The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

1คู่มือ RT 64 (จัดเล่ม)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

1คู่มือ RT 64 (จัดเล่ม)

1คู่มือ RT 64 (จัดเล่ม)

คำนำ

ความสามารถดา้ นการอา่ นของผเู้ รยี น ถือเป็นความสามารถพนื้ ฐานที่สาคัญสาหรบั ผู้เรียนและ
การเรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรียนต่าง ๆ ของหลักสูตร และการดาเนินชีวิตประจาวันของผู้เรียน ดังน้ัน
กระทรวงศึกษาธิการและสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงให้ความสาคัญกับความสามารถ
ด้านการอ่าน โดยเฉพาะอย่างย่ิงระดับช่วงช้ันที่ 1 ของระดับประถมศึกษา (ป.1 – ป.3) โดยกาหนดเป็น
นโยบายเร่งด่วน ในปีการศึกษา 2558 เด็กที่จบช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 ต้องอ่านออก เขียนได้ ในปัจจุบัน
เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน (ดร.อัมพร พินะสา) ได้มอบนโยบายสาคัญให้แก่สานักงาน
เขตพ้ืนท่ีการศึกษาและสถานศึกษามุ่งเน้นพัฒนาให้ผู้เรียนสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขั้นพ้ืนฐาน “อ่านออก เขียนได้ คิดเลขเป็น” ดังนั้น สานักทดสอบทางการศึกษา ซ่ึงเป็นหน่วยงานที่
เก่ียวขอ้ งกับการวดั และประเมินคุณภาพทง้ั ในระดับชั้นเรียนและระดับชาติ จึงได้จัดทาโครงการการประเมิน
ความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 ขึ้น ในปีการศึกษา 2564 ดาเนินการประเมิน
ความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียนตามความสมัครใจ และดาเนินการประเมินความสามารถ
ด้านการอ่านของผู้เรียนในโรงเรียนตามโครงการพระราชดาริสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จ
พระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ให้กับนักเรียนทุกคน ในสังกัดสานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาข้ันพื้นฐานและสังกัดกองบัญชาการตารวจตระเวนชายแดน โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้ผู้เรียน
ระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 รับรู้ความสามารถในการอ่านออกเสียงและอ่านรู้เร่ืองของตนเอง รวมท้ัง
ครูผู้สอนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 มีข้อมูลจุดแข็งและจุดท่ีต้องพัฒนาเกี่ยวกับความสามารถ
ในการอา่ นออกเสยี งและอ่านรูเ้ ร่ืองใชใ้ นการวางแผนเสริมจุดเด่นและพฒั นาจดุ ด้อยของผ้เู รียนแต่ละคนต่อไป

สาหรับแนวทางการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1
ปีการศึกษา 2564 โดยประกอบไปด้วย เหตุผลและความสาคัญ วัตถุประสงค์ นิยามศัพท์เฉพาะ
กลุ่มเป้าหมาย ตารางการประเมิน การประกาศผลการประเมิน โครงสร้างและเคร่ืองมือที่ใช้ในการประเมิน
การแปลความหมายของผลการประเมิน กรอบแนวคิดในการประเมินความสามารถด้านการอ่าน
การบริหารจัดการระดับศูนย์สอบ การบริหารจัดการของสถานศึกษา เอกสารธุรการ การรายงานผลการสอบ
เพื่อใชเ้ ป็นแนวทางการบริหารจัดการของศูนย์สอบ และสถานศึกษา

สานักทดสอบทางการศึกษา ขอขอบคุณ คณะกรรมการระดับศูนย์สอบ และสนามสอบ ท่ีให้
ความร่วมมือในการดาเนินการจัดสอบ โดยยึดแนวทางการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน
ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 ทาให้เช่ือมั่นได้ว่าผลการประเมินเป็นข้อมูลท่ีถูกต้องตรงตาม
ความสามารถที่แท้จริงของนักเรียน สามารถนาข้อมูลท่ีได้ไปใช้ในการวางแผน ปรับปรุง และพัฒนา
ความสามารถพ้ืนฐานของนักเรยี นเปน็ รายบุคคล สถานศกึ ษา ศูนย์สอบ และสังกดั ตอ่ ไป

สำนกั ทดสอบทำงกำรศึกษำ
สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำข้นั พ้ืนฐำน





สำรบัญ

เรอื่ ง หน้ำ

คำนำ .......................................................................................................................................ก
สำรบญั .......................................................................................................................................ค
ตอนท่ี 1 บทนำ....................................................................................................................................1

1.1 เหตุผลและความสาคัญ...................................................................................................... 1
1.2 วัตถุประสงค์ ...................................................................................................................... 3
1.3 นิยามศัพทเ์ ฉพาะ............................................................................................................... 3
1.4 กลุม่ เปา้ หมาย .................................................................................................................... 3
1.5 ตารางการประเมนิ ............................................................................................................. 4
1.6 ประกาศผลการประเมิน..................................................................................................... 4
1.7 โครงสรา้ งและเคร่ืองมือที่ใชใ้ นการประเมนิ ........................................................................ 4
1.8 การแปลความหมายของผลการประเมนิ ............................................................................. 6
1.9 กาหนดการบริหารจดั การประเมินความสามารถด้านการอ่านของผ้เู รียน

ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 1 ปีการศึกษา 2564............................................................................ 7
1.10 การนาผลการประเมินไปใช้ในการวนิ จิ ฉัยนักเรียน................................................................ 8
1.11 การวิเคราะห์ผลในภาพรวมของโรงเรียน.............................................................................. 8
ตอนท่ี 2 กรอบแนวคิดในกำรประเมนิ ควำมสำมำรถด้ำนกำรอ่ำน ........................................................9
2.1 หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551

กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย ........................................................................................... 9
2.2 ตัวชว้ี ดั ท่เี ก่ยี วข้องกับการประเมินการอา่ น ....................................................................... 10
2.3 ความหมายของการอา่ น................................................................................................... 13
2.4 แนวคิดเกี่ยวกับการกระจายอานาจในการบรหิ ารจัดการ (Decentralization)................. 13
2.5 การบรกิ ารการทดสอบ..................................................................................................... 15
ตอนท่ี 3 กำรบริหำรจดั กำรสอบระดับศนู ย์สอบ .................................................................................17
3.1 ภารกิจของศูนย์สอบ ........................................................................................................ 17
3.2 บทบาทของคณะกรรมการศูนย์สอบ ................................................................................ 17



สำรบัญ (ต่อ)

เรื่อง หน้ำ

ตอนท่ี 4 กำรบรหิ ำรจดั กำรของสนำมสอบ ........................................................................................19
4.1 ภารกิจของสนามสอบ ...................................................................................................... 19
4.2 การดาเนนิ การของสนามสอบ .......................................................................................... 20
4.3 บทบาทของสนามสอบ..................................................................................................... 20
4.4 แนวปฏิบัตใิ นการอ่านออกเสียง ....................................................................................... 23

ตอนที่ 5 เอกสำรประกอบกำรประเมนิ ...............................................................................................25
5.1 เอกสารท่จี ดั สง่ ไปยังศนู ย์สอบ .......................................................................................... 25
5.2 การรับแบบทดสอบ.......................................................................................................... 26

ตอนท่ี 6 กำรนำผลกำรประเมินเข้ำสรู่ ะบบ NT ACCESS ..................................................................27
6.1 ชอ่ งทางการเขา้ สู่โปรแกรม .............................................................................................. 28
6.2 การดาวน์โหลดไฟล์/แบบฟอร์มกรอกคะแนน .................................................................. 30
6.3 การนาสง่ คะแนนเข้าสูร่ ะบบ ในรปู แบบไฟล์ Excel.......................................................... 34
6.4 กรณพี บขอ้ ผดิ พลาดในการนาสง่ ขอ้ มูลและคะแนนนักเรียนเขา้ สรู่ ะบบ NT Access........ 36
6.5 การนาสง่ ผลคะแนนเข้าสูร่ ะบบเปน็ รายบุคคล.................................................................... 37
6.6 ตรวจสอบการนาสง่ คะแนนการอ่าน ป.1 ......................................................................... 42

ตอนที่ 7 กำรรำยงำนผลกำรประเมิน.................................................................................................45
7.1 การรายงานระดบั บคุ คล................................................................................................... 45
7.2 การรายงานระดับโรงเรยี น ............................................................................................... 45
7.3 การรายงานระดับศูนยส์ อบ.............................................................................................. 45
7.4 การรายงานระดับจงั หวดั หรือศึกษาธิการจังหวดั (............................................................ 46
7.5 การรายงานระดบั หน่วยงานต้นสังกดั ............................................................................... 46

ตอนที่ 8 กำรจดั สอบสำหรบั เด็กทม่ี คี วำมตอ้ งกำรจำเปน็ พิเศษ..........................................................47
8.1 แนวทางการจดั สอบสาหรับเด็กทีม่ ีความต้องการจาเป็นพเิ ศษ.......................................... 47
8.2 หลกั ฐานทีใ่ ช้แนบประกอบสาหรบั เด็กที่มีความต้องการจาเปน็ พเิ ศษ ............................... 49



สำรบัญ (ต่อ)

เร่อื ง หน้ำ
ภำคผนวก ก ตัวอยำ่ งข้อสอบ เฉลย และเกณฑก์ ำรให้คะแนน ...........................................................51
ภำคผนวก ข ตัวอย่ำงแบบรำยงำนผลกำรประเมนิ

ควำมสำมำรถดำ้ นกำรอ่ำนของผ้เู รยี น (รำยบุคคล) .......................................................65
ภำคผนวก ค ตวั อยำ่ งแบบรำยงำนผลกำรประเมนิ

ควำมสำมำรถดำ้ นกำรอ่ำนของผเู้ รยี น (รำยโรงเรยี น)....................................................69
ภำคผนวก ง ตวั อย่ำงแบบรำยงำนผลกำรประเมนิ

ควำมสำมำรถดำ้ นกำรอำ่ นของผ้เู รยี น รำยเขตพืน้ ทก่ี ำรศกึ ษำ (ศนู ยส์ อบ) ....................73
ภำคผนวก จ เอกสำรประกอบกำรสอบ..............................................................................................77
ภำคผนวก ฉ ระเบียบกระทรวงศึกษำธิกำรวำ่ ด้วยกำรปฏิบัตขิ องผู้เขำ้ สอบ ฉบับท่ี 2 พ.ศ. 2555 และ

ระเบยี บกระทรวงศึกษำธกิ ำรวำ่ ดว้ ยกำรปฏิบตั ิของผู้เข้ำสอบ พ.ศ. 2548 .....................83
คณะผู้จดั ทำ .....................................................................................................................................89





ตอนท่ี 1
บทนำ

1.1 เหตผุ ลและควำมสำคัญ
ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 มาตรา 4 กาหนดให้หน่วยงาน

ต้นสังกัด มีหน้าที่ในการส่งเสริม กากับดูแล และตรวจสอบการประเมินผลและการประกันคุณภาพ
ทางการศึกษา ซึ่งเป็นการส่งเสริมสถานศึกษาให้จัดการเรียนการสอนท่ีมีคุณภาพตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เพ่ือให้การดาเนินงานเกี่ยวกับการติดตาม ตรวจสอบ และ
ประเมินผลการจัดการศึกษา ตามมาตรา 31 และตามมาตรา 34 แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
พทุ ธศักราช 2542 มีประสิทธิภาพ มีความเปน็ มาตรฐาน สอดคล้องกบั นโยบาย และวิธีการประเมินคุณภาพ
การศึกษา รวมทั้ง เพื่อตรวจสอบคุณภาพการจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน และรายงานความก้าวหน้าผลการ
จัดการศึกษา ให้เกิดการพัฒนาและปรับปรุงการเรียนการสอน ใช้เป็นข้อมูลส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนา
คุณภาพของสถานศึกษาอย่างต่อเน่ือง กระทรวงศึกษาธิการ ได้กาหนดนโยบายและจุดเน้น เพ่ือให้
การบริหารจัดการศึกษาในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ให้มีความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ เป้าหมาย
ของแผนแม่บท ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ วัตถุประสงค์ของแผนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา และ
นโยบายของรัฐบาล เร่ือง การเตรียมคนในศตวรรษที่ 21 ในระดับประถมศึกษา มุ่งคานึงถึงพหุปัญญา
ของผู้เรียนรายบุคคลที่หลากหลายตามศักยภาพ โดยเฉพาะการเรียนภาษาไทย เน้นเพ่ือใช้เป็นเครื่องมื อ
ในการเรยี นรู้วิชาอื่น ให้ความสาคัญกับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยเฉพาะระดับช้ันประถมศึกษาในช่วง
ช้ันแรก ดังน้ัน กระทรวงศึกษาธิการ จึงได้กาหนดเป็นนโยบายว่า ปีการศึกษา 2558 เด็กท่ีจบชั้น
ประถมศึกษาปีที่ 1 ต้องอ่านออกเขียนได้ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน จึงได้จัดทา
ยุทธศาสตร์ปฏิรูปการศึกษาข้ันพื้นฐาน ปีการศึกษา 2558 โดยกาหนดเป็นนโยบายเร่งด่วน “เด็กจบชั้น
ประถมศึกษาปีที่ 1 ต้องอา่ นออกเขียนได้ และต้องมีระบบการประเมินท่ีเป็นรูปธรรม” และได้มอบหมายให้
สานักทดสอบทางการศึกษา จัดบริการเครื่องมือมาตรฐานเพื่อใช้วินิจฉัยความสามารถด้านการอ่าน
ของผู้เรียน ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือตรวจสอบความสามารถพื้นฐานที่สาคัญ
ในการเรียนรู้ของผู้เรียนในด้านการอ่าน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
เพ่ือให้ครูผู้สอนมีข้อมูลความสามารถด้านต่าง ๆ ของผู้เรียน สาหรับนาไปใช้ในการวางแผนการจัด
การเรียนรู้และพัฒนาศักยภาพผู้เรียนเป็นรายบุคคล นาข้อมูลไปสู่การปรับวิธีเรียนเปลี่ยนวิธีสอน
ในปีการศึกษาถัดไป อีกท้ัง ทาให้ผู้ปกครองและผู้เรียนได้รู้จุดที่ต้องปรับปรุงและพัฒนาของผู้เรียน
เพื่อนาไปส่กู ารวางแผนพัฒนาผ้เู รยี นในระดับช้นั ที่สูงข้ึน

