แผนพัฒนาการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน ระยะ 5 ปี
(พ.ศ. 2566- 2570)
สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาตรัง เขต 1
เอกสารลาดับท่ี 5/2565
งานนโยบายและแผน กลุ่มนโยบายและแผน
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษาตรัง เขต 1
เวบ็ ไซต์ : www.trang1.go.th
แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน ระยะ 5 ปี
ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2566-2570)
สำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาตรงั เขต 1
------------------------------------------------------------------------------------------
เอกสารลำดับท่ี 5/2565
งานนโยบายและแผน กลมุ่ นโยบายและแผน
สำนักงานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาตรงั เขต 1
เว็บไซต์ : www.trang1.go.th
คำนำ
สำนักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาตรัง เขต 1 มีอำนาจหนา้ ท่ใี นการบริหารและ
จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้จัดทำแผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2566 - 2570) ข้ึน
ให้สอดคล้องกับนโยบายและมาตรฐานการศึกษา เพื่อใช้เป็นกรอบทิศทางในการดำเนินงาน
ขององค์กร และสถานศึกษาในสังกัด ให้บรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้ อย่างมีประสิทธิภาพและ
ประสิทธิผล มีความเชื่อมโยงสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565 – 2569 ) แผนปฏิรูปประเทศ
ดา้ นการศกึ ษา แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 และนโยบายจดั การศึกษาทกุ ระดบั รวมท้ัง
ใช้เป็นแนวทางในการกำกบั ติดตามและประเมนิ ผลการดำเนินงานในชว่ งเวลาทผี่ ่านมา
สำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 หวงั เปน็ อย่างย่ิงว่าทกุ หน่วยงาน
ที่เกี่ยวข้อง จะนำแผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2566 - 2570) ไปใช้ประโยชน์
ในการขบั เคลือ่ นการพัฒนาคุณภาพทางการศึกษาข้ันพน้ื ฐานของประเทศต่อไป
สำนกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาตรงั เขต 1
พฤศจิกายน 2565
สารบญั
ส่วนที่ 1 สภาพท่ัวไปและสภาพการจัดการศึกษา
สภาพทว่ั ไปของจังหวัดตรงั ........................................................................................................1
สภาพการจดั การศึกษา..............................................................................................................4
โครงสร้างสำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาตรงั เขต 1................................................6
ข้อมูลพน้ื ฐานทางการศกึ ษา.......................................................................................................8
ข้อมูลผลสมั ฤทธิ์ทางการศกึ ษา.................................................................................................11
การวิเคราะหส์ ภาพแวดลอ้ ม (SWOT Analysis)......................................................................18
สว่ นที่ 2 ความเช่อื มโยงนโยบายและยุทธศาสตร์ท่ีเกยี่ วข้อง
พระบรมราโชบายด้านการศึกษา..............................................................................................27
รัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย ฯ.......................................................................................28
พระราชบญั ญัติการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542.........................................................................29
ยุทธศาสตรช์ าติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2561-2580)......................................................................30
แผนแมบ่ ทภายใต้ยทุ ธศาสตรช์ าติ.............................................................................................31
แผนปฏิรปู ประเทศ...................................................................................................................33
แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ.2566-2570)....................................34
แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2560-2579.................................................................................36
นโยบายของรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศกึ ษาธิการ.....................................................................39
นโยบายของเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน .....................................................41
นโยบายจงั หวัดตรัง....................................................................................................................43
ส่วนที่ 3 ทิศทางการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน
วสิ ัยทศั น์ เปา้ ประสงค์ ตวั ช้ีวดั กลยทุ ธ์ แนวทาง/มาตรการ และจุดเนน้ ...................................44
ผงั ความเชอื่ มโยงสาระสำคัญของแผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน...........................................54
ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2566-2570)
สว่ นที่ 4 การนำแผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาขน้ั พนื้ ฐานสกู่ ารปฏิบตั ิ.....................................................................55
สว่ นท่ี 5 การบริหารแผนพัฒนาการศกึ ษาสู่การปฏบิ ัติให้เกิดผลสำเรจ็ …………………………………..…….…75
ภาคผนวก
♦ คำส่ังแตง่ ตง้ั คณะกรรมการประชมุ เชิงปฏบิ ตั ิการจดั ทำแผนพัฒนาการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน
ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2566-2570) และหลักการเขยี นโครงการท่ีสอดคลอ้ งเชอ่ื มโยงกับ
แผนการการจัดการศึกษาทกุ ระดบั ในรูปแบบ XYZ
♦ คณะทำงาน
แผนพัฒนาการศึกษาขนั้ พื้นฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 1
สว่ นท่ี 1
สภาพทว่ั ไปและสภาพการจดั การศึกษา
1. สภาพทวั่ ไปของจังหวัดตรัง
1.1 ที่ตั้ง ตรังเป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ทางภาคใต้ฝั่งทะเลตะวันตกของประเทศไทย ติดกับทะเลอันดามัน
แห่งมหาสมุทรอินเดยี มเี น้อื ทีท่ ้ังสิน้ 4,917.519 ตารางกิโลเมตร ประมาณ 3,121,119 ไร่ มขี นาดพน้ื ทใ่ี หญ่เป็น
ลำดับท่ี 4 ของภาคใต้ และลำดับท่ี 33 ของประเทศ อยู่ห่างจากกรุงเทพมหานคร ตามเส้นทางสายเพชรเกษม
828 กิโลเมตร มีพื้นที่ฝั่งทะเลตลอดแนวเขตจังหวัดยาว 119 กิโลเมตร ประกอบไปด้วยเกาะน้อยใหญ่จำนวน
46 เกาะ โดยมีเกาะที่สำคัญ เช่น เกาะลิบง ซึ่งเป็นเกาะที่มีขนาดใหญ่ที่สุด เกาะมุก เกาะกระดาน เกาะสุกร
เปน็ ต้น โดยมีอาณาเขตติดตอ่ จงั หวดั ต่าง ๆ ดังนี้ .
ทิศเหนอื ติดตอ่ กับจงั หวดั นครศรีธรรมราชและ
จงั หวัดกระบี่
ทิศใต้ ติดตอ่ กับจงั หวดั สตลู และทะเลอนั ดามัน
มหาสมุทรอินเดีย
ทิศตะวนั ออก ติดตอ่ กับจังหวัดพทั ลุง (มเี ทือกเขาบรรทดั
ก้นั อาณาเขต)
ทิศตะวนั ตก ติดตอ่ กับจังหวดั กระบ่ีและทะเลอันดามนั
มหาสมทุ รอนิ เดีย
1.2 ลกั ษณะพน้ื ทีท่ างกายภาพ
สภาพพื้นที่ส่วนใหญ่โดยทั่วไปจะเป็นเนินสูง ๆ ต่ำ ๆ สลับด้วยภูเขาใหญ่เล็กกระจัดกระจายอยู่ทั่วไป
พื้นที่ราบเรียบมีจำนวนน้อยซึ่งใช้เพาะปลูกข้าว ทางทิศตะวันออกมีเทือกเขาบรรทัดยาวจากเหนือจรดใต้ และ
เป็นเส้นแบ่งเขตแดนระหว่างจังหวัดตรังกับจังหวัดพัทลุง มีพื้นที่ป่าประมาณร้อยละ 20 ของพื้นที่จังหวัด
สภาพปา่ เปน็ ปา่ ดบิ ชนื้ สำหรับพนื้ ท่ที อี่ ยู่ติดกับทะเลมปี ่าชายเลนท่ยี งั คงมีความอุดมสมบรู ณ์
1.3 ลกั ษณะภมู อิ ากาศ
1) ฤดูกาล จังหวัดตรังตั้งอยู่ในเขตภูมิอากาศแบบมรสุมเขตร้อน มีอากาศร้อน โดยมีอุณหภูมิเฉลี่ย
สูงตลอดปี มีฝนตกชุก อยู่ภายใต้อิทธิพลของลมมรสุมที่พัดผ่าน 2 ชนิด คือ ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ
ที่พัดปกคลุมประเทศไทย ทำให้ภาคเหนือและภาคกลางมีอากาศหนาวและแห้งแล้ง ส่วนภาคใต้ตอนบนจะมี
ฝนตกชุก เพราะมรสุมได้พัดผ่านอ่าวไทย สำหรับตรังอยู่ทางฝั่งตะวันตกได้รับอิทธิพลของลมนี้น้อยจึงมีฝนตก
เพียงเล็กน้อย ส่วนมรสุมอีกชนิดหนึ่ง คือ ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ซึ่งจะพัดผ่านมหาสมุทรอินเดีย ส่งผลให้
จังหวัดตรงั ซง่ึ ตง้ั อยใู่ นดา้ นรบั ลมมฝี นตกชุก จงั หวดั ตรงั มี 2 ฤดกู าล คอื
1.1 ฤดฝู น เรม่ิ ตั้งแต่เดอื นพฤษภาคมถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์ โดยฤดฝู นชว่ งแรกจะมฝี นตกสม่ำเสมอ
และฤดูฝนช่วงหลงั จะมปี รมิ าณฝนคอ่ นข้างนอ้ ย
แผนพัฒนาการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 2
1.2 ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่กลางเดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนพฤษภาคม โดยได้รับอิทธิพลของลมมรสุม
จากแถบเส้นศูนยส์ ตู รในช่วงเปลย่ี นฤดูกาล
2) ลกั ษณะอากาศทั่วไป จงั หวดั ตรงั อยภู่ ายใตอ้ ิทธิพลของลมมรสุมท่พี ัดประจำเป็นฤดกู าล 2 ชนิด คือ
2.1 ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ชว่ งกลางเดอื นพฤษภาคมถึงกลางเดอื นตลุ าคม
2.2 ลมมรสุมตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ช่วงกลางเดือนตุลาคมถึงกลางเดือนพฤษภาคม
1.4 แหล่งน้ำสำคัญ แหล่งน้ำธรรมชาติที่มีต้นกำเนิดอยู่ในพื้นที่ภูเขาและเทือกเขาด้านทิศตะวันออก
ของจังหวัด ส่วนใหญ่เป็นลำน้ำสายสั้นๆ และมีความลาดชันสูง โดยระบายลงสู่ทางด้านทิศตะวันตก มีจำนวน
รวมทงั้ หมด 176 สาย ประกอบด้วยแม่น้ำสายสำคัญ 2 สาย คอื
1) แม่น้ำตรัง มีต้นกำเนิดจากเทือกเขาบรรทัด ในเขตจังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดพัทลุงและจาก
เทือกเขาเขตจังหวัดกระบี่ มีความยาวประมาณ 123 กิโลเมตร มีลำน้ำสาขาที่สำคัญ 7 สาย ได้แก่ คลองชี
คลองท่าประดู่ คลองกะปาง คลองมวน คลองยางยวน คลองลำภูรา และคลองนางน้อย แม่น้ำนี้ไหลผ่านท้องที่
จังหวัดตรัง 5 อำเภอ คือ อำเภอรัษฎา อำเภอห้วยยอด อำเภอวังวิเศษ อำเภอเมืองตรัง และอำเภอกันตัง
แล้วไหลลงทะเลอนั ดามนั มหาสมุทรอินเดีย ทป่ี ากน้ำกนั ตัง อำเภอกนั ตงั
2) แม่น้ำปะเหลียน มีต้นกำเนิดจากเทือกเขาบรรทัดในเขตจังหวัดพัทลุง และจังหวัดสตูล มีความยาว
ประมาณ 58 กิโลเมตร มีลำน้ำสาขาที่สำคัญ 7 สาย ได้แก่ คลองปะเหลียน คลองลำแคลง คลองลำปลอก
คลองห้วยดว้ น คลองลำพกิ ุล คลองโพรงจระเข้ (คลองไหนยุ้ ) และคลองลำชาน แมน่ ้ำนีไ้ หลผา่ นทอ้ งที่จังหวัดตรัง
2 อำเภอ คือ อำเภอย่านตาขาวและอำเภอปะเหลียน แล้วไหลลงสู่ทะเลอนั ดามัน มหาสมทุ รอินเดีย ทปี่ ากแม่น้ำ
ปะเหลยี น อำเภอปะเหลยี น
2. การใช้ประโยชน์ทด่ี นิ
จงั หวัดตรงั มีเนอื้ ท่ที ั้งหมด 3,073,449 ไร่ แบง่ เปน็ พืน้ ทีถ่ ือครองเพ่ือการเกษตร รองลงมาเป็นพื้นท่ีป่าไม้
โดยพน้ื ทถ่ี อื ครองทางการเกษตรส่วนใหญ่ใช้ปลูกไม้ยืนต้น พ้นื ทนี่ าและผลไม้ ตามลำดับ
3. การปกครองและจำนวนประชากร
จังหวัดตรัง มีการแบ่งพื้นที่การปกครองออกเป็น 10 อำเภอ 87 ตำบล 723 หมู่บ้าน ประกอบด้วย
อำเภอเมืองตรัง อำเภอกันตัง อำเภอปะเหลียน อำเภอย่านตาขาว อำเภอสิเกา อำเภอห้วยยอด อำเภอวังวิเศษ
อำเภอนาโยง อำเภอรษั ฎา อำเภอหาดสำราญ
จำนวนประชากรจังหวัดตรัง ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 2564 มีจำนวน 639,788 คน ชาย 312,693 คน
หญิง 327,095 คน และมีจำนวนครัวเรือนทั้งหมด 237,935 ครัวเรือน ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ
ทางการเกษตรเป็นหลกั อัตราความหนาแนน่ ของประชากรเท่ากับ 130.26 คน ตอ่ 1 ตารางกิโลเมตร
(ที่มา : ขอ้ มูลจำนวนประชากร ปี 2564 สำนักบรหิ ารการทะเบยี น กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย)
4. ดา้ นการคมนาคม
การคมนาคมขนสง่ ในจังหวดั ตรงั สามารถเดนิ ทางหรอื ขนส่งสินคา้ ได้ 3 เส้นทาง คอื
แผนพฒั นาการศึกษาข้ันพื้นฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 3
1) การคมนาคมทางบก
1.1 ทางรถยนต์ ใช้ทางหลวงแผ่นดนิ หมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) เปน็ ถนนสายหลักในการคมนาคม
ขนส่งทางบก นอกจากนั้นยังมีถนนเชื่อมโยงจากจังหวัดไปอำเภอต่าง ๆ สามารถเดินทาง ติดต่อกันได้สะดวก
ทกุ ฤดกู าล โดยมสี ายทางทงั้ หมด 75 สายทาง
1.2 ทางรถไฟ มีบริการรถไฟ 2 ขบวน คือ ขบวนรถเร็ว กันตัง-กรุงเทพฯ ทุกวันๆ ละ 1 ขบวน
และขบวนรถด่วน ตรัง-กรุงเทพฯ ทุกวนั ๆ ละ 1 ขบวน
2) การคมนาคมทางอากาศ
จังหวัดตรังมีท่าอากาศยานตรัง ตั้งอยู่ในอำเภอเมืองตรัง ห่างจากเทศบาลนครตรังประมาณ
7 กิโลเมตร มีสายการบินที่ให้บริการปัจจุบัน จำนวน 3 สายการบิน ได้แก่ ไทยแอร์เอเชีย นกแอร์และ
ไทยไลอ้อนแอร์
3) การคมนาคมทางน้ำ
จังหวดั ตรังมที า่ เรอื พาณิชย์ จำนวน 5 ทา่ คอื
(1) ท่าเทียบเรือกันตัง ขนาดไม่เกิน 20 ตันกรอส ที่ตั้งบริเวณแม่น้ำตรัง ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง
จังหวัดตรัง ขนสง่ สนิ คา้ ประเภทตู้คอนเทนเนอร/์ เรอื ลำเลียงสินคา้
(2) ท่าเทียบเรือแสงทองขนส่งภาคใต้ เป็นท่าเทียบเรือขนาดไม่เกิน 500 ตันกรอส ที่ตั้งบริเวณแมน่ ้ำ
ตรัง ตำบลบางเปา้ อำเภอกนั ตัง จงั หวัดตรงั ท่าเทียบเรอื สนิ ค้าประเภทเทกอง /เรอื ลำเลยี งสนิ คา้
(3) ท่าเทียบเรือตรังฮาเบอร์ ท่าเทียบเรือขนาดไม่เกิน 500 ตันกรอส ที่ตั้งบริเวณแม่น้ำตรัง ตำบล
นาเกลือ อำเภอกนั ตงั จงั หวดั ตรงั ขนสง่ สินค้าประเภทเทกอง/ เรอื ลำเลียงสนิ ค้า ขนาด 1,500 ตนั กรอส
(4) ทา่ เทยี บเรือยุโสบ ขนาดไม่เกนิ 500 ตันกรอส ต้งั บรเิ วณแมน่ ้ำตรงั ตำบลบอ่ นำ้ รอ้ น อำเภอกันตัง
จังหวดั ตรัง สินคา้ ประเภทต้คู อนเทนเนอร์ / เรือลำเลยี งสนิ คา้ ขนาด 1,500-2,500 ตนั กรอส
(5) ท่าเทียบเรือนาเกลือ กว้าง 29.00 เมตร ยาว 185 เมตร ที่ตั้ง บริเวณแม่น้ำตรัง หมู่ท่ี 2 ตำบล
นาเกลือ อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง ขนส่งทางทะเลในพื้นที่โครงการพัฒนาเศรษฐกิจสามฝ่าย ได้แก่ อินโดนีเซีย
มาเลเซีย และไทย (IMT-GT) โครงการร่วมมือเศรษฐกิจอนุทวีป ระหว่างบังคลาเทศ - อินเดีย พม่า - ศรีลังกา
ไทย
ท่มี า : แผนพฒั นาจังหวัดตรงั พ.ศ.2566-2570
แผนพัฒนาการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 4
2. สภาพการจดั การศึกษา
สภาพทวั่ ไป
2.1 ทต่ี ง้ั
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษาตรัง เขต 1 ตั้งอยู่เลขที่ 200 หมู่ท่ี 12 ถนนตรัง-ปะเหลียน
ตำบลโคกหล่อ อำเภอเมืองตรัง จังหวดั ตรงั โทรศัพท์ 075 - 572030 โทรสาร 075 - 291509
Website : http://www.trang1.go.th E-mail : [email protected]
2.2 เขตพื้นท่บี ริการ
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 ตั้งอยู่ในจังหวัดตรัง ภาคใต้ของประเทศไทย
อยู่ห่างจากกรุงเทพมหานคร 828 กิโลเมตร พื้นที่ความรับผิดชอบ 5 อำเภอ ได้แก่ อำเภอเมืองตรัง อำเภอ
ปะเหลยี น อำเภอยา่ นตาขาว อำเภอนาโยงและอำเภอหาดสำราญ
อำเภอ พื้นที่ ตำบล หมู่บ้าน เทศบาล อบต.
(ตร.กม.)
