The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by St.DominicDB, 2022-05-05 00:01:35

student APRIL 2022

student APRIL 2022

ปรัชญาโรงเรยี นเซนตดอมนิ ิก
เสริมสรางความรู เชดิ ชวู นิ ยั ใสใ จส่ิงแวดลอ ม พรอมพฒั นาสังคม อดุ มดวยคณุ ธรรม

เสรมิ สรา งความรู หมายถงึ นักเรียนทกุ คนจะไดร ับความรูและประสบการณ โดยผา นกระบวนการเรยี นการสอนท่มี คี ณุ ภาพ

เชิดชวู นิ ัย หมายถงึ มงุ เนน ใหนกั เรียนเปนผมู ีระเบียบวนิ ัยในตนเอง และเคารพกฎระเบยี บของโรงเรียน

ใสใจสง่ิ แวดลอ ม หมายถึง เห็นความสําคญั และอนุรกั ษทรัพยากรธรรมชาติ ตลอดจนสาธารณสมบตั ิอยางถูกวิธี

พรอ มพัฒนาสงั คม หมายถงึ นักเรียนสามารถนําความรูแ ละประสบการณท่ไี ดร บั ไปพัฒนาตนเองและสงั คม

อุดมดว ยคุณธรรม หมายถึง นักเรยี นประพฤตปิ ฏบิ ัติตนตามหลักคาํ สอนของศาสนาและคา นิยมที่ถกู ตอ ง

ความหมายแหง ตราของคณะซาเลเซียน

ดาวจํารสั แสง หมายถงึ คณุ ธรรมแหงความเชอื่
สมอเรอื ใหญ หมายถงึ คณุ ธรรมแหง ความไวใ จ
หวั ใจเพลงิ หมายถงึ คุณธรรมแหงความรกั

เหลา นเ้ี ปน ฤทธกิ ศุ ลทีส่ มาชกิ นกั บวชซาเลเซียนตองยดึ ถือ
นักบุญฟรงั ซิส เดอ ซาลส คือ องคอ ุปถมั ภกของคณะซาเลเซียน
หมูไม หมายถึง นกั บญุ ยอหน บอสโก (บอสโก แปลวา หมไู ม)
ยอดเขาสูง หมายถึง ยอดความครบครันทีส่ มาชิกตอ งพยายามลุถึง
ชอชยั พฤกษ (ก่งิ ปาลมและโอลีฟ) หมายถงึ บาํ เหน็จรางวัลแกสมาชกิ ซาเลเซยี นผูท ่ไี ดดาํ เนินชีวิตอยา งศกั ดส์ิ ทิ ธแิ์ ละเสียสละ

คาํ “DA MIHI ANIMAS CAETERA TOLLE” ภาษาลาติน แปลวา “ขอแตเพียงวญิ ญาณไมต องการสงิ่ อน่ื ใด” อัน
เปนอดุ มคตขิ องนักบญุ ยอหน บอสโก ทส่ี มาชกิ ตองยึดถอื และปฏบิ ตั ิตามแบบอยา งของทา น

ความหมายแหงตราของโรงเรยี นเซนตด อมินิก

โล หมายถงึ ความเขม แข็งเด็ดเดีย่ วในการดาํ เนนิ ชีวิตใหเปนผูท ีน่ าเคารพนบั ถือ
ซ่งึ ตอ งประกอบดว ย

ดาว หมายถงึ ความสวา งแหง สตปิ ญ ญา
หวั ใจ หมายถึง ความรอนรนในความรกั ตอ กนั และกนั
ชอ ดอกไม หมายถึง เจตนาทีบ่ ริสทุ ธแ์ิ ละความเท่ยี งตรงในการทาํ ความดี
ชอชัยพฤกษ หมายถงึ ชัยชนะหรือสญั ลักษณแ หงความดีทไ่ี ดก ระทํา

คตพิ จนโรงเรียนเซนตดอมนิ กิ

ขยัน ศรัทธา ราเริง
ขยัน หมายถงึ การมคี วามตัง้ ใจในการทาํ หนา ที่ของตนอยา งดที ่ีสุดและสมาํ่ เสมอ
ศรัทธา หมายถงึ การมคี วามเลื่อมใส เชื่อมน่ั ในอดุ มการณแ หงความดี ปฏิบตั ศิ าสนกิจของศาสนาทีต่ นนับถอื อยา งครบถว น

รวมทงั้ เคารพยกยอ งในการกระทาํ ความดขี องทกุ ๆ คน
ราเรงิ หมายถงึ การมจี ิตใจบริสุทธิ์ดงี าม โดยสะทอนออกมาใหเ ห็นเดนชดั ภายนอกดวยกริ ิยาทาทางที่สดชน่ื แจมใส

และมีชีวติ ชวี า

สีประจําโรงเรยี นเซนตด อมินกิ

นํา้ เงนิ เปนสีของทองฟาซึ่งมีความกวางใหญไพศาลโอบอุมจักรวาลทั้งหมด แทนความหมายที่วา นักเรียนของ
โรงเรียนเซนตดอมินิกจะตองเปนผทู ี่มีจิตใจกวา งขวาง โอบออ มอารี และเอ้ือเฟอ เผอ่ื แผต อ ทุกคน

ขาว เปนสีแหง ความบรสิ ุทธิ์ สะอาด แทนความหมายท่ีวา นักเรยี นของโรงเรยี นเซนตดอมนิ กิ จะตอ งเปนผูท่มี จี ิตใจสะอาด
บรสิ ุทธ์ิ มองโลกและทกุ สง่ิ ทกุ อยา งในแงดี

คํานาํ

คุณพอ FERNÁNDEZ ARTIME Ángel อัคราธิการแหงคณะซาเลเซียนไดใหคําขวัญประจําป 2022 ไววา
“Do all through love, nothing through constraint.” คือการ “ทําทกุ อยา งดว ยความรัก ไมท ําอะไรทั้ง
สิ้นดวยการฝนใจ” อางอิงจากคําพูดของนักบุญฟรังซิสแหงซาลส ซึ่งปนี้เปนปที่จะฉลองศตวรรษที่สี่ครบรอบ
400 ป (1622-2022) แหง มรณกรรมของทา นนกั บญุ ฟรังซสิ แหง ซาลส (28 ธนั วาคม 1622) ท่ีไดรบั การแตง ต้ังใหเ ปน
นกั ปราชญแหง พระศาสนจักร

คุณพออัคราธิการใชคําขวัญนี้สําหรับครอบครัวซาเลเซียนเพ่ือใหสอดคลองกับชีวิตของทานนักบุญฟรังซิสซึ่งทาน
เปน องคอปุ ถัมภของคณะซาเลเซียน ชีวิตของทานเปนตน ธารที่มาของชวี ติ ซาเลเซียนของคณุ พอบอสโก บดิ าและผูตง้ั
คณะของเรา คณุ พออคั ราธกิ ารอยากใหท กุ คนในครอบครัวซาเลเซียนสามารถตักตวงและนาํ มาราํ พงึ ไตรต รองตลอด
ปน ี้ โดยเฉพาะเม่ือจะตอ งเลอื กรูปแบบการอบรม คุณพอ บอสโกมคี วามประทบั ใจอยางลกึ ซ้ึงในตวั ของทา นนกั บุญ
ฟรังซิส ทานนักบุญเปนแรงบันดาลใจแทจริงของคุณพอโดยเฉพาะอยางยิ่งในฐานะที่ทานเปนผูอภิบาลแท
เปน อาจารยแ หงความรกั เปนผทู ํางานท่ไี มร ูเหนด็ รเู หน่อื ย เพือ่ ความรอดของวญิ ญาณ

พอจึงนําขอคิดจากคําขวัญของคุณพออัคราธิการมาไวใน “คูมือการศึกษาและระเบียบของโรงเรียน” เพื่อให
นักเรียนทุกคนในฐานะผูรับการอบรม และบิดามารดา ผูปกครอง คุณครูทุกทาน ที่มีสวนรวมในการเปนผูใหการ
อบรมจะไดมคี วามปรารถนาอยางแทจ รงิ ในการ “ทําทกุ อยางดว ยความรัก” บนเสนทางของการจัดการศึกษาอบรม
ตามเจตนารมณของคุณพอบอสโกดวยปรัชญาการใหการศึกษาอบรมที่ใหความสําคัญกับ “หัวใจ” ดังคํากลาว
ของคุณพอบอสโกที่วา “การศึกษาอบรม เปนเรื่องของหัวใจ ทานมีความเชื่อมั่นวา ความไววางใจและทาทีแหง
มิตรภาพที่จริงใจ ในบรรยากาศแบบ “ครอบครัว” คือสภาพแวดลอมที่เอื้อตอการเจริญเติบโตของเยาวชน”
สงิ่ น้ีเองทีท่ ําใหเซนตด อมินกิ ไดกาวมาถงึ ปท ี่ 60 และจะกา วตอ ไปในอนาคตดว ยความมุง มน่ั ศรทั ธาในอดุ มการณสืบ
ตอ ไป

(บาทหลวงเกรยี งศกั ดิ์ ชยั พรแกว)
อธิการโรงเรียนเซนตด อมนิ ิก

สารบัญ 2
2
ขอมูล / ประวตั ิโรงเรยี นเซนตด อมนิ ิก 5
- ความหมายแหง ตราของคณะซาเลเซียน ความหมายแหง ตราของโรงเรยี นเซนตดอมินิก 7
- คตพิ จน ปรชั ญา สีประจําโรงเรียน 9
- กาํ หนดเวลาเรยี น 11
- นกั บุญยอหน บอสโก ผสู ถาปนาคณะนักบวชซาเลเซยี น
- นักบุญดอมินิก ซาวีโอ องคอ ปุ ถัมภข องโรงเรยี นเซนตด อมินกิ 12
- ขอ มูลโรงเรียนเซนตด อมนิ ิก 20
22
หลักสูตรโรงเรียนเซนตดอมินิก 24
- หลกั สูตรโรงเรียนเซนตด อมนิ กิ 26
- เกณฑก ารวัดและประเมินผลการเรียนรูร ะดบั ประถมศึกษา
- เกณฑก ารวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรรู ะดบั มัธยมศึกษา 28
- โครงการหองเรียน SD Gifted Education Program 31
- สทิ ธิการเรียนวิชาทหาร 32
33
ระเบียบและแนวทางปฏบิ ตั ขิ องโรงเรียนเซนตด อมินกิ 39
- การแตง กายและเครื่องแบบของโรงเรียน 42
- ระเบยี บนักเรยี น แนวทางปฏิบตั ิในหอ งเรยี น 43
- แนวทางปฏิบตั ทิ ่ัวไป 43
- แนวทางปฏบิ ตั ขิ องนกั เรียน และการตัดคะแนนความประพฤตขิ องฝายปกครอง 44
- ขอความรวมมือเปนพิเศษ 45
- คาํ แนะนําของคณุ พอ บอสโก คตพิ จนของนักบญุ ดอมินิก ซาวโี อ หลกั เรยี นดี ขอ คดิ กอนนอน 47
- เสน ทางการเดนิ รถภายในโรงเรยี น 49
- สิทธปิ ระโยชนข องบตั รประจําตวั นกั เรยี น การตดิ ตอ ฝายปกครอง 50
ข้ันตอนการตดิ ตอ ขอหลกั ฐานหรอื เอกสาร 51
- เปดชน้ั ตวั ประโยค SMS : Short Message Service S.D. WiFi ตัวอยา งใบลา ใบอนุญาต 52
- ระเบยี บโรงเรียนเซนตดอมนิ ิก วาดว ยขอกําหนดและแนวทางปฏิบตั ิสําหรบั ผปู กครองฯ พ.ศ. 2558 53
- ระเบยี บโรงเรียนเซนตดอมินิก วา ดวยเกียรติบตั รผลการศกึ ษา พ.ศ. 2555 54
- ระเบยี บโรงเรยี นเซนตดอมนิ ิก วา ดว ยเหรียญแหง ความทรงจํา พ.ศ. 2560 55
- ระเบยี บโรงเรยี นเซนตด อมินิก วาดว ยขอ กาํ หนดและแนวทางปฏบิ ัตสิ ําหรบั นักเรียนฯ พ.ศ.2564 56
- ระเบียบสมาคมผปู กครองและครฯู วา ดว ยรางวลั สําหรบั ผลการเรยี นของนักเรียนฯ 58
- ระเบยี บสมาคมผปู กครองและครูฯ วา ดว ยทนุ การศกึ ษาสาํ หรับนักเรยี นท่ีเรียนดแี ตขาดทนุ ทรัพยฯ 59
- ระเบยี บสมาคมผูปกครองและครฯู วา ดวยทุนการศึกษาสาํ หรับนกั เรียนท่ีมีความสามารถพิเศษฯ 60
- ระเบียบสมาคมผปู กครองและครูฯ วาดวยทุนการศึกษาสาํ หรบั นักเรยี นทีม่ คี วามประพฤติดฯี
- บทสวดภาวนา
- เพลงสดุดเี ซนตด อมินกิ
- Graduation Song
- แผนทโ่ี รงเรยี นเซนตด อมินกิ

ปรับปรุง : เมษายน พ.ศ. 2565

คูมอื นักเรียน 5

กาํ หนดเวลาเรียน ในวันปกติ

08.20 น. สญั ญาณกรง่ิ เขา แถว เคารพธงชาติ สวดภาวนา

Homeroom ป.1 - ป.6 (15) Homeroom ม.1 - ม.3 (15)
คาบเรียนที่ 1 08.35 - 08.50 น. (50) คาบเรยี นที่ 1 08.35 - 08.50 น. (45)
คาบเรยี นท่ี 2 08.50 - 09.40 น. (50) คาบเรียนที่ 2 08.50 - 09.35 น. (40)
พักเชา 09.40 - 10.30 น. (15) พักเชา 09.35 - 10.15 น. (15)
คาบเรียนท่ี 3 10.30 - 10.45 น. (50) คาบเรียนที่ 3 10.15 - 10.30 น. (45)
พักกลางวัน 10.45 - 11.35 น. (45) คาบเรียนท่ี 4 10.30 - 11.15 น. (45)
คาบเรยี นที่ 4 11.35 - 12.20 น. (50) พกั กลางวัน 11.15 - 12.00 น. (45)
คาบเรยี นท่ี 5 12.20 - 13.10 น. (50) คาบเรียนที่ 5 12.00 - 12.45 น. (45)
คาบเรียนท่ี 6 13.10 - 14.00 น. (50) คาบเรียนท่ี 6 12.45 - 13.30 น. (45)
พักบา ย 14.00 - 14.50 น. (10) คาบเรยี นที่ 7 13.30 - 14.15 น. (45)
คาบเรยี นท่ี 7 14.50 - 15.00 น. (50) พักบาย 14.15 - 15.00 น. (10)
15.00 - 15.50 น. คาบเรียนท่ี 8 15.00 - 15.10 น. (40)
15.10 - 15.50 น.

Homeroom ม.4 - ม.6 (15)
คาบเรยี นท่ี 1 08.35 - 08.50 น. (50)
คาบเรียนท่ี 2 08.50 - 09.40 น. (50)
พกั เชา 09.40 - 10.30 น. (15)
คาบเรียนท่ี 3 10.30 - 10.45 น. (50)
คาบเรียนที่ 4 10.45 - 11.35 น. (50)
พกั กลางวนั 11.35 - 12.25 น. (45)
คาบเรยี นที่ 5 12.25 - 13.10 น. (50)
คาบเรียนที่ 6 13.10 - 14.00 น. (50)
พักบา ย 14.00 - 14.50 น. (10)
คาบเรยี นที่ 7 14.50 - 15.00 น. (50)
คาบเรียนที่ 8 15.00 - 15.50 น. (50)
15.50 - 16.40 น.

เรียนพิเศษตอนเยน็ ช้ัน ป.1-ม.3 เวลา 15.50-16.40 น.
วนั ทีม่ ีการประชมุ ครู ไมม ีเรียนพเิ ศษชว งเยน็ ชั้น ป.1-ม.3 เลิกเรยี น 15.50 น.

กิจกรรมสําหรบั นกั เรยี นคาทอลกิ ป.1-ม.3 เวลา 07.45-08.15 น.
วนั จันทรก บั วนั อังคาร - เรียนคําสอน วนั พุธ - เรยี นขบั รอง

ขอ มูล / ประวัติโรงเรียน

6 คูมือนกั เรยี น

กําหนดเวลาเรยี น เฉพาะวันทม่ี ีกจิ กรรม

08.20 น. สญั ญาณกรง่ิ เขา แถว เคารพธงชาติ สวดภาวนา

ป.1 - ป.6 ม.1 - ม.6

Homeroom 08.35 - 08.50 น. (15) Homeroom 08.35 - 08.50 น. (15)
(40) (45)
คาบเรียนท่ี 1 08.50 - 09.30 น. (40) คาบเรียนที่ 1 08.50 - 09.35 น. (40)
(10) (15)
คาบเรียนที่ 2 09.30 - 10.10 น. (40) คาบเรยี นท่ี 2 09.35 - 10.15 น. (45)
(45) (45)
พักเชา 10.10 - 10.20 น. (55) พักเชา 10.15 - 10.30 น. (40)
(50) (50)
คาบเรยี นที่ 3 10.20 - 11.00 น. (45) คาบเรียนที่ 3 10.30 - 11.15 น. (45)
(45) (45)
คาบเรยี นท่ี 4 11.00 - 11.45 น. (10) คาบเรยี นที่ 4 11.15 - 12.00 น. (10)
(40) (40)
พักกลางวัน 11.45 - 12.40 น. พกั กลางวัน 12.00 - 12.40 น. (50)

คาบกิจกรรมทกุ ช้ัน 12.40 - 13.30 น. คาบกจิ กรรมทุกชนั้ 12.40 - 13.30 น.

คาบเรียนที่ 5 13.30 - 14.15 น. คาบเรียนที่ 5 13.30 - 14.15 น.

คาบเรียนที่ 6 14.15 - 15.00 น. คาบเรยี นที่ 6 14.15 - 15.00 น.

พกั บา ย 15.00 - 15.10 น. พักบา ย 15.00 - 15.10 น.

คาบเรียนท่ี 7 15.10 - 15.50 น. คาบเรียนท่ี 7 15.10 - 15.50 น.

คาบเรยี นท่ี 8 15.50 - 16.40 น.

เรยี นพเิ ศษตอนเยน็ ชนั้ ป.1-ม.3 เวลา 15.50-16.40 น.
วนั ที่มกี ารประชมุ ครู ไมม ีเรยี นพเิ ศษชว งเยน็ ช้ัน ป.1-ม.3 เลิกเรยี น 15.50 น.

