แผนพัฒนาการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 47
แผนพฒั นาการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 48
กลยทุ ธ์ที่ 2 เพ่ิมโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาให้กบั ประชากรวัยเรียน
แนวทาง/มาตรการ
1. จัดทำระบบข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียนระดับปฐมวัย และการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นรายบุคคล
เป็นฐานข้อมูลในการบริหารจัดการศึกษา รวมทั้งบูรณาการและเชื่อมโยงฐานข้อมูลกับหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง
เพ่ือดแู ลและปอ้ งกันไม่ให้ผู้เรียนออกจากระบบการศึกษา
2. จัดการศึกษาให้ผู้เรียนที่มีความสามารถพิเศษ ได้รับโอกาสในการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ
3. ส่งเสริม สนับสนุนเด็กพิการและเด็กด้อยโอกาส มีโอกาสได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพ มีทักษะชีวิต
ทักษะวิชาการ และทักษะวิชาชีพ สอดคล้องกับความต้องการจำเป็น สามารถพึ่งตนเองได้ตามศักยภาพ
ของแตล่ ะบุคคล
4. พัฒนารูปแบบและวิธีการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล สิ่งอำนวยการความสะดวก
สื่อบริการและความช่วยเหลืออื่นใดทางการศึกษา รวมทั้งกระบวนการวัดและประเมินผลที่เหมาะสม
กบั การพัฒนาศักยภาพของเดก็ พิการ
5. ใช้ระบบแพลตฟอร์มในการส่งต่อ ติดตามและค้นหานักเรียน เพื่อช่วยเหลือเด็กตกหล่น
เด็กออกกลางคันใหก้ ลบั เขา้ สู่ระบบการศกึ ษา หรอื ไดร้ บั การศึกษาด้วยรปู แบบท่ีเหมาะสม
6. กำหนดแนวทาง และกระบวนการในการส่งต่อนักเรียนให้ได้รับการศึกษาในระดับที่สูงขึ้น หรือ
มที กั ษะอาชพี ในการดำรงชวี ติ
7. สนับสนุน ส่งเสริมการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยบุคคล ครอบครัว (Home School)
องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ และสถานประกอบการในศูนย์การเรียน ตามมาตรา 12
แห่งพระราชบญั ญัตกิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542
8. จัดการศึกษาทางเลือกและการศึกษาตลอดชีวิต (Lifelong Learning) ที่หลากหลายให้กับ
ผู้เรียนกลุ่มเป้าหมายพิเศษ และกลุ่มเปราะบาง ในการเข้าถึงการศึกษา การเรียนรู้ และมีพื้นฐานการประกอบ
อาชีพหรอื ทักษะอาชพี อย่างเทา่ เทียม
9. ส่งเสริม สนับสนุนการมีส่วนร่วมของสังคมอย่างต่อเนื่อง ประสานงานกับหน่วยงานอื่น ๆ
ท่ีเก่ยี วขอ้ ง และระดมทรพั ยากรเพื่อลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา
กลยทุ ธ์ที่ 3 ยกระดับคุณภาพการศกึ ษา ให้สอดคล้องกับการเปลย่ี นแปลงในศตวรรษที่ 21
แนวทาง/มาตรการ
ดา้ นคุณภาพผู้เรยี น
1. จัดการศึกษาระดับปฐมวัย ให้มีพัฒนาการสมวัย ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและ
สตปิ ญั ญา
2. จัดการศึกษาให้ผู้เรียนทุกช่วงวัย ได้มีการพัฒนาด้านสมรรถนะ และทักษะที่จำเป็น
ในศตวรรษที่ 21
3. จัดการศึกษาเพื่อการศึกษาต่อด้านอาชีพ การประกอบอาชีพและการมีงานทำ ตามความ
ต้องการและความถนดั ของผูเ้ รยี น
แผนพฒั นาการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 49
4. ส่งเสริม สนับสนุนสถานศึกษาจัดการศึกษาให้ผู้เรียนมีความรู้ มีทักษะการเรียนรู้ และทักษะ
ที่จำเป็นในศตวรรษท่ี 21 อย่างครบถว้ น เป็นคนดี มีวนิ ัย มีความรกั ในสถาบันหลักของชาติ ยดึ ม่นั การปกครอง
ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และน้อมนำพระบรมราโชบายด้านการศึกษาของ
พระบาทสมเดจ็ พระวชริ เกล้าเจา้ อยู่หวั สู่การปฏิบัติ
5. พัฒนาและส่งเสริมผู้เรียน ให้ได้รับการพัฒนาพหุปัญญารายบุคคล โดยมีเครื่องมือคัดกรอง/
สำรวจแวว/วัดความสามารถความถนัด และสถานศึกษาจัดการเรียนรู้ที่หลากหลายตอบสนองความแตกต่าง
ทางพหุปัญญาของผู้เรียน โดยครูออกแบบการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ สอดคล้องตามบริบทและ
วัฒนธรรม คำนึงถึงความแตกต่างของแต่ละบุคคลตามความถนัด ความสนใจ ส่งผลต่อการพัฒนาผู้เรียน
ใหเ้ ต็มตามศกั ยภาพ
6. จัดการศึกษาตามขีดความสามารถของผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐาน ความถนัดและศักยภาพของ
แตล่ ะบุคคล วางรากฐานการศกึ ษาเพื่ออาชีพใหส้ อดคลอ้ งกบั บริบทพื้นท่ี ความต้องการของตลาดแรงงานและ
การพัฒนาประเทศ
7. พัฒนาผู้เรียนใหม้ ีสมรรถนะทักษะด้านการอ่าน คณิตศาสตร์ การคิดขั้นสงู นวัตกรรม วิทยาศาสตร์
เทคโนโลยดี จิ ิทลั และภาษาตา่ งประเทศ เพ่อื เพม่ิ ขีดความสามารถในการแขง่ ขนั สมรรถนะดา้ นการคดิ
ทักษะชีวิต เทคโนโลยีการสื่อสาร การแก้ไขปัญหา เชื่อมโยงสู่อาชีพการมีงานทำและมีทักษะอาชีพ
ที่สอดคลอ้ งกบั ความต้องการของประเทศ
8. ส่งเสริม พัฒนาทักษะด้านดิจิทัลและด้านการเรยี นรู้ของผู้เรียน ที่นำไปสู่ Digital Life & Learning
9. ส่งเสริมให้นักเรียนนำความรู้ด้านเทคโนโลยีมาใช้ในชีวิตประจำวัน และหารายได้ระหว่างเรียน
10. ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษาจัดการศึกษา เพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม
ด้านคุณภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
11. ส่งเสริมให้ครูสามารถจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) และเป็นผู้สร้างสรรค์นวัตกรรม
(Co-creation) ใหก้ บั ผเู้ รียนในทุกระดบั ชัน้
12. พัฒนาศักยภาพครูในด้านการวัดและประเมินผลเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน (Assessment
For Learning) ด้วยวิธีการที่หลากหลาย เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้เป็นรายบุคคล (Personalized Learning)
เช่น การอบรมเชิงปฏิบัติการแบบ Intensive Training การอบรมแบบออนไลน์ (Online Training) การอบรม
แบบเรียนรดู้ ้วยตนเอง (e-learning) เปน็ ต้น
13. ส่งเสริม สนับสนุนครูและบุคลากรทางการศึกษา เข้ารับการพัฒนาให้มีสมรรถนะตามมาตรฐาน
ทางวชิ าชพี มาตรฐานตำแหน่งอย่างตอ่ เนอื่ ง
14. ส่งเสริม สนับสนุนให้ครูผู้สอนภาษาอังกฤษ ได้รับการพัฒนาและยกระดับความรู้ และทักษะ
การจดั การเรยี นรภู้ าษาองั กฤษ ตามกรอบมาตรฐานทางภาษา CEFR
แผนพัฒนาการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 50
ดา้ นหลกั สตู รและอื่น ๆ
15. พัฒนาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย และหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้เหมาะสม
กับบรบิ ทของสถานศกึ ษาในแต่ละพ้ืนที่
16. พัฒนาคุณภาพการจัดการศกึ ษาปฐมวัยตามมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแหง่ ชาติ
กลยทุ ธท์ ่ี 4 เพ่มิ ประสิทธิภาพการบรหิ ารจดั การศกึ ษา
แนวทาง/มาตรการ
1. พัฒนาระบบสารสนเทศในหน่วยงานทกุ ระดับ ให้มีระบบข้อมูลจัดการและรายงาน (ปพ. Online/
ระบบรายงานผลต่อพระราชบัญญัติอำนวยความสะดวก/พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล/ระบบ
สารสนเทศเพอ่ื การบริหารจดั การของสถานศกึ ษา/ สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษา (นกั เรียน ครูและบคุ ลากร
ทางการศกึ ษา สถานศกึ ษา (อาคาร ครุภัณฑ์))/ด้านบคุ ลากร) และการใหบ้ รกิ ารอน่ื ๆ
2. พัฒนาระบบพื้นฐานทางเทคโนโลยีให้ครอบคลุม (การให้ความช่วยเหลือด้านเทคโนโลยีพื้นฐาน
พัฒนาบุคลากรให้มีทักษะพื้นฐานด้านเทคโนโลยี การใช้โครงข่ายอินเทอร์เน็ต การใช้อุปกรณ์ด้าน ICT และ
การพฒั นา Software) อยา่ งคมุ้ คา่ และมปี ระสทิ ธิภาพสงู สดุ
3. สร้าง พัฒนาและส่งเสริมการใช้ระบบบริหารด้านการจัดการศึกษาพื้นฐานที่ดี สำหรับสถานศึกษา
ใหเ้ ปน็ ระบบเดียวเพอ่ื ลดภาระงานครู ลดความซำ้ ซอ้ นของระบบงานและการจดั เก็บข้อมลู
4. จัดหาอุปกรณ์ เทคโนโลยี เพียงพอต่อความต้องการดำเนินงานของสถานศกึ ษา
5. นำระเบียบ กฎหมาย แนวปฏิบัติให้สอดคล้องกับการดำเนินงานที่เกี่ยวกับการบริหารจัดการ
ด้วยเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั
6. พัฒนาผู้บริหารสถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้มีความรู้ด้านเทคโนโลยีที่สอดคล้อง
กบั Digital Literacy และสมรรถนะครใู นทุกด้าน
7. ส่งเสรมิ สนบั สนนุ ทุกภาคสว่ นให้มีสว่ นรว่ มในการบริหารจัดการ และการใหบ้ รกิ ารการศกึ ษาให้เกิด
ประสิทธิภาพสงู สดุ เชน่ การสนบั สนนุ ทรพั ยากร บุคลากร งบประมาณ เปน็ ตน้
8. เพมิ่ ความเข้มแขง็ ของระบบนิเทศการศึกษา และระบบประกันคณุ ภาพภายใน
9. ส่งเสริมการพัฒนานวัตกรรมที่ใช้ในการบริหารจัดการศึกษา และการจัดการเรียนการสอน
10. พัฒนาผู้บริหารสถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีคุณธรรม จริยธรรมและ
การปฏิบัตงิ านตามหลักธรรมาภบิ าล
11. พัฒนาสำนกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาและสถานศึกษา ให้เปน็ ไปตามหลกั เกณฑ์ ITA
12. สนับสนนุ ส่งเสริมพฒั นาโรงเรียนคุณภาพ โรงเรียนที่สามารถดำรงอยู่ได้ (Stand Alone)
ให้บรหิ ารจัดการศกึ ษา และใช้ทรพั ยากรร่วมกนั อย่างมคี ณุ ภาพ สอดคลอ้ งกบั บริบทพ้นื ท่ี
แผนพฒั นาการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 51
จดุ เน้นของสำนักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาตรัง เขต 1 ประจำปีงบประมาณ
พ.ศ. 2566 ดงั น้ี
1.ด้านความปลอดภยั
1. จดั การศึกษาเพ่ือเสริมสรา้ งความม่นั คงของสถาบนั หลกั ของชาติ
2. พฒั นาสำนกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษา และสถานศกึ ษาให้เปน็ พื้นทปี่ ลอดภัย และเปน็ มิตรกบั
สง่ิ แวดลอ้ ม
ตวั ช้วี ดั
1. รอ้ ยละ 100 ของผูเ้ รยี น ครูและบุคลากรทางการศึกษาทเี่ ขา้ ร่วมกจิ กรรมแสดงออกถงึ ความรัก
ในสถาบันหลกั ของชาติ
2. สำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาและร้อยละ 100 ของสถานศกึ ษา บรหิ ารจัดการให้มคี วามปลอดภัย
จากภัยคุกคาม 9 รูปแบบ
3. สำนกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษา และร้อยละ 80 ของสถานศึกษา มนี โยบายและจัดกจิ กรรมใหค้ วามรู้
ที่ถกู ต้อง สรา้ งจิตสำนึกด้านการผลิตและบรโิ ภค ทเี่ ป็นมิตรกบั ส่ิงแวดล้อม
แนวทาง/มาตรการ
สถานศึกษาและกลุ่มโรงเรียน
1. การจัดการเรยี นรตู้ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
2. จดั การเรียนรวู้ ิชาประวตั ิศาสตร์ หน้าที่พลเมือง
3. จัดกิจกรรมสภานักเรยี น กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี กิจกรรมการต่อต้านยาเสพตดิ