119 4 16
เมืองตรัง 533.87 15 85 3 12
65 3 9
ปะเหลียน 973.13 10 53 1 7
22 - 3
ยา่ นตาขาว 431.05 8 723 11 77
นาโยง 165.02 6
หาดสำราญ 224.00 3
รวม 2,105.31 87
ทม่ี า : แผนพัฒนาจงั หวัดตรัง พ.ศ. 2566-2570
2.3 ประชากรในเขตพ้ืนที่บริการ
อำเภอ ชาย หญงิ รวม ครัวเรอื น
155,408 66,011
เมืองตรัง 73,735 81,673 66,842 23,217
64,428 21,542
ปะเหลียน 32,936 33,906 44,652 14,956
16,903 4,861
ย่านตาขาว 31,422 33,006 348,233 130,587
นาโยง 21,612 23,040
หาดสำราญ 8,493 8,410
รวม 168,198 180,035
ทีม่ า : แผนพัฒนาจังหวดั ตรงั พ.ศ. 2566-2570
แผนพฒั นาการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 5
3. อำนาจ หนา้ ที่
3.1 ตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546 มาตรา 37 ให้สำนักงาน
เขตพื้นที่การศึกษา มอี ำนาจหนา้ ที่ ดังน้ี
(1) อำนาจหน้าที่ในการบริหารและการจัดการศึกษา และการพัฒนาสาระของหลักสูตรการศึกษา
ให้สอดคลอ้ งกบั หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ของสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน
(2) อำนาจหน้าที่ในการพัฒนางานด้านวิชาการ และจัดให้มีระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
รว่ มกบั สถานศกึ ษา
(3) รับผิดชอบในการพิจารณาแบ่งส่วนราชการภายในสถานศึกษาของสถานศึกษา และสำนักงาน
เขตพน้ื ทีก่ ารศึกษา
(4) ปฏบิ ัตหิ นา้ ทีอ่ ืน่ ตามท่กี ฎหมายกำหนด
3.2 ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องการแบ่งส่วนราชการภายในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
พ.ศ. 2560 ข้อ 5 ให้สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มีอำนาจหน้าที่ดำเนินการให้เป็นไปตามอำนาจหน้าที่ของ
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาตามกฎหมาย ว่าด้วยระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ และมีอำนาจ
หนา้ ที่ ดงั ตอ่ ไปนี้
(1) จดั ทำ นโยบาย แผนพัฒนา และมาตรฐานการศกึ ษาของเขตพื้นที่การศึกษาให้สอดคลอ้ งกับนโยบาย
มาตรฐานการศึกษา แผนการศึกษา แผนพฒั นาการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน และความต้องการของทอ้ งถนิ่
(2) วิเคราะห์การจัดตั้งงบประมาณเงินอุดหนุนทั่วไปของสถานศึกษา และหน่วยงานในเขตพื้นที่
การศึกษา และแจ้งการจัดสรรงบประมาณที่ได้รับให้หน่วยงานข้างต้นรับทราบ รวมทั้งกำกับตรวจสอบ ติดตาม
การใช้จา่ ยงบประมาณของหนว่ ยงานดงั กลา่ ว
(3) ประสาน ส่งเสรมิ สนับสนนุ และพัฒนาหลกั สูตรร่วมกับสถานศึกษาในเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษา
(4) กำกบั ดแู ล ตดิ ตาม และประเมนิ ผลสถานศึกษาขั้นพน้ื ฐาน และในเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษา
(5) ศึกษา วิเคราะห์ วจิ ยั และรวบรวมข้อมลู สารสนเทศดา้ นการศกึ ษาในเขตพน้ื ที่การศกึ ษา
(6) ประสานการระดมทรัพยากรด้านต่าง ๆ รวมทั้งทรัพยากรบุคคล เพื่อส่งเสริม สนับสนุน
การจดั การศึกษา และพัฒนาการศึกษาในเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
(7) จัดระบบประกันคุณภาพการศึกษา และประเมินผลสถานศกึ ษาในเขตพน้ื ท่ีการศึกษา
(8) ประสาน ส่งเสริม สนับสนุน การจัดการศึกษาของสถานศึกษาเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
รวมทั้งบุคคล องค์กรชุมชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันอื่นที่จัดการศึกษา
รปู แบบที่หลากหลายในเขตพื้นที่การศกึ ษา
(9) ดำเนินการและประสาน สง่ เสรมิ สนับสนนุ การวิจยั และพฒั นาการศึกษาในเขตพ้นื ท่กี ารศึกษา
(10) ประสาน ส่งเสริมการดำเนินการของคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการและคณะทำงาน
ดา้ นการศึกษา
(11) ประสานการปฏิบัตริ าชการทว่ั ไปกับองคก์ ร หรอื หนว่ ยงานตา่ ง ๆ ทง้ั ภาครฐั เอกชนและ
องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ
(12) ปฏบิ ตั งิ านร่วมกับหรอื สนบั สนนุ การปฏิบัติงานของหน่วยงานอ่นื ที่เก่ยี วข้องหรือทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย
แผนพัฒนาการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 6
แผนพัฒนาการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 7
แผนพฒั นาการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 8
4. ข้อมูลพนื้ ฐานทางการศึกษา
ตารางที่ 1 จำนวนสถานศึกษาในจงั หวดั ตรงั ปีการศกึ ษา 2565 จำแนกตามระดบั การศกึ ษา รายสงั กัด
ท่ี สถานศึกษาสงั กัด จำนวน (แหง่ )
1 สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน 296
132
- สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาตรัง เขต 1 135
- สำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 2 28
- สำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต 13 (โรงเรียน จ.ตรงั ) 1
- ศนู ย์การศึกษาพเิ ศษ เขตการศกึ ษา 4 จงั หวดั ตรงั 11
2 สงั กัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั
38
3 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสรมิ การศึกษาเอกชน
14
4 โรงเรียนเทศบาล 137
5 ศูนยพ์ ัฒนาเด็กเลก็ 1
6 สำนกั งานตำรวจแห่งชาติ 1
7 สำนกั งานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ
9
8 สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา 5
9 สำนกั งานคณะกรรมการอุดมศึกษา 2
10 สถาบนั พลศึกษา 2
11 สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 516
รวมท้ังสิ้น
ท่ีมา : ข้อมูลสารสนเทศดา้ นการศึกษาจังหวัดตรัง ปีการศึกษา 2565 (ศธจ.ตรัง)
ตารางที่ 2 ข้อมูลนกั เรียน ระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐานในจังหวดั ตรงั ปีการศึกษา 2565
ท่ี สงั กัด จำนวน(คน)
1 สำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาตรงั เขต 1 21,052
2 สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 2 22,964
3 สำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 13 (โรงเรียน จ.ตรงั ) 44,978
88,994
รวมท้ังสน้ิ
ท่ีมา : ข้อมลู ณ วนั ท่ี 21 พฤศจกิ ายน 2565
แผนพฒั นาการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 9
ตารางท่ี 3 จำนวนโรงเรยี น นกั เรยี น ครู ห้องเรยี น ครูต่อนกั เรยี น และหอ้ งเรียนต่อนักเรยี น
สงั กัดสำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษาตรงั เขต 1 จำแนกตามขนาดโรงเรยี น
ปกี ารศึกษา 2565
ขนาด จำนวนนกั เรยี น โรงเรยี น นักเรยี น หอ้ งเรยี น
โรงเรียน
1 (1-120 คน) 66 4,839 573
นกั เรยี น 1-20 คน 2 18 11
นักเรียน 21-40 คน 3 108 27
นักเรยี น 41-60 คน 19 980 168
นักเรยี น 61-80 คน 16 1,162 135
นักเรียน 81-100 คน 13 1,153 116
นกั เรยี น101-120 คน 13 1,418 116
2 (121-200 คน) 46 6,775 427
3 (201-300 คน) 12 3,059 127
4 (301-499 คน) 5 2,084 85
5 (500-1,499 คน) 1 914 29
6 (1,500-2,499 คน) 2 3,381 98
7 (2,500 ขน้ึ ไป) 00 0
รวมทั้งส้ิน 132 21,052 1,339
ท่มี า : ขอ้ มูล DMC ณ วนั ที่ 25 มถิ ุนายน 2565
ตารางที่ 4 จำนวนโรงเรียน หอ้ งเรียน นกั เรียน สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาตรัง เขต 1
ปีการศึกษา 2565 จำแนกรายอำเภอ
ท่ี อำเภอ โรงเรยี น ห้องเรียน รวม จำนวนนักเรยี น
ก่อนประถม ประถม มัธยมศกึ ษาตอนตน้
1 เมอื งตรงั 35 410 7,872 1,750 5,681 441
2 ปะเหลยี น 37 335 4,400 765 3,341 56
3 ยา่ นตาขาว 33 319 4,398 1,003 3,422 211
4 นาโยง 17 184 3,012 1,003 2,027 257
5 หาดสำราญ 10 91 1,370 332 983 55
รวม 132 1,339 21,052 4,578 15,454 1,020
ทม่ี า : ขอ้ มูล DMC ณ วนั ที่ 25 มิถุนายน 2565
แผนพฒั นาการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 10
ตารางท่ี 5 จำนวนโรงเรียน นักเรียน หอ้ งเรียน โรงเรียนขนาดเล็ก สงั กัดสำนักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษา
ประถมศึกษาตรัง เขต 1 จำแนกตามขนาด รายอำเภอ ปกี ารศกึ ษา 2565
ท่ี อำเภอ โรงเรียน นักเรยี น หอ้ งเรียน 0-20 ขนาดสถานศึกษา (มจี ำนวนนกั เรยี น) 101-120
21-40 41-60 61-80 81-100
936
1 เมอื งตรงั 14 1,762 122 1 1 45 1 2
2 ยา่ นตาขาว 23 1,319
3 ปะเหลียน 20 569 208 0 2 65 4 6
4 นาโยง 6 253
5 หาดสำราญ 3 4,897 163 1 0 94 4 2
66
รวม 53 0 0 0 1 2 2
27 0 0 0 1 2 3
572 2 3 19 16 13 13
ท่มี า : ขอ้ มลู DMC ณ วันที่ 25 มถิ นุ ายน 2565
ตารางที่ 6 จำนวนขา้ ราชการครูและบุคลากรในสถานศกึ ษา สงั กัดสำนกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษา
ประถมศกึ ษาตรัง เขต 1 จำแนกรายอำเภอ ปีการศึกษา 2565
ที่ อำเภอ ตาม จ. 18 ตามเกณฑ์ท่ี ก.ค.ศ.กำหนด
ผอ.รร. รอง ผอ.รร. ครู รวม ผอ.รร. รอง ผอ.รร. ครู รวม
1 เมืองตรงั 33 11 421 465 33 27 454 514
2 ย่านตาขาว 28 2 284 279 31 12 302 345
3 ปะเหลยี น 35 3 320 306 36 17 339 392
4 นาโยง 16 3 198 192 17 11 200 228
5 หาดสำราญ 10 1 102 96 10 7 101 118
รวม 122 20 1,226 1,368 127 74 1,396 1,597
ท่ีมา : ขอ้ มลู ณ วนั ท่ี 21 พฤศจิกายน 2565 (กลุม่ บริหารงานบคุ คล สพป.ตรัง เขต 1)
ตารางท่ี 7 จำนวนบคุ ลากรในสำนักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1
ที่ กลุ่ม/หน่วย/ศูนย์ จำนวน(คน)
1 ผูอ้ ำนวยการสำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษา 1
2 รองผูอ้ ำนวยการสำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษา 2
3 ศกึ ษานิเทศก์ 7
4 บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตรา 38 ค (2) 40
5 พนกั งานราชการ 3
6 ลกู จ้างประจำ/ช่วั คราว 9
62
รวม
ท่มี า : ข้อมลู ณ วันท่ี 21 พฤศจิกายน 2565 (กลุ่มบริหารงานบุคคล สพป.ตรัง เขต 1)
แผนพัฒนาการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 11
5. ข้อมูลผลสมั ฤทธทิ์ างการศกึ ษา
ดา้ นคณุ ภาพ ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ น้ั พืน้ ฐาน (O-NET) ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 6
ปีการศึกษา 2564 สำนกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษาตรงั เขต 1
ตารางที่ 8 การเปรยี บเทยี บผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขั้นพ้นื ฐาน (O-NET) ชน้ั ประถมศกึ ษา
ปที ่ี 6 ปกี ารศึกษา 2564 ของโรงเรยี นสงั กัดสำนักงานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาตรงั
เขต 1 ระดบั เขตพนื้ ท่ี ระดับสพฐ. และระดับประเทศ
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ เขตพนื้ ท่ี คะแนนเฉล่ีย
สพฐ. +เพ่มิ /-ลด ประเทศ +เพ่มิ /-ลด
ภาษาไทย
49.47 49.54 -0.07 50.38 -0.91
ภาษาอังกฤษ 34.30 35.46 -1.16 39.22 -4.92
คณติ ศาสตร์ 36.34 35.85 0.49 36.83 -0.49
วทิ ยาศาสตร์ 33.33 33.68 -0.35 34.31 -0.98
รวม 4 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ 38.36 38.63 -0.27 40.19 -1.83
จากตารางที่ 8 การเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET)
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2564 ของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง
เขต 1 เมื่อเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยระดับเขตพื้นที่การศึกษากับระดับ สพฐ. พบว่า ผลการทดสอบ
ใน 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้มีคะแนนเฉลี่ยต่ำกว่าระดับ สพฐ. ร้อยละ 0.27 โดยมีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าอยู่ 1 กลุ่ม
สาระการเรียนรู้ คือ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ และเมื่อเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยระดับเขตพื้นที่
กับระดับประเทศ พบว่า ผลการทดสอบใน 4กลมุ่ สาระการเรียนรมู้ ีคะแนนเฉล่ยี ตำ่ กวา่ ระดับประเทศ รอ้ ยละ 1.83
แผนภมู ิท่ี 1 แสดงการเปรยี บเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ้ันพนื้ ฐาน (O-NET)
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปกี ารศึกษา 2564 ของโรงเรยี นสงั กัดสำนกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษา
ประถมศกึ ษา ตรงั เขต 1 ระดบั เขตพน้ื ที่ ระดับสพฐ. และระดับประเทศ
60
50 49.4749.5450.38
40 39.22 36.34 35.85 36.83 34.31 38.3638.6340.19
34.3035.46 33.33 33.68
เขตพนื้ ท่ี
30 สพฐ.
ประเทศ
20
10
0 ภาษาองั กฤษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ รวม 4 กลุ่ม สาระ
ภาษาไทย
แผนพัฒนาการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 12
ตารางท่ี 9 การเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ั้นพื้นฐาน (O-NET) ช้ันมัธยมศกึ ษา
ปีที่ 3 ปีการศกึ ษา 2564 ของโรงเรยี นสังกัดสำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาตรัง
เขต 1 ระดบั เขตพน้ื ท่ี ระดับสพฐ. และระดับประเทศ
กลมุ่ สาระการเรียนรู้ เขตพน้ื ที่ คะแนนเฉลยี่
55.40 สพฐ. +เพ่มิ /-ลด ประเทศ +เพิม่ /-ลด
ภาษาไทย 27.19 52.13 +3.27 51.19 +4.21
ภาษาอังกฤษ 20.37 30.79 -3.60 31.11 -3.92
คณิตศาสตร์ 30.23 24.75 -4.38 24.47 -4.10
วทิ ยาศาสตร์ 31.55 -1.44 31.45 -1.22
รวม 4 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ 33.30
34.81 -1.51 34.56 -1.26
จากตารางที่ 9 การเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O-NET)
ช้ันมธั ยมศกึ ษาปท่ี 3 ปการศึกษา 2564 ของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาตรงั
เขต 1 เม่ือเปรยี บเทียบคะแนนเฉลี่ยระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษากับระดบั สพฐ. พบว่า ผลการทดสอบใน
4 กลุ่มสาระการเรียนรู้ มีคะแนนเฉลี่ยต่ำกว่าระดบั สพฐ. ร้อยละ 1.51 และมีคะแนนเฉลี่ยต่ำกว่าระดับ
ประเทศ ร้อยละ 1.26 โดยมีคะแนนเฉลย่ี สูงกว่าระดับ สพฐ.และระดับประเทศเพียง 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้
คือ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
แผนภูมทิ ่ี 2 แสดงการเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขัน้ พ้ืนฐาน (O-NET)
ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2564 ของโรงเรียนสงั กดั สำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษา
ประถมศึกษาตรัง เขต 1 ระดับเขตพน้ื ที่ ระดับสพฐ. และระดับประเทศ
60
55.40
52.13
51.19
50
40
34.81 34.56
33.30
30.23 31.55 31.45 เขตพนื้ ท่ี
30.79 31.11
30 27.19 สพฐ.