กจิ กรรมสาํ หรับนกั เรียนคาทอลิก ป.1-ม.3 เวลา 07.45-08.15 น.
วันจันทรก บั วนั องั คาร - เรยี นคําสอน วนั พธุ - เรยี นขับรอ ง

ขอมูล / ประวตั ิโรงเรียน

คมู อื นกั เรียน 7

นักบุญยอหน บอสโก เม่ือมีอายุได 9 ขวบ ทานไดฝนถงึ เหตุการณส าํ คัญ
ยิง่ ในชวี ติ พระเยซเู จาและพระมารดามารยี ทีป่ รากฏใน
ผสู ถาปนาคณะนกั บวชซาเลเซยี น ความฝนนั้น ประดจุ ดังพลังทที่ ําใหทานไดตั้งใจไววาตอง
พยายามกาวหนาในความรแู ละการศกึ ษาอีกท้งั ตอ งการ
คณุ พอบอสโก หรอื นักบุญยอหน บอสโก เปน บวชเปนพระสงฆเพื่อท่ีจะสามารถชวยเหลือเด็กๆ
พระสงฆเรืองนามองคหนึ่งในพระศาสนจักรคาทอลิกที่ และเยาวชนที่กําพราพอแมหรือถูกทอดท้ิงขาดการ
มผี รู จู กั และเปน ทเ่ี คารพนบั ถอื ของมหาชนทวั่ โลกเพราะ อบรม ความต้งั ใจดงั กลา วเปนความจริงทานไดฟ นฝา
วาทานไดประกอบคุณงามความดีแกบรรดาเด็กและ อุปสรรคตางๆ มากมายเพ่ือศึกษาหาความรหู ลายแขนง
เยาวชน จนไดรับสมญานามวา “บิดาและอาจารย จนในท่ีสุดก็ประสบความสําเร็จโดยไดเรียนจนถึงบวช
แหงเยาวชน” เปนพระสงฆ เม่อื วันท่ี 5 มถิ นุ ายน ค.ศ. 1841
(พ.ศ. 2384) ท่กี รุงตุริน ประเทศอติ าลี
ทา นชาตะเมือ่ วนั ท่ี 16 สงิ หาคม ค.ศ. 1815
(พ.ศ. 2358) ทต่ี าํ บลเบ็กกี จงั หวัดอาสตี ทางภาคเหนอื หลงั จากไดเ ปน พระสงฆแ ลว คุณพอบอสโกก็ไดเ ร่ิม
ของประเทศอติ าลี ครอบครัวของทา นยากจนมาก แต กิจการตามท่ีไดตัง้ ใจไวค อื เริม่ ยืมสถานท่ีบา ง เชาบา ง
เปน ครอบครวั ทมี่ คี วามซื่อสัตยส ุจริต มีศีลธรรมและ ซอื้ บาง และก็รวบรวมเด็กอนาถาที่ยากจนใหเ ขามาอยู
เลื่อมใสในศาสนาของตนอยางเครงครดั เม่ืออายเุ พยี ง รวมกันทานไดเปนผูอบรมสั่งสอนทั้งในดานศีลธรรม
สองขวบก็ตองกําพราบิดา แตก็ยังมีคุณแมมารการิตา จรรยาและความรทู างวชิ าการ นอกนัน้ ยงั ไดใ หเ ดก็ ของ
คอยดแู ลเอาใจใสอบรมสงั่ สอนฝก ฝนใหเ ปน เดก็ ทอี่ ดทน ทา นฝกงานตา งๆ ตามท่ีเขาถนัด เม่ือเด็กเหลานโี้ ตขน้ึ
เขมแข็ง เอื้อเฟอเผื่อแผ รักความจริง ยึดมั่นความ และรูจักงานดีแลว ทานก็เปนผูจัดหางานใหเขาทํา
ยตุ ธิ รรม ทั้งใหความเอ็นดสู งสารแกค นยากจนดว ย กิจการของคุณพอบอสโกขยายจากกรุงตุรินไปยังเมือง
อน่ื ๆ อยางรวดเรว็ ในตอนแรกทานไดอ าศัยความชว ย
เหลือของเดก็ โตๆ พระสงฆและฆราวาสบางคน ตอมาจงึ
ดําริเห็นวาเพื่อความมั่นคงถาวรและความแนนอนใน
ภารกจิ น้ี จาํ เปน อยางย่ิงทีจ่ ะตองมผี ูชวยเหลือเพ่ือท่ีจะ
ชวยอบรมสงั่ สอน และดแู ลเด็กๆ ตอไป ดงั นั้นคณุ พอ
บอสโกจึงไดขออนุมัติจากผูใหญฝายพระศาสนจักร
เพอ่ื จัดต้ังคณะนกั บวชขึน้ ซ่งึ เรยี กวา“คณะซาเลเซยี น”

ภารกิจของคณะซาเลเซียนน้ี คุณพอ บอสโกไดมอบ
ไวในความคุมครองของนักบุญฟรังซิส เดอ ซาลส
เพราะนักบุญองคน้ีเปน ผใู จบุญสุนทาน มีความสุภาพ
ออนหวาน มอี ารมณดี และย้มิ แยม แจม ใสเสมอ ซึ่งท้ัง
หมดนี้เปนคุณสมบัติที่เหมาะสําหรับการผูกใจเด็กให
รูสึกรักใคร เหมาะแกการชักนําใหเด็กไดเปนคนดี
จุดประสงคป ระการสาํ คัญของคณะซาเลเซียนคือ การ
เปดยุวสถานใหเปนท่ีชุมนุมของเด็กและเยาวชน
เปนตนในวันอาทิตย เพื่ออบรมใหพวกเขาเหลานั้นมี
ศีลธรรมจรรยา ใหรูจักทําหนาที่ที่มนุษยพึงมีตอพระ
เปน เจา ตอ ประเทศชาติ ตอบดิ ามารดา และตอเพ่ือน
มนษุ ยด วยกัน

ขอ มลู / ประวัติโรงเรยี น

8 คูมอื นักเรยี น

คุณพอบอสโก ถึงแกมรณกรรม เมอ่ื วันท่ี 31 ป จ จุ บั น ใ น ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย มี โ ร ง เ รี ย น ข อ ง ค ณ ะ
มกราคม ค.ศ. 1888 (พ.ศ. 2431) ท่กี รงุ ตุริน ซาเลเซียนท่ีใหการศกึ ษาแกเ ด็กและเยาวชน ดังน้ี
ประเทศอติ าลี รวมอายุได 72 ปเศษ พระศาสนจักร
ไดส ถาปนาใหค ุณพอบอสโกเปน นักบุญ เมือ่ วันที่ 1 1. โรงเรยี นสารสทิ ธ์พิ ิทยาลัย
เมษายน ค.ศ. 1934 (พ.ศ. 2477) และในวันท่ี 31 บา นโปง จ.ราชบุรี กอ ต้ัง พ.ศ. 2471
มกราคมของทกุ ป บรรดาสมาชกิ ของคณะซาเลเซยี น
อีกทั้งเด็กและเยาวชนที่อยูในโรงเรียนซาเลเซียนพรอม 2. วทิ ยาลยั เทคโนโลยดี อนบอสโก กรงุ เทพฯ
กับคริสตศาสนิกชนทั่วโลกจะรวมกันประกอบพิธีถวาย ราชเทวี กรงุ เทพมหานคร กอ ตงั้ พ.ศ. 2489
เกยี รติแดทา น เพือ่ ขอใหท า นไดทรงโปรดพทิ ักษพวกเขา
ใหพนจากภยนั ตรายทง้ั ฝายรา งกายและวิญญาณ 3. โรงเรยี นหวั หนิ วทิ ยาลัย
หัวหิน จ.ประจวบคีรขี ันธ กอต้งั พ.ศ. 2490
แ ม ว า คุ ณ พ อ บ อ ส โ ก จ ะ ไ ด จ า ก ไ ป แ ล ว ก็ ต า ม
ทวากิจการของทานไดเจริญกาวหนาข้ึนอยางมากมาย 4. โรงเรยี นแสงทองวทิ ยา
คณะนักบวชซาเลเซียนท่ที า นไดสถาปนาข้นึ ไดอ บรม หาดใหญ จ.สงขลา กอ ตงั้ พ.ศ. 2493
สั่งสอนบรรดาเด็กและเยาวชนใหเปนพลเมืองท่ีดีของ
ประเทศชาติเปนจํานวนมาก ความเจรญิ รวดเรว็ เปน ที่ 5. โรงเรยี นดอนบอสโกวทิ ยา
นา อศั จรรยใ จแกม หาชนโดยทว่ั ไปทั้งในสวนของจาํ นวน จ.อุดรธานี กอต้งั พ.ศ. 2499
สมาชิก จํานวนโรงเรียน มิใชแ ตเ พียงในประเทศอติ าลี
เทานั้น ยังแพรหลายไปในตางประเทศและตางทวีป 6. โรงเรยี นเซนตดอมนิ กิ
อีกดวย ปจจุบันนี้คณะซาเลเซียนมีสมาชิกมากกวา ราชเทวี กรงุ เทพมหานคร กอตง้ั พ.ศ. 2504
14,000 คน มโี รงเรยี นประเภทตา ง ๆ หลายพันแหง
กระจายอยใู น 135 ประเทศทั่วโลก 7. วิทยาลยั เทคโนโลยีดอนบอสโกบา นโปง
จ.ราชบรุ ี กอตั้ง พ.ศ. 2524

นอกจากน้ยี งั ชวยดําเนนิ งานตามวดั และโรงเรยี น
ในสังฆมณฑลราชบุรแี ละสงั ฆมณฑลสุราษฎรธานีอีก
ดว ย

ขอมูล / ประวัติโรงเรียน

คูมอื นกั เรยี น 9

นกั บญุ ดอมินกิ ซาวโี อ ทั้งยังมีความอดทนในการเดินทางไปโรงเรียนที่อยู
ไกลถงึ 10ไมลท ุกวันอกี ดวยในวันที่2ตลุ าคมค.ศ.1854
องคอ ุปถมั ภของโรงเรยี นเซนตด อมนิ ิก (พ.ศ. 2397) ดอมินิกไดพบกับคุณพอบอสโกเปน
ครัง้ แรก และในวนั ท่ี 29 ตลุ าคม ปเ ดยี วกัน ทานก็ไดเ ดิน
ดอมินกิ ซาวีโอ เกิดทต่ี ําบลรีวา ใกลเ มอื งกเี อรี ทางไปยังศูนยเยาวชนวัลด็อกโกของคุณพอบอสโก
ประเทศอติ าลี เมอื่ วนั ท่ี 2 เมษายน ค.ศ. 1842 ทกี่ รุงตรุ นิ ณ ท่ีแหง น้ี ดอมินิกไดร ับการอบรมสัง่ สอน
(พ.ศ. 2385) บดิ าชื่อ นายคารโ ล มารดาชอ่ื นางบรยี ีดา จากคุณพอบอสโกในหนทางแหงคุณงามความดีตางๆ
คําวา “ดอมินิก” แปลวา “ของพระผูเปนเจา” แ ล ะ ไ ด ป ฏิ บั ติ ภ า ร กิ จ อั น ป ร ะ เ ส ริ ฐ นั้ น อ ย า ง ดี ย่ิ ง
ทา นเปนเดก็ ทมี่ คี วามจําดีอยา งนา พิศวง เมอ่ื อายุได 4 ทวาอุปสรรคอันสําคัญในการดําเนินชีวิตของดอมินิก
ขวบกส็ ามารถจาํ บทภาวนาไดข น้ึ ใจ นอกนนั้ ยังมคี วาม คือสุขภาพท่ีไมแ ขง็ แรง จึงจาํ เปน ทจ่ี ะตองเดินทางกลบั
ศรัทธาในศาสนาอยางครบครัน ทัง้ ยังเปนเดก็ ที่เคารพ ไปพักผอนรักษาตัวกับบดิ ามารดา
นบนอบเช่ือฟงในคําอบรมส่ังสอนของบิดามารดาทุก
ประการ ในวันท่ี 8 เมษายน ค.ศ. 1849 (พ.ศ. 2392) ดอมนิ ิก ซาวโี อ ลาจากศนู ยเ ยาวชนของคุณพอ
ทานมีอายุได 7 ขวบจึงไดรับศีลมหาสนิทเปนครั้งแรก บอสโก เมอ่ื วันที่ 1 มีนาคม ค.ศ. 1857 (พ.ศ. 2400)
วันน้ันเปนวันท่ีสําคัญย่ิงในชีวิตของทานในการเจริญ และทส่ี ดุ ไดล าจากโลกนไ้ี ปในตอนเยน็ ของวนั ท่ี9 มนี าคม
ชีวิตคริสตชนอยางสมบูรณ ทั้งยังไดใหขอสัญญาแก ปน น้ั เอง แบบอยา งความประพฤติท่ีดงี ามความศรทั ธา
ตวั เองเพอ่ื เปน หลักในการปฏบิ ัตติ นวา “ยอมตายดกี วา เลื่อมใสในศาสนา หรือกลาวโดยสรุปวา คุณงาม
ทําบาป” ความดีตาง ๆ ที่ดอมินิกไดประพฤติปฏิบัตินั้นทําให
สมเด็จพระสันตะปาปาปโอ ที่ 11 ประกาศวา
ในวัยที่เปนนักเรียนนั้น ดอมินิกมีความขยันหมั่น ดอมนิ กิ ซาวโี อเปน ผนู า เคารพเพราะชวี ติ ของทา นเพยี บ
เพยี รมากในการศึกษาหาความรู ในการคบเพ่ือนท่ีดี พรอ มไปดว ยความบริสุทธ์ิ ความเลื่อมใส ศรทั ธา
และการทาํ ความดี ตอมาในวันท่ี 5 มีนาคม ค.ศ. 1950
(พ.ศ. 2493) สมเด็จพระสันตะปาปาปโอ ที่ 12
ไดส ถาปนาขนึ้ เปนบญุ ราศี และแลวในวันท่ี 12 มิถนุ ายน
ค.ศ. 1954 (พ.ศ. 2497) สมเด็จพระสันตะปาปาปโ อ
ที่ 12 กไ็ ดสถาปนาบุญราศี ดอมนิ กิ ซาวีโอ ขึ้นเปน
นักบญุ ดอมนิ ิก ซาวโี อ

ขอมลู / ประวัติโรงเรยี น

10 คูมือนกั เรียน

คณะผใู หญ

บาทหลวงเกรยี งศักด์ิ ชัยพรแกว

อธกิ าร / ผูอํานวยการ / ครูใหญ

บาทหลวงศักดิ์ชัย ตรีวา อุดม บาทหลวงยะรัตน ไชยรา

ผแู ทนผรู บั ใบอนุญาต / รองอธกิ าร / จิตตาภิบาล
ผูจดั การและเหรญั ญกิ

ขอมลู / ประวตั โิ รงเรยี น

คมู ือนักเรยี น 11

ขอมลู โรงเรยี นเซนตด อมินกิ

ชือ่ โรงเรยี น : โรงเรยี นเซนตดอมินกิ (SAINT DOMINIC SCHOOL)

อกั ษรยอ ภาษาไทย “ซ.ด.” ภาษาองั กฤษ “S.D.”

การจัดตั้ง : จดั ตัง้ โดยคณะนกั บวชซาเลเซยี น ไดรบั อนุญาตจดั ตั้งเมอ่ื วนั ท่ี 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2504

โดยเปดสอนเพียงช้นั ป.1 ก-ข-ค และ ป.5 ก-ข-ค จํานวนนักเรียนตามบัญชีเรียกชือ่ 214 คน
เปล่ียนช่อื โรงเรียน-เจา ของ
เปล่ียนเจา ของจากบุคคล (นายปรีดา แสงสวาง) เปน มูลนิธิ “คณะซาเลเซยี นแหงประเทศไทยมูลนิธ”ิ
โดยบาทหลวงยอหน อูลลอิ านา เมือ่ วันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2505
เปล่ยี นจากเดมิ ชือ่ “ดอนบอสโกวิทยา” เปน “เซนตดอมินกิ ” เมือ่ วนั ท่ี 14 กุมภาพนั ธ พ.ศ. 2506
เปลยี่ นเจาของจากมลู นธิ ิ “คณะซาเลเซยี นแหงประเทศไทยมลู นิธ”ิ เปน “มิสซังโรมันคาทอลิกกรุงเทพฯ”
โดยบาทหลวงประพนธ ชัยเจริญ เปนผูทาํ การแทนผรู ับใบอนญุ าต เมื่อวนั ที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2514
เปดดําเนินการสอน
ตง้ั แตชั้นประถมศึกษาปท่ี 1 ถึง ชน้ั มัธยมศึกษาปท่ี 6 รับเฉพาะนกั เรยี นชาย จดั เปนโรงเรยี นขนาดใหญ ประเภท
สามญั ศกึ ษา สังกัดสาํ นักงานคณะกรรมการสง เสริมการศกึ ษาเอกชน กระทรวงศึกษาธกิ าร มีเนื้อที่ 9 ไร
2 งาน 6 ตารางวา
สถานที่ต้งั
โรงเรยี นเซนตดอมนิ ิก เลขท่ี 1526 ถนนเพชรบุรี แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี กรงุ เทพมหานคร 10400
โทรศัพท 0-2652-7477-80 โทรสาร 0-2652-7777
www.sd.ac.th E-mail : [email protected]
www.facebook.com/sdschool
แหลง เรยี นรบู รู ณาการ
หอประชมุ ซาวโี อ ศูนยอภิบาลและงานประกาศขาวดี ศูนยส งเสรมิ อตั ลกั ษณแ ละเอกลกั ษณ หองสมดุ
หองปฏบิ ัติการรายวิชาตาง ๆ คือ คอมพวิ เตอร ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ วทิ ยาศาสตร Art Room
S.D. Music Zone Auditorium หอ งขบั รองเซซลี ีอา หองนาฏยศิลปไทย Audiovisual Room S.D. Stadium
S.D. Sport Zone หอ งออกกาํ ลังกาย สระวายนํา้ สนามฟุตบอล สนามบาสเกตบอล สนามวอลเลยบ อล
สนามแบดมนิ ตนั สนามตะกรอ สนามเดก็ เลน และสือ่ การเรยี นการสอนทนั สมัย

ขอ มลู / ประวตั ิโรงเรยี น

12 คูมือนกั เรียน

หลักสตู รโรงเรยี นเซนตด อมินกิ

หลกั สตู รโรงเรยี นเซนตดอมนิ กิ (ฉบับปรบั ปรุง พุทธศักราช 2560) เปนหลกั สูตรอิงมาตรฐาน โดยกําหนด
มาตรฐานและตวั ชี้วดั เปนเปาหมายในการพัฒนาคณุ ภาพผเู รยี น ไปสมู าตรฐานทีก่ ําหนด ตามหลกั สตู รแกน
กลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551

วิสัยทัศน หลกั การ

โรงเรียนเซนตดอมินิกมุงพัฒนาผูเรียนใหเปนคนดี หลกั สตู รโรงเรียนเซนตด อมนิ ิก มหี ลักการท่สี าํ คัญ
มคี ุณธรรม เดนดานวิชาการ เทคโนโลยี และมที กั ษะ ดังนี้
การเรียนรูแหงศตวรรษที่ 21
1.เปนหลักสูตรการศึกษาเพ่ือความเปนเอกภาพ
ของชาติ มจี ดุ หมาย และมาตรฐานการเรียนรู เปน เปา
หมายสําหรับพฒั นาเดก็ และเยาวชน ใหม ีความรู ทกั ษะ
เจตคติ และคุณธรรมบนพน้ื ฐานของความเปนไทยควบ
คกู บั ความเปนสากล

หลักสตู รโรงเรยี น

2. เปนหลักสูตรการศกึ ษาเพอื่ ปวงชน ทปี่ ระชาชน คมู อื นกั เรยี น 13
ทุกคนมีโอกาสไดรับการศึกษาอยางเสมอภาคและ
มีคณุ ภาพ 3.ความสามารถในการแกปญหา เปนความ
สามารถในการแกปญหาและอุปสรรคตาง ๆ ที่เผชิญ
3. เปน หลกั สตู รการศกึ ษาทส่ี นองการกระจายอาํ นาจ ไดอยางถูกตองเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล
ใหส ังคมมสี วนรว มในการจดั การศกึ ษา ใหส อดคลอง คณุ ธรรม และขอมูลสารสนเทศ เขา ใจความสัมพนั ธ
กบั สภาพและความตอ งการของทอ งถน่ิ และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณตาง ๆ ในสังคม
แสวงหาความรูประยุกตความรูมาใชในการปองกัน
4. เปนหลักสูตรการศึกษาทมี่ ีโครงสรา งยดื หยุนท้ัง และแกไขปญหา และมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพ
ดานสาระการเรยี นรู เวลา และการจดั การเรยี นรู โดยคํานึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นตอตนเอง สังคมและ
ส่ิงแวดลอม
5. เปน หลกั สูตรการศึกษาท่เี นน ผเู รยี นเปนสําคญั
6. เปนหลักสูตรการศึกษาสําหรับการศึกษาใน 4 . ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร ใ ช ทั ก ษ ะ ชี วิ ต
ระบบ นอกระบบ และตามอธั ยาศัยครอบคลมุ ทุกกลุม เปนความสามารถในการนํากระบวนการตาง ๆ ไปใช
เปา หมาย สามารถเทยี บโอนผลการเรยี นรแู ละประสบ ในการดําเนินชวี ิตประจําวัน การเรยี นรดู วยตนเอง การ
การณ เรียนรูอยางตอเนื่อง การทํางาน และการอยูรวมกัน
ในสังคมดวยการสรางเสริมความสัมพันธอันดีระหวาง
สมรรถนะสําคญั ของผูเ รยี น บุคคล การจัดการปญ หาและความขัดแยง ตาง ๆ อยาง
เหมาะสม การปรับตัวใหทันกับการเปลี่ยนแปลงของ
หลกั สตู รโรงเรียนเซนตดอมนิ กิ มุงพฒั นาผูเรยี นให สังคมและสภาพแวดลอม และการรูจักหลีกเลี่ยงพฤติ
มคี ณุ ภาพตามมาตรฐานทกี่ าํ หนด ซ่งึ จะชวยใหผูเ รียน กรรมไมพงึ ประสงคท ่สี ง ผลกระทบตอ ตนเองและผูอ น่ื
เกดิ สมรรถนะสาํ คัญ 5 ประการ ดงั น้ี
5 . ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร ใ ช เ ท ค โ น โ ล ยี
1.ความสามารถในการส่อื สาร เปน ความสามารถ เปนความสามารถในการเลือก และใชเทคโนโลยี
ในการรับและสงสาร มวี ฒั นธรรมในการใชภ าษาถา ย ดานตาง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี
ทอดความคดิ ความรู ความเขาใจ ความรสู กึ และทัศนะ เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในดานการเรียนรู
ของตนเอง เพอื่ แลกเปลีย่ นขอมลู ขาวสารและประสบ การสื่อสาร การทํางาน การแกป ญหาอยางสรา งสรรค
การณอันจะเปนประโยชนตอการพัฒนาตนเองและ ถูกตอ ง เหมาะสม และมีคณุ ธรรม
สังคม รวมทง้ั การเจรจาตอรองเพ่ือขจัดและลดปญ หา
ความขดั แยงตา ง ๆ การเลอื กรบั หรือไมรับขอมลู ขาวสาร
ดวยหลักเหตุผลและความถกู ตอง ตลอดจนการเลือกใช
วิธีการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพโดยคํานึงถึงผลกระทบท่ี
มีตอตนเอง และสงั คม

2.ความสามารถในการคิด เปนความสามารถใน
การคดิ วเิ คราะห การคิดสังเคราะห การคิดอยางสรา ง
สรรค การคิดอยางมวี ิจารณญาณและการคดิ เปน ระบบ
เพื่อนําไปสูการสรางองคค วามรู หรอื สารสนเทศเพื่อการ
ตดั สินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมไดอ ยางเหมาะสม

หลกั สตู รโรงเรียน

14 คมู อื นักเรยี น

คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค

หลักสตู รโรงเรยี นเซนตด อมนิ กิ มงุ พัฒนาผเู รียนใหมีคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค เพอื่ ใหส ามารถอยรู ว มกับผอู ื่นใน

