The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by , 2018-08-27 21:51:34

merged

merged

เนื้อหาสาระ
1.1 ชนดิ ของเครื่องเลอ่ื ยกล

1.1.1 เคร่ืองเลื่อยกลแบบชกั (Power Hack Saw) เป็นเครื่องเล่ือยที่นิยมใชก้ นั มากในโรงงาน เพราะว่า
ใชง้ ่าย สะดวก และราคาไมแ่ พง ลกั ษณะการทางานจะทางานแบบชกั เดินหนา้ และถอยกลบั ลกั ษณะงาน
ไดง้ านจงั หวะเดียว อาจจะเป็นจงั หวะเดินหนา้ หรือถอยหลงั กลบั ข้ึนอยกู่ บั การออกแบบของเครื่องเล่ือยน้ันๆ
จะสงั เกตไดจ้ ากกการชกั ของเคร่ืองเลื่อย ถา้ จงั หวะใดเป็ นจงั หวะยกแสดงว่าไม่ใช่จงั หวะงานเพราะใบเล่ือย
ไม่ไดต้ ดั งาน จงั หวะงานจะเป็นจงั หวะที่ไม่ไดย้ ก ในการใส่ใบเล่ือยจะตอ้ งใส่ฟันใบเลื่อยเฉไปตามจงั หวะ
เช่น เคร่ืองเลอ่ื ยมจี งั หวะงานในจงั หวะเดินหนา้ กใ็ ส่ใบเล่อื ยเฉไปขา้ งหนา้

รูปที่ 1.1 เคร่ืองเล่อื ยกลแบบชกั (ชะลอ 2548: 2)
1.1.2 เครื่องเลือ่ ยสายพาน จะมีการทางานที่แตกต่างจากเครื่องเลื่อยกลแบบชกั โดยมีการเล่ือยงานที่
ต่อเนื่องเพราะใบเลอ่ื ยจะหมุนวนตดั งานเหมือนลกั ษณะการหมุนของสายพาน ดงั น้นั ใบเล่ือยจึงหมุนตดั งาน
เหมือนลกั ษณะการหมุนของสายพาน ดงั น้นั ใบเลือ่ ยจึงหมุนตดั งานทุกฟัน เคร่ืองเลื่อยสายพานแบ่งออกเป็ น
2 ประเภท คือ

1) เคร่ืองเล่อื ยสายพานแนวนอน เคร่ืองจะมลี กั ษณะการทางานในแนวนอน ใบเล่ือยจะหมุนวน
ตดั ช้ินงานทุกฟัน สามารถปรับความเร็วของสายพานไดเ้ พ่ือให้เหมาะสมกบั ช้ินงานการป้ อนตัดชิ้นงาน
สามารถป้ อนตดั ดว้ ยระบบไฮดรอลกิ

รูปท่ี 1.2 เครื่องเลอ่ื ยสายพานแนวนอน (ชะลอ 2548: 3)
2) เคร่ืองเลอ่ื ยสายพานแนวต้งั ชนิดน้ีจะมตี วั เคร่ืองเป็นแนวต้งั สามารถต้งั ความเร็วของใบเล่ือย
ไดเ้ ช่นกนั การป้ อนตดั จะป้ อนตดั ดว้ ยมือโดยการป้ อนช้ินเขา้ หาใบเล่ือย ใบเล่ือยจะมีขนาดให้เลือกใชห้ ลาย
ขนาดข้ึนอยกู่ บั ลกั ษณะงาน เช่น งานตอ้ งการเลื่อยเป็ นแนวโคง้ ก็ตอ้ งใชใ้ บเลื่อยที่มีขนาดเล็ก การเลือกใช้
ขนาดใบเลอื่ ยข้ึนอยกู่ บั รัศมีงานท่ีจะเล่อื ยวา่ มรี ัศมคี วามโคง้ มากนอ้ ยเพียงใดก่อนนาใบเล่ือยมาใช้ จะตอ้ งนา
ใบเลื่อยมาตดั ใหพ้ อดีกบั เคร่ือง แลว้ ทาการเชื่อมใบเล่ือยดว้ ยชุดเช่ือมที่ติดมากบั เคร่ืองเช่นเดียวกนั เพ่ือเป็ น
การคลายความเครียดแนวเช่ือมไมใ่ หใ้ บเล่อื ยแตกหกั ขณะท่ีใบเลือ่ ยตดั โคง้ งออยบู่ นลอ้ ส่งกาลงั

รูปท่ี 1.3 เครื่องเลอ่ื ยสายพานแนวต้งั (ชะลอ 2548: 3)
1.2 ส่วนประกอบท่ีสาคญั ของเคร่ืองเลอ่ื ยกล

1.2.1 ส่วนประกอบที่สาคญั ของเคร่ืองเลอื่ ยกลแบบชกั มดี งั น้ีคือ

รูปที่ 1.4 ส่วนประกอบท่ีสาคญั ของเคร่ืองเลื่อยกลแบบชกั (ชะลอ 2548: 4)
1) ฐานเคร่ืองกลแบบชกั (Base) เป็นส่วนท่ีรองรับน้าหนกั ของเคร่ืองส่วนใหญ่ทาดว้ ยเหลก็ หล่อ
มีความแขง็ แรง

รูปท่ี 1.5 ฐานเคร่ืองเลอ่ื ยกลแบบชกั (ชะลอ 2548: 4)
2) โครงเลอ่ื ย (Flame) ส่วนใหญ่ทาดว้ ยเหล็กหล่อ เป็ นท่ีสาหรับจบั ยึดใบเล่ือยทางานโดยการ
ชกั เดินหน้าและถอยหลงั เพ่ือนาใบเล่ือยเล่ือยตดั ช้ินงาน จงั หวะงานจะมีจงั หวะเดียวในจงั หวะยกจะไม่ใช้

จงั หวะงาน ในการเดินหนา้ และถอยกลบั หน่ึงคร้ังเราเรียกวา่ “ค่จู งั หวะชกั ”
3) ปากกาจับงาน (Vise) ส่วนใหญ่ทาดว้ ยเหล็กหล่อ ใช้สาหรับจบั ชิ้นงานที่จะนามาเล่ือย

โดยทว่ั ๆไปจะสามารถเอียงเป็นมุมไดป้ ระมาณ 45 องศา ใชเ้ อียงชิ้นงานเพอื่ ตดั งานเป็นมุมต่างๆ

รูปท่ี 1.6 ปากกาจบั งานเครื่องเลอ่ื ยกลแบบชกั (ชะลอ 2548: 5)
4) มอเตอร์ (Motor) เป็นระบบส่งกาลงั เพือ่ ใหโ้ ครงเล่ือยเคลื่อนท่ีชกั เลือ่ ยช้ินงาน
5) แขนต้งั ระยะงาน (Cut off Gage) ทาหนา้ ท่ีเป็ นตวั ต้งั ตาแหน่งความยาวงานเพ่ือใชต้ ้งั ระยะ
ความยาวตดั ช้ินงาน ไม่ตอ้ งเสียเวลามาวดั ช้ินงานทุกชิ้นกรณีตอ้ งการตดั งานท่ีมคี วามยาวขนาดเดียวกนั

รูปที่ 1.7 การใชบ้ รรทดั เหลก็ วดั ความยาวงานที่ตดั (ชะลอ 2548: 5)

รูปที่ 1.8 การใชแ้ ขนต้งั ระยะงานต้งั ความยาวงาน (ชะลอ 2548: 5)
6) ระบบป้ อนตดั มีแบบใชร้ ะบบไฮดรอลิก และแบบใชน้ ้าหนักถ่วง ท้งั สองแบบเป็ นการเลื่อย
ตดั ชิ้นงาน
7) สวิตชเ์ ปิ ดปิ ด เคร่ืองเลอ่ื ยนิยมใชส้ วิตชท์ ี่มีสวิตชเ์ ปิ ดดว้ ยมือ แต่สามารถปิ ดไดเ้ องเม่ือชิ้นงาน
ถกู ตดั ขาด

1.2.2 ส่วนประกอบท่ีสาคญั ของเคร่ืองเลื่อยสายพานแนวนอน

รูปที่ 1.9 เครื่องเล่ือยสายพานแนวนอน (ชะลอ 2548: 7)

2.1 Base 2.8 Area Light

2.2 Hydraulic Tank 2.9 Manual Work stop

2.3 Catch Pan 2.10 Discharge Table

2.4 Bank Tensioning 2.11 Coolant Reservoirs
2.5 Idler Wheel Guard 2.12 Hydraulic Filter
2.6 Drive – Wheel Guard 2.13 Saw – Guide Arms
2.7 Control Console

2.1 ฐานเคร่ือง เป็ นส่วนรองรับน้าหนกั ของเครื่อง จะมีฐานรองเครื่องรองรับอีกที่หน่ึงเพ่ือความ
สะดวกในการปรับระดบั

2.2 ถงั น้ามนั ไฮดรอลิก เป็นท่ีบรรจุน้ามนั ไฮดรอลกิ
2.3 ถาดรองเศษโลหะ ใชเ้ ป็นชิ้นส่วนรองรับเศษโลหะและชิ้นงาน
2.4 อุปกรณ์ปรับความตึงใบเลือ่ ย

2.5 ฝาครอบลอ้ ตาม

2.6 ฝาครอบลอ้ ขบั

2.7 แผงหนา้ ปัดควบคุม จะประกอบดว้ ย เกจอตั ราป้ อนเลอื่ ยช้ินงานหนา้ ปัดบอกความเร็วใบเลื่อย ตวั
ปรับความสูงชิ้นงาน และป่ ุมเปิ ดเคร่ือง

2.8 โคมไฟฟ้ าแสงสว่าง

2.9 แขนต้งั ระยะงาน
2.10 โต๊ะงาน

2.11 ถงั น้ามนั หล่อเยน็
2.12 อปุ กรณ์กรองน้ามนั ไฮดรอลิก
2.13 แขนประคองใบเลื่อย

1.2.3 ส่วนประกอบที่สาคญั ของเคร่ืองเล่ือยสายพานแนวต้งั
เครื่ องเล่ือยสายพานแนวต้ังสามารถใช้งานได้หลากหลายกว่าเครื่ องเล่ือยสายพานแนวนอน
ส่วนประกอบที่สาคญั ของเครื่องเลือ่ ยสายพานต้งั มดี งั น้ี