1

ปีการศึกษา 2564 กระทรวงศึกษาธิการ ได้กาหนดนโยบายการจัดการศึกษา จานวน 12 ข้อ
โดยนโยบายข้อ 5 ให้ปรับระบบการประเมินผลการศึกษาและการประกันคุณภาพ พร้อมจัดทดสอบ
วัดความรู้และทักษะที่จาเป็นในการศึกษาต่อระดับอุดมศึกษาทั้งสายวิชาการและสายวิชาชีพ รวมท้ังลด
ภาระการประเมินให้กับครู นักเรียน และผู้ปกครอง ให้ความสาคัญกับการประเมินระดับสถานศึกษา
ยดื หยุน่ ตามบริบทและสภาพการณ์ ประกอบกบั สถานการณ์ปัจจบุ นั ประเทศไทยกาลังอยู่ในชว่ งสถานการณ์
การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 อย่างรุนแรงและต่อเนื่อง กระทรวงศึกษาธิการ จึงได้มี
นโยบายและมาตรการในการจดั การศกึ ษาเพือ่ รองรับสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019
โดยให้สถานศึกษาสามารถกาหนดรูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่แตกต่างกันตามสภาพบริบทและ
เหมาะสมกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของแต่ละพื้นท่ี ทาให้
สถานศึกษาแต่ละแห่งไม่สามารถจัดการเรียนการสอนเพ่ือพัฒนาผู้เรียนได้เต็มตามศักยภาพ ผู้ปกครองเกิด
ความวิตกกังวลเก่ียวกับคุณภาพของผู้เรียนจากการเรียนการสอนในสถานการณ์ปัจจุบัน ประกอบกับนักเรียน
มีความวิตกกังวลเกี่ยวกับการวดั และประเมนิ ผล กระทรวงศกึ ษาธกิ าร เขา้ ใจถงึ สถานการณ์การจัดการเรียนการสอน
ของสถานศึกษาทั่วประเทศ จึงได้กาหนดแนวทางการวัดและประเมินคุณภาพผู้เรียนเพื่อลดความเครียด
จากการทดสอบของผู้เรียน มุ่งวัดและประเมินคุณภาพผู้เรียนตามสภาพจริง ปรับเปลี่ยนการทดสอบ
ปลายภาค หรือปลายปใี ห้เป็นการประเมินผลงานหรือโครงงาน และปรับเปล่ียนวิธีการทดสอบจากแบบทดสอบ
เป็นรูปแบบอ่ืนท่ีหลากหลาย รวมท้ัง ให้ทาการประเมินคณุ ภาพผู้เรียนจากหน่วยงานส่วนกลางให้ดาเนินการ
ตามความสมัครใจ

สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ให้สถานศึกษาดาเนินการจัดสอบตามความ
สมัครใจ และให้บริการไฟล์ต้นฉบับเคร่ืองมือการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (RT)
ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 1 สาหรับให้สถานศึกษานาไปใช้ประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน รวมท้ัง
มอบหมายให้สานักทดสอบทางการศึกษาร่วมกับสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ดาเนินการประเมิน
ความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (RT) ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนตามโครงการพระราชดาริ
สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ซึ่งประกอบด้วย
4 กลุม่ โรงเรียน ไดแ้ ก่ 1) โรงเรียนพระราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี 2) โรงเรียน
ในโครงการพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร (กพด.) 3) โรงเรียนด้วยรักและห่วงใย สมเด็จพระเทพ
รตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี และ 4) โรงเรียนตารวจตระเวนชายแดน สงั กัดกองบัญชาการตารวจตระเวน
ชายแดน โดยให้สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาเป็นหน่วยงานบริหารจัดการทดสอบและประเมินนักเรียน
ในโรงเรียนดงั กลา่ ว

2

1.2 วัตถุประสงค์
1.2.1 เพื่อประเมินเชิงวินิจฉัยความสามารถด้านการอ่านออกเสียง และการอ่านรู้เรื่อง

ของผเู้ รียน ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564
1.2.2 เพื่อทาให้ครูผู้สอนมีข้อมูลสารสนเทศเก่ียวกับความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน

เปน็ รายบคุ คล นาไปสูก่ ารปรับปรงุ และพฒั นาความสามารถด้านการอ่านของผู้เรยี นให้เต็มตามศักยภาพ

1.3 นยิ ำมศัพทเ์ ฉพำะ
การดาเนินการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน ช้ันประถมศึกษาปีที่ 1

ปีการศึกษา 2564 ได้กาหนดนยิ ามไว้ ดงั น้ี
อ่ำนออกเสียง หมายถึง การอ่านคา ประโยค หรือข้อความสั้น ๆ ท่ีเป็นคาในวงคาศัพท์

ในระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 ท้ังท่ีเป็นคาท่ีมีความหมายโดยตรงหรือคาท่ีมีความหมายโดยนัย ท่ีใช้
ในชีวติ ประจาวนั โดยวิธีการอ่านออกเสียง

อ่ำนรู้เรื่อง หมายถึง การอ่านคา ประโยค หรือข้อความสั้น ๆ ท่ีเป็นคาในวงคาศัพท์
ในระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 ท้ังที่เป็นคาที่มีความหมายโดยตรงหรือคาที่มีความหมายโดยนัย ท่ีใช้
ในชวี ิตประจาวัน โดยสามารถบอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านร้อยแก้ว ร้อยกรอง สาหรับเด็ก (เป็นข้อความงา่ ย ๆ)
จบั ใจความจากเรื่องที่อ่าน ตอบคาถามจากเร่ืองท่ีอ่าน บอกความหมายของเครื่องหมายสัญลักษณ์ท่ีสาคัญ
ที่พบเห็นในชีวติ ประจาวัน คาดคะเนจากเร่ืองที่อ่าน สรุปความรู้ขอ้ คิดจากเร่ืองท่ีอ่านได้อย่างสมเหตุสมผล
แปลความและสรา้ งสรรค์จากภาพ

1.4 กลมุ่ เป้ำหมำย
กลุ่มเป้าหมายการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน ( RT) คือผู้เรียน

ช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 ในปีการศึกษา 2564 จากสถานศึกษาในสังกัดต่าง ๆ ทั่วประเทศ จานวน 8 สังกัด
โดยให้สถานศกึ ษาดาเนินการประเมนิ ผเู้ รียนตามความสมัครใจ ประกอบดว้ ย

1.4.1 สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
1.4.2 สานกั งานคณะกรรมการสง่ เสริมการศึกษาเอกชน
1.4.3 กระทรวงการอดุ มศึกษาวทิ ยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม
1.4.4 กองบัญชาการตารวจตระเวนชายแดน สังกัดสานักงานตารวจแหง่ ชาติ
1.4.5 กรมสง่ เสรมิ การปกครองท้องถิน่
1.4.6 สานกั การศกึ ษากรงุ เทพมหานคร
1.4.7 สานกั การศึกษาเมอื งพัทยา
1.4.8 การจัดการศกึ ษาโดยครอบครวั (Homeschool)

3

1.5 ตำรำงกำรประเมิน

ดาเนินการประเมินในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 ระหว่างวันท่ี 1 - 4 มีนาคม 2565

โดยมตี ารางการประเมนิ ดังน้ี

วนั สอบ เวลำ วิชำ เวลำสอบ

09.00 – 09.45 น. การอ่านรู้เรื่อง 45 นาที

พกั 30 นาที

1 - 4 ม.ี ค. 2565 10.15 – 11.30 น. การอ่านออกเสยี ง คนละ 10 นาที

พกั กลางวนั 60 นาที

12.30 – 15.00 น. การอ่านออกเสียง (ต่อ) คนละ 10 นาที

1.6 ประกำศผลกำรประเมิน
ประกาศผลการประเมนิ วันท่ี 20 เมษายน 2565

1.7 โครงสร้ำงและเครื่องมือที่ใชใ้ นกำรประเมิน
1.7.1 โครงสร้างเคร่ืองมือการประเมิน
โครงสร้างเคร่ืองมือมาตรฐานเพ่ือใช้ประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน

ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 เป็นความสามารถด้านการอ่านออกเสียง และการอ่านรู้เรื่อง
ซ่ึงสอดคล้องกับมาตรฐานและตัวชี้วัดตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระ
การเรยี นรู้ภาษาไทย มีรายละเอยี ดตามกรอบโครงสรา้ ง ดังนี้

4

องค์ รปู แบบขอ้ สอบ (จำนวนขอ้ ) รวม (ข้อ)
ประกอบ (คะแนน)
มำตรฐำนและตวั ชีว้ ัด จบั คู่ เลือกต เขียน ปฏบิ ัติ
อบ ตอบส้ัน จรงิ
สมรรถนะ 1. กำรอ่ำนออกเสยี ง
ท 1.1 ป.1/1 อ่านออกเสยี งคา คาคล้องจอง และขอ้ ความสั้น ๆ (คา คำ 20 20
ทม่ี ีรูปวรรณยกุ ต์ และไม่มีรปู วรรณยกุ ต์ คาท่มี ีตวั สะกดตรงมาตรา 20 คา (20 คะแนน)
และไมต่ รงมาตรา คาทม่ี ีพยญั ชนะควบกลา้ คาทม่ี ีอกั ษรนา) ขอ้ ควำม
1 ขอ้ ความ 1 1 บทอา่ น
รวม มี 10 ประโยค (30 คะแนน)
รวม 60 – 70 คา
สมรรถนะ 2. กำรอ่ำนร้เู รอ่ื ง
ท 1.1 ป.1/2 บอกความหมายของคาและขอ้ ความท่ีอา่ น 21 21
ท 1.1 ป.1/3 ตอบคาถามเกีย่ วกบั เร่อื งทอ่ี ่าน (50 คะแนน)
ท 1.1 ป.1/4 เลา่ เรอื่ งยอ่ จากเรื่องท่อี า่ น
ท 1.1 ป.1/5 คาดคะเนเหตกุ ารณจ์ ากเร่อื งที่อา่ น คำ 10 10
ท 1.1 ป.1/7 บอกความหมายของเคร่อื งหมายหรือ สัญลกั ษณ์ 10 คา (10 คะแนน)
สาคญั ท่มี กั พบเห็นในชวี ติ ประจาวนั ประโยค 5
ท 2.1 ป.1/2 เขียนสอ่ื สารดว้ ยคาและประโยคงา่ ย ๆ เล่าเร่อื งจากภาพ 5
ท 3.1 ป.1/2 ตอบคาถามและเลา่ เร่ืองท่ีฟังและดทู ้งั ทีเ่ ป็นความรู้ 5 ภาพ 10 (10 คะแนน)
และความบันเทิง ประโยค
ท 4.1 ป.1/3 เรียบเรียงคาเป็นประโยคง่าย ๆ 10 ประโยค 10
ท 5.1 ป.1/1 บอกข้อคดิ ที่ได้จากการอา่ นหรอื การฟงั วรรณกรรม (20 คะแนน)
ร้อยแก้วและร้อยกรองสาหรบั เดก็
ขอ้ ควำม 5 5
รวม 3 – 5 ขอ้ ความ (10 คะแนน)

ขอบข่ำยสำระ (ส่ิงเรำ้ ) 10 15 5 30
เปน็ คา ประโยค ข้อความ หรอื บทรอ้ ยกรองงา่ ย ๆ (50 คะแนน)
ทมี่ วี งคาศัพท์ท่เี ป็นคาประสมดว้ ยพยัญชนะและสระประกอบด้วยคา
คล้องจอง ข้อความส้ัน ๆ (คาท่มี ีรปู วรรณยุกต์ และไมม่ ีรูปวรรณยกุ ต์ อักษรสูง ข ฃ ฉ ฐ ถ ผ ฝ ศ ษ ส ห
คาที่มีตัวสะกดตรงมาตรา และ
ไม่ตรงมาตรา คาทม่ี ีพยัญชนะควบกล้า คาที่มอี ักษรนา) อักษรกลำง ก จ ฎ ฏ ด ต บ ป อ
หมายเหตุ คาทน่ี ามาใช้อยใู่ นรายงานผลการศกึ ษาคาพ้ืนฐานนักเรยี น
ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 1 – 3 ปีการศกึ ษา 2554 อกั ษรต่ำ ค ฅ ฆ ง ช ซ ฌ ญ ฑ ฒ ณ ท ธ น พ ฟ ภ ม ย ร ล ว ฬ ฮ
สานักวชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา
สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน สระเสยี งสั้น-ยำวท่ีเปน็ สระเดยี่ วจำนวน 18 ตัว ประกอบด้วยสระอะ อา อิ