สงั คมไดอ ยางมคี วามสขุ ท้งั ในฐานะเปน พลเมืองไทยและพลโลก ดงั นี้

1.รกั ชาติ ศาสน กษัตริย 2.ซอ่ื สตั ยส ุจรติ

3.มีวนิ ัย 4.ใฝเรียนรู

5.อยอู ยางพอเพยี ง 6.มุง ม่นั ในการทาํ งาน

7.รักความเปนไทย 8.มจี ิตสาธารณะ

9.ขยัน ศรัทธา รา เริง

มาตรฐานการเรยี นรู 6.กลุมสาระการเรยี นรูศ ิลปะ
ประกอบดว ย 3 สาระ 6 มาตรฐานการเรยี นรู
หลกั สูตรโรงเรยี นเซนตด อมนิ กิ กําหนดกลุม สาระ 7.กลมุ สาระการเรียนรูการงานอาชีพ
การเรียนรูเพื่อพัฒนาผูเรียนใหเกิดความสมดุลท้ังดาน ประกอบดว ย 2 สาระ 2 มาตรฐานการเรียนรู
สมองและพหุปญ ญาเปน 8 กลมุ สาระ และแตละกลมุ 8.กลมุ สาระการเรยี นรูภาษาตา งประเทศ
สาระกําหนดมาตรฐานการเรียนรูไวชดั เจน ประกอบดวย 4 สาระ 8 มาตรฐานการเรียนรู

1.กลุม สาระการเรียนรภู าษาไทย
ประกอบดวย 5 สาระ 5 มาตรฐานการเรียนรู
2.กลมุ สาระการเรียนรูค ณติ ศาสตร
ประกอบดว ย 3 สาระ 7 มาตรฐานการเรยี นรู
3.กลุมสาระการเรียนรูวทิ ยาศาสตร
และเทคโนโลยี
ประกอบดว ย 4 สาระ 10 มาตรฐานการเรยี นรู
4.กลมุ สาระการเรยี นรูสงั คมศกึ ษา ศาสนา
และวัฒนธรรม
ประกอบดวย 5 สาระ 11 มาตรฐานการเรียนรู
5.กลมุ สาระการเรียนรสู ขุ ศกึ ษาและพลศึกษา
ประกอบดวย 5 สาระ 6 มาตรฐานการเรียนรู

หลกั สูตรโรงเรียน

คมู ือนกั เรียน 15

กจิ กรรมพฒั นาผูเรียน กิจกรรมนักเรียนประกอบดวย
2.1 กิจกรรมลูกเสือ ผูบ าํ เพญ็ ประโยชน
กิจกรรมพัฒนาผูเรียน มุงใหผูเรียนไดพัฒนาตน
เองตามศักยภาพ พัฒนาอยา งรอบดา น เพ่ือความเปน และนักศกึ ษาวชิ าทหาร
มนุษยที่สมบูรณทั้งรางกาย สติปญญา อารมณ 2.2 กจิ กรรมชมุ นมุ ชมรม
และสังคม เสริมสรางใหเปนผูมีศีลธรรม จริยธรรม
มีระเบียบวินัย ปลูกฝงและสรางจิตสํานึกของการทํา 3.กจิ กรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณประโยชน
ประโยชนเพื่อสังคม สามารถจัดการตนเองไดและอยู เปนกิจกรรมที่สงเสริมใหผูเรียนบําเพ็ญตนใหเปน
รวมกบั ผอู ืน่ อยางมีความสุข กิจกรรมพฒั นาผูเรียนแบง ประโยชนตอสังคม ชุมชน และทองถิ่น ตามความ
เปน 3 ลกั ษณะ ดังน้ี สนใจในลักษณะอาสาสมัคร เพื่อแสดงถึงความรับผิด
ชอบ ความดีงาม ความเสยี สละตอ สงั คม จิตสาธารณะ
1.กจิ กรรมแนะแนว เชน กจิ กรรมอาสาพฒั นาตา งๆ กจิ กรรมสรา งสรรคส งั คม
เปนกิจกรรมที่สงเสริมและพัฒนาผูเรียนใหรูจักตนเอง
รรู ักษสง่ิ แวดลอ ม สามารถคิดตดั สินใจ คิดแกป ญ หา
กําหนดเปาหมาย วางแผนชีวิตทั้งดานการเรียนและ
อาชีพ สามารถปรบั ตนไดอ ยางเหมาะสม นอกจากนี้ยัง
ชว ยใหครรู ูจักและเขาใจนกั เรยี น ทงั้ ยังเปน กิจกรรมที่
ชวยเหลือและใหคําปรึกษาแกผูปกครองในการมีสวน
รวมพัฒนาผเู รยี น

2.กิจกรรมนกั เรียน
เปน กิจกรรมทีม่ ุงพฒั นาความมีระเบียบวินัย ความเปน
ผนู าํ ผตู ามทดี่ ี ความรบั ผดิ ชอบการทาํ งานรวมกนั การ
รจู กั แกป ญหา การตดั สนิ ใจท่เี หมาะสม ความมเี หตุผล
การชวยเหลือแบงปนกัน เอื้ออาทรและสมานฉันท
โดยจัดใหส อดคลองกับความสามารถ ความถนดั และ
ความสนใจของผูเรียนใหไดปฏิบัติดวยตนเองในทุก
ขนั้ ตอน ไดแ ก การศึกษาวิเคราะห วางแผน ปฏบิ ตั ิตาม
แผน ประเมนิ และปรบั ปรุงการทํางาน เนนการทํางาน
รวมกันเปนกลุมตามความเหมาะสมและสอดคลองกับ
วฒุ ิภาวะของผเู รียน บริบทของสถานศกึ ษาและทองถิ่น

หลักสูตรโรงเรยี น

16 คมู อื นักเรยี น

โครงสรางเวลาเรยี น หลักสูตรโรงเรยี นเซนตด อมินิก

เวลาเรยี น

กลุมสาระการเรยี นรู / กจิ กรรม ประถมศกึ ษาตอนตน ประถมศึกษาตอนปลาย

กลมุ สาระการเรยี นรู ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6
ภาษาไทย
คณติ ศาสตร 200 200 200 160 160 160
วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 200 200 200 160 160 160
สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม 80 80 80 80 80 80
- ประวัตศิ าสตร
- ศาสนา ศลี ธรรม จรยิ ธรรม 40 40 40 40 40 40
- หนาทีพ่ ลเมอื ง วฒั นธรรม และการดาํ เนนิ ชวี ติ ในสังคม 80 80 80 80 80 80

}- เศรษฐศาสตร

- ภูมศิ าสตร
สุขศกึ ษาและพลศึกษา 40 40 40 80 80 80
ศลิ ปะ 40 40 40 80 80 80
การงานอาชพี 40 40 40 40 40 40
ภาษาตางประเทศ 120 120 120 120 120 120
840 840 840 840 840 840
รวมเวลาเรยี น (พ้นื ฐาน) 280 280 280 320 320 320
- รายวชิ าเพมิ่ เติม 80 80 80 80 80 80
English Conversation 80 80 80 80 80 80
Mathematics 80 80 80 80 80 80
Science 40 40 40 40 40 40
ภาษาจนี - - - 40 40 40
เทคโนโลยีเพิม่ เตมิ
- กิจกรรมพฒั นาผูเรยี น 40 40 40 40 40 40
กิจกรรมแนะแนว 40 40 40 40 40 40
กิจกรรมลูกเสอื 40 40 40 40 40 40
กิจกรรมชุมนุม 10 10 10 10 10 10
กิจกรรมเพ่อื สงั คมและสาธารณประโยชน 40 40 40 40 40 40
ขบั รอง 170 170 170 170 170 170
1,290 1,290 1,290 1,330 1,330 1,330
รวมเวลากจิ กรรมพฒั นาผูเรยี น
รวมเวลาทัง้ หมด

หลักสูตรโรงเรยี น

คมู ือนักเรียน 17

เวลาเรยี น

กลมุ สาระการเรยี นรู / กจิ กรรม มัธยมศึกษาตอนตน มัธยมศึกษาตอนปลาย

ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 - 6

กลมุ สาระการเรียนรู

ภาษาไทย 120 120 120 240
(3 นก.) (3 นก.) (3 นก.) (6 นก.)
คณติ ศาสตร
120 120 120 240
วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี (3 นก.) (3 นก.) (3 นก.) (6 นก.)

160 160 160 320
(4 นก.) (4 นก.) (4 นก.) (8 นก.)

สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 160 160 160 320
(4 นก.) (4 นก.) (4 นก.) (8 นก.)
- ประวัตศิ าสตร
- ศาสนา ศลี ธรรม จรยิ ธรรม 40 40 40 80
- หนาทพี่ ลเมอื ง วฒั นธรรม และการดําเนนิ ชีวติ ในสังคม (1 นก.) (1 นก.) (1 นก.) (2 นก.)
120 120 120 240
}- เศรษฐศาสตร ( 3 นก.) ( 3 นก.) ( 3 นก.) (6 นก.)

- ภมู ิศาสตร 80 80 80 120
สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา (2 นก.) (2 นก.) (2 นก.) (3 นก.)

ศิลปะ 80 80 80 120
(2 นก.) (2 นก.) (2 นก.) (3 นก.)
การงานอาชีพ
40 40 40 40
(1 นก.) (1 นก.) (1 นก.) (1 นก.)

ภาษาตา งประเทศ 120 120 120 240
(3 นก.) (3 นก.) (3 นก.) (6 นก.)

รวมเวลาเรียน (พน้ื ฐาน) 880 880 880 1,640
(22 นก.) (22 นก.) (22 นก.) (41 นก.)
กิจกรรมพัฒนาผูเรยี น
รายวชิ า/กิจกรรมทส่ี ถานศกึ ษาจัดเพิ่มตามความพรอมและจดุ เนน 120 120 120 360
พลเมอื งดตี านทจุ ริต
ปละ 320 ชัว่ โมง 1,920 ชัว่ โมง
รวมเวลาท้งั หมด
40 40 40 บูรณาการอยูใ นกลมุ สาระฯ
(1 นก.) (1 นก.) (1 นก.) สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

1,320 ชั่วโมง/ป รวม 3 ป 3,920 ชว่ั โมง

หลกั สตู รโรงเรียน

18 คมู ือนักเรียน

การเลื่อนชน้ั

1. ผเู รยี นมเี วลาเรียนตลอดปการศกึ ษาไมน อ ยกวา
รอยละ 80 ของเวลาเรียนทัง้ หมด

2. ผูเรียนมีผลการประเมินผานทกุ รายวชิ าพ้นื ฐาน
3. ผเู รยี นมีผลการประเมินการอาน คดิ วิเคราะห
และเขียน คณุ ลักษณะอันพึงประสงค และกิจกรรม
พัฒนาผูเ รยี นผาน ตามเกณฑที่สถานศกึ ษากําหนด

การเรียนซ้ําช้นั ระดับประถมศกึ ษา

กรณที ี่ผเู รียนไมผ านรายวชิ าจาํ นวนมาก และมีแนวโนมวา จะเปนปญหาตอ การเรยี นในระดบั ชัน้ ที่สูงข้นึ
สถานศกึ ษาอาจใชดุลยพนิ จิ ใหเ ลอ่ื นชัน้ ได
1. มีเวลาเรยี นไมถึงรอยละ 80 อนั เนอ่ื งมาจากกรณีจําเปน หรือสดุ วสิ ยั
2. ผเู รียนมีผลการประเมินผานมาตรฐานการเรียนรู และตัวช้วี ัดไมถงึ เกณฑท ส่ี ถานศกึ ษากําหนด แตสามารถ
สอนเสริมได
3. ผูเรยี นมผี ลการประเมนิ รายวิชาในกลมุ สาระภาษาไทย คณติ ศาสตร วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี สงั คมศกึ ษา
ศาสนาและวัฒนธรรม อยูในระดบั ผา น

การเรียนซ้ําชั้นระดบั มธั ยมศึกษา

1. ผูเรียนมีระดับผลการเรียนเฉลี่ยปการศึกษานน้ั ต่าํ กวา 1.00 และมีแนวโนมวา จะเปน ปญ หาตอการเรียนใน
ระดบั ช้นั สูงข้นึ

2. ผเู รียนมผี ลการเรยี น “0” ติด “ร” หรอื “มส” เกนิ ครง่ึ หน่ึงของรายวชิ าทก่ี ําหนดไวในแผนการเรยี นแตละ
ภาคเรยี นของปการศกึ ษานนั้

หลกั สตู รโรงเรยี น

คมู ือนกั เรยี น 19

เกณฑการจบระดับประถมศึกษา

1. ผเู รียนเรยี นรายวิชาพืน้ ฐาน จาํ นวน 5,040 ช่ัวโมง และรายวชิ าเพิ่มเตมิ จํานวน 240 ชว่ั โมง และมผี ลการ
ประเมินรายวิชาพน้ื ฐานผา นทกุ รายวิชา

2. ผเู รียนตองมผี ลการประเมนิ การอา น คิดวเิ คราะห และเขียน ระดับ “ผา น” ข้ึนไป
3. ผูเรยี นตองมผี ลการประเมินคุณลักษณะอันพงึ ประสงค ระดบั “ผา น” ข้นึ ไป
4. ผูเรียนตองเขา รว มกจิ กรรมพัฒนาผเู รียนและมีผลการประเมนิ ระดับ “ผา น” ทุกกิจกรรม

เกณฑก ารจบระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน

1. ผเู รียนเรยี นรายวิชาพ้นื ฐานและรายวิชาเพมิ่ เตมิ จํานวน 81 หนวยกติ โดยเปน รายวชิ าพน้ื ฐาน
จาํ นวน 66 หนว ยกติ และรายวชิ าเพม่ิ เติม จาํ นวน 15 หนวยกติ

2. ผเู รียนตอ งไดหนวยกติ ตลอดหลกั สตู รไมน อ ยกวา 77 หนว ยกติ โดยเปน รายวิชาพื้นฐาน จาํ นวน 66 หนว ยกิต
และรายวิชาเพิ่มเติมไมนอยกวา 11 หนวยกติ

3. ผเู รียนตอ งมีผลการประเมนิ การอาน คดิ วเิ คราะห และเขียน ระดบั “ผาน” ขน้ึ ไป
4. ผเู รยี นตอ งมีผลการประเมินคุณลักษณะอนั พึงประสงค ระดับ “ผาน” ขึ้นไป
5. ผูเรยี นตองเขารว มกิจกรรมพฒั นาผเู รียนและมีผลการประเมนิ ระดบั “ผาน” ทกุ กจิ กรรม

เกณฑก ารจบระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย

1. ผูเรยี นเรียนรายวชิ าพน้ื ฐานและรายวชิ าเพ่มิ เติมจาํ นวนไมนอยกวา 81 หนวยกิต โดยเปนรายวชิ าพืน้ ฐาน
จํานวน 41 หนว ยกิต และรายวิชาเพ่ิมเติมจาํ นวนไมนอยกวา 40 หนวยกติ

2. ผูเ รียนตองไดหนวยกติ ตลอดหลกั สตู รไมนอยกวา 77 หนว ยกติ โดยเปนรายวิชาพนื้ ฐาน จํานวน 41 หนว ยกติ
และรายวิชาเพิ่มเตมิ ไมน อ ยกวา 36 หนว ยกิต

3. ผเู รียนตองมผี ลการประเมนิ การอา น คดิ วิเคราะห และเขยี น ระดับ “ผา น” ขึน้ ไป
4. ผูเรียนตอ งมผี ลการประเมนิ คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค ระดบั “ผา น” ขึ้นไป
5. ผเู รียนตอ งเขา รว มกจิ กรรมพฒั นาผเู รยี นและมีผลการประเมนิ ระดบั “ผาน” ทกุ กจิ กรรม

หลักสตู รโรงเรียน

20 คมู อื นักเรียน

เกณฑการวัดและประเมินผลการเรียนรรู ะดับประถมศึกษา

การตดั สนิ ผลการเรียน การใหร ะดับผลการเรียน

หลกั สูตรโรงเรียนเซนตด อมินิก พุทธศักราช 2553 1. การตดั สนิ ผลการเรยี นรายวชิ าของกลมุ สาระการ

ไดกําหนดโครงสรางเวลาเรียน มาตรฐานการเรียนรู/ เรยี นรู ใหใชร ะบบตวั เลขแสดงระดบั ผลการเรียนในแต

ตัวชว้ี ดั การอา น คดิ วเิ คราะห และเขยี น คุณลกั ษณะ ละกลุมสาระเปน 8 ระดับ ตามตาราง

อันพงึ ประสงค และกิจกรรมพัฒนาผเู รยี นทีส่ ถานศกึ ษา 2. การอา น คดิ วิเคราะหแ ละเขียน ถือเปนความ

ตองจัดใหผูเรียนเกิดการเรียนรู มีคุณภาพเต็มตาม สามารถหลักท่ีสําคัญซ่ึงจําเปนตองปลูกฝงและพัฒนา

ศักยภาพและใหสถานศึกษากําหนดหลักเกณฑการวัด ใหเ กดิ ขนึ้ กบั ผูเ รียน ดวยกระบวนการจดั การศกึ ษาตาม

และประเมนิ ผลการเรยี นรู เพ่อื ตัดสนิ ผลการเรยี นของ หลกั สตู รในทกุ กลมุ สาระการเรยี นรู ขณะเดยี วกนั กจ็ าํ เปน

ผเู รยี น ดงั นี้ ตองตรวจสอบวา ความสามารถดังกลาวเกิดขึ้นแลว

1. ผเู รยี นตองมีเวลาเรยี นไมนอยกวารอยละ 80 ของ หรือยงั เนือ่ งจากการพัฒนาความสามารถดา นการอาน

เวลาเรียนตลอดปการศึกษา คดิ วเิ คราะหแ ละเขยี น ผเู รยี นจะไดร บั การพฒั นาตามลาํ ดบั

2. ผูเรยี นตอ งไดร ับการประเมินทุกตัวช้วี ัด ตาม อยางตอเนื่องในกระบวนการจัดการเรียนรูตามกลุม

เกณฑทโ่ี รงเรยี นกาํ หนด สาระการเรยี นรู หรอื กจิ กรรมตาง ๆ กระบวนการตรวจ

3. ผเู รยี นตองไดร บั การตัดสนิ ผลการเรียนทุกราย สอบความกาวหนาที่เกิดขึ้นทั้งความรูความเขาใจในการ

วชิ า ปฏบิ ัติ จะดาํ เนินการไปดว ยกันในกระบวนการ

4. ผเู รยี นตอ งไดร บั การประเมนิ การอา น คดิ วเิ คราะห

และเขยี น คุณลักษณะอันพงึ ประสงค และกิจกรรม

พฒั นาผูเรียนมีผลการประเมินระดับผา นขึ้นไป

หลักสูตรโรงเรยี น

คมู อื นกั เรียน 21

ตารางแสดงระดับผลการเรยี นแตละกลมุ สาระ ระดบั ประถมศึกษา และมัธยมศึกษา

ระดับผลการเรียน ชว งคะแนนเปนรอ ยละ ความหมายของ
4 80 - 100 ผลการเรยี น
ดีเย่ียม

3.5 75 - 79 ดมี าก

3 70 - 74 ดี

2.5 65 - 69 คอ นขางดี

2 60 - 64 ปานกลาง

1.5 55 - 59 พอใช

1 50 - 54 ผา นเกณฑข้ันตา่ํ

0 0 - 49 ตา่ํ กวาเกณฑ

หลักสตู รโรงเรียน

22 คมู อื นกั เรียน

เกณฑการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรรู ะดบั มธั ยมศกึ ษา
การประเมินผลการเรียน

การประเมนิ ผลการเรียนในแตละรายวชิ าของแตล ะกลมุ สาระการเรียนรู ตัดสินผลการประเมินการเรยี นรู
เปน 8 ระดับ ตามตารางแสดงระดบั ผลการเรียนแตละกลุมสาระการเรียนรู

ในกรณที ม่ี รี ะดับผลการเรยี นเปน ร และ มส.
- ตดั สินผลการเรยี น ร เมื่อ ขาดการประเมินผลระหวางภาค หรือปลายภาค หรือไมสง งานตามท่ีไดรบั มอบหมาย
- ตัดสนิ ผลการเรียน มส. เม่อื มเี วลาเขา เรยี นนอยกวารอยละ 80

การประเมินผลกจิ กรรมพัฒนาผเู รียน

การประเมินกจิ กรรมพัฒนาผูเรียน ประกอบดวย กจิ กรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรยี น และกิจกรรมบําเพ็ญ
เพือ่ สาธารณประโยชน การรวมกิจกรรมพัฒนาผูเรียนเปนการประเมนิ ความสามารถและพัฒนาการของผูเรยี นในการ
เขารวมกจิ กรรมพฒั นาผูเ รียนในแตล ะภาคเรียนตามเกณฑข องแตล ะกจิ กรรม และตดั สินผลการประเมนิ เปน 2 ระดบั
ดังนี้

ผา น หมายถงึ ผานเกณฑท ่ีสถานศกึ ษากําหนด
ไมผ า น หมายถึง ไมผา นเกณฑทีส่ ถานศึกษากําหนด

หลักสูตรโรงเรียน

คมู อื นกั เรยี น 23

การประเมินผลคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค

การประเมินคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค เปนการประเมนิ พฒั นาการทางดา นคุณธรรม จรยิ ธรรม คานยิ ม และคณุ
ลักษณะอันพงึ ประสงคของผูเรียน ตามคุณลกั ษณะทส่ี ถานศกึ ษากาํ หนด การประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคจะ
ประเมินเปน รายคุณลักษณะทุกภาคเรียน และตดั สินผลการประเมิน เปน 4 ระดับ ดงั นี้

ดเี ยยี่ ม หมายถึง ผเู รยี นมีพฤติกรรมตามตัวบง ช้ีผานเกณฑ รอ ยละ 80 - 100 ของจํานวนตวั บงช้คี ณุ ลกั ษณะ
น้นั ๆ แสดงวาผูเรียนมคี ุณลกั ษณะนั้น ๆ จนสามารถเปนแบบอยางแกผ ูอนื่ ได

