The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงการคัดเลือกบุคลากรดีเด่น มหาวิทยาลัยพะเยา ประจำปี 2566

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by อุดม งามเมืองสกุล, 2023-06-13 09:00:48

เอกสารประกอบการเสนอเพื่อคัดเลือกบุคลากรดีเด่น

โครงการคัดเลือกบุคลากรดีเด่น มหาวิทยาลัยพะเยา ประจำปี 2566

4.1 (11) และ 6.2 (6) โครงการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมฐานรากหลังโควิดด้วยเศรษฐกิจ BCG (U2T for BCG and Regional Development) หรือ โครงการ “มหาวิทยาลัยสู่ตำบล U2T for BCG” คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัย พะเยา วงเงินทุนสนับสนุนการจ้างงาน 6,912,000 บาท และงบสนับสนุนการดำเนินโครงการ 2,670,000 บาท รวม เป็นเงินจำนวน 9,582,000 บาท ลำดับ จังหวัด อำเภอ ตำบล งบกิจกรรม/ โครงการ งบจ้างงานบัณฑิต และ ประชาชน 1 พะเยา เชียงม่วน สระ 107,500 288,000 2 พะเยา เชียงม่วน บ้านมาง 107,500 288,000 3 พะเยา ภูกามยาว ห้วยแก้ว 107,500 288,000 4 พะเยา เชียงคำ ร่มเย็น 107,500 288,000 5 พะเยา ปง ควร 107,500 288,000 6 พะเยา ภูซาง ทุ่งกล้วย 107,500 288,000 7 พะเยา ภูซาง ป่าสัก 107,500 288,000 8 พะเยา เชียงม่วน เชียงม่วน 107,500 288,000 9 พะเยา เชียงคำ ทุ่งผาสุข 107,500 288,000 10 พะเยา ปง ผาช้างน้อย 107,500 360,000 11 ลำปาง วังเหนือ วังซ้าย 145,000 360,000 12 ลำปาง วังเหนือ ทุ่งฮั้ว 145,000 360,000 13 เชียงราย พญาเม็งราย แม่ต๋ำ 145,000 360,000 14 ไม้ยา 145,000 360,000 15 เม็งราย 145,000 360,000 16 แม่เปา 145,000 360,000 17 เชียงราย เวียงแก่น หล่ายงาว 145,000 360,000 18 เชียงราย ดอยหลวง ปงน้อย 145,000 360,000 19 เชียงราย พญาเม็งราย ตาดควัน 145,000 360,000 20 น่าน ปัว ไชยวัฒนา 145,000 360,000 21 น่าน เวียงสา ทุ่งสีทอง 145,000 360,000 รวม 2,670,000 6,912,000 รวมงบประมาณทั้งหมด 9,582,000


รางวัลชนะเลิศ =ตำบลทุ่งผาสุข อ.เชียงคำ จ.พะเยา โดย คณะนิติศาสตร์ รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 = ตำบลเชียงม่วน อ.เชียงม่วน จ.พะเยา โดย คณะนิติศาสตร์ รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 = ตำบลทุ่งกล้วย อ.ภูซาง จ.พะเยา โดย คณะนิติศาสตร์ รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 = ตำบลบ้านมาง อ.เชียงม่วน จ.พะเยา โดย คณะนิติศาสตร์ 4.1(12) และ 6.2(7) ได้รับรางวัลชนะเลิศโครงการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมฐานรากหลังโควิดด้วยเศรษฐกิจ BCG (U2T for BCG and Regional Development) ซงึ่ มีตำบลที่ขับเคลื่อนกิจกรรมโครงการโดยคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลยัพะเยา สามารถไดร้ับรางวัลชนะเลิศ และรองชนะเลิศ รวม 4 ตำบล คือ


4.1(13) และ 6.2(8) รางวัล Silver Award ในมหกรรมงานวิจัยเพื่อพัฒนาพื้นที่ Area-Based Research Share and Learn Fair จากโครงการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมฐานรากหลังโควิดด้วยเศรษฐกิจ BCG (U2T for BCG and Regional Development) หรือ U2T For BCG ตำบลห้วยแก้ว อำเภอภูกามยาว จังหวัดพะเยา โดยคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา รางวัลชนะเลิศ


4.1 (14) และ 6.2 (10) รางวัล พนื้ ที่การเรียนรู้ (Learning Space) มหาวิทยาลัยพะเยา ประจำปี2565 จำนวน 2 โครงการ ประกอบด้วย (1) รางวัลระดบั Silver คือ คลนิิกกฎหมาย คณะนิติศาสตร์ มหาวทิยาลัยพะเยา โดย อาจารย์พษิณุ เจนดง และกลุ่มงานคลินิกกฎหมาย (2) รางวัลระดบั Bronze คือ ศูนยก์ ารเรียนรู้เกษตรอินทรีย์ กลุ่มวิสาหกิจวิถีเกษตร โดย ผศ.นริษรา ประสทิธิปานวงั