24.75 24.47
20.37 ประเทศ
20
10
0 ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ รวม 4 กลุ่ม สาระ
ภาษาไทย
แผนพฒั นาการศึกษาขัน้ พื้นฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 13
ตารางท่ี 10 แสดงการเปรียบเทียบผลการทดสอบความสามารถพนื้ ฐาน ของผูเ้ รยี นระดับชาติ
(National Test : NT) ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศกึ ษา 2564 สำนักงานเขตพ้ืนท่ี
การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 ระดับเขตพ้ืนที่ ระดับสพฐ. และระดับประเทศ
ความสามารถ เขตพนื้ ท่ี คะแนนเฉล่ียร้อยละ +เพมิ่ /-ลด
สพฐ. +เพิ่ม/-ลด ประเทศ
ด้านคณติ ศาสตร์ 41.63 48.73 -7.10 49.44 -7.81
ดา้ นภาษาไทย 52.34 55.45 -3.11 56.14 -3.80
รวมเฉล่ยี ความ 46.97 52.11 -5.14 52.80 -5.83
สามารถ 2 ด้าน
จากตารางที่ 10 ผลการเปรียบเทียบผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
ปีการศึกษา 2564 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 เมื่อเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยระดับ
เขตพื้นที่ กับระดับสพฐ. พบว่า ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 ระดับเขตพื้นท่ี
ต่ำกว่าระดับสพฐ.ร้อยละ 5.14 เมื่อพิจารณาเป็นรายความสามารถ พบว่า ด้านคณิตศาสตร์ต่ำกว่าร้อยละ
7.10 และด้านภาษาไทยต่ำกว่าร้อยละ 3.11 และเมื่อเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยระดับเขตพื้นที่กับระดับ
ระดับประเทศ พบว่า ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2564 ระดับ
เขตพื้นที่ต่ำกว่าระดับประเทศ ร้อยละ 5.83 เมื่อพิจารณาเป็นรายความสามารถ พบว่า ด้านคณิตศาสตร์
ตำ่ กวา่ ร้อยละ 7.81 และดา้ นภาษาไทยต่ำกว่าร้อยละ 3.80
แผนภูมิท่ี 3 แสดงการเปรียบเทียบผลการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนระดับชาติ (National
Test : NT) ช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 ปกี ารศกึ ษา 2564 สำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษา
ตรงั เขต 1 ระดบั เขตพ้นื ที่ ระดบั สพฐ. และระดบั ประเทศ
ดา้ นคณิตศาสตร์ 49.44
ด้านภาษาไทย 48.73
รวมเฉล่ีย 41.63
0 56.14
55.45
52.34
52.80
52.11
46.97
10 20 30 40 50 60
ประเทศ สพฐ. เขตพนื้ ที่
แผนพัฒนาการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 14
ตารางท่ี 11 แสดงการเปรียบเทียบผลการทดสอบความสามารถพืน้ ฐานของผู้เรียนระดับชาติ (National
Test : NT) ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 3 ปกี ารศกึ ษา 2564 สำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษา
ตรัง เขต 1 เปรียบเทียบระหว่างปีการศึกษา 2562 – 2564
ความสามารถ 2562 ปกี ารศกึ ษา (คะแนนเฉล่ยี ร้อยละ) +เพิ่ม/-ลด
49.17 2563 +เพ่มิ /-ลด 2564 -0.74
ด้านคณติ ศาสตร์ 48.57 42.37 -6.80 41.63 +2.87
ด้านภาษาไทย 49.47 +0.90 52.34
รวมเฉลย่ี 48.87 +1.05
ความสามารถ 2 ด้าน 45.92 -2.95 46.97
จากตารางที่ 11 ผลการเปรียบเทียบผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 ระหว่างปีการศึกษา 2562 - 2564 พบว่า มีแนวโน้ม
ลดลง เมื่อเปรียบเทียบระหว่างปีการศึกษา 2563 กับปีการศึกษา 2564 คะแนนเฉลี่ยร้อยละของรวมเฉล่ีย
ความสามารถ 2 ด้าน ปีการศึกษา 2564 สูงกว่าปีการศึกษา 2563 ร้อยละ 1.05 เมื่อพิจารณาเป็น
รายความสามารถ พบว่า คะแนนเฉลี่ยร้อยละของความสามารถด้านคณิตศาสตร์ ปีการศึกษา 2564 ต่ำกว่า
ปีการศึกษา 2563 คือ ต่ำกว่าร้อยละ 0.74 ส่วนคะแนนเฉลี่ยร้อยละของความสามารถด้านภาษาไทย
ปีการศึกษา 2564 สูงกว่าปีการศึกษา 2563 คือ สูงกว่าร้อยละ 2.87 เมื่อเปรียบเทียบระหว่างปีการศึกษา
2562 กับปีการศึกษา 2563 คะแนนเฉล่ียร้อยละของรวมเฉล่ยี ความสามารถ 2 ด้าน ปกี ารศึกษา 2563 ต่ำกว่า
ปีการศึกษา 2562 ร้อยละ 2.95 เมื่อพิจารณาเป็นรายความสามารถ พบว่า คะแนนเฉลี่ยร้อยละของ
ความสามารถด้านคณิตศาสตร์ ปีการศึกษา 2563 ต่ำกว่าปีการศึกษา 2562 คือ ต่ำกว่าร้อยละ 6.80 และ
คะแนนเฉลี่ยร้อยละของความสามารถด้านภาษาไทย ปีการศึกษา 2563 สูงกว่าปีการศึกษา 2562 คือ ต่ำกว่า
รอ้ ยละ 0.90
แผนพฒั นาการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 15
แผนภูมิที่ 4 แสดงการเปรียบเทียบผลการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนระดับชาติ (National
Test : NT) ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2564 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศกึ ษาตรัง เขต 1 ระหว่างปีการศึกษา 2562 - 2564
ด้านคณติ ศาสตร์ 4422..3377 49.17
ดา้ นภาษาไทย 4489.5.47572.34
รวมเฉลี่ย 2 ดา้ น 454.69.42987.87
10 20 30 40 50 60
0
2564 2563 2562
ตารางที่ 12 ผลการทดสอบความสามารถพืน้ ฐานดา้ นการอา่ นของผเู้ รียน (Reading Test : RT)
ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 1 ปีการศึกษา 2564 สำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษา
ตรงั เขต 1
สมรรถนะ คะแนนเฉล่ียรอ้ ยละ สว่ น ดีมาก ระดับคุณภาพ
เบี่ยงเบน
การอา่ นออกเสยี ง 59.71 มาตรฐาน ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ
การอา่ นรเู้ ร่ือง 69.18
รวม 2 สมรรถนะ 64.44 15.14
10.26
23.49
จากตารางที่ 12 พบว่า คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 2 สมรรถนะ อยู่ในระดับคุณภาพดี คือ มีคะแนนเฉล่ีย
ร้อยละ 64.44 เมื่อพิจารณาเป็นรายสมรรถนะ พบว่า คะแนนเฉลี่ยร้อยละของสมรรถนะการอ่านออกเสียง และ
สมรรถนะการอา่ นรู้เรื่อง อยู่ในระดับคณุ ภาพดี คอื มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 59.71 และ ร้อยละ 69.18 ตามลำดับ
แผนพฒั นาการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 16
แผนภูมิที่ 5 แสดงผลการทดสอบความสามารถดา้ นการอ่านของผู้เรยี น (Reading Test : RT)
ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 1 ปีการศึกษา 2564 สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา
ตรัง เขต 1
การอ่านออกเสียง 59.71
การอา่ นรู้เร่ือง 69.18
รวม 2 สมรรถนะ 64.44
0 20 40 60 80 100
แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 17
6. ด้านประสทิ ธภิ าพ
ผลการติดตามและประเมินผลการบริหารจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ตามตัวชี้วัดแผนปฏิบัติราชการของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประจำปีงบประมาณ
พ.ศ. 2565 ของสำนกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาตรงั เขต 1 มรี ายละเอียดดงั นี้
ตวั ช้วี ดั ระดบั คำอธิบาย
คุณภาพ ระดบั คณุ ภาพ
ตัวชี้วัดที่ 1 ร้อยละของผู้เรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมที่ส่งเสริม สนับสนุนในการสร้าง
ภมู ิคุ้มกัน พรอ้ มรบั มือกับการเปลีย่ นแปลงและภยั คุกคามรูปแบบใหม่ ทกุ รปู แบบ 3 ดี
ตวั ชี้วดั ท่ี 10 รอ้ ยละของผูเ้ รียนปฐมวัยมีคณุ ภาพตามหลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั
(สำหรับ สพป.) 5 ดเี ยี่ยม
ตัวชว้ี ัดที่ 11 ร้อยละของผู้เรียนมคี ุณลักษณะอันพึงประสงค์ระดับดีข้นึ ไป
ตัวชี้วัดท่ี 14 รอ้ ยละของครูสอนภาษาอังกฤษในระดับชนั้ ประถมศึกษาและ 5 ดเี ย่ียม
มัธยมศึกษาได้รบั การพฒั นาและยกระดบั ความร้ภู าษาองั กฤษโดยใชร้ ะดบั การ 5 ดเี ยี่ยม
พฒั นาทางด้านภาษา (CEFR) ตามเกณฑ์ท่ีกำหนด
ตัวชว้ี ดั ท่ี 15 ร้อยละของสถานศกึ ษาทส่ี อนในระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น ได้รบั การ 5 ดีเย่ียม
เตรยี มความพรอ้ ม(ด้านการอ่าน คณติ ศาสตร์ และวิทยาศาสตร)์ ในการประเมิน
ระดบั นานาชาติตามโครงการ PISA 5 ดีเย่ยี ม
ตวั ชว้ี ดั ท่ี 16 รอ้ ยละของสถานศกึ ษาท่สี ามารถจัดการเรียนการสอนตามพหุปญั ญา
ตัวชี้วัดที่ 17 ร้อยละของนักเรยี นทไี่ ดร้ ับการคดั กรองเพอ่ื พัฒนาพหุปัญญารายบคุ คล 5 ดเี ย่ียม
ตัวช้วี ดั ที่ 18 รอ้ ยละของหน่วยงานและสถานศึกษามรี ะบบบริหารจดั การทเี่ ป็นดิจทิ ลั
4.71 ดีเยยี่ ม
คะแนนเฉลี่ยรวม 7 ตัวชวี้ ดั
ผลการติดตามและประเมินผลการบริหารจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ตามตัวชี้วัดแผนปฏิบัติราชการของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประจำ ปีงบประมาณ
พ.ศ.2565 ของสำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 ผลการประเมินบรรลุเป้าหมาย อย่ใู นระดับ
คณุ ภาพดเี ยย่ี ม
ผลการประเมินคุณธรรมและความโปรง่ ใสในการดำเนินงานของสำนักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาออนไลน์
(Integrity and Transparency Assessment Online : ITA Online) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
ตามท่ี สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน ดำเนินการประเมนิ คณุ ธรรมและความโปร่งใส
ในการดำเนินงาน ของสำนักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษาออนไลน์ (Integrity and Transparency Assessment
Online : ITA Online) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ผลการประเมินสำนกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษา
ตรัง เขต 1 ได้รับคะแนน 97.59 อยใู่ นลำดับท่ี 98 ของสำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษา จำนวน 245 เขตพืน้ ท่ี
แผนพฒั นาการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 18
7. การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม (SWOT Analysis)
การกำหนดประเด็น SWOT ที่สำคัญ อาศัยการมีส่วนร่วมของผู้บริหารการศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา
ศึกษานิเทศก์ บุคลากรทางการศึกษาอื่นและเครือข่ายกลุ่มโรงเรียน กำหนดเป็นกลยุทธ์ดำเนินงาน
การจัดการศกึ ษาของสำนกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาตรงั เขต 1 ดงั น้ี
2.1 การวเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อมภายใน (Internal Environment Analysis) 7Ss (McKinsey)
จุดแข็ง (Strength) จุดออ่ น (Weakness)
ดา้ นโครงสร้าง (Structure : S1)
1.โครงสรา้ งบรหิ ารงานของสำนกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษา 1. บคุ ลากรไมค่ รบตามกรอบอตั รากำลงั กำหนด
เป็นระบบ มีมาตรฐาน ตามระเบียบและกฎหมายกำหนด
2. สพป.ตรงั เขต 1 กำหนดบทบาท อำนาจหน้าท่ี
การมอบหมายงานชดั เจน ตรงตามความรู้ ความสามารถ
และสมรรถนะของตำแหนง่ หนา้ ที่
3. สพป.ตรงั เขต 1 จดั แบง่ กลุ่มภายในหน่วยงาน
อย่างชดั เจน ให้สอดคล้องกับประสทิ ธิภาพการบริหาร
ตามทก่ี ฎหมายกำหนด ตามประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
ดา้ นกลยุทธห์ น่วยงาน (Strategy : S2)
1. สพป.ตรัง เขต 1 กำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ 1. มกี ารปรบั แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม และ
เปา้ ประสงค์ กลยทุ ธ์ ตวั ชว้ี ัด ชดั เจน สอดคลอ้ ง งบประมาณ เนื่องจากสพฐ.แจง้ จัดสรรงบประมาณ
ตามบริบทหนว่ ยงาน เน่ืองจากใชก้ ระบวนการมสี ่วนร่วม ใหส้ ำนักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาเพม่ิ เติม
และดำเนนิ การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก 2. การนำกลยุทธส์ กู่ ารปฏบิ ัติ ไมม่ ปี ระสิทธิภาพ
และภายในดว้ ยเทคนิค SWOT ทีส่ อดคล้องกบั บรบิ ท ไม่สอดคลอ้ งกับวตั ถปุ ระสงคแ์ ละตัวชีว้ ดั ของ
และสภาพจริงของหนว่ ยงาน หน่วยงานบางสว่ น
2. สพป.ตรงั เขต 1 มแี ผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ทส่ี อดคล้องกบั กลยทุ ธ์ เปา้ ประสงค์และบรบิ ทของ
หน่วยงาน
3. สพป.ตรัง เขต 1 สามารถนำกลยุทธส์ กู่ ารปฏบิ ตั ิ
ทุกระดับอย่างทวั่ ถงึ ด้วยกระบวนการ วิธกี าร
ทีห่ ลากหลายช่องทาง
แผนพัฒนาการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 19
จดุ แขง็ (Strength) จดุ ออ่ น (Weakness)
ด้านระบบในการดำเนนิ งานของหนว่ ยงาน (System :S3)
1. สพป.ตรัง เขต 1 มีกระบวนการบริหารจัดการภายใน 1. บุคลากรใช้เทคโนโลยีในกระบวนการบริหาร
เป็นระบบ มปี ระสิทธิภาพ สอดคล้องกับระเบยี บ ภายในน้อย
กฎหมาย มาตรฐานเขตพื้นท่ีการศึกษา โดยยดึ 2. การปรับเปล่ยี นบคุ ลากรด้านการเงินบัญชบี ่อย
หลักการกระจายอำนาจ รวมทง้ั จัดทำคูม่ อื ปฏบิ ัตงิ าน ส่งผลให้ขาดการพฒั นาตนเองอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง
2.สพป.ตรงั เขต 1 มรี ะบบบริหารดา้ นงบประมาณ 3. ขาดแคลนบุคลากรทม่ี คี ุณวฒุ ิดา้ นการเงิน
ระบบบญั ชีและการเงิน การพสั ดโุ ปร่งใส ตรวจสอบได้ การบญั ชีและการพสั ดุ
บริหารจัดการตามระเบยี บ กฎหมาย 4. บุคลากรขาดสมรรถนะ เรื่องการใช้เทคโนโลยี
3. สพป.ตรัง เขต 1 มีระบบการสรรหาและคดั เลือก ใหเ้ กิดความคุ้มค่า
บุคลากรทโ่ี ปร่งใส ตรวจสอบได้ ดำเนินการตามระเบียบ 5. ระบบการติดตาม ตรวจสอบ มีความซำ้ ซ้อน
กฎหมายท่ีกำหนด ของหน่วยงาน
4. สพป.ตรงั เขต 1 มีระบบการพัฒนาบคุ ลากร
สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของหน่วยงานและตนเอง
มีการจัดทำแผนพฒั นาบุคลากรระยะสน้ั
5. สพป.ตรงั เขต 1 มีระบบการตดิ ตอ่ สื่อสารเทคโนโลยี
สารสนเทศ ทที่ ันสมยั ใชใ้ นการสนบั สนนุ การบรหิ าร
จัดการภายในสำนักงาน และหน่วยงานอน่ื ๆ
6. สพป.ตรงั เขต 1 มรี ะบบการติดตาม ประเมนิ ผล
เปน็ เคร่อื งมือในการบริหารและการวางแผน มีการกำหนด
รูปแบบ การกำกบั ตดิ ตามและประเมนิ ผลเปน็ ระบบ
สอดคลอ้ งกบั ตัวช้วี ัดและวัตถปุ ระสงค์
ด้านแบบแผนหรอื พฤตกิ รรมในการบริหารจดั การ (Style : S4)
1. ผอ.สพป.ตรัง เขต 1 มคี ุณธรรม จริยธรรม และ 1. บุคลากรบางสว่ น ไมส่ ามารถปฏบิ ัติงานไดบ้ รรลุ
ภาวะผนู้ ำ สามารถบริหารจดั การหน่วยงานได้ ตามเป้าหมายทกี่ ำหนดไว้
ตามมาตรฐานที่กำหนด อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ 2. ผอ.สพป.ตรงั เขต 1 ไม่สามารถจดั การการใช้
2. บุคลากรสพป.ตรงั เขต 1 มีคณุ ธรรม จริยธรรม ทรัพยากรรว่ มกัน ระหว่างโรงเรยี นขนาดเล็ก
ปฏิบตั ภิ ารกจิ ทไี่ ดร้ บั มอบหมาย อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ กบั โรงเรยี นคุณภาพชุมชนได้ เนอื่ งจากผ้ปู กครอง
ตามมาตรฐานการปฏิบัตงิ าน และมสี มรรถนะ ไม่เชอ่ื มัน่ นโยบาย
การปฏบิ ตั ิงานเชงิ กลยุทธ์
3. ผอ.สพป.ตรัง เขต 1 บรหิ ารจดั การเขตพ้นื ที่การศกึ ษา
อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ ได้มาตรฐาน โดยยึดหลักการกระจาย
อำนาจในการตัดสนิ ใจ
แผนพฒั นาการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 20
จุดแขง็ (Strength) จดุ ออ่ น (Weakness)
ด้านแบบแผนหรือพฤติกรรมในการบริหารจดั การ (Style : S4)
4. ผอ.สพป.ตรงั เขต 1 ใชร้ ูปแบบการบรหิ ารจดั การ
ท่ีเหมาะสม ในการบรหิ ารงาน บรหิ ารจดั การสำนักงาน
เขตพน้ื ท่กี ารศึกษา มปี ระสทิ ธภิ าพได้มาตรฐาน เน่อื งจาก
ผูอ้ ำนวยการสำนักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษามีทกั ษะ
การสง่ั การ การควบคมุ การจงู ใจ สะทอ้ นถงึ วฒั นธรรม
5. บคุ ลากรในสพป.ตรงั เขต 1 ปฏบิ ัตงิ านตามภารกิจ
ทไี่ ด้รบั มอบหมายอยา่ งเตม็ ศกั ยภาพ มปี ระสทิ ธิภาพ
ได้มาตรฐาน เน่อื งจากได้คิดคน้ นวตั กรรม ระบบงาน
เทคนิค การทำงานเปน็ ทมี และมคี า่ นิยมเพ่ือให้
การปฏิบตั งิ านมุง่ ผลสัมฤทธ์ิ ส่วู สิ ยั ทศั น์
ด้านบุคลากร/สมาชกิ ในหนว่ ยงาน (Staff : S5)
1. บุคลากรในสพป.ตรงั เขต 1 ดำเนินงานตามภารกจิ 1. ขาดแคลนบุคลากรในบางตำแหน่ง เชน่
ท่ีไดร้ บั มอบหมายอยา่ งครบถ้วน ตามบทบาทหนา้ ท่ี ศึกษานิเทศก์
ตามทก่ี ฎหมายกำหนด มปี ระสทิ ธภิ าพ ไดม้ าตรฐาน 2. ครูไมค่ รบชั้น ในโรงเรยี นขนาดเลก็
เนอ่ื งจากสำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาบริหารบุคลากร 3. บุคลากร 38 ค (2) ได้รับการพฒั นา
ไดม้ ีประสิทธิภาพ ตามมาตรฐานตำแหน่ง ไมท่ ่ัวถงึ และต่อเน่อื ง