ดี หมายถึง ผเู รียนมพี ฤติกรรมตามตัวบง ช้ีผา นเกณฑ รอ ยละ 65 - 79 ของจํานวนตัวบงช้ีคุณลกั ษณะ
นัน้ ๆ แสดงวาผูเ รียนมีคณุ ลกั ษณะน้ัน ๆ ดว ยการปฏิบัตดิ ว ยความเตม็ ใจ

ผาน หมายถงึ ผเู รยี นมพี ฤตกิ รรมตามตวั บงช้ผี านเกณฑ รอ ยละ 50 - 64 ของจาํ นวนตวั บงชี้คณุ ลักษณะ
น้นั ๆ ไดป ฏิบัตติ นดว ยความพยายามปฏบิ ัตติ นตามคําแนะนาํ

ไมผา น หมายถึง ผูเ รยี นมีพฤตกิ รรมตามตัวบงชี้ผานเกณฑ ตํา่ กวารอยละ 50 ของจาํ นวนตวั บงชใี้ นคุณ
ลกั ษณะนน้ั ๆ แสดงวา ผเู รยี นมคี ุณลกั ษณะนั้น ๆ ตอ งมีผอู ่ืนคอยกระตนุ เตอื น

เมื่อเลอ่ื นช้นั จะพจิ ารณาจากผลการประเมนิ ดเี ยี่ยม ดี ผาน โดยตอ งมผี ลการประเมินอยใู นระดบั “ผา น”
ขึ้นไป

การประเมินความสามารถอาน คดิ วิเคราะห และเขียน

การประเมนิ ความสามารถอา น คิดวเิ คราะห และเขียน เปน การประเมินทักษะการคิด และการถา ยทอดความคดิ
ดวยทกั ษะการอาน การคิดวเิ คราะห ตามเงอ่ื นไข และวธิ กี ารทีส่ ถานศกึ ษากาํ หนด และตดั สินผลการประเมิน
เปน 4 ระดบั ดังน้ี

ดีเย่ียม หมายถึง มผี ลงานที่แสดงความสามารถในการอา น คิดวิเคราะห และเขียนที่มีคุณภาพดีเลิศอยู
เสมอ

ดี หมายถึง มีผลงานทแ่ี สดงความสามารถในการอา น คดิ วิเคราะห และเขียนที่มีคุณภาพเปนท่ียอมรบั
ผา น หมายถงึ มีผลงานทีแ่ สดงความสามารถในการอา น คิดวเิ คราะห และเขยี นทมี่ คี ณุ ภาพเปนท่ยี อมรับ
แตย ังมขี อบกพรอ งบางประการ
ไมผาน หมายถึง ไมมผี ลงานทแ่ี สดงความสามารถในการอา น คิดวิเคราะห และเขียน หรือถา มีผลงาน
ผลงานนั้นยังมีขอบกพรอ งท่ีตอ งไดร บั การปรับปรุงแกไขหลายประการ

เมื่อเล่ือนชั้นจะพจิ ารณาจากผลการประเมิน ดีเย่ียม ดี ผาน โดยตอ งมผี ลการประเมินอยูในระดับ “ผาน”
ขน้ึ ไป

หลกั สตู รโรงเรยี น

24 คูมอื นกั เรียน

โครงการหองเรยี น SD Gifted Education Program

ตัง้ แตปก ารศกึ ษา 2559 เปนตนมามกี ารจดั การเรยี นรใู หมที่เกดิ ขน้ึ ในโรงเรียนน่ันคือ โครงการหองเรียน SD
Gifted Education Program ซึ่งเปน โครงการท่เี ปดโอกาสใหนกั เรียนทม่ี ีความรคู วามสามารถในดา นวิทยาศาสตร
คณิตศาสตร และมีความสนใจในภาษาที่สามคือภาษาจีน ไดมีโอกาสแสดงความสามารถของพวกเขาอยางเต็ม
ศกั ยภาพในการเรยี น โครงการนี้ไดมกี ารศกึ ษาแนวทางความเปนไปไดมาลว งหนาแลว มกี ารปรึกษาหารอื และเตรยี ม
การ โดยเฉพาะกบั ครูกลมุ สาระการเรยี นรวู ทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี คณติ ศาสตร ตลอดจนบคุ ลากรทเี่ กีย่ วขอ ง
รวมทง้ั ความสนใจของผูป กครองดว ย

วัตถุประสงคข องโครงการ

1. พฒั นาอจั ฉริยภาพดา นวิทยาศาสตร คณิตศาสตร ภาษาจนี ของผูเ รยี นใหเ ต็มศักยภาพทมี่ อี ยู
2. พฒั นาผเู รียนใหมคี วามประพฤติดี มีคุณธรรม มีน้าํ ใจ รจู ักชว ยเหลอื ซงึ่ กันและกัน
3. สง เสรมิ ใหผูเรียนไดเ รียนรจู ากประสบการณจ รงิ
4. สง เสรมิ ใหผ เู รยี นมคี วามคดิ และรจู กั วเิ คราะหอ ยา งมวี จิ ารณญาณ ตลอดจนกลา แสดงความคดิ เหน็
5. สง เสรมิ ใหผูเรยี นมีประสบการณใ นการเขารว มแขง ขันระดบั ภาค ระดบั ประเทศ และระดับนานาชาติ
6. เพ่ือสรา งสังคมท่ดี ใี หก ับผเู รียน และสานสัมพันธท ่ดี ีระหวางผูปกครอง

หลักสตู รโรงเรยี น

คูมือนักเรียน 25

ลักษณะของหลักสูตร

จดั หลกั สตู รวชิ าพ้ืนฐานตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน ของกระทรวงศึกษาธิการ ซง่ึ เนนในสาขา
วิชาวิทยาศาสตร คณิตศาสตร ภาษาจีน โดยคร-ู อาจารย ผูชํานาญในสาขาวิชาตาง ๆ ตลอดจนเสรมิ วชิ าของระดับ
ชั้นมัธยมศกึ ษาตอนปลาย ในรายวชิ าฟส ิกส เคมี ชีววทิ ยา คณิตศาสตร และภาษาจนี ทัง้ นร้ี ปู แบบการจดั การเรียน
การสอนคือ

1. รายวชิ าพ้ืนฐาน จดั การศกึ ษาตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน ของกระทรวงศึกษาธกิ าร
2. รายวชิ าเพิม่ เตมิ เนนวชิ าฟส กิ ส เคมี ชวี วิทยา คณติ ศาสตร ในแผนการเรยี นวิทยาศาสตร กบั รายวิชาภาษา
จีนในแผนการเรียนศลิ ป สอนโดยบุคลากรภายในโรงเรยี น และอาจารยภายนอกทม่ี ีประสบการณ
3. ศึกษาเรยี นรจู ากประสบการณจ ริงผา นการทดลอง โครงงาน และสง่ิ ประดษิ ฐ
4. ฝก ฝนการนาํ เสนอผลงานทงั้ ภาษาไทยและภาษาองั กฤษ
5. จัดการศกึ ษาเรียนรูนอกสถานที่
6. ขยายประสบการณโดยเชญิ อาจารยผ ูทรงคณุ วฒุ ิมาสอน หรอื พาผูเรียนไปเรยี นรวมกับสถาบนั อ่นื
7. เรียนรูป ระสบการณแ ละปฏบิ ตั ิกิจกรรมรวมกับนักเรยี นตา งชาติ

หอ งเรียน SD Gifted ชัน้ มัธยมศึกษาตอนตน

1. แผนการเรยี นวิทยาศาสตร- คณิตศาสตร 1 (Science- Math 1) มเี ปา หมาย
- เพื่อเขา ศึกษาตอท่ีโรงเรยี นเตรยี มอดุ มศึกษา โรงเรียนมหดิ ลวทิ ยานสุ รณ โรงเรยี นกําเนดิ วทิ ย
- รายวิชาพ้นื ฐานตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน
- รายวชิ าเพิ่มเตมิ ไดแ ก ฟสกิ ส เคมี ชีววิทยา ดาราศาสตร คณิตศาสตรเ พิ่มเติม ภาษาองั กฤษอาน-เขยี น
Science Math

2. แผนการเรยี นวทิ ยาศาสตร- คณติ ศาสตร 2 (Science-Math 2) มเี ปา หมาย
- เพือ่ เขาศึกษาตอ แผนกวทิ ยาศาสตร ชั้นมัธยมศกึ ษาตอนปลาย โรงเรยี นเซนตด อมนิ กิ
- รายวิชาพ้ืนฐานตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน
- รายวชิ าเพ่มิ เติม ไดแก ฟสิกส เคมี ชวี วทิ ยา ดาราศาสตร พื้นฐานวิศวกรรม คณติ ศาสตรเ พ่ิมเตมิ
ภาษาอังกฤษอา น-เขยี น Science Math

3. แผนการเรียนศิลปภ าษาจนี และความสามารถพิเศษ (Chinese Language) มีเปาหมาย
- เพอื่ เขา ศึกษาตอ แผนกศิลป-ภาษาจนี ชั้นมัธยมศกึ ษาตอนปลาย โรงเรียนเซนตด อมนิ กิ
- รายวชิ าพ้นื ฐานตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน
- รายวชิ าเพ่ิมเตมิ ไดแ ก ภาษาจนี พ้ืนฐานสถาปตย นิเทศศิลป ภาษาอังกฤษอา น-เขยี น คณติ ศาสตรเ พ่ิมเตมิ
Science Math

โรงเรียนไดก ําหนดแผนการเรียนใหมต ้ังแตปการศึกษา 2560 ไว 3 แผนการเรยี น โดยจดั ใหม ีแผนการเรยี น
ละ 1 หอ ง สําหรับอกี 3 หองนน้ั จดั เปน แผนการเรียนพฒั นาบุคลกิ ภาพและความเปน ผูน าํ ตามหลกั สูตรแกนกลาง

หลักสูตรโรงเรยี น

26 คมู อื นักเรยี น

สิทธิการเรยี นวิชาทหาร ราชการทหารประจําการ 1 ป แตถ ารอ งขอเขา รับราช
การกองประจาํ การ ไดส ิทธริ์ บั ราชการเพยี ง 6 เดอื น
1. ความมุง หมายของการศกึ ษามคี วามมงุ หมายท่ี
จะฝกนกั ศกึ ษาวชิ าทหารใหมคี ณุ ลกั ษณะดงั นี้ 2.2.3 ผูสําเร็จการฝกวชิ าทหารชัน้ ปท ่ี 3 ใหขึน้
ทะเบียนกองประจําการแลวปลดเปนทหารกองหนุน
1.1 คุณลักษณะท่ัวไป โดยมิตองเขารับราชการในกองประจาํ การ
1.1.1 มีลกั ษณะความเปนผูนํา
1.1.2 มีความเช่อื มัน่ ในตนเอง การศึกษาทางดานวิชาชีพ ซึ่งมีหลักสูตรกําหนด
1.1.3 เปน ผูมรี ะเบียบวนิ ยั เวลาศึกษาไมนอยกวาสามปตอจากชน้ั มธั ยมศึกษาตอน
1.1.4 เปนพลเมืองดี มคี วามสํานกึ ที่จะอุทศิ ตน หรือหลักสตู รการศกึ ษาทกี่ ระทรวงศึกษาธกิ ารรบั
รองวทิ ยฐานะเทยี บเทา เมอ่ื ไดข น้ึ ทะเบยี นกองประจาํ การ
ตนเพือ่ ประโยชนแ ละความม่นั คงของชาติ และปลดเปนทหารกองหนุนตามกฎหมายวาดวยการ
1.2 คณุ ลกั ษณะเฉพาะ รับราชการทหารแลว
1.2.1 นักศกึ ษาวชิ าทหารชน้ั ปที่ 1, 2 ใหม คี วาม
3. การสมคั รเปน นกั ศึกษาวิชาทหารชั้นปท ่ี 1
รูวชิ าทหารเบือ้ งตน เพ่ือใหบ งั เกิดระเบยี บวินัย ลักษณะ 3.1 กําลังศึกษาอยูในสถานศึกษาที่หนวยบัญชา
ทหาร การเช่ือฟง และการปฏิบัติตามคําสงั่ ผบู งั คบั การรักษาดนิ แดนเปดการฝก วิชาทหาร
บญั ชาโดยเครง ครดั สามารถใชอ าวธุ ประจาํ กาย และทาํ การ 3.2 สําเร็จการศกึ ษาตง้ั แตชน้ั มธั ยมศึกษาปที่ 3
ยิงปนอยางไดผ ล หรือเทียบเทา ขนึ้ ไป และมีผลการศกึ ษาของชน้ั มธั ยม
ศึกษาปท ี่ 3 หรอื เทียบเทา ตง้ั แต 1.0 ข้นึ ไป ของสถาน
1.2.2 นกั ศกึ ษาวชิ าทหารชัน้ ปท ่ี 3 ใหมคี วาม ศกึ ษาวชิ าทหาร
รวู ชิ าทหารทง้ั ทางเทคนคิ และยุทธวธิ ี ใหสามารถทาํ 3.3 เง่ือนไขบังคับท่ีตองปฏิบัติตามระเบียบหนวย
หนา ที่ในตําแหนงผูบงั คบั หมูได บัญชาการรักษาดินแดนดงั ตอไปนี้

1.2.3 นักศึกษาวชิ าทหารช้นั ปท่ี 4 ใหมคี วาม 3.3.1 สมคั รเขา รับการฝก วชิ าทหาร
รูวชิ าทหารท้ังทางเทคนิคและยทุ ธวิธี ใหสามารถทํา 3.3.2 ตอ งชาํ ระเงนิ บาํ รงุ เพ่อื สงเสรมิ การฝก
หนา ทใี่ นตําแหนง ผูบังคับหมวดได วชิ าทหาร
3.3.3 การไวทรงผมนักศกึ ษาวิชาทหาร
1.2.4 นักศึกษาวชิ าทหารช้นั ปท ่ี 5 ใหมคี วามรู
วชิ าทหารท้งั ทางเทคนคิ และยทุ ธวธิ ี ใหสามารถทําหนา 3.3.3.1 ช้นั ปท ่ี 1 ถึงชั้นปท่ี 3 ใหไวผ ม
ทใี่ นตาํ แหนง ผูบังคับหมวดได ทรงนักเรียนดานขางและดานหลังศีรษะสั้นเกรียน
ความยาวดา นหนาไมเ กิน 5 เซนตเิ มตร
2. การยกเวนการเรียกมาตรวจเลือกเขารับราช
การทหารกองประจําการ และการลดวันรับราชการ 3.3.4 นกั ศึกษาชายจะตอ งผา นการทดสอบ
ทหารกองประจําการ สมรรถภาพทางรางกายตามทีก่ าํ หนด ดังนี้

2.1 นักศึกษาวิชาทหารท่ีอยูในระหวางเขารับการ 3.3.4.1 ลกุ -น่ัง 34 ครั้ง ภายในเวลา 2 นาที
ฝกวิชาทหาร ไดร บั สทิ ธใิ์ นการยกเวน ไมเ รียกมารบั การ 3.3.4.2 ดันพนื้ 22คร้ังภายในเวลา2นาที
ตรวจเลอื ก เขารับราชการทหารกองประจําการในยาม 3.3.4.3 วิ่งระยะทาง 800 เมตร ใชเ วลา
ปกติ ตามพระราชบญั ญตั ิฯ ไมเ กิน 3 นาที 15 วินาที
3.3.5 มีขนาดรอบตัว นา้ํ หนัก และ ความสูง
2.2 การลดวันรับราชการทหารกองประจําการของ ตามสวนสัมพันธ
นักศกึ ษาวชิ าทหาร ซึง่ สําเรจ็ การฝก วิชาทหารตามหลัก
สตู รท่ีกระทรวงกลาโหมกาํ หนดมดี ังนี้

2.2.1 ผสู าํ เร็จการฝกวิชาทหารชั้นปท ี่ 1 รับราช
การทหารประจาํ การ 1 ป 6 เดือน แตถ า รอ งขอเขา รับ
ราชการกองประจาํ การ ไดสทิ ธร์ิ บั ราชการเพียง 1 ป

2.2.2 ผสู าํ เร็จการฝก วชิ าทหารชน้ั ปท ี่ 2 รบั

หลักสตู รโรงเรียน

4.หลักฐานการสมัครเปนนักศึกษาวิชาทหาร คูมือนักเรยี น 27
มีดงั น้ี
เกณฑก ารทดสอบสมรรถภาพรางกาย
4.1 ใบสมคั รเปนนกั ศึกษาวิชาทหาร (แบบ รด.1) เพอื่ เปน นกั ศกึ ษาวิชาทหารชั้นปที่ 1
(ทบ.349-001) ใหร บั จากสถานศึกษาวิชาทหารท่ีกาํ ลัง
ศึกษาอยูป จ จุบัน โดยนักศึกษาท่ยี ่ืนความจํานงขอสมคั ร - วง่ิ ทดสอบ 800 เมตร ภายใน 3.15 นาที
เขา เปนนักศึกษาวชิ าทหารชั้นปท ่ี 1 ตอ งกรอกขอ ความ - ดันพ้ืน 22 ครงั้ ภายใน 2 นาที
ใหถกู ตอง ครบถวน สมบรู ณ และลงลายมอื ชื่อดว ย - ลุกน่ัง 34 ครงั้ ภายใน 2 นาที
ตนเอง การเรียนรักษาดินแดนในวันจันทรเวนวันจันทร
เรยี นตั้งแตเ วลา 07.45-16.00 น. ณ โรงเรียนรักษา
4.2 บดิ า มารดา หรือผูปกครองตามกฎหมาย จะ ดนิ แดนศนู ยก ารนกั ศกึ ษาวชิ าทหาร ถนนวภิ าวดรี งั สติ
ตองลงนามยินยอมในใบสมคั ร (แบบ รด.1) ใหส มคั รเขา การประเมินผลการมาเรยี นตองไมน อยกวา80% ขาด
ฝก วิชาทหารได โดยจะตอ งลงนามดว ยตนเอง และผูอืน่ เรยี นได 4 ครงั้ ไมตองชดเชย ในกรณที ีข่ าดเรยี นเกนิ
จะลงนามแทนมิได กวา ท่กี าํ หนด จะหมดสิทธิสอบ

4.3 รูปถายสขี นาด 3X4 เซนตเิ มตร แตง เครือ่ งแบบ
นกั ศกึ ษา หนาตรง ไมสวมหมวก ไมส วมแวน ตา จํานวน
1 รูป

4.4 หลักฐานแสดงผลการศึกษาสําเร็จช้ันมัธยม
ศกึ ษาปท่ี 3 หรอื เทียบเทา ซงึ่ มผี ลการศึกษาไมต ่าํ กวา ท่ี
กองทัพบกกาํ หนด โดยหัวหนา สถานศกึ ษาวิชาทหาร
หรือผูที่ไดรับมอบอํานาจใหเปนผูรับรองคะแนนเฉลี่ย
ในหลกั ฐาน

4.5 สําเนาทะเบียนบานปจจุบันของผูสมัครและ
บดิ า-มารดา หรือถา ยเอกสารจากฉบบั เจา บาน คนละ
1 ฉบบั โดยมเี จา บาน หรือผแู ทนสถานศกึ ษาวิชาทหาร
เปน ผูรบั รองสําเนาถูกตอ ง

4.6 สําเนาหลกั ฐานการเปลีย่ นชอ่ื ตัว ชื่อสกุล(ถา
ม)ี จาํ นวน 1 ฉบับ

4.7 ใบรับรองแพทยท่ีมีใบอนุญาตประกอบโรค
ศลิ ป รับรองวา มรี า งกายสมบูรณแ ข็งแรง ซ่ึงออกใหไ ม
เกิน 30 วนั กอ นวนั รบั สมคั ร

หลักสตู รโรงเรยี น

28 คูมือนักเรียน

ระเบยี บและแนวทางปฏิบตั ิของโรงเรียนเซนตด อมินิก

โรงเรียนเซนตดอมนิ กิ ไดอ อกระเบยี บ และแนวทางปฏิบัตติ าง ๆ ท่สี อดคลอ งกับกฎกระทรวงซึ่งกําหนดความ
ประพฤติของนักเรียนและนกั ศกึ ษา พ.ศ. 2548 ดังนี้

ขอ 1 นักเรยี นและนกั ศึกษาตองไมประพฤตติ น ดังตอ ไปนี้
(1) หนีเรยี นหรือออกนอกสถานศกึ ษาโดยไมไ ดรับอนุญาตในชว งเวลาเรยี น
(2) เลนการพนัน จดั ใหม ีการเลนการพนนั หรือม่ัวสุมในวงการพนัน
(3) พกพาอาวธุ หรอื วตั ถรุ ะเบิด
(4) ซ้ือ จําหนา ย แลกเปลย่ี น เสพสรุ าหรือเครื่องดม่ื ทม่ี ีแอลกอฮอล ส่งิ มึนเมา บหุ ร่ี หรือยาเสพตดิ
(5) ลักทรพั ย กรรโชกทรัพย ขมขู หรอื บังคบั ขนื ใจเพือ่ เอาทรพั ยบคุ คลอื่น
(6) กอเหตทุ ะเลาะววิ าท ทาํ รา ยรางกายผูอ น่ื เตรยี มการหรือกระทําการใด ๆ อันนาจะกอ ใหเ กิดความ

