The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

1คู่มือ RT 64 (จัดเล่ม)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

1คู่มือ RT 64 (จัดเล่ม)

1คู่มือ RT 64 (จัดเล่ม)

6.6.2 สาหรับการตรวจสอบคะแนนนักเรียนแบบละเอียด สามารถเข้าดูได้ โดยคลิกเลือกที่
สมรรถนะของนักเรยี นทต่ี ้องการดูไดเ้ ลย ซึ่งระบบจะแสดงขอ้ มูลรายละเอียดเพม่ิ เติมขนึ้ มา ดังภาพ

43



ตอนท่ี 7
กำรรำยงำนผลกำรประเมนิ

สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน จะรายงานผลการประเมินให้กับผู้เข้าสอบ
โรงเรียน ศูนย์สอบ หน่วยงานต้นสังกัด และประเทศ ผ่านระบบ NT Access โดยแบบรายงานผล
การประเมินจะแสดงรายละเอียดข้อมูลทั่วไป ค่าสถิติผลการประเมินรายสมรรถนะ และภาพรวม ได้แก่
คะแนนเฉล่ีย คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน จาแนกเปรียบเทียบตามระดับต่าง ๆ คะแนนสอบ
รายองคป์ ระกอบและระดับคุณภาพรายสมรรถนะ เป็นตน้

7.1 กำรรำยงำนระดบั บุคคล (นกั เรยี นสำมำรถเข้ำไปดูผลโดยพิมพ์เลขบตั รประจำตัวประชำชน)
โดยเลอื ก ประกาศผลสอบรายบคุ คล

R-Student 01: แบบสรุปรายงานผลการประเมินของผเู้ รียน

7.2 กำรรำยงำนระดับโรงเรียน (โรงเรียนสำมำรถเข้ำดูผลกำรประเมินโดยพิมพ์รหัสผู้เข้ำใช้และ
รหัสผำ่ นของโรงเรยี น) มีดงั น้ี
R-School 01: แบบสรุปรายงานผลการประเมินของโรงเรียน
R-School 02: แบบรายงานคา่ สถิติพ้นื ฐานผลการประเมินของโรงเรยี น
R-School 03: แบบรายงานผลการประเมนิ ผู้เรียนจาแนกรายบุคคลในแต่ละสมรรถนะ
R-School 04: แบบรายงานผลการประเมินผู้เรียนจาแนกรายบุคคลในแต่ละองค์ประกอบ
R-School 05: แบบรายงานผลคา่ สถิตพิ นื้ ฐานจาแนกผู้เรียนรายบุคคล
R-School 08: แบบรายงานผลการประเมินฯของโรงเรียน เปรียบเทียบกบั ปที ผี่ า่ นมา

7.3 กำรรำยงำนระดบั ศูนย์สอบ (ศูนยส์ อบสำมำรถเข้ำดูผลกำรประเมิน โดยพมิ พ์รหสั ผเู้ ข้ำใช้และรหสั ผำ่ น
ของศนู ยส์ อบ) มดี งั นี้
R-Local 01: แบบสรปุ รายงานผลการประเมนิ ของสังกัดยอ่ ย
R-Local 02: แบบรายงานคา่ สถติ พิ น้ื ฐานผลการประเมนิ ของสังกดั ย่อย
R-Local 03: แบบรายงานผลการประเมนิ จาแนกรายโรงเรยี นในแตล่ ะสมรรถนะ
R-Local 04: แบบรายงานผลจาแนกรายโรงเรียนในแต่ละองคป์ ระกอบ
R-Local 05: แบบรายงานผลค่าสถติ ิพื้นฐานจาแนกรายโรงเรียน
R- Local 08: แบบรายงานผลการประเมินฯ ของต้นสังกัดย่อย (เขตพ้ืนที่) เปรียบเทียบกับ

ปีทผี่ า่ นมา

45

7.4 กำรรำยงำนระดบั จังหวดั หรือศกึ ษำธกิ ำรจังหวดั (ศนู ยส์ อบสำมำรถเข้ำดูผลกำรประเมนิ โดยพิมพ์
รหสั ผ้เู ข้ำใชแ้ ละรหสั ผำ่ นศนู ยส์ อบ) มีดังน้ี
R-Province 01: แบบสรุปรายงานผลการประเมินของจังหวัด
R-Province 02: แบบรายงานคา่ สถติ ิพนื้ ฐานผลการประเมนิ ของจังหวัด
R-Province 03: แบบรายงานผลการประเมินจาแนกรายโรงเรียน (ทุกสังกัดภายในจังหวัด)