4. จัดสถานศกึ ษาให้เป็นพน้ื ท่ีปลอดภยั เอื้อต่อการจดั การเรียนรู้
สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษา
1. จดั กจิ กรรมในสำนกั งานและเขา้ รว่ มกิจกรรมวันสำคัญตา่ ง ๆ
2. ปฏบิ ัติตามมาตรการดา้ นความปลอดภัยต่าง ๆ อย่างเคร่งครัด
3. สรา้ งจติ สำนกึ ดา้ นการผลิตและบรโิ ภค ทีเ่ ปน็ มิตรกบั สง่ิ แวดลอ้ ม
4. สนบั สนุน ส่งเสรมิ พฒั นา รณรงค์ใหม้ ีการจดั ซ้ือจัดจา้ ง ท่เี ปน็ มติ รกับสิ่งแวดลอ้ ม
2. ดา้ นโอกาส
3. แกป้ ญั หาการเรียนรู้ พฤตกิ รรม ความเครยี ด และสขุ ภาพจิตของผูเ้ รยี น
4. สร้างความเขม้ แข็งระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรียน
ตวั ชว้ี ดั
1. รอ้ ยละ 90 ของผเู้ รยี นไดร้ ับการแกไ้ ขภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ (Learning Loss) ไดร้ บั
การฟ้นื ฟดู ้านสขุ ภาพจิต
2. ร้อยละ 100 ของเด็กออกกลางคนั เด็กตกหลน่ ไดก้ ลบั เข้าสรู่ ะบบการศึกษา
แผนพัฒนาการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 52
3. รอ้ ยละ 100 ของสถานศึกษา มรี ะบบการดูแลชว่ ยเหลอื นักเรียน ท่ีมีประสทิ ธิภาพ
แนวทาง/มาตรการ
1. สง่ เสรมิ โอกาสทางการศึกษาของประชากรวัยเรียน ได้เขา้ เรียนจนจบการศกึ ษาภาคบังคบั
2. ติดตามเด็กออกกลางคัน เด็กตกหล่น ใหก้ ลบั เขา้ สูร่ ะบบการศึกษา ไดร้ บั การศกึ ษาที่มคี ุณภาพ
3. สง่ เสริมการใชร้ ะบบการดูแลช่วยเหลือนกั เรยี นใหเ้ ขม้ แขง็ และมปี ระสทิ ธภิ าพ
3. ด้านคณุ ภาพ
5. พัฒนาการจัดการศกึ ษาระดบั ปฐมวัยให้มคี ณุ ภาพ
6. ใช้หลกั สตู รการเรียนรู้ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ประวตั ิศาสตร์ และหนา้ ท่พี ลเมอื ง
7. สง่ เสริมการจัดการเรยี นรเู้ ชิงรุก (Active Learning) และการวัดประเมนิ ผล เพ่อื พฒั นา
สมรรถนะของผเู้ รยี น (Assessment for Learning) รวมทัง้ ยกระดบั ผลการประเมนิ คุณภาพผู้เรยี น
8. พฒั นาครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้มสี มรรถนะตามมาตรฐานตำแหน่งและมาตรฐาน
วชิ าชพี
ตวั ชวี้ ดั
1. ร้อยละ 95 ของเด็กปฐมวัยมีพฒั นาการสมวยั ทงั้ ดา้ นร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สงั คม
และสติปญั ญา
2. ร้อยละ 100 ของสถานศึกษา จัดการเรียนรเู้ ชิงรกุ (Active Learning)
3. ร้อยละ 100 ของครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา ทไ่ี ด้รบั การสง่ เสริมและพฒั นาให้มีสมรรถนะ
ตามมาตรฐานวิชาชพี
4. ร้อยละ 90 ของครูภาษาอังกฤษ ได้รับการพัฒนาและยกระดับความรู้และทักษะการจัดการเรียนรู้
ภาษาองั กฤษ ตามมาตรฐานทางภาษา CEFR
แนวทาง/มาตรการ
1. พัฒนาครูด้านการออกแบบการเรียนรู้ และจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับการวัดประเมินผล
ผ่านกจิ กรรมการปฏิบตั จิ รงิ (Active Learning)
2. พัฒนาครูด้านเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Platfrom) ด้านภาษาอังกฤษ และภาษาคอมพิวเตอร์
(Coding)
3. พัฒนาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา ในการจดั การเรียนรู้ และความคดิ สรา้ งสรรค์ ตลอดจน
การใชช้ วี ิตในสังคมยคุ ชีวติ วถิ ีใหม่ (New Normal)
4. ส่งเสริม สนับสนุนครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ มีสมรรถนะ
ตามมาตรฐานวชิ าชีพ
แผนพัฒนาการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 53
4. ด้านประสิทธภิ าพ
9. ใช้เทคโนโลยีดจิ ทิ ัล เพื่อการเรยี นรู้และการบรหิ ารจัดการ
10. บรหิ ารจดั การตามหลักธรรมาภิบาล
11. เพม่ิ ความเข้มแขง็ ระบบนเิ ทศการศึกษา และระบบประกันคุณภาพ
ตวั ชี้วัด
1. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาใช้แพลตฟอร์ม ดิจิทัล (Digital Platform) และเทคโนโลยีดิจิทัล
(Digital Technology) ในการบริหารจดั การศึกษา อยู่ในระดบั มาก
2. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล ด้วยความโปร่งใส ปลอดการทุจริต
และประพฤติมิชอบ เข้ารับการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ
(Integrity& Transparency Assessent : ITA) มีผลการประเมนิ อยู่ในระดับ A ขนึ้ ไป
3. ร้อยละ 100 ของโรงเรียนคุณภาพชุมชน และโรงเรียน Stand Alone ได้รับการพัฒนาและ
สนบั สนุนดา้ นทรัพยากรอยา่ งเพยี งพอ
4. นเิ ทศ ตดิ ตาม ประเมนิ ผลการบริหารจัดการของสถานศึกษา รอ้ ยละ 100
แนวทาง/มาตรการ
1. สำนกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาบริหารจดั การโดยใชแ้ พลตฟอรม์ ดิจิทัล (Digital Platform) และ
เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology)
2. สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาบรหิ ารจัดการท่ีมุ่งเนน้ คณุ ธรรม และความโปร่งใสในการทำงาน
(Integrity&Transparency Assessmen:ITA)
3. สง่ เสริม สนบั สนนุ โรงเรยี นคณุ ภาพชมุ ชน โรงเรยี นขนาดเล็ก และโรงเรียนทีส่ ามารถดำรงอยไู่ ด้
(Stand Alone) ให้มีคณุ ภาพอยา่ งยั่งยืน
4. กำหนดรปู แบบ แนวทางและวิธีการเพ่ือการนเิ ทศ ติดตามมีประสิทธภิ าพ
ค่านยิ มองคก์ ร ผงั ความเชอื่ มโยงสาระสำคัญของแผนพัฒนาการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน (พ.ศ. 2566 – 2570) แผนพัฒนาการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 54
บริการดเี ย่ยี ม เปยี่ มคณุ ธรรม นำองคก์ รสู่ความเปน็ เลิศ
วสิ ัยทัศน์ สำนกั งานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาตรัง เขต 1 เปน็ องค์กรนวัตกรรมการศึกษา มุ่งพัฒนาคณุ ภาพของผ้เู รียน สูส่ งั คมท่ียงั่ ยืน บนพ้นื ฐานหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
พนั ธกิจ 1.จัดการศึกษาเพ่อื เสริมสร้าง 2.จัดการศึกษาใหผ้ ู้เรียน ครู 3. สร้างโอกาสความเสมอภาค 4. พฒั นาศักยภาพและ 5. พฒั นาครแู ละบุคลากร 6. จัดการศึกษาเพือ่ เปา้ หมาย 7. พัฒนาระบบการ
ความมนั่ คงของสถาบันหลัก และบุคลากรทางการศกึ ษา ลดความเหล่อื มลำ้ ให้ผเู้ รียน คณุ ภาพผู้เรยี น ให้มี ทางการศกึ ษา ให้เป็นบคุ คล การพฒั นาท่ียั่งยืน บรหิ ารจัดการศกึ ษา
เป้าประสงค์ ของชาติ และการปกครอง และสถานศกึ ษา ได้รับ ทกุ คนได้รับบรกิ าร สมรรถนะตามหลักสูตรและ แห่งการเรียนรู้ ทนั ต่อการ (Sustainable Development ของเขตพน้ื ท่ี
ในระบอบประชาธิปไตย อันมี ความปลอดภัยจากภยั พบิ ัติ ทางการศกึ ษาอย่างทวั่ ถึง คุณลักษณะในศตวรรษท่ี 21 เปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยี Goals : sDGs) และพฒั นา การศกึ ษา โดยใช้
กลยทุ ธ์ พระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมขุ ภัยคกุ คามทกุ รูปแบบ มีคุณภาพ มมี าตรฐาน เพอื่ เพิม่ ขีดความสามารถ มีสมรรถนะตามมาตรฐาน คณุ ภาพชีวติ ทีเ่ ป็นมิตรกบั หลักธรรมาภิบาลและ
จุดเน้น ในการแข่งขัน ตำแหน่งและมาตรฐานวิชาชีพ สง่ิ แวดล้อม โดยยึดหลกั ระบบเทคโนโลยดี จิ ิทลั
การดำเนินงาน ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
1.ผู้เรยี น ครู และบุคลากร 2.ผเู้ รียน ครู และบุคลากร 3.ผเู้ รียนได้รับโอกาสทางการศกึ ษา แ 5.ครูและบคุ ลากรทางการศึกษา 6.สถานศึกษาจดั การ 7.สำนกั งาน
ทางการศกึ ษา มคี วามรัก ทางการศึกษา และสถานศึกษา ทเี่ สมอภาค เหมาะสมกับศกั ยภาพ เปน็ บคุ คลแห่งการเรียนรู้ ทันต่อ ศกึ ษา โดยน้อมนำ เขตพ้ืนท่กี ารศึกษา
ในสถาบนั หลกั ของชาตแิ ละ ไดร้ บั การดูแลให้มคี วามปลอดภยั เดก็ กลมุ่ เส่ียงท่ีจะออกจากระบบ 4. ผ้เู รียนมีสมรรถนะ การเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยี พระบรมราโชบาย และสถานศึกษา
ยึดมนั่ การปกครองระบอบ จากภัย 9 รปู แบบ สามารถปรับตวั การศึกษา เด็กตกหล่น และเดก็ มีสมรรถนะตามมาตรฐานตำแหน่ง ด้านการศกึ ษา 4 ดา้ น บริหารจดั การโดย
ประชาธปิ ไตย ตอ่ โรคอบุ ัติใหม่ โรคอบุ ตั ิซ้ำ และ ออกกลางคนั ไดร้ ับการชว่ ยเหลอื กสำคัญตามหลักสูตรและ และมาตรฐานวชิ าชพี ปฏบิ ตั ิตน ของพระวชริ เกลา้ ใชห้ ลกั ธรรมาภิบาล
รองรับวถิ ชี วี ติ ใหม่ มสี ุขภาวะท่ีดี ใหไ้ ดร้ ับการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน อิคณุ ลกั ษณะในศตวรรษ ตามจรรยาบรรณและจรยิ ธรรม เจา้ อยู่หวั ฯ ให้บรรลุ
เป้าหมายอยา่ งย่ังยืน และระบบ
ท่ี 21 มคี วามสามารถ เป็นมิตรกับส่งิ แวดลอ้ ม เทคโนโลยีดิจิทัล
ในการแข่งขนั
กลยุทธ์ที่ 1 สง่ เสรมิ การจัดการศกึ ษาเพ่ือสรา้ ง กลยุทธ์ท่ี 2 เพิ่มโอกาสและความเสมอภาค กลยุทธท์ ่ี 3 ยกระดับคุณภาพการศกึ ษา ให้สอดคลอ้ งกับการเปลย่ี นแปลงในศตวรรษที่ 21 กลยุทธท์ ี่ 4 เพ่ิมประสทิ ธภิ าพ
ความมนั คงสถาบนั หลักของชาติ และเพอ่ื ให้ ทางการศึกษา ให้กับประชากรวัยเรยี น การบริหารจัดการศกึ ษา
ผู้เรียนมคี วามปลอดภัยทุกรปู แบบ
ด้านความปลอดภยั ด้านโอกาส ดา้ นคุณภาพ ด้านประสิทธิภาพ
แผนพัฒนาการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 55
สว่ นที่ 4
การนำแผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐานสกู่ ารปฏบิ ตั ิ
4.1 ตารางการเชอื่ มโยงเปา้ ประสงค์ กลยุทธ์ และตัวช้ีวัดความสำเรจ็
เปา้ ประสงค์ กลยทุ ธ์ ตวั ชวี้ ัด
ตวั ชี้วัดท่ี 1 ร้อยละของผเู้ รยี น ครู
เป้าประสงค์ท่ี 1 ผู้เรยี น ครแู ละ กลยุทธท์ ี่ 1 ส่งเสริมการ และบคุ ลากรทางการศึกษาที่เข้ารว่ ม
บคุ ลากรทางการศึกษา มีความรกั จดั การศึกษาเพือ่ สร้าง กิจกรรมแสดงออกถงึ ความรัก
ในสถาบันหลักของชาติ และยึดม่ัน ความมั่นคงสถาบันหลัก ในสถาบันหลัก ชาติ ศาสนา และ
พระมหากษัตริย์
การปกครองระบอบประชาธิปไตย ของชาติ และเพ่ือใหผ้ ู้เรียน ตวั ชว้ี ัดท่ี 2 ร้อยละของผู้เรียนเป็น
พลเมืองทร่ี ้สู ทิ ธิและหน้าท่ี มีคณุ ธรรม
อนั มีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเปน็ ประมขุ มคี วามปลอดภัยจากภัย จริยธรรม รบั ผดิ ชอบ มจี ิตสาธารณะ
เป็นพลเมืองทร่ี ูส้ ิทธแิ ละหนา้ ท่ี ทกุ รูปแบบ รักและภูมิใจในความเป็นไทย
ตัวชว้ี ดั ท่ี 3 ร้อยละของผู้เรยี น ครู
มคี วามรับผดิ ชอบ มจี ิตสาธารณะ และบคุ ลากรทางการศึกษาท่ีเขา้ รว่ ม
มีความรักและความภูมใิ จ กจิ กรรมการส่งเสรมิ สนบั สนนุ
ในความเป็นไทย ในการสรา้ งภมู ิคุ้มกัน พร้อมรับมอื
กบั ภัยคกุ คามแบบใหม่ทุกรูปแบบ
เปา้ ประสงคท์ ี่ 2 ผู้เรียน ครูและ
และสามารถปรับตัวต่อโรคอุบตั ิใหม่