4.1 (15) และ 6.2 (11) คณาจารย์คณะนิติศาสตร์ ได้รับทุนการจัดทำหลักสูตรระยะสั้น มหาวิทยาลัยพะเยา Super KPI 1.1 (หลักสูตรระยะสั้น) ประจำปีงบประมาณ 2566 (1) หลักสูตรการจัดการเรียนการสอนล่วงหน้า (Pre degree) จำนวน 2 หลักสูตร (2) หลักสูตรระยะสั้นเพื่อพัฒนาสมรรถนะ (Non degree) จำนวน 2 หลักสูตร


4.1 (16) และ 6.2 (12) สโมสรนิสิตคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา ได้รับรางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 1 “กิจกรรมต้อนรับนิสิตใหม่อย่างสร้างสรรค์” ในโครงการพัฒนา UP Identity สู่ Smart Student


4.1(17) และ 6.2(16) รางวัลโครงการ "1 คณะ 1 ชุมชนนวัตกรรม” (1) " Silver Award " โครงการ "1 คณะ 1 ชุมชนนวัตกรรม” ประจำปี 2564 โครงการ วิจัย “กระบวนการมีส่วนร่วมจัดทำนโยบายส่งเสริมสิทธิชุมชนเพื่อพัฒนาการท่องเที่ยวที่ยั่งยืน” พื้นที่ดำเนินโครงการ : ตำบลควร อำเภอปง จังหวัดพะเยา โดย อ.วิทูรย์ ตลุดกำ (2) " Silver Award " โครงการ "1 คณะ 1 ชุมชนนวัตกรรม” ประจำปี 2565 พื้นที่ดำเนินโครงการ : ตำบลสระ อำเภอเชียงม่วน จังหวัดพะเยา ผลิตภัณฑ์ : กระเป๋าผ้าทอไทลื้อ โดย ผศ.กาญจนุรัตน์ ไมรินทร์


4.1 (18) คลินิกฎหมายคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา เป็นผู้ขับเคลื่อนและร่วมดำเนินการ ร่วมกับกรมคุ้มครองสิทธิ และเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม และมูลนิธิพะเยาเพื่อการพัฒนา จนทำให้ศูนย์คุ้มครองสิทธิผู้บริโภค หน่วยประจำจังหวัด พะเยา สภาองค์กรของผู้บริโภค ถือเป็นหน่วยงานแรกของสภาองค์กรของผู้บริโภคที่ได้บูรณาการ จัดตั้งเป็น "ศูนย์ไกล่ เกลี่ยข้อพิพาทภาคประชาชน" ตามพระราชบัญญัติการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท พ.ศ. 2562 สอดคล้องกับบทบาทหน้าที่ตาม พระราชบัญญัติการจัดตั้งสภาองค์กรของผู้บริโภค พ.ศ. 2562 มาตรา 14 (6) “สนับสนุนและช่วยเหลือสมาชิกในการไกล่ เกลี่ยหรือประนีประนอมยอมความข้อพิพาทเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิของผู้บริโภคทั้งก่อนและในระหว่างการดำเนินคดีต่อ ศาล” ซึ่งการจัดตั้งศูนย์ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทภาคประชาชน ถือเป็นกลไกที่จะช่วยเหลือผู้บริโภคและการยุติข้อพิพาท ทางเลือกที่เกิดประโยชน์ ลดปริมาณคดีความ ลดค่าใช้จ่าย และประหยัดเวลา และบันทึกข้อตกลงระงับข้อพิพาทมีสภาพ บังคับตามกฎหมาย มาตรา 32 "เมื่อคู่กรณีฝ่ายหนึ่งเรียกร้องให้คู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งปฏิบัติตามข้อตกลงระงับข้อพิพาทแล้ว แต่คู่กรณีฝ่ายที่ถูกเรียกร้องนั้นไม่ปฏิบัติตามข้อตกลงระงับข้อพิพาท คู่กรณีฝ่ายที่เรียกร้องอาจยื่นคำร้องขอต่อศาลเพื่อให้ บังคับตามข้อตกลงระงับข้อพิพาทได้...ฯ"


4.1 (19) ได้รับการคัดเลือกจากกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม ให้เป็นหน่วยฝึกอบรมให้พระเดชพระ คุณท่านเจ้าคุณ เจ้าคณะจังหวัด เจ้าคณะอำเภอ พระสังฆาธิการ บุคลากรของวัดห้วยปลากั้ง และวัดต่าง ๆ ในจังหวัด เชียงราย “หลักสูตรผู้ไกล่เกลี่ยข้อพิพาท ตามพระราชบัญญัติการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท พ.ศ.2562” และพระไพศาล ประชาทร วิ. (พระอาจารย์พบโชค ติสฺสวํโส) เจ้าอาวาสวัดห้วยปลากั้ง ได้ดำเนินการจัดตั้งศูนย์ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทภาค ประชาชน ตำบลริมกก (วัดห้วยปลากั้ง) จังหวัดเชียงราย และร่วมจัดมหกรรมไกล่เกลี่ยหนี้สินลูกหนี้ครัวเรือน เพื่อ ขับเคลื่อนงานด้านการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท เพื่อช่วยเหลือบรรเทาความเดือนร้อนของลูกหนี้และประชาชนที่เป็นหนี้ภาค ครัวเรือน กิจกรรม “พร้อมใจไกล่เกลี่ย แก้หนี้ครัวเรือน จังหวัดเชียงราย”