อี อึ ออื อุ อู เอะ เอ แอะ แอ โอะ โอ เอาะ ออ เออะ เออ สระประสม 6 ตัว

ประกอบด้วยสระ เอียะ เอีย อวั ะ อัว เอือะ เออื และสระเกนิ 4 ตวั

ประกอบดว้ ย สระอา ใอ ไอ เอา สระลดรปู

สระเปลี่ยนรปู (ท้ังมแี ละไม่มีรูปวรรณยกุ ต)์

5

*ข้อควรปฏบิ ัติ แบบทดสอบการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียนน้ี เป็นเอกสารสงวนลิขสิทธ์ิ
ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ห้ามคัดลอก ดัดแปลง เฉลย หรือนาไป
เผยแพร่โดยไม่ไดร้ บั อนญุ าตจะถูกดาเนนิ คดีตามกฎหมาย

1.7.2 เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน
เคร่ืองมือที่ใช้ในการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1

ปกี ารศึกษา 2564 มีท้ังหมด 2 ฉบบั ได้แก่
ฉบับท่ี 1 กำรอำ่ นรเู้ รอื่ ง เป็นแบบทดสอบ ประกอบด้วย
ตอนที่ 1 การอ่านรู้เร่อื งเป็นคาเป็นข้อสอบแบบจับค่คู า10 คา คะแนนเตม็ 10 คะแนน
ตอนที่ 2 การอา่ นรู้เร่อื งเปน็ ประโยคมี 15 ขอ้ ประกอบดว้ ย
- ขอ้ สอบแบบเขียนประโยคเล่าเรือ่ งจากภาพมี 5 ภาพ คะแนนเต็ม 10 คะแนน
- ข้อสอบแบบเลือกตอบมี 10 ขอ้ คะแนนเต็ม 20 คะแนน
ตอนที่ 3 การอ่านรู้เรื่องเป็นข้อความ เป็นข้อสอบแบบเลือกตอบมี 5 ข้อ

คะแนนเตม็ 10 คะแนน
ฉบบั ท่ี 2 กำรอ่ำนออกเสียง เปน็ แบบทดสอบภาคปฏิบัติ ประกอบด้วย
ตอนท่ี 1 การอา่ นออกเสยี งเปน็ คา มีจานวนคาทั้งสิ้น 20 คา คะแนนเตม็ 20 คะแนน
ตอนที่ 2 การอ่านออกเสียงข้อความ มจี านวน 1 ขอ้ ความ ประกอบดว้ ย 10 ประโยค

รวม 60 - 70 คา คะแนนเตม็ 30 คะแนน

1.8 กำรแปลควำมหมำยของผลกำรประเมิน
ผลการประเมนิ ความสามารถดา้ นการอ่านของผู้เรียน ในรายองคป์ ระกอบ รายสมรรถนะและ

ภาพรวม สามารถแปลความหมายได้ ดังต่อไปน้ี

ควำมหมำยในภำพรวม ระดบั ควำมสำมำรถ
คะแนนความสามารถของนักเรียนในการอ่านออกเสียง อ่านร้เู ร่อื ง คา ประโยค ดมี ำก
และข้อความในวงคาศัพท์ทก่ี าหนดได้ถูกต้อง ต้งั แต่ร้อยละ 75 ขน้ึ ไป

คะแนนความสามารถของนักเรียนในการอ่านออกเสยี ง อ่านรู้เร่ือง คา ประโยค และ ดี
ขอ้ ความในวงคาศัพท์ทีก่ าหนดไดถ้ กู ต้อง ตง้ั แต่ร้อยละ 50 ข้นึ ไปแต่นอ้ ยกวำ่ ร้อยละ 75

คะแนนความสามารถของนักเรียนในการอ่านออกเสยี ง อ่านรเู้ ร่ือง คา ประโยค และ พอใช้
ข้อความในวงคาศัพท์ท่กี าหนดได้ถกู ต้อง ตั้งแต่ร้อยละ 25 ขึ้นไปแต่น้อยกวำ่ ร้อยละ 50 ปรับปรงุ
คะแนนความสามารถของนักเรียนในการอา่ นออกเสียง อ่านรเู้ รอ่ื ง คา ประโยค
และข้อความในวงคาศัพท์ทีก่ าหนดได้ถูกต้อง ตา่ กวา่ ร้อยละ 25

6

1.9 กำหนดกำรบริหำรจัดกำรประเมินควำมสำมำรถด้ำนกำรอ่ำนของผู้เรียน ชั้นประถมศึกษำปีท่ี 1

ปีกำรศึกษำ 2564

ท่ี กจิ กรรม ระยะเวลำ ผรู้ ับผดิ ชอบ

1 สพฐ. สรา้ งแบบประเมนิ ความสามารถดา้ นการอ่านของ เม.ย.64 – ม.ค.65 สพฐ.
ผู้เรยี น (RT) และกาหนดเกณฑ์การประเมนิ

2 สพฐ. แจ้ง Test Blueprint ให้หน่วยงานต้นสงั กดั ทราบ พ.ย. 64 สพฐ.
เพ่ือสถานศึกษาในสังกัด

3 ประชุมชแี้ จงผู้แทนสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาที่มีโรงเรยี น

ตามโครงการพระราชดาริสมเดจ็ พระกนษิ ฐาธริ าชเจ้า 7 ธ.ค. 64 สพฐ.
กรมสมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

(จานวน 89 เขต และ ตชด. 18 แหง่ ) ผ่านระบบออนไลน์

4 สพฐ. ดาเนินการจดั จา้ งประมวลผลการประเมิน ธ.ค. 64– ม.ค. 65 สพฐ.

5 สถานศึกษาท่สี มัครใจประเมนิ แจ้งความประสงคผ์ ่านสานักงาน

เขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาหรือหนว่ ยงานตน้ สงั กดั ในสว่ นภมู ิภาค ภายใน 31 ม.ค. 65 หน่วยงานต้นสงั กัด

เพ่อื จัดทาหนังสือขอไฟลต์ ้นฉบับเครื่องมือมายงั สพฐ.

6 สพฐ. จัดส่งไฟลค์ ู่มือและไฟล์ต้นฉบบั ข้อสอบผ่านระบบ NT ACCESS 15 ก.พ. 65 สพฐ.

7 หน่วยงานต้นสังกัดในระดับภูมิภาคจัดสนามสอบและห้องสอบ ก.พ. 65 หน่วยงานตน้ สังกัด
ในระดบั ภูมภิ าค

8 หนว่ ยงานต้นสังกัดในระดับภูมิภาคจดั จ้างพิมพ์ขอ้ สอบและ ก.พ. 65 หน่วยงานต้นสงั กดั
เอกสารธรุ การ ในระดบั ภูมภิ าค

9 หนว่ ยงานตน้ สังกัดในระดับภมู ิภาคแต่งต้ังคณะกรรมการจัดสอบ ก.พ. 65 หน่วยงานต้นสงั กดั
ระดบั ศูนยส์ อบ และสนามสอบ ในระดับภูมิภาค

10 หน่วยงานตน้ สังกัดในระดบั ภูมภิ าคประชุมชแี้ จงคณะกรรมการ ก.พ. 65 หนว่ ยงานตน้ สังกัด
ระดบั ศนู ยส์ อบและสนามสอบเกยี่ วกับการบริหารจัดการสอบ ในระดับภมู ภิ าค

11 หน่วยงานตน้ สังกัดในระดับภูมิภาคดาเนินการจดั สอบ 1 -4 มี.ค. 65 หนว่ ยงานต้นสังกัด
ในระดบั ภูมภิ าค

12 สพฐ. และหนว่ ยงานตน้ สังกัดในระดบั ภมู ิภาคตรวจเยีย่ มสนามสอบ 1 - 4 ม.ี ค. 65 สพฐ.ร่วมกับตน้ สังกดั

13 สถานศกึ ษานาเข้าผลการทดสอบรายบคุ คล 5 – 31 ม.ี ค. 65 สถานศึกษา

14 ประมวลผลคะแนนการทดสอบ เม.ย.65 สพฐ.

15 ประกาศผลการผลการประเมินคณุ ภาพผเู้ รียน 20 เม.ย. 65 สพฐ.

16 สรปุ และรายงานผลการประเมนิ คณุ ภาพผ้เู รียนต่อ เม.ย.65 เปน็ ตน้ ไป สพฐ.
สาธารณชน

7

1.10 กำรนำผลกำรประเมนิ ไปใช้ในกำรวนิ จิ ฉัยนักเรยี น
ผลการประเมนิ ความสามารถด้านการอ่านของผเู้ รียน ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 1 สถานศึกษาและ

ครผู สู้ อนสามารถนาผลการประเมนิ ความสามารถด้านการอ่านของผูเ้ รยี น ไปใชใ้ นการวางแผนพัฒนาผู้เรยี น
เป็นรายบุคคล และยังสามารถนาไปใช้ในการจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาในแต่ละ
ปีการศึกษาอีกด้วย โดยครูผู้สอนสามารถศึกษาผลการประเมินความสามารถของผู้เรียนเป็นรายบุคคล
จากแบบรายงานผลการประเมินความสามารถของผู้เรียนเป็นรายบุคคล (R-Student 01) นาเสนอผล
การประเมินความสามารถของผู้เรียนท้ังด้านการอ่านออกเสียง และการอ่านรู้เร่ือง โดยเฉพาะอย่างย่ิ ง
ในส่วนของการอ่านออกเสียงจะมีการนาเสนอผลการอ่านเป็นคาท่ีมีรูปแบบของคาในรูปแบบต่าง ๆ เช่น
คาสระเดี่ยว/ไม่มีตัวสะกด คาสระเด่ียว/ตัวสะกดไม่ตรงมาตรา คาสระเดี่ยวเปล่ียนรูป/ตัวสะกดตรงมาตรา
คาสระเดี่ยวเปล่ียนรูป/ตัวสะกดไม่ตรงมาตรา คาสระเกิน/ไม่มีตัวสะกด เป็นต้น โดยมีการระบุคาที่ใช้
สอบอ่านดว้ ย ดังน้นั เม่อื พบว่านักเรียนส่วนใหญอ่ ่านผิดซ้า ๆ ที่คาเดียวกัน แสดงว่า คานนั้ เป็นคายากสาหรับ
นกั เรียนในช้ันเรียนนั้น ครคู วรต้องปรับกระบวนการสอน ทาความเข้าใจกับนักเรียนและฝึกให้มากขึ้น และ
วางแผนพัฒนาผู้เรียนเป็นรายบุคคล รวมทั้งนาไปปรับวิธีเรียนเปลี่ยนวิธีสอน หรือนาไปใช้เป็นประเด็น
ในการทาวิจัยในชนั้ เรยี นอีกด้วย

1.11 กำรวิเครำะห์ผลในภำพรวมของโรงเรียน
ผลการประเมินความสามารถดา้ นการอา่ นของผเู้ รียน ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรยี นสามารถ

นาผลการประเมินจากแบบสรุปรายงานผลการประเมินของโรงเรียน (R-School 01) แบบรายงานค่าสถิติ
พ้ืนฐานผลการประเมินของโรงเรียน (R-School 02) แบบรายงานผลการประเมินผู้เรียนจาแนกรายบุคคล
ในแต่ละสมรรถนะ (R-School 03) แบบรายงานผลการประเมินผู้เรียนจาแนกรายบุคคลในแต่ละ
องค์ประกอบ (R-School 04) และแบบรายงานผลค่าสถิติพื้นฐานจาแนกรายโรงเรียน (R-School 05)
ไปวิเคราะห์ และหาจุดที่ต้องพัฒนาของการเรียนการสอนในภาพรวม เช่น พบว่า นักเรียนส่วนใหญ่อ่าน-เขียน
คาท่ีใช้วรรณยุกต์ไม่ถูกต้องในกลุ่มพยัญชนะเสียงสูง โรงเรียนควรส่งเสริมให้ครูผู้สอนพัฒนาชุดฝึก
ให้นักเรียนได้ฝึกอ่าน-เขียน คาท่ีใช้วรรณยุกต์ โดยให้ทาซ้า ๆ จนคล่อง ก็จะเป็นการแก้ปัญหาท่ีตรงจุด
เป็นต้น ท้ังนี้ ส่ิงที่โรงเรียนวิเคราะห์ได้จากผลการประเมินจะช่วยให้ครูค้นหาเทคนิควิธีการจัดการเรียนรู้
ท่เี หมาะสมกบั นักเรียน หรือปรับเปล่ียนวิธีการจัดการเรียนรู้ เพ่ือแก้ไขปัญหาการอ่านเขียนของนักเรียนทกุ คน
และชว่ ยกนั เสรมิ สรา้ งพนื้ ฐานการอา่ นเขยี นของนักเรยี นให้เขม้ แข็ง จนเป็นเคร่ืองมือการเรียนรู้ของนักเรียน
ในชั้นเรียนถดั ไปไดเ้ ปน็ อย่างดี