ไมสงบเรยี บรอ ยหรอื ขัดตอศีลธรรมอันดขี องประชาชน
(7) แสดงพฤติกรรมทางชูสาวซ่งึ ไมเ หมาะสมในท่ีสาธารณะ
(8) เกีย่ วขอ งกบั การคาประเวณี
(9) ออกนอกสถานท่พี กั เวลากลางคนื เพอื่ เท่ยี วเตรห รอื รวมกลมุ อนั เปน การสรางความเดอื ดรอ นใหแ ก

ตนเองหรือผูอ่ืน

ระเบยี บและแนวทางปฏบิ ัติ

คมู อื นักเรยี น 29

โรงเรียนเซนตดอมินกิ ไดกาํ หนดบทลงโทษ และแนวทางปฏบิ ตั ติ าง ๆ ทีส่ อดคลองกับระเบยี บกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
วาดว ยการลงโทษนกั เรียนและนักศึกษา พ.ศ. 2548 ดงั นี้

ขอ 4 ในระเบียบน้ี
“การกระทาํ ความผดิ ” หมายความวา การที่นกั เรยี นหรอื นกั ศกึ ษาประพฤติฝา ฝนระเบยี บขอบังคบั ของ

สถานศึกษา หรือของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร หรือกฎกระทรวงวา ดวยความประพฤติของนักเรยี นและนักศึกษา
“การลงโทษ” หมายความวา การลงโทษนกั เรยี นหรอื นักศกึ ษาที่กระทาํ ความผดิ โดยมคี วามมุงหมาย

เพอ่ื การอบรมสงั่ สอน
ขอ 5 โทษที่จะลงโทษแกน กั เรยี นหรือนักศกึ ษาทก่ี ระทาํ ความผดิ มี 4 สถาน ดงั น้ี
(1) วากลาวตกั เตือน
(2) ทาํ ทัณฑบ น
(3) ตัดคะแนนความประพฤติ
(4) ทาํ กจิ กรรมเพอ่ื ใหปรบั เปลีย่ นพฤตกิ รรม

การแตงกายและเคร่อื งแบบของโรงเรียน

นักเรียนทุกคนตองปฏบิ ตั ใิ นดา นการแตง กายและเคร่ืองแบบของโรงเรียน ดังตอ ไปนี้
(ก) ฝายรา งกาย ขอใหร กั ษาความสะอาดของรา งกายใหถ ูกตองตามหลกั อนามยั โดยเฉพาะอยา งยง่ิ

1. ผม ใหถ อื ปฏบิ ัตติ ามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ วา ดวยการไวทรงผมของนักเรียน พ.ศ. 2563 ตามที่
ระบไุ วใ น ขอ 4 กับขอ 5 คอื

ขอ 4 นกั เรียนตอ งปฏิบัติตนเกีย่ วกบั การไวท รงผม ดังนี้
(1) นกั เรยี นชายจะไวผ มสนั้ หรือยาวก็ได กรณไี วผ มยาวดา นขาง ดานหลังตองยาวไมเ ลยตีนผม ดา น

หนาและกลางศรี ษะใหเ ปน ไปตามความเหมาะสม และมีความเรยี บรอย
ขอ 5 นกั เรยี นตอ งหามปฏบิ ตั ิตน ดังนี้
(1) ดดั ผม
(2) ยอ มสีผมใหผดิ ไปจากเดมิ
(3) ไวห นวดหรอื เครา
(4) การกระทําอนื่ ใดซึง่ ไมเหมาะสมกับสภาพการเปนนักเรียน เชน การตัดแตงทรงผมเปนรปู ทรงหรอื

สญั ลักษณหรือเปนลวดลาย
2. เล็บ หามไวเ ลบ็ ยาว และตอ งรกั ษาเล็บใหสะอาดอยเู สมอ

(ข) เครอ่ื งแบบ นักเรียนตอ งแตงเครื่องแบบของโรงเรยี น ดงั ตอไปน้ี
เคร่อื งแบบปกติ
1. กางเกงสีนํา้ เงินแบบกางเกงไทย (ไมอนุญาตใหใ ชแพร หรอื ดิน้ ) ขาส้ันเพยี งเหนือเขา พนกลางลกู สะบา

ประมาณ 5 ซม. เม่อื ยนื ตรง สว นกวา งของขากางเกงเม่อื ยนื ตรงหา งจากขาตัง้ แต 8 ถึง 12 ซม. ตามสวนขนาดของ
ขา พบั ขอบกางเกง เขาขางในใหก วา ง 5 ซม. ผาตรงสว นหนาซปิ ซอ นไวข างใน มีจีบหนาขางละ 2 จบี มีกระเปา ตาม
แนวตะเขบ็ ขางละ 1 กระเปา (ไมมกี ระเปา หลงั ) เวลาสวมใหทบั ชายเสือ้ ไวข า งในกางเกงใหเ รยี บรอ ย

2. เส้อื แบบเช้ติ คอตง้ั ผา ขาวไมบ างเกนิ ควร ผาอกตลอด สาบทอ่ี กเส้ือกวาง 3 ถึง 5 ซม. ใชด ุมสขี าวกลม
แบนขนาดผา ศนู ยกลางไมเกิน 1 ซม. แขนสัน้ เพยี งแคศอก มีกระเปา ติดแนวราวนมเบ้อื งซา ย 1 กระเปา ขนาดกวาง
8 ถงึ 12 ซม. ลึก 10 ถงึ 15 ซม. พอเหมาะกบั ขนาดของเสื้อ ทีอ่ กเสอ้ื เบ้อื งขวา (ในระดับเหนือกระเปาซาย) ปก
อกั ษรยอ “ซ.ด.” ดว ยไหมสีแดงเลอื ดนก ใตอ กั ษรยอ ปกเลขประจําตวั ดวยไหมสเี ดยี วกนั (อักษรยอและเลขประจาํ ตัว
ขอแบบไดท่ีโรงเรยี น อักษรยอ ซ.ด. และเลขประจาํ ตวั นใี้ หปก ไมใชปะ) สําหรบั นกั เรยี นมธั ยมศึกษาตอนปลาย มเี ข็ม
เคร่อื งหมายของโรงเรียนอยูเหนอื อักษร ซ.ด.

หลักสูตรโรงเรยี น

30 คมู อื นกั เรียน
3. เข็มขดั สีดํา ชนิดหวั สอด เปน เครอ่ื งหมายของโรงเรยี น เวลาคาดใหกระชับกับเอว
4. รองเทา หนงั หรอื ผาใบสีดาํ ไมม ลี วดลาย ชนดิ หุม สน (ไมใชหมุ ขอ เทา) ใชเ ชือกผูก รองเทาพละใหใ สเ ฉพาะ

เวลาเรยี นพละเทา นัน้
5. ถุงเทา สั้น สีขาว เวลาสวมถงุ เทาไมต อ งพับ
6. กระเปา ใชก ระเปาของโรงเรยี นทง้ั แบบสะพายหลัง แบบมีลอลาก ถุงผา มหี ูรดู หรือกระเปา /ถงุ ผา /ยาม

ทม่ี ขี อ ความหรอื สญั ลกั ษณว า เปน ของโรงเรยี น หรอื ใชก ระเปา นกั เรยี นสีดาํ แบบหหู ว้ิ
เคร่ืองแบบกฬี า มีดงั น้ี
เสือ้ พลศึกษา คอื สีนํ้าเงนิ -ขาว
เสือ้ กีฬา มี 4 สี คือ สีฟา สเี ขยี ว สีแดง สีเหลือง ตามแบบทที่ างโรงเรียนกําหนด

ระเบยี บและแนวทางปฏบิ ตั ิ

คูมือนักเรยี น 31

ระเบียบนักเรียน

1. แตง กายถูกตอ งตามระเบยี บของทางโรงเรยี น รักษาความสะอาดของรา งกาย ไวผ มสน้ั หรอื ยาวก็ได กรณไี วผมยาว
ดา นขาง ดานหลงั ตอ งยาวไมเ ลยตีนผม ดานหนาและกลางศีรษะใหเ ปน ไปตามความเหมาะสม และมีความเรียบรอ ย
หามดัดผม หา มยอ มสผี มใหผิดไปจากเดิม หา มไวหนวดหรอื เครา หามการกระทาํ อืน่ ใดซงึ่ ไมเหมาะสมกับสภาพการ
เปนนกั เรียน เชน การตดั แตงทรงผมเปนรูปทรงหรอื สญั ลกั ษณห รือเปน ลวดลาย และหา มใชเ ครอื่ งสําอางใด ๆ

2. ถึงโรงเรียนกอน 08.20 น. เมอื่ ขาดเรียนใหนําใบลาตามแบบของโรงเรยี นท่ผี ูปกครองรับรอง รายงานครฝู า ย
ปกครองกอ นเขา เรียน และรายงานครเู ม่ือเขา หอ งเรยี น ถา มาสายตองขอใบอนญุ าตเขาหอ ง ถา จําเปน ตอ งออกนอก
โรงเรียนตองขออนญุ าตฝายปกครอง

3. มกี ิรยิ าวาจาสภุ าพ รูจ กั ทําความเคารพผใู หญ และครูอาจารยโ ดยทั่วถึง
4. ตั้งใจศึกษาหาความรู ทาํ งานเสร็จเรียบรอ ยตามกําหนด รักษาความเงยี บและความเปน ระเบยี บในแถว รักษา
ความสะอาดและความเรยี บรอ ยในชน้ั เรยี น รวมทั้งภายในบรเิ วณโรงเรยี น
5. ประพฤติดที ้งั กาย วาจา ใจ เคารพสทิ ธ์ิของผอู น่ื มคี วามสามัคคี พูดจาสุภาพ มีความซื่อสตั ยสุจรติ
6. หามดืม่ สุรา สูบบุหร่ี บหุ ร่ีไฟฟา ส่งิ เสพตดิ และเลนการพนันทุกชนดิ ทัง้ ภายในและนอกโรงเรียน
7. หามนําหนังสอื ทกุ ชนดิ ท่ีไมเ กย่ี วกับการเรียน รปู ภาพท่ีไมเ หมาะสม ของเลนท่ีเปนอันตราย และของมีคาตา งๆ
เขา มาในโรงเรยี น
8. หา มปน ตนไม ขน้ึ กนั สาด เลน กีฬาทโี่ ลดโผนโดยเด็ดขาด
9. รกั ษาทรัพยสมบตั ิของโรงเรยี นใหค งสภาพเดมิ เสมอ
10. รวมมือในกิจกรรมทที่ างโรงเรียนจัดทกุ ครง้ั
หมายเหตุ
ระเบยี บทงั้ 10 ขอ น้ี นกั เรียนตองปฏิบตั ติ ามอยางเครงครัด เพื่อความดขี องนกั เรียนและสวนรวม

แนวทางปฏิบตั ิในหองเรยี น

1. เมือ่ เขา ชั้นเรียนเรยี บรอย แสดงความเคารพครพู รอมกนั รวมท้ังกอนเรม่ิ และหลังจบการเรียนในแตละรายวิชา
2. ใชสมดุ ของโรงเรียน ถา ใชสมดุ อ่นื ครูจะไมร ับตรวจงาน
3. เวลาครูกาํ ลงั สอน นักเรียนควรตง้ั ใจฟงดว ยความเคารพ รว มกนั สรา งบรรยากาศทางวิชาการในแตล ะรายวิชา
4. ถาไมเ ขา ใจบทเรียนและตองการถามครู ควรยกมือขออนญุ าตและถามเมื่อไดรับอนุญาตแลว
5. การบานและงานทค่ี รูมอบหมายใหทาํ ตองทาํ ใหเรียบรอยและสง ภายในเวลาทก่ี าํ หนด
6. สมดุ งานแตละรายวชิ าควรดแู ลใหอยใู นสภาพเรยี บรอยและใชเฉพาะรายวิชานนั้ ๆ
7. นกั เรยี นตอ งเตรยี มเครอ่ื งเขียนและอุปกรณการเรียนสว นตัวครบถวนเสมอ
8. มกี ริ ิยาวาจาสุภาพเวลาพดู กบั ครู เม่ือครแู นะนาํ ตกั เตือนประการใดใหรบั ฟงดวยความนอบนอ ม
9. รูจักชมเชยเพ่อื นท่ที ําในส่งิ ที่ดีและใหกําลงั ใจในกรณที ีพ่ ลาดพลงั้ บกพรอ ง
10. ชว ยกนั ดูแลรักษาวัสดุ ครุภณั ฑ อปุ กรณ สอื่ การเรยี นการสอน ใหพรอ มใชงานเสมอ
11. หลีกเลี่ยงการขออนญุ าตไปทาํ ธรุ ะนอกหอ งเรียนในระหวา งเวลาเรยี น
12. ชว ยกันดูแลความเรียบรอยของโตะ ครู ความเปนระเบยี บของโตะ เกา อ้ี และดูแลรักษาหองเรยี นใหส ะอาด
อยเู สมอ

ระเบยี บและแนวทางปฏิบตั ิ

32 คูมอื นกั เรยี น ขอ คิด

แนวทางปฏิบตั ทิ ัว่ ไป นักเรียนทุกคนในโรงเรียนน้ีไมไดมาอยูโดยถูก
บงั คบั แตม าอยูดว ยความสมคั รใจของผูปกครองและ
1. เม่ือไดยินสัญญาณเพลงเพ่ือเขาเรียนหรือขึ้น นักเรยี น พงึ ปฏิบัติตามระเบยี บดว ยความสมัครใจดวย
หอ งเรียน ทาํ ธรุ ะสว นตัวใหเรยี บรอ ยและรบี เขาแถว จึงจะเกิดผลดีแกตนเองเปนการพฒั นาพรสวรรคท ี่ตน
ไดร บั จากพระเจาใหบ รรลุเปา หมายในการดาํ เนินชวี ิต
2. เขาแถวเรียบรอยและเดินแถวทุกครั้งอยางเปน ใหอ ยูในศีลธรรมอนั ดีงาม
ระเบยี บ

3. ทกุ เวลาพัก นักเรียนควรลงจากหองเรยี นเพ่อื ทํา
ธรุ ะสวนตวั หรอื หยอนใจในสนาม

4. ออกกําลังกายหรือเลนกีฬาอยางเหมาะสมกับสภาพ
รางกาย และรุนอายุหรอื วัยเดยี วกนั

5. การละเลน หยอนใจตาง ๆ ตอ งคาํ นึงถึงความ
ปลอดภยั ของตนเองและเพื่อนนักเรยี น

6. ชว ยกนั รกั ษาเครอ่ื งเลน อุปกรณก ฬี าของโรงเรียน
ใหอ ยใู นสภาพดเี สมอ

7. รักษามารยาทในการชมการแขงขันกฬี า มนี ้าํ ใจ
นกั กฬี า ยินดีกบั ผูชนะและเปนกาํ ลงั ใจใหผแู พ

8. สํานักผูอํานวยการเปนสถานที่สําหรับการติดตอ
ธรุ ะอยางเปน ทางการเทา นั้น และหองทาํ งานครูเปน
สถานท่เี ฉพาะของครู ถาตองการตดิ ตอใหขออนญุ าต
กอ นทุกคร้งั

9. หอประชุม หองประชมุ บริเวณโถงอาคารหรือ
สนามท่ใี ชส าํ หรับพิธกี ารตาง ๆ ถอื เปนสถานท่คี วร
เคารพ ตองใหเกียรติประธานและผูรวมในพิธี รวมทง้ั
รักษาความสะอาดเรียบรอ ย

10. ประพฤตปิ ฏิบัตติ นตามการอบรม แนะนํา ส่งั
สอน ของผใู หญแ ละครดู วยความเคารพ จรงิ ใจ

11. มีสมบัตผิ ดู ี มมี ารยาททางสังคมทงั้ กาย วาจา
ใจ เพอื่ การเปนสุภาพบุรษุ เซนตด อมนิ ิก

12. ชวยกันดูแลรักษาโรงเรียนของเราเหมือนบาน
ของเราแตล ะคนเสมอไป

ระเบยี บและแนวทางปฏบิ ตั ิ

คูม ือนักเรยี น 33

แนวทางปฏิบตั ขิ องนักเรียน และการตัดคะแนนความประพฤติของฝา ยปกครอง

รายการ การตักเตอื น และ / หรอื ตัดคะแนนความประพฤติ

1. การแตง กาย
ผม - เม่อื เหน็ วา ไมเ ปน ไปตามระเบียบกระทรวง ตักเตือนดวยวาจาใหดําเนินการแกไขใหถูกตอง
ศกึ ษาธิการ วา ดว ยการไวทรงผมของ ถา ตอ งเตือนครงั้ ที่ 3 นกั เรียนตอ งไปรายงานตวั กบั ฝาย
นักเรียน พ.ศ. 2563 ตามที่ระบไุ วใ น ปกครอง เพือ่ พจิ ารณาดาํ เนนิ การดังน้ี
ขอ 4 กับขอ 5 - บนั ทึกความประพฤติ
เสอ้ื - ผิดเรือ่ งทรง คอปก เน้อื ผา อกั ษรยอ - ตัดคะแนนความประพฤติตง้ั แต 1 - 5 คะแนน ขึน้
ไมป ก หรือผดิ แบบ ผิดขนาด ไมตดิ เข็ม อยกู บั ระดบั ชว งชั้น
หรือติดผดิ ท่ี ไมต ิดกระดมุ ใหเ รียบรอ ย - จดหมายแจงผปู กครองรบั ทราบ และ/หรอื ติดตอ
ปลอยชายเส้อื ออกนอกกางเกง รับส่ิงของท่ีไมถ กู ระเบยี บคืน
กางเกง - ผดิ เรื่องทรง เน้อื ผา สี กระเปา หลงั
หูเข็มขดั
เข็มขัด - หวั เขม็ ขดั ไมถ กู ตอ งสายเขม็ ขดั ไมถ กู ตอ ง
ไมค าดเขม็ ขดั
ถุงเทา - มีลวดลาย ผดิ แบบ ใสไ มเ รียบรอย
รองเทา - มีลวดลาย ผิดแบบ ใสไ มเ รียบรอ ย
กระเปา - ผิดแบบ นอกเหนอื จากท่ีอนญุ าต

ระเบยี บและแนวทางปฏบิ ตั ิ

34 คูมอื นกั เรยี น

2. การมาโรงเรยี น
มาสาย - มาหลังเวลา 08.20 น. ฝา ยปกครองบนั ทกึ สถิติ ตกั เตอื นใหปรบั ปรุงแกไข
นักเรียนตองมาโรงเรียนใหท นั เวลาการเขา แถว เพอ่ื ทําโทษตามความเหมาะสม และนักเรียนตองขอใบ
รว มกิจกรรมหนาเสาธง โรงเรียนจะใหสัญญาณการเขา อนญุ าตเขาหอ งเรยี น
แถว ดังนี้ - มาสาย ครงั้ ท่ี 1-3 แจงครปู ระจาํ ชัน้ เพื่อตักเตอื น
เวลา 08.15 น. ใหส ญั ญาณเปดเพลงสดุดีเซนตดอ นกั เรยี น และฝายปกครองบนั ทึกไวเปนหลักฐานใน
มนิ กิ และจดั แถวใหเรียบรอ ยหลังเพลงจบ ระบบฐานขอมูลการมาเรยี น
เวลา 08.20 น. สญั ญาณกระดิ่ง เรม่ิ กิจกรรมหนา - มาสายครง้ั ท่ี 4 และครง้ั ตอ ๆ ไป (ถา ม)ี ครปู ระจาํ
เสาธง นกั เรยี นท่มี าหลังสญั ญาณกระด่ิง คุณครทู ่ีดูแล ชน้ั ตกั เตอื น และฝา ยปกครองตดั คะแนนความประพฤติ
ความเรียบรอย - ครพู ลศกึ ษา จะกักตวั ไวบริเวณหนา เรอ่ื งการมาเรยี นสาย ครง้ั ละ 1 - 5 คะแนน ขน้ึ อยกู บั
ประตูโรงเรียน และถือวา ไมไดร วมกิจกรรมหนา เสาธง ระดบั ชว งชน้ั
- เม่ือนกั เรยี นถูกตัดคะแนนความประพฤติเร่ืองการ
มาสายครบ 10 - 20 คะแนน ขน้ึ อยกู บั ระดับชว งชนั้ ฝา ย
ปกครองเชิญผูปกครองและนักเรยี นมาลงลายมอื ชือ่ ใน
หนังสือรบั สภาพความผิด และรับรองการทําทณั ฑบน
- นักเรยี นทม่ี าสายของแตล ะวัน ถอื เปนการขาดเรียน
ในวิชาทไี่ มไดเขาเรียนของวันนนั้ ๆ
- จดหมายแจง ผูปกครองทราบ กรณีที่มาสายหลงั จาก
ทไี่ ดเชิญผปู กครองมาพบ และลงลายมือชื่อในหนงั สอื
รับสภาพความผิด และรับรองการทาํ ทัณฑบนกอนหนา
น้แี ลว
- ไมอ นญุ าต หรือ ไมอนมุ ตั ิ ใหร บั เหรียญแหงความ
ทรงจํา ในกรณีท่เี รยี นตงั้ แตชนั้ ประถมศกึ ษาปที่ 1 ถึง
ช้นั มธั ยมศึกษาปท่ี 6 ตดิ ตอ กัน
- หนังสอื รบั รองตาง ๆ ทีใ่ หมีการระบคุ วามประพฤติ
โรงเรยี นจะระบุวา ไมสม่ําเสมอในการไปโรงเรียน หรอื
ไมต รงตอเวลาในการไปโรงเรียน หรอื ไมม วี ินยั ในการไป
โรงเรียน (ถามคณุ พออธิการโดยตรงดีทีส่ ดุ )

ไมม าเรยี น - ลากจิ ลากจิ ใหสงใบลาลวงหนา อยางนอ ย 1 วนั และตอ ง
- ลาปว ย รายงานตวั ที่ฝายปกครองในวนั ทมี่ าเรยี นตามปกติ

