะเจาะจงตามบรบิ ทและความต้องการของท้องถ่นิ อกี ก็ได้

การกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาต้องสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของชาติ
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน และเอกลักษณ์ของสถานศึกษาโดยกำหนดให้เหมาะสมครอบคลุมสาระ
การเรียนรู้และศักยภาพของผเู้ รียน สถานศึกษาและท้องถ่ิน

โรงเรยี นแกง้ กอกจงึ ไดก้ ำหนดมาตรฐานของสถานศึกษา เพอื่ กำหนดเปน็
อตั ลกั ษณข์ องโรงเรียน “ทักษะอาชีพดี มคี ณุ ธรรม น้อมนำเศรษฐกิจพอเพยี ง”
เอกลักษณ์ของโรงเรยี น “โรงเรยี นสะอาด บรรยากาศร่มรนื่ ”

6. การจัดระบบบริหารและสารสนเทศ

โรงเรียนบ้านแก้งกอก ได้จัดโครงสร้างการบริหารจัดการที่เอื้อต่อการพัฒนา และการสร้างระบบการ
ประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา มีคณะทำงานทำหน้าท่ีวางแผน ติดตามตรวจสอบคุณภาพ และจัดทำ
รายงานการพฒั นาคุณภาพการศึกษาประจำปีของสถานศึกษา โดยแต่งตง้ั คณะทำงานท่ีมีตัวแทนจากบุคลากร
จากหลายฝ่ายมาร่วมคิดร่วมวางแผนและร่วมติดตามตรวจสอบ เก็บข้อมูลเป็นหมวดหมู่ต้ังแต่ต้นปีการศึกษา
ทำให้ได้ตามแผนท่ีวางไว้ เพ่ือไมใ่ ห้สะสมจนทำไม่สำเร็จเมอ่ื ถึงสิน้ ปีการศึกษา

สำหรับการจัดระบบสารสนเทศน้ัน มีข้อมูลอยู่มากมายเช่น ข้อมูล ผู้เรียน ครูและบุคลากร ข้อมูล
อาคารและสถานท่ี ส่ิงอำนวยความสะดวก ข้อมูลการพัฒนาบุคลากร ข้อมูลทรัพยากร ข้อมูลงบประมาณ
ผลสัมฤทธ์ิ ฯลฯ สถานศึกษามีการจัดระบบสารสนเทศให้เปน็ หมวดหมู่ให้ครอบคลุมและข้อมูลมีความสมบรู ณ์
คน้ ได้งา่ ยและสะดวกรวดเรว็ มีการนำขอ้ มลู มาใชใ้ ห้เกิดประโยชน์อยเู่ สมอ

7. การจัดทำแผนพัฒนาสถานศกึ ษา

เพื่อใหก้ ารจัดการศึกษาบรรลุตามมาตรฐานการศึกษา โรงเรียน... มกี ารจัดทำแผนพัฒนาสถานศึกษา
ที่มงุ่ เนน้ คุณภาพการศึกษา ในระยะ 3 ปี แผนพัฒนาคุณภาพรายปี และแผนปฏิบัติราชการประจำปี โดย
คำนงึ ถงึ หลักการกระจายอำนาจ การมสี ว่ นรว่ ม และการนำสกู่ ารปฏบิ ตั ไิ ด้จรงิ คำนงึ ถงึ เร่ืองต่อไปน้ีคือ

(1) มีการวิเคราะห์สภาพปัญหาและความจำเป็นอย่างเป็นระบบ และมีแผนปฏิบัติการ
ประจำปรี องรบั ทัง้ แผนระยะส้ันและระยะยาว

73

(2) มีการกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมายการพัฒนาและสภาพความสำเร็จของการ
พฒั นามาตรฐานการศึกษาที่กำหนดไวอ้ ย่างต่อเนื่อง ชดั เจน และเปน็ รปู ธรรม

(3) กำหนดวิธีการดำเนินงาน โดยอาศัยหลักวิชา หรือผลการวิจัย หรอื ข้อมูลเชิงประจักษ์ที่
อ้างอิงได้ครอบคลุมการพัฒนาหลักสูตรด้านการจัดการเรียนการสอน/การจัดประสบการณ์การเรียนรู้
กระบวนการเรียนรู้การส่งเสริมการเรียนรู้ การวัดและการประเมินผล การพัฒนาบุคลากร และการบริหาร
จดั การเพอื่ นำไปสูเ่ ปา้ หมายทก่ี ำหนดไว้

(4) เสาะหาและประสานสัมพันธ์กับแหล่งวิทยากรภายนอกที่ให้การสนบั สนุนทางวิชาการได้
และระบุไว้ในแผนให้ชัดเจน