รูปที่ 1.10 ส่วนประกอบต่างๆ ของเคร่ืองเลื่อยสายพานต้งั (ชะลอ 2548: 8)
1) ฐานเคร่ือง เป็ นส่วนที่ติดอย่กู ับพ้ืนโรงงาน รองรับน้าหนักท้ังหมดของตัวเครื่อง ภายใน
ประกอบดว้ ยชุดส่งกาลงั ขบั เคล่ือนใบเล่ือย ป๊ัมลมทาหนา้ ท่ีจ่ายลมระบายความร้อนให้ชิ้นงานและใบเล่ือย
และยงั เป็นตวั เป่ าใหเ้ ศษโลหะออกจากแนวเลือ่ ยทาใหเ้ ห็นเสน้ ที่ร่างแบบมาทาใหเ้ ลื่อยไดส้ ะดวกข้ึน
2) มอเตอร์ เป็ นตวั ตน้ กาลงั ส่งกาลงั ไปยงั ลอ้ ส่งกาลงั ไปยงั ลอ้ ส่งกาลงั เพ่ือใชข้ ับใบเล่ือยให้
เคลือ่ นท่ีตดั ชิ้นงาน
3) เสาเครื่อง เป็นส่วนท่ีต่อจากฐานเครื่องเป็นแนวต้งั เป็ นส่วนท่ีรองรับชุดหัวเครื่อง ลอ้ ตามของ
เคลอื่ น บนดา้ นหนา้ ของเสาเคร่ืองเลื่อยสายพาน จะมชี ุดตดั ใบเล่ือย ชุดเช่ือมใบเลื่อย และชุดอบอ่อนใบเล่ือย
ติดอยเู่ พือ่ ใชใ้ นการตดั ต่อใบเลือ่ ย กรณีใบเล่อื ยไม่คมจะตอ้ งเปลี่ยนใบเลื่อยไม่คมจะตอ้ งเปล่ียนใบเล่ือยใหม่
เพราะใบเลอื่ ยที่ซ้ือมาจะเป็นกล่องซ่ึงมคี วามยาวมาก จะตอ้ งตดั ใบเล่อื ยใหไ้ ดก้ บั ระยะความยาวท่ีตอ้ งการใช้
งาน
4) หวั เครื่อง เป็นท่ียดึ ของลอ้ ตามและตวั ประคองใบเลอื่ ยและโคมไฟแสงสว่าง
5) โต๊ะงาน เป็นส่วนท่ีรองรับชิ้นงานที่นามาเล่อื ย โดยทวั่ ไปสามารถเอียงเป็นมุมได้
6) ชุดประคองใบเลือ่ ย ใชส้ าหรับต่อใบเลอื่ ย เพื่อบงั คบั ใบเล่ือยใหว้ ่ิงเป็นแนวตรง
7) ชุดต่อใบเลอ่ื ย ใชส้ าหรับต่อใบเลอื่ ยในกรณีนาใบเลื่อยมาใชใ้ หม่หรือกรณีเล่ือยช้ินงานที่เป็ นรู
ใน จะตอ้ งเจาะช้ินงานแลว้ นาใบเล่อื ยร้อยใส่แลว้ นาใบเล่ือยมาเช่ือมต่อ

8) ลอ้ หินเจียระไน ใชส้ าหรับเจียระไนตกแต่งแนวเช่ือม

การเช่ือมใบเลอ่ื ยเคร่ืองเลอื่ ยสายพานแนวต้งั
1. นาใบเล่ือยไปวดั รอบผา่ นลอ้ ขบั และผ่านลอ้ ลอ้ ตามจนครบรอบ เหมือนลกั ษณะการส่งกาลงั ดว้ ย

สายพานแบน
2. ตดั ใบเลื่อยท่ีวดั ความยาวจาก ขอ้ 1. ดว้ ยชุดตดั ใบเล่ือยท่ีติดอยกู่ บั เครื่องเลอ่ื ย
3. ทาการจบั ยดึ บนชุดเช่ือมที่ติดอยกู่ บั เคร่ืองเลื่อย โดยต้งั ใบเล่ือยใหไ้ ดแ้ นวเป็นเสน้ ตรง
4. ต้งั กระแสไฟฟ้ าที่จะเช่ือมตามตารางท่ีติดมากบั เคร่ืองเลอื่ ย
5. ทาการเปิ ดสวติ ชเ์ ช่ือม
6. ทาการอบอ่อน
7. เจียระไนแนวเช่ือมใหบ้ างเท่าความหนาใบเลอื่ ยแลว้ นาใบเลื่อยไปใชง้ าน

หมายเหตุ ใบเลื่อยที่นามาเช่ือมน้ีสามารถทดสอบก่อนนาไปใชง้ านจริงได้ โดยการตดั ใบเลื่อยไปมาถา้ ใบ
เลื่อยไม่หกั กถ็ ือว่าใชไ้ ด้

กิจกรรมการเรยี นการสอน

ขน้ั ตอนการสอนหรอื กจิ กรรมของครู ขั้นตอนการเรยี นหรอื กิจกรรมของนกั เรียน

๑. แนะนาตัวครผู สู้ อน ผเู้ รียน ชอ่ื วิชา จดุ ประสงค์ - ฟังคาบรรยาย คาอธิบายรายวชิ า

รายวชิ า คาอธิบายรายวชิ า เกณฑก์ ารประเมินผล - จดบนั ทึก

ทฤษฎี/ปฎบิ ตั ิ - แสดงความคิดเหน็

๒. ครูนาเขา้ สู่บทเรยี นตง้ั คาถามนกั เรียนในชน้ั เรยี น - ศกึ ษาจากส่อื และเอกสาร
เปน็ รายบคุ คลว่า ใหน้ กั เรยี นยกตัวอยา่ งอุปกรณท์ ี่ใช้ - ซักถาม – ปญั หาข้อสงสยั
สาหรบั เจาะชิ้นงานท่นี ักเรียนเคยเหน็ - ตอบคาถาม / จดบันทกึ
๓. ครอู ธิบายเรือ่ ง ๑. ชนดิ ของเคร่อื งเลื่อยกล - ใหน้ กั เรียนสรปุ เนอื้ หาเปน็ แผนผังความคิดรายบุคคล
๒.สว่ นประกอบทสี่ าคัญของเครอ่ื งเลอื่ ยกล - นักเรียนฟังครอู ธิบาย
๓. เครื่องมอื อปุ กรณ์ทใี่ ชก้ บั เคร่อื งเลอื่ ยกล - ปรกึ ษา/อธบิ าย/อภิปรายกบั เพอื่ น
๔. ข้นั ตอนการใชเ้ คร่อื งเลอ่ื ยกล - ซกั ถามข้อสงสัย
๕. วธิ กี ารบารุงรกั ษาเครื่องเลอ่ื ยกล
๖. ความปลอดภยั ในการใช้เครอ่ื งเลือ่ ยกล

๔. ครูซกั ถามนักเรียนเป็นรายบุคคล ในเรอื่ ง - รว่ มกันสรปุ
หลักการออกแบบเครอ่ื งมอื - สอบถามขอ้ สงสยั
- ทาแบบทดสอบหลงั เรียน
๕. ครดู แู ลการทาความสะอาดหอ้ งเรียน - ทาแบบทดสอบหน่วยท่ี ๑ เพอ่ื ประเมินผลการเรยี น
- นักเรียนทาความสะอาดหอ้ งเรียน จัดโตะ๊ เกา้ อี้ ให้
๖. ครบู นั ทกึ ข้อมลู เกี่ยวกับกจิ กรรม การเรยี น การ เรียบรอ้ ย
สอน เพอ่ื ใช้แก้ไขปัญหาทอ่ี าจเกดิ ขึ้นกับกลุ่มอืน่ ๆ
ตอ่ ไปหรอื ความร้ใู หม่ ๆ ท่ีเกิดข้ึน

งานที่มอบหมายหรือกจิ กรรม

 ก่อนเรียน

๑. การซกั ถามเกี่ยวกบั เนอ้ื หาในแต่ละหน่วยก่อนเรยี น

 ขณะเรยี น

๑. นักเรียน-นักศกึ ษาอภปิ รายเนอื้ หาตามหวั ขอ้ กจิ กรรมท่ีครูกาหนด และสรปุ ผลการอภิปราย
๒. ครูอธบิ าย และสรปุ เน้อื หาตามหวั ข้อกจิ กรรมหน่วยการสอนท่ี ๑

 หลงั เรยี น

๑. ให้นักเรียน – นักศกึ ษา ทาแบบทดสอบท้ายบทตามหนว่ ยการเรียนนน้ั ๆ
๒. ครแู ละนกั เรียน-นกั ศึกษา ร่วมกนั เฉลยคาตอบ

ส่ือการเรียนการสอน
 สื่อส่งิ พิมพ์

- ใบความร้หู น่วยท่ี ๑
- แบบทดสอบ

- แบบฝึกหดั ทา้ ย

 หุ่นจาลองหรือของจริง
-

การประเมนิ ผล
 ก่อนเรียน

- การซักถามเกยี่ วกบั เน้ือหาในหน่วย

 ขณะเรยี น

- สังเกต ความต้งั ใจขณะเรยี น
- การซกั ถาม/ตอบคาถาม
- การประเมินจากกจิ กรรมเสนอแนะ

 หลงั เรียน

- แบบทดสอบหลงั เรียน
- ประเมินแบบฝึกหัดทา้ ยบท
- การวัดจาการประเมินดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม กจิ กรรมเสนอแนะ

บนั ทกึ หลังการสอน
 ผลการใชแ้ ผนการสอน

- เปน็ ไปตามแผนท่ีวางไว้

 ผลการเรียนของนกั เรยี น

- ยังไม่ค่อยเขา้ ใจในการเรียนการสอน เนอ่ื งจากยังไมเ่ ขา้ ใจในเน้ือหา และยงั ไมม่ เี อกสาร
ประกอบการเรียน

 ผลการสอนของครู

-

แผนการสอน หน่วยท่ี ๒
ชอ่ื วิชา งานเครอ่ื งมือกลเบือ้ งต้น สอนครัง้ ที่ ๒-๔
ชอ่ื หนว่ ย เคร่ืองเจยี ระไนลบั คมตัดและงานลบั เครอ่ื งมอื ตดั ช่วั โมงรวม ๗๒

ช่ือเรื่องหรอื ชือ่ หน่วย เครอื่ งเจยี ระไนลบั คมตดั และงานลบั เครอื่ งมอื ตดั จานวนชวั่ โมง ๔

หัวข้อเรอ่ื งและงาน

๑. บอกชนดิ ของเคร่อื งเจยี ระไนลับคมตัดได้

๒. บอกสว่ นประกอบทส่ี าคญั ของเคร่อื งเจียระไนลบั คมตดั ได้

๓. ชนดิ ของเครือ่ งเจียระไนลับคมตดั

๔. สว่ นประกอบท่สี าคัญของเจียระไนลับคมตดั

2.

เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 2 จะมีเนื้อหา ชนิดของเครื่องเจียระไนลับคมตัดส่วนประกอบที่

สาคญั ของเครอ่ื งเจียระไนลับคมตดั เครื่องมืออุปกรณ์ท่ีใช้กับเครื่องเจียระไนลับคมตัด ข้ันตอนการใช้เคร่ือง

เจยี ระไนลับคมตัด วิธกี ารบารุงรักษาเครอ่ื งเจยี ระไนลบั คมตดั ความปลอดภัยในการใช้เคร่ืองเจียระไนลับคม

ตัดโดยในส่วนของเนือ้ หาจะมแี บบฝึกหดั เฉลย สอ่ื การสอนด้วยโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ (Power Point) ซึ่งจะ

ชว่ ยใหผ้ เู้ รียนไดเ้ รยี นร้แู ละเข้าใจสิ่งท่ีผู้สอนได้ถ่ายทอดให้และผู้สอนจะได้รับความสะดวกในการดาเนินการ

สอน

เคร่ืองเจียระไนลับคมตัด เป็นเคร่ืองมือกลพ้ืนฐานชนิดหน่ึงที่มีประโยชน์มากสามารถทางานได้อย่าง

กวา้ งขวาง เช่น ใช้สาหรับลับคมตัดต่างๆ ของเคร่ืองมือตัด ได้แก่ มีดกลึง มีดไส ดอกสว่าน และยังสามารถ

เจยี ระไนตกแตง่ ช้ินงานต่างๆ ได้ โดยคานึงถงึ เรื่องความปลอดภัย

สมรรถนะพึงประสงค์ (ความรู้ ทักษะ คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชพี )
๑. บอกชนดิ ของเครื่องเจียระไนลบั คมตดั ได้
๒. บอกสว่ นประกอบท่สี าคญั ของเคร่อื งเจยี ระไนลับคมตดั ได้
๓. ชนดิ ของเครื่องเจียระไนลับคมตดั
๔. สว่ นประกอบท่ีสาคญั ของเจยี ระไนลับคมตัด

เน้อื หาสาระ
2.1 ชนดิ ของเคร่ืองเจยี ระไนลบั คมตดั

เคร่ืองเจียระไนลบั คมตดั โดยทวั่ ไปๆไป แบ่งออกเป็ น 2 ชนิด คือ เครื่องเจียระไนแบบต้งั โต๊ะและ
เครื่องเจียระไนแบบต้งั พ้ืน

2.1.1 เครื่องเจียระไนแบบต้งั โต๊ะ (Bench Grinding) เครื่องเจียระไนชนิดน้ีจะยดึ ติดอย่กู บั โต๊ะ เพ่ือ
เพม่ิ ความสูง และสะดวกในการใชง้ าน

รูปที่ 2.1 เคร่ืองเจียระไนแบบต้งั โต๊ะ (ชะลอ 2548: 27)
2.1.2 เครื่องเจียระไนแบบต้งั พ้ืน (Floor Grinding) เป็ นเครื่องเจียระไนลบั คมตดั ท่ีมีขนาดใหญ่กว่า
แบบต้งั โต๊ะ มีส่วนที่เป็ นฐานเคร่ือง เพ่ือใชย้ ึดติดกบั พ้ืนทาให้เคร่ืองเจียระไนมีความมนั่ คงแข็งแรงกว่า
เครื่องเจียระไนแบบต้งั โตะ๊

รูปท่ี 2.2 เคร่ืองเจียระไนแบบต้งั พ้ืน (ชะลอ 2548: 27)
2.2 ส่วนประกอบที่สาคญั ของเครื่องเจยี ระไนลบั คมตดั

2.2.1 มอเตอร์ (Motor) เป็ นส่วนสาคญั ของเคร่ืองเจียระไนลบั คมตัด ทาหน้าที่ส่งกาลงั ให้ลอ้ หิน
เจียระไนหมนุ เคร่ืองเจียระไนลบั คมตดั มมี อเตอร์เป็นรูปทรงกระบอก โดนปลายแกนเพลาท้งั สองขา้ งใชจ้ บั
ยดึ ลอ้ หินเจียระไน มอเตอร์ส่วนใหญ่จะใชแ้ รงดนั ไฟฟ้ า 220 โวลต์ หรือ 380 โวลต์

รูปที่ 2.3 มอเตอร์เคร่ืองเจียระไน (ชะลอ 2548: 28)

ในการเลอื กใชล้ อ้ หินเจียระไนจะตอ้ งเลอื กลอ้ หินเจียระไนใหต้ รงกบั ชนิดวสั ดุของมดี ตดั ท่ีจะนามาลบั
เพราะวสั ดุทามีดตดั มีหลายประเภท เช่น มดี กลงึ เหลก็ รอบสูง มดี กลึงคาร์ไบดห์ รือมดี เลบ็

การเลือกลอ้ หินเจียระไนลบั คมตดั ตอ้ งคานึงขนาดของลอ้ หินเจียระไนดว้ ยว่าเคร่ืองเจียระไนระบุใหใ้ ช้
ลอ้ หินขนาดเท่าใด ส่ิงที่ตอ้ งการทราบก็คือ

- ขนาดเสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางโตนอกของลอ้ หินเจียระไน
- ความหนาของลอ้ หินเจียระไน
- ขนาดเสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางรูในของลอ้ หินเจียระไน

รูปท่ี 2.4 ส่วนต่างๆ ของลอ้ หินเจียระไน (ชะลอ 2548: 29)

รูปที่ 2.5 ขนาดต่างๆ ของลอ้ หินเจียระไน (ชะลอ 2548: 29)
ก่อนนาหินเจียระไนมาใชค้ ร้ังแรก จะตอ้ งทาการปรับศูนยล์ อ้ หินเจียระไนให้ไดศ้ ูนยก์ ่อนจึงจะนาไป
ติดต้งั กบั เคร่ืองเจียระไน
หินเจียระไนหลงั จากทาการปรับศูนยแ์ ละนามาติดต้งั บนเคร่ืองเจียระไนแลว้ จะตอ้ งทาการแต่งหน้า
หินก่อนใชง้ านเสมอ หลงั จากการใชง้ านเม่ือหินเจียระไนทื่อ หรือมีรอยบ่ิน หนา้ ไม่เรียบสม่าเสมอ ตอ้ งทา
การแต่งหนา้ หินใหเ้ รียบพร้อมใชง้ านตลอดเวลา

รูปที่ 2.6การแต่งหนา้ หินเจียระไนดว้ ยลอ้ แต่งหนา้ หินเจียระไน (ชะลอ 2548: 30)
2.2.3 ฝาครอบลอ้ หินเจียระไน (Wheel Guard) เป็ นฝาครอบลอ้ หินเจียระไนท้งั สองขา้ งเพ่ือป้ องกนั
อนั ตรายจากลอ้ หินเจียระไน ส่วนใหญ่จะทาดว้ ยเหลก็ เหนียวข้ึนรูป

รูปที่ 2.7 ฝาครอบลอ้ หินเจียระไนและแท่นรองรับงาน (ชะลอ 2548: 32)
2.2.4 กระจกนิรภัย (Safety Glass) ติดต้ังไวท้ ้ังสองลอ้ เพ่ือป้ องกันเศษโลหะกระเด็นเข้าตา
ผปู้ ฏบิ ตั ิงาน เป็นที่ใหผ้ ปู้ ฏิบตั ิงานมองในขณะลบั เครื่องมอื ตดั

รูปที่ 2.8 กระจกนิรภยั (ชะลอ 2548: 33)
2.2.5 แท่นรองรับงาน (Tool Rest) ทาหน้าท่ีรองรับงานหรือเครื่องมือตัดและยงั ช่วยทาหน้าที่
ประคองมือผปู้ ฏิบตั ิงานดว้ ย ส่วนใหญ่ทาดว้ ยเหลก็ หล่อข้ึนรูปหรือเหลก็ เหนียว ควรตรวจสอบระยะห่างอยู่

เสมอ ควรมรี ะยะห่างมากสุดไม่เกิน 2-3 มม. ถา้ มีระยะห่างมากช้ินงานอาจจะหลุดลงไปในช่องทาใหเ้ กิด
อนั ตรายได้ ลอ้ หินเจียระไนอาจจะแตกกระเด็นโดนผปู้ ฏิบตั ิงานในขณะปรับระยะห่างระหว่างแท่นรองรับ

งานจะตอ้ งปิ ดสวิตชใ์ หล้ อ้ หยดุ นิ่งก่อน เมอ่ื ต้งั ระยะห่างเรียบร้อยแลว้ ตอ้ งทาการทดสอบโดยการหมุนดว้ ย
มอื ก่อน เพ่อื ป้ องกนั กรณีลอ้ หินเจียระไนแกว่งมากระแทกกบั แท่นรองรับงาน

2.2.6 ภาชนะใส่น้าระบายความร้อน (Water Pot) ในขณะท่ีเจียระไนลบั คมตดั มีดตดั ชนิดต่างๆ หรือ
เจียระไนช้ินงาน จะมีความร้อนเกิดข้ึนที่มีดตดั หรือท่ีชิ้นงานจะทาให้ร้อนมือและจะทาให้โครงสร้างของ
วสั ดุของมดี ตดั เปลย่ี นไป จาเป็นจะตอ้ งมกี ารระบายความร้อนโดยการจุ่มลงในน้าแลว้ แกว่งไปมาเพื่อเป็ น
การระบายความร้อนไดเ้ ร็วข้ึน ตวั ระบายความร้อนสาหรับเคร่ืองเจียระไนลบั คมตดั นิยมใชน้ ้าธรรมดา ไม่
จาเป็นตอ้ งใชน้ ้าหลอ่ เยน็ เพราะจะทาใหล้ อ้ หินเจียระไนทื่อเร็ว ตอ้ งแต่งหน้าลอ้ หินเจียระไนบ่อยข้ึน ทาให้
สิ้นเปลอื ง

2.2.7 สวิตช์เคร่ือง (Switch) มีไวเ้ พ่ือควบคุมเครื่องเพื่อใชส้ าหรับปิ ดเปิ ด ในเคร่ืองเจียระไนเครื่อง

หน่ึงอาจจะมสี วิตชเ์ พม่ิ เติมมากข้ึนก็ได้ เพือ่ เป็นการเพมิ่ ความปลอดภยั แก่ผปู้ ฏบิ ตั ิงาน

รูปที่ 2.9 ภาชนะใส่น้าระบายความร้อนและสวติ ชเ์ ครื่อง (ชะลอ 2548: 33)