2. บคุ ลากรในสพป.ตรัง เขต 1 มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม
ความรู้ความสามารถ และมสี มรรถนะสอดคลอ้ ง
กบั ภาระงาน และมาตรฐานวชิ าชีพ
ดา้ นทกั ษะความรคู้ วามสามารถของหนว่ ยงาน (Skills : S6)
1. บุคลากรส่วนใหญใ่ นสพป.ตรงั เขต 1 มคี วามรู้ 1. สพป.ตรงั เขต 1 ขาดแคลนบุคลากรท่มี ีความรู้
ความสามารถ และทักษะในการปฏบิ ัตงิ าน ดา้ นการกอ่ สร้าง เนือ่ งจากไมม่ กี รอบอตั รากำลงั
ตามสมรรถนะ/มาตรฐานวิชาชพี เฉพาะทาง
2. บุคลากรสว่ นใหญใ่ นสพป.ตรงั เขต 1 ปฏิบัติงาน 2. บุคลากรสพป.ตรงั เขต 1 ไมม่ ีการจัดทำ
ตามภารกจิ ทีไ่ ด้รบั มอบหมายอยา่ งครบถ้วน และ แผนพัฒนาตนเอง
มีประสทิ ธภิ าพ
ดา้ นคา่ นิยมรว่ มกันของสมาชิกในหน่วยงาน (Shared Values : S7)
1. บคุ ลากรในสพป.ตรงั เขต 1 ยดึ หลักคณุ ธรรม
“วนิ ยั รบั ผดิ ชอบ จิตอาสา” ในการปฏิบตั งิ าน
2. บุคลากรในสพป.ตรัง เขต 1 มีวัฒนธรรม
ในการทำงาน “เปน็ ทีม”
แผนพฒั นาการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 21
2.2 การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก (External Environment : C-PEST)
โอกาส (Opportunity) อปุ สรรค (Threats)
พฤตกิ รรมลูกค้า/ผรู้ ับบริการ (Customer Behaviors : C)
1. ประชาชน / ผู้ปกครองสว่ นใหญ่พึงพอใจที่ได้รบั 1. ประชากรวัยเรยี นในเขตบริการลดลง
ข้อมูลข่าวสารความเคล่อื นไหวด้านการศกึ ษาและ 2. พระราชบัญญตั ิการศกึ ษาแหง่ ชาตกิ ำหนดใหร้ ฐั
สถานศกึ ษาอยา่ งครบถว้ น มีข้อมลู หลายช่องทาง เอกชน และท้องถิ่นมีสทิ ธจ์ิ ดั การศกึ ษา การคมนาคม
สถานศกึ ษาจดั การศึกษาดีมีคณุ ภาพผปู้ กครองให้ ที่สะดวก แนวโนม้ ประชากรลดลงสง่ ผลให้มีโรงเรยี น
ความยอมรบั และเชอ่ื มนั่ ขนาดเล็กเพิ่มข้ึนอย่างตอ่ เนือ่ ง
2. ผู้ปกครอง ตระหนกั ในความสำคัญของ 3. โรงเรยี นเอกชน/เทศบาลส่วนใหญ่จดั การศกึ ษา
การจัดการศกึ ษาและให้ความรว่ มมือสนบั สนนุ มคี ุณภาพและมชี อื่ เสียง สง่ ผลให้ผูป้ กครองท่ีมีฐานะดี
3. สถานศึกษาในพน้ื ทบ่ี ริการ สามารถรองรับ นยิ มส่งบตุ รหลานไปเรียนทโี่ รงเรยี นเอกชน/เทศบาล
การเขา้ เรยี นได้อย่างเพียงพอ ทมี่ คี ุณภาพ
4. มีหน่วยงานหลายหนว่ ยงานสนบั สนนุ การทำงาน 4. มศี นู ย์พฒั นาเด็กเลก็ ในพื้นทจ่ี ดั การศกึ ษา
ของสถานศกึ ษา เชน่ องค์การบริหารสว่ นตำบล ก่อนประถม (อายุ 2-5 ป)ี
สำนักงานสาธารณสุข สมศ.รบั รองมาตรฐานโรงเรียน 5. องค์กรปกครองสว่ นท้องถิน่ บางแห่ง มรี ายได้นอ้ ย
กองทุนเพ่ือความเสมอภาคทางการศกึ ษา เป็นตน้ ส่งผลให้ไมส่ ามารถสนบั สนนุ งบประมาณใหโ้ รงเรยี นได้
กฎหมาย-การเมือง(Political-Legal : P)
1. นโยบายโครงการสนับสนนุ ค่าใชจ้ า่ ย 1. นโยบาย กฎหมายและระเบยี บต่าง ๆ เปลีย่ นแปลง
ในการจดั การศึกษา ต้งั แต่อนบุ าลจนจบการศกึ ษา บ่อย
ข้ันพนื้ ฐาน ของรฐั บาล การสนบั สนนุ งบประมาณ 2. ระบบตดิ ตาม ประเมินผล มกี ารตดิ ตามหลายระบบ
เงินอดุ หนนุ เพม่ิ เติม ส่งผลใหล้ ดภาระคา่ ใชจ้ า่ ยของ และมีความย่งุ ยากในการรายงานมากข้ึน
ผปู้ กครอง 3. การบรหิ ารจัดการโรงเรียนขนาดเล็ก ส่งผลต่อ
2. นโยบายโรงเรียนคณุ ภาพชุมชน ทำใหโ้ รงเรียน ความเช่อื มน่ั ของผปู้ กครอง
ขนาดเล็ก สามารถใช้ทรพั ยากรรว่ มกันใหเ้ กิดประโยชน์ 4. อปุ กรณ์ด้านเทคโนโลยสี ำหรบั การเรยี นการสอน
อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ ไม่ทนั สมยั
3. มีการสนบั สนุนงบประมาณงบลงทนุ ค่าทด่ี ินและ 5. องค์กรปกครองสว่ นท้องถิน่ ไมเ่ หน็ ความสำคญั
ส่งิ กอ่ สรา้ ง อย่างตอ่ เนื่อง และใหก้ ารสนับสนนุ งบประมาณนอ้ ย
4. นโยบายการบรหิ ารอตั รากำลังครู มคี วามยืดหยนุ่ 6. ระเบยี บ/กฎหมายของกระทรวงมหาดไทย ทำให้
5. การจดั การเรียนรู้แบบ Active Learning อปท.ไม่สามารถอดุ หนนุ งบประมาณสำหรับกิจกรรม
ทำให้ผูเ้ รียนไดพ้ ฒั นาตนเองอยา่ งเต็มศกั ยภาพ ท่ีไม่ใช่ภารกิจหลกั ใหก้ ับโรงเรยี นทไี่ มไ่ ด้สังกดั อปท.ได้
โดยการปฏิบตั จิ ริง
6. นโยบายสร้างโอกาสและลดความเหลอ่ื มล้ำ
ทางการศึกษา ทำให้นักเรยี นไดร้ บั โอกาสและ
เขา้ ถึงบรกิ ารทางการศกึ ษามากย่ิงขนึ้
7. นำระบบเทคโนโลยมี าใช้ในการบรหิ ารจดั การ
เพ่ิมประสทิ ธภิ าพในการปฏบิ ัติงาน
แผนพฒั นาการศึกษาขนั้ พื้นฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 22
โอกาส (Opportunity) อปุ สรรค (Threats)
8. การประกันคณุ ภาพโดยสมศ.กระตุน้ ให้โรงเรยี น
บรหิ ารจดั การได้มาตรฐาน ส่งผลให้ระดบั คณุ ภาพ
การศกึ ษาสงู ข้ึน
9. พ.ร.บ.การศกึ ษาแห่งชาติ กำหนดใหโ้ รงเรียน
สามารถจัดการศกึ ษาทัง้ ในระบบนอกระบบและ
ตามอัธยาศัย สง่ ผลให้โรงเรยี นสามารถจดั การศกึ ษา
ไดส้ อดคลอ้ งกับสภาพผู้เรยี น
10. การนำวPA มาใช้สอดคล้องกบั การประเมนิ
วทิ ยฐานะของแตล่ ะบุคคล
เศรษฐกจิ (Economic : E)
1. สถานการณ์นำ้ มันที่มรี าคาสงู ข้ึนอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง 1. งบประมาณปรับลดลง อยา่ งต่อเนอ่ื ง และไดร้ ับ
ทำให้สถานศึกษามีกจิ กรรม/โครงการ ดี ๆ เกิดขน้ึ จดั สรรนอ้ ย
เพอ่ื ประหยดั พลังงาน และมกี ิจกรรมในเชิงอนุรกั ษ์
สงิ่ แวดลอ้ ม
2. รัฐบาลสนบั สนนุ งบประมาณค่าใชจ้ ่าย
ในการจดั การศกึ ษาเพม่ิ ขน้ึ และสนบั สนนุ งบประมาณ
ผา่ นโครงการตา่ ง ๆ เพอื่ กระตนุ้ เศรษฐกจิ
3. นำหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง มาใช้
ในการดำเนนิ งาน
4. โครงการเกษตรเพอ่ื อาหารกลางวนั ในโรงเรียน
ช่วยแก้ปัญหาทางดา้ นเศรษฐกิจ
สงั คมและวฒั นธรรม (Social Cultural : S)
1. โครงสรา้ งประชากรวัยเรียนท่ีลดลง สง่ ผลใหโ้ รงเรยี น 1. แนวโนม้ ประชากรวัยเรียนลดลง ส่งผลให้นกั เรยี น
มนี วตั กรรมการเรยี นรู้แบบศูนยก์ ารเรียนรู้ หรือ ลดลง จึงมโี รงเรียนขนาดเลก็ เพมิ่ ขน้ึ
การเรียนรวม 2. สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคระบาด
2. แนวโนม้ โครงสรา้ งประชากรลดลง ทำให้จำนวน โรคอบุ ัตใิ หม่ ปญั หายาเสพตดิ สง่ ผลกระทบต่อนกั เรียน
การรบั นักเรียนต่อห้องลดลง ส่งผลต่อคุณภาพ 3. สภาพปญั หาครอบครัวมแี นวโน้มเพมิ่ ขนึ้
การเรียนการสอนเพ่ิมข้ึน 4. สภาพครอบครัวแตกแยก หยา่ ร้าง และมผี ้สู งู อายุ
3. จำนวนนกั เรยี นลดลงในโรงเรยี นขนาดเลก็ ทำให้ ส่งผลต่อคุณภาพชวี ติ ของนกั เรยี นไมไ่ ดต้ ามมาตรฐาน
ลดภาระการดแู ลบริหารจัดการ ในเรือ่ งการเรียน 5. สงั คมไทยบางสว่ นเปน็ สงั คมบริโภค สง่ ผลตอ่ ค่านยิ ม
การสอนและการใช้ ระบบ DLTV ที่ไม่พงึ ประสงคข์ องนกั เรียน
4. สภาพชุมชนโดยรอบโรงเรียนสว่ นใหญ่ประกอบ 6. สังคมเกษตรกรรมส่วนใหญ่ ทำให้ผ้ปู กครอง
อาชีพเกษตร ส่งผลให้โรงเรียนมีแหลง่ เรียนรู้วิชาเกษตร เห็นความสำคญั ของการศกึ ษานอ้ ย
และเป็นแบบอย่างในการประกอบอาชพี
แผนพฒั นาการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 23
โอกาส (Opportunity) อุปสรรค (Threats)
5. สังคมไทยเปน็ สงั คมเกษตร สามารถขยายแนวคดิ
การดำรงชวี ติ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
ได้สอดคลอ้ งกบั วถิ ีชวี ิต
6. ขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรมของทอ้ งถิน่
สามารถนำมาปรับใชใ้ นการเรยี นการสอน สง่ ผลให้
สถานศกึ ษาสามารถจดั กิจกรรม ในการสง่ เสรมิ ผเู้ รยี น
ไดง้ า่ ยขนึ้
7. บูรณาการการเรยี นการสอน โดยใช้ภูมิปญั ญา
ทอ้ งถนิ่ /ปราชญช์ าวบา้ นในการจดั การเรยี นรู้
8. มีแหลง่ เรียนรูส้ ำหรับนกั เรยี นเรยี นรู้วิถชี ีวติ
การดำรงชวี ติ การประกอบอาชพี ภายในทอ้ งถ่นิ
เปน็ จำนวนมากในเขตบริการ
ด้านเทคโนโลยี (Technological : T)
1. ความก้าวหนา้ ทางเทคโนโลยี สง่ ผลให้การใชส้ ือ่ 1. อุปกรณ์เทคโนโลยที ี่ลา้ สมัย และไมเ่ พยี งพอ
การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ นกั เรียนสามารถเรยี นรู้ 2. การรับข้อมลู ข่าวสารผ่านสอ่ื เทคโนโลยี
ดว้ ยตนเองได้ตามความสนใจ ทไ่ี มถ่ ูกต้อง ทำให้นักเรียนมีพฤติกรรมไม่พงึ ประสงค์
2. ระบบเทคโนโลยที ที่ นั สมยั และมีประสทิ ธิภาพ เชน่ 3. นกั เรยี นขาดความสนใจในการเรียน เนือ่ งจาก
การคมนาคม และการตดิ ตอ่ สอื่ สาร สะดวก รวดเร็ว ผลกระทบจากระบบส่ือสงั คมและเกมออนไลน์
สง่ ผลต่อการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา ในการนำมา
ประยุกตใ์ ชใ้ น การบรหิ ารจดั การและการจดั การเรยี น
การสอน
3. สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคระบาด
COVID 19 ช่วยกระตนุ้ การใชส้ อื่ เทคโนโลยขี องบุคลากร
4. มีแหล่งเรียนรแู้ ละระบบสนับสนนุ ดา้ นเทคโนโลยี
เช่น ระบบ DLTV DLIT มาใชใ้ นการเรียนรขู้ องนักเรยี น
5. ครมู กี ารพฒั นาการเรยี นการสอนโดยใช้เทคโนโลยี
และนำมาใชใ้ นการพฒั นาตนเอง
6. บูรณาการการเรียนการสอนโดยใช้ภูมปิ ัญญา
ทอ้ งถนิ่ /ปราชญช์ าวบ้านในการจดั การเรยี นรู้
7. มีแหลง่ เรยี นรู้ สำหรบั นักเรียนเรยี นรู้วถิ ชี วี ิต
การดำรงชีวติ การประกอบอาชพี ภายในทอ้ งถ่นิ
เปน็ จำนวนมากในเขตบรกิ าร
แผนพัฒนาการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 24
2.3 สรุปผลการวเิ คราะหส์ ภาพแวดลอ้ มภายในของสำนักงานเขตพนื้ ที่การประถมศึกษาตรัง เขต 1
ตารางท่ี 13 ตารางสรุปผลการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน
รายการปัจจยั สภาพแวดล้อม นำ้ หนัก คะแนนเฉล่ีย น้ำหนกั X คะแนน สรปุ ผล
ภายนอก จดุ แขง็ จดุ ออ่ น เฉล่ีย 0.19
4.77 3.18 0.30
S1 : โครงสร้าง (Structure) 0.12 4.77 2.75 จุดแขง็ จดุ อ่อน 0.27
0.15 4.70 2.64 0.57 0.38
S2 : กลยุทธ์ (Strategy) 0.13 0.72 0.41 0.34
4.86 2.59 0.61 0.34
S3 : ดา้ นระบบในการดำเนินงาน 0.26
ของหน่วยงาน(System) 4.82 3.07 0.73 0.39 0.32
4.80 2.68
S4 : ด้านแบบแผนหรือพฤตกิ รรม 0.15 0.72 0.46 0.73
ในการบริหารจัดการ (Style) 4.84
0.72 0.40
S5 : ด้านบคุ ลากร/สมาชกิ ใน 0.15
หนว่ ยงาน (Staff) 0.15 0.73 0.00
S6 : ด้านทกั ษะความรู้ 0.15 4.80 2.39
ความสามารถของหน่วยงาน 1.20
(Skills)
S7 : ดา้ นคา่ นิยมรว่ มกนั ของสมาชกิ
ในหนว่ ยงาน (Shared Values )
สรปุ ปัจจัยภายใน
เฉล่ยี ปัจจยั ภายใน
แผนพฒั นาการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 25
2.4 สรุปผลการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอกของสำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษา
ตรัง เขต 1
ตารางท่ี 14 ตารางสรุปผลการวิเคราะห์สภาพแวดลอ้ มภายนอก
รายการปจั จัยสภาพแวดล้อม น้ำหนกั คะแนนเฉลยี่ นำ้ หนกั X คะแนน สรปุ ผล
ภายนอก โอกาส อปุ สรรค เฉล่ยี
4.35 2.31 0.61
C : พฤตกิ รรมลกู คา้ (Customer 0.3 โอกาส อปุ สรรค 0.31
Behaviors/Competitors Factors) 4.46 2.41 1.31 0.69 0.40
4.36 2.38 0.30
P : การเมืองและกฎหมาย (Political 0.15 4.48 2.46 0.67 0.36 0.47
and Legal Factors) 0.87 0.48
4.62 2.25 0.67 0.37
E : เศรษฐกิจ (Economic Factors) 0.2
0.92 0.45
S : สงั คมและวัฒนธรรม (Social - 0.15 4.44 2.35
Cultural Factors)
1.05
T : ดา้ นเทคโนโลยี (Technological 0.2
Factors)
สรุปปัจจัยภายนอก
เฉลี่ยปัจจัยภายนอก
แผนพัฒนาการศึกษาข้นั พื้นฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 26
2.5 กราฟแสดงสถานภาพของสำนกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1
ภาพที่ 1 กราฟแสดงสถานภาพของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1
จากกราฟ พบว่า สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 มีผลสรุปปัจจัย
ภายใน ค่าคะแนนเฉลี่ยด้านจุดแข็ง 4.80 ด้านจุดอ่อน 2.39 และผลสรุปปัจจัยภายนอก ค่าคะแนนเฉล่ีย
ด้านโอกาส 4.44 คา่ คะแนนเฉล่ยี ด้านอุปสรรค 2.35
จะเห็นว่า สถานการณ์ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 มีสถานภาพ
ที่น่าพอใจ คือ วงกลมพร้อมลูกศรปรากฏด้านโอกาสและจุดแข็ง เรียกว่าอยู่ในสถานะที่เป็นดาวรุ่ง (STARS)
แสดงให้เห็นว่าหน่วยงานมีสภาพภายนอกที่เอื้อ และภายในที่แข็ง กล่าวคือ ภายนอกให้การสนับสนุน และ
ภายในหน่วยงานมีการบริหารจัดการที่ดีและมีประสิทธิภาพ ส่งผลให้หน่วยงานประสบผลสำเร็จ มีคุณภาพ
การบรหิ ารจดั การควรม่งุ ไปขา้ งหนา้ อย่างสงู สดุ ตามศักยภาพของหน่วยงาน
แผนพฒั นาการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 27
ส่วนท่ี 2
ความเชื่อมโยงนโยบายและยทุ ธศาสตร์ท่ีเกย่ี วขอ้ ง
การจัดทำแผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2566 - 2570) ของสำนักงาน
เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 จะมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลได้ ก็ต่อเมื่อมีการกำหนด
วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ แนวทาง/มาตรการ และโครงการที่สอดคล้องเชื่อมโยง
กบั กฎหมาย ระเบียบ นโยบาย ยุทธศาสตร์และแผนท่เี กีย่ วข้อง รวมถึงพจิ ารณาผลการดำเนินงานท่ีผ่านมา
และการวิเคราะห์สภาพแวดลอ้ ม ปจั จุบันของหนว่ ยงาน รายละเอยี ดดังน้ี
1.พระบรมราโชบายเก่ียวกบั การพฒั นาการศกึ ษา
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 ได้นำพระบรมราโชบายด้านการศึกษา
ของพระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรรามาธบิ ดีศรสี ินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยหู่ ัว รัชกาลที่ 10
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580)
แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผนปฏิรูปประเทศ แผนการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ. 2560 – 2579)
นโยบายกระทรวงศึกษาธกิ าร นโยบายรฐั บาล (พลเอกประยทุ ธ์ จันทรโ์ อชา นายกรฐั มนตรี) และนโยบาย
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และบริบทต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง มาเชื่อมโยงกับอำนาจหน้าที่
ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 และกำหนดเป็นกรอบแนวทางในการจัดทำ
แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2566 – 2570) ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศกึ ษาตรงั เขต 1 โดยมรี ายละเอียด ดงั นี้
พระบรมราโชบายดา้ นการศกึ ษาของพระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสนิ ทร มหาวชริ าลงกรณ
พระวชิรเกลา้ เจา้ อยูห่ ัว รัชกาลท่ี 10 การศึกษาต้องมุ่งสร้างพื้นฐานใหแ้ กผ่ ้เู รยี น 4 ดา้ น คือ
1. ทัศนคติทถี่ กู ต้องต่อบา้ นเมือง ได้แก่
1.1 ความรู้ ความเข้าใจตอ่ ชาติบ้านเมือง
1.2 ยึดม่ันในศาสนา
1.3 มั่นคงในสถาบันพระมหากษัตรยิ ์
1.4 มีความเอื้ออาทรต่อครอบครัว และชมุ ชนของตน
2. มพี ้นื ฐานชีวิตที่ม่ันคง – มีคุณธรรม
2.1 รู้จกั แยกแยะส่งิ ท่ผี ิด – ชอบ / ชวั่ – ดี
2.2 ปฏบิ ัตแิ ต่ส่งิ ที่ชอบ ส่ิงทีด่ งี าม
2.3 ปฏเิ สธส่งิ ท่ผี ดิ สงิ่ ทีช่ ว่ั
2.4 ชว่ ยกนั สรา้ งคนดใี ห้แกบ่ ้านเมือง
3. มีงานทำ – มอี าชพี
3.1 การเลี้ยงดลู ูกหลานในครอบครัว หรือการฝกึ ฝนอบรมในสถานศึกษาต้องมุ่งใหเ้ ด็กและเยาวชน
รกั งาน ส้งู าน ทำงานจนสำเร็จ
แผนพฒั นาการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 28
3.2 การฝกึ ฝนอบรมท้ังในหลักสตู รและนอกหลกั สูตร ตอ้ งมีจุดม่งุ หมายให้ผเู้ รียนทำงานเป็นและ
มงี านทำในท่สี ดุ
3.3 ต้องสนับสนนุ ผสู้ ำเร็จหลกั สูตรมอี าชพี มีงานทำจนสามารถเล้ยี งตัวเองและครอบครวั
4. เปน็ พลเมอื งดี
4.1 การเป็นพลเมอื ง เป็นหนา้ ทีข่ องทกุ คน
4.2 ครอบครัว – สถานศกึ ษาและสถานประกอบการ ตอ้ งสง่ เสรมิ ให้ทุกคนมโี อกาสหน้าทีเ่ ปน็ พลเมืองดี
2.รฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช 2560 (ราชกจิ จานุเบกษา เล่ม 134 ตอนท่ี 40 ก)
มาตรา ๕๔ รัฐต้องดำเนินการให้เด็กทุกคนได้รับการศึกษาเป็นเวลาสิบสองปี ตั้งแต่ก่อนวัยเรียน
จนจบการศกึ ษาภาคบังคบั อย่างมคี ณุ ภาพ โดยไม่เกบ็ ค่าใชจ้ า่ ย
รัฐต้องดำเนินการให้เด็กเล็กได้รับการดูแล และพัฒนาก่อนเข้ารับการศึกษาตามวรรคหนึ่ง เพื่อพัฒนา