(5) กำหนดบทบาทหน้าที่ให้บุคลากรของสถานศึกษาทุกคน รวมท้ังผู้เรียน รับผิดชอบและ
ดำเนินงานตามทกี่ ำหนดไวอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ

(6) กำหนดบทบาทหน้าที่ และแนวทางการมีส่วนร่วมของบิดา มารดา ผู้ปกครอง และ
บคุ ลากรภายในชุมชน เพ่อื พัฒนาผูเ้ รยี นรว่ มกนั

(7) กำหนดการใช้งบประมาณ และทรัพยากรอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ
(8) มีการประเมินผลการดำเนินงานตามแผนและการนำผลไปใช้ในการพัฒนาอย่าง
ต่อเนื่อง

8. การดำเนินงานตามแผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา
8.

ในแผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาท่มี ีโครงการ/กจิ กรรมท่ตี ้องดำเนนิ งานให้บรรลุตามวัตถปุ ระสงคแ์ ละ
เกิดผลสำเร็จตามท่ีระบุไว้ในตัวช้ีวัดของโครงการการดำเนินงานตามแผนน้ัน โรงเรียน... ได้สร้างระบบการ
ทำงานท่ีเข้มแข็ง เน้นการมีสว่ นร่วม ใช้เทคนิคการบรหิ ารและการจดั การท่ีจะทำใหด้ ำเนินงานตามแผนพัฒนา
สถานศกึ ษาบรรลุเป้าหมาย ตลอดจนมีการนิเทศ ติดตาม ตรวจสอบคุณภาพอย่างตอ่ เนื่อง

74

ภาคผนวก

- คำสั่งแตง่ ต้งั คณะทำงาน

75

คำส่งั โรงเรยี นบา้ นแก้งกอก

ท่ี 61 / 2561

เรือ่ ง แตง่ ต้ังคณะกรรมการจัดทำแผนพฒั นาคุณภาพการศึกษาปฐมวัย/ขั้นพ้นื ฐาน

-------------------------------------

เพื่อให้การจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาปฐมวัย/ข้ันพื้นฐาน ระยะ 3 ปี เป็นเครื่องมือใน

การพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาของโรงเรียนบา้ นแกง้ กอก ในชว่ ง ปี 2561 - 2563 เปน็ ไปอย่างมปี ระสิทธภิ าพ

ดำเนินไปด้วยความเรียบร้อย ถูกต้อง มีคุณภาพในการใช้เป็นเครื่องมือในการบริหารและจัดการศึกษาของ

โรงเรียนโรงเรียนบ้านแกง้ กอก จงึ แตง่ ต้ังบุคคลเพือ่ เปน็ คณะทำงานจดั ทำแผนพัฒนาคณุ ภาพ ดงั ต่อไปน้ี

1. นายวษิ ณุ สูนานนท์ ผอู้ ำนวยการโรงเรียน ประธาน

2. นางรัศมี ชมทอง ครู คศ.3 รองประธาน

3. นางสาวหนูน้อม พนั ตรา ครู คศ.3 คณะทำงาน

4. นางยพุ า วิเศษวงษา ครู คศ.3 คณะทำงาน

5. นางนงค์ลักษณ์ สอแสง ครู คศ.3 คณะทำงาน

6. นางเปรมกมล ละอองแก้ว ครู คศ.3 คณะทำงาน

7. นางฉววี รรณ บญุ ปอง ครู คศ.3 คณะทำงาน

8. นางมลฤดี มนัส ครู คศ.3 คณะทำงาน

9. นางรณญา วเิ วก ครู คศ.3 คณะทำงาน

10. นางยวุ ฉตั ร หลุมทอง ครู คศ.3 คณะทำงาน

11. นายเชาวฤทธ์ิ แกว้ กัญญา พ่เี ล้ยี งเด็กพกิ าร คณะทำงาน

12. นางสาวทิพธญั ญา แสนทวสี ุข เจ้าหนา้ ทธี่ รุ การ คณะทำงานและเลขานุการ

ให้ผู้ที่ได้รับแต่งต้ัง ดำเนินการค้นคว้าหาข้อมูลประกอบการจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ปฐมวัยให้เป็นไปตามหลักวิชาการ และเกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน หากเกิด
ปัญหาอปุ สรรคให้รีบรายงานผ้บู งั คับบญั ชาทราบทนั ที

ทง้ั นี้ ตั้งแต่วนั ท่ี 28 เดอื นธนั วาคม พ.ศ. 2561

สั่ง ณ วันที่ 28 เดือนธนั วาคม พ.ศ. 2561

ลงช่อื
( นายวษิ ณุ สูนานนท์ )

ผ้อู ำนวยการโรงเรยี นบา้ นแก้งกอก

76


Click to View FlipBook Version