8

ตอนท่ี 2
กรอบแนวคดิ ในกำรประเมินควำมสำมำรถด้ำนกำรอ่ำน

แนวคิดที่ใช้ในการบริหารจัดการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้ เรียน
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2564 นี้ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน คานึงถึง
ความสาคัญของกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551
แนวคิดเกี่ยวกับการกระจายอานาจในการบริหารจัดการ (Decentralization) และแนวคิดเกี่ยวกับ
ความโปร่งใสในการจดั สอบ (Transparency) โดยมรี ายละเอยี ด ดงั ต่อไปนี้

2.1 หลักสตู รแกนกลำงกำรศึกษำขน้ั พ้นื ฐำน พุทธศกั รำช 2551 กลุ่มสำระกำรเรยี นรูภ้ ำษำไทย
ควำมสำคญั
ภาษาไทยเปน็ เอกลกั ษณ์ประจาชาติ เป็นสมบัติทางวัฒนธรรมอันก่อให้เกิดความเป็นเอกภาพ

และเสริมสร้างบุคลิกภาพของคนในชาติให้มีความเป็นไทย เป็นเคร่ืองมือในการติดต่อส่ือสาร เพื่อสร้าง
ความเข้าใจและความสัมพันธ์ท่ีดีต่อกัน ทาให้สามารถประกอบกจิ ธุรการงานและดารงชีวิตร่วมกันในสังคม
ประชาธิปไตยได้อย่างสันติสุข และเป็นเคร่ืองมือในการแสวงหาความรู้ ประสบการณ์จากแหล่งข้อมูล
สารสนเทศต่าง ๆ เพื่อพัฒนาความรู้ ความคิด วิเคราะห์ วิจารณ์ และสร้างสรรค์ให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง
ทางสังคมและความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี ตลอดจนนาไปใช้ในการพัฒนาอาชีพให้มี
ความม่ันคงทางสังคมและเศรษฐกิจ นอกจากน้ี ยังเป็นส่ือท่ีแสดงภูมิปัญญาของบรรพบุรุษด้านวัฒนธรรม
ประเพณี ชวี ทศั น์ โลกทัศน์ และสนุ ทรียภาพ โดยบันทึกไว้เป็นวรรณคดีและวรรณกรรมอนั ล้าค่า ภาษาไทย
จงึ เปน็ สมบตั ขิ องชาตทิ คี่ วรคา่ แกก่ ารเรยี นรู้ เพื่ออนุรกั ษแ์ ละสืบสานใหค้ งอยคู่ ่ชู าตไิ ทยตลอดไป

คุณภำพของผูเ้ รียน
เม่ือจบหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐานแล้วผู้เรียนต้องมีความรู้ ความสามารถและคุณธรรม
จรยิ ธรรมและคา่ นยิ ม ดังน้ี
1. สามารถใช้ภาษาสื่อสารได้อย่างดี
2. สามารถอา่ น เขยี น ฟัง ดู และพดู ไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ
3. มคี วามคดิ สร้างสรรค์ คดิ อย่างมีเหตผุ ลและคิดเปน็ ระบบ
4. มีนิสัยรักการอ่าน การเขียน การแสวงหาความรู้และใช้ภาษาในการพัฒนาตน และ
สรา้ งสรรคง์ านอาชีพ
5. ตระหนักในวัฒนธรรมการใช้ภาษาและความเป็นไทยภูมิใจและช่ืนชมในวรรณคดีและ
วรรณกรรมซง่ึ เปน็ ภมู ิปญั ญาของคนไทย
6. สามารถนาทักษะทางภาษามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริงได้อย่างมีประสิทธิภาพและถูกต้อง
ตามกาลเทศะ และบุคคล

9

7. มีมนุษยสมั พันธ์ท่ีดี และสรา้ งความสามคั คีในความเปน็ ชาติไทย
8. มีคณุ ธรรมจริยธรรม มีวิสัยทศั น์ โลกทศั น์ที่กว้างไกลและลึกซึง้
เม่อื จบแตล่ ะช่วงชัน้ ผูเ้ รียนตอ้ งมีความรู้ความสามารถ คณุ ธรรมจรยิ ธรรม และค่านิยม ดังน้ี
ชว่ งชั้นท่ี 1 ชน้ั ประถมศกึ ษำปีที่ 1 - 3
1. สามารถอ่านไดค้ ลอ่ งและอ่านได้เรว็
2. เขา้ ใจความหมายและหนา้ ทีข่ องคา
3. นาความรู้ที่ได้จาการอ่านมาคิด คาดคะเนเร่ืองราวหรือเหตุการณ์ และกาหนดแนวทาง
การปฏิบัติได้
4. เลือกอ่านหนงั สอื ท่ีเป็นประโยชนท์ ้ังความรู้ และความบันเทิง
5. ดแู ละเขยี นแสดงความรู้ ความคดิ ความรู้สึก ความตอ้ งการและจินตนาการ
6. จดบันทกึ ความรู้ ประสบการณ์ และเร่ืองราวในชีวิตประจาวนั
7. จับใจความสาคัญ ต้ังคาถาม ตอบคาถาม สนทนา แสดงความคิดเห็นเล่าเรื่อง ถ่ายทอด
ความรู้ ความคิด ความรสู้ ึก และประสบการณ์จากเรื่องทฟ่ี ังท่ดี ูได้
8. เข้าใจวา่ ภาษาไทยมีทั้งภาษาไทยกลางและภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถนิ่
9. ใชค้ าคล้องจองแต่งบทรอ้ ยกรองง่าย ๆ
10. ท่องจาบทรอ้ ยกรองที่ไพเราะ และนาไปใชใ้ นการพูดและการเขยี น
11. นาปรศิ นาคาทายและบทรอ้ งเลน่ ในทอ้ งถิน่ มาใชใ้ นการเรยี นและเล่น
12. ใช้ทักษะทางภาษาเป็นเครื่องมือการเรียน การแสวงหาความรู้ และใช้ได้เหมาะสมกับ
บุคคลและสถานการณ์
13. นาความรู้ที่ได้จากการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมไปใช้ในชีวิตมีมารยาทการอ่าน
การเขยี น การฟงั การดู และการพดู
14. มนี สิ ัยรกั การอา่ นและการเขียน

2.2 ตวั ชี้วดั ท่เี กีย่ วข้องกับกำรประเมินกำรอำ่ น
การประเมนิ ความสามารถดา้ นการอ่านของผู้เรียน ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564 สานกั

ทดสอบทางการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน กาหนดให้มกี ารประเมินตามหลักสูตร
แกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 โดยใชม้ าตรฐาน และตวั ชีว้ ดั ท่เี กี่ยวขอ้ ง ดังนี้

10

สำระที่ 1 กำรอำ่ น

มำตรฐำน ท 1.1 ใชก้ ระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพ่ือนาไปใช้ตดั สนิ ใจ แก้ปัญหาในการดาเนินชีวิต

และมีนิสยั รกั การอ่าน

ชัน้ ตวั ช้ีวัด สำระกำรเรียนรแู้ กนกลำง

ป.1 - อา่ นออกเสียงคา คาคล้องจอง และ การอา่ นออกเสยี งและบอกความหมายของคา

ขอ้ ความสนั้ ๆ คาคล้องจอง และข้อความท่ปี ระกอบดว้ ย

- บอกความหมายของคา และข้อความท่ีอา่ น คาพ้นื ฐาน คือ คาท่ใี ชใ้ นชีวติ ประจาวนั ไม่น้อย

กว่า 600 คา รวมท้ังคาที่ใชเ้ รียนรูใ้ นกลมุ่ สาระ

การเรียนรอู้ ืน่ ประกอบดว้ ย

- คาท่มี ีรปู วรรณยุกต์และไมม่ ีรูปวรรณยุกต์

- คาที่มีตัวสะกดตรงตามมาตราและไม่ตรง

ตามมาตรา

- คาที่มพี ยัญชนะควบกล้า

- คาที่มีอักษรนา

- ตอบคาถามเกย่ี วกบั เรื่องทอ่ี ่าน การอา่ นจบั ใจความจากสอ่ื ต่าง ๆ เชน่

- เล่าเร่ืองย่อจากเรือ่ งทอี่ า่ น - นิทาน

- คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องท่ีอา่ น - เรอ่ื งสน้ั ๆ

- บทรอ้ งเลน่ และบทเพลง

- เรื่องราวจากบทเรยี นในกล่มุ สาระ

การเรยี นร้ภู าษาไทยและกล่มุ สาระ

การเรียนรอู้ ื่น

- บอกความหมายของเครื่องหมาย หรือ การอ่านเครื่องหมายหรือสัญลกั ษณ์

สัญลกั ษณส์ าคัญที่มักพบเหน็ ประกอบด้วย

ในชีวติ ประจาวัน - เครือ่ งหมายสญั ลกั ษณต์ ่าง ๆ ท่พี บเห็น

ในชวี ิตประจาวัน

- เคร่อื งหมายแสดงความปลอดภัยและแสดง

อนั ตราย

11

สำระที่ 2 กำรเขยี น

มำตรฐำน ท 2.1 ใช้กระบวนการเขียน เขียนส่ือสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเร่ืองราว

ในรปู แบบตา่ ง ๆ เขียนรายงานขอ้ มลู สารสนเทศและรายงานการศกึ ษาคน้ คว้าอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ

ชน้ั ตัวชวี้ ดั สำระกำรเรียนรูแ้ กนกลำง

ป.1 - เขยี นสือ่ สารด้วยคาและประโยคงา่ ย ๆ การเขยี นสื่อสาร

- คาที่ใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั

- คาพน้ื ฐานในบทเรียน

- คาคล้องจอง

- ประโยคงา่ ย ๆ

สำระที่ 3 กำรฟัง กำรดู และกำรพดู

มำตรฐำน ท 3.1 สามารถเลือกฟังและดอู ย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคดิ และความรู้สึก

ในโอกาสต่าง ๆ อย่างมีวิจารณญาณและสรา้ งสรรค์

ช้ัน ตัวชีว้ ดั สำระกำรเรยี นรแู้ กนกลำง

ป.1 - ตอบคาถามและเลา่ เร่ืองทีฟ่ ังและดทู ้ังที่ การจับใจความและพูดแสดงความคดิ เห็น

เป็นความรคู้ วามบนั เทิง ความร้สู กึ จากเร่ืองท่ีฟงั และดู ทงั้ ท่ีเปน็ ความรู้

และความบนั เทงิ

- เรือ่ งเลา่ และสารคดีสาหรบั เด็ก

- นิทาน

- การ์ตูน

- เรือ่ งขบขัน

สำระท่ี 4 หลกั กำรใช้ภำษำไทย

มำตรฐำน ท 4.1 เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ียนแปลงของภาษาและพลังของภาษา

ภูมปิ ญั ญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบตั ิของชาติ

ชน้ั ตัวชีว้ ดั สำระกำรเรียนรแู้ กนกลำง

ป.1 - เขยี นสะกดคาและบอกความหมายของคา การสะกดคา การแจกลูก และการอา่ นเป็นคา

มาตราตัวสะกดทต่ี รงตามมาตราและไม่ตรง

ตามมาตรา

การผันคา

ความหมายของคา

- เรียบเรียงคาเป็นประโยคง่าย ๆ การแต่งประโยค

12

สำระท่ี 5 วรรณคดแี ละวรรณกรรม

มำตรฐำน ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและ

นามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง

ชนั้ ตัวช้วี ัด สำระกำรเรียนรู้แกนกลำง

ป.1 - บอกข้อคิดท่ีได้จากการอา่ นหรือการฟัง วรรณกรรมร้อยแกว้ และร้อยกรองสาหรับเด็ก เชน่

วรรณกรรมร้อยแก้วและรอ้ ยกรองสาหรบั - นิทาน

เด็ก - เรอื่ งสั้นง่าย ๆ

- ปรศิ นาคาทาย

- บทร้องเล่น

- บทอาขยาน

- บทรอ้ ยกรอง

- วรรณคดแี ละวรรณกรรมในบทเรยี น

2.3 ควำมหมำยของกำรอ่ำน
การดาเนินการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1

ปีการศกึ ษา 2564 ไดก้ าหนดนิยามความหมายไว้ ดังนี้

1) การอ่านรู้เร่ือง หมายถึง การอ่านคา ประโยค หรือข้อความส้ัน ๆ ท่ีเป็นคาในวงคาศัพท์
ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ท้ังที่เป็นคาท่ีมีความหมายโดยตรงหรือคาท่ีมีความหมายโดยนัยที่ใช้ใน
ชีวิตประจาวนั โดยสามารถบอกข้อคดิ ทีไ่ ด้จากการอา่ นร้อยแกว้ ร้อยกรอง สาหรบั เด็ก (เป็นข้อความงา่ ย ๆ)
จับใจความจากเร่ืองที่อ่าน ตอบคาถามจากเร่ืองที่อ่าน บอกความหมายของเครื่องหมายสัญลักษณ์ท่ีสาคัญ
ทพ่ี บเห็นในชีวิตประจาวัน คาดคะเนจากเรื่องที่อ่าน สรุปความรู้ข้อคิดจากเรื่องท่ีอ่านได้อย่างสมเหตุสมผล
แปลความและสร้างสรรคจ์ ากภาพ

2) การอ่านออกเสยี ง หมายถึง การอ่านคา ประโยค หรอื ข้อความสัน้ ๆ ท่เี ป็นคาในวงคาศพั ท์
ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ทั้งที่เป็นคาที่มีความหมายโดยตรงหรือคาท่ีมีความหมายโดยนัยท่ีใช้ใน
ชวี ติ ประจาวนั โดยวธิ ีการอ่านออกเสยี ง