ในแต่ละสมรรถนะ
R-Province 04: แบบรายงานผลจาแนกรายโรงเรียน (ทุกสังกัดภายในจังหวัด) ในแต่ละ

องค์ประกอบ
R-Province 05: แบบรายงานผลคา่ สถติ ิพน้ื ฐานจาแนกรายโรงเรยี น (ทกุ สังกัดภายในจังหวดั )
R-Province 08: แบบรายงานผลผลการประเมนิ ฯ ของจังหวดั เปรยี บเทียบกับปีทีผ่ า่ นมา

7.5 กำรรำยงำนระดบั หนว่ ยงำนต้นสังกดั (ต้นสังกัดสำมำรถเขำ้ ดผู ลกำรประเมนิ โดยพิมพ์รหัสผเู้ ข้ำใช้
และรหสั ผำ่ นของต้นสังกัด) มีดงั นี้
R-Central 01: แบบรายงานผลการประเมินของต้นสังกัด
R-Central 02: แบบรายงานค่าสถติ พิ ื้นฐานผลการประเมินของตน้ สงั กัด
R-Central 03: แบบรายงานผลการประเมินจาแนกรายสังกัดย่อย (เขตพื้นท่ี) ในแต่ละ

สมรรถนะ
R-Central 04: แบบรายงานผลการประเมินจาแนกรายสังกัดย่อย (เขตพื้นที่) ในแต่ละ

องค์ประกอบ
R-Central 05: แบบรายงานผลค่าสถติ พิ ้นื ฐานจาแนกรายสังกัดยอ่ ย
R-Central 08: แบบรายงานผลการประเมินฯ ของต้นสงั กดั เปรยี บเทยี บกบั ปีท่ผี ่านมา

46

ตอนที่ 8
กำรจดั สอบสำหรับเดก็ ท่ีมีควำมต้องกำรจำเป็นพเิ ศษ

เดก็ ทมี่ ีควำมตอ้ งกำรจำเป็นพิเศษ หมายถึง ผู้เข้าสอบท่มี ีความต้องการพิเศษเก่ียวกับวิธีการ
กระบวนการ และเคร่ืองมือหรือบริการอ่ืนใดท่ีใช้ในการจัดสอบแตกต่างจากเด็กท่ัวไป เพื่อให้เด็กสามารถ
แสดงความสามารถในการทาข้อสอบได้อย่างเต็มศกั ยภาพ ควรดาเนนิ การ ดงั น้ี

8.1 แนวทำงกำรจัดสอบสำหรบั เดก็ ท่มี ีควำมตอ้ งกำรจำเปน็ พเิ ศษ
การดาเนินการสาหรับเด็กทมี่ ีความต้องการจาเปน็ พิเศษ 9 ประเภท โดยแต่ละประเภทอาจมีแนว

ทางการจดั สอบ ดงั นี้
8.1.1 เด็กที่มคี วำมบกพร่องทำงกำรเห็น หมายถึง คนท่สี ูญเสียการเห็นตั้งแต่ระดบั เล็กน้อย

จนถงึ ตาบอดสนิท อาจแบง่ ได้ 2 ประเภท ไดแ้ ก่
1) ตำบอด หมายถึง เด็กกลุ่มน้ีไม่สามารถใช้การมองเห็นจากประสาทตาได้เลย

ดาเนินการ ดังน้ี การอ่านรู้เรื่อง แยกห้องโดยเฉพาะ กรรรมการคุมสอบอ่านข้อสอบและตัวเลือกให้นักเรียนฟัง
นักเรียนเลือกข้อถูก กรรมการคุมสอบบันทึกคะแนนซึ่งครูผู้สอนจะเป็นผู้อ่านข้อสอบให้ฟังและนักเรียนจะ
ทามือแสดงสัญลักษณ์คาตอบแล้วให้กรรมการคุมสอบช่วยเลือกคาตอบในแบบทดสอบ การดาเนินการสอบ
ใหเ้ วลาเพม่ิ ข้ึนรอ้ ยละ 30 จากเวลาทกี่ าหนด