ลาปวยใหแจงทางโรงเรียนในวันที่ลาปวยและสงใบ
ลาในวนั รงุ ขึ้นท่ีมาเรยี น โดยรายงานตวั กับฝายปกครอง
กอนเขา เรยี น กรณที ลี่ าปวยเกนิ 3 วัน ใหแนบใบรบั รอง
แพทยมาดว ย

ใบลาใหใ ชต ามแบบของโรงเรียนเทา น้ัน

ระเบยี บและแนวทางปฏบิ ัติ

คมู อื นกั เรียน 35

- ขาดเรยี น - ขาดเรยี น 3 ครัง้ มีจดหมายแจงผูป กครองรับทราบ
ขออนญุ าตออกนอกบรเิ วณโรงเรียน และบันทึกความประพฤติ
- ลากิจ/ลาปวย โดยไมมีใบลาถอื วา ขาดเรยี น
- ออกนอกโรงเรียนโดยไมไดรับอนุญาต หนเี รียน - ขาดเรียน 6 ครั้ง มีจดหมายเชิญผปู กครองพบฝาย
- ปลอมลายมอื ชือ่ ผปู กครองในใบลาหรอื เอกสาร ปกครองและบนั ทกึ ความประพฤติ
สาํ คญั ปลอมลายมอื ชื่อผูอ่นื ในเอกสารสําคญั
3. การเรียน นักเรียนที่ขาดเรียนมากกวาเกณฑท่ีกําหนดใน
- เขา แถวไมเ รยี บรอ ย ระเบยี บวา ดว ยการวดั ผลประเมนิ ผล ไมม สี ทิ ธส์ิ อบปลาย
- เดินแถวไมเ รียบรอย ภาคเรยี น
- สรางความวุนวายในหอ งเรียน
- ไมส งการบาน งานท่ีกําหนด ผปู กครองเขียนใบลาเพือ่ ขออนุญาต และ/หรือ
- ลอกการบาน ติดตอ ขออนญุ าต ออกนอกโรงเรยี นกับฝายปกครอง
- ลมื แบบเรยี น อปุ กรณการเรยี น
- ทจุ ริตในการสอบ ฝา ยปกครองพิจารณาดําเนินการดงั นี้
- บันทกึ ความประพฤติ
- ตดั คะแนนความประพฤติ 5-20 คะแนน ขึ้นอยู
กบั ระดับชวงชนั้ และสถานท่ี
- มีจดหมายเชญิ ผูป กครองพบฝายปกครอง และลง
ลายมอื ชือ่ ในหนังสือรับรองการทําทัณฑบน
ฝายปกครองพจิ ารณาดําเนินการดังนี้
- บันทกึ ความประพฤติ
- ตดั คะแนนความประพฤติ 10-30 คะแนน ขึน้ อยู
กับระดับชว งชั้น
- มีจดหมายเชิญผปู กครองพบฝายปกครอง และลง
ลายมือช่อื ในหนังสือรับรองการทาํ ทณั ฑบ น
ตกั เตอื นดวยวาจาใหป รับปรงุ แกไ ข ถาตอ งเตือน
คร้ังท่ี 3 นกั เรยี นตอ งไปรายงานตวั กับฝา ยปกครอง เพ่ือ
พจิ ารณาดําเนินการดังนี้
- บันทึกความประพฤติ
- ตดั คะแนนความประพฤตติ ัง้ แต 1 - 5 คะแนน ขน้ึ
อยกู บั ระดบั ชว งชนั้
- จดหมายแจงผปู กครองรบั ทราบ
ฝายปกครองพิจารณาดาํ เนนิ การดังนี้
- บนั ทกึ ความประพฤติ
- ตดั คะแนนความประพฤติต้งั แต 5 - 10 คะแนน
ข้นึ อยกู บั ระดับชวงชนั้
- ปรบั ตกวชิ าท่ีทุจรติ ในการสอบกลางภาคหรอื
ปลายภาค เฉพาะระดับช้นั ป.4 ถงึ ม.6
- มีจดหมายเชิญผปู กครองพบฝายปกครอง และ
ลงลายมือชอ่ื ในหนังสือรับรองการทําทัณฑบ น เฉพาะ
ระดบั ชั้น ป.4 ถงึ ม.6

ระเบยี บและแนวทางปฏบิ ตั ิ

36 คมู อื นักเรียน

4. ความประพฤติ ตกั เตอื นดว ยวาจา อบรม ทาํ โทษตามความเหมาะสม
- ไมม สี มั มาคารวะ ไมเคารพคณะผใู หญ-ครู
- ทะเลาะวิวาท กลัน่ แกลงเกเร และ/หรือ สง เร่อื งใหฝ ายปกครอง เพ่อื พจิ ารณาดาํ เนนิ
- ววิ าทชกตอ ย ทาํ รา ยรางกาย การดังน้ี
- เลนไมส ภุ าพ พดู จาหยาบคาย ลอ เลียนช่อื บิดา- - บันทกึ ความประพฤติ
มารดา - ตัดคะแนนความประพฤติ 5-10 คะแนน ขน้ึ อยู
- นําภาพ หนังสือ ส่งิ ของทีไ่ มเ กี่ยวกับการเรยี นมา กับระดบั ชว งชน้ั
โรงเรยี น - รบิ สง่ิ ของใหผูปกครองมารับคนื
- นําของมคี า สิ่งของราคาแพง สิง่ ของท่อี าจ เปน - จดหมายแจง ผูปกครองรบั ทราบ หรอื เชิญผูป ก
อันตรายมาโรงเรียน ครองพบฝา ยปกครอง
- ปน ตน ไม ปนรั้ว ขึน้ กันสาด การกระทาํ ที่อาจเกดิ - พบคณะผใู หญ
อนั ตรายตอตนเองและผอู ่ืน
- แสดงอาการ ใชคําพูดไมเ หมาะสมกบั คณะผใู หญ
ครู บุคลากร ลูกเสือเวร เจาหนาทใ่ี นโรงเรยี น
- พบเห็นหรือทราบแนชัดวา ดื่มสรุ า สบู บหุ ร่ี บหุ ร่ี นักเรียนตอ งไปรายงานตวั กบั ฝายปกครอง
ไฟฟา หรือเสพสิ่งเสพตดิ เลนการพนนั ท้งั ภายใน และ เพือ่ พจิ ารณาดาํ เนนิ การดงั น้ี
ภายนอกโรงเรยี น - บนั ทึกความประพฤติ
- ขโมยสงิ่ ของ ทรัพยส นิ อื่น - ตดั คะแนนความประพฤติ 10-20 คะแนนข้ึนอยู
- พกพาอาวุธ วัตถุที่ใชแ ทนอาวธุ ในลกั ษณะตาง ๆ กับระดับชว งชัน้
มาโรงเรยี น - มจี ดหมายเชญิ ผูปกครองพบฝายปกครอง และ
ลงลายมอื ชื่อในหนังสือรับรองการทาํ ทัณฑบน เฉพาะ
ระดบั ช้ัน ป.4 ถงึ ม.6
- พบคณะผใู หญ
- ฝา ยปกครองนําเสนอตอทีป่ ระชุมคณะผูบ ริหาร
เพื่อพิจารณาใหห มดสภาพการเปนนกั เรียนของโรงเรยี น
เซนตด อมนิ ิก
- ทําลายส่ิงของ ทาํ ทรพั ยส มบตั ขิ องโรงเรียน เสยี นกั เรยี นตอ งไปรายงานตัวกบั ฝา ยปกครอง เพ่ือ
หาย พิจารณาดาํ เนนิ การดงั น้ี
- ใชล ฟิ ตไ มถูกวธิ ี - บันทกึ ความประพฤติ
- ตดั คะแนนความประพฤติ 10-20 คะแนนข้นึ อยู
กับระดับชวงชนั้
- มีจดหมายเชญิ ผปู กครองพบฝา ยปกครอง และลง
ลายมือชอ่ื ในหนังสอื รบั รองการทาํ ทัณฑบน เฉพาะระดบั
ชัน้ ป.4 ถึง ม.6

ระเบยี บและแนวทางปฏบิ ตั ิ

คูม อื นักเรยี น 37

- กจิ กรรมตา ง ๆ ของโรงเรียนทน่ี กั เรียนตองเขา กจิ กรรมหนาเสาธง
รวมมดี งั น้ี - นักเรียนตองเขารวมกิจกรรมหนาเสาธงอยาง
- กิจกรรมหนาเสาธง นอ ย 80 % ของเวลาการเขา แถวท้งั หมด นักเรยี นท่มี ี
- กิจกรรมวันสําคัญของโรงเรียนคือ พธิ บี ชู าขอบพระ เวลาการเขาแถวนอยกวา 80 % ตอ งเขารับการปรับ
คณุ เปดปก ารศกึ ษา วนั ไหวครู วนั สถาปนาคณะลกู เสอื เปลี่ยนพฤติกรรมโดยการเขา แถวนอกเวลา ตามจํานวน
แหง ชาติ งานวันแมแ หงชาติ วนั กฬี าภายใน วนั ฉลองนัก ครัง้ ที่ขาดการเขา แถว หรือทาํ กจิ กรรมเพื่อปรบั เปลีย่ น
บญุ ดอมนิ กิ ซาวโี อ วันสมเด็จพระมหาธรี ราชเจา งาน พฤตกิ รรม ตามท่ีฝา ยปกครองกําหนด
วันพอ แหง ชาติ งานคริสตมาส งานวนั วิชาการ งานวนั - มีจดหมายเชญิ ผูปกครองพบฝา ยปกครอง หรือ
ผูปกครอง วันฉลองนักบญุ ยอหน บอสโก และวันสําคัญ มีจดหมายแจงผปู กครองทราบ กิจกรรมวันสําคญั ของ
กรณีพเิ ศษประจําป โรงเรียน และกจิ กรรมทฝี่ ายกิจการนักเรยี น หรอื แตละ
- กจิ กรรมท่ฝี ายกจิ การนกั เรียน หรือแตละกลมุ สาระ กลุม สาระการเรยี นรจู ดั ใหมขี น้ึ
การเรยี นรูจัดใหม ขี ึน้ - นกั เร ยี นตอ งเขา รว มกจิ กรรมวันสําคญั ของโรง
เรยี นและกิจกรรมทีฝ่ า ยกิจการนักเรยี น หรอื แตละกลมุ
สาระการเรยี นรูจัดใหมีขึ้นอยา งนอ ย 80 % หากพบวา
นกั เรยี นมเี วลาไมถึง 80 % ตอ งทาํ กจิ กรรมจิตอาสา
หรอื บาํ เพ็ญประโยชน ตามทีฝ่ า ยกจิ การนักเรยี น หรือ
ฝา ยปกครองกําหนด
- กรณีที่นักเรียนทราบลวงหนาวาไมสามารถเขา
รวมกจิ กรรมได ผปู กครองตอ งทําหนังสอื ช้ีแจงเหตุผลให
ผูอาํ นวยการทราบอยา งนอยสามวนั กอ นวนั จัดกิจกรรม
- กรณีที่นักเรียนไมไดเขารวมกิจกรรมโดยไมไดทํา
หนังสอื ชแ้ี จงเหตุผลใหผ ูอ ํานวยการทราบลวงหนา ผู
ปกครองตองไปพบผูอํานวยการพรอมย่ืนใบลาตามแบบ
ของทางโรงเรียน และใบรบั รองแพทยก รณีท่ปี ว ย
- นักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนปลายที่เขา
เรยี นตั้งแตช ้นั ประถมศกึ ษาปท่ี 1 แตเ ขารวมกจิ กรรม
นอยกวา 80% จะไมไ ดรับเหรียญแหง ความทรงจาํ
- มีจดหมายเชญิ ผปู กครองพบผอู าํ นวยการ หรอื มี
จดหมายแจงผปู กครองทราบ

ระเบียบและแนวทางปฏิบตั ิ

38 คมู อื นักเรยี น

5. ความประพฤตทิ ถ่ี ือเปนความผดิ หนัก - ตัดคะแนนความประพฤติ 20 - 40 คะแนน ข้ึน
- นาํ ภาพ หนงั สอื สื่อลามกอนาจาร ในรูปแบบตาง อยูกบั ระดับชวงช้นั
ๆ มาโรงเรยี น - มจี ดหมายเชญิ ผปู กครองพบฝา ยปกครอง และ
- มพี ฤตกิ รรมท่ไี มเ หมาะสมทางเพศ ทัง้ กับชาย ลงลายมือชอ่ื ในหนงั สอื รบั รองการทําทัณฑบ น เฉพาะ
และหญิง ระดับชนั้ ป.4 ถึง ม.6
- ววิ าททํารา ยดว ยอาวุธ หรอื วัตถใุ ชแ ทนอาวธุ - พบคณะผใู หญ
- ทาํ รา ยคณะผใู หญ ครู บคุ ลากร ลูกเสอื เวร เจา - ฝายปกครองนาํ เสนอตอท่ีประชมุ คณะผบู รหิ าร
หนา ท่ี ในโรงเรยี น เพ่ือพจิ ารณาใหห มดสภาพการเปนนักเรยี นของโรงเรยี น
- นําวตั ถุไวไฟ อุปกรณเ ชอื้ เพลงิ วตั ถรุ ะเบดิ ส่ิง เซนตดอมินิก
แทนระเบดิ และประทดั ทุกชนิด เขามาในโรงเรียน
- ความผดิ ท่ีสอดคลอ งกับ พ.ร.บ.วา ดวยการ
กระทาํ ความผดิ เกย่ี วกบั คอมพวิ เตอร (ฉบับที่ 2) พ.ศ.
25600

“ผูใดรกั ษาระเบียบ ระเบียบจะรกั ษาผนู ั้น”

โรงเรยี นกําหนดใหน ักเรียนแตล ะคนมคี ะแนนความประพฤติ 100 คะแนนตอสามปก ารศกึ ษา (ป.1 - ป.3/
ป.4 - ป.6/ม.1 - ม.3/ม.4 - ม.6) ผูมสี ทิ ธิต์ ดั คะแนนความประพฤตคิ ือ คณุ ครูประจําช้นั ผชู ว ยผอู าํ นวยการฝาย
ปกครอง ครูที่ไดร บั หนา ทีฝ่ ายปกครองระดับชนั้ ประถมศึกษาหรือระดับชัน้ มธั ยมศกึ ษา โดยพิจารณาจากความ
ผิด ลักษณะของความผดิ และบนั ทึกพฤตกิ รรมจากท่คี รูไดบนั ทกึ ลงในแบบบันทกึ ความประพฤตินักเรียนประจาํ
ชั้น ตลอดจนรายงานใหค ณุ ครูประจําช้นั หรือฝายปกครองระดับชั้น หรือผชู วยผอู าํ นวยการฝายปกครองทราบ
ในกรณีท่ีนักเรยี นถกู ตดั คะแนนความประพฤติถงึ 50 คะแนน จะไมม สี ทิ ธศิ์ กึ ษาตอในระดับช้ันสูงขึ้น และหากถกู
ตัดคะแนนความประพฤตคิ รบ 40 คะแนน ผชู ว ยผอู าํ นวยการฝา ยปกครองจะนําเสนอตอท่ปี ระชมุ คณะผูบริหาร
เพ่อื พจิ ารณาใหหมดสภาพการเปน นกั เรียนของโรงเรยี นเซนตด อมินกิ

หมายเหตุ : เมอ่ื โรงเรียนมกี ารนดั พบผปู กครองในเรือ่ งผลการเรยี น หรือความประพฤติของนกั เรียน แตผูปกครองปฏิเสธการมาพบ เมื่อสิน้ ป
การศึกษาโรงเรียนขอสงวนสทิ ธ์ิการออกเอกสารตาง ๆ ทีผ่ ปู กครองตองการ จนกวา จะดาํ เนนิ การในเร่ืองตา ง ๆ ท่โี รงเรียนไดนดั หมายใหแ ลว
เสร็จกอน

ระเบียบและแนวทางปฏบิ ัติ

คูมอื นักเรยี น 39

ขอความรวมมือเปน พิเศษ

โรงเรยี นเซนตด อมนิ กิ เปนสถาบันการศกึ ษาในระดับประถมศึกษา และมธั ยมศึกษา จดั ตงั้ ขึ้นโดยคณะนักบวช
ซาเลเซยี นของคณุ พอบอสโก มวี ตั ถปุ ระสงคท ่ีจะใหก ารอบรมดานศีลธรรม จรรยา มารยาท ความประพฤติ ควบคูไป
กับการใหความรูทางดานวิชาการ เพื่อใหเด็กและเยาวชนเปนพลเมืองที่ดีมีคุณภาพ ทั้งนี้ใชหลักการอบรมใน
“ระบบปอ งกัน” (Preventive System)

เพ่อื ใหการอบรมตลอดจนการศกึ ษาเลาเรียนของนักเรยี นบรรลุผลอยางดีตามความปรารถนาของบดิ า มารดา
ผูป กครอง คณะผูใหญ คณะครู และตัวนกั เรยี นเอง โรงเรียนจงึ ขอความรวมมอื จากทานผปู กครองและนักเรียน
ไดเ ขา ใจ ยอมรบั และปฏบิ ตั ติ ามระเบยี บของโรงเรียนอยา งเครง ครดั โดยขอเนนเปนพิเศษในเรอื่ งตอไปน้ี

1. เครือ่ งแบบและการแตงกาย 3. การมาเรียน เวลาเรียน

ตองสะอาดเรียบรอยถูกตองทั้งภายในและภาย เปนสิ่งสาํ คัญมากตองมาใหทนั เวลากอ น 08.20 น.
นอกโรงเรียน ทรงผมตามระเบยี บคือ ทกี่ าํ หนดอยู และครบเวลาเสมอ ถามาสายตอ งขอใบอนญุ าตเขา หอ ง
ในระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ วาดวยการไวทรง เรียน เม่อื ขาดเรียนทุกคร้ังควรแจง ใหท างโรงเรียนทราบ
ผมของนกั เรยี น พ.ศ. 2563 วิชาลูกเสอื และวชิ า ทันทีทางโทรศพั ท ญาติพี่นอง หรอื เพือ่ นนักเรยี นใกล
พลศึกษา ใหแตงกายเรียบรอยถกู ตองเชน เดยี วกนั ดว ย เคยี ง และตอ งยน่ื ใบลาตามแบบของทางโรงเรยี นตอ
ฝ า ย ป ก ค ร อ ง ก อ น เ ข า เ รี ย น ใ น วั น ท่ี ม า เ รี ย น ต า ม
ในแตละเดือนจะมีการตรวจเคร่ืองแบบ-การแตง ปกติ
กายของนกั เรียนในเรื่องทรงผม เสื้อ กางเกง เขม็ ขดั
ถงุ เทา รองเทา กระเปา พงึ ดูแลใหเรียบรอยกอ นถงึ หากจาํ เปน ตอ งลากิจใหย ่ืนใบลาลวงหนา ใบลา
กาํ หนดการตรวจทแ่ี จง ในปฏทิ นิ ปฏบิ ตั งิ าน การทน่ี กั เรยี น นั้นตองมีลายมือชื่อของผูปกครองรับรองทุกครั้ง และ
ถูกบันทึกไมเปนผลดตี อ นกั เรียน เพราะเปนขอมูลทใ่ี ช ทางโรงเรียนมีสิทธิ์ตรวจสอบได ถาออกนอกบริเวณ
ในการพจิ ารณาได โรงเรยี น ผปู กครองตอ งเขียนใบลาเพือ่ ขออนญุ าตติดตอ
ขออนญุ าตจากฝายปกครอง
2. เคร่ืองประดบั ของมคี า
ระเบยี บและแนวทางปฏิบัติ
หา มสวมใสมาโรงเรยี น เชน สรอ ยทอง สรอ ยขอมอื
นอกน้ันของใชทจ่ี าํ เปนใหใ ชของโรงเรยี น เชน กระเปา
เป อนุญาตใหช ัน้ ประถมศึกษาปที่ 1 ถึงช้นั มธั ยมศึกษา
ปท ี่ 6 สวมนาิกาขอมอื ปกติ ไมมรี ะบบการบันทกึ
เสยี ง หรอื ติดตามตวั

นักเรียนช้นั ประถมศึกษาปท่ี 4 ถึงช้ันมัธยมศึกษา
ปท ี่ 3 ทีต่ องการนําโทรศพั ทเคลอื่ นทม่ี าใช ผูป กครอง
ตอ งขออนุญาต เม่อื ไดร ับอนญุ าตแลวตอ งปฏบิ ตั ิตาม
แนวทางที่โรงเรียนกาํ หนด โดยเสียคาทาํ บัตรอนญุ าต
200.- บาท ใชไดจนสิ้นสุดระดับชนั้ สุดทายของชวงชัน้
(ป.6 กบั ม.3) หากทาํ บตั รอนุญาตหายตอ งเสียคา ใช
จา ยทําใหม ชนั้ มัธยมศึกษาตอนปลายไมตองขออนุญาต
นาํ โทรศพั ทเ คล่อื นทีม่ าใช แตตอ งปฏิบตั ิตามระเบียบ
โรงเรียนเซนตด อมนิ ิก วา ดว ยขอ กาํ หนดและแนวทาง
ปฏิบัติสําหรับนักเรียนท่ีไดรับอนุญาตนําโทรศัพทมือ
ถือไปโรงเรยี น พ.ศ.2564 สําหรบั ชนั้ ประถมศึกษาป
ท่ี 1 - 3 ไมอ นุญาตใหนักเรยี นนําโทรศพั ทสว นตัวมาใช