กจิ กรรมการเรียนการสอน

ข้นั ตอนการสอนหรอื กิจกรรมของครู ขนั้ ตอนการเรยี นหรือกจิ กรรมของ

นกั เรียน

๑. ตรวจสอบรายชื่อนกั เรียนกอ่ นเรียนทกุ คน - ฟงั คาบรรยาย คาอธิบายรายวิชา

- จดบนั ทกึ
- แสดงความคิดเห็น

๒. ครูนาเขา้ สบู่ ทเรยี นตงั้ คาถามนักเรยี นในชน้ั เรยี นเปน็ - ศกึ ษาจากส่ือและเอกสาร
รายบุคคลวา่ หากเราต้องการเลอื กเหลก็ ในการทาอปุ กรณท์ ม่ี ี - ซักถาม – ปัญหาขอ้ สงสยั
ความทดทานเราควรเลอื กเหลก็ ชนดิ ใด ให้นักเรยี นยกตัวอยา่ ง - ตอบคาถาม / จดบนั ทกึ
ตามความเข้าใจ
๓. ครูอธบิ ายเร่อื ง หลกั การเลือกใชว้ ัสดุในการทาอปุ กรณน์ า - ใหน้ ักเรียนสรปุ เนื้อหาเปน็ แผนผัง
เจาะและจบั งาน, หลกั การเลือกใช้ชน้ิ ส่วนมาตรฐานในการ ความคดิ รายบุคคล
ออกแบบอุปกรณ์นาเจาะและจบั งาน - นกั เรยี นฟังครอู ธิบาย
- ปรึกษา/อธิบาย/อภปิ รายกับเพื่อน
๔. ครูซกั ถามนักเรยี นเป็นรายบุคคล ในเรอ่ื งหลักการเลอื กใช้ - ซกั ถามขอ้ สงสัย
วัสดใุ นการทาอปุ กรณน์ าเจาะและจบั งาน ให้นกั เรียนแต่ละคน - ร่วมกนั สรปุ
ทาแบบทดสอบ - สอบถามข้อสงสัย
- ทาแบบทดสอบหลังเรยี น
๕. ครูดแู ลการทาความสะอาดหอ้ งเรียน - ทาแบบทดสอบหน่วยที่ ๒ เพอื่
ประเมินผลการเรยี น
๖. ครูบนั ทึกข้อมลู เกี่ยวกบั กจิ กรรม การเรยี น การสอน เพอื่ ใช้ - นกั เรยี นทาความสะอาดห้องเรยี น จัดโต๊ะ
แกไ้ ขปัญหาทอ่ี าจเกดิ ข้ึนกับกล่มุ อืน่ ๆ ต่อไปหรือความรูใ้ หม่ ๆ เกา้ อี้ ให้เรยี บร้อย
ทีเ่ กดิ ข้นึ

งานท่มี อบหมายหรือกจิ กรรม

 ก่อนเรยี น

๑. การซกั ถามเกยี่ วกบั เนือ้ หาในแต่ละหน่วยกอ่ นเรียน

 ขณะเรียน

๑. นกั เรียน-นักศกึ ษาอภปิ รายเนอ้ื หาตามหวั ข้อกจิ กรรมที่ครูกาหนด และสรปุ ผลการอภปิ ราย
๒. ครอู ธิบาย และสรปุ เนอื้ หาตามหัวขอ้ กิจกรรมหน่วยการสอนท่ี ๒

 หลังเรียน

๑. ใหน้ กั เรียน – นักศกึ ษา ทาแบบทดสอบทา้ ยบทตามหน่วยการเรยี นนัน้ ๆ
๒. ครูและนกั เรียน-นักศกึ ษา รว่ มกันเฉลยคาตอบ

สื่อการเรียนการสอน
 สอื่ สิ่งพิมพ์

- ใบความรหู้ น่วยที่ ๒
- แบบทดสอบ
- แบบฝกึ หดั ทา้ ยบท

 ส่อื โสตทัศน์ (ถ้ามี)
- เครือ่ งฉายข้ามศรี ษะ

 หุ่นจาลองหรือของจรงิ
-

การประเมนิ ผล
 กอ่ นเรียน

- การซักถามเกย่ี วกบั เนื้อหาในแต่ละหนว่ ยก่อนเรยี น

 ขณะเรยี น

- สงั เกต ความตงั้ ใจขณะเรียน
- การซักถาม/ตอบคาถาม
- การประเมนิ จากกจิ กรรมเสนอแนะ

 หลงั เรียน

- แบบทดสอบหลังเรียน
- ประเมินแบบฝกึ หัดทา้ ยบท
- การวัดจาการประเมินดา้ นคุณธรรม จริยธรรม กจิ กรรมเสนอแนะ

บันทกึ หลังการสอน
 ผลการใช้แผนการสอน

- เปน็ ไปตามแผนทีว่ างไว้

 ผลการเรียนของนกั เรยี น

-

 ผลการสอนของครู

-

แผนการสอน หนว่ ยที่ ๓
ช่อื วชิ า งานเคร่อื งมือกลเบ้ืองต้น สอนครั้งที่ ๕-๖
ชือ่ หนว่ ย เคร่ืองเจาะและงานเจาะ งานรีมเมอร์ งานตาป ช่วั โมงรวม ๗๒
เกลียว
ชื่อเร่อื งหรอื ชื่อหน่วย เครือ่ งเจาะและงานเจาะ งานรมี เมอร์ งานตาปเกลียว จานวนชวั่ โมง ๔

หัวข้อเร่ืองและงาน
๑. ชนดิ ของเครอื่ งเจาะ
๒. สว่ นประกอบที่สาคัญของเคร่อื งเจาะ
๓ เครอื่ งมืออุปกรณท์ ี่ใชก้ บั เครือ่ งเจาะ

เอกสารประกอบการสอนหน่วยท่ี 3จะมีเนื้อหาชนิดของเคร่ืองเจาะส่วนประกอบที่สาคัญของเครื่อง
เจาะเคร่ืองมืออุปกรณ์ที่ใช้กับเครื่องเจาะ ข้ันตอนการใช้เคร่ืองเจาะ การคานวณความเร็วในงานเจาะ การ
บารงุ รักษาเครือ่ งเจาะความปลอดภยั ในการใชเ้ ครื่องเจาะ โดยในส่วนของเน้ือหาจะมแี บบฝกึ หัด เฉลย สอื่ การ
สอนด้วยโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ (Power Point) ซึง่ จะชว่ ยให้ผู้เรียนได้เรียนร้แู ละเขา้ ใจสิ่งที่ผู้สอนได้ถ่ายทอด
ให้และผู้สอนจะได้รับความสะดวกในการดาเนินการสอนในการเจาะรูบนชิ้นงานสามารถทาได้ด้วย
เคร่อื งจักรกลหลายชนดิ เชน่ การเจาะรบู นเคร่ืองกลงึ เคร่อื งกัด เป็นต้น แต่ในการเจาะรูท่ีประหยัด รวดเร็ว
และนิยมใช้กันมากที่สุด คือ การเจาะรูด้วยเคร่ืองเจาะ ดังน้ัน เคร่ืองจักรกลพ้ืนฐานที่จะกล่าวในบทน้ี คือ
เครอ่ื งเจาะ
สมรรถนะพงึ ประสงค์ (ความรู้ ทักษะ คุณธรรม จรยิ ธรรม จรรยาบรรณวิชาชพี )

1. บอกชนิดของเครือ่ งเจาะได้
2. บอกส่วนประกอบทสี่ าคญั ของเครอื่ งเจาะได้
3. บอกเคร่อื งมอื อุปกรณท์ ใี่ ช้กบั เครือ่ งเจาะได้

เน้อื หาสาระ
3.1 ชนิดของเครื่องเจาะ

เคร่ืองเจาะมหี ลายชนิดแต่สามารถแบ่งออกไดด้ งั น้ี คือ เครื่องเจาะต้งั โตะ๊ เคร่ืองเจาะต้งั พ้นื เคร่ืองเจาะ
แบบรัศมี และเครื่องเจาะในงานอุตสาหกรรม

3.1.1 เครื่องเจาะต้งั โต๊ะ เป็นเคร่ืองเจาะไฟฟ้ าขนาดเลก็ ที่สามารถเจาะรูขนาดเลก็ เคร่ืองเจาะขนาดน้ีจะ
วางอยบู่ นโตะ๊ เพือ่ เพ่ิมความสูง ทาใหผ้ ปู้ ฏบิ ตั ิงานสามารถทางานไดส้ ะดวกข้ึน

รูปท่ี 3.1 เคร่ืองเจาะต้งั โตะ๊ (ชะลอ 2548: 69)
3.1.2 เคร่ืองเจาะต้งั พ้นื เป็นเครื่องเจาะขนาดใหญ่กว่าเครื่องเจาะต้งั โตะ๊ สามารถเจาะรูไดข้ นาดท่ีใหญ่
กว่า

รูปท่ี 3.2 เคร่ืองเจาะต้งั พ้ืน (ชะลอ 2548: 70)

3.1.3 เคร่ืองเจาะแบบรัศมี (Radial Drilling) เป็ นเคร่ืองเจาะขนาดใหญ่ท่ีใชใ้ นงานอุตสาหกรรม เป็ น
เครื่องเจาะที่มีความละเอียด สามารถหาตาแหน่งเจาะไดส้ ะดวกเพราะไม่ตอ้ งเคลื่อนที่งาน สามารถเลื่อน

เพลาแกนเจาะท่ีมหี วั จบั ดอกสวา่ นและดอกสว่านไปยงั ตาแหน่งท่ีตอ้ งการเจาะไดเ้ ลย โดยการเคล่อื นไปตาม
แขนรัศมี ซ่ึงแขนรัศมีน้ีสามารถเล่ือนข้ึนลงตามเสาเครื่อง การเคลื่อนที่จะมีการขบั เคล่ือนด้วยมอเตอร์
ขบั เคลอ่ื นทางกล เหมาะสาหรับการเจาะรูจานวนมาก หรืองานมีขนาดใหญ่เคล่ือนยา้ ยลาบาก

รูปท่ี 3.3 เครื่องเจาะแบบรัศมี (ชะลอ 2548: 71)
3.2 ส่วนประกอบที่สาคญั เคร่ืองเจาะ

3.2.1 ส่วนประกอบต่างๆของเครื่องเจาะต้งั
1) ฐานเคร่ือง (Base) ทาดว้ ยเหลก็ หลอ่ เป็นส่วนท่ีรองรับน้าหนักท้งั หมดของเครื่องจะยึดติดแน่น

บนโต๊ะป้ องกนั การสนั่ สะเทือนในขณะปฏบิ ตั ิงาน
2) เสาเคร่ืองเจาะ (Column) จะเป็นเหลก็ รูปทรงกระบอกกลวง เป็นส่วนท่ียดึ ติดกบั ฐานเครื่อง เพื่อ

รองรับชุดหวั เคร่ืองและรองรับโตะ๊ งาน
3) โต๊ะงาน (Table) ส่วนใหญ่ทาดว้ ยเหลก็ หลอ่ เป็นส่วนที่รองรับชิ้นงานท่ีจะนามาเจาะหรืออาจจะ

รองรับอุปกรณ์จบั ยดึ สาหรับจบั ยดึ ช้ินงาน เช่น ปากกาจบั งาน เป็นตน้ สามารถเล่ือนข้ึนลงไดบ้ นเสาเครื่อง
ดว้ ยการหมุนแขนส่งกาลงั ดว้ ยชุดเฟื องสะพาน เม่อื ไดต้ าแหน่งท่ีตอ้ งการก็สามารถยึดให้แน่นกบั เสาเครื่อง
ได้