บคุ ลากรทางการศึกษา และ
โรคอบุ ตั ิซำ้ และรองรบั วิถีชวี ิตใหม่
สถานศกึ ษา ได้รับการดแู ลให้มี ตวั ชว้ี ดั ที่ 4 ร้อยละของสถานศึกษา
ท่มี ีแผน/มาตรการ/กิจกรรม
ความปลอดภัยจากภัย 9 รูปแบบ
ในการสรา้ งความตระหนักรู้ (Safety
ไดแ้ ก่ ภัยยาเสพติด ภยั ความรนุ แรง Awareness) หรือทักษะในการรบั มอื
ภยั พบิ ตั ติ ่าง ๆ อบุ ัตเิ หตุ โรคอบุ ัตใิ หม่ ด้านความปลอดภยั (Safety Action)
ฝุน่ PM 2.5 การค้ามนุษย์ การคกุ คาม ทุกรูปแบบ และมีการดำเนนิ การ
ตามแผน โดยรว่ มมือกบั หน่วยงาน
ในชีวติ และทรพั ยส์ นิ รวมถึง
ภายนอกทเี่ กี่ยวขอ้ ง
อาชญากรรมไซเบอร์ สามารถปรบั ตัว
ตอ่ โรคอุบตั ิใหม่ โรคอบุ ัติซำ้ และ
รองรับวิถีชีวติ ใหม่ รวมถงึ
สภาพแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อการมี
สุขภาวะทดี่ ี
แผนพฒั นาการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 56
เป้าประสงค์ กลยทุ ธ์ ตัวช้วี ัด
เปา้ ประสงคท์ ี่ 1 ผเู้ รยี นได้รับโอกาส กลยุทธ์ที่ 2 เพิ่มโอกาสและ ตวั ชว้ี ัดที่ 1 ร้อยละของผู้เรียน
ทางการศึกษาทเ่ี สมอภาค เหมาะสม ความเสมอภาคทางการศึกษา ในเขตพนื้ ท่ีบรกิ าร ไดเ้ ข้าเรยี นในระดับ
กับศกั ยภาพ และเดก็ กลุ่มเสีย่ งที่จะ
ออกจากระบบการศกึ ษา เด็กตกหล่น ใหก้ บั ประชากรวยั เรียน การศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน
และเด็กออกกลางคัน ได้รบั การ ตัวชวี้ ดั ที่ 2 ร้อยละของผู้เรียนทเี่ รียน
ชว่ ยเหลอื ใหไ้ ด้รบั การศึกษาข้ันพน้ื ฐาน ตอ่ ในระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น
ตวั ชีว้ ดั ท่ี 3 ร้อยละของผเู้ รียนทเี่ ป็น
ผมู้ ีความสามารถพเิ ศษ ไดร้ ับการ
สง่ เสริมศกั ยภาพทเ่ี หมาะสม
ตัวชว้ี ดั ที่ 4 ร้อยละของผู้เรียนท่ีเป็น
ผพู้ กิ าร ผูด้ อ้ ยโอกาส ได้รบั การศกึ ษา
ท่ีเหมาะสม ตามความจำเป็นและ
ศกั ยภาพของแต่ละบุคคล
ตัวชวี้ ัดที่ 5 ร้อยละของเด็กออก
กลางคนั เด็กตกหล่นกลบั เข้าสู่
ระบบการศึกษาหรอื ไดร้ ับการศกึ ษา
ดว้ ยรปู แบบท่ีเหมาะสม
ตวั ช้ีวัดท่ี 6 ร้อยละของสถานศกึ ษา
ทใ่ี ชเ้ ทคโนโลยดี ิจทิ ัลเพ่ือการเรียนรู้
อย่างมีคณุ ภาพ
ตัวชว้ี ดั ท่ี 7 ร้อยละของสถานศึกษา
มกี ารนำข้อมูลสารสนเทศมาใช้ในการ
รบั และให้บรกิ ารการศึกษา รวมถงึ
การสง่ ตอ่ ผ้เู รียนอยา่ งเป็นระบบ
ตัวชว้ี ดั ที่ 8 ร้อยละของผ้เู รียนทไ่ี ด้รับ
การศึกษาในรูปแบบท่หี ลากหลาย
เหมาะสมกบั บริบทและศักยภาพของ
ผูเ้ รียนแต่ละบุคคล
ตวั ช้ีวดั ที่ 9 ร้อยละของสถานศึกษา
ทไ่ี ด้รบั การสนับสนุนทรัพยากร เพ่ือ
เพม่ิ โอกาสทางการศึกษาและไดร้ ับ
การสง่ เสริมการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล
เพื่อการเรยี นรู้ ท่ีมีคณุ ภาพเหมาะสม
แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 57
เป้าประสงค์ กลยุทธ์ ตวั ช้ีวัด
เป้าประสงคท์ ี่ 1 ผู้เรียนมสี มรรถนะ กลยทุ ธท์ ี่ 3 ยกระดบั คุณภาพ ตัวช้ีวัดที่ 1 ร้อยละของเด็กปฐมวัย
สำคัญตามหลกั สตู ร และคุณลกั ษณะ การศึกษา ใหส้ อดคลอ้ งกบั มพี ฒั นาการสมวัย ทงั้ ดา้ นรา่ งกาย
ในศตวรรษท่ี 21 มีความสามารถ
ในการแข่งขนั การเปลย่ี นแปลงในศตวรรษ อารมณ์ จิตใจ สงั คมและสตปิ ัญญา
เป้าประสงค์ที่ 2 ครแู ละบุคลากร ที่ 21 ตวั ช้วี ัดที่ 2 ร้อยละของผ้เู รยี นได้รับ
ทางการศึกษา เป็นบคุ คลแห่งการ การพัฒนาให้มีสมรรถนะ และทกั ษะ
เรยี นรู้ ทันต่อการเปลย่ี นแปลงของ
เทคโนโลยี มสี มรรถนะตามมาตรฐาน ทจ่ี ำเปน็ ในศตวรรษที่ 21
ตำแหนง่ และมาตรฐานวิชาชีพ ตัวชว้ี ดั ที่ 3 ร้อยละของผู้เรยี นที่ศึกษา
รวมทง้ั ประพฤตปิ ฏิบัติตนตาม ตอ่ ดา้ นการประกอบอาชพี และการมี
จรรยาบรรณและประมวลจรยิ ธรรม
ขา้ ราชการครแู ละบุคลากร งานทำ ตามความต้องการและ
ทางการศกึ ษา ความถนัดของผู้เรยี น
เป้าประสงคท์ ่ี 3 สถานศกึ ษา ตัวชี้วัดท่ี 4 ร้อยละของสถานศกึ ษา
จัดการศกึ ษาโดยนอ้ มนำพระบรม ทีม่ ีการจัดการเรียนรเู้ ชงิ รกุ (Active
ราโชบายดา้ นการศึกษา มุ่งสรา้ ง Learning) และมีการวดั และ
พืน้ ฐานใหผ้ ู้เรยี น 4 ดา้ น ของ
พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทร ประเมนิ ผล เพอ่ื พฒั นาการเรียนรูข้ อง
รามาธบิ ดีศรสี ินทร มหาวชริ าลงกรณ
พระวชิรเกลา้ เจา้ อยูห่ ัว เพ่อื การบรรลุ ผู้เรียน (Assessment For Learning)
เป้าหมายการพฒั นาทยี่ ่งั ยืน ดว้ ยวธิ ีการทหี่ ลากหลายเพ่ือส่งเสริม
(Sustainable Development
Goal:SDGs) และ จัดบรรยากาศที่ การเรียนร้เู ป็นรายบคุ คล
เป็นมติ รกับส่งิ แวดล้อม โดยยึดหลกั
ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง (Personalized Learning)
ตวั ชว้ี ดั ที่ 5 ร้อยละของสถานศกึ ษา
ที่นอ้ มนำพระบรมราโชบายด้าน
การศกึ ษา มงุ่ สรา้ งพนื้ ฐานให้แกผ่ ูเ้ รยี น
ทง้ั 4 ดา้ น โดยยึดหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง
ตัวชี้วดั ที่ 6 ร้อยละของสถานศึกษา
ท่ีจัดการเรยี นการสอนหรือจดั กจิ กรรม
เพอ่ื ส่งเสริมพหปุ ัญญาของผูเ้ รียน โดย
ใช้เครื่องมือคัดกรอง/สำรวจแวว/วดั
ความสามารถความถนัดของผู้เรยี น
ตวั ชีว้ ัดที่ 7 รอ้ ยละของสถานศกึ ษา
ทจ่ี ัดการศึกษาเพ่ือเสรมิ สร้างคณุ ภาพ
ชวี ติ และเปน็ มิตรกับส่งิ แวดล้อม
แผนพัฒนาการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 58
เป้าประสงค์ กลยทุ ธ์ ตัวช้วี ดั
ตัวชวี้ ดั ท่ี 8 รอ้ ยละของครแู ละ
บุคลากรทางการศึกษา ทไี่ ด้รับ
การส่งเสรมิ และพฒั นาให้สามารถ
จดั การเรยี นร้เู ชิงรุก (Active
Learning) ให้กบั ผู้เรียนทุกระดบั ชนั้
ตัวชวี้ ัดที่ 9 ร้อยละของครู
ภาษาองั กฤษ ไดร้ บั การพัฒนาและ
ยกระดบั ความรู้และทักษะ
การจดั การเรียนรู้ภาษาองั กฤษ
ตามมาตรฐานทางภาษา CEFR
ตัวชีว้ ดั ท่ี 10 รอ้ ยละของสถานศกึ ษา
ทไ่ี ด้จัดทำหลกั สูตรสถานศึกษา
ตามบรบิ ทของแต่ละพนื้ ท่ี
ตวั ชีว้ ดั ที่ 11 ร้อยละของสถานศึกษา
ทไ่ี ดร้ บั การพัฒนาคณุ ภาพ
การจดั การศึกษาปฐมวัย
ตามมาตรฐานสถานพฒั นาเด็กปฐมวัย
แหง่ ชาติ
แผนพัฒนาการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 59
เป้าประสงค์ กลยทุ ธ์ ตัวชวี้ ัด
เปา้ ประสงคท์ ่ี 1 สำนกั งานเขตพนื้ ท่ี กลยทุ ธท์ ่ี 4 เพ่ิมประสทิ ธภิ าพ ตวั ชีว้ ดั ท่ี 1 สำนักงานเขตพ้ืนที่
การศึกษาและสถานศึกษาบริหาร การบรหิ ารจดั การศึกษา การศึกษา และร้อยละของสถานศึกษา
จดั การโดยใชห้ ลักธรรมาภิบาลและ
มีการพัฒนาบรหิ ารจัดการและการ
ระบบเทคโนโลยีดจิ ทิ ัลได้อยา่ งมี
ใหบ้ ริการการศกึ ษาด้วยเทคโนโลยี
ประสทิ ธภิ าพ
ดจิ ิทลั
ตัวช้วี ดั ที่ 2 สำนกั งานเขตพ้ืนท่ี
การศึกษา และร้อยละของสถานศกึ ษา
ทส่ี ง่ เสริมการมสี ่วนร่วมกบั ชมุ ชน/
หน่วยงาน/องค์กร/บคุ คลภายนอก
ในการบริหารจดั การและการให้บริการ
การศกึ ษา
ตัวชวี้ ัดที่ 3 ร้อยละของสถานศึกษา
ท่ีมผี ลการประกันคุณภาพภายใน
ระดบั ดขี ้นึ ไป
ตัวชวี้ ดั ที่ 4 สำนักงานเขตพ้ืนท่ี
การศกึ ษา และร้อยละของสถานศึกษา
ทใี่ ช้นวตั กรรมในการบริหาร
จดั การศกึ ษาและการเรียนการสอน
ตวั ชวี้ ัดท่ี 5 สำนักงานเขตพ้ืนที่
การศกึ ษา และร้อยละของสถานศึกษา
บริหารจดั การตามหลกั ธรรมาภบิ าล
ผ่านเกณฑ์การประเมนิ ITA ระดบั A
ขน้ึ ไป
ตัวช้วี ดั ที่ 6 ร้อยละของโรงเรียน
คณุ ภาพ โรงเรยี นท่ีสามารถดำรงอยู่ได้
(Stand Alone) มกี ารบริหารจัดการ
ทีม่ คี ณุ ภาพ และใช้ทรพั ยากรร่วมกัน
ได้สำเรจ็ ตามเปา้ หมาย
4.2 ตารางการเช่ือมโยงเป้าประสงค์ กลยุทธ์ ตวั ชี้วัดความสาเร็จ ค่าเป้าหมาย แนวทาง/มาตรการ และโครงการ/กิจกรรม แผนพัฒนาการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 60
กลยุทธ์ที่ 1 ส่งเสริมการจัดการศึกษาเพ่อื สร้างความมั่นคงสถาบันหลักของชาติ และเพ่อื ให้ผู้เรียนมีความปลอดภัยจากภัยทุกรูปแบบ
เป้าประสงค์ 1.ผู้เรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษามีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดมั่นการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์
ทรงเป็นประมุข เป็นพลเมืองทีร่ ู้สิทธิและหน้าที่ อย่างมีความรับผิดชอบ มีจิตสาธารณะ มีความรักและความภูมิใจในความเป็นไทย
2.ผู้เรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา และสถานศึกษา ได้รับการดูแลความปลอดภัยจากภัย 9 รูปแบบ ได้แก่ ภัยยาเสพติด ภัยความรุนแรง
ภัยพิบัติต่าง ๆ อุบัติเหตุ โรคอุบัติใหม่ ฝุ่นPM 2.5 การค้ามนุษย์ การคุกคามในชีวิตและทรัพย์สิน รวมถึงอาชญากรรมไซเบอร์ สามารถ
ปรับตัวต่อโรคอุบัติใหม่ โรคอุบัติซา้ และรองรับวิถีชีวิตใหม่ รวมถึงการมีสภาพแวดล้อมทเี่ อื้อต่อการมีสุขภาวะที่ดี
แนวทาง/มาตรการ ตัวชี้วัด ข้อมลู ฐาน ค่าเป้าหมาย (ปีงบประมาณ) กลุ่ม
1.จัดกิจกรรมเพอื่ ให้ผู้เรียน ครูและบุคลากร 1. ร้อยละของผู้เรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา
ปี2565 2566 2567 2568 2569 2570 รับผดิ ชอบ
100 100 100 100 100 100 อา้ นวยการ
มีพฤติกรรมแสดงออกถึงความรักในสถาบัน ทเ่ี ข้าร่วมกิจกรรมแสดงออกถึงความรักในสถาบันหลัก นิเทศ ฯ
หลักของชาติ ยึดม่ันการปกครองระบบ ชาติ ศาสนาและพระมหากษัตริย์ ส่งเสริมการ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น จัดการศึกษา
ประมุข เช่น การน้อมน้าศาสตร์พระราชาสู่
การปฏิบัติ กิจกรรมวันสา้ คัญต่าง ๆ
2.ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษาจัดบรรยากาศ 2.ร้อยละของผู้เรียนเป็นพลเมืองทร่ี ู้สิทธิและหน้าที่ 100 100 100 100 100 100 ส่งเสริมการ
สิ่งแวดล้อมและจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ให้ผู้เรียน มีคุณธรรม จริยธรรม รับผิดชอบ มีจิตสาธารณะ จัดการศึกษา
มีคุณธรรม จริยธรรม รับผิดชอบ รักและภูมิใจ รักและภูมิใจในความเป็นไทย
แนวทาง/มาตรการ ตวั ชี้วัด ข้อมลู ฐาน คา่ เป้าหมาย (ปีงบประมาณ) กลุ่ม
ปี2565 2566 2567 2568 2569 2570 รับผดิ ชอบ
ในความเป็นไทย เช่น การจัดการเรียนรู้ตามหลัก 93 90 95 100 100 100 ส่งเสริมการ
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ประวัติศาสตร์ จัดการศึกษา
หน้าท่พี ลเมือง กิจกรรมสภานักเรียน กิจกรรม
วันสา้ คัญ กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี กิจกรรม แผนพัฒนาการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 61
การต่อต้านยาเสพติด เป็นต้น