2) สำยตำเลือนรำง หมายถึง เด็กกลุ่มนี้สามารถมองเห็นจากประสาทตาที่หลงเหลือได้
เด็กกลุ่มนี้ ควรใช้ข้อสอบอักษรขนาดขยายเพิ่มกว่าปกติ (ขนาด 20 พอยท์) การดาเนินการสอบให้เวลาเพ่ิมข้ึน
ร้อยละ 30 จากเวลาทกี่ าหนด มีวิธีดาเนนิ การ ดังนี้

- เด็กอ่านข้อสอบดว้ ยตนเอง และเลือกคาตอบในข้อสอบเอง
- กรรมการคุมสอบอ่านข้อสอบให้ฟัง เด็กบอกคาตอบ โดยมีกรรมการคุมสอบ
ช่วยเหลือในการเขยี นคาตอบ
8.1.2 เด็กท่ีมีควำมบกพร่องทำงกำรได้ยิน หมายถึง คนที่สูญเสียการได้ยินตั้งแต่ระดับน้อย
ถงึ ระดับรนุ แรง แบ่งได้เปน็ 2 ประเภท ได้แก่
1) หูตึง เด็กกลุ่มนี้สามารถรับรู้การได้ยินผ่านระบบประสาทหูได้ แต่มีระดับการได้ยิน
น้อยกว่าปกติท่ัวไป และอาจพูดสื่อสารได้ไม่ชัดเจน มักจะใส่เครื่องช่วยฟังเพ่ือช่วยในการได้ยินให้ดีขึ้น
เด็กกลมุ่ นสี้ ามารถทาแบบทดสอบได้ด้วยตนเอง โดยอาจไม่ตอ้ งการความชว่ ยเหลอื ใด ๆ เปน็ กรณพี เิ ศษ
2) หูหนวก เด็กกลุ่มนี้ไม่สามารถรับรู้การได้ยินผ่านทางประสาทหูได้แม้จะใส่
เครื่องช่วยฟังช่วยการได้ยินแล้วก็ตาม และต้องใช้ภาษามือในการส่ือสารแทนการใช้เสียงพูด การดาเนินการสอบ
ควรจัดให้มีลา่ มภาษามือจากโรงเรียนโสตศึกษาในจังหวัดน้ัน ช่วยในการแปลรายละเอียดข้อสอบ เพ่ือช่วย

47

ให้เด็กหูหนวกที่เข้าสอบมีความเข้าใจท่ีชัดเจน และสามารถแสดงศักยภาพในการทาข้อสอบได้ถูกต้อง
ซง่ึ การดาเนนิ การสอบใหเ้ วลาเพมิ่ ข้ึนรอ้ ยละ 30 จากเวลาทก่ี าหนด

8.1.3 เด็กที่มีควำมบกพร่องทำงสติปัญญำ หมายถึง เด็กที่มีพัฒนาการช้ากว่าคนท่ัวไป
ใหเ้ ด็กกลมุ่ น้ีไดเ้ ข้าสอบด้วยการดาเนนิ การสอบให้เวลาเพ่ิมข้ึนร้อยละ 30 จากเวลาทีก่ าหนด

8.1.4 เด็กทีม่ คี วำมบกพรอ่ งทำงรำ่ งกำยหรือสขุ ภำพ แบ่งได้เป็น 2 ประเภท ไดแ้ ก่
1) เด็กมีควำมบกพร่องทำงร่ำงกำยหรือกำรเคลื่อนไหว เช่น เด็กมีอวัยวะไม่สมส่วน

หรือขาดหายไปโดยเฉพาะแขนขาดหรือกล้ามเนื้อแขนลีบผิดปกติ จัดให้เด็กสอบในห้องเฉพาะและมี
กรรมการอานวยความสะดวกในการเขียนคาตอบให้เด็ก โดยให้เด็กแต่ละคนอ่านข้อสอบด้วยตนเองและ
บอกคาตอบใหก้ รรมการช่วยเขยี นคาตอบให้ การดาเนนิ การสอบให้เวลาเพิ่มขน้ึ ร้อยละ 30 จากเวลาท่กี าหนด