รูปที่ 3.4 แสดงลกั ษณะโต๊ะงานและเสาเครื่อง(ชะลอ 2548: 72)
4) ชุดหวั เคร่ือง (Drilling Head) จะอยบู่ นสุดของเครื่องเจาะ ประกอบดว้ ยส่วนต่างๆ

- มอเตอร์ส่งกาลงั (Motor)
- สายพานและลอ้ สายพานส่งกาลงั (Belt & Pulley)
- ฝาครอบ (Pulley Guard) มไี วค้ รอบสายพานเพ่อื ป้ องกนั อนั ตราย
- หวั จบั ดอกสวา่ น (Drill Chuck) ใชจ้ บั ดอกสวา่ นกา้ นตรง ส่วนใหญ่มขี นาดไมเ่ กิน ½ น้ิวหรือ
ประมาณ 12.7 มม.
- แขนหมนุ ป้ อนเจาะ (Hand Feed Level)
- สวติ ชป์ ิ ดเปิ ด (Switch)

รูปที่ 3.5 ชุดหวั เครื่องเจาะ (ชะลอ 2548: 73)
3.2.2 ส่วนประกอบที่สาคญั ของเคร่ืองเจาะต้งั พ้ืน สว่านต้งั พ้นื จะมสี ่วนประกอบท่ีสาคญั เหมือนเครื่องเจาะ
แบบต้งั โต๊ะ จะต่างกนั ท่ีขนาดและความสามารถในการเจาะรูและระบบส่งกาลงั ซ่ึงมีส่วนประกอบต่างๆ
ดงั น้ี

1) ฐานเครื่อง (Base) ทาดว้ ยเหล็กหล่อ เป็ นส่วนที่รองรับน้าหนกั ท้งั หมดของเคร่ืองจะวางอยบู่ น
พ้นื โรงงาน อาจจะมีฐานรองเครื่องรองรับเครื่องเจาะอกี ทีหน่ึงเพือ่ ความสะดวกในการปรับระดบั เครื่องเจาะ

2) เสาเคร่ืองเจาะ (Column) จะเป็นเหลก็ รูปทรงกระบอกกลวง เป็นส่วนที่ยดึ ติดกบั ฐานเครื่อง เป็ น
ส่วนที่รองรับชุดหวั เครื่องและรองรับโต๊ะงาน

รูปที่ 3.6 แสดงฐานเคร่ืองเจาะ เสาเคร่ืองเจาะ (ชะลอ 2548: 72)
3) โตะ๊ งาน (Table) ส่วนใหญ่ทาดว้ ยเหลก็ หล่อ มที ้งั ที่เป็นรูปวงกลมหรือเป็ นรูปส่ีเหล่ียมเป็ นส่วน
ท่ีรองรับช้ินงานท่ีตอ้ งการเจาะ หรืออาจจะรองรับอุปกรณ์จบั ยดึ ช้ินงาน เช่น ปากกาจบั งานเป็ นตน้ โต๊ะงาน
สามารถหมุนรอบเสาเครื่องและเล่ือนข้ึนลงไดด้ ว้ ยการหมุนแขนหมุนส่งกาลงั ดว้ ยชุดเฟื องสะพาน เมื่อได้
ตาแหน่งที่ตอ้ งการก็สามารถยดึ ใหแ้ น่นกบั เสาเครื่องได้ โตะ๊ งานของเครื่องเจาะบางเครื่องอาจจะเอียงทามุม
ไดอ้ กี ดว้ ย

4) ชุดหวั เครื่อง จะอยบู่ นสุดของเคร่ืองเจาะ ประกอบดว้ ยส่วนต่างๆ ท่ีสาคญั ดงั น้ี
- มอเตอร์ส่งกาลงั (Motor)
- ระบบส่งกาลงั จะมกี ารส่งกาลงั ดว้ ยสายพานและฟันเฟื อง การส่งกาลงั ดว้ ยฟันเฟื องจะมีคนั
โยกบงั คบั เปลี่ยนความเร็วรอบ
- ฝาครอบ มีไวค้ รอบสายพานเพ่อื ป้ องกนั อนั ตราย
- แกนเพลา (Spindle) ภายในเป็ นรูเรียวสาหรับจบั ยึดกา้ นเรียวของหวั จบั ดอกสว่าน หรือจบั
กา้ นเรียวของดอกสว่านท่ีมขี นาดมากกว่า 12.7 มม. ข้ึนไป
- แขนหมุนป้ อนเจาะ จะมที ้งั แบบป้ อนเจาะดว้ ยมอื และการป้ อนเจาะอตั โนมตั ิหรืออาจจะป้ อน
เจาะดว้ ยมืออยา่ งเดียว
- แกนต้งั ระยะป้ อนเจาะ ใชส้ าหรับต้งั ความลกึ เพื่อเจาะงาน
- สวติ ชป์ ิ ดเปิ ด
3.2.3 ส่วนประกอบที่สาคญั ของเคร่ืองเจาะแบบรัศมี

รูปท่ี 3.7 แสดงส่วนประกอบต่างๆ ของเคร่ืองเจาะแบบรัศมี (ชะลอ 2548: 75)
1) ฐานเครื่อง (Base) เป็ นส่วนท่ีติดต้ังอยู่กับพ้ืนโรงงาน ทาดว้ ยเหล็กหล่อ เป็ นส่วนที่รองรับ
น้าหนกั ท้งั หมดของเครื่อง
2) เสาเคร่ือง (Column) มีลกั ษณะเป็นเสากลมใหญ่กว่าเสาเคร่ืองเจาะธรรมดา จะยึดติดอย่กู บั ฐาน
เครื่อง จะเป็นท่ีเครื่องข้ึนลงและจบั ยดึ ของแขนรัศมี
3) แขนรัศมี (Radial Arm) สามารถเล่ือนข้ึนลงไดบ้ นเสาเครื่อง และสามารถหมุนรอบเสาเคร่ืองได้
เพื่อหาตาแหน่งเจาะงาน เป็นส่วนท่ีรองรับชุดหวั เคร่ือง
4) ชุดหัวเครื่อง (Drilling Head) อยบู่ นแขนรัศมี สามารถเล่ือนเขา้ ออกไดต้ ามความยาวของแขน
รัศมี เพือ่ หาตาแหน่งเจาะรู
5) แกนเพลา (Spindle) เป็นรูปทรงกระบอก ภายในเป็นรูเรียวสาหรับจบั ยดึ กา้ นเรียวของหวั จบั ดอก
สวา่ น หรือจบั กา้ นเรียวของดอกสว่านท่ีมขี นาดใหญ่
6) โต๊ะงาน (Table) เป็ นอุปกรณ์ที่ยึดติดอย่บู นฐานเคร่ือง จะมีร่องตวั -T เพื่อใชจ้ บั ยึดช้ินงาน
โดยตรง หรือใชส้ าหรับจบั ยดึ ปากกาจบั งาน หรืออปุ กรณ์อ่ืนๆ
7) มอเตอร์ (Motor) เป็นตน้ กาลงั ที่ส่งกาลงั ไปหมุนแกนเพลาเพื่อหมุนดอกสว่านเจาะงานหรือส่ง
กาลงั เพ่ือขบั เคล่อื นส่วนต่างๆอตั โนมตั ิ เน่ืองจากช้ินส่วนแต่ละส่วนมีขนาดใหญ่

3.3 เครื่องมือและอุปกรณ์ทีใ่ ช้กบั เคร่ืองเจาะ

3.3.1 ดอกสวา่ น ดอกสว่านเป็นอุปกรณ์ชนิดหน่ึงท่ีใชเ้ จาะรูบนช้ินงานให้ไดข้ นาดตามความตอ้ งการ
เป็นที่นิยมใชก้ นั มากเพราะวา่ สามารถใชง้ านไดส้ ะดวกซ่ึงมสี ่วนต่างๆ ดงั รูปที่ 3.8

รูปที่ 3.8 ส่วนต่างๆของดอกสว่าน (ชะลอ 2548: 76)
1) กน่ั (Tang) จะมีเฉพาะสว่านกา้ นเรียวเท่าน้ัน จะอย่ตู รงปลายสุดของกา้ นเรียว มีไวส้ าหรับใช้
เหลก็ ถอดดอกออกจากเพลาแกน (Spindle) ของเครื่องเจาะหรือถอดออกจากปลอกเรียว
2) กา้ น (Shank) ถา้ เป็ นสว่านกา้ นตรง จะเป็ นส่วนท่ีใชห้ ัวจบั ดอกสว่านจบั เพ่ือเจาะชิ้นงาน ส่วน
ใหญ่ดอกสว่านกา้ นตรงจะมขี นาดเสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางไม่เกิน ½ นิ้ว หรือประมาณ 12.7 มม. ส่วนสว่านกา้ น
เรียวจะมขี นาดเสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางมากกวา่ 12.7 มม. ข้ึนไป
3) ขอบคม (Margin) มีลกั ษณะเป็ นสันนูนออกมาจากผิวของดอกสว่าน ทาให้ลดการเสียดสี
ระหวา่ งผวิ ดอกสวา่ นกบั ช้ินงาน
4) สนั คม (Land) ผวิ ส่วนน้ีจะต่ากว่าขอบคม เพ่ือลดการเสียดสีกบั ชิ้นงาน
5) ร่องเกลียวดอกสวา่ น (Flutes) ร่องดอกสว่านทว่ั ๆไปจะมี 2 ร่อง ก่ีกดั ร่องดอกสวา่ นทาใหเ้ กิดคม
ตดั และร่องยงั เป็นที่สาหรับคายเศษโลหะท่ีดอกสว่านเจาะออกมา ถา้ เศษโลหะคายออกมาไม่ได้ อาจจะทา
ใหด้ อกสว่านหกั ได้
6) มุมบิดดอกสว่าน (Helix or Rake Angle) คือ มุมท่ีร่องสว่านบิดทามุมกบั แกนกลางของดอก
สว่าน
7) แกนกลาง (Web) คือ เน้ือโลหะแกนกลางของดอกสว่าน ช่วยทาใหส้ ว่านมีความแข็งแรง เม่ือ
ดอกสว่านส้นั ลงแกนกลางยงิ่ หนาข้ึนเร่ือยๆ

3.3.2 ดอกสวา่ นแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ
1) สว่านกา้ นตรง เป็ นสว่านที่มีขนาดเล็ก ส่วนมากมีขนาดเส้นผ่าศูนยก์ ลางไม่เกิน ½ นิ้วหรือ