2.4 แนวคดิ เก่ียวกับกำรกระจำยอำนำจในกำรบริหำรจดั กำร (Decentralization)
การประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 นี้

สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ยึดหลักการกระจายอานาจการบริหารจัดการไปยังศูนย์สอบ
ทุกแห่ง เริ่มตั้งแต่การวางแผน การดาเนินงานบริหารจัดการ การตัดสินใจ และความรับผิดชอบ โดยมี
แนวคดิ สาคญั ดงั ตอ่ ไปนี้

13

ควำมหมำยของกำรกระจำยอำนำจ
การกระจายอานาจ คือ การถ่ายโอนอานาจการตัดสินใจ ทรัพยากร และภารกิจจากภาครัฐ
ส่วนกลางใหแ้ ก่องคก์ รอ่ืนใด ไมว่ ่าจะเป็นองค์กรภาครฐั ส่วนภูมภิ าค องค์กรอิสระ องค์กรท้องถ่ิน องค์กรเอกชน
โดยเฉพาะภาคประชาชนไปดาเนินการแทน ซึ่งการถ่ายโอนดังกล่าว อาจจะมีลักษณะเป็นการถ่ายโอน
เฉพาะภารกิจ ซ่ึงเป็นการแบ่งภารกิจ ให้แก่องค์กรท่ีได้รับการกระจายอานาจดาเนินการ หรือ เป็นการถ่ายโอน
โดยยดึ พื้นทีเ่ ปน็ หลกั ซง่ึ เปน็ การแบ่งพื้นทเ่ี ปน็ หนว่ ยงานยอ่ ยในการดาเนินการ

แนวคิดพนื้ ฐำนเก่ียวกับกำรกระจำย
การกระจายอานาจสู่ส่วนภูมิภาค เป็นยุทธศาสตร์หน่ึงในการบริหารจัดการบ้านเมืองของรัฐ
ในระบบประชาธิปไตย โดยมงุ่ ลดบทบาทของรัฐส่วนกลาง (Decentralize) ลงเหลือภารกิจหลักเท่าท่ีต้องทา
เท่าทีจ่ าเป็น และให้ประชาชนได้มีส่วนในการบริหารงานชุมชนส่วนภูมิภาค ตามเจตนารมณ์ของประชาชน
มากขึ้น การกระจายอานาจสู่ส่วนภูมิภาค จึงเป็นการจัดความสัมพันธ์ทางอานาจหน้าที่ใหม่ ระหว่าง
ส่วนกลางกับส่วนภูมิภาค ให้สอดคล้องกับสภาพการณ์บ้านเมือง ท่ีเปล่ียนแปลงไปในสภาวะที่สังคมมีกลุ่ม
ทหี่ ลากหลาย มีความต้องการ และความคาดหวังจากรฐั ท่ีเพ่ิมข้ึน และแตกต่างกัน ขัดแย้งกัน ในขณะท่ีรัฐเอง
ก็มีขีดความสามารถ และทรัพยากรที่จากัด ในการตอบสนองปัญหา ความต้องการท่ีเกิดขึ้นในแต่ละ
ส่วนภูมิภาคได้ทันต่อเหตุการณ์ และตรงกับความต้องการของส่วนภูมิภาค โดยการกระจายอานาจ
จากสว่ นกลางไปยังสว่ นภูมิภาค จะดาเนนิ การกระจายในส่งิ ต่อไปนี้
1) การกระจายหน้าท่ี เป็นกระจายภารกิจหน้าท่ีจากส่วนกลางท่ีเป็นประโยชน์โดยตรงกับ
สว่ นภูมิภาค ให้สว่ นภมู ภิ าครบั ผดิ ชอบดาเนนิ การเอง
2) การกระจายอานาจการตัดสินใจ เป็นการกระจายอานาจการตัดสินใจดาเนินการ
ตามหน้าทที่ ส่ี ว่ นกลางกระจายไปใหส้ ว่ นภมู ภิ าคดาเนินการ
3) การกระจายทรัพยากรการบริหาร เป็นการกระจายบุคลากร งบประมาณ เทคโนโลยี
ทเี่ หมาะสมใหก้ ับส่วนภูมภิ าค
4) การกระจายความรับผิดชอบ เป็นการกระจายความรับผิดชอบต่อภารกิจ หน้าท่ีท่ีรัฐกับ
ผู้บรหิ ารส่วนภมู ิภาค และประชาชนร่วมกันรับผดิ ชอบ
5) การกระจายความพร้อม เป็นการกระจายความพรอ้ มท่ีมอี ยใู่ นส่วนกลางให้กบั สว่ นภูมิภาค
เพื่อสร้างขีดความสามารถให้แก่ส่วนภูมิภาค เป็นการทาให้ส่วนภูมิภาคมีความเข้มแข็ง สามารถบริหาร
จัดการสว่ นภูมิภาคได้อย่างมีประสิทธภิ าพ
ในการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน ช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2564
มุ่งเน้นการกระจายอานาจในการบริหารจัดการไปยังศูนย์สอบท่ีเป็นหน่วยงานจากสังกัดต่าง ๆ เพื่อให้
การบริหารจัดการสอบสามารถดาเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีความรวดเร็ว โดยมีการกาหนด
ศูนย์สอบในการบรหิ ารจัดการสอบให้สถานศกึ ษาในสังกัดต่าง ๆ ดงั ตอ่ ไปนี้

14

ศูนย์สอบและสถำนศึกษำที่เขำ้ รว่ มสอบในศูนย์สอบ

สำนักงำนเขตพ้นื ที่ สำนกั งำน สำนัก สำนัก สำนักงำน สำนกั งำน
กำรศึกษำ
ประถมศกึ ษำ สง่ เสรมิ กำร กำรศกึ ษำ กำรศกึ ษำ คณะกรรมกำร ศึกษำธิกำร
(สพป.)
ปกครอง กรุงเทพ เมอื งพัทยำ กำรส่งเสริม จังหวัด
ร.ร. สพป.
ร.ร. สพม. ทอ้ งถิน่ มหำนคร เอกชน
ร.ร. ตชด.
ร.ร. สาธติ จังหวดั
มหาวิทยาลยั
ร.ร .ราชประชานุเคราะห์ ร.ร. อบต. ร.ร. กทม. ร.ร.เมอื งพทั ยา ร.ร.เอกชนใน ร.ร.เอกชน
ร.ร. การศกึ ษาพิเศษ
Home school ร.ร. เทศบาล กรุงเทพ ในจังหวัด
ศูนย์การเรียนรูช้ มุ ชน
ร.ร. อบจ. มหานคร

2.5 กำรบริกำรกำรทดสอบ
สานักทดสอบทางการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน จัดส่งเอกสาร

ไปยังศูนย์สอบแต่ละแห่งในรูปแบบไฟล์ PDF ผ่านระบบ NT ACCESS ไปยังสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
หรือหนว่ ยงานตน้ สังกัดในส่วนภูมภิ าค ประกอบด้วย

1) ไฟล์ค่มู อื การจดั สอบ
2) ไฟลต์ น้ ฉบบั เคร่ืองมอื ประเมิน
3) ไฟล์ PDF แบบฟอรม์ เปล่าสาหรบั กรอกคะแนนสอบ
4) ไฟล์ excel แบบฟอรม์ การกรอกคะแนนนักเรียนเพื่อนาเขา้ ระบบ NT Access
5) ไฟล์วีดิทศั น์อธบิ ายแนวทางการนาคะแนนผลการทดสอบเขา้ ระบบ NT Access
หลังจากเสร็จส้ินการสอบ ให้แต่ละสนามสอบเก็บรักษาแบบทดสอบไว้ท่ีสถานศึกษา
เพื่อนาไปใช้ประโยชนต์ ่อไป

กำรติดตำมกำรบรหิ ำรกำรทดสอบ
1) สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานศึกษา ร่วมกับสานักงานเขตพ้ืนท่ี
การศึกษา หรือหน่วยงานต้นสังกัดของสถานศึกษาท่ีเข้าร่วมการทดสอบ ทาการติดตาม ตรวจเยี่ยม
โดยวิธีการส่มุ
2) ศูนย์สอบตรวจเย่ยี มสนามสอบในสงั กัดในชว่ งการทดสอบ

15



ตอนท่ี 3
กำรบริหำรจัดกำรสอบระดับศนู ยส์ อบ

การบริหารจัดการสอบระดับศูนย์สอบ ในการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน
ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 ในส่วนนี้เป็นการนาเสนอเก่ียวกับภารกิจของศูนย์สอบ บทบาท
ของคณะกรรมการศูนย์สอบ โดยมรี ายละเอยี ด ดงั ตอ่ ไปน้ี

3.1 ภำรกจิ ของศนู ย์สอบ
ศูนย์สอบมีภาระหน้าที่และบทบาทที่สาคัญที่สุดในการบริหารการทดสอบให้เป็นไปตามมาตรฐาน

การบริหารการทดสอบ ซ่ึงได้รับการกระจายอานาจการบริหารจัดการมาจากสานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขน้ั พื้นฐาน ท้งั ในเร่ืองของการวางแผนการจัดสอบ การตัดสินใจ การบริหารจัดการ และความรบั ผิดชอบ
เพ่ือให้การดาเนินงานการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (RT) ช้ันประถมศึกษาปีที่ 1
ปกี ารศกึ ษา 2564 มีประสทิ ธิภาพและมาตรฐานเดยี วกัน โดยมีภารกจิ สาคัญ ดังต่อไปน้ี

3.1.1 จดั พิมพแ์ บบทดสอบและเอกสารธรุ การ
3.1.2 ประสานความรว่ มมอื กบั หนว่ ยงานทีเ่ ก่ยี วข้องในการบรหิ ารจดั การสอบ
3.1.3 ดาเนินการจัดสอบให้เป็นไปตามแผนการดาเนินงาน
3.1.4 กากับ ตดิ ตามการดาเนนิ การสอบ
3.1.5 รายงานผลการทดสอบ และเผยแพร่

3.2 บทบำทของคณะกรรมกำรศนู ย์สอบ
ศูนย์สอบจะมีคณะกรรมการในการบริหารจัดการประเมินความสามารถด้านการอ่าน

ของผเู้ รยี น ใหแ้ กส่ ถานศึกษา ประกอบด้วย ประธานศูนย์สอบ คณะกรรมการระดบั ศนู ย์สอบ คณะกรรมการ
รับ-ส่งแบบทดสอบ เก็บรักษาแบบทดสอบ และเอกสารธุรการ และคณะกรรมการตรวจเยี่ยม โดยมีบทบาท
หน้าท่ี ดังตอ่ ไปนี้

3.2.1 ประธานศูนย์สอบ ได้แก่ ผู้อานวยการสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา หรือ
ผู้บงั คบั บัญชาของหน่วยงานทีเ่ ปน็ ศูนยส์ อบ หรอื ผูท้ ีไ่ ดร้ ับมอบหมายมีหน้าที่ ดังนี้

1) ดาเนินการตามแนวปฏิบัติ ที่สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกาหนด
โดยบรหิ ารการประเมินให้เปน็ ไปตามมาตรฐานการประเมนิ

2) แต่งตง้ั คณะกรรมการระดบั ศนู ยส์ อบ และคณะกรรมการระดับสนามสอบ
3) ควบคุม กากับ ติดตาม ให้การดาเนินการบริหารการจัดสอบระดับศูนย์สอบและ
สนามสอบเป็นไปดว้ ยความเรียบรอ้ ย
4) พิจารณาตรวจสอบ สั่งการ ติดตาม กรณีท่ีเกิดปัญหาในการบริหารการจัดสอบ
ทั้งระดบั ศูนย์สอบ และระดับสนามสอบ

17

3.2.2 คณะกรรมการระดับศนู ย์สอบ
คณะกรรมการ ได้แก่ ศึกษานิเทศก์ท่ีรับผิดชอบงานวัดและประเมินผล หรือผู้ท่ีได้รับ

มอบหมายจากประธานศูนย์สอบ มหี น้าที่ ดังนี้
1) ประสานงานการรับ-ส่งไฟล์แบบทดสอบจากสานักงานคณะกรรมการการศึกษา

ข้นั พนื้ ฐาน และจดั ส่งแบบทดสอบและเอกสารธุรการไปยังสนามสอบ
2) กากับ และติดตาม ให้สถานศึกษาในสังกัดโรงเรียนตามโครงการพระราชดาริ

สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ส่งผลการประเมิน
นาเข้าระบบ NT Access (http://nt.obec.go.th) ให้ครบถ้วนและถูกต้อง ภายในวันและเวลาท่สี านักงาน
คณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน กาหนด