ร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาให้สมกับวัย โดยส่งเสริมและสนับสนุน ให้องค์กรปกครอง
สว่ นทอ้ งถนิ่ และภาคเอกชนเขา้ มสี ่วนร่วมในการดำเนินการดว้ ย
รัฐต้องดำเนินการให้ประชาชนได้รับการศึกษาตามความต้องการในระบบต่าง ๆ รวมทั้งส่งเสริม
ให้มีการเรียนรู้ตลอดชีวิต และจัดให้มีการร่วมมือกันระหว่างรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และภาคเอกชน
ในการจัดการศกึ ษาทุกระดบั โดยรฐั มหี น้าท่ีดำเนินการ กำกับ ส่งเสริม และสนบั สนุนให้การจัดการศึกษาดังกล่าว
มีคุณภาพและได้มาตรฐานสากล ทั้งนี้ ตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ ซึ่งอย่างน้อยต้องมีบทบัญญัติ
เกี่ยวกับการจัดทำแผนการศึกษาแห่งชาติ และการดำเนินการตรวจสอบการดำเนินการ ให้เป็ นไป
ตามแผนการศึกษาแห่งชาติดว้ ย
การศึกษาทั้งปวงต้องมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีวินัย ภูมิใจในชาติ สามารถเชี่ยวชาญ
ได้ตามความถนัดของตน และมีความรบั ผดิ ชอบต่อครอบครวั ชุมชน สังคมและประเทศชาติ
ในการดำเนินการให้เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนาตามวรรคสอง หรือให้ประชาชนได้รับการศึกษา
ตามวรรคสาม รัฐต้องดำเนินการให้ผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ ได้รับการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการศึกษา
ตามความถนดั ของตน
ให้จัดตั้งกองทุนเพื่อใช้ในการช่วยเหลือผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ เพื่อลดความเหลื่อมล้ำในการศึกษา
และเพื่อเสริมสร้างพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพครู โดยให้รัฐจัดสรรงบประมาณให้แก่กองทุน หรือใช้
มาตรการหรือกลไกทางภาษี รวมทั้งการให้ผู้บริจาคทรัพย์สินเข้ากองทุนได้รับประโยชน์ในการลดหย่อนภาษี
ด้วย ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ ซึ่งกฎหมายดังกล่าวอย่างน้อยต้องกำหนดให้การบริหารจัดการกองทุนเป็น
อิสระ และกำหนดให้มีการใชจ้ า่ ยเงินกองทนุ เพอื่ บรรลุวตั ถปุ ระสงคด์ ังกลา่ ว
มาตรา 65 รัฐพึงจัดให้มียุทธศาสตร์ชาติ เป็นเป้าหมายการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน
ตามหลักธรรมาภิบาล เพื่อใช้เป็นกรอบในการจัดทำแผนต่าง ๆ ให้สอดคล้องและบูรณาการกัน เพื่อให้เกิดเป็น
พลังผลักดันร่วมกันไปสู่เป้าหมายดังกล่าว การจัดทำ การกำหนดเป้าหมาย ระยะเวลาที่จะบรรลุเป้าหมาย
และสาระทีพ่ ึงมใี นยุทธศาสตร์ชาติ ใหเ้ ป็นไปตามหลักเกณฑ์และวธิ ีการท่กี ฎหมายบัญญัติ ท้ังน้ี กฎหมายดงั กล่าว
แผนพฒั นาการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 29
ต้องมีบทบัญญัติเกี่ยวกับการมีส่วนร่วม และการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนทุกภาคส่วนอย่างทั่วถึง
สำนักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาตรัง เขต 1 ไดน้ ำพระบรมราโชบายด้านการศกึ ษาของ
พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 10
ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2561 – 2580) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13
(พ.ศ. 2566 – 2570) แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 นโยบายรัฐบาล (พลเอกประยทุ ธ์ จันทรโ์ อชา
นายกรัฐมนตรี) นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ และนโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ
บริบทต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง มาเชื่อมโยงกับอำนาจหน้าที่ของสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1
และกำหนดเป็นกรอบแนวทางในการจดั ทำแผนพัฒนาการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2566 – 2570) ของ
สำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาตรงั เขต 1 โดยมรี ายละเอยี ด ดงั น้ี
3. พระราชบัญญัตกิ ารศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
พระราชบัญญตั กิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 ได้กำหนดคำนิยามการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน หมายถงึ
การศึกษาระดับก่อนอุดมศึกษา และกำหนดในมาตรา 10 การจัดการศึกษาต้องจัดให้บุคคลมีสิทธิและโอกาส
เสมอกันในการรับการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่าสิบสองปี ที่รัฐต้องจัดให้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ
โดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย การจัดการศึกษาสำหรับบุคคลซึ่งมีความบกพร่องทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์
สังคม การสื่อสารและการเรียนรู้ หรือมีร่างกายพิการ หรือทุพพลภาพหรือบุคคลซึ่งไม่สามารถพึ่งตนเองได้
หรือไม่มีผู้ดูแล ด้อยโอกาส ต้องจัดให้บุคคลดังกล่าวมีสิทธิและโอกาสได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นพิเศษ
การศกึ ษาสำหรับคนพิการ ให้จัดตั้งแต่แรกเกิดหรือพบความพิการโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย และให้บุคคลดังกล่าว
มีสทิ ธไิ ดร้ ับส่ิงอำนวยความสะดวก สอื่ บรกิ าร และความช่วยเหลืออน่ื ใดทางการศึกษา ตามหลกั เกณฑ์และวิธีการ
ท่ีกำหนดในกฎกระทรวงการจดั การศกึ ษา สำหรับบคุ คลซงึ่ มีความสามารถพิเศษ ตอ้ งจดั ด้วยรปู แบบที่เหมาะสม
โดยคำนึงถึงความสามารถของบุคคลนั้น
4. คำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 28/2559 เร่ืองใหจ้ ดั การศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน 15 ปี
โดยไม่เก็บค่าใชจ้ า่ ย
ได้กำหนดนยิ ามการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน 15 ปี เป็นการศึกษาต้ังแต่ระดบั ก่อนประถมศึกษา (อนุบาล)
(ถ้ามี) ระดับประถมศึกษา จนถึงมัธยมศึกษาปีที่ 6 หรือระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.3) หรือเทียบเท่า
และใหห้ มายความรวมถงึ การศกึ ษาพิเศษ และการศกึ ษาสงเคราะห์
5. กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร
พ.ศ. 2546
ตามกฎกระทรวงแบง่ ส่วนราชการสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร
พ.ศ. 2546 ได้กำหนดอำนาจหนา้ ทขี่ องสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน ให้มภี ารกจิ เกี่ยวกับ
การจัดและการส่งเสรมิ การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ดงั นี้
1) จัดทำข้อเสนอนโยบาย แผนพัฒนาการศึกษา มาตรฐานการจดั การศึกษาและหลักสตู รแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน
แผนพัฒนาการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 30
2) กำหนดหลกั เกณฑ์ แนวทางและการดำเนินการเกย่ี วกับการสนับสนุนทรัพยากร การจัดตั้ง จดั สรร
ทรัพยากร และบริหารงบประมาณอดุ หนุนการจัดการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน
3) พฒั นาระบบการบรหิ าร และสง่ เสรมิ ประสานงานเครือข่ายขอ้ มูลสารสนเทศ การนำเทคโนโลยี
สารสนเทศไปใชใ้ นการเรยี นการสอน รวมทง้ั การส่งเสริมนิเทศ การบริหารและการจัดการศกึ ษา
4) ตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐานของเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษา
5) พัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา ประสาน ส่งเสริม สนับสนุน และกำกับดูแลการจดั การศกึ ษา
ขั้นพื้นฐาน การศึกษาเพื่อคนพิการ ผู้ด้อยโอกาสและผู้มีความสามารถพิเศษ และประสาน ส่งเสริม
การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น บุคคล ครอบครัว องค์กรชุมชน องค์กร
เอกชน องคก์ รวชิ าชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสงั คมอน่ื ของเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
6) ดำเนนิ การเกีย่ วกับงานเลขานุการของคณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน
7) ปฏบิ ตั งิ านอ่ืนใดตามทก่ี ฎหมายกาหนดให้เปน็ อำนาจหนา้ ท่ี และความรบั ผดิ ชอบของสำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน หรือตามทีร่ ัฐมนตรี หรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย
6. ยุทธศาสตรช์ าติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580)
สาระสำคัญของยุทธศาสตร์ชาติ ประกอบด้วย วิสัยทัศน์และเป้าหมายในการพัฒนาประเทศ ที่คนไทย
ทุกคนต้องการบรรลุร่วมกัน รวมทั้งนโยบายแห่งชาติ และมาตรการเฉพาะซึ่งเป็นแนวทาง ทิศทางและวิธีการ
ทีท่ ุกองค์กรและคนไทยทุกคนต้องมุ่งดำเนนิ การไปพร้อมกนั อย่างประสานสอดคล้อง เพือ่ ให้บรรลุซึ่งสิ่งที่คนไทย
ทุกคนต้องการ คือ ประเทศไทยม่นั คง ม่ังคง่ั และยงั่ ยนื ในทุกสาขาของกำลงั อำนาจแหง่ ชาติ อนั ได้แก่ การเมือง
ภายในประเทศ การเมืองต่างประเทศ เศรษฐกิจ สังคมจิตวิทยา การทหาร วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การพลังงาน ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม และเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร
3.1 วสิ ัยทัศน์
“ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง” หรอื เปน็ คติพจนป์ ระจําชาติว่า “มน่ั คง มัง่ คง่ั ยง่ั ยนื ” เพ่อื สนองตอบตอ่ ผลประโยชน์
แห่งชาติอันได้แก่ การมีเอกราช อธิปไตย การดํารงอยู่อย่างมั่นคง และยั่งยืนของสถาบันหลักของชาติ
และประชาชนจากภัยคุกคามทุกรูปแบบ การอย่รู ่วมกนั ในชาติอย่างสันตสิ ุข เป็นปกึ แผน่ มคี วามม่ันคงทางสังคม
ท่ามกลางพหุสังคมและการมีเกียรติและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ ความเจริญเติบโตของชาติ ความเป็นธรรม
และความอยู่ดีมีสุขของประชาชน ความยั่งยืนของฐานทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อม ความมั่นคงทางพลังงาน
และอาหาร ความสามารถในการรักษาผลประโยชน์ของชาติ ภายใต้การเปลีย่ นแปลงของสภาวะแวดล้อมระหว่าง
ประเทศ และการอยู่ร่วมกัน อย่างสันติประสาน สอดคล้องกันด้านความมั่นคงในประชาคมอาเซียนและ
ประชาคมโลก อย่างมีเกียรติและศักดิ์ศรี ความมั่นคง หมายถึง การมีความมั่นคงปลอดภัยจากภัยและ
การเปลีย่ นแปลงท้งั ภายในประเทศ
3.2 เปา้ หมายในการพฒั นาประเทศ
คอื “ประเทศชาติมน่ั คง ประชาชนมีความสุข เศรษฐกิจพฒั นาอย่างต่อเน่อื ง สังคมเป็นธรรม
ฐานทรพั ยากรธรรมชาตยิ ั่งยนื ” โดยยกระดบั ศักยภาพของประเทศในหลากหลายมติ ิ พัฒนาคนในทุกมิติ
และในทุกชว่ งวัยใหเ้ ปน็ คนดี เกง่ และมีคุณภาพ สรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม สรา้ งการเติบโต
แผนพัฒนาการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 31
บนคุณภาพชวี ิตท่เี ปน็ มติ รกบั สง่ิ แวดล้อม และมภี าครัฐของประชาชน เพอื่ ประชาชนและประโยชน์ส่วนรวม
โดยการประเมินผลการพฒั นาตามยุทธศาสตรช์ าติ ประกอบดว้ ย
1) ความอยู่ดีมีสุขของคนไทยและสงั คมไทย
2) ขีดความสามารถในการแข่งขนั การพฒั นาเศรษฐกิจ และการกระจายรายได้
3) การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศ
4) ความเทา่ เทียมและความเสมอภาคของสังคม
5) ความหลากหลายทางชวี ภาพ คุณภาพส่งิ แวดล้อม และความย่งั ยืนของทรัพยากรธรรมชาติ
6) ประสิทธภิ าพการบริหารจัดการและการเข้าถึงการให้บริการของภาครัฐ
3.3 ยุทธศาสตร์ชาติ
ในการท่ีจะบรรลุวิสยั ทัศน์ และทำใหป้ ระเทศไทยพัฒนาไปสู่อนาคตที่พึงประสงค์นัน้ จำเป็นจะต้อง
มีการวางแผนและกำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาในระยะยาว และกำหนดแนวทางการพัฒนาของทุกภาคส่วน
ให้ขับเคลื่อนไปในทิศทางเดียวกัน ดังนั้น จึงจำเป็นจะต้องกำหนดยุทธศาสตร์ชาติในระยะยาว เพื่อถ่ายทอด
แนวทางการพัฒนาสู่การปฏิบัตใิ นแต่ละเวลาอย่างต่อเน่ือง และมีการบูรณาการ สร้างความเข้าใจถึงอนาคตของ
ประเทศไทยร่วมกัน และเกิดการรวมพลังของทุกภาคส่วนในสังคม ทั้งประชาชน เอกชน ประชาสังคม
ในการขบั เคล่ือนการพฒั นาเพื่อการสร้างและรักษาไว้ซึ่งผลประโยชน์แห่งชาติ และบรรลวุ ิสัยทศั น์ “ประเทศไทย
มีความมัน่ คง มง่ั คั่ง ยง่ั ยืน เปน็ ประเทศพัฒนาแลว้ ด้วยการพฒั นาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง” หรือ
คติพจน์ประจำชาติ “ม่นั คง มงั่ ค่งั ยง่ั ยืน” เพอ่ื ใหป้ ระเทศมีขีดความสามารถในการแข่งขนั มีรายได้สูงอยู่ในกลุ่ม
ประเทศพัฒนาแล้ว คนไทยมีความสุข อยู่ดี กินดี สังคมมีความมั่นคง เสมอภาคและเป็นธรรม ซึ่งยุทธศาสตร์
ชาตทิ จี่ ะได้เป็นกรอบแนวทางการพัฒนาในระยะ 20 ปี ต่อจากนีไ้ ป ประกอบดว้ ย 6 ยุทธศาสตร์ ได้แก่
1) ยุทธศาสตร์ด้านความมน่ั คง
2) ยทุ ธศาสตรด์ า้ นการสร้างความสามารถในการแขง่ ขนั
3) ยทุ ธศาสตรช์ าติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนษุ ย์
4) ยทุ ธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม
5) ยทุ ธศาสตรช์ าตดิ า้ นการสร้างการเตบิ โตบนคุณภาพชีวิตท่เี ป็นมิตรกบั ส่ิงแวดล้อม
6) ยุทธศาสตร์ชาตดิ า้ นการปรบั สมดลุ และพัฒนาระบบการบริหารจดั การภาครัฐ
7. แผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 - 2580)
แผนแมบ่ ทภายใตย้ ทุ ธศาสตร์ชาติ เป็นแผนท่ีจัดทำไว้ เพอื่ ใหบ้ รรลุเปา้ หมายตามยุทธศาสตรช์ าติ
โดยจะมีผลผูกพันต่อหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้อง จะต้องปฏิบัติให้เป็นไปตามนั้น รวมทั้งการจัดทำงบประมาณ
รายจ่ายประจำปีงบประมาณ จะต้องสอดคล้องกับแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ซึ่งประเด็นแผนแม่บท
ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ 23 ประเด็น ประกอบด้วย 1) ความมั่นคง 2) การต่างประเทศ 3) การพัฒนา
การเกษตร 4) อุตสาหกรรมและบริการแห่งอนาคต 5) การท่องเที่ยว 6) การพัฒนาพื้นที่และเมืองน่าอยู่
อัจฉริยะ 7) โครงสร้างพื้นฐานระบบโลจิสติกส์และดิจิทัล 8) ผู้ประกอบการและวิสาหกิจขนาดกลาง และ
ขนาดย่อมยุคใหม่ 9) เขตเศรษฐกิจพิเศษ 10) การปรับเปลี่ยนค่านิยมและวัฒนธรรม 11) การพัฒนาศักยภาพ
แผนพฒั นาการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 32
คนตลอดช่วงชีวิต 12) การพัฒนาการเรียนรู้ 13) การสร้างให้คนไทยมีสุขภาวะที่ดี 14) ศักยภาพการกีฬา
15) พลังทางสังคม 16) เศรษฐกิจฐานราก 17) ความเสมอภาคและหลักประกันทางสังคม 18) การเติบโต
อย่างยั่งยืน 19) การบริหารจัดการน้ำทั้งระบบ 20) การบริการประชาชนและประสิทธิภาพภาครัฐ
21) การต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ 22) กฎหมายและกระบวนการยุติธรรม และ 23) การวิจัยและ
พัฒนานวัตกรรม ซึ่งกระทรวงศึกษาธิการได้รับมอบหมายให้เป็นองค์กรเจ้าภาพหลักในประเด็นที่ 12
การพัฒนาการเรียนรู้ และเปน็ องคก์ รเจา้ ภาพรว่ ม ในประเดน็ ที่ 11 ศกั ยภาพคนตลอดช่วงชวี ติ สรุปสาระสำคัญ
ดังน้ี
แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (12) ประเด็นการพัฒนาการเรียนรู้ มีเป้าหมายระดับประเด็น
2 เป้าหมาย คอื 1) คนไทยมกี ารศึกษาท่ีมีคณุ ภาพตามมาตรฐานสากลเพิม่ ขนึ้ มที กั ษะทีจ่ ำเป็นของโลกศตวรรษ
ที่ 21 สามารถในการแก้ปัญหาปรับตัว สื่อสาร และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิผลเพิ่มขึ้น มีนิสัย
ใฝ่เรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต และ 2) คนไทยได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพตามความถนัดและ
ความสามารถของพหุปญั ญาดขี ึน้ มีแผนย่อย 2 แผน ดังน้ี
1. แผนย่อยการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ ที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 ซึ่งมี
แนวทางการพัฒนา โดย 1) ปรับเปลี่ยนระบบการเรียนรูส้ ำหรับศตวรรษที่ 21 2) เปลี่ยนโฉมบทบาท “ครู”
ให้เป็นครูยุคใหม่ 3) เพิ่มประสิทธิภาพระบบบริหารจัดการศึกษาในทุกระดับ ทุกประเภท 4) พัฒนาระบบ
การเรียนรู้ตลอดชีวิต และ 5) สร้างระบบการศึกษาเพื่อเป็นเลิศทางวิชาการระดับนานาชาติ และมีเป้าหมาย
ให้คนไทยมีการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐาน มีทักษะการเรียนรู้ และมีทักษะที่จำเป็นของโลกศตวรรษ