3.ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษาจัดกิจกรรม 3.ร้อยละของผู้เรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา
สร้างความตระหนักรู้ (Safety Awareness) ท่ีเข้าร่วมกิจกรรมการส่งเสริม สนับสนุนในการสร้าง
หรือการซักซ้อม ในการรับมือกับภัยพิบัติและ ภูมิคุ้มกัน พร้อมรับมือกับภัยคุกคามรูปแบบใหม่
ภัยคุกคามรูปแบบต่าง ๆ (Safety Action) ทุกรูปแบบ สามารถปรับตัวต่อโรคอุบัติใหม่
ที่ผู้เรียนอาจต้องเผชิญ เพ่ือสามารถดา้ เนิน โรคอุบัติซ้า และรองรับวิถีชีวิตใหม่
วิถีชีวิตใหม่ ได้อย่างเหมาะสม
4.ส่งเสริมระบบและกลไกในการดูแลความ
ปลอดภัยให้กับผู้เรียน ครูและบุคลากร
ทางการศึกษา และสถานศึกษา ให้ได้รับ
ความปลอดภัยจากภัยทงั้ 9 รูปแบบ พร้อม
ปรับตัวทันต่อการเปล่ียนแปลง มีการส่ือสาร
การใช้ข้อมูลและแอปพลิเคช่ันในการเฝ้าระวัง
แนวทาง/มาตรการ ตัวชี้วัด ขอ้ มูลฐาน คา่ เป้าหมาย (ปีงบประมาณ) กลุ่ม แผนพัฒนาการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 62
เชิงรุก มีการซักซ้อมรับมือกับภัยพิบัติและ 4.ร้อยละของสถานศึกษาทมี่ ีแผน/มาตรการ/กิจกรรม ปี2565 2566 2567 2568 2569 2570 รับผดิ ชอบ
ภัยคุกคามรูปแบบต่าง ๆ สามารถเช่ือมโยง ในการสร้างความตระหนักรู้ (Safety Awareness)
ฐานข้อมูลเพ่อื แก้ไขปัญหาได้ทันท่วงที หรือทักษะในการรับมือด้านความปลอดภัย (Safety 100 100 100 100 100 100 ส่งเสริมการ
5.ส่งเสริม สนับสนุนสถานศึกษาให้เป็นพ้นื ที่ Action) ทุกรูปแบบ และมีการด้าเนินการตามแผน จัดการศึกษา
ปลอดภัยส้าหรับผู้เรียน ครูและบุคลากร โดยร่วมมือกับหน่วยงานภายนอกที่เกี่ยวข้อง
ทางการศึกษา ด้านทรัพยากร อาคารเรียน
อาคารประกอบ ให้เอื้อต่อการเรียนรู้และมีความ
ปลอดภัย รวมทงั้ ส่งเสริม ประสาน สนับสนุน
บุคลากรด้านจิตวิทยา และด้านความปลอดภัย
เพื่อให้เกิดความปลอดภัยกับผู้เรียน ครูและ
บุคลากรทางการศึกษา
6.ส่งเสริม สนับสนุนสถานศึกษามีการประเมิน
ความเสี่ยงด้านความปลอดภัย และจัดท้า
แผนบริหารจัดการ/มาตรการ และดา้ เนินการ
ตามแผน โดยร่วมมือกับหน่วยงานภาคีเครือข่าย
ท่ีเกี่ยวข้อง
กลยุทธ์ที่ 2 เพิ่มโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาให้กับประชากรวัยเรียน
เป้าประสงค์ ผู้เรียนได้รับโอกาสทางการศึกษาทเี่ สมอภาค เหมาะสมกับศักยภาพ และเด็กกลุ่มเส่ียงทจ่ี ะออกจาก
ระบบการศึกษา เด็กตกหล่น และเด็กออกกลางคัน ได้รับการช่วยเหลือให้ได้รับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
แนวทาง/มาตรการ ตัวชี้วัด ข้อมลู ฐาน ค่าเป้าหมาย (ปีงบประมาณ) กลุ่ม
1.จัดทำระบบสำรสนเทศของผู้เรียนระดับ 1.ร้อยละของผู้เรียนในเขตพนื้ ที่บริกำร ได้เข้ำเรียน
ปี2565 2566 2567 2568 2569 2570 รับผดิ ชอบ
100 100 100 100 100 100 ส่งเสริมกำร
ปฐมวัยและกำรศึกษำขั้นพืน้ ฐำนเป็นรำยบุคคล ในระดับกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน จัดกำรศึกษำ
บูรณำกำรและเช่ือมโยงข้อมูลกับหน่วยงำนทเ่ี กี่ยวข้อง 2.ร้อยละของผู้เรียนท่เี รียนต่อในระดับมัธยมศึกษำ 100 100 100 100 100 100 ส่งเสริมกำร
เพอ่ื ป้องกันผู้เรียนหลุดออกจำกระบบกำรศึกษำ ตอนต้น จัดกำรศึกษำ
2.จัดกำรศึกษำให้ผู้เรียนทมี่ ีควำมสำมำรถพิเศษได้รับ 3.ร้อยละของผู้เรียนท่เี ป็นผู้มีควำมสำมำรถพิเศษ 60 65 70 75 80 85 นิเทศ ฯ
โอกำสในกำรพัฒนำเต็มตำมศักยภำพ ได้รับกำรส่งเสริมศักยภำพทเี่ หมำะสม ส่งเสริมกำร แผนพัฒนาการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 63
จัดกำรศึกษำ
3.ส่งเสริม สนับสนุนเด็กพิกำรและด้อยโอกำส 4.ร้อยละของผู้เรียนท่เี ป็นผู้พิกำร ผู้ด้อยโอกำส 80 85 90 95 100 100 นิเทศ ฯ
ได้รับโอกำสทำงกำรศึกษำทม่ี ีคุณภำพ มี ได้รับกำรศึกษำท่เี หมำะสม ตำมควำมจำเป็นและ
ทักษะชีวิต ทักษะวิชำกำรและทักษะอำชีพ ศักยภำพของแต่ละบุคคล
สอดคล้องกับควำมต้องกำรจำเป็น สำมำรถ 5.ร้อยละของเด็กออกกลำงคัน เด็กตกหล่น กลับเข้ำสู่ 100 100 100 100 100 100 ส่งเสริมกำร
พึง่ ตนเองได้ตำมศักยภำพของแต่ละบุคคล ระบบกำรศึกษำ หรือได้รับกำรศึกษำด้วยรูปแบบท่ี จัดกำรศึกษำ
ท่เี หมำะสม
4.พัฒนำรูปแบบและวิธีกำรจัดกำรเรียนรู้ 6.ร้อยละของสถำนศึกษำทีใ่ ช้เทคโนโลยีดิจิทัล 100 100 100 100 100 100 ส่งเสรมิ กำร
แนวทาง/มาตรการ ตวั ช้ีวัด ขอ้ มลู ฐาน คา่ เป้าหมาย (ปีงบประมาณ) กลุ่ม แผนพัฒนาการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 64
ปี2565 2566 2567 2568 2569 2570 รับผิดชอบ
ด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล สิ่งอำนวยควำมสะดวก เพือ่ กำรเรียนรู้ อย่ำงมีคุณภำพ 100 100 100 100 100 100 ศกึ ษำทำงไกล
สื่อบริกำร และควำมช่วยเหลืออ่ืนใดทำงกำรศึกษำ 100 100 100 100 100 100 สง่ เสรมิ กำร
ศึกษำทำงไกล
รวมท้ังกระบวนกำรวัดและประเมินผลทเ่ี หมำะสม
สง่ เสริมกำร
กับกำรพัฒนำศักยภำพของเด็กพิกำร จดั กำรศกึ ษำ
5.ใช้ระบบแพลตฟอร์มในกำรส่งต่อ ติดตำม 7.ร้อยละของสถำนศึกษำมีกำรนำข้อมูลสำรสนเทศ
และค้นหำนักเรียน เพ่อื ช่วยเหลือเด็กตกหล่น มำใช้ในกำรรับและให้บริกำรกำรศึกษำ รวมถึงกำร
เด็กออกกลำงคัน ให้กลับเข้ำสู่ระบบกำรศึกษำ ส่งต่อผู้เรียน อย่ำงเป็นระบบ
หรือได้รับกำรศึกษำด้วยรูปแบบทเ่ี หมำะสม
6.กำหนดแนวทำงและกระบวนกำรในกำร
ส่งต่อนักเรียนให้ได้รับกำรศึกษำในระดับที่
สูงข้ึน หรือกำรมีทักษะอำชีพในกำรดำรงชีวิต
7.สนับสนุน ส่งเสริมกำรจัดกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน 8.ร้อยละของผู้เรียนท่ไี ด้รับกำรศึกษำในรูปแบบท่ี
โดยครอบครัว (Home School) องค์กรชุมชน หลำกหลำย เหมำะสมกับบริบทและศักยภำพของ
องค์กรเอกชน องค์กรวิชำชีพ และศูนย์กำรเรียน ผู้เรียนแต่ละบุคคล
ตำมมำตรำ 12 แห่งพระรำชบัญญัติกำรศึกษำแห่งชำติ
พ.ศ.2542
8.จัดกำรศึกษำทำงเลือกและกำรศึกษำตลอดชีวิต
แนวทาง/มาตรการ ตวั ช้ีวัด ขอ้ มูลฐาน ค่าเป้าหมาย (ปีงบประมาณ) กลุ่ม
ปี2565 2566 2567 2568 2569 2570 รับผิดชอบ
(Lifelong Learning) ทีห่ ลำกหลำย ให้กับผู้เรียน
100 100 100 100 100 100 ส่งเสรมิ กำร
กลุ่มเป้ำหมำยพิเศษ กลุ่มเปรำะบำง ในกำรเข้ำถึง ศึกษำทำงไกล
กำรศึกษำ กำรเรียนรู้ และมีพน้ื ฐำนกำรประกอบอำชีพ
หรือทักษะอำชีพ อย่ำงเท่ำเทียม
9.ส่งเสริม สนับสนุนกำรมีส่วนร่วมของสังคมอย่ำง 9.ร้อยละของสถำนศึกษำทไี่ ด้รับกำรสนับสนุน
ต่อเนื่อง ประสำนงำนกับหน่วยงำนอ่ืน ๆ ท่เี ก่ียวข้อง ทรัพยำกร เพือ่ เพ่ิมโอกำสทำงกำรศึกษำ และได้รับ
และระดมทรัพยำกรเพ่อื ลดควำมเหลื่อมลำ้ ทำง กำรส่งเสริมกำรใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพ่ือกำรเรียนรู้
กำรศึกษำ ทม่ี ีคุณภำพเหมำะสม แผนพัฒนาการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 65
กลยุทธ์ที่ 3 ยกระดับคุณภาพการศกึ ษา ให้สอดคล้องกับการเปล่ียนแปลงในศตวรรษท่ี 21 แผนพัฒนาการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 66
เป้าประสงค์ 1.ผู้เรียนมีสมรรถนะสำคัญตำมหลักสูตร และคุณลักษณะในศตวรรษที่ 21 มีควำมสำมำรถในกำรแข่งขัน
2.ครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำ เป็นบุคคลแห่งกำรเรียนรู้ ทันต่อกำรเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี มีสมรรถนะตำมมำตรฐำนตำแหน่งและมำตรฐำนวิชำชีพ
รวมทั้งประพฤติปฏิบัติตนตำมจรรยำบรรณ และประมวลจริยธรรมข้ำรำชกำรครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำ
3.สถำนศึกษำจัดกำรศึกษำโดยน้อมนำพระบรมรำโชบำยด้ำนกำรศึกษำ มุ่งสร้ำงพืน้ ฐำนให้ผู้เรียน 4 ด้ำน ของพระบำทสมเด็จพระปรเมนทรรำมำธิบดีศรีสินทร
มหำวชิรำลงกรณ พระวชิรเกล้ำเจ้ำอยู่หัว เพ่อื กำรบรรลุเป้ำหมำยกำรพัฒนำทีย่ ั่งยืน (Sustainable Development Goal : SDGs) และจัดบรรยำกำศท่เี ป็น
มิตรกับส่ิงแวดล้อม โดยยึดหลักปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง
แนวทาง/มาตรการ ตวั ช้ีวัด ขอ้ มลู ฐาน คา่ เป้าหมาย (ปีงบประมาณ) กลุ่ม
ปี2565 2566 2567 2568 2569 2570 รับผิดชอบ
ด้านคุณภาพผู้เรียน
1.จัดกำรศึกษำระดับปฐมวัย ให้มีพัฒนำกำรสมวัย 1.ร้อยละของเด็กปฐมวัย มีพัฒนำกำรสมวัย 95 96 97 98 99 100 นิเทศ ฯ
ด้ำนร่ำงกำย อำรมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญำ ทัง้ ด้ำนร่ำงกำย อำรมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญำ
2.จัดกำรศึกษำให้ผู้เรียนทุกช่วงวัย ได้มีกำรพัฒนำ 2.ร้อยละของผู้เรียนได้รับกำรพัฒนำให้มีสมรรถนะ 100 100 100 100 100 100 นิเทศ ฯ
ด้ำนสมรรถนะและทักษะทีจ่ ำเป็นในศตวรรษท่ี 21 และทักษะท่จี ำเป็นในศตวรรษท่ี 21
3.จัดกำรศึกษำเพอ่ื กำรศึกษำต่อด้ำนกำรประกอบ 3.ร้อยละของผู้เรียนท่ีศกึ ษำต่อด้ำนกำรประกอบอำชีพ 80 85 90 90 100 100 ส่งเสริมกำร
อำชีพและกำรมีงำนทำ ตำมควำมต้องกำรและ และกำรมีงำนทำ ตำมควำมต้องกำรและควำมถนัด จัดกำรศึกษำ
ควำมถนัดของผู้เรียน ของผู้เรียน
4.ส่งเสริม สนับสนุนสถำนศึกษำจัดกำรศึกษำ 4.ร้อยละของสถำนศึกษำทจ่ี ัดกำรเรียนรู้เชิงรุก 100 100 100 100 100 100 นิเทศ ฯ
แนวทาง/มาตรการ ตัวชี้วัด ข้อมลู ฐาน ค่าเป้าหมาย (ปีงบประมาณ) กลุ่ม
ปี2565 2566 2567 2568 2569 2570 รับผดิ ชอบ
ให้ผู้เรียนมีควำมรู้ มีทักษะกำรเรียนรู้และ (Active Learning) มีกำรวัดและประเมินผล
ทักษะท่ีจำเป็นในศตวรรษท่ี 21 ครบถ้วน เพือ่ พัฒนำกำรเรียนรู้ของผู้เรียน (Assessment
เป็นคนดี มีวินัย มีควำมรักในสถำบันหลัก For Learning) ด้วยวิธีกำรที่หลำกหลำย เพื่อ
ของชำติ ยึดม่ันกำรปกครองในระบอบ ส่งเสริมกำรเรียนรู้เป็นรำยบุคคล (Personalized
ประชำธิปไตยอันมีพระมหำกษัตริย์ทรงเป็น Learning)
ประมุข และน้อมนำพระบรมรำโชบำยด้ำน 5.ร้อยละของสถำนศึกษำน้อมนำพระบรมรำโชบำย 100 100 100 100 100 100 นิเทศ ฯ
กำรศึกษำของพระบำทสมเด็จพระวชิรเกล้ำ ด้ำนกำรศึกษำ มุ่งสร้ำงพนื้ ฐำนให้แก่ผู้เรียนท้งั 4 ด้ำน
เจ้ำอยู่หัว สู่กำรปฏิบัติ โดยยึดหลักปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง
5.พัฒนำและส่งเสริมผู้เรียนให้ได้รับกำรพัฒนำ 6.ร้อยละของสถำนศึกษำท่ีจัดกำรเรียนกำรสอนหรือ 25 30 40 50 60 70 นิเทศ ฯ แผนพัฒนาการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 67
พหุปัญญำรำยบุคคล โดยมีเคร่ืองมือคัดกรอง จัดกิจกรรมเพอื่ ส่งเสริมพหุปัญญำของผู้เรียน โดยใช้