40 คมู ือนกั เรยี น

พิธีไหวค รู กจิ กรรมวันเฉลมิ พระชนมพรรษา-วนั แม
พธิ เี ปด -ปดกฬี าภายใน ฉลองนักบญุ ดอมนิ กิ ซาวโี อ
องคอ ปุ ถัมภของโรงเรยี น วันวชิ าการ วันผปู กครอง
กิจกรรมวนั คลา ยวันเฉลมิ พระชนมพรรษา รัชกาลที่ 9
-วนั พอ เทศกาลฉลองคริสตม าส-ปใ หม ฉลองนักบุญ
ยอหน บอสโก ผูสถาปนาคณะนกั บวชซาเลเซียน ทัศน
ศกึ ษา ป.1-ม.6 เขา คายลูกเสอื ป.1-ม.3 คายพุทธธรรม
ม.1 และ ม.4

4. ระเบยี บแถว การเดนิ แถว การข้ึนลงอาคาร 7. ความสมั พนั ธร ะหวา งบานกับโรงเรยี น

ในการเขา แถวทกุ ครง้ั นกั เรยี นตอ งมคี วามรบั ผดิ ชอบ ทางโรงเรียนมีจดหมายหรือขาวสารถึงทานผูปก
ในการมาเขาแถวใหเรียบรอย เมื่อไดยินสัญญาณเพลง ครองในเร่ืองตาง ๆ อยเู ปนระยะ ทานผปู กครองควรติด
เพื่อเตรียมขึ้นชั้นเรียน เมื่ออยูในแถวตองรักษาความ ตามสอบถามจากบุตรหลานของทา น พรอมท้ังลงลาย
เงียบ รวมถึงระหวางเดนิ ขนึ้ ลงอาคารเรยี นดว ย พงึ ตระ มอื ช่อื ในใบตอบรับฉบบั นั้น ๆ และใหนักเรียนสงคืนคณุ
หนกั เสมอวา การรกั ษาความเงียบ ความเรียบรอยในแถว ครปู ระจําชนั้ ใหเรยี บรอ ยครบถว นโดยเรว็ ท่สี ดุ
เปน การสรา งบรรยากาศทางวชิ าการทด่ี เี ออ้ื ตอ การเรยี น
การสอน เวลาข้ึนหรอื ลงบันไดใหเดินชดิ ขวาเสมอ

5. มารยาท การแสดงความเคารพ 8. การรบั -สง นกั เรยี น

การแสดงความเคารพผูใหญ - ครู ตามวฒั นธรรรม ขอความรวมมอื ใหรับสงที่บรเิ วณหนาบันไดอาคาร
ไทยคือ การไหว เปน สง่ิ ทเ่ี ดก็ และเยาวชนไทยพงึ เรียนเทา น้ัน และทางโรงเรยี นไมอ นุญาตใหผปู กครอง
ปฏิบัตใิ หเปนนสิ ยั ทัง้ น้ใี หนักเรยี นทุกคนรูจัก “ไหว” ขึ้นบนอาคารเรียนในทุกกรณีกอนไดรับอนุญาตจากผู
ผูใหญแ ละครูทุกทานดวยความเคารพ ตลอดจนสาํ นกึ ชว ยผอู าํ นวยการ
วาเปนลักษณะเดนสําคัญประการหน่ึงในสังคมไทยท่ี
ผนู อ ยตอ งเคารพผอู าวโุ ส นอกนั้นเมอื่ นกั เรยี นไดร บั การ
แนะนาํ ตกั เตือนควรรบั ฟง ดวยกิริยาท่สี ภุ าพสาํ รวมและ
นอ มนําไปปรบั ปรุงใหดขี น้ึ เพ่ือความดขี องนักเรียนเอง

6. กิจกรรมตา ง ๆ ที่นกั เรยี นตอ งเขารวม

นักเรยี นทุกคนตอ งมารว มทุกครง้ั จะหลีกเลี่ยงหรอื
ขอลาในวนั ทีม่ ีกิจกรรมไมไ ด โดยจะถูกบนั ทึกในใบแจง
การเขารวมกิจกรรม ในกรณฉี กุ เฉนิ หรอื จําเปนจรงิ ๆ ให
ผูปกครองติดตอ ขออนุญาตจากผูอาํ นวยการ

กจิ กรรมตลอดปก ารศึกษาทน่ี กั เรียนตอ งเขารวม :
พิธีบชู าขอบพระคณุ เปด ปการศึกษา พิธีตอ นรับครใู หม-
นกั เรียนใหม เลือกตง้ั ประธานคณะกรรมการนักเรียน

ระเบียบและแนวทางปฏบิ ัติ

คูมือนกั เรียน 41

9. การจราจรในโรงเรียน

ขอความรวมมือใหปฏิบัติตามขอตกลงและคําแนะ
นําของคุณครูและผูปกครองที่ทําหนาท่ีจราจรภายใน
เม่อื จอดรถในโรงเรียนตอ งดบั เคร่ืองยนตท ุกครงั้ และ
ไมควรเปดเครื่องเสียงเปนที่รบกวนการเรียนการสอน
และบคุ คลอน่ื

10. คะแนนความประพฤติ สําหรับนักเรียนท่ีนับถือศาสนาคาทอลิกระดับ
ประถมศึกษาตองเรียนคําสอนในวันจันทรและ
โรงเรียนกําหนดใหนักเรียนแตละคนมีคะแนน อังคาร เวลา 07.45-08.15 น. และเรยี นขบั รองใน
ความประพฤติ 100 คะแนนตอสามปการศึกษา (ป.1 - วนั พธุ เวลา 07.45-08.15 น. รวมท้งั เรียนคาํ สอนใน
ป .3/ ป.4 - ป.6/ม.1 - ม.3/ม.4 - ม.6) ผูมีสทิ ธต์ิ ดั คาบเรยี นแนะแนว สว นระดบั มัธยมศึกษาเรียนคําสอน
คะแนนความประพฤตคิ ือ คณุ ครูประจําช้ัน ผูชว ยผู ในคาบเรยี น นอกนัน้ จะมีวนั ท่ตี องซอมเพลงในพิธีบชู า
อํานวยการฝายปกครอง ครทู ไ่ี ดรบั หนาทีฝ่ ายปกครอง ขอบพระคุณ มีพิธบี ูชาขอบพระคุณเพื่อระลกึ ถงึ แมพ ระ
ระดบั ชัน้ ประถมศกึ ษาหรือระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษา โดย องคอปุ ถมั ภ และวันศกุ รต น เดอื น ตลอดจนพธิ กี รรม
พจิ ารณาจากความผิด ลักษณะของความผดิ และ ทางศาสนาอยูในกิจกรรมสําคัญตลอดปการศึกษา
บันทึกพฤติกรรมจากที่ครูไดบันทึกลงในแบบบันทึก นักเรียนตองใหความสนใจและรับผิดชอบในการปฏิบัติ
ความประพฤตนิ กั เรียนประจําชนั้ ตลอดจนรายงานให ศาสนกิจตามทโี่ รงเรยี นกาํ หนด มเี หตผุ ลทางศาสนาใน
คุณครูประจําช้ัน หรือฝา ยปกครองระดับชั้น หรอื ผู ความตองการจําเปนท่จี ะเรียนในโรงเรียนเซนตดอมินิก
ชว ยผอู าํ นวยการฝา ยปกครองทราบ ในกรณที น่ี ักเรยี น เสมอ เมื่อสามารถเขาเรียนไดแลวขอใหทําหนาที่
ถูกตัดคะแนนความประพฤติถึง 50 คะแนน จะไมม ี ศาสนิกชนอยางครบถว นดว ย
สิทธิศ์ ึกษาตอในระดบั ชัน้ สงู ข้นึ และหากถูกตดั คะแนน
ความประพฤติครบ 40 คะแนน ผชู ว ยผอู าํ นวยการ นักเรียนทุกคนมาเรียนทนี่ ด่ี วยความสมคั รใจ และ
ฝายปกครองจะนําเสนอตอท่ีประชุมคณะผูบริหาร มิใชเพราะชื่อเสียงทางดานวิชาการแตเพียงอยางเดียว
เพ่ือพิจารณาใหหมดสภาพการเปนนักเรียนของ สง่ิ ทส่ี ําคัญคอื ผลงานทางดานการอบรม เพอื่ เสรมิ สรา ง
โรงเรยี นเซนตดอมินกิ เยาวชนใหสมบรู ณแ บบตามแนวทางแหง ความจริง ใน
บรรยากาศแหงความรับผิดชอบ เพือ่ จะไดรว มกันสรา ง
กรณที ี่มเี รือ่ งราวตา ง ๆ เกดิ ขึ้นในระหวา งนักเรยี น สรรคสังคมท่ีมีความยุติธรรมและเทิดทูนศักด์ิศรีของ
ดว ยกัน ขอความรว มมือใหท า นผูปกครองไดปรึกษาหา มนุษยย ่งิ ขึ้น และในภาวะเศรษฐกจิ ปจ จุบัน ขอใหรวม
รือกบั คุณครูประจําช้ันกอ นเสมอ และโปรดใหเ กยี รติ กนั ปลูกฝงใหน กั เรยี นเหน็ คณุ คาในส่งิ ทม่ี ีอยู รจู กั หวง
กับทางโรงเรยี นในการพจิ ารณาเรื่องตา ง ๆ ท่เี กดิ ขนึ้ แหนรกั ษา มนี สิ ยั ประหยดั อดออม ไมใ ชจายฟุม เฟอ ย
เพอ่ื เปน ทางหนงึ่ ในการสรา งความมนั่ คงและความเจรญิ
โรงเรียนอนุญาตใหผูปกครองรอสงนักเรียนไดจน รุงเรืองของชาตบิ า นเมืองอันเปนท่รี กั ของทุกคน
เสรจ็ พิธีการหนาเสาธงตอนเชาเทาน้นั และสําหรับวนั
ทมี่ กี ารสอบ ขอใหน กั เรียนทบทวนตําราเรียนใหพ รอ ม
จากทบ่ี า น ไมตองรบกวนผปู กครองเพอื่ มาเตรยี มความ
พรอ มใหนกั เรยี นที่โรงเรียน

ระเบยี บและแนวทางปฏิบัติ

42 คมู อื นักเรียน

คติพจนข องนักบุญดอมินกิ ซาวีโอ

1. ยอมตายดกี วา ยอมทาํ บาป
2. ขา พเจา จะรกั ษาระเบยี บวินยั ของโรงเรยี นอยา ง
เครง ครดั
3. ขา พเจาจะทําหนาท่ขี องขา พเจาอยา งซอ่ื สตั ย
และถ่ถี ว น
4. ขาพเจา จะใชเ วลาใหเปนประโยชนเสมอ
5. ขาพเจาจะหลีกหนเี พ่ือนชวั่ อยางเด็ดขาด

คําแนะนําของคุณพอบอสโก หลักเรียนดี 10 ประการ

คุณพอ บอสโกไดแนะนําวิธีทชี่ ว ยใหเ รียนไดผ ลดไี ว 1. รักษาจติ ใจใหบริสุทธ์ิ
9 ประการ ดังนี้ 2. รจู ักคณุ คา ของเวลา
3. รูจักจัดเวลาใหถ กู ตอ ง
1. มคี วามยาํ เกรงสง่ิ ศักดส์ิ ทิ ธิ์ ถาอยากไดความรู 4. ฝก ฝนความจาํ ใหแมนยําและวอ งไว
มากๆ จงอยา กระทําความผิด 5. ฝกฝนและทบทวนวชิ าสมํา่ เสมอ
6. ติดตามสงิ่ ทย่ี งั ไมเ ขาใจโดยเร็ว
2. ใชเวลาในการเรียนใหเ ตม็ ท่ี อยาใหเ สยี เวลาแม 7. คบแตเพอื่ นท่ีรกั การเรียน
แตนอย 8. ออกกาํ ลังกายใหเ พียงพอในวนั หน่งึ ๆ
9. ประมาณตนในเร่อื งอาหารการกนิ
3. พยายามเขา ใจบทเรียนตามลาํ ดับ ผทู ี่ขยนั เรยี น 10. พยายามเอาชนะอปุ สรรคใหไดเ สมอ
ทกุ วนั เมอื่ ถึงเวลาสอบจะไมป ระสบความยงุ ยาก
ขอ คิดกอนนอน
4. รบั ประทานอาหารตามท่กี ําหนด จงกินเพือ่ อยู
มิใชอ ยเู พอื่ กนิ และทานตามสมควร 1. ผมไดท าํ หนา ทใ่ี นวนั นอ้ี ยา งดแี ละครบถว นหรอื ไม?
2. ผมกาํ ลงั ตอบแทนพระคณุ ของผปู กครองอยา งไร?
5. อยูกบั เพอื่ นท่ชี อบเรยี น พระคัมภรี กลา ววา ถา 3. ผมอยใู นโลกนช้ี วั่ คราวเพอ่ื อะไร?
อยากเปนคนเฉลยี วฉลาด จงพยายามอยูกับคนเฉลียว 4. เพือ่ นของผมแตละคนเปน อยางไร?
ฉลาด 5. เสียงมโนธรรมของผมเปน อยางไร?

6. รจู ักพักผอนหยอ นใจอยางถูกตอง อยาใชเ วลา
เรียนไปเลนหรือเวลาเลนไปเรียน การหยอนใจบาง
อยางใหประโยชน เชน ขับรอง เลนดนตรี วาดเขียน
การเรียนวชิ าชีพ ถา ไมรจู กั ประมาณในการหยอ นใจจะ
เปน ผลเสีย

7. พยายามเอาชนะอปุ สรรค ไมทอ ถอยเมือ่ พบ
ความยากลาํ บากในการเรียน เม่อื สงสัยตองไตถ ามผูรู
และตองคิดวา อุปสรรคชวยใหสติปญญาหลักแหลม
ยิ่งขน้ึ

8. สนใจเรยี นจรงิ เปนเรือ่ งเปนราว ไมจบั จด ไมเ ปะ
ปะ หรอื ไมมีเปา หมาย

9.จงอธษิ ฐานสวดมนตภาวนาขอพรพระกอ นเรยี น
แตละวนั และในการดําเนนิ ชวี ิต

ระเบยี บและแนวทางปฏบิ ัติ

คูมอื นักเรยี น 43

เสนทางการเดินรถภายในโรงเรยี น

ประตโู รงเรยี นจะเปด ใหร ถยนตเขา มารับนักเรยี น ต้ังแตเวลา 15.30 น. และใหร ับนักเรียนตามจุดท่ที างโรงเรียน
ไดกําหนดไวด งั น้ี

1. นักเรียนชั้น ป.1-ม.3 ใหจอดรบั บริเวณใตอ าคารบอสโก หนา สนามเด็กเลน หรอื ผปู กครองนาํ รถขึ้นไปจอดท่ี
อาคารยอหน บอสโก อนุสรณ 200 ปชาตกาล และมารบั นักเรยี นตามที่นัดหมาย

2. นกั เรียนชั้น ป.1-ป.3 ใหผ ูปกครองติดชื่อและเลขประจําตัวนักเรยี นไวบรเิ วณหนารถ และแจง กับคุณครูเพอ่ื กด
หมายเลขประจาํ ตัว เพือ่ การประกาศเรียกช่อื นกั เรียน

หมายเหตุ : โรงเรียนอนุญาตใหผ ปู กครองเขา และออกโรงเรยี นตามกําหนดเวลาดังนี้ เชา : ผปู กครองอยใู นโรงเรียนไดจ นถงึ เวลา 08.15 น.
เย็น : ผูป กครองเขา มาในโรงเรยี นไดเ วลา 15.30 น. ทัง้ นผ้ี ูป กครองกรุณาคลองหรอื ติดบัตรประจําตัวผปู กครองทกุ คร้งั

สิทธปิ ระโยชนของบตั รประจําตัวนกั เรียน

1. แสดงบัตรเพ่ือใชส ทิ ธิ์ในการสอบ
2. ตรวจสอบเวลาเขา -ออกโรงเรียน กรณมี าสาย หรือออกนอกโรงเรยี นกอนเวลาเลิกเรยี น
3. เมอื่ เตมิ เงนิ ในบัตร จะสามารถใชซ ือ้ อาหารและอุปกรณก ารเรยี นในโรงเรยี น
4. ยืม-คนื หนังสอื หอ งสมุดหรอื อุปกรณกีฬา

ระเบยี บและแนวทางปฏบิ ตั ิ

44 คูมือนักเรยี น

การติดตอฝายปกครอง

เมอ่ื นักเรยี นคนใดเกดิ มีปญหา ไมวาจะเปน ดา นการเรยี นหรือดานความประพฤติก็ตาม ทางโรงเรียนจะตดิ ตอกับ
ผูปกครองทางโทรศพั ทหรอื ทางจดหมาย เพ่อื เชิญผูป กครองไปพบกบั ผอู าํ นวยการ หรือครูฝา ยปกครองแลว แตก รณี
ทงั้ นเ้ี พอ่ื จะไดร ว มกนั ปรึกษาหารือ และพจิ ารณาหาแนวทางแกไ ข ซึง่ ถอื วา เปนหนา ท่ีทจ่ี ะหลีกเลย่ี งไมไ ดข องผปู ก
ครองท่ีจะตอ งรว มมือในการไปพบกบั บุคคลท่ีมีหนา ทเ่ี ก่ียวของดังกลาว ตามวันเวลาท่ไี ดระบไุ ว ท้ังนีเ้ พอื่ จะไดรว มกัน
พจิ ารณาหาขอ เท็จจริง และหาวธิ ีการแกไ ขไดท ันทวงที

อน่ึง ถาหากผูปกครองทานใดเกดิ ปญหาหรือมีความคิดเห็น คาํ แนะนาํ ขอเสนอแนะสําหรบั โรงเรียน และมี
ความประสงคท่ีจะไปพบปะปรึกษาหารือกับผมู ีสวนเกย่ี วขอ งของทางโรงเรียนก็ขออยาไดเ กรงใจ หรือเกรงกลวั สิ่งใด
ทั้งสน้ิ ขอเชิญไปพบปะกบั ผทู ม่ี ีสว นเก่ียวขอ งไดตลอดเวลา หรอื ตดิ ตอ นดั หมายลวงหนาเพ่ือความสะดวกท้ังสองฝาย

ข้นั ตอนการตดิ ตอขอหลกั ฐานหรอื เอกสาร

หลกั ฐานหรือเอกสารท่ีตอ งการ ทะเบียน การเงนิ วิชาการ ผอู ํานวยการ

ขอใบรับรอง (ภาษาไทย/ภาษาองั กฤษ) ✓ ✓✓
ขอใบรบั รองผลการเรียน (ภาษาไทย/ภาษา ✓ ✓ ✓✓
อังกฤษ) ✓ ✓✓
ทาํ บัตรประจาํ ตวั นกั เรยี น (กรณสี ูญหาย) ✓

ทาํ บตั รประจําตัวสมาชกิ สมาคมผูปกครองและ ✓ ✓
ครฯู (กรณีสูญหาย)
ขอลาออก (ภาษาไทย/ภาษาอังกฤษ) ✓ ✓
ขอจบการศึกษา สําหรับนกั เรียน ม.3 ม.6 ✓ ✓
ขอไปเขารวมโครงการตางประเทศ ✓ ✓

ขอกลับเขา ศกึ ษาตอ ✓

ขอเทียบโอนผลการเรยี น ✓
ขอใบประกาศนียบตั รสําเร็จการศกึ ษา ✓
สาํ หรบั นกั เรียน ม.3 ม.6

ขอเปล่ยี นยศ ชอื่ นามสกุล ท่ีอยู ทที่ าํ งาน ✓
หมายเลขโทรศัพท

หมายเหตุ :
1. โปรดติดตอโดยตรงกับเจาหนา ที่งานทะเบยี นลวงหนาอยา งนอย 3 วนั ไมรบั การติดตอทางโทรศัพทและไปรษณีย
2. การขอหลักฐานหรอื เอกสารไปเขารวมโครงการตา งประเทศ ขอกลบั เขา ศกึ ษาตอ และขอเทยี บโอนผลการเรียน ตองรอการพจิ ารณา

จากทางโรงเรียน

ระเบียบและแนวทางปฏบิ ัติ

เปด ตวั ชนั้ ประโยค คมู อื นกั เรยี น 45

- ป.1 ปแรก ป 2504
- ป.7 ปแ รก ป 2506
- ป.4 ปแ รก ป 2507
- ม.ศ.3 ปแรก ป 2509
- ม.ศ.5 ปแ รก ป 2514
- เริม่ ป.1 หลกั สูตรประถมศกึ ษา พทุ ธศกั ราช 2521 ป 2521
- เริม่ ม.1 หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนตน พทุ ธศักราช 2521 ป 2521
- จบ ม.3 ปแ รก ป 2523
- เร่มิ ม.4 หลักสูตรมัธยมศกึ ษาตอนปลาย พุทธศกั ราช 2524 ป 2524
- จบ ป.6 และ ม.6 ปแรก ป 2526
- เรมิ่ ป.1 ม.1 และ ม.4 หลกั สตู รฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533 ป 2534
- จบ ม.3 และ ม.6 หลักสตู รฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533 ปแ รก ป 2536
- เรม่ิ ป.1 ป.4 ม.1 และ ม.4 หลกั สูตรการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน พ.ศ. 2544 ป 2545
- จบ ม.3 และ ม.6 หลักสูตรการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พ.ศ. 2544 ปแรก ป 2547
- เรมิ่ ป.1-ป.6 ม.1 และ ม.4 หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พ.ศ. 2551 ป 2553
- เริ่ม ม.2 และ ม.5 หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พ.ศ. 2551 ป 2554
- จบ ม.3 และ ม.6 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พ.ศ. 2551 ปแ รก ป 2555
- เร่ิมมีแผนการเรยี นคณติ ศาสตร-วทิ ยาศาสตร
แผนการเรยี นภาษาจนี และความสามารถพิเศษ ชั้น ม.1 ป 2559
- เร่ิมมแี ผนการเรียนศลิ ปเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.4 ป 2562

S.D. WiFi

S.D. WiFi (อินเทอรเ นต็ ไรส ายภายในโรงเรียน
เซนตดอมินกิ ) สําหรับครู นกั เรียน และผปู กครอง
โรงเรียนเซนตดอมนิ กิ บริการฟรี ไมมีคาใชจ ายใดๆ
ท้งั ส้ิน ใหบริการอนิ เทอรเนต็ วนั จนั ทรถ งึ วันเสาร
เวลา 06.00 - 19.00 น. สอบถามขอมูลเพมิ่ เตมิ ที่หอง
ควบคมุ ระบบคอมพวิ เตอร ช้ัน 5 อาคารมารียฯ (วัน
จันทรถงึ วันศกุ ร เวลา 08.00 - 16.00 น.)