3) ตรวจสอบความถกู ต้องของผลการประเมนิ ความสามารถดา้ นการอ่านของผเู้ รยี น
4) แต่งตั้งคณะกรรมการระดับศนู ยส์ อบ
5) จดั ประชมุ ชี้แจงคณะกรรมการท่ีเกีย่ วข้องในระดับศูนย์สอบและระดบั สนามสอบ
6) บริหารการจัดสอบให้เปน็ ไปด้วยความเรียบร้อย
7) ศูนย์สอบตรวจสอบคะแนนการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน
ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 1 ให้ถูกต้องตามแบบบันทกึ คะแนน 1 และแบบบันทกึ คะแนน 2 ทสี่ นามสอบ
สง่ มาใหศ้ นู ยส์ อบ และยนื ยนั ข้อมลู คะแนนทีส่ นามสอบสง่ ในระบบ NT Access
8) จัดทารายงานผลการทดสอบ ระดับศูนย์สอบ
3.2.3 คณะกรรมการส่งแบบทดสอบ เก็บรักษาแบบทดสอบ และเอกสารประกอบการสอบ
มีหนา้ ที่ ดงั นี้
1) จัดเตรียมห้องม่ันคงหรือสถานที่ที่มีความเหมาะสม เพ่ือใช้ในการเก็บรักษา
แบบทดสอบ
2) ดูแล รกั ษาแบบทดสอบท่เี กบ็ รักษาไว้ในทปี่ ลอดภัย
3) ควบคุม ดแู ล กากับกบั การขนสง่ แบบทดสอบจากศนู ย์สอบไปยงั สนามสอบ
3.2.4 คณะกรรมการตรวจเยี่ยม มหี น้าที่ ดงั น้ี
มีหน้าท่ี กากับ ติดตาม และตรวจเย่ียม การดาเนินการจัดสอบ ของคณะกรรมการ
ระดับสนามสอบในระหว่างวันท่ี 1 - 4 มีนาคม 2565 เพื่อให้การดาเนินการจัดสอบเป็นไปตาม
แนวปฏิบตั ิการจัดสอบและมาตรฐานการทดสอบ

18

ตอนท่ี 4
กำรบริหำรจดั กำรของสนำมสอบ

การบริหารจัดการของสนามสอบ ในการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน
ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 ในส่วนน้ีเป็นการนาเสนอเก่ียวกับภารกิจ และแนวปฏิบัติของ
สถานศึกษา โดยมีรายละเอยี ด ดังตอ่ ไปนี้

4.1 ภำรกจิ ของสนำมสอบ
ภารกจิ ของสนามสอบ มกี ารดาเนนิ งานดังต่อไปนี้
1) ก่อนกำรสอบ
1.1) ประสานงานกับศนู ยส์ อบเพ่ือรับแบบทดสอบและเอกสารธรุ การ
1.2) เตรียมความพรอ้ มก่อนการจดั สอบในส่วนของสถานท่ีสอบ
1.3) จัดท่ีนั่งสอบให้มีระยะห่างระหว่างผู้เข้าสอบให้เหมาะสมตามมาตรการป้องกัน

การแพร่ระบาดของเชือ้ โรคไวรัสโคโรนา 2019 (Covid 19)
1.4) จัดเตรียมอุปกรณ์สาหรับคัดกรองเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อโรคไวรัส

โคโรนา 2019 (Covid-19) ได้แก่ เครอ่ื งตรวจอุณหภูมริ ่างกาย แอลกอฮอลห์ รอื เจลล้างมอื หรืออ่างล้างมอื
1.5) คัดกรองตรวจอุณหภูมิร่างกาย ล้างมือด้วยสบู่เหลวหรือน้ายาที่มีส่วนผสมของ

แอลกอฮอล์ เพ่ือป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อโรคไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ทุกครั้งก่อนเข้าสนามสอบ
หรอื หอ้ งสอบ

2) ระหว่ำงกำรสอบ
2.1) ให้ผู้เข้าสอบ กรรมการกากับห้องสอบ และบุคลากรท่ีเก่ียวข้องกับการสอบ

สวมหน้ากากอนามัยทุกครั้งที่เข้าสอบหรือปฏิบัติหน้าที่ ห้ามถอดหน้ากากอนามัยขณะท่ีอยู่ในห้องสอบ
เพอื่ ปอ้ งกันการแพรร่ ะบาดของเชอ้ื โรคไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19)

2.2) ดาเนนิ การจดั สอบภายในสถานศึกษาให้มปี ระสิทธภิ าพ มีความยตุ ิธรรม โปร่งใสและ
เป็นไปตามแนวทางการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
ปีการศกึ ษา 2564

3) หลงั กำรสอบ
3.1) ให้สนามสอบจัดเก็บแบบทดสอบไว้ทโี่ รงเรยี นตนเอง เพอ่ื นาไปใช้ประโยชน์ตอ่ ไป
3.2) บนั ทึกคะแนนการประเมินความสามารถดา้ นการอ่านของผเู้ รยี น ลงในแบบบันทึกคะแนน

การอ่านออกเสียง (แบบบันทึกคะแนน 1) และแบบบันทึกคะแนนการอ่านรู้เรื่อง (แบบบันทึกคะแนน 2)
เมื่อบันทึกคะแนนลงในแบบบันทึกคะแนนท้ัง 2 ฉบับแล้ว ให้กรรมการคุมสอบทั้ง 2 คน ลงลายมือชื่อ

19

แล้วมอบให้สนามสอบ ทาสาเนา 1 ชุด จากนั้นกรรมการคุมสอบลงลายมือช่ือรับรองสาเนา เพ่ือเก็บรักษาไว้
ทส่ี นามสอบ สว่ นแบบบันทึกคะแนนฉบบั จรงิ ทง้ั 2 ฉบับ ให้สนามสอบนาส่งศูนย์สอบต่อไป

3.3) นาคะแนนจากแบบบันทึกคะแนนฉบับสาเนาสนามสอบเก็บไว้ ไปบันทึก
ในแบบฟอร์มบนั ทึกคะแนนที่ดาวนโ์ หลดจากระบบ NT Access ให้ถูกต้อง หลงั จากน้ันให้นาเข้าไฟลข์ ้อมูล
เข้าสูร่ ะบบ NT Access พรอ้ มตรวจสอบความถกู ต้องของคะแนนนกั เรยี นรายบุคคลอกี คร้ังหนึ่ง

4.2 กำรดำเนนิ กำรของสนำมสอบ
ผู้อานวยการสถานศึกษาหรือผู้แทน เป็นผู้บริหารจัดการประเมินความสามารถด้านการอ่าน

ของผู้เรียน อาจมีการแต่งตั้งกรรมการคุมสอบและตรวจให้คะแนน ได้แก่ ข้าราชการครู บุคลากรทางการศึกษา
ครูอตั ราจา้ ง หรอื พนักงานราชการ ดงั นี้

1) กรรมการคุมสอบ 2 คน ตอ่ 1 หอ้ งสอบ
2) กรรมการบันทึกคะแนน ได้แก่ ครูหรือบุคลากรทางการศึกษาท่ีมีความสามารถในการใช้
โปรแกรม Excel
3) กรรมการอน่ื ๆ ตามท่เี ห็นสมควร

4.3 บทบำทของสนำมสอบ
1) ประธำนสนำมสอบ มหี น้าที่ ดังนี้
1.1) ประชุมคณะกรรมการระดับสนามสอบก่อนสอบ เพ่ือทาความเข้าใจเก่ียวกับ

กระบวนการจัดสอบและข้นั ตอนการดาเนนิ งานของกรรมการคุมสอบ
1.2) เตรียมความพร้อมสถานทส่ี อบ
1.3) รับแบบทดสอบ และเอกสารธุรการ ระหว่างศูนย์สอบและสนามสอบ
1.4) กากับ ติดตาม และตรวจสอบการดาเนินการจัดสอบภายในสนามสอบใหเ้ ป็นไปด้วย

ความเรยี บรอ้ ย มปี ระสทิ ธภิ าพ มคี วามยตุ ิธรรม และโปร่งใส
1.5) ตรวจสอบคะแนนในแบบบันทึกคะแนน 1 และแบบบันทึกคะแนน 2 ร่วมกับ

กรรมการคมุ สอบใหถ้ กู ตอ้ ง ครบถ้วนกอ่ นนาสง่ ข้อมลู เขา้ สรู่ ะบบ NT Access
1.6) หลงั เสรจ็ สน้ิ การสอบ ให้นาส่งเอกสารประกอบการสอบไปยงั ศนู ย์สอบ ดงั นี้
- แบบ สพฐ.2 ใบเซ็นชอื่ ผเู้ ขา้ สอบในแตล่ ะห้องสอบ
- แบบบนั ทึกคะแนนการอา่ นออกเสียง (แบบบันทกึ คะแนน 1) ฉบบั จริง
- แบบบันทึกคะแนนการอา่ นรเู้ รอ่ื ง (แบบบันทึกคะแนน 2) ฉบับจรงิ

20

2) กรรมกำรคมุ สอบและตรวจให้คะแนน
กรรมการคุมสอบและตรวจให้คะแนน ควรมีกรรมการคุมสอบห้องละ 2 คน โดยพิจารณา

ตามความเหมะสม อาจเป็นครูผู้สอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
โดยมบี ทบาทหน้าท่ี ดังนี้

2.1) ปฏิบัติตามแนวทางการ ประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน
ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศกึ ษา 2564

2.2) กากับการสอบให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อย โปร่งใส และยุติธรรม ทั้งภายในห้องสอบ
และบรเิ วณใกล้เคียง

2.3) รับแบบทดสอบจากประธำนสนำมสอบหรือผ้แู ทน ตรวจนับแบบทดสอบให้ถูกต้อง
และครบถว้ น

2.4) ดาเนินการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน ช้ันประถมศึกษาปีที่ 1
ดงั นี้

2.4.1) การทดสอบการอา่ นรเู้ รอื่ ง
- กรรมการคมุ สอบแจกแบบทดสอบ
- กรรมการคมุ สอบดาเนินการตามคาชแี้ จงในแบบทดสอบการอ่านรเู้ รื่อง
- กรรมการเก็บแบบทดสอบหลังจากหมดเวลา
- กรรมการคุมสอบทั้ง 2 คน ตรวจให้คะแนนตามเกณฑ์การให้คะแนน

ตามทส่ี านักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานกาหนด
- กรรมการคุมสอบบันทึกคะแนนของนักเรียนแต่ละคน ลงในแบบบันทึกคะแนน

การอ่านรเู้ ร่ือง (แบบบันทึกคะแนน 2) พรอ้ มลงลายมอื ชื่อกรรมการคุมสอบทง้ั 2 คน ในแบบบันทึกคะแนน
ใหเ้ รยี บรอ้ ย

- กรรมการคุมสอบบรรจุแบบบันทึกคะแนนใส่ซอง ส่งคืนประธานสนามสอบ
หรอื ผแู้ ทน และตรวจสอบการบันทกึ คะแนนรว่ มกับประธานสนามสอบหรือผแู้ ทนให้ถูกต้อง

- สนามสอบทาสาเนาแบบบันทึกคะแนนการอ่านรู้เรื่อง (แบบบันทึกคะแนน 2)
จานวน 1 ชดุ แล้วให้กรรมการคุมสอบลงลายชอ่ื รับรองสาเนาถกู ต้อง เกบ็ ไว้ทส่ี นามสอบ

2.4.2) การทดสอบการอา่ นออกเสียง
กรรมการคุมสอบการอ่านออกเสียง คือ กรรมการคุมสอบห้องละ 2 คน

โดยพิจารณาตามความเหมะสม ซึ่งกรรมการคุมสอบควรเป็นครูผู้สอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ในระดับชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 1 อยา่ งน้อยจานวน 1 คน โดยมีบทบาทหน้าที่ ดงั น้ี

21

กรรมกำรคุมสอบคนท่ี 1 ปฏิบัติ ดังนี้
- บันทึกช่ือนักเรียนในแบบบันทึกคะแนนการอ่านออกเสียง (แบบบันทึก
คะแนน 1) โดยตรวจสอบชอ่ื นกั เรยี นให้ถกู ตอ้ ง แลว้ เตรยี มนักเรยี นเขา้ สอบ
- พูดคุยทักทายกับนักเรียนอย่างเป็นกันเอง เพ่ือไม่ให้เกิดความเครียดหรือ
ความกดดัน
- สรุปคะแนนจากแบบทดสอบฉบับนักเรียนท่ีกรรมการคนที่ 2 ดาเนินการสอบ
เรียบร้อยแลว้ จากนัน้ บันทกึ คะแนนลงในแบบบันทกึ คะแนนการอา่ นออกเสียง (แบบบนั ทกึ คะแนน 1)
- ตรวจสอบการบันทึกคะแนนของนักเรียนให้ครบทุกคน แล้วลงลายมือชื่อ
กรรมการคุมสอบทง้ั 2 คน ในแบบบนั ทกึ คะแนน
- กรรมการคุมสอบบรรจุแบบบันทึกคะแนนใส่ซอง ส่งคืนประธานสนามสอบ
หรือผแู้ ทน และตรวจสอบการบันทึกคะแนนร่วมกบั ประธานสนามสอบหรอื ผแู้ ทนให้ถูกต้อง
- สนามสอบทาสาเนาแบบบันทึกคะแนนการอ่านออกเสียง (แบบบันทึก
คะแนน 1) จานวน 1 ชดุ แลว้ ใหก้ รรมการคมุ สอบลงลายชอ่ื รับรองสาเนาถูกต้อง เกบ็ ไว้ทสี่ นามสอบ
กรรมกำรคมุ สอบคนท่ี 2 ปฏิบัติ ดงั น้ี
- กรรมการคุมสอบอ่านคาช้ีแจงให้นักเรียนทราบเกี่ยวกับแนวทางการอ่าน
ดังน้ี เวลาท่ีใช้ในการทดสอบ 10 นาที นักเรียนคนใดท่ีอ่านได้ครบถ้วน เสร็จก่อนเวลา ก็สามารถยุติ
การทดสอบได้
- ให้นักเรียนทดสอบการอ่านออกเสียงเป็นรายบุคคล โดยให้นักเรียน
อา่ นทีละคน ในหอ้ งสอบทีแ่ ยกเฉพาะ
- เมื่อนักเรียนเริม่ อ่านออกเสียงใหก้ รรมการทาเครอื่ งหมาย  ในช่องของคา
ท่ีนกั เรียนอ่านออกเสียงถกู ต้อง และทาเครอ่ื งหมาย X ในชอ่ งคาท่ีนกั เรียนอ่านออกเสียงผิด
- ให้นักเรียนอ่านออกเสียงทั้ง 2 ตอน คนละไม่เกิน 10 นาที ถ้านักเรียนอ่าน
ยงั ไม่เสร็จให้นักเรียนหยดุ อ่านทนั ที (กรณนี ักเรียนอ่านไม่ได้ กรรมการคุมสอบสามารถบอกให้นักเรียนข้าม
ไปอ่านคาตอ่ ไปก่อน แล้วสามารถย้อนกลับมาอา่ นคาเดมิ ไดภ้ ายในชว่ งเวลาทกี่ าหนด)
- ส่งแบบทดสอบฉบับกรรมการท่ีประเมินแล้ว ให้กรรมการคนที่ 1 บันทึก
คะแนนลงในแบบบนั ทกึ คะแนนการอ่านออกเสียง (แบบบนั ทึกคะแนน 1)
- ดาเนินการสอบอ่านออกเสียงจนครบทุกคน
- กรรมการคุมสอบบรรจุแบบบันทกึ คะแนน 2 ใส่ซอง ส่งคืนประธานสนามสอบ
หรอื ผ้แู ทน และตรวจสอบการบนั ทึกคะแนนรว่ มกบั ประธานสนามสอบหรือผู้แทนใหถ้ ูกตอ้ ง
- สนามสอบทาสาเนาแบบบันทึกคะแนนการอ่านออกเสียง (แบบบันทึก
คะแนน 1) จานวน 1 ชดุ แล้วให้กรรมการคมุ สอบลงลายชอ่ื รบั รองสาเนาถูกตอ้ ง เก็บไว้ที่สนามสอบ