4.1 (20) ได้รับการอนุมัติจากกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม ให้คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยานำ “หลักสูตรผู้ไกล่เกลี่ยข้อพิพาท ตามพระราชบัญญัติการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท พ.ศ.2562” มาดำเนินการบริหาร จัดการเพื่อเปิดรับการฝึกอบรม โดยถือเป็นหลักสูตรที่ผ่านการรับรองและอนุมัติหลักสูตรโดยคณะกรรมการ พัฒนาการบริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ (กพยช.) ผู้ผ่านการอบรมจะได้รับประกาศนียบัตร และเป็นผู้ที่มีสิทธิขึ้น ทะเบียนเป็นผู้ไกล่เกลี่ยได้ตามพระราชบัญญัติการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท พ.ศ.2562


4.1 (21) ตัวแทนนิสิต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา ได้รับรางวัลจากโครงการแข่งขันทักษะทางวิชาการนิติศาสตร์ ภาคเหนือ : วิชาการลูกรพีภาคเหนือ (14 สถาบัน) รางวัลชนะเลิศ การประกวดคลิปสั้น หัวข้อ “กฎหมายใหม่ที่ฉันต้องการ” 1. นายณัฐพล จิ๋วนุช 2. นายนฤเบศ มีสา 3. นายณัฐพล รับส่ง 4. นายณัฐดนัย มั่งมูล 5. นายกิตติชัย วิรัชกุล รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 การแข่งขันโต้วาที หัวข้อ “กฎหมายกับการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน” 1. นายฉะ กอหลิง 2. นายกฤษดนัย ผัดกาศ


4.1 (22) จัดทำประมวลกฎหมายฉบับ E-Book ซึ่งถือเป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกในประเทศไทยที่มีการจัดทำประมวล กฎหมายเพื่อให้บริการแก่ผู้เรียนและประชาชนทั่วไปได้นำใช้โดยไม่คิดค่าใช้จ่าย ประกอบด้วย (1) ประมวล กฎหมายแพ่งและพาณิชย์(2) ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง (3) ประมวลกฎหมายยาเสพติด (4) ประมวลกฎหมายอาญา (5) ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา และ (6) รวมกฎหมายการไกล่เกลี่ยข้อ พิพาท http://www.law.up.ac.th/Elearning.aspx


4.1 (23) จัดทำหลังสูตรฝึกอบรมกฎหมาย “คอร์ส กฎหมายออนไลน์ (learning)” คณะนิติศาสตร์มหาวิทยาลัยพะเยาเพื่อ ให้บริการฝึกอบรมในรูปแบบหลักสูตรออนไลน์ ให้บริการฝึกอบรมด้านกฎหมายเพื่อให้บริการแก่ผู้เรียนและ ประชาชนทั่วไป โดยพัฒนาและจัดทำขึ้นเป็นระบบห้องเรียนออนไลน์เต็มรูปแบบ ตั้งแต่การสมัครเรียน การจ่าย ค่าฝึกอบรม การเก็บชั่วโมงการอบรม การวัดผลประเมินผล และการออกวุฒิบัติผ่านระบบอนนไลน์ http://lawlearning.up.ac.th/


4.1 (24) ร่วมกับกระทรวงยุติธรรม จัดกิจกรรม “มหกรรมไกล่เกลี่ยหนี้สินครัวเรือนและยุติธรรมพบประชาชน" ครั้งที่ 31 จังหวัดพะเยา วันที่ 20 มิถุนายน 2565 ณ หอประชุมพญางำเมือง มหาวิทยาลัยพะเยา สามารถ ดำเนินการไกล่เกลี่ยหนี้สินให้แก่ประชาชน รวมจำนวนทุนทรัยพ์ 104,853,695.10 บาท


4.1(25) ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ ว่าด้วยการบริการทางวิชาการ บูรณาการความรู้ทาง กฎหมาย เพื่อการขับเคลื่อนและพัฒนาจังหวัดพะเยา ระหว่าง องค์การบริหารส่วนจังหวัดพะเยา และ มหาวิทยาลัยพะเยา (คณะนิติศาสตร์) เพื่อให้บริการวิชาการด้านกฎหมายให้กับข้าราชการส่วนท้องถิ่น บูรณาการณ์เพื่อร่วมขับเคลื่อนจังหวัดพะเยาเมืองแห่งการเรียนรู้ (Phayao Learning City) ร่วมจัดการประชุมสัมมนาเชิงวิชาการเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน สำหรับบุคลากรองค์การบริหารส่วน จังหวัดภาคเหนือ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 โดย สมาพันธ์องค์การบริหารส่วนจังหวัดภาคเหนือ ภายใต้หัวข้อ "การขับเคลื่อนองค์การบริหารส่วนจังหวัดในยุค Disruption และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมหลังผลกระทบ”


4.1 (26) เปิดให้บริการเครื่องถ่ายเอกสารฟรีแก่นิสิตเพื่อลดภาระค่าใช้จ่าย และบูรณาการกับ Green Office รณรงค์ ให้ใช้กระดาษใช้ซ้ำ (Reuse) และการจัดพื้นที่ปลอด PM 2.5 ไว้อำนวยความสะดวกแก่นิสิตและบุคลากร