ที่ 21 สามารถเขา้ ถึงการเรยี นร้อู ย่างตอ่ เน่ืองตลอดชีวติ ดขี ้ึน
2. แผนย่อยการตระหนกั ถึงพหุปญั ญาของมนุษย์ที่หลากหลาย ซึ่งมีแนวทางการพัฒนา คือ 1) พัฒนาและ
ส่งเสริมพหุปัญญา 2) สร้างเส้นทางอาชีพ สภาพแวดล้อมการทำงาน และระบบสนับสนุนที่เหมาะสม สำหรับ
ผู้มีความสามารถพิเศษ และมีเป้าหมายของแผนย่อย คือ ประเทศไทยมีระบบข้อมูลเพื่อการส่งเสริมการพัฒนา
ศักยภาพตามพหปุ ัญญา เพ่ือประโยชน์ในการพัฒนาและการส่งต่อการพัฒนาใหเ้ ต็มตามศักยภาพเพ่ิมข้นึ
แผนแมบ่ ทภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าติ (11) ประเด็นการพัฒนาศกั ยภาพคนตลอดช่วงชีวิต
มีเป้าหมายระดับประเด็น คือ คนไทยทุกช่วงวัยมีคุณภาพเพิ่มขึ้น ได้รับการพัฒนาอย่างสมดุล
ทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา และคุณธรรม จริยธรรม เป็นผู้ที่มีความรู้และทักษะในศตวรรษที่ 21 รักการเรียนรู้
อย่างต่อเนื่องตลอดชวี ิต และมแี ผนย่อยทีเ่ กี่ยวขอ้ งกบั การศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน 2 แผนย่อย ได้แก่
1. แผนย่อยการพัฒนาเด็ก ตั้งแต่ช่วงการตั้งครรภ์จนถึงปฐมวัย แนวทางการพัฒนาที่เกี่ยวข้องกับ
การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน คือ จัดให้มีการพัฒนาเด็กปฐมวัยให้มีพัฒนาการ สมรรถนะและคุณลักษณะที่ดี
ที่สมวยั ทกุ ด้าน โดยการพัฒนาหลกั สตู รการสอนและปรับปรุงสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวยั ให้มีคณุ ภาพตามมาตรฐาน
ท่เี น้นการพฒั นาทักษะสำคัญดา้ นต่าง ๆ อาทิ ทักษะทางสมอง ทักษะดา้ นความคิด ความจำ ทักษะการควบคุม
อารมณ์ ทักษะการวางแผนและการจัดระบบ ทักษะการรู้จักประเมินตนเอง ควบคู่กับการยกระดับบุคลากร
ในสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยให้มีความพร้อมทั้งทักษะ ความรู้ จริยธรรม และความเป็นมืออาชีพ เป้าหมายของ
แผนย่อย คือ เดก็ เกดิ อย่างมีคณุ ภาพมกี ารพฒั นาการสมวัย สามารถเข้าถงึ บริการท่ีมคี ุณภาพมากข้ึน
แผนพัฒนาการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 33
2. แผนย่อยการพัฒนาช่วงวัยเรียน/วัยรุ่น แนวทางพัฒนา ได้แก่ 1) จัดให้มีการพัฒนาทักษะที่สอดรับ
กับทักษะในศตวรรษที่ 21 โดยเฉพาะทักษะด้านการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ความสามารถในการแก้ปัญหา
ที่ซับซ้อน ความคิดสร้างสรรค์การทำงานร่วมกับผู้อื่น 2) จัดให้มีการพัฒนาทักษะด้านภาษา ศิลปะและ
ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีทีส่ อดคล้องกบั ความสามารถ ความถนัด และความสนใจ 3) จดั ให้มีการพฒั นา
ทักษะในการวางแผนชีวิตและวางแผนการเงิน ตลอดจนทักษะที่เชื่อมต่อกับโลกการทำงาน 4) จัดให้มีพัฒนา
ทักษะอาชีพที่สอดคล้องกับความต้องการของประเทศ การบ่มเพาะการเป็นนักคิด นักนวัตกร และการเป็น
ผู้ประกอบการใหม่ รวมทงั้ ทกั ษะชีวิตทีส่ ามารถอยรู่ ่วมกนั และทำงานภายใตส้ ังคมท่ีเปน็ พหุวฒั นธรรม 5) ส่งเสรมิ
และสนับสนุนระบบบริการสุขภาพและอนามัย ที่เชื่อมต่อกันระหว่างระบบสาธารณสุขกับโรงเรียนหรือ
สถานศึกษา เพื่อเสริมสร้างศักยภาพด้านความฉลาดทางเชาวน์ปัญญา และความฉลาดทางอารมณ์ ตลอดจน
ภูมิคุ้มกันด้านต่าง ๆ ในการดำเนินชีวิตของกลุ่มวัยเรียน/วัยรุ่น เป้าหมายของแผนย่อย คือ วัยเรียน/วัยรุ่นมี
ความรแู้ ละทักษะในศตวรรษท่ี 21 ครบถ้วน ร้จู ักคดิ วเิ คราะห์ รกั การเรยี นรู้ มสี ำนกึ พลเมือง มคี วาม กล้าหาญ
ทางจริยธรรม มีความสามารถในการแก้ปัญหา ปรับตัว สื่อสารและทำงานร่วมกับผู้อื่น ได้อย่างมีประสิทธิผล
ตลอดชีวิตดีข้นึ
8. แผนการปฏิรูปประเทศ
แผนการปฏิรูปประเทศ ได้มีการประกาศเมื่อวันที่ 6 เมษายน 2561 เพื่อกาหนดกลไก วิธีการ
และขั้นตอนการปฏิรูปประเทศในด้านต่าง ๆ โดยการปฏิรูปประเทศต้องดำเนินการเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย
ตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ ประกอบด้วย ประเทศชาติมีความสงบเรียบร้อย มีความสามัคคีปรองดอง
มกี ารพฒั นาอยา่ งย่ังยืน ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีความสมดลุ ระหวา่ งการพฒั นาด้านวตั ถุ
กับการพฒั นาด้านจติ ใจ สงั คมมีความสงบสขุ เป็นธรรม และมีโอกาสอนั ทัดเทยี มกัน เพอื่ ขจดั ความเหลือ่ มล้ำ
ประชาชนมีความสุข มีคุณภาพชีวิตที่ดี และมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศและการปกครองในระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ซึ่งมีการปฏิรูป 13 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านการเมือง
2) ด้านการบริหารราชการแผ่นดิน 3) ด้านกฎหมาย 4) ด้านกระบวนการยุติธรรม 5) ด้านเศรษฐกิจ
6) ด้านทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม 7) ด้านสาธารณสขุ 8) ด้านสือ่ สารมวลชนและเทคโนโลยสี ารสนเทศ
9) ด้านสังคม 10) ด้านพลังงาน 11) ด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ
12) ด้านการศึกษา 13) ด้านวฒั นธรรม กีฬา แรงงาน และการพัฒนาทรพั ยากรมนุษย์ ทั้งนี้ การปฏิรูปประเทศ
ต้องสอดคล้องและเป็นไปในทิศทางเดียวกันกับยุทธศาสตร์ชาติ ที่มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม 2562
จึงได้มีการประกาศแผนการปฏิรูปประเทศ (ฉบับปรับปรุง) ในราชกิจจานุเบกษา วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2564
ซึ่งกำหนดแผนงานในแผนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา (ฉบับปรับปรุง) 5 เรื่อง ได้แก่ 1) การสร้างโอกาส
และความเสมอภาคทางการศึกษาตั้งแต่ระดับปฐมวัย 2) การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนสู่การเรียนรู้
ฐานสมรรถนะ เพื่อตอบสนองการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 3) การปฏิรูปกลไกและระบบการผลิตและ
พฒั นาครูและบุคลากรทางการศกึ ษาให้มีคุณภาพมาตรฐาน 4) การจัดการอาชีวศกึ ษาระบบทวิภาคี และระบบ
แผนพัฒนาการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 34
อน่ื ๆ ทเี่ นน้ การฝกึ ปฏิบตั ิอย่างเต็มรูปแบบ นำไปสู่การจ้างงานและการสร้างงาน 5) การปฏิรูปบทบาทการวิจัย
และระบบธรรมาภิบาลของสถาบันอุดมศึกษา เพื่อสนับสนุนการพัฒนาประเทศไทยออกจากกับดักรายได้
ปานกลางอย่างยั่งยืน และกำหนดกิจกรรมท่ีส่งผลใหเ้ กดิ การเปลีย่ นแปลงต่อประชาชน อย่างมนี ัยสำคญั (BigRock)
เพอื่ เร่งรดั ให้เกดิ ผลการดำเนนิ การที่สำคัญภายในปงี บประมาณ พ.ศ. 2566
9. แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 พ.ศ.2566 – 2570
วัตถปุ ระสงค์
เพื่อพลกิ โฉมประเทศไทยสู่ “สงั คมก้าวหนา้ เศรษฐกิจสร้างมูลคา่ อยา่ งยงั่ ยืน”
หมุดหมายที่ 12 ไทยมีกำลังคนสมรรถนะสูง มุ่งเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ตอบโจทย์การพัฒนาแห่งอนาคต
สถานการณก์ ารพฒั นาที่ผา่ นมา
การพัฒนากำลังคนของไทยเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้างที่สำคัญ ได้แก่ การเป็นสังคมสูงวัย
สง่ ผลให้ประเทศขาดกำลงั คนในเชิงปริมาณ ประกอบกับผลิตภาพแรงงานทต่ี กต่ำลงในชว่ งโควดิ - 19 เพิ่มปญั หา
ด้านกำลังคนเชิงคุณภาพ จนอาจเป็นข้อจำกัดในการขยายตัวทางเศรษฐกิจ การเติบโตของนวัตกรรม
แหล่งความรู้ระดับโลกออนไลน์ที่มีต้นทุนและราคาต่ำ วงจรชีวิตของความรู้สั้นลง โดยเฉพาะด้านดิจิทัลและ
เทคโนโลยีท่ีเปล่ยี นแปลงเรว็ และแนวโน้มความตอ้ งการเรียนรู้ตามความสนใจรายบุคคล รวมถงึ ภาคเอกชนทเ่ี ร่ิม
ให้ความสำคัญกับการสรรหาและการจ้างงานตามสมรรถนะในการทำงานมากกว่าคุณวุฒิทางการศึกษา อีกท้ัง
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคอุบัติใหม่ ส่งผลต่อวิถีการดำรงชีวิตและพฤติกรรมของคน และสะท้อนถึง
บทบาทของเครือข่ายภาคประชาสังคมที่มีความเข้มแข็งในการร่วมแก้ไขปัญหาต่าง ๆ แต่ยังขาดการสนับสนุน
ที่มีประสิทธิภาพจากภาครัฐ จึงต้องเร่งขยายผลและตอ่ ยอดประเด็นการพัฒนาเพื่อนำไปสู่การพลิกโฉมกำลงั คน
สมรรถนะสูงท่มี ีภาวะผู้นำสูง สามารถสรา้ งการเปล่ียนแปลงและเพิ่มขดี ความสามารถของประเทศได้
การพัฒนาทุนมนุษย์ทุกช่วงวัยที่ผ่านมาได้มีความพยายามปรับปรุงคุณภาพการศึกษาทุกระดับ
ทั้งการยกระดับมาตรฐานการศึกษา การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ การใช้เทคโนโลยีและการพัฒนานวัตกรรม
การเรียน รวมถึงการพัฒนาพื้นที่นวัตกรรมที่เป็นแบบอย่างด้านการศึกษา ทำให้สถานศึกษามีความเป็นอิสระ
ควบคกู่ ับความรับผดิ ชอบตอ่ สังคมทีม่ ากขึ้น รวมถึงการส่งเสริมภาคีการพัฒนาเขา้ มามสี ว่ นรว่ ม การจดั การศึกษา
และการเรียนรู้มากขึ้น โดยเฉพาะการจัดการอาชีวศึกษาและการอุดมศึกษาในหลายรูปแบบ อาทิ
การจัดการศึกษาทวิภาคี สหกิจศึกษา รวมถึงความพยายามในการลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา โดยค้นหา
เด็กและผู้เรียนที่ด้อยโอกาส และจัดสรรเงินอุดหนุนผ่านกลไกของกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา
ตลอดจนรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 ได้กำหนดให้รัฐต้องดำเนินการให้เด็กทุกคนได้รับ
การศึกษาเป็นเวลาสิบสองปี ตั้งแต่ก่อนวัยเรียนจนจบการศึกษาภาคบังคับอย่างมีคุณภาพโดย ไม่เก็บค่าใช้จ่าย
รัฐ รวมถึง รัฐพึงให้ความช่วยเหลือ เด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ ผู้ยากไร้และผู้ด้อยโอกาสให้สามารถ
ดำรงชีวิตได้อย่างมีคุณภาพ ส่งผลให้มีการปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาเอื้อให้
การจัดการศึกษา มีความคล่องตัว และสอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงมากยิ่งขึ้น อาทิ พระราชบัญญัติปฐมวัย
พ.ศ. 2562 พระราชบญั ญัตกิ ารอุดมศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๒ และร่างพระราชบัญญตั กิ ารศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ....
แผนพฒั นาการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 35
อยา่ งไรก็ตาม การพัฒนาทุนมนษุ ย์ทกุ ช่วงวยั ยังคงต้องมีการยกระดับการพัฒนา ในแตล่ ะชว่ งวยั ได้แก่
เด็กตั้งแต่ในครรภ์ถึงปฐมวัยมีแนวโน้มพัฒนาการดีขึ้น แต่ยังคงต้องสร้างทักษะ ด้านอื่น ๆ ที่สัมพันธ์
กับพัฒนาการของสมอง รวมถึงพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานให้ได้มาตรฐานมากขึ้น ช่วงวัยเรียนในระดับการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน ยังมีผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาขั้นพื้นฐานต่ำกว่าค่าเฉลี่ยของกลุ่มประเทศ ที่มีระดับการพัฒนา
ที่ใกล้เคียงกัน การเรียนรู้ในระบบยังไม่เชื่อมโยงกับวิถีชีวิต เด็กและเยาวชนส่วนหนึ่งมีทัศนคติเชิงลบ
ต่อการศึกษา จึงต้องสร้าง โอกาสให้ได้รับการพัฒนาความรู้ตามแนวทางพหุปัญญา พร้อมทั้งสร้างทัศนคติ
เชิงบวกต่อการศึกษา เพื่อสร้างการเติบโตของความคิด และการพัฒนาตนเองให้ทำสิ่งใหม่ ๆ ระดับการ
อาชีวศึกษาและอุดมศึกษา พบว่าการผลิตกำลังคนสมรรถนะ ยังไม่สอดคล้องกับความต้องการของตลาดงาน
ถึงแม้วา่ การอาชีวศึกษาจะมกี ารปรบั หลกั สูตรอาชีวศกึ ษา ใหส้ อดคล้องกบั อุตสาหกรรมเป้าหมาย พฒั นารปู แบบ
การจัดการเรียนการสอน เพื่อดึงดูดคนเก่งเข้ามาเรียน อาทิ อาชีวศึกษาฐานวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี แต่ยังมี
ข้อจำกัดในการเรียนต่อในระดับ ปวส. อีกทั้งค่าจ้างที่จ่ายตามคุณวุฒิการศึกษายังไม่สามารถดึงดูดให้มีผู้เรียน
เพิ่มขึ้นได้ ในขณะที่มหาวิทยาลัยประสบปัญหานักศึกษาน้อยลง และมีความท้าทายจากการเปลี่ยนแปลงของ
เทคโนโลยี ทำให้การจัดการเรียนรู้ผ่านช่องทางออนไลน์บนแพลตฟอร์มต่าง ๆ มีต้นทุนการดำเนินงานต่ำ และ
ตอบสนองความต้องการไดเ้ ปน็ รายบุคคล มหาวิทยาลัยจึงไมส่ ามารถมุ่งเฉพาะกลุ่มนักศึกษาในระบบได้อีกต่อไป
ต้องเปลี่ยนเป็นการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพ เน้นประสบการณ์สำหรับคน ทุกช่วงวัยให้เข้าถึงได้จากทุกท่ี และ
ทุกเวลา รวมทั้งมีต้นทุนที่ไม่สูงเกินไปจนเปน็ อุปสรรคในการเข้าถึง นอกจากนี้ การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19
ทำให้ต้องปิดโรงเรียนเป็นเวลานาน มีผลกระทบต่อคุณภาพของผู้เรียนทุกระดับชั้น เกิดภาวการณ์ถดถอยของ
การเรียนรู้ ที่มีแนวโน้มการเกิดขึ้นซ้ำอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ วัยแรงงาน เผชิญความท้าทายจากการขาดกำลังคน
ทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ โดยเฉพาะความสามารถในงานหรือขีดความสามารถตามตำแหน่งงาน ทักษะ
ในการใช้ชีวิต การแก้ปัญหา การมีแนวคิดของผู้ประกอบการมากขึ้น รวมถึงความสามารถในการบริหารตัวเอง
และการบริหารคนเพื่อทำงานร่วมกัน การนำทักษะของสมาชิกทีมที่หลากหลายมาประสานพลังรวมกัน
ในการปฏิบัติงานได้อย่างสร้างสรรค์ นอกจากนั้น แรงงานนอกระบบมีสัดส่วนที่สูงถึงร้อยละ 52 ของแรงงาน
ทั้งหมด และมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น จากการเปลี่ยนรูปแบบการทำงาน และผู้ที่ทำงานอิสระเป็นช่วงเวลาสั้น ๆ
เป็นครั้งคราว แนวโน้มเพิ่มขึ้น ที่ต้องสร้างแรงจูงใจให้พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ผู้สูงวัย ยังมีศักยภาพ
ในการทำงานและตอ้ งการพฒั นาตนเองหลงั เกษยี ณ
การพัฒนากำลังคนสมรรถนะสูง เพื่อพลิกโฉมประเทศไปสู่การขับเคลื่อนที่ใช้นวัตกรรมเป็นฐาน
มีหลายปัจจัยที่สนับสนุน ทั้งความก้าวหน้าของเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่มีบทบาทในการเรียนรู้และเสรมิ สร้าง
สมรรถนะมากขึ้น มีสถาบันการศึกษาและแพลตฟอร์มฝึกอบรมจำนวนมาก รวมถึงคนไทยมีความคุ้นเคย
กับการใช้เทคโนโลยีมากขึ้นที่สามารถฝึกอบรม ทั้งการฝึกซ้ำและการฝึกยกระดับเพื่อเพิ่มสมรรถนะ อย่างไร
ก็ตาม ยังขาดระบบฐานข้อมูลอุปสงค์และอุปทานกำลังคนของประเทศ และข้อมูลสมรรถนะที่จำเป็น
ในการทำงานของแต่ละอาชีพ เพอ่ื การวางแผนจดั การเรยี นและการอบรม
ทั้งนี้ การเรียนรู้ตลอดชีวิต เป็นเครื่องมือสำคัญในการพัฒนาคนในสังคมสูงวัย ที่มีช่วงชีวิตที่หลากหลาย
มากขึ้น ซึ่งจะกระทบต่อระบบการเรียนรู้ ที่ต้องปรับเปลี่ยนให้สามารถเรียนรู้และพัฒนาสมรรถนะให้ได้
แผนพฒั นาการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 36
ตลอดเวลา ในขณะทีค่ นไทยยงั ขาดทักษะชีวติ ในหลายดา้ น อาทิ ความรอบรู้ดา้ นการเงนิ ที่ทำใหบ้ างคนเขา้ ไปอยู่
ในวงจรของหนี้นอกระบบและในระบบ ความรอบรู้ด้านดิจิทัลที่รวมถึงความสามารถในรับมือกับข้อมูลข่าวสาร
ที่ผิดพลาด และการรู้เท่าทันสื่อ รวมถึงระบบนิเวศ ควรเอื้อต่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตให้กับประชากรทุกกลุ่ม
อยา่ งทั่วถงึ และมคี ุณภาพ ทง้ั บนพนื้ ที่กายภาพ และบนพน้ื ท่ีเสมือนจริง ขณะทกี่ ลุม่ เข้าไม่ถึง จะต้องมีมาตรการ
กำจดั อุปสรรคตา่ ง ๆ ให้สามารถเขา้ มาเรียนรแู้ ละพฒั นาทักษะได้อย่างทว่ั ถึงมากข้นึ
10. แผนการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2579
วสิ ัยทัศน์ จุดมุง่ หมาย เป้าหมาย ตัวชวี้ ดั และยทุ ธศาสตร์ของแผนการศึกษาแหง่ ชาติ
แผนการศึกษาแห่งชาตฉิ บับน้ี กำหนดวิสัยทัศน์ (Vision) ไวด้ งั น้ี
“คนไทยทุกคนได้รับการศึกษาและเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ ดำรงชีวิตอย่างเป็นสุข
สอดคลอ้ งกับหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และการเปล่ียนแปลงของโลกศตวรรษท่ี 21”
โดยมวี ตั ถุประสงค์ในการจดั การศึกษา 4 ประการ คือ 1) เพื่อพฒั นาระบบและกระบวนการจดั การศึกษา
ที่มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ 2) เพื่อพัฒนาคนไทยเป็นพลเมืองดี มีคุณลักษณะทักษะและสมรรถนะ
ที่สอดคล้องกับบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ และ
ยุทธศาสตร์ชาติ 3) เพื่อพัฒนาสังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ และคุณธรรม จริยธรรม รู้รักสามัคคีและ