ประมาณ 12.7 มม. เวลาใชง้ านจะตอ้ งจบั ดว้ ยหวั จบั ดอกสว่าน

รูปที่ 3.9 สวา่ นกา้ นตรง (ชะลอ 2548: 76)
2) สว่านกา้ นเรียว เป็ นสว่านที่มีขนาดใหญ่ ส่วนมากมีขนาดมากกว่า ½ นิ้วหรือ 12.7 มม.ข้ึนไป
ตรงกา้ นเรียวเป็นเรียวมาตรฐานมอส เวลาใชง้ านจะสวมเขา้ กบั รูเรียวของเครื่อง เช่น เครื่องเจาะ หรือรูศนู ย์
ทา้ ยของเคร่ืองกลึง ฯลฯ

รูปที่ 3.10 ดอกสวา่ นกา้ นเรียว (ชะลอ 2548: 76)

3.3.3 ขนาดดอกสวา่ น โดยทวั่ ๆไปมีการบอกขนาดอยู่ 4 แบบ คือ
1) บอกขนาดเป็นมิลลิเมตร
2) การบอกเป็ นนัมเบอร์ จะมีต้งั แต่นัมเบอร์ 1-80 เป็ นระบบน้ิว นัมเบอร์ 80 จะมีขนาดเลก็ สุด =

0.0135 นิ้ว และนมั เบอร์ 1 มขี นาดใหญ่สุด = 0.228 น้ิว
3) บอกขนาดเป็นตวั อกั ษร ต้งั แต่ A-Z มขี นาดต้งั แต่ 0.234 น้ิว ถงึ 0.413 น้ิว
4) การบอกขนาดเป็นเศษส่วน มขี นาดต้งั แต่ 1/64 ถึง 4 น้ิว

3.3.4 การป้ อนเจาะงานของดอกสว่าน
อตั ราป้ อนเจาะงาน หมายถงึ การป้ อนลกึ ลงไปในงานต่อการหมุนของดอกสว่าน 1 รอบ เช่น อตั รา

ป้ อนเจาะ 0.2 มม./รอบ หมายถึง เม่อื ดอกสว่านหมุนไปครบ 1 รอบ จะสามารถป้ อนกินลึกลงไปในงาน 0.2
มม.

ในการป้ อนอตั โนมตั ิถา้ เครื่องเจาะไม่สามารถป้ อนอตั โนมตั ิไดก้ ็ตอ้ งป้ อนการกินลกึ ดว้ ยมือจะตอ้ ง
อาศยั ประสบการณ์และความรู้สึก ถา้ เครื่องสามารถป้ อนอตั โนมตั ิไดก้ ็จะมีตารางสาหรับใหเ้ ลือกในการ
ป้ อนความลึกเจาะงาน

3.3.5 การร่างแบบงานเจาะ
ก่อนทาการเจาะงานจะตอ้ งมีการร่างแบบก่อนทาการเจาะรูโดยมนี ้ายาร่างแบบ และใชว้ งเวยี นเขียน

วงกลมรูท่ีเจาะและดอกร่างแบบดว้ ยเหลก็ ดอกร่างแบบ และควรเจาะนาศูนยด์ ว้ ยดอกเจาะนาศูนย์ จะทาให้
เจาะไดต้ าแหน่งแม่นยา

รูปท่ี 3.11 การร่างแบบดว้ ยเวอร์เนียร์ไฮเกจ (ชะลอ 2548: 83)

รูปที่ 3.12 การร่างแบบดว้ ยเหลก็ ขอขา้ ง (ชะลอ 2548: 83)

รูปที่ 3.13 ดอกเจาะนาศนู ย์ (Center Drill) (ชะลอ 2548: 85)
3.3.6 การหล่อเยน็

การเจาะงานจะตอ้ งมกี ารหล่อเยน็ เพ่ือเป็ นการระบายความร้อนจากช้ินงานและจากดอกเจาะ เพื่อ
เป็นการรักษาอายกุ ารใชง้ านของดอกเจาะ โดยทว่ั ไปจะหลอ่ เยน็ ดว้ ยน้ายาหลอ่ เยน็ ถา้ จะหล่อเยน็ ก็จะใชล้ ม
เป่ าแทน
เคร่ืองเจาะนอกจากจะใชเ้ จาะรูยงั ใชง้ านไดอ้ ีกหลายอยา่ ง เช่น การควา้ นละเอียด การขดั การผายปากรู และ
การผายเป็นบ่าฉาก และยงั สามารถทาการตาปเกลียวไดด้ ว้ ย

3.3.7 การผายปากรู (Counter Sink)
เป็นการผายปากรูที่เจาะเป็นมุมเพือ่ ฝังหวั สกรูท่ีเอยี งเป็นมมุ ดอกผายรูมีขนาดและมีมุมหลายขนาด

เช่น มมุ 60 องศา มมุ 90 องศา ฯลฯ

รูปท่ี 3.15 แสดงดอกผายปากรู (ชะลอ 2548: 85)
3.3.8 การผายปากรูเป็นบ่าฉาก (Counter Bore)

เป็นการผายรูใหเ้ ป็นบ่าฉากเพื่อฝังหวั สกรูที่เป็นหวั บ่าฉากหรือท่ีเรียกว่าสกรูหวั แบบ Socket เป็ นท่ี
นิยมใชใ้ นการทาแมพ่ มิ พ์

รูปท่ี 3.16 ดอกผายปากรูเป็นบ่าฉาก (ชะลอ 2548: 86)
3.3.9 การควา้ นละเอียด (Reaming)

งานบางอยา่ งผวิ ของงานเจาะยงั ไมเ่ รียบพอหรืออาจจะมีขนาดเสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางจากการเจาะไม่ได้
พิกดั ตามตอ้ งการ ดอกควา้ นละเอยี ดแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ

1) ดอกควา้ นละเอียดดว้ ยมือ (Hand Reamer)
2) ดอกควา้ นละเอียดดว้ ยเคร่ือง (Machine Reamer)

รูปที่ 3.17 ดอกควา้ นละเอียดท่ีควา้ นดว้ ยมอื (ชะลอ 2548: 87)

รูปที่ 3.18 ดอกควา้ นละเอยี ดท่ีควา้ นดว้ ยเคร่ือง (ชะลอ 2548: 87)
3.3.10 ข้นั ตอนการควา้ นละเอยี ดบนเครื่องเจาะ

1) จบั ยดึ ชิ้นงานบนเครื่องเจาะ
2) เจาะรูใหเ้ ลก็ กวา่ ขนาดจริง ดไู ดจ้ ากตารางท่ี 3.1
3) ถา้ ตอ้ งการความละเอยี ดสูง ควรเจาะใหม้ ขี นาดเลก็ กว่าขนาดจริงประมาณ 1.5-3 มม.และทาการ
ควา้ นรูใหไ้ ดข้ นาดความตอ้ งการ
4) ถา้ ตอ้ งการป้ อนอตั โนมตั ิ ควรต้งั อตั ราป้ อนอยทู่ ่ี 0.01 มม./ฟัน/รอบ
5) ทาการควา้ นละเอยี ดดว้ ยความเร็วประมาณ ½ หรือ 2/3 ของความเร็วเจาะงาน
6) ในกรณีตอ้ งการหล่อเยน็ จะตอ้ งเลือกใชน้ ้ายาหลอ่ เยน็ ใหเ้ หมาะสม
3.3.11 ข้นั ตอนการควา้ นละเอยี ดดว้ ยมอื
1) เจาะรูใหเ้ ลก็ กว่าขนาดจริงดว้ ยเคร่ืองเจาะหรือเคร่ืองกลึง
2) จบั ยดึ ช้ินงานดว้ ยปากกา
3) ทาการควา้ นละเอยี ดดว้ ยมือโดยใชด้ า้ มตาปเกลียว โดยการหมุนไปทิศทางเดียวจะไม่หมุนกลบั
ทิศทางเหมือนตาปเกลียว มิฉะน้นั เศษโลหะจะขดู ผวิ งานเป็นรอย
3.3.12 การตาปเกลียว
เป็นอปุ กรณ์อกี ชนิดหน่ึงที่สามารถนามาใชก้ บั เคร่ืองเจาะได้ ใชป้ ระโยชน์ในการทาเกลียวเพ่ือใช้
งาน ดอกตาปเกลียวชนิดหน่ึงชุดจะมี 3 ดอก การตาปจะเริ่มจาก 1. Taber 2. Plug 3. Bottoming

รูปที่ 3.19 ชุดดอกตาปเกลยี ว (ชะลอ 2548: 91)
3.3.13 อุปกรณ์จบั ยดึ ที่ใชก้ บั เครื่องเจาะ

1) ปากกาจบั งาน เป็ นอุปกรณ์ท่ีจาเป็ นและใช้มากในงานเจาะเพราะทาให้จบั ยึดงานได้สะดวก
รวดเร็ว

รูปที่ 3.20 ปากกาจบั งานเจาะ และ ปากกาจบั งานเจาะเอียงมุมได้ (ชะลอ 2548: 92)

รูปท่ี 3.21 (ก) ปากกาจบั แบบยนู ิเวอร์เซล (ข) ปากกาจบั งานดว้ ยระบบนิวเมตริกส์-ไฮดรอลิก
(ชะลอ 2548: 93)

2) หัวจบั ดอกสว่าน ใชส้ าหรับจบั ดอกสว่านท่ีเป็ นสว่านกา้ นตรงเพื่อใชเ้ จาะงานแบ่งออกเป็ น 2

ชนิด คือ หวั จบั ดอกสวา่ นขนั ดว้ ยประแจ และชนิดใชม้ อื ขนั จบั
3) ปลอกเรียว (Sleeve) ใชส้ าหรับสวมกบั กา้ นเรียวดอกสว่านหรือสวมกบั กา้ นเรียวของหวั จบั

ดอกสวา่ นที่มขี นาดเลก็ ในกรณีเรียวในของเคร่ืองเจาะมีขนาดใหญ่กวา่

รูปท่ี 3.22 ปลอกเรียว (ชะลอ 2548: 93)
4) ปลอกเรียวลดระดบั ใชส้ าหรับสวมกบั กา้ นเรียวดอกสวา่ นหรือสวมกบั กา้ นเรียวของหัวจบั ดอก
สวา่ นที่มีขนาดใหญ่ ในกรณีเรียวในของเคร่ืองเจาะมขี นาดเลก็ กวา่

รูปที่ 3.23 ปลอกเรียวลดระดบั (ชะลอ 2548: 94)
5) เหลก็ ถอดดอกสว่าน เป็นอุปกรณ์ที่ใชถ้ อดดอกสว่านออกจากเรียวหรือถอดออกจากเคร่ืองเจาะ
โดยการกระแทกเพอื่ ถอดดอกสว่าน

รูปที่ 3.50 เหลก็ ถอดดอกสว่านและวิธีใช้ (ชะลอ 2548: 94)