2) เด็กที่มีควำมบกพร่องทำงสุขภำพ ได้แก่ คนท่ีมีความเจ็บป่วยเร้ือรังหรือมี
โรคประจาตัว และต้องไดร้ ับการรักษาอย่างต่อเนือ่ ง เด็กเหลา่ นหี้ ากสามารถทาขอ้ สอบได้ดว้ ยตนเอง ให้ทา
ข้อสอบด้วยตนเอง หากไม่สามารถทาข้อสอบไดด้ ้วยตนเอง ให้กรรมการคมุ สอบชว่ ยเขียนคาตอบให้ ซึง่ เด็ก
เป็นผู้บอกคาตอบให้กรรมการเขียน การดาเนินการสอบใหเ้ วลาเพ่ิมขนึ้ ร้อยละ 30 จากเวลาท่กี าหนด

8.1.5 เด็กท่ีมีปัญหำทำงกำรเรียนรู้ หมายถึง เด็กท่ีมีความบกพร่องอย่างใดอย่างหน่ึง หรือ
หลายอย่าง เก่ียวกับความเข้าใจหรือการใช้ภาษา อาจเป็นภาษาพูดหรือภาษาเขียน การจัดสอบต้อง
เปิดโอกาสให้เด็กเหล่าน้ีมีโอกาสในการทาข้อสอบร่วมกับเด็กท่ัวไปด้วย จัดให้มีกรรมการคุมสอบ
ช่วยควบคุมและอานวยความสะดวกเป็นการเฉพาะ เพราะเด็กสามารถพูดคาตอบที่ถูกต้องได้ แต่อาจไม่
สามารถเขียนคาตอบได้ กรรมการคุมสอบเขียนคาตอบให้ อนึ่ง หากเด็กสามารถทาข้อสอบได้ด้วยตนเอง
กใ็ หท้ าข้อสอบดว้ ยตนเอง การดาเนนิ การสอบให้เวลาเพม่ิ ข้นึ ร้อยละ 30 จากเวลาที่กาหนด

8.1.6 เด็กที่มีควำมบกพร่องทำงกำรพูดและภำษำ หมายถึง เด็กท่ีมีความบกพร่องในเรื่อง
ของการเปล่งเสียงพูด ให้กรรมการคุมสอบแยกการสอบออกมาเฉพาะ เพื่อไม่เป็นการรบกวนสมาธิผู้อ่ืน
การดาเนินการสอบใหเ้ วลาเพิ่มขึ้นรอ้ ยละ 30 จากเวลาทีก่ าหนด

8.1.7 เด็กท่ีมีปญั หำทำงพฤติกรรมหรืออำรมณ์ หมายถึง เด็กท่ีมีพฤติกรรมเบี่ยงเบนไปจาก
ปกติเป็นอย่างมาก และปัญหาทางพฤติกรรมน้ันเป็นไปอย่างต่อเนื่อง ไม่เป็นที่ยอมรับทางสังคม
ให้กรรมการคุมสอบแยกการสอบออกมาเฉพาะ เพื่อไม่เป็นการรบกวนสมาธิผู้อ่ืน การดาเนินการสอบ
ใหเ้ วลาเพิ่มขน้ึ ร้อยละ 30 จากเวลาท่กี าหนด

8.1.8 เด็กออทิสติก หมายถึง เด็กท่ีมีความบกพร่องทางพัฒนาการด้านสังคม ภาษาและ
การสอ่ื ความหมาย พฤติกรรม อารมณ์ และจินตนาการ เด็กจะไม่มีสมาธิในการทาข้อสอบไดต้ ลอดการสอบ
และหากเด็กสามารถควบคุมสมาธิของตนเองให้ทาข้อสอบได้ ควรเปิดโอกาสให้เด็กเหล่านี้มีโอกาสในการ
ทาข้อสอบได้ตามศักยภาพ โดยให้กรรมการคุมสอบแยกการสอบออกมาเฉพาะ เพือ่ ไม่เปน็ การรบกวนสมาธผิ ู้อื่น
การดาเนินการสอบให้เวลาเพ่ิมข้ึนร้อยละ 30 จากเวลาที่กาหนด หากเด็กมีศักยภาพในการทาข้อสอบ
ได้เพยี งใด ใหถ้ อื ว่าคอื ศักยภาพในการทาขอ้ สอบของเด็กคนนั้นแล้ว