สำรวจแวว วัดควำมสำมำรถ ควำมถนัด เคร่ืองมือคัดกรอง/สำรวจแวว/วัดควำมสำมำรถ
จัดกำรเรียนรู้ท่หี ลำกหลำย ออกแบบกำรเรียนรู้ ควำมถนัดของผู้เรียน
แบบบูรณำกำรสอดคล้องตำมบริบทและวัฒนธรรม
ควำมแตกต่ำงแต่ละบุคคล ควำมถนัด ควำมสนใจ
เพ่อื สำมำรถพัฒนำผู้เรียนให้เต็มตำมศักยภำพ
6.จัดกำรศึกษำตำมขีดควำมสำมำรถของ
ผู้เรียน ควำมถนัดและศักยภำพของแต่ละ
แนวทาง/มาตรการ ตัวช้ีวัด ขอ้ มูลฐาน คา่ เป้าหมาย (ปีงบประมาณ) กลุ่ม แผนพัฒนาการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 68
ปี2565 2566 2567 2568 2569 2570 รับผดิ ชอบ
บุคคล วำงรำกฐำนกำรศึกษำเพ่ืออำชีพ ให้ 65 80 85 90 95 100 ส่งเสริมกำร
สอดคล้องกับบริบทพนื้ ที่ ควำมต้องกำรของ จัดกำรศึกษำ
ตลำดแรงงำนและประเทศ
7.พัฒนำผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะด้ำน
กำรอ่ำน คณิตศำสตร์ กำรคิดขั้นสูง นวัตกรรม
วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีดิจิทัล ภำษำต่ำงประเทศ
เพ่ือเพิม่ ขีดควำมสำมำรถในกำรแข่งขัน สมรรถนะ
ด้ำนกำรคิด ทักษะชีวิต เทคโนโลยี กำรส่ือสำร
กำรแก้ไขปัญหำ เชื่อมโยงสู่อำชีพและกำรมีงำนทำ
มีทักษะอำชีพสอดคล้องกับควำมต้องกำรประเทศ
8.ส่งเสริม พัฒนำทักษะด้ำนดิจิทัลและด้ำน
กำรเรียนรู้ของผู้เรียน ทีน่ ำไปสู่ Digital
Life @ Learning
9.ส่งเสริมให้นักเรียนนำควำมรู้ด้ำนเทคโนโลยี
มำใช้ในชีวิตประจำวัน และหำรำยได้ระหว่ำงเรียน
10.ส่งเสริม สนับสนุนให้สถำนศึกษำจัดกำรศึกษำ 7.ร้อยละของสถำนศึกษำทจี่ ัดกำรศึกษำเพื่อ
เพ่ือเสริมสร้ำงคุณภำพชีวิตทเี่ ป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม เสริมสร้ำงคุณภำพชีวิตและเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม
แนวทาง/มาตรการ ตวั ชี้วัด ขอ้ มลู ฐาน ค่าเป้าหมาย (ปีงบประมาณ) กลุ่ม
ปี2565 2566 2567 2568 2569 2570 รับผิดชอบ
ดา้ นคุณภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา
11.ส่งเสริมให้ครูสำมำรถจัดกำรเรียนรู้เชิงรุก 8.ร้อยละของครูท่ไี ด้รับกำรส่งเสริมและพัฒนำ - 90 95 98 100 100 นิเทศ ฯ
(Active Learning) และเป็นผู้สร้ำงสรรค์ ให้สำมำรถจัดกำรเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning)
นวัตกรรม (Co-creation) ให้กับผู้เรียนใน ให้กับผู้เรียนทุกระดับช้ัน
ทุกระดับชั้น
12.พัฒนำศักยภำพครูในด้ำนกำรวัดและประเมินผล
เพ่อื พัฒนำกำรเรียนรู้ของผู้เรียน (Assessment
For Leraning) ด้วยวิธีกำรท่หี ลำกหลำยเพือ่
ส่งเสริมนักเรียนเป็นรำยบุคคล แผนพัฒนาการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 69
13.ส่งเสริม สนับสนุนครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำ
เข้ำรับกำรพัฒนำให้มีสมรรถนะตำมมำตรฐำน
ทำงวิชำชีพ มำตรฐำนตำแหน่ง อย่ำงต่อเน่ือง
14.ส่งเสริม สนับสนุนครูผู้สอนภำษำอังกฤษ ได้รับ 9.ร้อยละของครูภำษำอังกฤษ ได้รับกำรพัฒนำและ 100 90 95 96 98 100 พัฒนำครู
กำรพัฒนำและยกระดับควำมรู้ และทักษะกำร ยกระดับควำมรู้และทักษะกำรจัดกำรเรียนรู้ และบคุ ลำกรฯ
จัดกำรเรียนรู้ภำษำอังกฤษ ตำมกรอบมำตรฐำน ภำษำอังกฤษ ตำมมำตรฐำนทำงภำษำ CEFR
ทำงภำษำ CEFR
แนวทาง/มาตรการ ตวั ช้ีวัด ขอ้ มลู ฐาน ค่าเป้าหมาย (ปีงบประมาณ) กลุ่ม แผนพัฒนาการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 70
ดา้ นหลักสูตรและอ่ืน ๆ 10.ร้อยละของสถำนศึกษำที่ได้จัดทำหลักสูตร ปี2565 2566 2567 2568 2569 2570 รับผดิ ชอบ
15.พัฒนำหลักสูตรกำรศึกษำปฐมวัย และ สถำนศึกษำ ตำมบริบทของพน้ื ที่
หลักสูตรแกนกลำงกำรศึกษำขั้นพน้ื ฐำน 11.ร้อยละของสถำนศึกษำท่ไี ด้รับกำรพัฒนำ - 90 91 95 100 100 นิเทศ ฯ
16.พัฒนำคุณภำพกำรจัดกำรศึกษำปฐมวัย คุณภำพกำรจัดกำรศึกษำปฐมวัย ตำมมำตรฐำน - 90 91 95 100 100 นิเทศ ฯ
ตำมมำตรฐำนสถำนพัฒนำเด็กปฐมวัยแห่งชำติ สถำนพัฒนำเด็กปฐมวัยแห่งชำติ
กลยุทธ์ที่ 4 เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษา
เป้าประสงค์ สำนักงำนเขตพ้ืนทกี่ ำรศึกษำและสถำนศึกษำ บริหำรจัดกำรโดยใช้หลักธรรมำภิบำล และระบบเทคโนโลยีดิจิทัล ได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ
แนวทาง/มาตรการ ตวั ช้ีวัด ข้อมลู ฐาน คา่ เป้าหมาย (ปีงบประมาณ) กลุ่ม
ปี2565 2566 2567 2568 2569 2570 รับผิดชอบ
1.พัฒนาระบบสารสนเทศในหน่วยงาน 1.สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา และร้อยละของ 100 100 100 100 100 100 ส่งเสริม
ทุกระดับ ให้มีระบบข้อมูลจัดการและ สถานศึกษามีการพัฒนาบริหารจัดการและการให้
รายงาน (ปพ.Online/ระบบรายงานผล บริการการศึกษาด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล การศึกษา
ต่อพระราชบัญญัติอานวยความสะดวก
พระราชบัญญัติคุ้มครองส่วนบุคคล/ระบบ ทางไกล ฯ
สารสนเทศเพ่ือการบริหารจัดการของ
สถานศึกษา/สานักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษา แผนพัฒนาการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 71
(นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา
สถานศึกษา(อาคาร ครุภัณฑ)์ /ด้านบุคลากร
และการให้บริการอื่น ๆ
2.พัฒนาระบบพน้ื ฐานทางเทคโนโลยีให้
ครอบคลุม (การให้ความช่วยเหลือด้าน
เทคโนโลยีพน้ื ฐาน การพัฒนาบุคลากร
ให้มีทักษะพ้นื ฐานด้านเทคโนโลยี การใช้
แนวทาง/มาตรการ ตวั ช้ีวัด ขอ้ มลู ฐาน ค่าเป้าหมาย (ปีงบประมาณ) กลุ่ม แผนพัฒนาการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 72
โครงข่ายอินเทอร์เน็ต การใช้อุปกรณ์ ICT ปี2565 2566 2567 2568 2569 2570 รับผิดชอบ
และการพัฒนา Software) อย่างคุ้มค่า
และมีประสิทธิภาพสูงสุด
3.สร้าง พัฒนาและส่งเสริมการใช้ระบบ
บริหารด้านการจัดการศึกษาพน้ื ฐานทีด่ ี
สาหรับสถานศึกษา ให้เป็นระบบเดียวกัน
เพือ่ ลดภาระงานครู ความซา้ ซ้อนของ
ระบบงานและการจัดเก็บข้อมูล
4.จัดหาอุปกรณ์ เทคโนโลยี เพียงพอต่อ
ความต้องการดาเนินงานของสถานศึกษา
5.นาระเบียบ กฎหมาย แนวปฏิบัติให้
สอดคล้องกับการดาเนินงานทีเ่ กี่ยวกับ
การบริหารจัดการด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล
6.พัฒนาผู้บริหารสถานศึกษา ครูและ
บุคลากรทางการศึกษา ให้มีความรู้ด้าน
เทคโนโลยี ท่สี อดคล้องกับ Digital
Literacy และสมรรถนะครูในทุกด้าน
แนวทาง/มาตรการ ตวั ชี้วัด ขอ้ มูลฐาน คา่ เป้าหมาย (ปีงบประมาณ) กลุ่ม
2.สานักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษา และร้อยละของสถานศึกษา ปี2565
7.ส่งเสริม สนับสนุนทุกภาคส่วน ให้มีส่วนร่วม ทีส่ ่งเสริมการมีส่วนร่วมกับชุมชน หน่วยงาน องค์กร 100 2566 2567 2568 2569 2570 รับผิดชอบ
ในการบริหารจัดการ และการให้บริการ บุคคลภายนอก ในการบริหารจัดการและให้บริการ
การศึกษาให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด เช่น การ การศึกษา 100 100 100 100 100 100 ส่งเสริม
สนับสนุนทรัพยากร บุคลากร งบประมาณ 70
เป็นต้น 3.ร้อยละของสถานศึกษาที่มีผลการประกันคุณภาพ 97.59 การจัด
8.เพ่ิมความเข้มแข็งของระบบนิเทศการศึกษา ภายใน ระดับดีขึ้นไป
และระบบประกันคุณภาพภายใน 4.สานักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาและร้อยละของสถานศึกษา 5 การศึกษา
9.ส่งเสริมการพัฒนานวัตกรรมทีใ่ ช้ ที่ใช้นวัตกรรมในการบริหารจัดการศึกษา และการเรียน
ในการบริหารจัดการศึกษา และการ การสอน 100 100 100 100 100 นิเทศ ฯ
จัดการเรียนการสอน 5.สานักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษา และร้อยละของสถานศึกษา 80 90 90 100 100 นิเทศ ฯ
10.พัฒนาผู้บริหารสถานศึกษา ครูและ ทผี่ ่านเกณฑก์ ารประเมิน ITA ระดับ A ข้ึนไป
บุคลากรทางการศึกษาให้มีคุณธรรม 98 99 100 100 100 ส่งเสริม แผนพัฒนาการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 73
จริยธรรมและการปฏิบัติงานตามหลัก 6.ร้อยละของโรงเรียนคุณภาพ โรงเรียนท่สี ามารถ การจัด
ธรรมาภิบาล การศึกษา
11.พัฒนาสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาและ
สถานศึกษา ให้เป็นไปตามเกณฑ์ ITA 10 15 15 20 20 นโยบาย
12.สนับสนุน ส่งเสริมพัฒนาโรงเรียนคุณภาพ
แนวทาง/มาตรการ ตวั ช้ีวัด ขอ้ มลู ฐาน คา่ เป้าหมาย (ปีงบประมาณ) กลุ่ม แผนพัฒนาการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 74
ปี2565 2566 2567 2568 2569 2570 รับผิดชอบ
โรงเรียนทส่ี ามารถดารงอยู่ได้ (Stand Alone) ดารงอยู่ได้ (Stand Alone) ท่ีมีการบริหารจัดการ และแผน
ในการบริหารจัดการศึกษา และใช้ทรัพยากร ทีม่ ีคุณภาพ และใช้ทรัพยากรร่วมกันได้สาเร็จตาม
ร่วมกันอย่างมีคุณภาพ สอดคล้องกับบริบทพืน้ ที่ เป้าหมาย นิเทศ ฯ
แผนพฒั นาการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 75
ส่วนท่ี 5
การบรหิ ารแผนพัฒนาการศึกษาข้ันพื้นฐานสูก่ ารปฏิบตั ใิ ห้เกิดผลสำเร็จ
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 ได้จัดทำแผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2566-2570) เพื่อเป็นกรอบทิศทางในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ซึ่งมีความสอดคล้องกับ
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) แผนการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ.2560-2579) นโยบายของรัฐบาล
แผนพัฒนาการศึกษาที่เกี่ยวข้องทุกระดับ ได้แก่ แผนพัฒนาการศึกษากระทรวงศึกษาธิการ สำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จังหวัดตรัง สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดตรัง และนำผลการดำเนินงาน
ที่ผ่านมา รวมทั้งบริบทการจัดการศึกษาในพื้นที่ สภาพปัญหา จุดที่ควรพัฒนา นำมาวางแผนพัฒนาคุณภาพ
การศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน ระยะ 5 ปี ให้บรรลเุ ป้าหมายอยา่ งมีประสิทธิภาพ และเกิดประสทิ ธิผล
ความสำเร็จในการดำเนินงานขับเคลื่อนแผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระยะ 5 ปี มีองค์ประกอบ
หลายประการ ตั้งแต่การจัดทำแผนต้องอาศัยการมีส่วนร่วม สาระสำคัญของแผนมีเป้าหมายชัดเจน ครบถ้วน
สนองนโยบายทุกระดับ และยุทธศาสตร์ของหน่วยงานต้นสังกัด มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์แก่สถานศึกษา
และสาธารณชน มีการสร้างความรู้ ความเข้าใจ และผู้เกี่ยวข้องมีความตระหนักให้ความสำคัญ ที่จะใช้
แผนพัฒนาการศึกษา เป็นกรอบทิศทางในการจัดการศึกษา ให้บรรลุผลสำเร็จ นอกจากนี้ระบบการวัดและ