ร่วมมือผนึกกำลังมุ่งสู่การพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และ 4) เพื่อนำ
ประเทศไทยก้าวข้ามกบั ดกั ประเทศที่มรี ายได้ปานกลาง และความเหล่อื มล้ำภายในประเทศลดลง
เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์และจุดมุ่งหมายในการจัดการศึกษาดังกล่าวข้างต้น แผนการศึกษาแห่งชาติ
ไดว้ างเป้าหมายไว้ 2 ดา้ น คือ
เป้าหมายด้านผู้เรียน (Learner Aspirations) โดยมุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคนให้มีคุณลักษณะและ
ทกั ษะการเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี 21 (3Rs8Cs) ประกอบดว้ ย ทักษะและคณุ ลักษณะต่อไปน้ี
3RS ไดแ้ ก่ การอ่านออก (Reading) การเขียนได้ (Writing)และการคดิ เลขเปน็ (Arithmetics)
8Cs ได้แก่ ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา (Critical Thinking and
Problem Solving) ทักษะด้านการสร้างสรรค์และนวัตกรรม (Creativity and Innovation) ทักษะด้าน
ความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross–cultural Understanding) ทักษะด้านความร่วมมือ
การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ (Collaboration,Teamwork and Leadership) ทักษะด้านการสื่อสาร
สารสนเทศและการรู้เท่าทันสื่อ (Communications, Information and media Literacy) ทักษะด้าน
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Computing and ICT Literacy) ทักษะอาชีพและ
ทักษะการเรียนรู้ (Career and Learning Skills) และความมีเมตตา กรุณา มีวินัย คุณธรรม จริยธรรม
(Compassion)
เป้าหมายของการจัดการศึกษา (Aspirations) 5 ประการ ซึ่งมีตัวชี้วัดเพื่อการบรรลุเป้าหมาย
53 ตัวช้วี ดั ประกอบด้วย เปา้ หมายและตวั ชว้ี ัดที่สำคญั ดังน้ี
แผนพัฒนาการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 37
1) ประชากรทกุ คนเขา้ ถงึ การศกึ ษาท่ีมคี ุณภาพและมีมาตรฐานอย่างทว่ั ถึง (Access) มีตัวชว้ี ัด
ที่สำคัญ เช่น ประชากรกลุ่มอายุ 6-14 ปี ทุกคนได้เข้าเรียนในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตอนต้นหรือ
เทียบเท่าที่รัฐต้องจัดให้ฟรี โดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย ผู้เรียนพิการได้รับการพัฒนาสมรรถภาพหรือบริการ
ทางการศึกษาท่เี หมาะสมทกุ คน และประชากรวยั แรงงานมกี ารศึกษาเฉล่ยี เพิ่มขึ้น เปน็ ต้น
2) ผ้เู รยี นทุกคน ทกุ กลมุ่ เปา้ หมาย ไดร้ บั บริการการศกึ ษาทม่ี ีคณุ ภาพตามมาตรฐานอยา่ ง
เท่าเทยี ม (Equity)
3) ระบบการศึกษาที่มีคุณภาพ สามารถพฒั นาผู้เรยี นใหบ้ รรลขุ ดี ความสามารถเตม็ ตาม
ศกั ยภาพ (Quality)
4) ระบบการบรหิ ารจดั การศึกษาทม่ี ีประสทิ ธิภาพ เพือ่ การลงทนุ ทางการศกึ ษาที่คุ้มค่าและ
บรรลเุ ป้าหมาย (Efficiency)
5) ระบบการศกึ ษาที่สนองตอบและกา้ วทนั การเปลี่ยนแปลงของโลกท่ีเป็นพลวัต และบริบท
ทเี่ ปลยี่ นแปลง (Relevancy)
ยุทธศาสตร์ เป้าหมายและตัวชี้วัด แผนการศึกษาแห่งชาติ ได้กำหนดยุทธศาสตร์ในการพัฒนา
การศึกษาภายใต้ 6 ยุทธศาสตร์หลัก ที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี เพื่อให้แผนการศึกษาแห่งชาติ
บรรลุเปา้ หมายตามจดุ มุ่งหมาย วสิ ัยทัศน์ และแนวคดิ การจัดการศึกษาดงั กล่าวข้างต้น ดังน้ี
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 : การจดั การศกึ ษาเพ่ือความมนั่ คงของสงั คมและประเทศชาติ มีเป้าหมาย ดังนี้
1. คนทกุ ชว่ งวัยมีความรกั ในสถาบันหลักของชาติ และยึดม่นั การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย
อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมุข
2. คนทกุ ชว่ งวยั ในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้และพน้ื ทีพ่ เิ ศษ ไดร้ ับการศึกษา
และเรียนรูอ้ ย่างมคี ณุ ภาพ
3. คนทกุ ช่วงวยั ไดร้ ับการศกึ ษา การดูแลและป้องกันจากภยั คุกคามในชีวติ รูปแบบใหม่
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 2 : การผลิตและพฒั นากำลังคน การวจิ ัย และนวัตกรรม เพือ่ สร้างขดี
ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ มีเป้าหมาย ดงั น้ี
1. กำลงั คนมีทักษะทส่ี ำคัญจำเปน็ และมีสมรรถนะตรงตามความตอ้ งการของตลาดงาน และ
การพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมของประเทศ
2. สถาบนั การศึกษาและหน่วยงานที่จดั การศกึ ษาผลิตบัณฑิต ทม่ี ีความเช่ียวชาญและเปน็ เลิศ
เฉพาะด้าน
3. การวิจัยและพัฒนาเพอ่ื สรา้ งองคค์ วามรูแ้ ละนวตั กรรมที่สรา้ งผลผลิตและมูลค่าเพ่ิมทาง
เศรษฐกิจ
แผนพัฒนาการศึกษาข้ันพื้นฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 38
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 : การพัฒนาศกั ยภาพคนทุกช่วงวัยและการสรา้ งสังคมแห่งการเรียนรู้ มเี ปา้ หมาย
ดงั น้ี
1) ผู้เรยี นมีทักษะและคุณลักษณะพ้ืนฐานของพลเมืองไทย และทกั ษะคุณลกั ษณะท่ีจำเปน็ ใน
ศตวรรษท่ี 21
2) คนทกุ ชว่ งวัยมที ักษะ ความรู้ความสามารถ และสมรรถนะตามมาตรฐานการศึกษา มาตรฐาน
วชิ าชพี และพัฒนาคุณภาพชวี ติ ได้ตามศักยภาพ
3) สถานศกึ ษาทุกระดับการศึกษา สามารถจัดกิจกรรม/กระบวนการเรยี นรู้ตามหลักสตู รอย่างมี
คุณภาพและมาตรฐาน
4) แหล่งเรยี นรู้ สื่อตำราเรยี น นวัตกรรม และสอื่ การเรยี นรมู้ คี ุณภาพ และมาตรฐานประชาชน
สามารถเขา้ ถงึ ไดโ้ ดยไม่จำกัดเวลาและสถานท่ี
5) ระบบและกลไกการวดั การติดตาม และประเมนิ ผลมีประสิทธภิ าพ
6) ระบบการผลติ ครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาได้มาตรฐานระดับสากล
7) ครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศึกษา ได้รบั การพฒั นาสมรรถนะตามมาตรฐาน
ยุทธศาสตรท์ ี่ 4 : การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทยี มทางการศึกษา มีเป้าหมาย
ดังนี้
1. ผเู้ รยี นทกุ คนไดร้ ับโอกาสและความเสมอภาคในการเข้าถงึ การศกึ ษาทม่ี ีคณุ ภาพ
2. การเพ่ิมโอกาสทางการศึกษาผา่ นเทคโนโลยดี ิจทิ ลั เพื่อการศึกษาสำหรับคนทุกช่วงวยั
3. ระบบข้อมูลรายบคุ คลและสารสนเทศทางการศึกษาที่ครอบคลุม ถูกตอ้ งเป็นปัจจบุ ัน
เพอื่ การวางแผนการบริหารจดั การศึกษา การติดตามประเมินและรายงานผล
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 5 : การจัดการศกึ ษาเพื่อสรา้ งเสรมิ คุณภาพชวี ิตที่เป็นมิตรกับส่งิ แวดล้อม มีเปา้ หมาย
ดงั นี้
1. คนทุกชว่ งวยั มจี ติ สำนึกรกั ษ์ส่งิ แวดลอ้ ม มคี ณุ ธรรม จริยธรรม และนำแนวคดิ ตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกจิ พอเพียงสูก่ ารปฏิบตั ิ
2. หลักสตู ร แหล่งเรียนรู้ และสอื่ การเรยี นรทู้ ส่ี ง่ เสริมคุณภาพชวี ิตทเี่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดลอ้ ม
คุณธรรม จรยิ ธรรม และการนำแนวคิดตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงสกู่ ารปฏบิ ัติ
3. การวิจยั เพือ่ พัฒนาองค์ความรู้ และนวตั กรรมด้านการสร้างเสรมิ คณุ ภาพชีวิตท่เี ปน็ มติ รกบั
ส่ิงแวดลอ้ ม
ยุทธศาสตรท์ ี่ 6 : การพฒั นาประสทิ ธิภาพของระบบบรหิ ารจัดการศึกษา มีเปา้ หมาย ดังน้ี
1. โครงสร้าง บทบาท และระบบการบรหิ ารจดั การศึกษามคี วามคล่องตวั ชัดเจน และสามารถ
ตรวจสอบได้
แผนพฒั นาการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 39
2. ระบบการบรหิ ารจัดการศึกษามีประสทิ ธภิ าพ และประสิทธิผลส่งผลต่อคณุ ภาพและมาตรฐาน
การศกึ ษา
3. ทกุ ภาคส่วนของสงั คมมสี ว่ นร่วมในการจดั การศกึ ษา ท่ตี อบสนองความต้องการของประชาชน
และพนื้ ท่ี
4. กฎหมายและรูปแบบการบรหิ ารจดั การทรัพยากรทางการศึกษา รองรับลักษณะทีแ่ ตกต่าง
ของผเู้ รียน สถานศกึ ษา และความต้องการกำลงั แรงงานของประเทศ
5. ระบบบริหารงานบุคคลของครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศกึ ษามคี วามเป็นธรรม สรา้ งขวญั
กำลงั ใจ และส่งเสรมิ ใหป้ ฏบิ ตั ิงานได้อยา่ งเต็มตามศกั ยภาพ
11. นโยบายของรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (นางสาวตรีนุช เทียนทอง) ได้กำหนดจุดเน้นเชิงนโยบาย
กระทรวงศกึ ษาธกิ ารโดยมสี าระสำคัญ ดงั น้ี
1. การปรับปรุงหลักสูตรและกระบวนการเรียนรู้ให้ทันสมัย และทันการเปลี่ยนแปลงของโลก
ในศตวรรษที่ 21 โดยมุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกระดับการศึกษาให้มีความรู้ ทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม
กบั บรบิ ทสงั คมไทย
2. การพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพครูและอาจารย์ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานและ
อาชีวศึกษาให้มีสมรรถนะทางภาษาและดิจิทัล เพื่อให้ครูและอาจารย์ได้รับการพัฒนาให้มีสมรรถนะ
ทั้งด้านการจัดการเรียนรู้ด้วยภาษาและดิจิทัล สามารถปรับวิธีการเรียนการสอนและการใช้สื่อทันสมัยและ
มคี วามรับผิดชอบตอ่ ผลลพั ธท์ างการศึกษาที่เกิดกบั ผเู้ รียน
3. การปฏิรูปการเรียนรู้ด้วยดิจิทัลผ่านแพลตฟอร์มการเรียนรู้ด้วยดิจิทัลแห่งชาติ ( NDLP)
และการส่งเสริมการฝึกทักษะดิจิทัลในชีวิตประจําวัน เพื่อให้มีหน่วยงานรับผิดชอบพัฒนาแพลตฟอร์ม
การเรียนร้ดู ้วยดจิ ิทัลแหง่ ชาติ ทส่ี ามารถนาํ ไปใช้ในกระบวนการจัดการเรยี นรู้ท่ีทันสมัย และเขา้ ถึงแหล่งเรียนรู้
ได้อย่างกว้างขวางผ่านระบบออนไลน์ และการนําฐานข้อมูลกลางทางการศึกษามาใช้ประโยชน์ในการพัฒนา
ประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารและการจดั การศกึ ษา
4. การพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารและการจัดการศึกษา โดยการส่งเสริมสนับสนุนสถานศึกษา
ให้มีความเป็นอิสระและคล่องตัว การกระจายอํานาจการบริหารและการจัดการศึกษา โดยใช้จังหวัดเป็นฐาน
โดยอาศัยอำนาจตามกฎหมายการศึกษาแห่งชาติที่ได้รับการปรับปรุง เพื่อกําหนดให้มีระบบบริหารและ
การจัดการ รวมถึงการจัดโครงสร้างหน่วยงานให้เอื้อต่อการจัดการเรียนการสอนให้มีคุณภาพ สถานศึกษาให้มี
ความเป็นอิสระและคล่องตัว การบริหารและการจัดการศึกษาโดยใช้จังหวัดเป็นฐาน มีระบบการบริหารงาน
บุคคลโดยยดึ หลักธรรมาภิบาล
แผนพัฒนาการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 40
5. การปรับระบบการประเมินผลการศึกษาและการประกันคณุ ภาพ พร้อมจัดทดสอบ วัดความรู้และ
ทักษะที่จําเป็นในการศึกษาต่อระดับอุดมศึกษาทั้งสายวิชาการและสายวิชาชีพ เพื่อให้ระบบการประเมินผล
การศึกษาทุกระดับและระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ได้รับการปรับปรุงให้ทันสมัย ตอบสนองผลลัพธ์
ทางการศกึ ษาไดอ้ ย่างเหมาะสม
6. การจัดสรรและการกระจายทรัพยากรให้ทั่วถึงทุกกลุ่มเป้าหมาย รวมถึงการระดมทรัพยากร
ทางการศึกษาจากความร่วมมือทุกภาคส่วน เพื่อให้การจัดสรรทรัพยากรทางการศึกษามีความเป็นธรรม
และสร้างโอกาสให้กลุ่มเป้าหมายได้เข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพทัดเทียมกลุ่มอื่น ๆ กระจายทรัพยากร
ท้งั บุคลากรทางการศกึ ษา งบประมาณ และสอ่ื เทคโนโลยไี ดอ้ ย่างทั่วถงึ
7. การนํากรอบคุณวุฒิแห่งชาติ (NQF) และกรอบคุณวุฒิอ้างอิงอาเซียน (AQRF) สู่การปฎิบัติ
เป็นการผลิตและการพัฒนากําลังคนเพื่อการพัฒนาประเทศโดยใช้กรอบคุณวุฒิแห่งชาติ เชื่อมโยงระบบ
การศึกษาและการอาชีพ โดยใช้กลไกการเทียบโอนประสบการณ์ดว้ ยธนาคารหน่วยกติ และการจัดทำมาตรฐาน
อาชีพ ในสาขาทส่ี ามารถอ้างองิ อาเซยี นได้
8. การพัฒนาเด็กปฐมวัยให้ได้รับการดูแลและพัฒนาก่อนเข้ารับการศึกษา เพื่อพัฒนาร่างกาย
จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาให้สมกับวัย เพื่อเป็นการขับเคลื่อนแผนบูรณาการการพัฒนา
เด็กปฐมวัยตามพระราชบัญญัติการพัฒนาเด็กปฐมวัย พ.ศ.2562 สู่การปฏิบัติเป็นรูปธรรม โดยหน่วยงาน
ที่เกี่ยวข้องนําไปเป็นกรอบในการจัดทำแผนปฏิบัติการเพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัย และมีการติดตามความก้าวหน้า
เป็นระยะ
9. การศึกษาเพื่ออาชีพและสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ เพื่อให้ผูจ้ บการศึกษา
ระดับปริญญาและอาชีวศึกษามีอาชีพ และรายได้ที่เหมาะสมกับการดำรงชีพและคุณภาพชีวิตที่ดี มีส่วนช่วย
เพมิ่ ขดี ความสามารถในการแข่งขนั ในเวทีโลกได้
10. การพลิกโฉมระบบการศึกษาไทย ด้วยการนํานวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัย มาใช้
ในการจัดการศึกษาทุกระดับการศึกษา เพื่อให้สถาบันการศึกษาทุกแห่งนํานวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัย
มาใชใ้ นการจดั การศึกษาผ่านระบบดิจทิ ัล
11. การเพิ่มโอกาสและการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ ของกลุ่มผู้ด้อยโอกาสทางการศึกษาและ
ผู้เรียนทมี่ ีความต้องการจําเปน็ พเิ ศษ เพ่ือเพิม่ โอกาสและการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพของกลุ่มผู้ด้อยโอกาส
ทางการศึกษา และผเู้ รยี นที่มคี วามต้องการจาํ เปน็ พิเศษ
12. การจัดการศกึ ษาในระบบ นอกระบบ และตามอธั ยาศัย โดยยดึ หลกั การเรียนรตู้ ลอดชีวติ และ
การมสี ว่ นรว่ มของผู้มสี ่วนเกย่ี วข้อง เพื่อเพ่ิมโอกาสและการเข้าถงึ การศึกษาท่มี คี ุณภาพ ของกลมุ่ ผูด้ ้อยโอกาส
ทางการศกึ ษาและผู้เรียนท่ีมีความตอ้ งการจาํ เปน็ พิเศษ
นโยบายระยะเรง่ ด่วน (Quick Win) ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
1. ความปลอดภัยของผู้เรียน โดยจัดให้มีรูปแบบ วิธีการ หรือกระบวนการในการดูแล ช่วยเหลือ
นักเรียน เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ มีความสุข และได้รับการปกป้องคุ้มครอง ความปลอดภัย
ทั้งด้านร่างกายและจิตใจ รวมถึงการสร้างทักษะให้ผู้เรียนมีความสามารถในการดูแลตนเอง จากภัยอันตราย
ตา่ ง ๆ ทา่ มกลางสภาพแวดลอ้ มทางสงั คม
แผนพัฒนาการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 41
2. หลักสูตรฐานสมรรถนะ มุ่งเน้นการจัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย โดยยึดความสามารถของผู้เรียน
เป็นหลกั และพัฒนาผ้เู รียนให้เกิดสมรรถนะทต่ี อ้ งการ
3. ฐานข้อมูล Big Data พัฒนาการจัดเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบและไม่ซ้ำซ้อน เพื่อให้ได้ข้อมูล
ภาพรวมการศึกษาของประเทศที่มีความครบถ้วน สมบูรณ์ ถูกต้องเป็นปัจจุบัน และสามารถนำมาใช้ประโยชน์
ไดอ้ ย่างแท้จริง
4. ขับเคลื่อนศูนย์ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) สนับสนุนการดําเนินงาน
ของศูนย์ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) ตามความเป็นเลิศของแต่ละสถานศึกษา
และตามบริบทของพื้นที่ สอดคล้องกับความต้องการของประเทศ ทั้งในปัจจุบันและอนาคต ตลอดจนมีการ
จดั การเรียนการสอนด้วยเคร่ืองมอื ท่ที ันสมัย สอดคล้องกับเทคโนโลยปี จั จุบัน
5. พัฒนาทักษะทางอาชีพ ส่งเสริมการจัดการศึกษา ที่เน้นพัฒนาทักษะอาชีพของผู้เรียนเพื่อ
พฒั นาคณุ ภาพชวี ิต สร้างอาชีพและรายไดท้ ่ีเหมาะสม และเพ่มิ ขดี ความสามารถในการแขง่ ขันของประเทศ
6. การศึกษาตลอดชีวิต การจัดเรียนรู้ตลอดชีวิตสำหรับประชาชนทุกช่วงวัย ให้มีคุณภาพ
และมาตรฐาน ประชาชนในแต่ละช่วงวัยได้รับการศึกษา ตามความต้องการอย่างมีมาตรฐาน เหมาะสมและ
เต็มตามศักยภาพตั้งแต่วัยเด็กจนถึงวัยชรา และพัฒนาหลักสูตรที่เหมาะสมเพื่อเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่
สงั คมผู้สูงวยั
7. การจัดการศึกษาสำหรับผู้ที่มีความต้องการจําเป็นพิเศษ ส่งเสริมการจัดการศึกษาให้ผู้ที่มี
ความต้องการจําเป็นพิเศษได้รับการพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพ สามารถดำรงชีวิตในสังคมอย่างมีเกียรติ ศักดิ์ศรี
เท่าเทียมกับผ้อู ่นื ในสงั คม สามารถชว่ ยเหลือตนเอง และมีสว่ นรว่ มในการพัฒนาประเทศ
12. นโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งมั่นในการพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐานให้เป็น
“การศึกษาขั้นพื้นฐานวิถีอนาคต วถิ คี ุณภาพ” มุ่งเน้น 4 ด้าน คือ ด้านความปลอดภยั ดา้ นโอกาส ด้านคุณภาพ