48

8.1.9 บุคคลพิกำรซ้อน หมายถึง เด็กท่ีมีสภาพความบกพร่องหรือความพิการมากกว่า
หนงึ่ ประเภทในบุคคลเดียวกัน ใหก้ รรมการคมุ สอบแยกการสอบออกมาเฉพาะ เพ่ือไม่เปน็ การรบกวนสมาธผิ ้อู ่ืน
การดาเนินการสอบให้เวลาเพ่ิมขึ้นร้อยละ 30 จากเวลาที่กาหนด (การพิจารณาให้เด็กที่มีความพิการซ้อน
เข้าสอบนน้ั ให้อยู่ในดุลยพนิ ิจของผบู้ รหิ ารโรงเรียนวา่ ควรใหน้ กั เรยี นเขา้ สอบได้หรือไม)่
8.2 หลกั ฐำนทีใ่ ช้แนบประกอบสำหรบั เดก็ ทมี่ คี วำมต้องกำรจำเปน็ พเิ ศษ

กรณีโรงเรียนท่ีมีนักเรียนเป็นเด็กท่ีมีความต้องการจาเป็นพิเศษ ต้องการเข้าร่วมประเมิน
ความสามารถด้านการอา่ นของผู้เรยี น ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 1 ให้แนบหลกั ฐานยืนยันสถานภาพของนกั เรียน
ไปยงั ศนู ย์สอบ ภายในวันท่ี 28 กุมภาพันธ์ 2565 เพื่อทาการตรวจสอบ โดยมีหลักฐาน คือ สำเนำใบรับรองแพทย์
หรือสำเนำบัตรประจำตัวคนพิกำรเท่ำน้ัน (เน่ืองจากนักเรียนในระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 ยังไม่มีการ
คัดกรองเดก็ ท่ีมีความต้องการจาเป็นพเิ ศษ)

49



ภำคผนวก ก

ตัวอย่ำงขอ้ สอบ เฉลย และเกณฑก์ ำรใหค้ ะแนน

51



ตวั อย่ำงขอ้ สอบกำรอ่ำนรู้เรื่อง
ช้ันประถมศึกษำปีท่ี 1

คำชีแ้ จง ข้อสอบมีท้ังหมด 3 ตอน เวลา 30 นาที คะแนนเต็ม ๕๐ คะแนน
ตอนท่ี 1 กำรอำ่ นรูเ้ ร่ืองคำและประโยคจำกภำพ

ข้อท่ี 1 - 10 ให้นักเรยี นนาตวั อักษรใตร้ ูปภาพมาเขียนใส่หน้าข้อที่
มคี วามสัมพันธก์ ับคาท่ีกาหนดให้ 1 คา ต่อ 1 ภาพ

53

ข้อที่ 11 - 15 ให้นักเรียนพิจารณาภาพท่ีกาหนด แล้วเล่าเรื่องจากภาพโดยการเขียน
ให้เป็นประโยคให้ได้ใจความ

54

ตอนที่ 2 กำรอำ่ นรเู้ รอ่ื งประโยค
ข้อที่ 16 – 25 ให้นกั เรยี นอา่ นประโยคแลว้ ตอบคาถามทโ่ี ดยทาเคร่ืองหมาย  ทับ

ตัวเลือกที่เป็นคาตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว

55

56

57

58

59

ตัวอยำ่ งข้อสอบกำรอำ่ นออกเสยี ง
ชนั้ ประถมศกึ ษำปีที่ 1

ขอ้ สอบกำรอำ่ นออกเสียง มีทงั้ หมด 2 ตอน
ตอนท่ี 1 กำรอ่ำนคำ (คะแนนเต็ม 10 คะแนน)

ข้อท่ี 1–20 ใหน้ ักเรียนอา่ นออกเสียงคาท่กี าหนดให้และให้กรรมการใสเ่ คร่ืองหมาย ลง
ใน  หลังคาท่ีนักเรียนอ่านถูก ใส่เคร่ืองหมาย  ในช่อง  หลังคา ท่ีนักเรียนอ่านผิด คะแนนเต็ม
10 คะแนน อ่านถกู ตอ้ งให้คะแนน คาละ 0.5 คะแนน แล้วนาคะแนนท่ีได้ไปกรอกในแบบบันทึกการให้คะแนน
ตอนที่ 2 กำรอ่ำนขอ้ ควำม (คะแนนเต็ม 30 คะแนน)