ประเมินในระดับเขตพืน้ ที่การศึกษา และสถานศึกษาต้องมีความสอดคลอ้ งกนั การกำหนดเป้าหมายและตัวช้ีวัด
มคี วามเชื่อมโยง การขบั เคลอื่ นการดำเนินงานมกี ารบูรณาการอยา่ งเหมาะสม
1. หลักการและแนวทางในการขบั เคลอ่ื นแผนพัฒนาการศึกษาข้นั พน้ื ฐานสู่การปฏบิ ัติ
1.1 หลกั การ
1) ขับเคลื่อนการจัดการศึกษา โดยยึดแผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2566-2570 เป็นกรอบ
ทิศทางหลัก และนำสู่การปฏิบัติในระดับเขตพื้นที่การศึกษา และระดับสถานศึกษา ให้สอดคล้องกับกลยุทธ์
และจดุ เน้นการดำเนนิ งาน
2) ดำเนินการจัดการศึกษาตามบทบาทหน้าที่ของเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษา ให้มีคุณภาพ
บรรลเุ ป้าหมายตามตวั ช้ีวดั
3) พัฒนาประสิทธิภาพการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล และเพิ่มองค์ความรู้ในการพัฒนาสื่อ นวัตกรรม
ในการจัดการศกึ ษา เพื่อใหม้ สี ื่อการเรียนการสอนท่หี ลากหลาย
4) ใช้กลไกการมีส่วนร่วมของภาครัฐ เอกชน องค์คณะบุคคล เครือข่ายทางการศึกษา เพื่อแก้ไข
ปัญหา และพฒั นาศกั ยภาพในการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
5) จัดระบบการบริหารจัดการแผนสู่การปฏิบัติ ให้มีความเชื่อมโยงกันในระดับเขตพื้นที่การศึกษา
เครือข่ายกลุ่มโรงเรียน และสถานศึกษา จัดระบบจัดสรรงบประมาณเพื่อตอบสนองการพัฒนา ตามกลยุทธ์
จดุ เนน้ การดำเนนิ งาน และตวั ชี้วัดความสำเรจ็ อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
แผนพฒั นาการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 76
1.2 แนวทางการขบั เคล่ือนแผนพัฒนาการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐานสกู่ ารปฏิบตั ิ
1) สร้างความรู้ ความเข้าใจ ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องได้ตระหนักถึงความสำคัญ และมีความพร้อม
ในการขับเคลื่อนแผนพัฒนาการศึกษา ไปสู่การปฏิบัติ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1
สร้างความเขา้ ใจแกบ่ ุคลากรทางการศกึ ษา และสถานศกึ ษา ในรูปแบบของเอกสาร และเผยแพร่ทางเว็บไซต์
2) สรา้ งความเช่ือมโยง ระหวา่ งแผนพฒั นาการศกึ ษาของสำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาและสถานศึกษา
โดยกำหนดให้แนวทางการพัฒนาในแต่ละกลยุทธ์ แปลงสู่การปฏิบัติระดับโครงการ กิจกรรม ในระดับเขตพื้นท่ี
การศึกษาและสถานศึกษา และส่งเสริม สนับสนุนการประเมินแผนดังกล่าว เพื่อนำข้อมูลสารสนเทศไปใช้
ในการปรบั ปรงุ พฒั นาแผนตอ่ ไป
3) ใช้เครือข่ายกลุ่มโรงเรียน ในการร่วมพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยเฉพาะการพัฒนาผู้เรียน
ในด้านตา่ ง ๆ เชน่ ดา้ นกีฬา ด้านทกั ษะวิชาการ ดา้ นทักษะอาชีพ
4) เผยแพร่ประชาสมั พันธ์ แผนพัฒนาการศกึ ษาทางเว็บไซต์ เพ่อื เปดิ โอกาสใหส้ าธารณชนได้รับทราบ
ให้ข้อคิดเหน็ ในการพัฒนาการศึกษาของเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษา
2. การดำเนินการขับเคลื่อน แผนพัฒนาการศึกษาขัน้ พืน้ ฐานสกู่ ารปฏบิ ัติ
แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐานของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 เป็นแผน
ที่ให้ความสำคัญในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา พัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้เป็นคนดี คนเก่ง อยู่ในสังคมได้อย่าง
มีความสุข และผู้เรียนมีสมรรถนะสำคัญ และทักษะการเรียนรู้ที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 โดยกำหนดเป้าหมาย
ดำเนินงาน 4 กลยทุ ธ์ และมีแนวทางการขบั เคลอื่ นแต่ละกลยุทธ์ ดงั นี้
กลยุทธ์ที่ 1 ส่งเสรมิ การจัดการศกึ ษาเพ่อื สรา้ งความมนั่ คงสถาบนั หลัก และเพ่ือใหผ้ เู้ รียน
มีความปลอดภยั จากภัยทุกรปู แบบ
จดั การศึกษาเพ่ือเสรมิ สรา้ งความมน่ั คงหลกั ของชาติ ดำเนินการสง่ เสริม สนบั สนุน พฒั นาผู้เรียน ครู
และบุคลากรทางการศึกษา ใหม้ ีความรู้ ความเขา้ ใจ มคี วามพร้อมสามารถรับมือจากภยั พิบัติ และภัยคุกคาม
ทกุ รูปแบบ สามารถปรับตัวต่อโรคอุบัติใหม่ โรคอุบัติซำ้ รองรับวถิ ชี ีวิตใหม่ (New Normal) มสี ภาพแวดลอ้ ม
ทีป่ อ้ งกันภยั สง่ ผลต่อสขุ ภาวะท่ดี ี
กลยทุ ธท์ ่ี 2 เพ่ิมโอกาสและความเสมอภาคทางการศกึ ษาให้กบั ประชากรวยั เรยี น
ดำเนินการเพิ่มโอกาสและความเสมอภาคให้แก่ผู้เรียนวัยเรียนภาคบังคับ ในการเข้าถึงการศึกษาและ
การเรียนรู้ที่มีคณุ ภาพและเสมอภาค โดยใช้ระบบตา่ ง ๆ ที่มีคุณภาพ ได้แก่ ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ระบบ
ส่งเสริมความประพฤตินักเรียน ระบบคุ้มครองนักเรียน และการสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคม เร่งพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาทางไกลเพื่อลดความเหลื่อมล้ำ และใช้เครือข่ายหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการส่งเสริม สนับสนุน
แกป้ ญั หาการเรียนรู้ พฤตกิ รรม ความเครียดและสขุ ภาพจติ ของผเู้ รยี น
กลยุทธ์ที่ 3 ยกระดับคณุ ภาพการศึกษา ใหส้ อดคลอ้ งกับการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21
ดำเนินการพัฒนาหลักสูตรทุกระดับการศึกษา ให้เป็นหลักสูตรเชิงสมรรถนะ และนำหลักสูตร
สู่การปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ จัดกิจกรรมส่งเสริม สนับสนุนในการพัฒนาศักยภาพและคุณภาพผู้เรียน
แผนพฒั นาการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 77
ทุกระดับ ในรูปแบบที่หลากหลาย เอื้อต่อการพัฒนาการเรียนรู้ให้มีการพัฒนาในทุกด้าน เป็นไปตามหลักสูตร
ให้ผู้เรียนมีสมรรถนะ เกิดทักษะการเรียนรู้ที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 และใช้เทคโนโลยีดิจิ ทัล (Digital
Technology) สนบั สนนุ จดั กิจกรรม โครงการด้านการผลติ และบรโิ ภค ที่เป็นมติ รกบั ส่ิงแวดล้อม ให้มีการพัฒนา
เป็นหน่วยงานต้นแบบการเรียนรู้ และดำเนินการพัฒนาครูสู่มืออาชีพ ด้วยรูปแบบที่หลากหลาย
นำผลการพัฒนาไปใช้ในการจัดการเรยี นรูอ้ ยา่ งมีคุณภาพ เชอ่ื มโยงกบั การเลอื่ นวทิ ยฐานะ รวมทัง้ เสรมิ สรา้ งขวัญ
กำลงั ใจ และยกยอ่ งเชิดชูเกยี รติ
กลยุทธ์ที่ 4 เพมิ่ ประสิทธิภาพการบริหารจดั การศึกษา
ดำเนินงานเพื่อให้เกิดระบบ /รูปแบบการบริหารจัดการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ ส่งเสริมการมีส่วนร่วม
จากทุกภาคส่วนของสังคม และพัฒนาระบบแผนงาน ระบบการเงิน ระบบการประกันคุณภาพภายใน เพื่อให้
ผู้เรียนสามารถใช้บริการการศึกษาที่มีคุณภาพมาตรฐานอย่างทั่วถึง และเป็นธรรม สนองตอบความต้องการ
ของผเู้ รยี น สถานศกึ ษาและสงั คม ด้วยความรบั ผิดชอบ มีความโปร่งใสและตรวจสอบได้ ตามหลักธรรมาภบิ าล
3. การประเมินแผนพัฒนาการศกึ ษา
วัตถุประสงค์ของการประเมินแผนพัฒนาการศึกษา เพื่อประเมินกระบวนการจัดทำแผน การนำ
แผนพัฒนาการศึกษาไปสู่การปฏิบัติ และผลที่ได้รับจากการปฏิบัติแผนพัฒนาการศึกษา โดยกำหนดปฏิทิน
ประเมินระยะหนึ่งปี ระยะครึ่งแผนและสิ้นสุดแผน เพื่อติดตามประเมินผลตามตัวชี้วัด ซึ่งถือว่าเป็นการประเมิน
ความสำเร็จในภาพรวม ท้งั นี้ จะต้องใหค้ วามสำคัญกบั การตดิ ตามการดำเนินงาน ตามตัวชีว้ ัดอย่างตอ่ เนื่อง
เพื่อจะได้ทราบความก้าวหน้า มีการประสานงานกับผู้รับผิดชอบตัวชี้วัด วิเคราะห์ ผลดำเนินงานที่เกิดขึ้นจริง
นำมาเปรียบเทียบกับค่าเป้าหมายที่กำหนดไว้ สะท้อนถึงประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการดำเนินงานจริง
สามารถปรับปรุงและพัฒนา รวมทั้งมีการทบทวนแผนพัฒนาการศึกษา ให้สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนา
ประเทศ ตามยุทธศาสตรช์ าติระยะ 20 ปี และนโยบายทางการศึกษาทกุ ระดับต่อไป
แผนพฒั นาการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 78
ภาคผนวก
แผนพัฒนาการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 79
แผนพฒั นาการศึกษาขนั้ พื้นฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 80
2.3 นางเสาวภาพัชร ภปู่ ระภาดลิ ก รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพ้ืนที่ รองประธานกรรมการ
การศกึ ษาประถมศกึ ษาตรัง เขต 1
2.4 นายกฤช กาหยี ผ้อู ำนวยการกลุ่มนเิ ทศ ตดิ ตาม ฯ กรรมการ
2.5 นายเกษม มากชู ผอู้ ำนวยการกลมุ่ อำนวยการ กรรมการ
2.6 นางกณั ฑมิ า ณ พัทลุง ผู้อำนวยการกลมุ่ บรหิ ารงานการเงินและสินทรัพย์ กรรมการ
2.7 นางจริ า ทองสขุ นักทรัพยากรบคุ คล ชำนาญการพิเศษ
ปฏบิ ตั ิหนา้ ท่แี ทนผ้อู ำนวยการกลุ่มบริหารงานบคุ คล กรรมการ
2.8 นางยพุ ดี คลาดนาน ผูอ้ ำนวยการกลุ่มสง่ เสรมิ การจดั การศึกษา กรรมการ
2.9 นางสรัญญา โยธี ผ้อู ำนวยการหนว่ ยตรวจสอบภายใน กรรมการ
2.10 นายสมหมาย ชายเกตุ ผ้อู ำนวยการกลุ่มกฎหมายและคดี กรรมการ
2.11 นางบญุ ชาติ เนยี มชู นักทรพั ยากรบคุ คล ชำนาญการ กรรมการ
ปฏิบตั หิ นา้ ทผ่ี ู้อำนวยการกลุม่ พัฒนาครู ฯ
2.12 น.ส.ศริ ิวรรณ ยิวสวิ นักวเิ คราะหน์ โยบายและแผน ชำนาญการ กรรมการ
ปฏบิ ัติหน้าที่ผู้อำนวยการกล่มุ ส่งเสริมการศกึ ษาทางไกล
2.13 นางเพญ็ ศรี ลำยอง นักวิเคราะหน์ โยบายและแผน ชำนาญการ กรรมการ
2.14 นางวีระวรรณ สตั ถาภรณ์ นกั วเิ คราะห์นโยบายและแผน ชำนาญการ กรรมการ
2.15 นางชนาธิป คงสม เจ้าพนักงานธุรการ ชำนาญงาน กรรมการ
2.16 นายธีรวฒั น์ เอง้ ฉว้ น นกั วชิ าการคอมพิวเตอร์ กรรมการ
2.17 น.ส.กรรภิรมย์ ทองเรือง ผอู้ ำนวยการกล่มุ นโยบายและแผน กรรมการ
และเลขานกุ าร
2.18 นางอรพินทร์ วิภูษณะภทั ร์ นกั วิเคราะหน์ โยบายและแผน ชำนาญการ กรรมการและ
ผชู้ ่วยเลขานุการ
3. คณะกรรมการจัดทำและรวบรวมข้อมูลสารสนเทศ เพอ่ื ใชป้ ระกอบการจัดทำแผนพัฒนาการศึกษา
ข้นั พ้นื ฐาน ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2566 – 2570) มีหนา้ ท่ี รวบรวม สรุป และจดั ทำขอ้ มลู สารสนเทศท่เี ก่ียวข้อง
เพ่อื ใช้ในการประชมุ เชิงปฏิบัติการ ฯ ประกอบด้วย
3.1 นางสาวกรรภริ มย์ ทองเรือง ผอู้ ำนวยการกล่มุ นโยบายและแผน ประธานกรรมการ
3.2 นางวรี ะวรรณ สัตถาภรณ์ นกั วเิ คราะห์นโยบายและแผน ชำนาญการ กรรมการ
3.3 นางเพญ็ ศรี ลำยอง นักวเิ คราะห์นโยบายและแผน ชำนาญการ กรรมการ
3.4 นางชนาธิป คงสม เจ้าพนักงานธรุ การ ชำนาญงาน กรรมการ
3.5 นายธรี วัฒน์ เอง้ ฉว้ น นกั วชิ าการคอมพิวเตอร์ กรรมการ