22

2.5) รายงานประธานสนามสอบหรือผู้แทน กรณีสงสัยว่าจะมีการทุจริตเกิดข้ึน และ
ห้ามบคุ คลทไี่ ม่เกีย่ วข้องเข้าบรเิ วณหอ้ งสอบ

2.6) รักษาความลับของแบบทดสอบ และไม่ให้กรรมการหรือบุคคลอ่ืนดูหรือถ่ายรูป
แบบทดสอบเพอ่ื เผยแพร่

3) กรรมกำรบันทกึ คะแนน
3.1) นาแบบบันทึกคะแนนการอ่านออกเสียง (แบบบันทึกคะแนน 1) และแบบบันทึก

คะแนนการอ่านรู้เร่ือง (แบบบันทึกคะแนน 2) ฉบับสาเนา ไปบันทึกคะแนนในแบบฟอร์มบันทึกคะแนน
(ไฟล์ Excel) ท่ดี าวน์โหลดมาจากระบบ NT Access

3.2) นาไฟล์ Excel ท่ีบันทึกคะแนนแล้ว เข้าสู่ระบบ NT Access พร้อมตรวจสอบ
ความถูกต้องของคะแนนนักเรียนเป็นรายบุคคลในระบบ NT Access อีกคร้ังหนึ่ง โดยให้กรรมการ
ตรวจสอบก่อนนาส่งเขา้ ระบบ

3.3) นาเข้าคะแนนการอ่านออกเสียง และการอ่านรู้เรื่อง บันทึกคะแนนรายบุคคล
ในระบบ NT Access โดยให้กรรมการหรอื ผแู้ ทนเปน็ ผู้นาเข้า

4) นกั กำรภำรโรง
4.1) อานวยความสะดวกแก่กรรมการคุมสอบ โดยดาเนินการต่าง ๆ ตามท่ไี ด้รบั การรอ้ งขอ
4.2) จดั เตรียมสถานที่ในการจดั การสอบ กอ่ นวนั สอบใหเ้ รยี บรอ้ ย
4.3) ปฏิบัตงิ านอ่นื ตามที่ไดร้ ับมอบหมายจากประธานสนามสอบหรือผู้แทน

4.4 แนวปฏบิ ัติในกำรอำ่ นออกเสียง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กาหนดแนวทางปฏิบัติสาหรับกรรมการที่

ควบคมุ การสอบอา่ นออกเสียง เพื่อใหก้ ารบรหิ ารจัดการสอบมคี วามชัดเจนไปในทศิ ทางเดียวกัน ดังนี้
1) กอ่ นกำรดำเนนิ กำรสอบ
กรรมการคมุ สอบทง้ั 2 คน ดาเนนิ การ ดังน้ี
1.1) ศึกษาแนวทางการปฏบิ ตั ิ แบบทดสอบ และเกณฑ์การใหค้ ะแนนอยา่ งละเอยี ด
1.2) ทาความเข้าใจร่วมกันเก่ียวกับบทบาทหน้าท่ีในการทดสอบและแนวทางการสรุปผล

การประเมินของผเู้ ข้าสอบ
1.3) ตรวจสอบจานวนผู้เข้าสอบและรายชื่อของผู้เข้าสอบ เพ่ือไม่ให้เกิดความคาดเคล่ือน

ในการกรอกคะแนน
1.4) จัดห้องแยกออกเป็น 2 ห้อง คือ ห้องสอบอ่านออกเสียง และห้องพักนักเรียนที่รอ

เข้าสอบอา่ นออกเสียง โดยห้องทงั้ สองต้องเปน็ ห้องท่เี กบ็ เสียง และไม่สามารถได้ยนิ เสยี งจากอีกหอ้ งหนึ่งได้

23

2) ระหว่ำงดำเนินกำรสอบ
2.1) แนวปฏบิ ัติของกรรมการคมุ สอบคนท่ี 1 ดาเนินการดังน้ี
2.1.1) เตรยี มนักเรียนใหเ้ ข้าสอบ
2.1.2) พดู คุยทกั ทายกบั นักเรยี นอยา่ งเปน็ กันเอง เพอ่ื ไม่ให้เกดิ ความเครยี ดหรือความกดดัน
2.2) แนวปฏบิ ัติของกรรมการคุมสอบคนที่ 2 ดาเนินการดงั นี้
2.2.1) ชแ้ี จงใหน้ กั เรียนทราบเกี่ยวกบั แนวทางการอ่าน ดงั นี้
- เวลาท่ีใช้ในการทดสอบ 10 นาที นักเรยี นคนใดทอ่ี ่านได้ครบถ้วน เสร็จกอ่ นเวลา

กส็ ามารถยตุ กิ ารทดสอบได้
- การสอบอ่านในแต่ละข้อ ถ้านักเรียนไม่สามารถอ่านได้ อนุญาตให้นักเรียน

ขา้ มไปสอบข้อตอ่ ไปก่อนได้ และถ้ายงั มีเวลาเหลอื สามารถยอ้ นกลับไปอ่านข้อเดมิ ที่ขา้ มได้
2.2.2) ดาเนินการสอบการอ่านออกเสียงของนักเรียนทีละคน ตามจานวนในแต่ละ

หอ้ งสอบ
3) หลังกำรดำเนนิ กำรสอบ
กรรมการคมุ สอบทั้ง 2 คน ดาเนนิ การ ดังนี้
3.1) ตรวจสอบคะแนนนักเรียนเปน็ รายบุคคลให้ถูกต้อง แล้วนามาบันทึกลงในแบบบนั ทึกคะแนน

การอ่านออกเสียง (แบบบันทึกคะแนน 1)
3.2) นาแบบบันทึกคะแนนการอ่านออกเสียง (แบบบันทึกคะแนน 1) และแบบบันทึก

คะแนนการอ่านรู้เรื่อง (แบบบันทึกคะแนน 2) บรรจุลงในซองแบบทดสอบ เพ่ือเตรียมนาผลบันทึกลงใน
โปรแกรม NT Access

กำรจดั หอ้ งสอบกำรอ่ำนออกเสียง
กำหนดให้สถำนศึกษำนั้นเป็นสนำมสอบ ซึ่งกำรกำหนดผู้เข้ำสอบในแต่ละห้องสอบ

ให้คำนงึ ถงึ มำตรกำรกำรปอ้ งกันกำรแพร่ระบำดของโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนำ 2019 อยำ่ งเครง่ ครัด

24

ตอนท่ี 5
เอกสำรประกอบกำรประเมิน

เอกสารประกอบการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
ปีการศึกษา 2564 ในส่วนน้ี เป็นการนาเสนอเก่ียวกับเอกสารท่ีจัดส่งไปยังศูนย์สอบและสนามสอบ
การรับข้อสอบ และเฉลย โดยมรี ายละเอียด ดังตอ่ ไปน้ี
5.1 เอกสำรทจ่ี ัดสง่ ไปยังศูนยส์ อบ

เอกสารท่ีส่งไปยังศูนย์สอบแต่ละแห่งส่งในรูปแบบไฟล์ PDF ผ่านระบบ NT ACCESS
ประกอบด้วย

1) ไฟล์คู่มือการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (RT) ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1
ปกี ารศกึ ษา 2564

2) ไฟล์แบบทดสอบ เกณฑ์การให้คะแนน และแบบบนั ทึกคะแนน
ตวั อยา่ งปกแบบทดสอบ ดงั ภาพ

ปีกำรศกึ ษำ ๒๕๖๔ ภำคเรยี นท่ี ๒ ปีกำรศกึ ษำ ๒๕๖๔ ภำคเรยี นที่ ๒ ปีกำรศกึ ษำ ๒๕๖๔ ภำคเรยี นที่ ๒

แบบทดสอบดำ้ นกำรอำ่ นรู้เรอื่ ง แบบทดสอบด้ำนกำรอำ่ นออกเสียง แบบทดสอบด้ำนกำรอ่ำนออกเสียง
ฉบับนกั เรยี น ฉบับกรรมกำร

25

3) แบบบันทึกคะแนน แบ่งออกเป็น 2 ฉบับ คือ แบบบันทึกคะแนนการอ่านออกเสียง
(แบบบันทึกคะแนน 1) และแบบบันทึกคะแนนการอา่ นรเู้ ร่ือง (แบบบนั ทึกคะแนน 2) ดงั ภาพ

แบบบนั ทกึ คะแนนการอ่านออกเสยี ง แบบบนั ทึกคะแนนการอ่านรเู้ รอ่ื ง
(แบบบนั ทกึ คะแนน 1) (แบบบันทึกคะแนน 2)

4) ไฟล์ excel แบบฟอรม์ การกรอกคะแนนนักเรยี นเพือ่ นาเขา้ ระบบ NT Access
5) ไฟล์วีดิทัศน์อธบิ ายแนวทางการนาคะแนนผลการทดสอบเขา้ ระบบ NT Access

5.2 กำรรับแบบทดสอบ
การรบั แบบทดสอบ ดาเนินการดงั ตอ่ ไปน้ี
1) สพฐ. จัดส่งไฟล์แบบทดสอบ เกณฑ์การให้คะแนน และแบบบันทึกคะแนน ในรูปแบบ

ไฟล์ PDF ผ่านระบบ NT ACCESS พร้อมแนวทางไปยงั ศนู ย์สอบในวนั ท่ี 15 กมุ ภาพนั ธ์ 2565
2) สนามสอบรบั แบบทดสอบที่ศูนย์สอบในช่วงเช้าของวันสอบ ระหวา่ งวนั ที่ 1 – 4 มนี าคม 2565
3) แบบทดสอบ เม่อื ดาเนินการสอบเสร็จสน้ิ ให้สนามสอบเก็บรกั ษาไวเ้ พอื่ เปน็ ประโยชน์ต่อไป

26

ตอนที่ 6
กำรนำผลกำรประเมินเข้ำส่รู ะบบ NT ACCESS

การนาผลการประเมินเข้าสู่ระบบ NT ACCESS ในส่วนนี้เป็นการนาเสนอวิธีการนาผล
การประเมินเข้าสรู่ ะบบ NT Access โดยบนั ทึกคะแนนลงในไฟล์ เพือ่ นาผลไปใชป้ ระมวลผล วเิ คราะห์ และ
รายงานผล โดยมรี ายละเอยี ด ดังตอ่ ไปน้ี

สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน จะให้บริการประมวลผลและรายงานผล
การประเมินความสามารถด้านการอ่าน (RT) ผ่านระบบ NT Access โดยให้สถานศึกษานาข้อมูลคะแนน
ผลการทดสอบของนักเรียนรายบุคคลเข้าสู่ระบบ ระหว่างวันท่ี 5 - 28 มีนาคม 2565 โดยแบ่งช่วงเวลา
ในการนาเขา้ จาแนกตามภมู ภิ าค ดงั น้ี

1) ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ระหวา่ งวนั ท่ี 5 - 10 มีนาคม 2565
2) ภาคกลาง ระหวา่ งวนั ท่ี 11 - 16 มนี าคม 2565
3) ภาคเหนือ ระหวา่ งวนั ที่ 17 - 22 มนี าคม 2565
4) ภาคใต้ ระหวา่ งวันที่ 23 - 28 มีนาคม 2565