กาหนดข้อความให้นักเรียนอ่าน 1 ข้อความประกอบด้วยประโยค จานวน 10 ประโยค
จานวนคาทั้งสิ้น 60 – 70 คา โดยในแต่ละประโยคจะมีหมายเลขกากับไว้บนคาแต่ละคา ให้กรรมการใส่
เคร่ืองหมาย  ทับ เฉพาะคาที่อ่านผิด และสังเกตความต่อเนื่องในการอ่านประโยค และพิจารณาคะแนนจาก
เกณฑ์การให้คะแนน

60

ตวั อย่ำงข้อสอบกำรอ่ำนออกเสียง ชน้ั ประถมศึกษำปีท่ี 1
ข้อสอบกำรอ่ำนออกเสยี งคำ

คำช้ีแจง ข้อสอบมีทั้งหมด 2 ตอน ให้เวลาอา่ นภายใน 10 นาที
ตอนท่ี 1 กำรอำ่ นคำ

ข้อท่ี 1 – 20 ให้นักเรียนอ่านออกเสียงคาท่ีกาหนดให้และให้กรรมการใส่เคร่ืองหมาย 
ลงใน  หลังคาทน่ี ักเรยี นอ่านถูก ใส่เครื่องหมาย × ในชอ่ ง  หลงั คาทนี่ กั เรียนอา่ นผดิ

61

ตอนที่ 2 กำรอ่ำนข้อควำม
กาหนดคา/กลุ่มคาทจี่ ะให้คะแนนจานวน 48 แหง่ ตามหมายเลขท่ี กาหนดโดยใหก้ รรมการ

ใส่เคร่ืองหมาย  ทับคาที่อ่านผิด และเม่ืออ่านเป็นประโยคได้ถูกต้องทุกคาอย่างต่อเน่ืองโดยไม่ต้อง
สะกดคา ใหเ้ พ่ิมอกี ประโยคละ 1 แห่ง รวม 8 แห่ง

62

แบบบนั ทกึ กำรใหค้ ะแนนกำรอำ่ นออกเสียง
ช่อื – สกลุ ................................................โรงเรียน ................................ ห้องท่ี ........ เลขท.ี่ ........

63



ภำคผนวก ข

ตวั อยำ่ งแบบรำยงำนผลกำรประเมนิ
ควำมสำมำรถดำ้ นกำรอำ่ นของผู้เรียน

(รำยบคุ คล)

65



เดก็ ชายชนาธิป ทยุ้ แป

67

68

ภำคผนวก ค

ตวั อยำ่ งแบบรำยงำนผลกำรประเมนิ
ควำมสำมำรถดำ้ นกำรอ่ำนของผู้เรยี น (รำยโรงเรียน)

69



71

72

ภำคผนวก ง

ตัวอย่ำงแบบรำยงำนผลกำรประเมนิ
ควำมสำมำรถดำ้ นกำรอำ่ นของผู้เรียน
รำยเขตพนื้ ทกี่ ำรศกึ ษำ (ศนู ย์สอบ)

73



75

76

ภำคผนวก จ

เอกสำรประกอบกำรสอบ

77



แบบ สพฐ.2 แบบเซน็ ชอื่ ผ้เู ขำ้ สอบ (สำหรบั เกบ็ ไวท้ ศี่ ูนย์สอบ)
79

แบบบันทกึ คะแนน 1 แบบบนั ทกึ คะแนนแบบทดสอบกำรอำ่ นออกเสยี ง
80

แบบบนั ทกึ คะแนน 2 แบบบันทึกคะแนนแบบทดสอบกำรอ่ำนรู้เรือ่ ง
81



ภำคผนวก ฉ

ระเบยี บกระทรวงศึกษำธกิ ำรว่ำด้วยกำรปฏบิ ตั ิของผเู้ ขำ้ สอบ
ฉบบั ท่ี 2 พ.ศ. 2555 และ