ระเบยี บและแนวทางปฏบิ ตั ิ

46 คูมือนกั เรียน

SMS : Short Message Service

โรงเรียนไดน ําบรกิ ารสง ขอความผา นระบบขอ ความสัน้ SMS ถงึ ผปู กครอง มาใชตัง้ แตเดอื นพฤศจิกายน 2548
โดยฝา ยสารสนเทศและประชาสมั พนั ธเ ปน ผดู แู ล เพ่อื สง ขอมูลขา วสารของโรงเรยี น-นกั เรียน แจงใหผ ปู กครองทราบ
โดยเสยี คาใชจายรวมในคา ธรรมเนยี มการเรยี น ตลอดปก ารศึกษาแลว (นกั เรียน 1 คน ตอ 1 หมายเลขโทรศพั ทหรือ
หากเพ่ิมจํานวนหมายเลขจะตอ งเสยี คาสมคั รเพิม่ ทงี่ านการเงนิ 200 บาท ตอ 1 หมายเลข) ทั้งนี้หากทา นตอ งการ
เปล่ยี นแปลงแกไขหมายเลขโทรศัพทท ี่รบั SMS ตดิ ตอ งานทะเบยี น และสําหรบั นกั เรยี น ป.4-ม.6 ตอ งแตะบตั รลง
เวลาเขา เรยี นกอ น 08.20 น. หากแตะบัตรหลงั เวลา 08.20 น. จะมี SMS แจง ผูป กครองวา บุตรหลานของทานมาสาย
และหากถงึ เวลา 10.00 น. ยังไมแ ตะบัตรจะมี SMS แจง วา นกั เรียนยังไมแ ตะบัตรเขา โรงเรียน พรอ มกันนไ้ี ดเริม่ ใช
ไลนท างการของโรงเรยี นเซนตด อมนิ กิ ตง้ั แตเ ดอื นพฤษภาคม 2558 ใช Application “SDSchool” ตง้ั แตเ ดอื นมนี าคม 2560
และใช Application “SD ConneX” ตง้ั แตเ ดอื นธนั วาคม 2564

ตวั อยา งใบลา ใบอนุญาต

ระเบยี บและแนวทางปฏบิ ัติ

คูมอื นักเรยี น 47

ระเบยี บโรงเรยี นเซนตด อมนิ กิ วา ดว ยขอ กาํ หนดและแนวทางปฏบิ ตั สิ าํ หรบั ผปู กครอง
หรือบคุ คลอื่นที่เขา-ออกในบรเิ วณโรงเรยี น และการรับ-สง นักเรยี น พ.ศ. 2558

ตามทีโ่ รงเรยี นเซนตดอมนิ ิกไดมีขอกาํ หนดและแนวทางปฏบิ ตั สิ ําหรับผูปกครองนกั เรยี น และบุคคลอื่นทต่ี อ งการ
ติดตอ กับทางโรงเรยี นมาเปน เวลาหลายปแ ลว โดยไดแ จงไวใ นคูมอื การศึกษาและระเบียบของโรงเรยี นในแตล ะปการ
ศึกษา และมอบใหกับผูปกครองนักเรียนในโอกาสเขา รบั การปฐมนเิ ทศนักเรียนใหมช น้ั ประถมศกึ ษาปท ี่ 1 นกั เรยี น
ช้นั มธั ยมศึกษาปท ี่ 1 และนกั เรียนชน้ั มัธยมศึกษาปท ่ี 4 อยา งไรกต็ ามเพอื่ ความเขาใจทถี่ ูกตอ งในการปฏิบัติ เพอ่ื
สวัสดิภาพและความปลอดภัยของนักเรียน เพ่ือการจดั การเรียนการสอนของโรงเรยี นเปนกจิ จะลกั ษณะ โรงเรยี น
เซนตด อมินิกจึงออกระเบยี บไวดงั ตอไปน้ี

1. ระเบียบนเ้ี รยี กวา “ระเบียบโรงเรยี นเซนตดอมินิก วา ดวยขอ กําหนดและแนวทางปฏิบัตสิ ําหรับผปู กครอง
หรอื บุคคลอื่นที่เขา - ออกในบริเวณโรงเรียน และการรับ - สงนกั เรียน พ.ศ. 2558”

2. ใหใ ชร ะเบยี บน้ีต้งั แตปก ารศกึ ษา 2559 เปน ตน ไป
3. คําวา นกั เรยี น หมายถงึ นกั เรียนปจ จบุ นั ทกุ คนของโรงเรียนเซนตดอมินกิ
4. คาํ วาผชู วยผอู าํ นวยการ หมายถงึ ผชู ว ยผูอ าํ นวยการฝา ยนโยบายและแผน หรือผชู ว ยผูอาํ นวยการฝา ยปกครอง
หรือผชู ว ยผูอํานวยการฝายธรุ การ แลว แตก รณี
5. ขอ กําหนดและแนวทางปฏิบัติตามระเบียบนี้ มีดังตอไปน้ี

5.1 โรงเรยี นไมอ นญุ าตใหร บั - สงนกั เรยี นถงึ หองเรียน และไมอนุญาตใหผ ูปกครองข้นึ อาคารเรยี นในทุกกรณี
กอนไดร บั อนญุ าตจากคณะผใู หญ หรือผูชว ยผอู ํานวยการ

5.2 ผปู กครองทม่ี ีความประสงคจ ะมารบั บุตรหลานของทา นดว ยตนเองในเวลาเรยี น หรอื ใหบ ุคคลอนื่ ทมี่ า
รับ - สงเปนประจํามาแทน ตองแสดงบัตรประจําตัวผปู กครองทท่ี าํ ไวกับโรงเรียน และตดิ ไวในตําแหนง ทม่ี องเหน็ ได
ชดั เจน แลวตดิ ตอเจาหนา ที่ตดิ ตอ - สอบถาม เพอื่ ขออนุญาตนํานักเรียนออกนอกโรงเรยี นในระหวางเวลาเรยี น กรณี
ท่ไี มไ ดนาํ บัตรทท่ี าํ ไวก บั โรงเรียนมาดวย กรุณาตดิ ตอ เจาหนาทรี่ ักษาความปลอดภัยบรเิ วณประตูโรงเรยี น เพอื่ ขอแลก
บัตรผมู าติดตอ ใหเรยี บรอ ยกอน

5.3 ผูป กครองหรอื บุคคลอืน่ ทมี่ ารบั - สง นักเรยี นเปน ประจาํ กรณุ าตดิ บตั รประจาํ ตวั ผปู กครองที่ทาํ ไวก ับ
โรงเรียนตลอดเวลาทีอ่ ยใู นบริเวณโรงเรยี นโดยในชว งเชา โรงเรียนอนุญาตใหผปู กครองอยูใ นโรงเรยี นไดจนเสร็จพิธกี าร
หนาเสาธง หลังจากน้ันขอความรว มมือจากทกุ ทา นไดอ อกจากโรงเรียน สวนในชวงเยน็ โรงเรยี นอนุญาตใหผ ูปกครอง
เขา ในโรงเรียนไดตั้งแตเ วลา 15.00 น.

5.4 ผปู กครองหรือบุคคลอื่นทตี่ องการตดิ ตอกบั ทางโรงเรียนในระหวา งเวลาทาํ การ กรณุ าแสดงบัตรประจํา
ตวั ผปู กครองที่ทําไวกับโรงเรยี น พรอ มแลกบตั รผมู าตดิ ตอ และตดิ ไวใ นตําแหนง ทเี่ หน็ ไดช ดั เจน โดยไมต องกรอกแบบ
ขออนุญาตเขา โรงเรยี น

5.5 ผูป กครองหรอื บคุ คลอืน่ ท่ีตองการตดิ ตอ กบั ทางโรงเรยี นในระหวางเวลาทําการ แตไมมบี ัตรประจําตัวผู
ปกครองทีท่ าํ ไวกับโรงเรยี น ตอ งกรอกแบบขออนุญาตเขาโรงเรียน พรอมแลกบตั รประจาํ ตวั ประชาชน หรอื บัตรทที่ าง
ราชการออกให และติดไวใ นตาํ แหนง ทีเ่ หน็ ชัดเจน

5.6 ผูปกครองหรือบุคคลอื่นทีต่ องการตดิ ตอหรอื ขอพบคณะผใู หญ คณุ ครู บคุ ลากร หรือพนกั งานของ
โรงเรยี น ใหต ดิ ตอ และรอทสี่ าํ นกั ผูอํานวยการ

5.7 ผปู กครองหรือบคุ คลอ่นื ท่ีขับรถไปสงนกั เรยี น และจอดในโรงเรียนตอนเชา ทางโรงเรียนอนุญาตใหจ อด
ไดถงึ เวลา 06.30 น. เทาน้นั หากมคี วามจาํ เปนตองการติดตอกับหนวยงานหรอื บุคลากรในโรงเรยี น ใหแ จงเจา หนาที่
รกั ษาความปลอดภยั และจอดรถในสถานท่ที ่ีกาํ หนด พรอ มดบั เครอื่ งยนต

ระเบยี บและแนวทางปฏบิ ัติ

48 คูม อื นกั เรยี น
5.8 ผปู กครองหรือบคุ คลอนื่ ท่ขี บั รถไปรับนกั เรยี น ขอใหป ฏิบตั ิตามชว งเวลาของสติกเกอรสี คาํ แนะนําของ

คณุ ครทู ่ีดแู ลการจราจร กับเจา หนาทีร่ ักษาความปลอดภัย และจอดรถอยา งเปนระเบียบ ดับเคร่อื งยนต เพอื่ สภาพ
แวดลอมท่ีดใี นโรงเรยี น ทส่ี าํ คญั หา มจอดรถจักรยานยนตบ นทางเทา หนา โรงเรยี น หรอื หนา ประตทู ่ี 3 และประตทู ่ี 4
ทําใหกีดขวางทางเดินเทา ของนกั เรียน ตลอดจนบคุ คลทว่ั ไป เพอื่ สวสั ดภิ าพของบุตรหลานของทาน และเปนแบบ
อยางท่ีดีในการรจู กั ปฏิบัตติ ามขอกําหนดกฎเกณฑตาง ๆ ของสวนรวม

6. ใหผ ชู ว ยผอู ํานวยการฝายนโยบายและแผนเปน ผรู กั ษาการตามระเบียบนี้
ประกาศ ณ วนั ท่ี 17 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2558

(บาทหลวง ดร.มนูญ สนเจริญ)
อธกิ ารโรงเรียนเซนตด อมนิ กิ
สถานท่จี อดรถอาคารยอหน บอสโก อนุสรณ 200 ปช าตกาล
โรงเรยี นเซนตด อมนิ กิ ไดจ ดั ใหม พี น้ื ทจ่ี อดรถเพอ่ื อาํ นวยความสะดวกแกผ ปู กครองและผมู าตดิ ตอ โดยมพี น้ื ทจ่ี อดรถ
ไดร วม 300 คัน

ระเบียบและแนวทางปฏิบตั ิ

คมู ือนกั เรียน 49

ระเบยี บโรงเรียนเซนตดอมนิ กิ วา ดว ยเกยี รตบิ ัตรผลการศกึ ษา พ.ศ. 2555

เพอ่ื ใหการประกาศเกียรตคิ ุณของนักเรยี นท่ไี ดร ับความสาํ เรจ็ ดีเดนในดานการศกึ ษา จงึ วางระเบียบไวด งั น้ี
1. ระเบียบนเ้ี รียกวา “ระเบียบโรงเรียนเซนตดอมินิก วาดว ยเกียรตบิ ตั รผลการศึกษา พ.ศ. 2555”
2. ในระเบียบน้ีคําวา “นักเรียน” หมายถงึ นักเรยี นโรงเรียนเซนตดอมนิ กิ
3. เกียรตบิ ตั รมี 2 ประเภท คอื

3.1 เกียรติบัตรผลสําเร็จการศกึ ษา
3.2 เกียรตบิ ตั รการศกึ ษาประจําป
4. เกยี รตบิ ัตรผลสําเร็จการศกึ ษามี 3 ระดบั คอื ดเี ลิศ ดีมาก และดี
5. เกียรติบตั รผลสาํ เร็จการศกึ ษา ระดบั ดเี ลิศ ออกใหแ กนักเรียนท่ีมีคุณสมบตั ดิ งั ตอ ไปน้ี
5.1 ไมเคยสอบตก และ
5.2 ไดร ะดบั คะแนนเฉลีย่ สะสมเมอ่ื สําเรจ็ การศึกษาตงั้ แต 3.9 หรอื 97.5% ขนึ้ ไป
6. เกียรตบิ ัตรผลสาํ เร็จการศึกษา ระดบั ดมี าก ออกใหแกนกั เรยี นทม่ี คี ุณสมบัติดังตอ ไปน้ี
6.1 ไมเ คยสอบตก และ
6.2 ไดระดบั คะแนนเฉลี่ยสะสมเมือ่ สาํ เรจ็ การศึกษาตง้ั แต 3.7 หรือ 92.5% ข้นึ ไป
7. เกยี รตบิ ัตรผลสาํ เร็จการศกึ ษา ระดับดี ออกใหแกน ักเรียนท่ีมคี ณุ สมบตั ดิ งั ตอ ไปน้ี
7.1 ไมเ คยสอบตก และ
7.2 ไดระดับคะแนนเฉลยี่ สะสมเมื่อสําเรจ็ การศกึ ษาตง้ั แต 3.5 หรือ 87.5% ข้ึนไป
8. เกียรตบิ ตั รผลการศึกษาประจาํ ป ออกใหแ กน กั เรียนท่ีมคี ณุ สมบตั ดิ ังตอไปนี้
8.1 เกยี รตบิ ัตรผลการศึกษาประจาํ ปร ะดบั ดีเลศิ ออกใหแกน กั เรยี นทีไ่ ดระดับคะแนนเฉลยี่ สะสมของปก าร
ศึกษานนั้ ๆ ตง้ั แต 3.9 หรอื 97.5% ข้ึนไป
8.2 เกียรตบิ ัตรผลการศึกษาประจาํ ประดบั ดมี าก ออกใหแกนกั เรียนทีไ่ ดระดบั คะแนนเฉลีย่ สะสมของปก าร
ศกึ ษาน้นั ๆ ตั้งแต 3.7 หรือ 92.5% ขนึ้ ไป
8.3เกยี รตบิ ตั รผลการศึกษาประจาํ ปร ะดับดีออกใหแกนกั เรียนทไ่ี ดระดับคะแนนเฉลย่ี สะสมของปการศึกษา
นน้ั ๆ ต้ังแต 3.5 หรือ 87.5% ขนึ้ ไป
9. ผทู ี่จะไดร บั เกียรติบัตรผลการศึกษา นอกจากจะตองมคี ณุ สมบัตคิ รบถว นตามที่ระบไุ วใ นขอ 5 ขอ 6 ขอ 7
และขอ 8 แลว ยังจะตอ งเปน ผมู ีความประพฤติดี เปนทีพ่ อใจของโรงเรียน
10. เกยี รตบิ ตั รผลการศกึ ษา ใหมีแบบตามที่โรงเรยี นกําหนด
11. ใหผูช วยฝายวิชาการ รว มกบั นายทะเบียน และผชู วยฝา ยปกครอง พิจารณา และเสนอรายช่อื นกั เรยี นท่ีมี
คุณสมบัติครบถวนควรไดรับเกียรติบัตรผลการศึกษาตามระเบียบนี้ ตอคณะกรรมการบริหารของโรงเรียนเพื่อ
พิจารณาอนุมัติ
ใหใชร ะเบยี บนี้บังคับแกน กั เรยี นท่ีเขา ศกึ ษา ตั้งแตปก ารศกึ ษา 2555 เปนตนไป

ประกาศ ณ วันท่ี 7 กมุ ภาพันธ พ.ศ. 2555

(บาทหลวง ดร.มนญู สนเจริญ)
อธิการโรงเรยี นเซนตด อมินกิ

ระเบยี บและแนวทางปฏิบัติ

50 คูมอื นกั เรยี น

ระเบยี บโรงเรยี นเซนตด อมินิก วาดวยเหรยี ญแหงความทรงจํา พ.ศ. 2560

ตามท่โี รงเรียนเซนตด อมินกิ ไดก าํ หนดใหมีการมอบเหรยี ญแหงความทรงจาํ สําหรับนกั เรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปท ี่ 6
ทกุ คนท่ศี กึ ษาอยใู นโรงเรียนตั้งแตช ัน้ ประถมศกึ ษาปท ่ี 1 ถึงชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 6 ติดตอกัน 12 ปก ารศกึ ษา โดยไดม อบ
เหรียญแหงความทรงจํานี้ในพิธีมอบประกาศนียบัตรแกนักเรียนท่ีสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตรมัธยมศึกษาตอน
ปลายในอดีต หรอื หลกั สตู รการศึกษาข้นั พื้นฐานในปจ จบุ นั มาเปนเวลาหลายปแ ลว เพอื่ ความเหมาะสมและมแี นวทาง
การพิจารณาอยางเปน กจิ จะลักษณะสําหรบั ถือปฏบิ ตั ใิ นการมอบเหรียญแหง ความทรงจํา โรงเรยี นจึงออกระเบยี บไว
ดังน้ี

ขอ 1 ระเบียบนี้เรียกวา ระเบียบโรงเรยี นเซนตดอมินิก วา ดว ยเหรยี ญแหง ความทรงจาํ พ.ศ. 2560
ขอ 2 ตามระเบียบนค้ี าํ วา

“โรงเรยี น” หมายถงึ โรงเรยี นเซนตด อมนิ กิ
“คณะผูใหญ” หมายถงึ อธกิ ารหรอื ผอู ํานวยการ รองอธกิ ารหรอื รองผอู าํ นวยการ ผจู ัดการ และ/หรอื
เหรญั ญิก สมาชกิ ซาเลเซยี นทป่ี ระจําทํางานในโรงเรียน
“ฝา ยวิชาการ” หมายถงึ ผชู วยผอู าํ นวยการฝายวิชาการระดบั มธั ยมศึกษา
“นกั เรยี น” หมายถึง นักเรียนปจ จบุ ันทีส่ าํ เรจ็ การศึกษาชน้ั มัธยมศกึ ษาปท่ี 6 ท่ีศึกษาในโรงเรยี น
ติดตอกัน 12 ปการศกึ ษา มีคุณสมบตั ิตามท่ีระบไุ วในระเบยี บขอ 3
ขอ 3 นกั เรยี นที่จะไดร บั การพิจารณามอบเหรยี ญแหง ความทรงจาํ ตอ งมีคุณสมบตั ดิ งั น้ี

3.1 ศึกษาอยชู ้ันมธั ยมศึกษาปท ี่ 6 และศึกษาอยใู นโรงเรียนตดิ ตอ กัน 12 ปการศกึ ษา
3.2 ตองเขารวมในกิจกรรมสาํ คญั ของโรงเรยี นตลอดระยะเวลาท่ีศึกษาอยูต้งั แตช้ันมัธยมศกึ ษาปท ี่ 4 ถงึ
ชั้นมธั ยมศกึ ษาปท่ี 6 คิดเปน รอยละ 80 ของกิจกรรมสําคญั ท้ังหมดทุกกจิ กรรมตลอดระยะเวลา 3 ปก ารศกึ ษา
3.3 ไมม ีผลการเรยี นศูนย (0) ในทกุ วิชาของแตล ะภาคเรยี นตงั้ แตช ั้นมัธยมศกึ ษาปท ี่ 4 กรณที มี่ ผี ลการ
เรยี นศนู ยตอ งแกไขใหเรียบรอยภายในระยะเวลาที่โรงเรียนกําหนด และ/หรอื ภายในปการศกึ ษานัน้ ๆ
ขอ 4 ใหฝ า ยวิชาการตรวจสอบคุณสมบัติของนกั เรยี นตามขอ 3 โดยขอความรวมมอื จากผูช วยผูอาํ นวยการฝาย
ตาง ๆ ชวยตรวจสอบได และเสนอตอคณะผใู หญเ พื่อพจิ ารณา และอนมุ ัตภิ ายในวนั ท่ี 20 กมุ ภาพันธข องแตละปการ
ศกึ ษา
ขอ 5 ระเบียบนม้ี ผี ลบังคบั ใชต ้ังแตปก ารศึกษา 2560 เปนตน ไป

ประกาศ ณ วันที่ 20 กุมภาพันธ พ.ศ. 2560

(บาทหลวง ดร.มนญู สนเจรญิ )
อธกิ ารโรงเรยี นเซนตดอมินกิ

ระเบียบและแนวทางปฏิบัติ


Click to View FlipBook Version