3.6 นางอรพนิ ทร์ วิภูษณะภทั ร์ นกั วเิ คราะห์นโยบายและแผน ชำนาญการ กรรมการ
และเลขานกุ าร
๔. คณะกรรมการประชุมเชิงปฏบิ ัติการจัดทำแผนพัฒนาการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2566-
2570) และหลกั การเขียนโครงการท่ีสอดคล้องเช่ือมโยงกับแผนการจัดการศึกษาทุกระดับ ในรปู แบบ XYZ
ของสำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาตรัง เขต 1 มหี น้าทวี่ เิ คราะห์แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
ให้มีความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ แผนปฏิรูปประเทศ นโยบายรัฐบาล กระทรวงศึกษาธิการ สำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และความต้องการในระดับพื้นที่ รวมทั้งศึกษาหลักการเขียนโครงการท่ี
ถูกต้อง ให้มคี วามสมบูรณ์ ครบถ้วนตามรูปแบบ ประกอบดว้ ย
แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 81
๔.1 ผู้อำนวยการสำนกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาตรงั เขต 1 ประธานกรรมการ
4.2 นางสุมน ไชยเสนยี ์ รองผอู้ ำนวยการสำนักงานเขตพนื้ ท่ี รองประธานกรรมการ
การศกึ ษาประถมศกึ ษาตรัง เขต 1
4.3 นางเสาวภาพัชร ภปู่ ระภาดิลก รองผ้อู ำนวยการสำนักงานเขตพืน้ ที่ รองประธานกรรมการ
การศึกษาประถมศกึ ษาตรัง เขต 1
4.4 นายอภชิ าติ อนตุ รพฒั น์ ประธานกลุ่มโรงเรยี นน้ำผดุ -โพธาราม กรรมการ
4.5 นายสุวทิ ย์ กงั แฮ ประธานกลมุ่ โรงเรียนวชริ มิตร กรรมการ
4.6 นายพสิ ทิ ธิ์ สขุ รกั ษา ประธานกลมุ่ โรงเรียนหนองตรุด-นาทา่ ม กรรมการ
4.7 นายพรชัย คำนวณศลิ ป์ ประธานกล่มุ โรงเรยี นทบั เทีย่ ง กรรมการ
4.8 นายอาริยะ ดำชว่ ย ประธานกลุ่มโรงเรยี นทุ่งค่าย-เกาะเปียะ กรรมการ
4.9 นายจีระศกั ด์ิ นนุ่ ปาน ประธานกลุม่ โรงเรียนย่านตาขาว-ทุ่งกระบือ กรรมการ
4.10 นางพมิ พ์ชนก ประดิษฐานสุ รณ์ ประธานกลมุ่ โรงเรยี นสายชลสมั พันธ์ กรรมการ
4.11 นายอัศวกรณ์ สทิ ธศิ ักด์ิ ประธานกลมุ่ โรงเรยี นไพรสวรรค์ กรรมการ
4.12 นางเสาวภา สมาพงค์ ประธานกลมุ่ โรงเรยี นหาดสำราญ กรรมการ
4.13 นายมณเฑียร โคกเขา ประธานกล่มุ โรงเรยี นปะเหลียน กรรมการ
4.14 นายอาคม บริสุทธิ์ ประธานกลุ่มโรงเรยี นสโุ สะ-บา้ นนา กรรมการ
4.15 นางพรพนา สมยั รฐั ประธานกลุ่มโรงเรยี นท่งุ ยาว กรรมการ
4.16 นายเสรี ยอ่ งจนี ประธานกล่มุ โรงเรยี นนาโยง กรรมการ
4.17 นายภญิ โย ชูเดช ประธานกลุม่ โรงเรียนนาโยงสมั พันธ์ กรรมการ
4.18 นายดำรงค์ วรรณแรก ประธานกล่มุ โรงเรยี นขยายโอกาสทางการศกึ ษา กรรมการ
4.19 นายประเสริฐศกั ด์ิ ลักติธรรม ผ้อู ำนวยการโรงเรยี นวัดควนสนี วล กรรมการ
4.20 นายพงศกั ดิ์ จนั ทรเกษ ผู้อำนวยการโรงเรยี นเพาะปัญญา กรรมการ
4.21 นายสายัณห์ ฉนิ นานนท์ ผ้แู ทน ก.ต.ป.น. กรรมการ
4.22 นายสมใจ ชูแกว้ ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นอนบุ าลตรงั กรรมการ
4.23 นางสาวผสุ ดี บ่นหา ครโู รงเรียนอนุบาลตรงั กรรมการ
4.24 นางรัชฎาภรณ์ ณ พทั ลงุ ผู้อำนวยการโรงเรียนบา้ นหว้ ยมว่ ง กรรมการ
4.25 นางสาวนาฎนภา เอ้งฉว้ น ครโู รงเรยี นบ้านหว้ ยม่วง กรรมการ
4.26 นางสพุ ัตรา เพม่ิ เพ็ชร์ ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นบ้านบกหัก กรรมการ
4.27 นางสาวอตพิ ร ชายหมาด ครูโรงเรยี นบ้านบกหกั กรรมการ
4.28 นายกฤช กาหยี ผ้อู ำนวยการกล่มุ นเิ ทศ ติดตาม ฯ กรรมการ
4.29 นายเกษม มากชู ผ้อู ำนวยการกลมุ่ อำนวยการ กรรมการ
4.30 นางกัณฑมิ า ณ พัทลุง ผู้อำนวยการกลุม่ บริหารงานการเงนิ และสินทรัพย์ กรรมการ
4.31 นางจิรา ทองสุข นักทรัพยากรบุคคล ชำนาญการพเิ ศษ กรรมการ
ปฏบิ ัตหิ น้าท่แี ทนผ้อู ำนวยการกลมุ่ บริหารงานบุคคล กรรมการ
4.32 นางยพุ ดี คลาดนาน ผ้อู ำนวยการกลมุ่ สง่ เสรมิ การจัดการศึกษา กรรมการ
4.33 นางสรญั ญา โยธี ผู้อำนวยการหน่วยตรวจสอบภายใน กรรมการ
4.34 นายสมหมาย ชายเกตุ ผูอ้ ำนวยการกล่มุ กฎหมายและคดี กรรมการ
แผนพัฒนาการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 82
4.35 นางบญุ ชาติ เนยี มชู ปฏบิ ัตหิ น้าท่ีผู้อำนวยการกล่มุ พัฒนาครแู ละบุคลากร กรรมการ
ทางการศึกษา
4.36 นางสาวศริ วิ รรณ ยิวสิว นกั วิเคราะหน์ โยบายและแผน ชำนาญการ กรรมการ
ปฏบิ ตั ิหน้าทผ่ี อู้ ำนวยการกลุ่มส่งเสรมิ การศึกษาทางไกล
เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร
4.37 นายสุเมธ ลงุ้ ใหญ่ ศึกษานิเทศก์ กรรมการ
4.38 นางสาวสุทธดิ า สรรเพชร ศึกษานเิ ทศก์ กรรมการ
4.39 นายณณฐกร พิริยาภรณ์ ศึกษานเิ ทศก์ กรรมการ
4.40 นางสาวพรพรรณ เนตรขำ ศกึ ษานเิ ทศก์ กรรมการ
4.41 นางรตั นา หลอ่ สุพรรณพร ศกึ ษานเิ ทศก์ กรรมการ
4.42 นางสาวสุภาวดี จนั สกุ ศึกษานเิ ทศก์ กรรมการ
4.43 นางสาววราภรณ์ เจนวชิ ชุเมธ นักจดั การงานทว่ั ไป ชำนาญการ กรรมการ
4.44 นางสภุ าวดี เจรญิ ฤทธ์ิ นกั จัดการงานทัว่ ไป ชำนาญการ กรรมการ
4.45 นางกาญจนา ขวัญนมิ ิตร นกั วิชาการการเงินและบัญชี ชำนาญการ กรรมการ
4.46 นายอนันวทิ ย ทองหวาน นักวชิ าการการเงินและบัญชี ชำนาญการ กรรมการ
4.47 นางสาววาสนา เจริญภักดิ์ นกั วิชาการศกึ ษา ชำนาญการ กรรมการ
4.48 นางสาวกหุ ลาบ เฟ่อื งไพบูลย์ นักวชิ าการศกึ ษา ชำนาญการ กรรมการ
4.49 นางทิพภาวลั ย์ นาคชว่ ย นกั วชิ าการศกึ ษา ชำนาญการ กรรมการ
4.50 นายธีรศักดิ์ สงนยุ้ นิตกิ ร ชำนาญการ กรรมการ
4.51 นางสาวกมลรตั น์ เกลย้ี งรตั น์ นกั ทรพั ยากรบุคคล ชำนาญการ กรรมการ
4.52 นางสาวอัมพิกา ล่ิวร่งุ โรจน์ นกั ทรพั ยากรบคุ คล ชำนาญการ กรรมการ
4.53 นางศรีรตั น์ อนุรกั ษ์ นกั ทรัพยากรบคุ คล ชำนาญการ กรรมการ
4.54 นางชนาธปิ คงสม เจ้าพนักงานธรุ การ ชำนาญงาน กรรมการ
๔.55 น.ส.กรรภริ มย์ ทองเรอื ง ผูอ้ ำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน กรรมการและ
เลขานุการ
๔.56 นางอรพนิ ทร์ วิภูษณะภทั ร์ นกั วิเคราะห์นโยบายและแผน ชำนาญการ กรรมการ
และผ้ชู ว่ ยเลขานกุ าร
4.57 นางวีระวรรณ สตั ถาภรณ์ นักวิเคราะหน์ โยบายและแผน ชำนาญการ กรรมการ
และผูช้ ่วยเลขานกุ าร
4.58 นางเพญ็ ศรี ลำยอง นกั วเิ คราะหน์ โยบายและแผน ชำนาญการ กรรมการ
และผชู้ ่วยเลขานกุ าร
5. คณะกรรมการดำเนินงาน มหี น้าที่ จดั ประชมุ รับรายงานตัว อำนวยความสะดวกในการดำเนนิ การ
ประชุม และจดั ทำเอกสารท่เี กยี่ วขอ้ งในการประชมุ ประกอบด้วย
๕.1 นางสาวกรรภิรมย์ ทองเรอื ง ผอู้ ำนวยการกลมุ่ นโยบายและแผน ประธานกรรมการ
๕.2 นางวีระวรรณ สตั ถาภรณ์ นักวิเคราะหน์ โยบายและแผน ชำนาญการ กรรมการ
5.3 นางสาวสพุ รรษา บญุ เฉย นกั วชิ าการตรวจสอบภายใน ปฏิบตั ิการ กรรมการ
๕.4 นางชนาธปิ สดุ เมอื ง เจา้ พนักงานธุรการ ชำนาญงาน กรรมการ
๕.5 นายธีรวฒั น์ เอ้งฉ้วน นักวิชาการคอมพวิ เตอร์ กรรมการ
5.6 นางสาวกมลรตั น์ เกล้ยี งรตั น์ นกั ทรพั ยากรบคุ คล ชำนาญการ กรรมการ
แผนพัฒนาการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 83
๕.7 นางอรพินทร์ วิภษู ณะภทั ร์ นักวเิ คราะหน์ โยบายและแผน ชำนาญการ กรรมการ
๕.8 นางเพ็ญศรี ลำยอง และเลขานุการ
นักวเิ คราะห์นโยบายและแผน ชำนาญการ กรรมการ
และผูช้ ว่ ยเลขานุการ
6. คณะกรรมการฝา่ ยพธิ กี ร มีหน้าท่ี กล่าวต้อนรับผเู้ ขา้ ร่วมประชมุ วิทยากร และดำเนนิ รายการประชุม
ให้เปน็ ไปด้วยความเรียบร้อย ประกอบด้วย
6.1 นางสาวกรรภิรมย์ ทองเรือง ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน ประธานกรรมการ
6.2 นางเพญ็ ศรี ลำยอง นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ กรรมการ
6.3 นางวีระวรรณ สัตถาภรณ์ นกั วเิ คราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ กรรมการ
6.4 นางอรพินทร์ วิภูษณะภัทร์ นกั วิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ กรรมการและเลขานุการ
7. คณะกรรมการฝ่ายประชาสมั พนั ธ์ มหี นา้ ที่บนั ทึกภาพการประชุม ประกอบด้วย
7.๑ นายเกษม มากชู ผอู้ ำนวยการกลุม่ อำนวยการ หวั หนา้
7.๒ นางกรกนก หวานสนิท นักประชาสัมพนั ธ์ ชำนาญการ ผชู้ ว่ ย
7.3 นายธรี วัฒน์ เอง้ ฉว้ น นกั วชิ าการคอมพิวเตอร์ ผู้ชว่ ย
8. คณะกรรมการฝ่ายยานพาหนะ มหี นา้ ท่ี อำนวยความสะดวกในการรบั -ส่งคณะวิทยากร และการ
บริการรับสง่ เอกสารตา่ ง ๆ ในสว่ นทเี่ กย่ี วขอ้ งในการจดั ประชุม ประกอบดว้ ย
8.1 นายเกษม มากชู ผู้อำนวยการกลุ่มอำนวยการ หวั หนา้
8.2 นายภาษิต ศรีว่นุ พนักงานขับรถ ผชู้ ว่ ย
8.3 นายกฤตภาส บรรสาร พนกั งานขับรถ ผชู้ ่วย
8.4 ว่าที่ ร.ต.กฤษณะ นางหลาด พนักงานขับรถ ผชู้ ว่ ย
8.5 นางสภุ าวดี เจริญฤทธ์ิ นักจดั การงานทว่ั ไป ชำนาญการ เลขานกุ าร
9. คณะกรรมการฝ่ายการเงนิ มหี นา้ ท่ี ให้คำปรึกษา กำหนดแนวทางการจัดซื้อจดั จา้ ง หลักฐานการ
เบิกจา่ ย ตรวจสอบการเบิกจ่ายและรายงานทางการเงิน ใหเ้ ปน็ ไปตามแนวทาง และระเบียบของทางราชการ
ประกอบดว้ ย
9.๑ นางชลุ กี ร ทองดว้ ง ผ้อู ำนวยการสำนกั งานเขตพื้นที่ ประธานกรรมการ
การศกึ ษาประถมศึกษาตรัง เขต ๑
9.2 นางสุนันทา รตั ตมณี นักวิชาการการเงินและบญั ชีชำนาญการพิเศษ กรรมการ
9.3 นายอนันวทิ ย ทองหวาน นักวิชาการพัสดุ ชำนาญการ กรรมการ
9.4 นางสาวประนอม รักราวี เจ้าพนักงานพัสดุ ชำนาญงาน กรรมการ
9.5 นางกณั ฑมิ า ณ พทั ลงุ ผอู้ ำนวยการกลุ่มการเงนิ และสนิ ทรพั ย์ กรรมการและ
เลขานุการ
แผนพัฒนาการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 84
ให้คณะกรรมการท่ีได้รบั การแตง่ ตัง้ จัดเตรียมข้อมูลทีเ่ กยี่ วข้อง และปฏบิ ัตหิ น้าทอ่ี ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ
เพ่ือใหก้ ารดำเนนิ งานบรรลวุ ตั ถุประสงค์ และเกิดประโยชน์สงู สดุ ต่อทางราชการ
ทงั้ น้ี ต้งั แต่บดั นเ้ี ป็นต้นไป
สั่ง ณ วนั ท่ี 4 ตลุ าคม พ.ศ. 2565
แผนพัฒนาการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 85
คำสั่งสำนกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาตรัง เขต 1
ที่ 332/25๖5
เร่อื ง แตงตัง้ คณะกรรมการประชมุ เชิงปฏบิ ัตกิ ารจดั ทำแผนพัฒนาการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน
ระยะ 5 ป (พ.ศ. 2566 – 2570) และหลกั การเขยี นโครงการท่ีสอดคลอ งเช่ือมโยงกับ
แผนการจดั การศึกษาทกุ ระดับ ในรปู แบบ XYZ ระดบั สถานศกึ ษา
............................................
ดวยสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 กำหนดประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำ
แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระยะ 5 ป (พ.ศ.2566 – 2570) และหลักการเขียนโครงการท่ีสอดคลอง
เชื่อมโยงกับแผนจัดการศึกษาทุกระดับ ในรูปแบบ XYZ ของสถานศึกษา เพื่อดำเนินงานขับเคลื่อนยุทธศาสตร
นโยบาย กลยุทธ จุดเนนของรัฐบาล กระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 ใหบรรลุเปาหมาย ประสบผลสำเร็จ และเกิด
ประสิทธภิ าพ ระหวา งวันท่ี 20 – 21 ตลุ าคม ๒๕๖5 ณ โรงแรมวัฒนาพารค อำเภอเมือง จงั หวัดตรงั
เพื่อใหการดำเนินงานดังกลาว เปนไปดวยความเรียบรอย อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๔
แหงพระราชบัญญัติระเบียบขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๗ แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๕๑ และ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓ จึงแตงตั้งคณะกรรมการประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำแผนพัฒนา
การศึกษาขั้นพื้นฐาน ระยะ 5 ป (พ.ศ. ๒๕๖6 - 2570 และหลักการเขียนโครงการที่สอดคลองเช่ือมโยงกับ
แผนจดั การศกึ ษาทุกระดับ ในรปู แบบXYZ ประกอบดว ย
1. คณะกรรมการอำนวยการ มีหนาท่ี ใหคำปรึกษา แนะนำ แกไขปญหา อุปสรรคในการจัดประชุม
เชงิ ปฏบิ ตั กิ าร ฯ ประกอบดว ย
1.๑ ผอู ำนวยการสำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษาตรงั เขต 1 ประธานกรรมการ
๑.2 นางสุมน ไชยเสนยี รองผอู ำนวยการสำนักงานเขตพน้ื ที่ กรรมการ
การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1
๑.3 นางเสาวภาพัชร ภูป ระภาดิลก รองผูอำนวยการสำนักงานเขตพนื้ ที่ กรรมการ
การศึกษาประถมศกึ ษาตรงั เขต 1
๑.4 นางสาวกรรภริ มย ทองเรอื ง ผอู ำนวยการกลมุ นโยบายและแผน กรรมการ
และเลขานุการ
๑.5 นางอรพินทร วิภูษณะภทั ร นกั วิเคราะหน โยบายและแผนชำนาญการ กรรมการ
และผชู ว ยเลขานุการ
2. คณะกรรมการวางแผน กำหนดกรอบการจดั ทำแผนแผนพฒั นาการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ระยะ 5 ป
(พ.ศ. 2566 – 2570) และจดั ทำ SWOT ของสถานศกึ ษา มหี นา ทใ่ี หคำปรกึ ษา วางแผน กำหนดกรอบการ
จดั ทำแผนพัฒนาการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ระยะ 5 ป (พ.ศ. 2566 – 2570) ของสถานศึกษา และรายละเอยี ด
ตาง ๆ ทเ่ี กีย่ วของ ประกอบดวย
2.1 นางชุลกี ร ทองดวง ผอู ำนวยการสำนกั งานเขตพ้ืนท่ี ประธานกรรมการ
การศกึ ษาประถมศกึ ษาตรงั เขต ๑
2.2 นางสมุ น ไชยเสนีย รองผอู ำนวยการสำนกั งานเขตพ้นื ท่ี รองประธานกรรมการ
การศึกษาประถมศึกษาตรงั เขต 1
2.3 นางเสาวภาพัชร ภูป ระภาดิลก รองผอู ำนวยการสำนักงานเขตพนื้ ที่ รองประธานกรรมการ
การศึกษาประถมศึกษาตรงั เขต 1
แผนพฒั นาการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 86 2
2.4 นายกฤช กาหยี ผูอำนวยการกลุมนิเทศ ตดิ ตาม ฯ กรรมการ
2.5 นายเกษม มากชู ผูอ ำนวยการกลมุ อำนวยการ กรรมการ
2.6 นางกณั ฑิมา ณ พทั ลุง ผูอำนวยการกลุมบริหารงานการเงนิ และสินทรัพย กรรมการ
2.7 นางจิรา ทองสขุ นักทรพั ยากรบุคคล ชำนาญการพเิ ศษ
2.8 นางยุพดี คลาดนาน ปฏิบตั หิ นา ทแ่ี ทนผอู ำนวยการกลุมบรหิ ารงานบุคคล กรรมการ
2.9 นางสรัญญา โยธี ผอู ำนวยการกลมุ สง เสรมิ การจดั การศึกษา กรรมการ
2.10 นายสมหมาย ชายเกตุ ผูอำนวยการหนวยตรวจสอบภายใน กรรมการ
2.11 นางบุญชาติ เนียมชู ผอู ำนวยการกลมุ กฎหมายและคดี กรรมการ
2.12 น.ส.ศิริวรรณ ยิวสิว นกั ทรพั ยากรบุคคล ชำนาญการ กรรมการ
2.13 นางเพ็ญศรี ลำยอง ปฏบิ ตั ิหนาทีผ่ อู ำนวยการกลุมพัฒนาครู ฯ
2.14 นางวรี ะวรรณ สตั ถาภรณ นกั วิเคราะหน โยบายและแผน ชำนาญการ กรรมการ
2.15 น.ส.กรรภิรมย ทองเรือง ปฏิบัติหนาท่ผี ูอำนวยการกลมุ สงเสรมิ การศึกษาทางไกล
2.16 นางอรพนิ ทร วิภูษณะภทั ร นักวเิ คราะหนโยบายและแผน ชำนาญการ กรรมการ
นักวเิ คราะหนโยบายและแผน ชำนาญการ กรรมการ
ผอู ำนวยการกลุมนโยบายและแผน กรรมการ
และเลขานกุ าร
นักวิเคราะหนโยบายและแผน ชำนาญการ กรรมการและ
ผชู วยเลขานกุ าร
3. คณะกรรมการจัดทำและรวบรวมขอ มลู สารสนเทศ เพือ่ ใชป ระกอบการจดั ทำแผนพฒั นาการศึกษา
ข้ันพนื้ ฐาน ระยะ 5 ป (พ.ศ. 2566 – 2570) ของสถานศึกษา มหี นา ที่ รวบรวม สรปุ และจดั ทำขอ มลู
สารสนเทศทเ่ี กี่ยวขอ งเพอื่ ใชในการประชมุ เชิงปฏบิ ัตกิ าร ฯ ประกอบดวย
3.1 นางสาวกรรภิรมย ทองเรือง ผูอ ำนวยการกลมุ นโยบายและแผน ประธานกรรมการ
3.2 นางวีระวรรณ สตั ถาภรณ นกั วิเคราะหนโยบายและแผน ชำนาญการ กรรมการ
3.3 นางเพญ็ ศรี ลำยอง นกั วเิ คราะหน โยบายและแผน ชำนาญการ กรรมการ
3.4 นางชนาธิป คงสม เจาพนกั งานธุรการ ชำนาญงาน กรรมการ
3.5 นายธีรวัฒน เองฉวน นกั วชิ าการคอมพิวเตอร กรรมการ
3.6 นางอรพินทร วิภษู ณะภัทร นักวเิ คราะหนโยบายและแผน ชำนาญการ กรรมการ
และเลขานุการ
๔.คณะกรรมการประชมุ เชิงปฏิบัติการจัดทำแผนพัฒนาการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน ระยะ 5 ป (พ.ศ.2566-
2570) และหลักการเขียนโครงการท่ีสอดคลองเช่ือมโยงกับแผนการจัดการศกึ ษาทุกระดับ ในรูปแบบ XYZ
ของสถานศึกษาในสังกัด มีหนาท่ีวิเคราะหแผนพัฒนาการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ใหมีความสอดคลองกับ
ยุทธศาสตรชาติ แผนปฏิรูปประเทศ นโยบายรัฐบาล กระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา
ข้ันพ้ืนฐาน และความตองการในระดับพ้ืนท่ี รวมทั้งศึกษาหลักการเขียนโครงการที่ถูกตอง ใหมีความสมบูรณ
ครบถว นตามรปู แบบ ประกอบดว ย
๔.1 ผอู ำนวยการสำนกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 ประธานกรรมการ
4.2 นางสุมน ไชยเสนยี รองผูอ ำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่ รองประธานกรรมการ
การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1
4.3 นางเสาวภาพัชร ภปู ระภาดลิ ก รองผูอำนวยการสำนกั งานเขตพ้ืนท่ี รองประธานกรรมการ
การศึกษาประถมศกึ ษาตรงั เขต 1
แผนพัฒนาการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน (พ.ศ. 2566-25703) 87
4.4 ผูบ รหิ ารสถานศกึ ษาในสังกดั 132 โรง กรรมการ
4.5 นายสุเมธ ลงุ ใหญ ศกึ ษานเิ ทศก กรรมการ
4.6 นางสาวสทุ ธิดา สรรเพชร ศกึ ษานเิ ทศก กรรมการ
4.7 นายณณฐกร พิรยิ าภรณ ศกึ ษานเิ ทศก กรรมการ
4.8 นางสาวพรพรรณ เนตรขำ ศกึ ษานเิ ทศก กรรมการ
4.9 นางรตั นา หลอ สุพรรณพร ศกึ ษานิเทศก กรรมการ
4.10 นางสาวสุภาวดี จันสกุ ศึกษานเิ ทศก กรรมการ
4.11 นางสรญั ญา โยธี ผูอ ำนวยการหนวยตรวจสอบภายใน กรรมการ
4.12 นางสาวศริ วิ รรณ ยิวสวิ นกั วิเคราะหนโยบายและแผน ชำนาญการ กรรมการ
ปฏิบัตหิ นาทีผ่ อู ำนวยการกลมุ สง เสริมการศกึ ษาทางไกล
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
๔.13 นางสาวกรรภิรมย ทองเรอื ง ผูอ ำนวยการกลุมนโยบายและแผน กรรมการและ
เลขานุการ
๔.14 นางอรพนิ ทร วิภูษณะภทั ร นกั วิเคราะหน โยบายและแผน ชำนาญการ กรรมการ
และผูชวยเลขานกุ าร
4.15 นางวีระวรรณ สัตถาภรณ นกั วิเคราะหน โยบายและแผน ชำนาญการ กรรมการ
และผชู วยเลขานกุ าร
4.16 นางเพ็ญศรี ลำยอง นกั วิเคราะหน โยบายและแผน ชำนาญการ กรรมการ
และผชู ว ยเลขานุการ
5. คณะกรรมการดำเนนิ งาน มีหนา ที่ จัดประชุม รับรายงานตัว อำนวยความสะดวกในการดำเนนิ การ
ประชมุ และจดั ทำเอกสารทเี่ ก่ียวของกับการประชมุ ในวันดังกลาว ประกอบดว ย
๕.1 นางสาวกรรภริ มย ทองเรอื ง ผูอำนวยการกลุมนโยบายและแผน ประธานกรรมการ
๕.2 นางวีระวรรณ สตั ถาภรณ นกั วิเคราะหน โยบายและแผน ชำนาญการ กรรมการ
5.3 นางสาวสพุ รรษา บญุ เฉย นักวชิ าการตรวจสอบภายใน ปฏิบตั ิการ กรรมการ
๕.4 นางชนาธปิ คงสม เจาพนักงานธรุ การ ชำนาญงาน กรรมการ
5.5 นางสาวสมศริ ิ ทองสมณ เจา พนกั งานธุรการ ปฏิบัตงิ าน กรรมการ
5.6 นางสาวชนญั ชดิ า ศรสี ขุ เจาหนาทธี่ รุ การ กรรมการ
๕.6 นายธรี วัฒน เอง ฉว น นกั วิชาการคอมพิวเตอร กรรมการ
5.7 นางสาวกมลรตั น เกล้ียงรตั น นกั ทรัพยากรบคุ คล ชำนาญการ กรรมการ
๕.8 นางอรพนิ ทร วิภษู ณะภัทร นักวเิ คราะหน โยบายและแผน ชำนาญการ กรรมการ
และเลขานุการ
๕.9 นางเพญ็ ศรี ลำยอง นกั วิเคราะหน โยบายและแผน ชำนาญการ กรรมการ
และผชู วยเลขานกุ าร
6. คณะกรรมการฝา ยพิธกี ร มีหนา ท่ี กลาวตอ นรบั ผเู ขารว มประชุม วิทยากร และดำเนินรายการประชมุ
ใหเ ปนไปดว ยความเรียบรอย ประกอบดว ย
6.1 นายกฤช กาหยี ผูอำนวยการกลมุ นเิ ทศ ติดตาม ฯ ประธานกรรมการ
6.2 นางสาวกรรภิรมย ทองเรือง ผอู ำนวยการกลมุ นโยบายและแผน กรรมการ
แผนพฒั นาการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 88 4
6.3 นางสาวสุทธิดา สรรเพชร ศกึ ษานเิ ทศก กรรมการ
6.4 นางเพญ็ ศรี ลำยอง นักวเิ คราะหนโยบายและแผนชำนาญการ กรรมการ
6.5 นางวรี ะวรรณ สัตถาภรณ นักวเิ คราะหน โยบายและแผนชำนาญการ กรรมการ
6.6 นางอรพนิ ทร วิภูษณะภทั ร นกั วิเคราะหน โยบายและแผนชำนาญการ กรรมการและเลขานุการ
7. คณะกรรมการฝา ยประชาสัมพนั ธ มีหนาท่ีบนั ทึกภาพการประชมุ ประกอบดวย
7.๑ นายเกษม มากชู ผอู ำนวยการกลมุ อำนวยการ หัวหนา
7.๒ นางกรกนก หวานสนิท นกั ประชาสมั พันธ ชำนาญการ ผูชวย
7.3 นายธีรวฒั น เองฉว น นกั วชิ าการคอมพวิ เตอร ผชู ว ย
8. คณะกรรมการฝา ยยานพาหนะ มีหนา ที่ อำนวยความสะดวกในการบรกิ ารรบั -สง เอกสารตาง ๆ ใน
สวนทีเ่ กีย่ วขอ งในการจัดประชุม ประกอบดวย
8.1 นายเกษม มากชู ผอู ำนวยการกลุม อำนวยการ หัวหนา
8.2 นายภาษติ ศรีวุน พนักงานขับรถ ผชู ว ย
8.3 นายกฤตภาส บรรสาร พนกั งานขบั รถ ผูช วย
8.4 วา ที่ ร.ต.กฤษณะ นางหลาด พนกั งานขบั รถ ผชู วย
8.5 นางสุภาวดี เจริญฤทธ์ิ นกั จัดการงานทว่ั ไป ชำนาญการ เลขานกุ าร
9. คณะกรรมการฝา ยการเงนิ มหี นา ท่ี ใหค ำปรึกษา กำหนดแนวทางการจดั ซอื้ จัดจาง หลักฐานการ
เบกิ จาย ตรวจสอบการเบิกจายและรายงานทางการเงนิ ใหเ ปนไปตามแนวทาง และระเบยี บของทางราชการ
ประกอบดว ย
9.๑ นางชลุ กี ร ทองดวง ผอู ำนวยการสำนักงานเขตพืน้ ท่ี ประธานกรรมการ
การศกึ ษาประถมศกึ ษาตรงั เขต ๑
9.2 นางสนุ ันทา รตั ตมณี นกั วิชาการการเงินและบัญชชี ำนาญการพิเศษ กรรมการ
9.3 นายอนันวิทย ทองหวาน นกั วิชาการพัสดุ ชำนาญการ กรรมการ
9.4 นางสาวประนอม รักราวี เจา พนักงานพสั ดุ ชำนาญงาน กรรมการ
9.5 นางกณั ฑมิ า ณ พทั ลุง ผูอำนวยการกลุมการเงนิ และสินทรัพย กรรมการและ
เลขานุการ
ใหคณะกรรมการทไ่ี ดรับการแตงตง้ั จัดเตรียมขอ มลู ทเี่ ก่ียวของ และปฏิบตั หิ นา ทีอ่ ยา งมปี ระสิทธภิ าพ
เพือ่ ใหการดำเนินงานบรรลุวัตถุประสงค และเกิดประโยชนสงู สดุ ตอทางราชการ
ท้ังนี้ ต้งั แตบ ดั นี้เปนตนไป
สัง่ ณ วันท่ี 6 ตลุ าคม พ.ศ. 2565
แผนพัฒนาการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน (พ.ศ. 2566-2570) 89
คณะทำงาน
ท่ีปรกึ ษา
นางชลุ ีกร ทองดว้ ง ผอู้ ำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1
นางเสาวภาพชั ร ภปู่ ระภาดลิ ก รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาตรงั เขต 1
คณะทำงานจัดทำเอกสาร ผู้อำนวยการกลมุ่ นโยบายและแผน
นางสาวกรรภริ มย์ ทองเรอื ง นกั วเิ คราะห์นโยบายและแผน ชำนาญการ
นางอรพนิ ทร์ วภิ ษู ณะภทั ร์ นักวิเคราะหน์ โยบายและแผน ชำนาญการ
นางวรี ะวรรณ สัตถาภรณ์ นักวเิ คราะห์นโยบายและแผน ชำนาญการ
นางเพญ็ ศรี ลำยอง เจา้ พนักงานธรุ การ ปฏบิ ตั งิ าน
นางชนาธิป คงสม เจา้ หน้าทีค่ อมพิวเตอร์
นายธรี วัฒน์ เอ้งฉ้วน
สรุป/รวบรวม/วเิ คราะห/์ จดั ทำรปู เล่ม
นางสาวกรรภิรมย์ ทองเรือง ผ้อู ำนวยการกลุม่ นโยบายและแผน
นางอรพินทร์ วภิ ูษณะภัทร์ นักวเิ คราะห์นโยบายและแผน ชำนาญการ
ค่านิยมองค์กร
บรกิ ารดีเยีย่ ม เป่ ียมคุณธรรม นาองคก์ รสคู่ วามเป็นเลศิ
สานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาตรัง เขต 1
200 หมู่ 12 ถ. ตรงั -ปะเหลยี น ต.โคกหล่อ อ.เมอื งตรัง จ.ตรัง 92000
โทร. 075-572030 โทรสาร. 075-291509