เอกสารประกอบการแสดงวิสัยทัศน์ การสรรหาคณบดีคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา วันที่ 16 สิงหาคม 2564 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อุดม งามเมืองสกุล แนวทางการพัฒนาและการบริหารงาน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา (ปีงบประมาณ 2565 – 2569)


สถานภาพปัจจุบันของคณะนิติศาสตร์มหาวิทยาลัยพะเยา ประวัติความเป็นมา - ปีงบประมาณ 2546 : เปิดรับนิสิตสาขาวิชานิติศาสตร์เป็นครั้งแรก สังกัดสำนักศิลปศาสตร์มหาวิทยาลัย นเรศวร วิทยาเขตสารสนเทศพะเยา - ปีงบประมาณ 2551 : จัดตั้งสำนักวิชานิติศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา - วันที่ 17 กรกฎาคม 2553 : พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยพะเยา มีผลบังคับใช้ เปลี่ยนจาก สำนักนิติศาสตร์เป็น คณะนิติศาสตร์มหาวิทยาลัยพะเยา หลักสูตร 1) หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต 1.1 นิติศาสตรบัณฑิต 1.2 นิติศาสตรบัณฑิต + คู่ขนาน (2 ปริญญา) ลำดับ ปริญญาตรีสาขาวิชาคณะนิติศาสตร์ (ภาคปกติ) รวม ชาย หญิง รวม 1. น.บ. 444 768 1,212 รวมนิติศาสตรบัณฑิต 444 768 1,212 ลำดับ ปริญญาตรี นิติศาสตรบัณฑิต คู่ขนาน 2 ปริญญา (ภาคปกติ) รวม ชาย หญิง รวม 1. น.บ. และ บช.บ. 16 60 76 2. น.บ. และ วท.บ. (เทคโนโลยีสารสนเทศ) 5 12 17 3. น.บ. และ ศศ.บ (ภาษาอังกฤษ) 15 42 57 4. วท.บ. (สาธารณสุขศาสตร์) แขนงอนามัยชุมชน และ น.บ. 1 0 1 5. วท.บ. (อนามัยสิ่งแวดล้อม) และ น.บ. 1 26 27 6. ส.บ. (อนามัยชุมชน) และ น.บ. 8 86 94 รวมคู่ขนาน 2 ปริญญา 46 226 272 ลำดับ ปริญญาตรีนิติศาสตรบัณฑิต (ภาคพิเศษ) รวม ชาย หญิง รวม 1. น.บ. 55 5 60 รวมนิติศาสตรบัณฑิต (ภาคพิเศษ) 55 5 60 รวมปริญญาตรีทั้งหมด 545 999 1,544 2) หลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต ลำดับ ปริญญาโท นิติศาสตรมหาบัณฑิต รวม ชาย หญิง รวม 1. น.ม. (แผน ก.) 8 9 17 2. น.ม. (แผน ข.) 17 10 27 รวม 25 19 44 3) หลักสูตรนิติศาสตรดุษฎีบัณฑิต ลำดับ ปริญญาเอก นิติศาสตรดุษฎีบัณฑิต รวม ชาย หญิง รวม 1. น.ด. 3 0 3 รวม 3 0 3 ข้อมูล ณ วันที่ : 1 สิงหาคม 2564 https://reg.up.ac.th/ ป.ตรี; 1,544 ป.โท; 44 ป.เอก; 3 1,591 1


บุคลากรคณะนิติศาสตร์ ข้อมูล ณ เดือนกรกฎาคม 2564 http://www.personnel.up.ac.th/ พนักงานมหาวิทยาลัย ลูกจ้างชั่วคราว ลูกจ้างเงินรายได้ รวม สายสนับสนุน 9 0 2 11 พนักงานมหาวิทยาลัย อาจารย์ ผศ. รศ. ศ. รวม หมายเหตุ สายวิชาการ 21 17 1 0 39 ลาศึกษา 4 คู่เทียบ 2 สถาบันการศึกษาที่เปิดสอนในหลักสูตรนิติศาสตร์ เรียบเรียงจาก http://www.info.mua.go.th/info/ (20 กันยายน 2562) สถิตินักศึกษาหลักสูตรนิติศาสตร์ทั้งหมด ภาคเรียนที่ 1/2563 (เรียงตามจำนวนนักศึกษา 10 ลำดับแรก) มหาวิทยาลัยในกำกับ คน (1) มหาวิทยาลัยรามคำแหง 38,363 (2) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 9,433 (3) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์+ ศูนยรังสิต ศูนย์ลำปาง 3,351 (4) มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2,459 (5) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 2,326 (6) มหาวิทยาลัยทักษิณ+วิทยาเขต 2,243 (7) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 1,508 (8) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1,441 (9) มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง 1,314 (10) มหาวิทยาลัยพะเยา 1,282 เรียบเรียงจาก http://www.info.mua.go.th/info/ (5 สิงหาคม 2564) สถิตินักศึกษาหลักสูตรนิติศาสตร์ทั้งหมด ภาคเรียนที่ 1/2563 (เรียงตามจำนวนนักศึกษา 10 ลำดับแรก) มหาวิทยาลัยราชภัฏ คน (1) มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฏร์ธานี 1,213 (2) มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี 846 (3) มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี 685 (4) มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม 601 (5) มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา 520 (6) มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 494 (7) มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี 471 (8) มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม 467 (9) มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี 455 (10) มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม 446 เรียบเรียงจาก http://www.info.mua.go.th/info/ (5 สิงหาคม 2564) สถิตินักศึกษาหลักสูตรนิติศาสตร์ทั้งหมด ภาคเรียนที่ 1/2563 (เรียงตามจำนวนนักศึกษา 10 ลำดับแรก) มหาวิทยาลัยเอกชน คน (1) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย 2,226 (2) มหาวิทยาลัยปทุมธานี 773 (3) มหาวิทยาลัยศรีปทุม+วิทยาเขตชลบุรี 751 (4) มหาวิทยาลัยกรุงเทพ 652 (5) มหาวิทยาลัยสยาม 641 (6) มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่ 614 (7) มหาวิทยาลัยเฉลิมกาญจนา 436 (8) มหาวิทยาลัยศรีปทุม ขอนแก่น 290 (9) มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ 274 (10) มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ 269 เรียบเรียงจาก http://www.info.mua.go.th/info/ (5 สิงหาคม 2564)