และดา้ นประสทิ ธภิ าพ โดยไดก้ ำหนดนโยบายและจดุ เน้น ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ดงั นี้
1. ดา้ นความปลอดภัย
1.1 พัฒนาสถานศึกษาให้เป็นพ้นื ที่ปลอดภยั ของผ้เู รยี นทุกคน พร้อมเสริมสร้างระบบและกลไก
ในการดูแลความปลอดภัยอย่างเขม้ ข้น ให้กบั ผเู้ รยี น ครู และบุคลากรทางการศกึ ษา จากโรคภัยตา่ ง ๆ ภัยพบิ ัติ
และภัยคุกคามทุกรูปแบบ
1.2 ส่งเสรมิ การจัดสภาพแวดลอ้ มท่ีเอ้ือตอ่ การมีสขุ ภาวะทด่ี ี และเป็นมติ รกับสงิ่ แวดลอ้ ม
1.3 สร้างภมู คิ มุ้ กนั การรเู้ ท่าทันส่ือและเทคโนโลยี ในการดำเนนิ ชวี ติ วิถใี หม่ (New Normal)
และชีวิตวถิ ีปกตติ ่อไป (Next Normal)
2. ด้านโอกาสและการลดความเหล่ือมลำ้ ทางการศกึ ษา
2.1 สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ให้เดก็ ปฐมวัยท่ีมีอายุ 3-6 ปีทกุ คน เขา้ สู่ระบบการศึกษา สรา้ ง
สภาพแวดลอ้ มทเ่ี อื้อตอ่ การเรียนรู้ และการดแู ลปกป้อง เพ่ือใหม้ ีพฒั นาการครบทุกด้าน โดยการมีสว่ นร่วม
ของหน่วยงานที่เกย่ี วข้อง
แผนพฒั นาการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 42
2.2 จดั การศกึ ษาใหผ้ เู้ รยี นในระดบั การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน ไดเ้ ข้าถึงโอกาส ความเสมอภาคและ
ได้รับการพฒั นาให้มสี มรรถนะสำหรับการศึกษาตอ่ และการประกอบอาชพี ในอนาคตให้สอดคลอ้ งกบั ความ
ตอ้ งการของตลาดแรงงาน และการพัฒนาประเทศ
2.3 จดั การศกึ ษาให้ผูเ้ รียนทีม่ คี วามสามารถพิเศษ ไดร้ บั โอกาสในการพฒั นาเต็มตามศักยภาพ
2.4 สง่ เสริมเดก็ พกิ ารและผู้ดอ้ ยโอกาส ให้ได้รับการศกึ ษาที่มีคณุ ภาพ และจดั หาทางเลือก
ในการเขา้ ถึงการเรียนรู้การฝึกอาชพี เพื่อให้มีทักษะในการดำเนนิ ชวี ติ สามารถพึ่งตนเองได้
2.5 พัฒนาระบบขอ้ มูลสารสนเทศของนกั เรียนระดบั การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐานเปน็ รายบคุ คล เพ่ือใช้
เป็นฐานขอ้ มลู ในการบรหิ ารจัดการศึกษา โดยเฉพาะการดูแล และป้องกันไมใ่ ห้นักเรยี นหลุดออกจากระบบ
การศกึ ษา และชว่ ยเหลอื เด็กตกหลน่ เดก็ ออกกลางคันใหก้ ลบั เขา้ สรู่ ะบบการศกึ ษา
3. ดา้ นคณุ ภาพ
3.1 ส่งเสริม สนับสนุนสถานศึกษาที่มีความพร้อม ให้นำหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ทีเ่ น้นสมรรถนะ ไปใชต้ ามศักยภาพของสถานศกึ ษา ให้สามารถออกแบบหลักสูตรท่ีเหมาะสมกบั ความตอ้ งการ
และบริบท
3.2 พัฒนาผู้เรียนให้เกิดสมรรถนะที่เหมาะสมตามช่วงวัย สามารถจัดการตนเอง มีการคิดขั้นสูง
มีความสามารถในการสื่อสาร สามารถจัดระบบและกระบวนการทำงานของตนเอง และร่วมกับผู้อื่น โดยใช้
การรวมพลังทำงานเปน็ ทมี เปน็ พลเมืองทด่ี ี่ มีศีลธรรม และอยรู่ ว่ มกับธรรมชาตแิ ละวิทยาการอย่างย่งั ยืน รวมท้ัง
มีความจงรักภักดีต่อสถาบันหลักของชาติ ยึดมั่นการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัต ริย์
ทรงเปน็ ประมขุ
3.3 จัดการศึกษาให้ผู้เรียนมีทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 นำไปสู่การมีอาชีพ มีงานทำและ
ส่งเสริมความเป็นเลิศของผู้เรียนให้เต็มตามศักยภาพ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน
3.4 สง่ เสริม และพฒั นาระบบการวัดและประเมนิ ผลคณุ ภาพผู้เรยี น ใหค้ วบค่กู ารเรียนรู้ นำไปสู่
การพฒั นาการเรยี นร้แู ละสมรรถนะของผ้เู รยี นเปน็ รายบุคคล รวมทงั้ ส่งเสริมการนำระบบธนาคารหน่วยกิตมาใช้
ในการเทียบโอนผลการเรยี นรู้ และประสบการณต์ า่ ง ๆ ของผเู้ รยี นในสถานศึกษา
3.5 พฒั นา ส่งเสริมผู้บริหารการศึกษา ผ้บู ริหารสถานศกึ ษา ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา รวมทัง้
บุคลากรสงั กัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน ให้มสี มรรถนะตามมาตรฐานตำแหนง่ และมาตรฐาน
วิชาชพี
4. ดา้ นประสทิ ธิภาพ
4.1 เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษา โดยการกระจายอำนาจและใช้พื้นที่เป็นฐาน
ทม่ี ุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพผเู้ รยี นเป็นสำคญั ตามหลักธรรมาภิบาล
4.2 นำเทคโนโลยีดิจิทัลและการจัดการฐานข้อมลู มาใชเ้ พม่ิ ประสิทธิภาพในการบรหิ ารจดั การศึกษา
ขั้นพน้ื ฐาน และการเรียนร้ขู องผู้เรียน
แผนพัฒนาการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 43
4.3 ส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนาโรงเรียนคุณภาพ ใช้พื้นที่เป็นฐาน ใช้นวัตกรรมในการขับเคลื่อน
บริหารจัดการโดยใช้ทรัพยากรร่วมกัน และแสวงหาการมีส่วนร่วมของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกระดับ เพื่อให้
ประสบผลสำเร็จอยา่ งเปน็ รูปธรรม
4.4 ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพในโรงเรียนที่มีวัตถุประสงค์เฉพาะ โรงเรียนท่ี
ตัง้ ในพ้ืนท่ลี กั ษณะพิเศษ และโรงเรยี นในพน้ื ทีน่ วตั กรรมการศกึ ษา
4.5 เพิ่มประสิทธิภาพการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา และปรับกระบวนการนิเทศ
ติดตามและประเมินการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้สอดรับกับชีวิตวิถีใหม่ (New Normal) และชีวิตวิถีปกติต่อไป
(Next Normal)
13. นโยบายจงั หวดั ตรงั
วสิ ยั ทัศน์
“เมอื งแหง่ คุณภาพชวี ติ ทด่ี ีและย่งั ยืน”
พันธกจิ
1. มุ่งสร้างศักยภาพทางเศรษฐกิจด้านเกษตรกรรม อุตสาหกรรม และการท่องเที่ยว ให้มีความมั่งค่ัง
และมคี วามรับผดิ ชอบต่อสงั คม
2. พัฒนาสังคม การศึกษา และคุณภาพชีวิตของประชาชนให้มีความม่ันคง สามารถดำรงชีวิตได้อย่างมี
คุณภาพ
3. บรหิ ารจัดการทรัพยากรธรรมชาตใิ หย้ ่ังยนื และสร้างสิ่งแวดล้อมทด่ี ีบนความหลากหลายทางชวี ภาพ
4. สง่ เสริมการขับเคลื่อนการพัฒนาตามปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงในทุกภาคส่วน
5. เสรมิ สร้างธรรมาภิบาลในการบริหารจดั การภาครัฐ
เป้าประสงค์รวม
1. เศรษฐกิจของจงั หวัดเตบิ โตอยา่ งสมดุลและต่อเน่อื ง
2. ประชาชนมีคณุ ภาพชีวิตดี และชมุ ชนเขม้ แขง็
3. ทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้รับการจดั การอย่างยง่ั ยืน
ยุทธศาสตร์/ประเด็นการพัฒนาจังหวดั
1. สร้างฐานเศรษฐกิจของจังหวัดดา้ นการเกษตร และอุตสาหกรรมท่ีม่ันคงและยั่งยืน
2. ส่งเสริมและพัฒนาการท่องเท่ยี ว ให้ไดม้ าตรฐานและมีคุณภาพ
3. เสริมสร้างความม่ันคงทางสงั คม พัฒนาคุณภาพชวี ิตและการศกึ ษาเรียนรอู้ ยา่ งมีคุณภาพ
4. บริหารจดั การทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม พะยูน สัตว์ทะเลหายาก และพลงั งานอยา่ ง
เหมาะสมกบั ชุมชน/พ้ืนที่ และมคี วามยั่งยืน
ทม่ี า : แผนพัฒนาจงั หวัดตรงั พ.ศ. 2566-2570
แผนพฒั นาการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 44
สว่ นท่ี 3
ทิศทางการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน
สำนกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาตรัง เขต 1
1. วสิ ัยทศั น์ (Vision)
สำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาตรงั เขต 1 เป็นองค์กรนวตั กรรมการศึกษา มุ่งพัฒนา
คณุ ภาพของผ้เู รยี น สู่สงั คมท่ียง่ั ยนื บนพ้นื ฐานหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
2. พันธกจิ (Mission)
1. จดั การศกึ ษาเพื่อเสรมิ สรา้ งความม่ันคงของสถาบนั หลักของชาติ และการปกครองในระบอบ
ประชาธิปไตย อนั มีพระมหากษตั ริย์ทรงเป็นประมุข
2. จัดการศกึ ษาให้ผเู้ รียน ครูและบคุ ลากรทางการศึกษา และสถานศึกษา ได้รบั ความปลอดภยั
จากภัยพิบัติ ภัยคุกคามทกุ รปู แบบ
3. สรา้ งโอกาส ความเสมอภาค ลดความเหล่อื มลำ้ ใหผ้ ้เู รียนทุกคนไดร้ บั บริการทางการศึกษา
อยา่ งทวั่ ถึง มคี ุณภาพ มมี าตรฐาน
4. พัฒนาศกั ยภาพและคณุ ภาพผู้เรียน ใหม้ ีสมรรถนะตามหลกั สตู รและคุณลกั ษณะในศตวรรษท่ี 21
เพอ่ื เพิม่ ขดี ความสามารถในการแข่งขัน
5. พฒั นาครูและบุคลากรทางการศึกษา ใหเ้ ป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ ทันต่อการเปลี่ยนแปลง
ของเทคโนโลยี มีสมรรถนะตามมาตรฐานตำแหนง่ และมาตรฐานวชิ าชพี รวมท้งั ประพฤติปฏบิ ัตติ นตาม
จรรยาบรรณและประมวลจริยธรรมข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา
6. จดั การศกึ ษาเพ่ือเป้าหมายการพัฒนาทยี่ ง่ั ยนื (Sustainable Development Goal : SDGs)
และพฒั นาคณุ ภาพชวี ิตทเี่ ป็นมติ รกบั สง่ิ แวดลอ้ ม โดยยึดหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
7. พัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การศึกษาของสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาและสถานศกึ ษา โดยใช้
หลักธรรมาภิบาลและระบบเทคโนโลยดี ิจิทลั
3. เปา้ ประสงค์ (Goal)
1. ผู้เรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา มีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดมั่นการปกครอง
ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข เป็นพลเมืองที่รู้สิทธิและหน้าที่ มีความรับผิดชอบ
มจี ิตสาธารณะ มีความรักและความภมู ิใจในความเป็นไทย
2. ผู้เรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา และสถานศึกษา ได้รับการดูแลให้มีความปลอดภัยจากภัย
9 รปู แบบ ไดแ้ ก่ ภยั ยาเสพติด ภัยความรุนแรง ภัยพิบัตติ า่ ง ๆ อุบัติเหตุ โรคอบุ ัติใหม่ ฝนุ่ PM 2.5 การค้ามนุษย์
การคุกคามในชีวิตและทรัพย์สิน รวมถึงอาชญากรรมไซเบอร์ สามารถปรับตัวต่อโรคอุบัติใหม่ โรคอุบัติซ้ำและ
รองรับวิถีชีวติ ใหม่ รวมถงึ สภาพแวดล้อมทเ่ี อือ้ ตอ่ การมีสขุ ภาวะท่ีดี
แผนพฒั นาการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 45
3. ผู้เรียนได้รับโอกาสทางการศึกษาที่เสมอภาค เหมาะสมกับศักยภาพ และเด็กกลุ่มเสี่ยงที่จะออกจาก
ระบบการศึกษา เด็กตกหล่น และเด็กออกกลางคันได้รับการช่วยเหลือให้ได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
4. ผู้เรียนมีสมรรถนะสำคัญตามหลักสูตร และคุณลักษณะในศตวรรษที่ 21 มีความสามารถ
ในการแข่งขนั
5. ครูและบุคลากรทางการศึกษา เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี
มีสมรรถนะตามมาตรฐานตำแหน่งและมาตรฐานวิชาชีพ รวมทั้งประพฤติปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณและ
ประมวลจริยธรรมขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
6. สถานศึกษาจัดการศึกษาโดยน้อมนำพระบรมราโชบายด้านการศึกษา มุ่งสร้างพื้นฐานให้ผู้เรียน
4 ด้าน ของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทร มหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว เพ่ือ
การบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals:SDGs) และจัดบรรยากาศที่เป็น
มิตรกับส่งิ แวดลอ้ ม โดยยดึ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
7. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษาบริหารจัดการโดยใช้หลักธรรมาภิบาล และระบบ
เทคโนโลยีดจิ ิทัลไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ
4. ตวั ชีว้ ัด (Key Performance Indiacator : KPI)
1. ร้อยละของผู้เรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรมแสดงออกถึงความรักในสถาบัน
หลัก ชาติ ศาสนาและพระมหากษตั ริย์
2. ร้อยละของผู้เรียน เป็นพลเมืองที่รู้สิทธิและหน้าที่ มีคุณธรรม จริยธรรม รับผิดชอบ มีจิตสาธารณะ
รักและภูมใิ จในความเป็นไทย
3. ร้อยละของผู้เรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรมการส่งเสริม สนับสนุน
ในการสร้างภูมิคุ้มกัน พร้อมรับมือกับภัยคุกคามแบบใหม่ทุกรูปแบบ และสามารถปรับตัวต่อโรคอุบัติใหม่
โรคอบุ ัติซ้ำ และรองรับวิถชี วี ติ ใหม่
4. ร้อยละของสถานศึกษาที่มีแผน/มาตรการ/กิจกรรมในการสร้างความตระหนักรู้ (Safety
Awareness) หรือทักษะในการรับมือด้านความปลอดภัย (Safety Action) ทุกรูปแบบ และมีการดำเนินการ
ตามแผน โดยร่วมมือกบั หน่วยงานภายนอกทเ่ี กี่ยวข้อง
5. ร้อยละของผูเ้ รียนในเขตพื้นทบ่ี รกิ าร ได้เข้าเรยี นในระดับการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน
6. รอ้ ยละของผูเ้ รียนท่เี รยี นต่อในระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น
7. ร้อยละของผเู้ รยี นทีเ่ ปน็ ผมู้ ีความสามารถพิเศษ ไดร้ ับการส่งเสรมิ ศกั ยภาพทเ่ี หมาะสม
8. ร้อยละของผูเ้ รียนที่เป็นผูพ้ ิการ ผ้ดู ้อยโอกาส ไดร้ บั การศึกษาท่เี หมาะสม ตามความจำเป็นและ
ศกั ยภาพของแต่ละบคุ คล
9. รอ้ ยละของเดก็ ออกกลางคัน เดก็ ตกหลน่ กลบั เข้าสู่ระบบการศึกษา หรอื ไดร้ บั การศกึ ษาด้วย
รูปแบบที่เหมาะสม
10. ร้อยละของสถานศึกษาท่ีใชเ้ ทคโนโลยดี ิจทิ ัลเพอ่ื การเรียนรู้ อยา่ งมคี ณุ ภาพ
แผนพฒั นาการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 46
11. ร้อยละของสถานศึกษา มีการนำข้อมูลสารสนเทศมาใช้ในการรับและให้บริการการศึกษา รวมถึง
การสง่ ตอ่ ผู้เรยี นอยา่ งเปน็ ระบบ
12. ร้อยละของผู้เรียนที่ได้รับการศึกษาในรูปแบบที่หลากหลาย เหมาะสมกับบริบทและศักยภาพของ
ผู้เรียนแตล่ ะบุคคล
13. ร้อยละของสถานศึกษาที่ได้รับการสนับสนุนทรัพยากร เพื่อเพิ่มโอกาสทางการศึกษาและได้รับ
การส่งเสรมิ การใช้เทคโนโลยีดิจทิ ัลเพื่อการเรียนรู้ ที่มีคณุ ภาพเหมาะสม
14. ร้อยละของเด็กปฐมวัยมีพัฒนาการสมวัย ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญา
15. ร้อยละของผู้เรียนได้รับการพัฒนาให้มีสมรรถนะ และทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21
16. ร้อยละของผู้เรียนที่ศึกษาต่อด้านการประกอบอาชีพ และการมีงานทำ ตามความต้องการและ
ความถนดั ของผ้เู รยี น
17. ร้อยละของสถานศึกษาที่มีการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) และมีการวัดและ
ประเมินผล เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน (Assessment For Learning) ด้วยวิธีการที่หลากหลายเพื่อ
สง่ เสริมการเรียนร้เู ป็นรายบุคคล (Personalized Learning)
18. ร้อยละของสถานศึกษาที่นอ้ มนำพระบรมราโชบายด้านการศึกษา ม่งุ สร้างพื้นฐานให้แกผ่ ้เู รยี น
ท้ัง 4 ด้าน โดยยึดหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
19. ร้อยละของสถานศกึ ษาที่จัดการเรยี นการสอนหรือจดั กิจกรรมเพื่อส่งเสริมพหุปัญญาของผเู้ รียน
โดยใชเ้ ครื่องมือคดั กรอง/สำรวจแวว/วัดความสามารถความถนัดของผเู้ รยี น
20. ร้อยละของสถานศึกษาทีจ่ ัดการศึกษาเพ่ือเสรมิ สร้างคณุ ภาพชีวติ และเปน็ มติ รกบั ส่งิ แวดล้อม
21. รอ้ ยละของครู ทไ่ี ด้รบั การส่งเสริมและพัฒนาให้สามารถจัดการเรียนรเู้ ชงิ รุก (Active Learning)
ให้กับผ้เู รยี นทุกระดบั ช้นั
22. รอ้ ยละของครภู าษาองั กฤษ ไดร้ บั การพัฒนาและยกระดับความรแู้ ละทักษะการจดั การเรียนรู้
ภาษาอังกฤษ ตามมาตรฐานทางภาษา CEFR
23. รอ้ ยละของสถานศึกษาท่ีไดจ้ ัดทำหลักสตู รสถานศึกษา ตามบริบทของแตล่ ะพ้ืนที่
24. ร้อยละของสถานศึกษาที่ได้รบั การพัฒนาคณุ ภาพการจัดการศึกษาปฐมวยั ตามมาตรฐาน
สถานศกึ ษาพฒั นาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ
25. สำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษา และร้อยละของสถานศึกษามีการพัฒนาบรหิ ารจดั การและ
การใหบ้ ริการการศึกษาด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล
26. สำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษา และร้อยละของสถานศกึ ษา ทส่ี ง่ เสริมการมสี ว่ นร่วมกบั ชมุ ชน/
หน่วยงาน/องค์กร/บคุ คลภายนอก ในการบรหิ ารจดั การและการใหบ้ ริการการศึกษา
27. รอ้ ยละของสถานศึกษาทม่ี ีผลการประกันคณุ ภาพภายใน ระดบั ดขี ึ้นไป
28. สำนกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษา และร้อยละของสถานศึกษาที่ใช้นวัตกรรมในการบริหารจัดการศกึ ษา
และการเรียนการสอน
29. สำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษา และร้อยละของสถานศกึ ษาบรหิ ารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล
ผ่านเกณฑ์การประเมนิ ITA ระดับ A ข้ึนไป