กิจกรรมการเรยี นการสอน

ข้ันตอนการสอนหรอื กจิ กรรมของครู ขั้นตอนการเรยี นหรอื กจิ กรรมของ

นกั เรยี น

๑. ตรวจสอบรายช่ือนักเรยี นกอ่ นเรียนทุกคน - ฟังคาบรรยาย คาอธิบายรายวิชา

- จดบันทกึ

- แสดงความคิดเห็น

๒. ครนู าเข้าส่บู ทเรยี นตง้ั คาถามนกั เรยี นในช้นั เรียนเปน็ - ศึกษาจากสื่อและเอกสาร
รายบคุ คลว่า หากเราตอ้ งการเลอื กเหล็กในการทาอุปกรณท์ ม่ี ี - ซกั ถาม – ปัญหาขอ้ สงสัย
ความทดทานเราควรเลอื กเหลก็ ชนดิ ใด ใหน้ ักเรยี นยกตวั อยา่ ง - ตอบคาถาม / จดบันทกึ
ตามความเขา้ ใจ
- ให้นักเรยี นสรปุ เน้ือหาเปน็ แผนผงั
๓. ครูอธบิ ายเร่อื ง

1. บอกชนิดของเคร่ืองเจาะได้ ความคดิ รายบุคคล
2. บอกส่วนประกอบท่ีสาคญั ของเครื่องเจาะได้ - นกั เรยี นฟังครอู ธิบาย
3. บอกเคร่ืองมืออุปกรณ์ที่ใชก้ บั เคร่ืองเจาะได้ - ปรกึ ษา/อธิบาย/อภปิ รายกบั เพือ่ น
- ซกั ถามข้อสงสยั
๔. ครซู กั ถามนักเรียนเปน็ รายบคุ คล ในเรอ่ื งหลกั การเลอื กใช้
วสั ดใุ นการทาอปุ กรณน์ าเจาะและจบั งาน ให้นกั เรียนแต่ละคน - รว่ มกันสรปุ
ทาแบบทดสอบ - สอบถามข้อสงสยั
- ทาแบบทดสอบหลังเรียน
๕. ครดู แู ลการทาความสะอาดหอ้ งเรียน - ทาแบบทดสอบหน่วยที่ ๓ เพอื่
ประเมนิ ผลการเรียน
๖. ครูบนั ทึกขอ้ มลู เกีย่ วกับกจิ กรรม การเรียน การสอน เพอ่ื ใช้ - นกั เรียนทาความสะอาดหอ้ งเรยี น จัดโต๊ะ
แกไ้ ขปญั หาทอ่ี าจเกิดขึ้นกับกลุ่มอื่น ๆ ตอ่ ไปหรอื ความรู้ใหม่ ๆ เกา้ อ้ี ใหเ้ รยี บร้อย
ท่ีเกิดข้นึ

งานทม่ี อบหมายหรอื กิจกรรม

 ก่อนเรยี น

๑. การซกั ถามเก่ียวกบั เนอ้ื หาในแตล่ ะหน่วยก่อนเรียน

 ขณะเรียน

๑. นกั เรียน-นักศกึ ษาอภปิ รายเนอื้ หาตามหัวข้อกจิ กรรมทค่ี รูกาหนด และสรปุ ผลการอภิปราย
๒. ครอู ธบิ าย และสรปุ เนื้อหาตามหวั ขอ้ กจิ กรรมหน่วยการสอนท่ี ๓

 หลงั เรยี น

๑. ให้นกั เรียน – นกั ศกึ ษา ทาแบบทดสอบทา้ ยบทตามหน่วยการเรยี นนน้ั ๆ
๒. ครูและนักเรยี น-นักศกึ ษา ร่วมกนั เฉลยคาตอบ

สื่อการเรียนการสอน
 สอ่ื สิง่ พมิ พ์

- หนงั สอื หน่วยที่ ๓
- แบบทดสอบ
- แบบฝึกหัดทา้ ยบท

 ส่ือโสตทัศน์ (ถา้ ม)ี
- เครือ่ งฉายขา้ มศรี ษะ

 หุ่นจาลองหรอื ของจริง
-

การประเมินผล

 กอ่ นเรยี น

- การซกั ถามเกีย่ วกบั เน้อื หาในแตล่ ะหน่วยกอ่ นเรยี น

 ขณะเรยี น

- สังเกต ความต้ังใจขณะเรียน
- การซกั ถาม/ตอบคาถาม
- การประเมินจากกจิ กรรมเสนอแนะ

 หลงั เรียน

- แบบทดสอบหลังเรียน
- ประเมินแบบฝกึ หัดท้ายบท
- การวัดจาการประเมนิ ด้านคุณธรรม จริยธรรม กจิ กรรมเสนอแนะ

บนั ทกึ หลังการสอน
 ผลการใชแ้ ผนการสอน

- เปน็ ไปตามแผนที่วางไว้

 ผลการเรยี นของนกั เรียน

-

แผนการสอน หนว่ ยท่ี ๖ สอนคร้ังที่ ๑๕-๑๘
ช่อื วชิ า งานเครอื่ งมอื กลเบ้ืองตน้ จานวนช่ัวโมง ๔
ชื่อหนว่ ย เครอ่ื งกัดและงานกดั
ช่วั โมงรวม ๗๒
ชอื่ เรอื่ งหรือชื่อหน่วย เครื่องกดั และงานกัด

หวั ขอ้ เรอ่ื งและงาน
๑. บอกชนดิ ของเครือ่ งกดั ได้
๒. บอกส่วนประกอบทสี่ าคญั ของเครื่องกัดได้
๓. บอกเคร่อื งมืออุปกรณ์ทใี่ ช้กบั เครือ่ งกดั ได้
๔. อธบิ ายขั้นตอนการใชเ้ คร่อื งกดั ได้
๕. สามารถคานวณหาความเรว็ ในงานกัดได้
๖. บอกวิธกี ารบารุงรกั ษาเคร่อื งกัดได้
๗. อธิบายความปลอดภัยในการใชเ้ ครอ่ื งกัดได้

เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 6จะมีเน้ือหาชนิดของเครอ่ื งกัด สว่ นประกอบที่สาคัญของ
เครอ่ื งกดั เครอ่ื งมืออปุ กรณ์ทีใ่ ชก้ บั เครือ่ งกดั ขั้นตอนการใช้เครื่องกัด การคานวณความเรว็ ในงานกัด การ
บารงุ รักษาเครื่องกัดความปลอดภยั ในการใชเ้ คร่อื งกดั โดยในสว่ นของเนื้อหาจะมแี บบฝึกหดั เฉลย สอื่ การ
สอนดว้ ยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Power Point) ซึง่ จะชว่ ยให้ผูเ้ รยี นได้เรียนรู้และเขา้ ใจส่งิ ท่ี ผ้สู อน
ไดถ้ า่ ยทอดให้และผู้สอนจะไดร้ บั ความสะดวกในการดาเนนิ การสอน

เครื่องกัดเป็นเคร่ืองจกั รที่สาคัญอกี ชนดิ หนึ่งของช่างกลโรงงาน ลกั ษณะการทางานจะแตกตา่ งจาก
เครอื่ งไส และเครื่องกลงึ เคร่อื งกัดดอกกดั จะเป็นตัวหมุนตดั ช้ินงานโดยช้นิ งานจับยดึ อยู่บนโต๊ะงาน แลว้
เคลื่อนท่ผี ่านดอกกดั เครอ่ื งกัดสามารถทางานไดม้ ากมายหลายอยา่ ง เช่น กดั ราบ กดั รอ่ ง กดั เฟอื ง ฯลฯ

เนอ้ื หาสาระ
5.1 ชนดิ ของเครือ่ งกดั

เครื่องกดั พ้ืนฐานทใ่ี ช้อยูท่ วั่ ๆไป ถา้ แบง่ ออกตามลกั ษณะของเพลาจับยึดมดี กดั แบง่ ออกไดเ้ ป็น 2
ชนดิ คือ เครื่องกดั แกนเพลานอน และเคร่ืองกดั แกนเพลาตง้ั

5.1.1 เคร่อื งกัดแกนเพลานอน

รูปท่ี 5.1 เครื่องกดั แกนเพลานอน (ชะลอ 2548: 206)

5.1.2 เครอื่ งกดั เพลาตง้ั เป็นเคร่อื งกัดท่ีมแี กนเพลาอยู่ในแนวตั้ง นิยมใช้กบั ดอกกัดท่ีเป็นพวก End
Mill, Face Milling

รปู ท่ี 5.2 เครื่องกดั แกนเพลาตง้ั (ชะลอ 2548: 207)

5.2 ส่วนประกอบท่สี าคัญของเคร่ืองกดั
5.2.1 เครือ่ งกัดแกนเพลานอนแบบ Plain Knee and Column ประกอบด้วยส่วนตา่ งๆ ทสี่ าคญั

ดงั น้ี
1) ฐานเครอื่ งกัด ทาด้วยเหลก็ หล่อ อยูต่ ิดกบั พนื้ โรงงานโดยตรง หรืออาจจะมีฐานรองเครอ่ื ง

รองเพอ่ื ความสะดวกในการปรับระดบั เป็นส่วนท่รี องรับน้าหนักทั้งหมดของเครื่องกดั ภายในเป็นโพรงเพอ่ื
บรรจนุ ้าหลอ่ เยน็ ขณะกดั ชิ้นงาน

2) โครงเครื่องกดั เปรยี บเสมือนลาตวั เครอ่ื งกัด ทาดว้ ยเหล็กหลอ่ เป็นส่วนทตี่ ่อจากฐาน
เครอ่ื งกัด สว่ นใหญจ่ ะหลอ่ เป็นชิน้ เดยี วกันกับฐานเคร่อื ง เป็นส่วนทร่ี องรบั สว่ นต่างๆ ของเคร่อื งกัด ส่วน
หน้าของเคร่อื งกัดจะมีแทน่ เลือ่ นยดึ ตดิ อยู่ ดา้ นบนของโครงกัดจะมีคานยนื่ เคร่อื งกัดประกอบอยู่

3) ด้านหน้าของเคร่ืองกดั เป็นส่วนท่ีอยดู่ า้ นหนา้ ของโครงเครือ่ งกดั
4) คานยนื่ เคร่อื งกัด เป็นสว่ นท่ีประกอบอยูด่ า้ นบนของโครงเคร่ืองกัดสามารถเลื่อนเขา้ ออกได้
ตามความยาวของแกนเพลาจับมดี กัด โดยการคลายเกลยี วออกแล้วทาการเลอ่ื นเข้าออกไดต้ ามความยาว
ของแกนเพลาจบั มีดกดั

รูปที่ 5.3 ส่วนประกอบของเครื่องกัด (ชะลอ 2548: 209)
5) แกนเพลาเครื่องกัด เป็นส่วนทอี่ ยดู่ ้านบนของโครงเครือ่ งกดั เป็นสว่ นทีร่ บั กาลังจากชุด