วิเคราะห์จุดแข็งและจุดอ่อน ด้วย 7s McKinsey 7s McKinsey จุดแข็ง (Strength) จุดอ่อน (Weakness) Strategy 1. ไม่ได้มาจากการมีส่วนร่วมของบุคลากรทุกระดับ 2. แผนกลยุทธ์ไม่สอดคล้องสถานการณ์ปัจจุบัน/อนาคต 3. การกำหนด Super KPI ที่ขาดความท้าทาย (ขั้นต่ำ) จะไม่ก่อให้เกิดการพลิกโฉม Structure 1. ภูมิทัศน์สวยงาม อาคารสถานที่มีความพร้อม รองรับการดำเนินงาน และการขับเคลื่อน ร่วมกับชุมชน 1. โครงสร้างองค์กรและการบริหารงานไม่ชัดเจน 2. พึ่งพาเงินรายได้จากค่าธรรมเนียมการศึกษาเป็นหลัก ขาดการแสวงหารายได้จากหลักสูตรพิเศษ หรือการ ให้บริการวิชาการลักษณะอื่น System 1. มหาวิทยาลัยมีระบบสารสนเทศที่ดี เช่น eBudget รองรับการวางแผนยุทธศาสตร์ การ บริหารงบประมาณ การเบิกจ่าย การติดตาม ประเมินผล ระบบ HR SMART, DMS เอื้อ ต่อการบริหารงานระดับคณะ 1. ขาดข้อมูลเพื่อการตัดสินใจ เช่น สถิติบัณฑิตที่สอบผ่าน เนติบัณฑิต ใบอนุญาตทนายความ และข้อมูล ประกอบการทำแผนประชาสัมพันธ์ เช่น นิสิตมาจาก จังหวัดใด/โรงเรียนใด 2. คณะฯขาดการสื่อสารเชิงนโยบายไปยังผู้มีส่วนได้เสีย 3. ขาดระบบการสังเคราะห์การบริหารงบประมาณ และ ความสำเร็จของแผนงาน Staff 1. บุคลากรสายวิชาการมีจำนวนมาก (39 คน) มีความเชี่ยวชาญกฎหมายในหลากหลาย สาขา และ มีความศักยภาพ 2. บุคลากรช่วยเหลือซึ่งกันและกัน 1. การวิจัย/การตีพิมพ์ผลงานมีจำนวนน้อย 2. ไม่มีผลงานพิมพ์เผยแพร่ในระดับนานาชาติ 3. ขาดบทบาทในการขับเคลื่อนหรือชี้นำประเด็นสำคัญ ด้านกฎหมายของชุมชนและสังคม Skill 1. บุคลากรสายวิชาการ มีตำแหน่งทางวิชาการ ในสัดส่วนที่สูงเมื่อเทียบกับคณะอื่น 2. บุคลากรสายวิชาการ ผ่านการประเมิน อาจารย์มืออาชีพ (UP PSF) ในสัดส่วนที่สูง เมื่อเทียบกับคณะอื่น 3. บุคลากรสายสนับสนุนมีทักษะและ ประสบการณ์ในการทำงาน 1. คณะขาดระบบการพัฒนาอาจารย์ให้เป็นอาจารย์มือ อาชีพ (UP PSF) การประเมินที่ผ่านมาเกิดจากการ ดำเนินการของอาจารย์ด้วยตนเอง 2. ขาดระบบการส่งเสริมบุคลากรสายสนับสนุนสายให้เข้า สู่การประเมินตำแหน่งที่สูงขึ้น 3. บุคลากรยังขาดทักษะทางภาษาอังกฤษ 4. ขาดระบบการส่งเสริมหรือสร้างแรงจูงใจในการเขียน ตำรา หรือการบทความเพื่อตีพิมพ์ในระดับนานาชาติ Style 1. ขาดการสื่อสาร การรับฟังความคิดเห็น รับฟังปัญหา และนำไปปรับปรุงพัฒนายังมีน้อย 2. ขาดการทำงานแบบมีส่วนร่วม ไม่เป็นทีม 3. ผู้บริหารไม่ทำงานประสานกับชุมชน ขาดการทำงาน เชิงรุก และ Super KPI ที่ยังขาดความท้าทาย 4. ขาดภาวะผู้นำ ไม่สามารถดึกศักยภาพบุคลากร และทำ ให้คนที่ทำงานหมดกำลังใจ 5. โครงสร้างงานบริหาร/ขั้นตอนการทำงานไม่เป็นระบบ Shared Value 1. ขาดการมีส่วนร่วมในการกำหนดค่านิยมร่วม 2. ขาดการสื่อสารและทำความเข้าใจค่านิยมร่วม 3


การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอกด้วย PEST Analysis PEST โอกาส (Opportunities) อุปสรรค (Threats) 1. นโยบายรัฐบาลและ กฎหมาย (Political) 1. ยุทธศาสตร์ชาติ, แผนปฏิรูปประเทศ, SDGs, แผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่ 13, แผนพัฒนาภาค แผนพัฒนา จังหวัด และ การพลิกโฉมมหาวิทยาลัย (Reinventing University) กลุ่ม C “การพัฒนาชุมชนเชิงพื้นที่” (Area Based and Community) สอดคล้องกับปณิธานของมหาวิทยาลัย และ เอื้อต่อการขับเคลื่อนของคณะนิติศาสตร์ 1. ความไม่ชัดเจนเกี่ยวกับการเทียบ โอนหน่วยกิต ระบบคลังหน่วยกิต สาขานิติศาสตร์ (สภานิติศึกษา) 2. ความไม่ชัดเจนเชิงนโยบายด้านการ จัดสรรงบประมาณกับการแบ่งกลุ่ม มหาวิทยาลัย 2. สภาวะเศรษฐกิจ (Economic and Environment) 1. คณะนิติศาสตร์ มีโอกาสแสดงศักยภาพในการวิจัย/บริการวิชาการ ช่วยพัฒนา/ฟื้นฟูเศรษฐกิจฐานราก และปัญหาของชุมชนตาม ยุทธศาสตร์ชาติ และนโยบายรัฐบาล 2. COVID-19 สภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ กระทบรายได้ครอบครัวของนิสิต 3. การเมือง สังคม และ วัฒนธรรม (Social and Cultural) 1. ไลฟ์สไตล์และธุรกิจออนไลน์ ส่งผลต่อการปรับปรุงกฎหมาย และ เป็นโอกาสในการจัดการศึกษาสมัยใหม่ หลักสูตรใหม่ที่สอดคล้อง ความต้องการของสังคม 2. กฎหมายด้านสุขภาพ การแพทย์ ธุรกิจประกันภัย ประกันชีวิตจะ ได้รับความสนใจมากยิ่งขึ้น 3. COVID-19 เป็นปัจจัยหนึ่งที่ทำให้นักเรียนเลือกศึกษาใน มหาวิทยาลัยใกล้บ้าน และมีระบบการเรียนที่รองรับ 1. จำนวนประชากรวัยเรียนลดลง 2. อัตราว่างงาน ภาวะการมีงานทำ ของบัณฑิตใหม่ลดลง 4. เทคโนโลยี (Technology) 1. กฎหมายและกระบวนการยุติธรรมสมัยใหม่กับการเปลี่ยนแปลง ของเทคโนโลยี 2. หลักสูตรกฎหมาย IT และข้อมูลส่วนบุคคล 3. หลักสูตรกฎหมายกับธุรกิจออนไลน์ ตลาดออนไลน์ และบริการ ออนไลน์สมัยใหม่ 1. การจัดการศึกษากฎหมายแบบ ดั้งเดิมกับเทคโนโลยีสมัยใหม่ 2. มาตรฐานการเรียนการสอน และ การวัดผลออนไลน์ 5. สิ่งแวดล้อม (Environment) 1. หลักสูตรระยะสั้น/หลักสูตรควบ 2 ปริญญา เช่น - กฎหมายด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม, ความ หลากหลายทางชีวภาพ, กฎหมายอากาศสะอาด - กฎหมายด้านการเกษตร - กฎหมายสำหรับ อปท.กับการอนุรักษ์และสุขอนามัย 1. การเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศและ สิ่งแวดล้อม ภัยพิบัติทางธรรมชาติมี ผลกระทบต่อการดำเนินงานของ คณะนิติศาสตร์ และมหาวิทยาลัย 6. กฎหมาย (Legal) 1. มีการเปลี่ยนแปลงกฎหมายจำนวนมาก และมีความจำเป็นต่อทุก ภาคส่วนที่ต้องเรียนรู้และทำความเข้าใจกฎหมาย เป็นโอกาสใน การพัฒนาหลักสูตรระยะสั้น และบริการวิชาการสู่สังคม เช่น - กฎหมายสำหรับผู้ประกอบการในยุค COVID-19 - กฎหมายด้านการแพทย์และสุขภาพ - กฎหมายด้านการบริหารองค์กร คุณธรรมและความโปร่งใส (ITA) องค์กรคุณธรรม และประมวลจริยธรรม - กฎหมายสำหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 1. มาตรฐานหลักสูตร (มคอ.1) การ กำหนดจำนวนหน่วยกิต กลุ่มวิชา และความไม่ชัดเจนเกี่ยวกั บ นโยบายเทียบโอนหน่วยกิตสาขา นิติศาสตร์ (โดยสภานิติศึกษา) ความได้เปรียบเชิงกลยุทธ์ (Strategic Advantage) และความท้าทายเชิงกลยุทธ์ (Strategic Challenge) รายการ Strategic Advantage and Strategic Challenge 1. อำนาจการต่อรองของผู้เรียน - ผู้เรียนมีโอกาสและทางเลือกมากทั้งการเลือกมหาวิทยาลัย หลักสูตรและเส้นทางสาย อาชีพ (สาขากฎหมายมีโอกสาในการทำงาน) - มีทางเลือกหลากหลายในการขอรับบริการวิชาการ 2. อำนาจต่อรองจากผู้ใช้บัณฑิตและ เครือข่ายความร่วมมือ - ผู้ใช้บัณฑิตมีโอกาสเลือก (บัณฑิตกฎหมายสำเร็จการศึกษาจำนวนมาก) - คู่ความร่วมมือมีโอกาสเลือกเครือข่ายความร่วมมือหลากหลาย 3. การคุกคามของสถาบันการศึกษา/การ จัดการศึกษาแบบใหม่ - หลักสูตรออนไลน์ - หลักสูตร Degree, Non-Degree 4