17 - 22 มีนาคม 2565 5 - 10 มนี าคม 2565
11 - 16 มนี าคม 2565

23 - 28 มีนาคม 2565

27

6.1 ช่องทำงกำรเขำ้ สู่โปรแกรม ดาเนนิ การตามขัน้ ตอน ดังน้ี
6.1.1 เข้าระบบ NT Access โดยดาเนินการผ่าน URL: https://www.google.co.th

พิมพ์ที่ช่องค้นหา คาว่า (1) “NT Access” คลกิ เลอื ก (2) “ระบบจัดกำรสอบ”
6.1.2 เลือก Server เครอ่ื งใดกไ็ ด้

28

6.1.3 คลิก “ระบบนาสง่ คะแนนสอบ RT/NT ปกี ารศกึ ษา 2564”
6.1.4 คลกิ เลือก “การอา่ น ป.1”

29

6.1.5 กรอก (1) “ช่ือผู้ใช้งำน” User ID และ (2) “รหัสผ่ำน” Password ของผใู้ ช้ แล้วคลิกเลอื ก
(3) “เขำ้ ส่รู ะบบ” ตามลาดับ (กรณโี รงเรยี นไม่ทราบรหัสผใู้ ช้และรหัสผา่ น ใหป้ ระสานศนู ย์สอบ)

6.2 กำรดำวน์โหลดไฟล์/แบบฟอร์มกรอกคะแนน
6.2.1 สาหรับ User ศูนย์สอบต้องคลิกเลือกสนามสอบท่ีต้องการดาวน์โหลดไฟล์ก่อน จึงจะ

สามารถดาวน์โหลดไฟล์ได้ ส่วน User สนามสอบสามารถดาวนโ์ หลดไฟล์ได้ โดยไมต่ อ้ งเลอื กห้องสอบ

30

6.2.2 คลิก (1) “ดำวน์โหลดไฟล์นำส่งคะแนน” (2) ดาวน์โหลดไฟล์ออกจากระบบเป็น
ไฟล์ ZIP สาหรับนาไปบันทึกคะแนนการอ่าน ป.1 ต่อไป โดย “ห้ำมเปล่ียนชื่อไฟล์ Excel ท่ีได้มำจำก
กำรดำวนโ์ หลดในระบบเดด็ ขำด”

6.2.3 ดาเนินการแตกไฟล์ Zip ท่ีดาวน์โหลดได้จากระบบ โดยคลิก (1) “Downloads”
จากโฟลเดอร์ที่จัดเก็บไฟล์ที่ได้จากการดาวน์โหลด จากน้ัน คลิกขวาที่ (2) “โฟลเดอร์ที่ได้มำจำก
กำรดำวน์โหลด” และ คลิกเลือกแตกไฟล์ (3) “Extract files…” หรือ “Extract Here” เพ่ือทาการแตกไฟล์
ซ่ึงไฟล์ท่ีแตกได้จะมีจานวน 2 ไฟล์ ไฟล์แรกเป็นไฟล์กรอกคะแนนสาหรับเด็กปกติ ส่วนไฟล์ท่ี 2 เป็นไฟล์
กรอกคะแนนสาหรับเด็กพิเศษ จากน้ัน คลิก (4) “ไฟล์ Excel ที่แตกออกมำ” เพ่ือจะนาไปดาเนินการ
กรอกขอ้ มูลและคะแนนของนักเรียนต่อไป

31

6.2.4 เมื่อเปิดไฟล์ Excel ขึ้นมา จะพบ sheet 2 sheet คือ (1) “กำรอ่ำนออกเสียง” และ
(2) “อ่ำนรู้เร่ือง” จากนั้น (3) “กรอกข้อมูลของนักเรียนที่เข้ำสอบ” ให้ถูกต้องและครบถ้วน การกรอก
ข้อมูลนักเรียน ให้ดาเนินการกรอกและแก้ไขที่ Sheet อ่านออกเสียงเพียง Sheet เดียว ซึ่งข้อูลนักเรยี นจะล้ิงค์
ไปท่ี Sheet อ่านรู้เรอ่ื ง โดยอัตโนมตั ิ โดยช่องเลขที่น่งั สอบไม่ต้องกรอกข้อมูล จากนั้น เลือก (4) “ประเภทเด็ก”
และ (5) “สถำนะ” กรณีนักเรียนคนนั้นสอบวิชาใดวิชาหน่ึง เช่น สอบการอ่านออกเสียง แต่ไม่ได้สอบ
การอ่านรู้เร่ืองใหก้ รอกใน sheet การอ่านรู้เร่ือง ใหเ้ ลือกท่ีช่องสถานะเป็น “ขำดสอบ” ใหส้ ังเกต (6) “ขำดสอบ”
เม่ือเลือกขาดสอบคอลัมน์แนวนอนทัง้ แถวจะเปน็ สแี ดง

จากนั้นกรอกคะแนนตามแบบบันทึกคะแนนการอ่านออกเสียง และแบบบันทึกคะแนน
การอ่านรู้เร่ือง ท่ีได้มาจากกรรมการคุมสอบและตรวจให้คะแนน ตัวเลือกจาเป็นต้องกรอกให้ครบทุกช่อง
ช่องใดท่ีไม่มีคะแนนให้เลือก “0” คะแนน เน้นย้าอย่างเคร่งครัดการกรอกคะแนนต้องกรอกให้ครบทุกช่อง
ท้ัง 2 Sheet ยกเว้นวิชาที่ขาดสอบ จากน้ันคลิก “บันทึก” เพ่ือทาการบันทึกข้อมูล โดยห้ำมเปลี่ยนช่ือไฟล์
Excel ที่ไดม้ ำจำกกำรดำวนโ์ หลดเดด็ ขำด ดงั ภาพ

32

“ตวั อยำ่ งภำพ กำรกรอกคะแนนกำรอ่ำนออกเสียง”

“ตัวอย่ำงภำพ กำรกรอกคะแนนกำรอ่ำนรเู้ รือ่ ง”

หมำยเหตุ: กรุณำตรวจสอบข้อมูลผู้เข้ำสอบท้ัง 2 สมรรถนะ ให้ถูกต้องและครบถ้วนก่อนนำส่ง
เข้ำระบบ เน่อื งจำกระบบไม่สำมำรถตรวจสอบควำมถกู ต้องของข้อมูลผเู้ ขำ้ สอบได้

33

6.3 กำรนำส่งคะแนนเข้ำสรู่ ะบบ ในรปู แบบไฟล์ Excel
6.3.1 สาหรับศูนย์สอบเป็นผู้นาส่งคะแนนเข้าสู่ระบบ ให้คลิกเลือก (1) “นำส่งไฟล์คะแนน

เข้ำระบบ” จากนั้นคลิก (2) “เลือกสนำมสอบ” และคลิก (3) “เลอื กไฟล์” เพื่อนาไฟลท์ ี่กรอกขอ้ มูลและ
คะแนนนกั เรยี นเรียบร้อยแล้ว สง่ เข้าระบบ จากนน้ั ให้คลกิ (4) “นำสง่ ”

34

เมื่อนาส่งขอ้ มูลและคะแนนนักเรยี นเรียบร้อย ระบบจะแจ้ง “นำส่งขอ้ มูลคะแนน ป.1
สำเรจ็ ” ให้คลกิ “ปดิ ”

6.3.2 สาหรับสนามสอบเป็นผู้นาส่งคะแนนเข้าสู่ระบบ คลิกเลือก (1) “นำส่งไฟล์คะแนน
เข้ำระบบ” จากนนั้ คลิกเลือก (2) “เลอื กไฟล”์ เพื่อนาไฟลท์ ่ีกรอกข้อมลู และคะแนนนกั เรียนเรียบรอ้ ยแล้ว
สง่ เข้าระบบ จากนน้ั ใหค้ ลกิ (3) “นำสง่ ”

35

เมื่อนาส่งข้อมูลและคะแนนนักเรียนเรียบร้อย ระบบจะแจ้ง “นำส่งข้อมูลคะแนน ป.1
สำเร็จ” ให้คลกิ “ปิด”

6.4 กรณีพบข้อผิดพลำดในกำรนำส่งข้อมลู และคะแนนนักเรียนเข้ำสรู่ ะบบ NT Access
กรณีพบข้อผิดพลาดในการนาสง่ ข้อมูลและคะแนนนักเรียนเข้าสู่ระบบ NT Access ระบบจะ

ปรากฎ Pop up แจ้งเตือนว่า การนาส่งข้อมูลและคะแนนนักเรียนพบข้อผิดพลาด จึงไม่สามารถนาส่ง
ได้สาเรจ็ Pop up ที่แจ้งเตือน ในช่องข้อผิดพลาด จะแสดงรายละเอียดขอ้ ผิดพลาด ตัวอย่างเช่น แสดงช่ือ
สมรรถนะ และลาดับของนักเรียน ส่วนใดที่พบข้อผิดพลาด หรืออาจจะพบข้อผิดพลาดท้ัง 2 สมรรถนะ
จากน้นั คลิกปุ่ม Close เพ่ือปดิ Pop up แจ้งเตือน และดาเนินการแก้ไขให้ข้อมูลและคะแนนให้ถกู ตอ้ งและ
ครบถ้วน ส่วนข้อใดที่นักเรียนไม่มีคะแนนให้ใส่ 0 ห้ามเว้นว่างไว้ เม่ือดาเนินการแก้ไขเรียบร้อยแล้ว
ให้นาสง่ ใหมอ่ กี ครัง้

ตวั อยำ่ งข้อผิดพลำดท่ีระบบแจ้งเตือน

36

6.5 กำรนำส่งผลคะแนนเขำ้ สู่ระบบเป็นรำยบุคคล
6.5.1 สาหรับ User ศูนย์สอบต้องคลิกเลือกสนามสอบที่ต้องการกรอกคะแนนเป็นรายบุคคลก่อน

จึงสามารถกรอกคะแนนนักเรยี นได้ ส่วน User สนามสอบสามารถกรอกคะแนนเป็นรายบคุ คลไดเ้ ลย

37

6.5.2 คลิกเลือกห้องสอบ โดยแบ่งจากประเภทของนักเรยี น (1) “เลือกห้องสอบ” และคลิก
(2) “เพิ่มรำยบุคคล” จากน้ัน ให้กรอกข้อมูลนักเรียนให้ครบถ้วนและถูกต้อง และคลิก (3) “บันทึก”
เม่อื บันทึกขอ้ มลู นักเรียนเรยี บร้อย ระบบจะแจ้ง “ผลกำรบนั ทึก : สำเร็จ” ให้คลิก “ปดิ ”

38

6.5.3 เม่ือเพิ่มขอ้ มูลนักเรยี นเรียบร้อยแลว้ เลือกสมรรถนะท่ีต้องการนาส่งคะแนน “อา่ นออกเสียง
หรืออ่านรู้เรื่อง” คลิก (1) “บันทึกคะแนน” จากนั้นคลิกเลือก (2) “รำยละเอียด” เพ่ือกรอกคะแนน
ในสมรรถนะที่เลือก และดาเนินการกรอกคะแนน (3) “กรอกคะแนน” เมื่อดาเนินการกรอกคะแนน
เรียบร้อย คลิก (4) “บันทึก” ก่อนบันทึกควรตรวจสอบการกรอกคะแนนให้ครบถว้ นแล้วถกู ต้องก่อนนาส่ง
เขา้ สู่ระบบ

39

40

6.4.4 กรณพี บข้อผดิ พลาด ระบบจะปรากฎ Pop up แจ้งเตอื นวา่ การนาสง่ ข้อมูลและคะแนน
นักเรยี นพบขอ้ ผดิ พลาด จึงไม่สามารถนาสง่ ไดส้ าเรจ็ จากน้ันคลกิ ปุ่ม “ปดิ ” Pop up แจง้ เตอื น เพ่ือไปแก้ไข
ใหถ้ กู ต้องครบถ้วน ถา้ ข้อใดที่นกั เรยี นไม่มีคะแนนให้ใส่ 0 ห้ามเว้นวา่ งไว้ เสรจ็ แลว้ กดปุ่มบนั ทึกคะแนน
ใหม่อีกคร้งั

ตัวอยำ่ งข้อผิดพลำด ทีร่ ะบบแจง้ เตือน

41

6.6 ตรวจสอบกำรนำสง่ คะแนนกำรอ่ำน ป.1
เม่ือเสรจ็ สิ้นกระบวนการนาส่งคะแนนการอา่ น ป.1 เรียบร้อย ขอให้ศนู ย์สอบและสนามสอบ

ตรวจสอบความถูกต้องการนาสง่ คะแนนการอ่าน ป.1 เขา้ สรู่ ะบบ โดยสามารถดาเนินการ ได้ดังตอ่ ไปนี้
6.6.1 การเข้าตรวจสอบข้อมูลในสถานะศูนยส์ อบ คลิก (1) “เลือกสนำมสอบ” จากนั้นคลิกเลอื ก

(2) “ห้องสอบ” จะปรากฏข้อมูลที่ได้ดาเนินการนาส่งคะแนนเข้าระบบ ในส่วนท่ีต้องตรวจสอบการนาส่ง
ข้อมูลคะแนนนักเรียนว่าสมบูรณ์หรือไม่นั้น ให้ตรวจสอบท่ีช่องข้อมูลและแนนนักเรียน และช่องสถานะ
ระบบจะแจ้งวา่ (3) “ให้คะแนนแลว้ ”

42


Click to View FlipBook Version