ระเบยี บกระทรวงศึกษำธกิ ำรวำ่ ด้วยกำรปฏบิ ัตขิ องผเู้ ขำ้ สอบ
พ.ศ. 2548

83



85



87

88

คณะผู้จดั ทำ

ที่ปรึกษำ เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน
รองเลขาธกิ ารคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน
ดร.อัมพร พินะสา ผอู้ านวยการสานกั ทดสอบทางการศึกษา
ดร.เกศทิพย์ ศุภวานิช สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน
ดร.วิษณุ ทรพั ยส์ มบัติ ผเู้ ช่ยี วชาญด้านการพัฒนาเคร่ืองมือวัดผล

นางลาใย สนัน่ รมั ย์ รองผ้อู านวยการสานกั ทดสอบทางการศกึ ษา
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
คณะกรรมกำรกำหนดกรอบแนวทำง นกั วชิ าการศึกษาชานาญการพเิ ศษ
สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน
ดร.ชนาธปิ ทุย้ แป นักวิชาการศึกษาชานาญการ
สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน
นางณฐั พร พรกุณา
รองผอู้ านวยการสานกั ทดสอบทางการศึกษา
นางสาวศรีกนั ยา ธรรมพิทักษ์ สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน
นกั วชิ าการศกึ ษาชานาญการพิเศษ
คณะกรรมกำรจดั ทำแนวทำง สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน
นกั วิชาการศึกษาชานาญการ
ดร.ชนาธปิ ท้ยุ แป สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน
นกั วชิ าการศึกษาปฏิบตั กิ าร
นางณฐั พร พรกณุ า สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน
พนกั งานจ้างเหมาบริการ
นางสาวศรกี นั ยา ธรรมพิทกั ษ์ สานกั ทดสอบทางการศึกษา
พนักงานจ้างเหมาบริการ
นายกอ้ งเกยี รติ ป่นิ กุมภรี ์ สานกั ทดสอบทางการศกึ ษา
พนกั งานจ้างเหมาบริการ
นายมนี า จนิ ารกั ษ์ สานักทดสอบทางการศกึ ษา

นายณฏั ฐภัทร เฉลยไตร

นายศราวุธ แจ่มคล้าย

89

คณะบรรณำธกิ ำรกจิ แนวทำง

ดร.ชนาธปิ ทยุ้ แป รองผูอ้ านวยการสานักทดสอบทางการศึกษา

สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน

นางณฐั พร พรกุณา นักวิชาการศกึ ษาชานาญการพเิ ศษ

สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน

นางสาวศรีกนั ยา ธรรมพิทักษ์ นกั วิชาการศึกษาชานาญการ

สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน

นายกอ้ งเกยี รติ ปิ่นกุมภรี ์ นกั วชิ าการศกึ ษาปฏิบตั กิ าร

สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน

ผรู้ บั ผดิ ชอบโครงกำร

กลมุ่ ประเมินคุณภำพกำรศึกษำ สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขัน้ พืน้ ฐำน

ดร.ชนาธิป ทุ้ยแป รองผอู้ านวยการสานกั ทดสอบทางการศกึ ษา

นางณฐั พร พรกุณา นักวิชาการศกึ ษาชานาญการพเิ ศษ

นางสาวศรีกนั ยา ธรรมพิทักษ์ นักวชิ าการศึกษาชานาญการ

นายก้องเกยี รติ ป่นิ กุมภีร์ นักวชิ าการศกึ ษาปฏบิ ัติการ

นายมนี า จนิ ารกั ษ์ พนกั งานจา้ งเหมาบริการ

นายณฏั ฐภัทร เฉลยไตร พนกั งานจ้างเหมาบริการ

นายเจรญิ ทาเงิน พนกั งานจ้างเหมาบริการ

นายศราวธุ แจม่ คล้าย พนกั งานจา้ งเหมาบริการ

นางสาวจฑุ าภรณ์ สายตรง พนักงานจา้ งเหมาบริการ

ออกแบบปกและจัดรปู เลม่

นางสาวศรีกันยา ธรรมพิทักษ์ นักวิชาการศกึ ษาชานาญการ

สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน

นายมีนา จินารักษ์ พนักงานจ้างเหมาบริการ

สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน

เบอร์โทรศัพท์ตดิ ตอ่ 0-2288-5783 E-mail: [email protected]
Facebook: คน้ หำ “กลุม่ ประเมนิ คณุ ภำพกำรศึกษำ สทศ. สพฐ.

90

87


Click to View FlipBook Version