รายการ Strategic Advantage and Strategic Challenge 4. การแข่งขันของสถาบันการศึกษา - มีมหาวิทยาลัยที่เปิดหลักสูตรนิติศาสตร์(ทั้งรัฐและเอกชน) จำนวนมาก ต้องมีการ ปรับตัว/พลิกโฉม/พัฒนาหลักสูตรที่ตอบสนองต่อความต้องการของสังคม - แหล่งทุนการวิจัย/บริการวิชาการ จากแหล่งทุนภายนอกมีการแข่งขันสูง 5. การคุกคามจากหลักสูตรการศึกษาในสาขา อื่นหรือที่เกี่ยวข้อง - ค่านิยมของผู้เรียน มีธุรกิจการศึกษาออนไลน์มากขึ้น /หรือการพัฒนาทักษะเฉพาะทาง ทำให้คนในวัยเรียนสนใจปริญญาลดลง - หลักสูตรทางเลือก/อาชีพทางเลือกมีหลากหลายมากขึ้น ที่มา: ความเห็นส่วนบุคคลของผู้แสดงวิสัยทัศน์ซึ่งพิจารณาประกอบการปฏิบัติของคณะ (ปีงบประมาณ 2561 – 2564) นโยบาย วิสัยทัศน์และการขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติ มหาวิทยาลัยพะเยา ปรัชญา : ปญฺญาชีวี เสฏฐชีวี นาม (ปัญญาชีวี เสฏฐะชีวี นาม) “ดำรงชีวิตด้วยปัญญาประเสริฐที่สุด” ปณิธาน : ปัญญาเพื่อความเข้มแข็งของชุมชน วิสัยทัศน์ : มหาวิทยาลัยสร้างปัญญา เพื่อนวัตกรรมชุมชน สู่สากล ค่านิยมร่วม U : Unity ทำงานแบบบูรณาการ ร่วมมือกันมุ่งสู่เป้าหมาย P : Professional ทำงานอย่างมืออาชีพ เพื่อคุณภาพและมาตรฐาน พันธกิจ 5 ด้าน วิสัยทัศน์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา “นิติธรรม สร้างปัญญา จิตอาสา พัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน” คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา เป็นสถาบันที่ผลิตบัณฑิตกฎหมายที่มีคุณธรรม มีความรู้ทางวิชาการ เป็นบัณฑิตของ ศตวรรษที่ 21 เป็นที่ยอมรับทั้งในและต่างประเทศ คณาจารย์เป็นอาจารย์มืออาชีพ มีการวิจัย บริการวิชาการ นวัตกรรมด้าน กฎหมาย และบนฐานความต้องการของชุมชนและสังคม รักษาและส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น ประสานสร้างเครือข่ายความ ร่วมมือกับองค์กรภาครัฐและเอกชน ทั้งในประเทศและต่างประเทศ ดำรงไว้ซึ่งหลักนิติธรรม กฎหมาย และความยุติธรรม ชี้นำและ สร้างสรรค์ปัญญาเพื่อความเข้มแข็งและความยั่งยืนของชุมชน และสังคม บริหารงานด้วยหลักธรรมาภิบาล การมีส่วนร่วม สร้างสรรค มีเป้าหมายและตัวชี้วัดที่ชัดเจน มุ่งผลสัมฤทธิ์โดยมีระบบ ประกันคุณภาพ การประเมินและตรวจสอบได้ในทุกพันธกิจ โดยมีเป้าหมายในการบรรลุวิสัยทัศน์ภายในปี พ.ศ. 2569 5