เฟอื งทดแล้วสง่ กาลงั ใหแ้ กนจับยึดมดี กดั พามีดกดั หมนุ ตัดงาน
6) ตัวประคองแกนเพลาจบั มีดกดั ทาหนา้ ทเี่ ป็นตวั ประคองแกนเพลาจับมีดกัด เป็นส่วนทจ่ี ับ

ยดึ อย่กู บั คานย่นื เครื่องกดั สามารถเล่อื นเข้าออกได้บนรอ่ งหางเหย่ยี วของคานย่ืนเครื่องกดั เม่อื ไดต้ าแหน่ง
แลว้ สามารถยดึ ให้แน่นด้วยการขันเกลียว

7) โต๊ะงาน เป็นส่วนท่มี ีไว้จับยึดช้นิ งานโดยตรง หรือจบั ยึดอุปกรณต์ ่างๆ เชน่ ปากกาจบั งาน
หัวแบ่งศนู ย์ทา้ ยเครอ่ื งกัด ฯลฯ สามารถเคลอ่ื นทซี่ า้ ยขวาได้เพ่อื ปอ้ นกดั ชิ้นงาน

รูปท่ี 5.4 โต๊ะงานเคร่ืองกัดแบบ Pain knee and Column(ชะลอ 2548: 209)

8) แครเ่ ลอ่ื น จะประกอบอยู่บนแทน่ เลอ่ื น ทาหน้าทเ่ี คลอ่ื นเข้าออกอยู่บนแท่นเลือ่ น ไม่
สามารถหมุนเปน็ องศาได้

รปู ท่ี 5.5 แคร่เล่ือนเครื่องกดั แบบ Pain knee and Column(ชะลอ 2548: 209)
9) แท่นเล่อื น จะยดึ ตดิ อยูบ่ นดา้ นหน้าของโครงเครอ่ื งกัด สามารถเคลือ่ นทข่ี ้ึนลงไดบ้ น

ด้านหน้าของโครงเคร่ืองกดั เพื่อป้อนความลกึ ในการกดั งาน

รูปท่ี 5.6 แท่นเลอ่ื นเครื่องกดั แบบ Pain knee and Column(ชะลอ 2548: 210)

10) มอเตอร์ เป็นต้นกาลังท่ีส่งกาลังไปยังเพลาหวั เคร่ืองกดั เพือ่ ส่งกาลงั ให้ดอกกดั หมนุ กดั งาน
และยังสง่ กาลังไปยงั ชดุ ขับเคลอื่ นสว่ นต่างๆ ใหเ้ คล่ือนท่อี ัตโนมัติด้วย

5.2.2 เคร่อื งกัดแกนเพลานอนแบบ Universal Knee and Column ประกอบด้วยส่วนตา่ งๆ ท่ี
สาคัญ และวธิ ีการทางานเหมือนกบั เครือ่ งกัดแบบธรรมดาทุกอยา่ ง มสี ว่ นประกอบทกุ อยา่ งเหมอื นกัน
ตา่ งกนั ตรงทโี่ ตะ๊ งานของเคร่ืองกดั แบบ Universal Knee and Column สามารถบิดเอยี งเปน็ องศาไดท้ ้งั
ซา้ ยและขวาเพ่อื ใชใ้ นการกดั งานเป็นมุม เช่น งานกัดเฟืองเฉยี งงานกัดมมุ บดิ ของดอกสว่าน ฯลฯ
สว่ นประกอบทเี่ หมือนกันมดี งั นี้

1) ฐานเครื่องกดั
2) โครงเครื่องกดั
3) ด้านหนา้ โครงเคร่อื งกดั
4) คานยนื่ เคร่อื งกัด
5) แกนเพลาเครื่องกดั
6) ตัวประคองแกนเพลาจับมดี กัด
7) มอเตอร์
8) โต๊ะงาน จะวางอยู่บนฐานหมุนรองรบั โตะ๊ งาน เป็นที่สาหรบั จับยึดช้ินงานโดยตรงหรอื จะนา
อปุ กรณ์จับงานต่างๆ มาจับยึดเพอ่ื จับยดึ ช้ินงานอกี ที เชน่ ปากกาจับงาน หวั แบ่ง ฯลฯ โตะ๊ งานจะมีแขน
หมนุ เพอื่ เดินป้อนช้ินงานกดั งานดว้ ยดอกกัดชนิดตา่ งๆ

รูปท่ี 5.7 โตะ๊ งานเครื่องกดั แบบ Universal knee and Column(ชะลอ 2548: 211)

9) ฐานหมุนรองรับโต๊ะงาน จะวางอยูบ่ นแคร่เล่อื นสามารถหมนุ เปน็ องศาไดเ้ พอ่ื ทาให้โต๊ะงาน
หมนุ เอยี งเป็นองศาโดยมีขดี องศาบอกและยงั มีรางใหโ้ ต๊ะงานเคลือ่ นท่ซี ้ายขวาได้ดว้ ย

รูปที่ 5.8 ฐานหมุนรองรับโตะ๊ งานเครือ่ งกดั แบบ Universal knee and Column(ชะลอ 2548: 211)

10) แคร่เล่ือน จะประกอบอยบู่ นแท่นเลือ่ น ในปจั จุบันนิยมใชแ้ ต่แบบหมนุ องศาได้ เพอ่ื
สาหรับกัดงานเอียงเป็นองศาต่างๆ เชน่ กดั เฟืองเฉียง โดยมีขีดแบ่งเป็นองศาบอกไว้ มฐี านรองรบั โต๊ะงาน
วางอยบู่ นแครเ่ ล่ือนอีกทหี นง่ึ และสามารถหมุนเป็นมุมไดท้ ั้งซ้ายและขวา

รูปท่ี 5.9 แคร่เลอื่ นเครื่องกดั แบบ Universal knee and Column(ชะลอ 2548: 212)

11) แท่นเลือ่ น จะยึดติดอยู่บนด้านหนา้ ของโครงเครอื่ งกัด สามารถเคลื่อนท่ขี ้ึนลงไดเ้ พ่ือป้อน
ความลกึ ในการกดั งาน ดา้ นบนจะมรี างเพ่อื ให้แคร่เลือ่ นเคล่อื นที่เขา้ ออก

รูปที่ 5.10 แทน่ เลอ่ื นเคร่ืองกดั แบบ Universal knee and Column (ชะลอ 2548: 212)

6.2.3 เครอื่ งกดั แกนเพลาตั้งแบบ Vertical Knee and Column Milling Machine ส่วนตา่ งๆ
โดย ทั่วๆไปของเครื่องกัดแกนเพลาตัง้ จะเหมอื นเครอื่ งกดั แกนเพลานอน จะต่างกันตรงที่เคร่อื งกดั เพลาตงั้
ไมม่ คี านยืน่ เครือ่ งกดั และเพลาเครือ่ งกดั เพลาตัง้ จะเปล่ียนจากแกนเพลานอนมาเป็นแกนเพลาต้งั
เคร่อื งกัดแกนเพลาต้ังจะนามาใชป้ ระโยชนใ์ นการกดั งานในแนวต้ังด้วยดอกกัดต่างๆ เช่น ดอกกัดเอนมลิ ล์
ดอกกดั ปาดหนา้ ฯลฯ แลว้ ยังสามารถนามาเจาะรู ควา้ นรู กดั ลกู เบ้ียว และงานอ่ืนๆ อีกมากมาย

1) ฐานเครื่องกดั แกนเพลาต้ัง ทาด้วยเหล็กหลอ่ เหมอื นกับเครื่องกัดแบบแกนเพลานอน
ภายในเป็นโพรงสาหรับใสน่ า้ หลอ่ เย็นเพือ่ ระบายความร้อนในขณะกดั ช้นิ งาน

2) โครงเครื่องกดั แกนเพลาตงั้ จะทาดว้ ยเหลก็ หลอ่ เหมือนโครงเครอ่ื งกดั แกนเพลานอน
เพยี งแตอ่ าจจะมีรปู ร่างแตกตา่ งกนั บา้ ง จะเป็นส่วนทต่ี ดิ ต่อจากบานเคร่ืองกดั ดา้ นหน้าจะมีชดุ แท่นเลอ่ื น
และชุดหวั เคร่อื งกัดประกอบอยู่

3) ด้านหนา้ โครงเครื่องกดั จะเป็นท่ีจับยดึ แคร่เลื่อน สว่ นด้านหน้าโครงเคร่อื งกัดช่วงบนจะมี
ชดุ หัวเครื่องกดั แนวต้งั ประกอบอยู่

4) แกนเพลาเคร่อื งกัด เป็นสว่ นที่อยูก่ ับชดุ หัวเครอ่ื งอย่ใู นแนวตั้งใชส้ าหรบั จับดอกกดั ใน
แนวตง้ั เช่น ดอกกดั เอนมลิ ล์ ดอกกัดปาดหนา้ ฯลฯ

5) ชดุ หัวเคร่อื งกัดแนวต้ัง เป็นชดุ ทป่ี ระกอบอยู่ดา้ นหน้าของโครงเครอ่ื งและประกอบด้วย
แกนเพลาเคร่อื งกดั แนวตั้ง

6) โตะ๊ งาน ประกอบอยบู่ นแครเ่ ลอื่ น ใชส้ าหรับจบั ยดึ ช้ินงานหรอื จับยดึ อุปกรณท์ ใ่ี ช้จับชิ้นงาน
อีกทีหนงึ่ สามารถเลือ่ นซา้ ยขวาได้
รปู ที่ 5.11 โครงเคร่ืองกดั แกนเพลาตงั้ (ชะลอ 2548: 213)

รูปท่ี 5.12 ชดุ หัวเครื่องกัดแนวต้ัง (ชะลอ 2548: 214)

รูปที่ 5.13 โตะ๊ งาน (ชะลอ 2548: 214)

รูปท่ี 5.19 แสดงแกนเพลาเครอ่ื งกดั (ชะลอ 2548:217)

5.3.4 ดอกกัด เป็นอุปกรณท์ จี่ าเป็นอยา่ งยงิ่ สาหรบั เครื่องกัด สามารถทาใหเ้ คร่ืองกัดทางานได้
หลายหลาย เพราะอปุ กรณ์เหล่านมี้ มี ากมายหลายแบบดังน้ี

รปู ท่ี 5.20 แสดงดอกกดั (ชะลอ 2548:219)

5.3.5 หวั แบ่ง (Indexing Head หรอื Dividing Head) เป็นอุปกรณ์ท่สี าคัญของเครอ่ื งกัด
สามารถใชป้ ระโยชนไ์ ดม้ ากมาย เช่น ใช้ในการจับยึดชิ้นงานเพอ่ื กัด การหมุนแบง่ ชิ้นงานเพ่ือกดั เป็นองศา
หรือแบ่งออกเป็นส่วนๆ เช่น การกัดเฟอื ง และยังสามารถกดั เฟืองเฉียงไดโ้ ดยการนาชดุ เฟอื งมาประกอบ
ฯลฯ


Click to View FlipBook Version