การขับเคลื่อนนโยบาย วิสัยทัศ ยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ พันธกิจหลัก ผลิตกำลังคนที่มีสมรรถนะและทักษะแห่งอนาคต ประเด็นยุทธศาสตร์ การเตรียมคนและเสริมสร้างศักยภาพคน ให้มีสมรรถนะและทักษะแห่งอนาคต ตอบสนองความต้องการของ ตลาดแรงงาน เป้าประสงค์ (1) มุ่งผลิตบัณฑิตกฎหมายที่มีสมรรถนะและทักษะแห่งอนาคต ยึดมั่นหลักนิติธรรม มีจิตอาสา เป็นบัณฑิต ที่พึงประสงค์ ตอบสนองความต้องการของสังคม (2) มีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Life Long Learning) ทันต่อการเปลี่ยนแปลง กลยุทธ์ (1) ผลิตบัณฑิตให้มีสมรรถนะและทักษะแห่งอนาคต 5C+ 1. ทักษะความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม-Creativity and Innovation Skills 2. ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหา-Critical Thinking and Problem solving skills 3. ทักษะการสื่อสาร-Communication Skill 4. ทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่น-Collaboration skills 5. ทักษะชุมชน-Community Skills (2) พัฒนานิสิตให้มีอัตลักษณ์ (UP Identity) (3) การพัฒนาสมรรถนะอาจารย์มืออาชีพ (4) พัฒนาทักษะและระบบนิเวศน์เพื่อสนับสนุนการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Life Long Learning) (5) ส่งเสริมคุณภาพชีวิตนิสิตให้อยู่และเรียนอย่างมีความสุข (6) การยกระดับด้านวิชาการสู่สากล มาตรการ (1) พัฒนาปรับปรุงหลักสูตร กระบวนการเรียนการสอนเพื่อผลิตบัณฑิตให้มีทักษะหรือคุณลักษณะ 5C+ (2) ส่งเสริมการเป็นอาจารย์มืออาชีพต้นแบบด้านการสอน UP-PSF (จัดระบบเพื่อนช่วยเพื่อน) (3) ปรับปรุงรายวิชาฝึกงาน คลินิกกฎหมาย ให้เกิดประโยชย์อย่างแท้จริงต่อนิสิต (4) หลักสูตรระยะสั้น คลังหน่วยกิต e-learning สื่อการสอนกฎหมายออนไลน์ รองรับการศึกษาแห่งอนาคต (5) หลักสูตรครูผู้สอนกฎหมายในระดับมัธยมศึกษา ส่งเสริมให้โรงเรียนจัดแผนการเรียนพิเศษด้านกฎหมาย สำหรับ ม.4 – ม.6 (เตรียมคน สร้างเครือข่าย สร้างค่านิยมที่ถูกต้องต่อการเรียนกฎหมาย) (6) เชื่อมประสานกับ GE และกิจกรรมเสริมหลักสูตรมุ่งสู่ผลสัมฤทธิ์ (7) ปรับปรุงการบริหารหลักสูตร 2 ปริญญา (คู่ขนาน) รายวิชาสอนร่วม วิจัยร่วม ฝึกงานร่วม โครงการ/ กิจกรรมและการดูแลนิสิตร่วมกัน การทำวิจัยร่วมกันระหว่างสาขาเพื่อเป็นจุดขายและเกิดความโดดเด่น (8) พัฒนาการจัดแผนการศึกษาหลักสูตร 2 ปริญญาใหม่ หรือหลักสูตรสหวิทยาการ ที่ตอบสนองต่อการ เปลี่ยนแปลงและความต้องการของสังคม เช่น หลักสูตรครู+กฎหมาย, กฎหมาย+พลังงานและ สิ่งแวดล้อม, กฎหมาย+สุขภาพ, กฎหมาย+การเป็นผู้ประกอบการ เป็นต้น (9) ให้ความสำคัญกับหลักสูตรภาคพิเศษ ระบบบริหารจัดการ เพิ่มกลุ่มเป้าหมาย เช่น อปท. ผู้นำชุมชน (10) หลักสูตรเตรียมความพร้อม (pre-law) สำหรับนักศึกษาใหม่ก่อนเปิดภาคการศึกษา เพื่อเตรียมพร้อมกับ การศึกษากฎหมาย และและการใช้ชีวิตในมหาวิทยาลัย (11) หลักสูตรเตรียมความพร้อมสำหรับการประกอบวิชาชีพและการทำงานกฎหมายในภาคปฏิบัติ (workshop on legal practice) เพื่อให้นักศึกษาที่ใกล้สำเร็จการศึกษามีทักษะที่จำเป็นสำหรับการ เริ่มต้นประกอบวิชาชีพกฎหมาย และความท้าทายต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นในการทำงานหรือการศึกษาต่อ (12)ส่งเสริมกิจกรรมศิษย์เก่า การทำงานร่วมกับศิษย์เก่าอย่างเป็นระบบ (จัดตั้งชมรม/สมาคมศิษย์เก่า) (13)กิจกรรมส่งเสริมการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ และทักษะดิจิทัลสำหรับนักกฎหมาย (14) พัฒนาสื่อการเรียนรู้และห้องสมุดกฎหมาย สิ่งอำนวยความ พัฒนาสู่ Smart Library (15) ให้ความสำคัญกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต กิจกรรมเพื่อที่นำไปสู่การสร้างอัตลักษณ์ ทักษะ 5C+ (16) บูรณาการกิจกรรมทางวิชาการ ป.ตรี ป.โท ป.เอก (17)การแข่งขันทักษะทางวิชาการในเวทีระดับชาติและนานาชาติ (18) เครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการระดับชาติและนานาชาติ(ที่มีการดำเนินการอย่างเป็นรูปธรรม) 6


Click to View FlipBook Version